The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patamaporn Suriyuth, 2019-06-12 03:36:50

1545-file

1545-file

27

การบริหารงานบุคคลตามบริบทของแตเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยคํานึงถึงสิทธิและโอกาสเสมอ
กนั ของบคุ คลในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย สําหรับคน
ตางชาติจะกระทําไดเฉพาะกรณีที่อาศัยอยูในประเทศอยางถูกตองตามกฎหมายเทานั้น ทั้งนี้ระบบ
การศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจะตองเปนไปตามระบบการศึกษาของชาติ เพ่ือใหการจัด
การศกึ ษาของชาติมีความเปนเอกภาพ

1.5 แนวการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองยึดศักยภาพของผูเรียนเปน
สําคัญ โดยกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพสูความ
เปนเลิศตามอจั ฉริยภาพของตนเอง เพ่ือใหผูเรียนมีทั้งความรู และทักษะอาชีพ และนอกจากนี้ยังตอง
พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมควบคูไปดวย โดยเฉพาะคุณธรรมจริยธรรมดานความมีระเบียบวินัย ความ
รับผิดชอบ ความซ่ือสัตยสุจริต ความเสียสละ และความเปนประชาธิปไตย ตลอดจนการพัฒนา
ลักษณะทางจิตที่มีความสําคัญตอการทํางานคือ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ สําหรับหลักสูตรและสาระการ
เรียนรูตองสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สวน
กระบวนการเรียนรูตองยึดศักยภาพของผูเรียนเปนสําคัญ มุงเนนการศึกษาวิจัยเพื่อสรางและพัฒนา
เทคโนโลยี หรอื นวัตกรรมใหมๆ ท่สี ามารถตอบสนองตอบความตองการของสถานประกอบการในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษได ทั้งน้ี ใหคณะกรรมการการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและ
สถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษรวมกันกําหนดหลักสูตรการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท
และทุกรูปแบบ โดยใหกระทรวงศึกษาธิการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการกําหนด
หลกั สูตรการศกึ ษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

1.6 การบริหารและการจดั การศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
กระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่ในการสงเสริม และกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับ

และทุกประเภทของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตลอดจนสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา และ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาและราชการอ่ืนตามท่ีมีกฎหมายกําหนดใหเปน
อํานาจหนาท่ีของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีลักษณะท่ีเปนพหุภาคี และมีผูอํานวยการศูนยการบริหาร
จดั การศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษเปนกรรมการและเลขานุการโดยตําแหนง

คณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจมีอํานาจ
หนาท่ใี นการควบคมุ ดแู ลการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยคํานึงถึงคุณภาพ
ความเปนอิสระ และความเปนเลิศทางวิชาการและวิชาชีพ การกําหนดนโยบายการบริหารจัด
การศึกษา การใหความเห็นชอบแผนการจัดการศึกษา การอนุมัติแผนการลงทุนและแผนการเงินใน
การจัดการศกึ ษา การควบคุมดแู ลการดาํ เนินงานและการบรหิ ารงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษา

192

28

ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ ตลอดจนการออกระเบียบ
ขอบังคับ ประกาศ หรือขอกําหนดเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใน
เร่ืองการบริหารงานท่ัวไป และ การจัดแบงสวนงาน ตลอดจนขอบเขตหนาท่ีของสวนงานดังกลาว
การบริหารงานบุคคล การบริหารและจัดการการเงิน การพัสดุ และทรัพยสิน รวมท้ังการบัญชี และ
การจําหนายทรัพยสินจากบัญชีเปนสูญ การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชนอ่ืนแกเจาหนาท่ีและ
ลูกจาง กาํ หนดขอบเขตอํานาจหนาท่ี หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาท่ีของผูตรวจสอบ
ภายใน

การจัดตั้ง ยบุ รวม หรอื เลกิ สถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษตองถือปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบท่ีเกี่ยวของ ซึ่งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอาจขอรับถายโอนสถานศึกษาจาก
กระทรวงศกึ ษาธิการได และใหสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีสถานะเปนนิติบุคคล โดย
มีคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ประกอบดวย คณะกรรมการ
การศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมีผูบริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการโดย
ตําแหนง ท้ังน้ี เพื่อความเปนเอกภาพในการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีอํานาจหนาที่ในการกํากับ และ
สงเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ท้ังน้ี ใหผูบริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการ
ของคณะกรรมการสถานศึกษา

คณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนผูมี
อํานาจสรรหา แตงต้ัง และถอดถอนผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ และผูบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ท้ังน้ี หลักเกณฑและวิธีการสรรหา
ผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และผูบริหารสถานศึกษาของ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหเปนไปตามขอกําหนดของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกจิ พเิ ศษ

ผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และผูบริหาร
สถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองสามารถทํางานไดเต็มเวลา และตองเปนผูมีคุณสมบัติ
และไมมีลักษณะตองหามตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ มีวาระอยูในตําแหนงคราวละส่ีป และ
อาจไดรบั แตงต้ังอกี ได แตไมเกินสองวาระตดิ ตอกนั

มติของคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ใหผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และผูบริหารสถานศึกษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษออกจากตําแหนงตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสาม

193

29

ของจํานวนกรรมการเทาท่ีมีอยู โดยไมนับรวมตําแหนงผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และผูบรหิ ารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ แลวแตกรณี

ผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษมีหนาท่ีบริหารกิจการ
ของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคของ
สํานักงาน ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการ และเปน
ผูบังคับบัญชาเจาหนาท่ีและลูกจางทุกตําแหนง เวนแตผูดํารงตําแหนงผูตรวจสอบภายใน ตลอดจนมี
หนาท่ีในการเสนอเปาหมาย แผนงาน และโครงการตอคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อใหการดําเนินงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขต
พฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษบรรลุตามวตั ถุประสงค เสนอรายงานประจําปเกี่ยวกับผลการดําเนินงานดานตางๆ
ของศูนยการบรหิ ารจดั การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งรายงานการเงินและบัญชี ตลอดจน
เสนอแผนการเงินและงบประมาณของปตอไปตอคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเพื่อพิจารณา และเสนอความเห็นเก่ียวกับการปรับปรุงกิจการและการ
ดาํ เนินงานของศูนยการบรหิ ารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหมีประสิทธิภาพและเปนไป
ตามวัตถุประสงคตอคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ตลอดจนมีอํานาจในการบรรจุ แตงตั้ง เล่ือน ลด ตัดเงินเดือน หรือคาจาง ลงโทษทางวินัยเจาหนาท่ี
และลูกจาง ตลอดจนใหเจาหนาท่ีและลูกจางออกจากตําแหนง ท้ังน้ี ตามขอบังคับที่คณะกรรมการ
บริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกําหนด วางระเบียบเกี่ยวกับการ
ดําเนินงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขต
พฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ โดยไมขดั หรอื แยงกบั ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด นโยบาย มติ หรือประกาศ
ทศี่ ูนยการบรหิ ารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาํ หนด

ผูบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีหนาที่บริหารกิจการของ
สถานศึกษาใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคของสถานศึกษา ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด
นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และเปน
ผูบังคับบัญชาเจาหนาทแี่ ละลูกจางทกุ ตาํ แหนง ตลอดจนมีหนาท่ีในการเสนอเปาหมาย แผนงาน และ
โครงการตอคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา เพ่ือใหการดําเนินงานของสถานศึกษาบรรลุตาม
วัตถุประสงค เสนอรายงานประจําปเกี่ยวกับผลการดําเนินงานดานตาง ๆ ของสถานศึกษา รวมท้ัง
รายงานการเงินและบัญชี ตลอดจนเสนอแผนการเงินและงบประมาณของปตอไป ตอคณะกรรมการ
บริหารสถานศกึ ษา เพ่ือพจิ ารณา และเสนอความเห็นเก่ียวกับการปรับปรุงกิจการและการดําเนินงาน
ของสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพและเปนไปตามวัตถุประสงคตอคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
ตลอดจนมีอํานาจในการเขารวมการพจิ ารณาบรรจุ แตงตัง้ เลอ่ื น ลด ตัดเงนิ เดือน หรือคาจาง ลงโทษ

194

30

ทางวินยั เจาหนาทีแ่ ละลกู จาง ตลอดจนใหเจาหนาท่ีและลกู จางออกจากตําแหนง ทัง้ น้ี ตามขอบังคับที่
คณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกําหนด วางระเบียบ
เกี่ยวกบั การดําเนินงานของสถานศึกษา โดยไมขัดหรือแยงกับระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด นโยบาย
มติ หรือประกาศที่คณะกรรมการการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
กําหนด

คณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปน
ผูกําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นของผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและผูบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามหลักเกณฑท่ี
คณะรัฐมนตรกี ําหนด

1.7 ผูปฏิบัติงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมี 3 ประเภท ประกอบดวย (1) เจาหนาที่หรือลูกจาง (2) ท่ีปรึกษาหรือ
ผูเช่ียวชาญ (3) เจาหนาท่ีของรัฐซึ่งมาชวยปฏิบัติงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนการช่ัวคราวตามพระราชบัญญัติ
องคการมหาชน พ.ศ. 2542 มาตรา 36

1.8 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองมีระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับ
ประกอบดวย ระบบการประกนั คุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก และใหระบบ
หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เปนไปตามที่กําหนด
ในกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ท้ังน้ี ใหศูนย
การบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
รวมกันกาํ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสําหรับใชในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยให
ศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษาทําหนาท่ีประเมินคุณภาพภายนอกตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

1.9 ทุน รายได และทรัพยสินเพื่อจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ประกอบดวย (1)
เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับถายโอนมา กรณีรับถายโอนสถานศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ (2) เงินที่
รัฐบาลจายใหเปนทุนประเดิม (3) เงินอุดหนุนท่ัวไปท่ีรัฐบาลจัดสรรใหตามความเหมาะสมเปนรายป(4)
เงินอุดหนุนจากสถานประกอบการภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือองคกรอ่ืน รวมทั้ง
จากตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ และเงินหรือทรัพยสินท่ีมีผูอุทิศให (5) คาธรรมเนียม

195

31

คาบํารุง คาตอบแทน คาบริการ หรือรายไดจากการดําเนินการ (6) ดอกผลของเงินหรือรายไดจาก
ทรัพยสินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ โดยท่ีรายไดของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และ
สถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไมเปนรายไดท่ีตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวา
ดวยเงนิ คงคลงั และกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ สําหรับอสังหาริมทรัพยท่ีศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไดมาจากการ
ให หรือ การซื้อ หรือการแลกเปล่ียนดวยเงินรายไดของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาใหเปนกรรมสิทธ์ิของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ แลวแตกรณี และใหศูนยการบริหาร
จัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษามีอํานาจในการปกครอง ดูแล บํารุงรักษา
ใช จําหนาย และจัดหาประโยชนจากทรัพยสินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ท้ังที่เปนท่ีราชพัสดุตามกฎหมายวา
ดวยที่ราชพัสดุ และท่ีเปนทรัพยสินอ่ืน รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการของศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และเก็บ
คาธรรมเนียมการศกึ ษา แลวแตกรณี

การใชจายเงินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ใหใชจายไปเพ่ือกิจการของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกจิ พิเศษ และสถานศกึ ษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดยเฉพาะ แลวแตกรณี โดยที่การเก็บ
รักษาและเบกิ จายเงินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหเปนไปตามขอบังคับท่ีคณะกรรมการการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกจิ พเิ ศษกาํ หนด

นอกจากนี้ควรเปดโอกาสใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวน
ทองถ่ิน เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคม
อ่ืน บรจิ าคเงินหรอื ทรพั ยากรทางการศึกษาใหแกศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และเพื่อเปนการจูงใจใหมีผูบริจาคเงินใหแก
ศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ จึงควรกําหนดใหผูท่ีบริจาคเงินไดรับสิทธิในการลดหยอนหรือยกเวนภาษี ซึ่งเปนไปตามพระ
ราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวาดวยการยกเวนรษั ฎากร (ฉบับที่ 558) พ.ศ.2556

1.10 การบัญชี การตรวจสอบ และการประเมินผลงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศกึ ษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษใหจัดทําตามหลักสากล ตาม

196

32

แบบและหลกั เกณฑทคี่ ณะกรรมการบรหิ ารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
กําหนด และตองมีเจาหนาที่ตรวจสอบภายในสําหรับทําหนาที่เปนผูตรวจสอบภายในโดยเฉพาะ และให
ข้ึนตรงตอคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ทําหนาที่ใน
การตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุของสํานักงานคณะกรรมการบริหารศูนย
การบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ตลอดจนการรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทราบอยางนอยปละคร้ัง นอกจากนี้ตองไดรับการตรวจสอบจากสํานักงานการ
ตรวจเงินแผนดนิ และตองทาํ รายงานประจําปเสนอรฐั มนตรี

1.11 การกํากับดูแล ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่กํากับดูแลการ
ดําเนินกิจการของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขต
พฒั นาเศรษฐกิจพิเศษใหเปนไปตามกฎหมาย

1.12 วุฒิบัตรและเคร่ืองหมายวิทยฐานะ ใหศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสามารถออกขอบังคับกําหนดใหมี
วุฒบิ ตั รและหนังสือรบั รองการศกึ ษาหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการศึกษาตลอดจนเคร่ืองหมายวิทย
ฐานะของสํานักงานคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
และสถานศกึ ษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษได

2. ราง“พระราชกฤษฎีกาจัดต้ังศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(องคการมหาชน) พ.ศ. ...” มที ้งั หมด 8 หมวด 75 มาตรา ประกอบดวย

หมวด 1 การจดั ตั้ง วัตถุประสงค และอาํ นาจหนาที่ มีจาํ นวน 10 มาตรา ประกอบดวย 1)
การกําหนดใหเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ีมีความพรอมในการจัดการศึกษาจัดต้ังองคการมหาชน
เรียกวา ศนู ยการบรหิ ารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (องคการมหาชน) และมีที่ทําการ
อยใู นเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) การกําหนดวัตถุประสงคของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 3) การกําหนดใหเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีสิทธิจัดการศึกษาระดับใดระดับ
หน่ึงหรือทุกระดับ ทุกประเภท ทุกรูปแบบ ตามความพรอม ความเหมาะสม และความตองการของ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 4) การกําหนดใหคณะกรรมการพัฒนาและสงเสริมองคการมหาชนและ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารรวมกนั กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการประเมินความพรอมในการจัด
การศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และ 5) การกําหนดหนาท่ีของศูนยการบริหารจัดการศึกษา
ของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ

หมวด 2 ทุน รายได และทรัพยสิน มีจํานวน 5 มาตรา ประกอบดวย 1) การกําหนดทุน
และทรัพยสินในการดําเนินกิจการของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

197

33

และสถานศึกษา 2) การกําหนดใหบรรดารายไดของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาไมเปนรายไดท่ีตองนําสงคลังเปนรายไดแผนดิน 3) การกําหนดให
อสังหาริมทรัพยซ่ึงศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาไดมา
จากการให หรือซื้อ หรือแลกเปล่ียนดวยเงินรายไดของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา ใหเปนกรรมสิทธิ์ของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา แลวแตกรณี 4) การใชจายเงินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหใชจายไปเพ่ือกิจการของศูนยโดยเฉพาะ และ 5) การใชจายเงินของ
สถานศกึ ษา ใหใชจายไปเพอื่ กิจการของสถานศึกษาโดยเฉพาะ

หมวด 3 การบริหารและการดําเนินกิจการ มี 3 สวน ไดแก
สวนท่ี 1 ความมุงหมายและหลักการจัดการศึกษา มีจํานวน 6 มาตรา ประกอบดวย

1) การกําหนดความมุงหมายของการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองเปนไปเพื่อ
พัฒนาคนใหมีความสมบูรณอยางรอบดาน ท้ังรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา มีจิตสํานึกรัก
และภาคภูมิใจในความเปนไทย อนุรักษขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย
ยอมรบั สงั คมพหุวฒั นธรรม มคี ุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการสื่อสารดวยภาษาอังกฤษ และ
ภาษาของประเทศเพื่อนบานท่ีจําเปน มีความรูและทักษะวิชาชีพที่สามารถนําไปใชประกอบอาชีพ
และดํารงชีวิตอยูในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไดอยางมีความสุข 2) การกําหนดใหการจัดการศึกษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองเปนไปเพ่ือสรางสังคมแหงการเรียนรู 3) การกําหนดใหการจัด
การศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหยึดหลักการจัดการศึกษาท่ีสามารถตอบสนองความ
ตองการของชุมชนและสถานประกอบการ และใหชุมชนและสถานประกอบการเขามามีสวนรวมใน
การจัดการศึกษา โดยหลักสูตร สาระการเรียนรู และกระบวนการเรียนรูตองไดรับการพัฒนาอยาง
ตอเน่ืองใหสอดคลองกับความตองการของชุมชนและสถานประกอบการ และ 4) การกําหนดใหเขต
พฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษมคี วามเปนอิสระในการจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษาของ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

สวนท่ี 2 แนวการจัดการศึกษา มีจํานวน 5 มาตรา ประกอบดวย 1) การกําหนดให
การจัดการศึกษาตองยึดศักยภาพของผูเรียนเปนสําคัญ กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมให
ผูเรียนไดรับการพฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพสูความเปนเลศิ ตามอัจฉริยภาพของตนเอง 2) การกําหนดให
การจัดการศึกษาตองมุงเนนใหความสําคัญท้ังความรู ทักษะอาชีพ และคุณธรรมจริยธรรม 3) การ
กําหนดใหการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองเปนการจัดการศึกษาเพื่อการวิจัยท่ี
ตอบสนองความตองการของชุมชนและสถานประกอบการเปนสําคัญ 4) การกําหนดใหหลักสูตรและ
สาระการเรียนรูตองสอดคลองกบั ความตองการของชมุ ชนและสถานประกอบการ และในกระบวนการ

198

34

เรียนรูตองยึดศักยภาพของผูเรียนเปนสําคัญ และ 5) การกําหนดใหคณะกรรมการบริหารศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจและสถานศึกษารวมกันกําหนดหลักสูตรการศึกษาทุก
ระดับ ทกุ ประเภท และทุกรูปแบบ

สวนท่ี 3 การบริหารและการจัดการศึกษา มีจํานวน 32 มาตรา ประกอบดวย 1)
การกําหนดอํานาจหนาท่ีของศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ 2) การกําหนดให
มี “คณะกรรมการบรหิ ารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ” 3) การกําหนด
องคกรประกอบ คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการสรรหา และการพนจากตําแหนงของคณะ
กรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 4) การกําหนดอํานาจ
หนาท่ีของคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 5) การ
กําหนดองคประชุมและวิธีดําเนินการประชุมของคณะกรรมการ 6) การกําหนดใหศูนยศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีผูอํานวยการ ตลอดจนวิธีการสรรหา แตงตั้ง และ
ถอดถอนผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตลอดจนคุณสมบัติ
วาระการดํารงตาํ แหนง และการพนจากตําแหนงของผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อํานาจหนาท่ีของผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ อัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอ่ืนของผูอํานวยการศูนยการบริหารจัด
การศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 7) การกําหนดการจัดต้ัง การรวม การยุบเลิกสถานศึกษาของ
เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 8) การกําหนดใหคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา 9) การกําหนดอํานาจหนาที่ของคณะ
กรรมการบริหารสถานศึกษา 10) กําหนดการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา 11) การ
กําหนดใหสถานศึกษามีผูบริหารสถานศึกษา ตลอดจนวิธีการสรรหา แตงต้ัง และถอดถอนผูบริหาร
สถานศึกษา ตลอดจนคุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของผูบริหาร
สถานศึกษา อํานาจหนาท่ีของผูบริหารสถานศึกษา อัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นของ
ผบู ริหารสถานศกึ ษา

หมวด 4 ผูปฏิบัติงานของศูนยและสถานศึกษา มีจํานวน 4 มาตรา ประกอบดวย 1) การ
กําหนดประเภทของผปู ฏิบตั งิ านของศนู ยและสถานศึกษา 2) การกําหนดคุณสมบัติของเจาหนาท่ีและ
ลูกจาง และ 3) การกําหนดการพนจากตาํ แหนงของเจาหนาที่

หมวด 5 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มีจํานวน 4 มาตรา ประกอบดวย 1)
การกําหนดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และ 2) กําหนดใหหนวยงานประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาตามกฎหมายทําหนาท่ปี ระเมินคณุ ภาพภายนอกตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

199

35

หมวด 6 การบญั ชี การตรวจสอบ และการประเมินผลงานของศนู ยและสถานศึกษา มีจํานวน
5 มาตรา ประกอบดวย 1) การกําหนดระบบบัญชีของศูนยและสถานศึกษา 2) การกําหนดระบบการ
ตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุของศูนยและสถานศึกษา และ 3) การ
กาํ หนดระบบประเมินความคมุ คาในการจัดตง้ั ศนู ยและสถานศกึ ษา

หมวด 7 การกํากับดูแล มีจํานวน 1 มาตรา ประกอบดวย การกําหนดใหรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธกิ ารมอี ํานาจหนาที่กํากบั ดแู ลการดําเนินกิจการของศูนยใหเปนไปตามกฎหมาย และ
ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดตั้งศูนย นโยบายของรัฐบาล มติของคณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร
และแผนปฏิบัตริ าชการที่เกี่ยวของกับศนู ย

หมวด 8 วุฒิบัตร และเคร่ืองหมายวิทยฐานะ มีจํานวน 3 มาตรา ประกอบดวย 1) การกําหนดให
ศูนยสามารถออกขอบังคับกําหนดใหมีปริญญาบัตร ประกาศนียบัตร และหนังสือรับรองการศึกษา
หรือกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของศูนยและสถานศึกษา และ 2) การกําหนดใหศูนยและ
สถานศกึ ษาสามารถกาํ หนดใหมีเครอ่ื งหมายวิทยฐานะ

อภิปรายผลการวิจัย

1. จากผลการวิจัยท่ีพบวา กฎหมายการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษควรตราเปนพระราชกฤษฎีกา โดยกําหนดใหมีการจัดตั้งศูนยการบริหารจัดการศึกษา
ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษที่เปนองคการมหาชน ซง่ึ มีสถานภาพเปนนิตบิ คุ คล สามารถกระทําไดตาม
พระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. 2542 สําหรับการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ควรมีระบบการศึกษาและแนวการจัดการศึกษาสอดคลองหรือเปนไปตามระบบการศึกษาและแนวการ
จดั การศกึ ษาของชาติ และควรมคี วามเปนอิสระในการบริหารจดั การศึกษาภายใตขอบเขตของกฎหมาย
นัน้ สามารถกระทาํ ไดตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2542

2. จากผลการวิจัยที่พบวา เขตพื้นที่การศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษควรมีพื้นท่ี
ครอบคลุมท้ังจังหวัด โดยใหเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่มีความพรอมในการจัดการศึกษาจัดตั้ง
องคการมหาชน เรียกวา ศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (องคการ
มหาชน) สอดคลองกับงานวิจัยของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2559) เรื่อง รูปแบบการจัด
การศึกษาเชิงพื้นท่ี : บทเรียนทางเลือก และเงื่อนไขความสําเร็จ ท่ีพบวา การปรับตัวของทองถ่ินมี
แนวทางการจดั การศึกษาเชิงพื้นที่อยางมปี ระสทิ ธภิ าพใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ ซ่ึงสามารถตอบโจทย
การบริหารจัดการศึกษาเชิงพ้ืนที่ของประเทศไทย บนฐานของหลักความรับผิดชอบ
(Accountability) และหลักการมีสวนรวมกับภาคสวนอื่นๆในพื้นที่ (participation) เพ่ือตอบสนอง
ความหลากหลายของพฒั นาในแตละพน้ื ทีแ่ ละหลักการจัดการศึกษาของศตวรรษท่ี 21

200

36

3. จากผลการวิจัยท่ีพบวา เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษควรมีสิทธิในการจัดการศึกษาระดับใด
ระดบั หน่ึงหรอื ทกุ ระดับ ทุกประเภท ทุกรูปแบบ ตามความพรอม ความเหมาะสม และความตองการ
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สําหรับการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษน้ัน ใหคณะกรรมการพัฒนาและสงเสริมองคการมหาชนและกระทรวงศึกษาธิการ
รวมกันกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาของเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือใหคณะกรรมการพัฒนาและสงเสริมองคการมหาชนเสนอแนะตอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบในการจัดต้ังศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ (องคการมหาชน) น้ันสามารถนําเอากฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความ
พรอมในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 มาเปนแนวทางใน
การกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษได

4. จากผลการวิจัยที่พบวา ศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(องคการมหาชน) มีวัตถุประสงค ดังตอไปน้ี 1) บริหารจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อตอบสนองความ
ตองการของชุมชนและสถานประกอบการ 2) กาํ หนดยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา เพ่ือตอบสนอง
ความตองการของชุมชนและสถานประกอบการ ตามศักยภาพและโอกาสของแตละเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ โดยคํานึงถึงความเชื่อมโยงสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ 3) สงเสริม
สนับสนนุ และพัฒนาดานวชิ าการ การวิจัยและพฒั นา ของสถานศึกษาในกํากับ ใหมีความสามารถใน
การจัดการศึกษาเพ่ือตอบสนองความตองการของชุมชนและสถานประกอบการ 4) ประสานความ
รวมมือในการบริหารจัดการศึกษากับภาคีตางๆ ท้ังหนวยงานของรัฐ สถาบันการศึกษา และ
ภาคเอกชน ท้ังในประเทศและตางประเทศ ใหเกิดการพัฒนาการศึกษาอยางบูรณาการ โดยยึดหลัก
ประชารัฐ 5) กํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานและสถานศึกษาใน
กํากับของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และการดําเนินการดังกลาว
ขางตนตองไมเปนการดําเนินการท่ีมุงแสวงหากําไรเปนหลัก เปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ พ.ศ.2542 และพระราชบญั ญัตอิ งคการมหาชน พ.ศ. 2542

5. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ศูนยการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(องคการมหาชน) มอี าํ นาจหนาท่ีดงั ตอไปน้ี 1) ถอื กรรมสิทธิ์ มีสทิ ธิครอบครอง และมีทรัพยสิทธิตางๆ
2) กอต้ังสิทธิ หรือทํานิติกรรมทุกประเภทผูกพันทรัพยสิน ตลอดจนนิติกรรมอ่ืนใด เพ่ือประโยชนใน
การดําเนินกิจกรรมของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา 3)
ทําความตกลงและรวมมือกับองคการ หรือหนวยงานอ่ืนท้ังภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและ
ตางประเทศ หรือองคกรปกครองสวนทองถิน่ ในกิจการที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามวัตถุประสงคของ

201

37

ศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา 4) จัดใหมีและใหทุนเพื่อ
สนับสนุนการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ผูเรียน และการดําเนินงานของศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา 5) บริหารจัดการศึกษา ตลอดจน
ทรัพยสินทางปญญา และสิทธิประโยชนท่ีเก่ียวของในการดําเนินการตามวัตถุประสงคของศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา 6) เขารวมทุนกับนิติบุคคลอื่นใน
กิจการท่ีเก่ียวกับวัตถุประสงคของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและ
สถานศกึ ษา ทัง้ น้ี ใหเปนไปตามหลกั เกณฑท่ีคณะรฐั มนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธิการกําหนด 7) กูยืม
เงินเพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวัตถุประสงคของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษา ท้ังนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการกําหนด 8) ใหกูยืมเงินเพ่ือเปนทุนการศึกษาแกผูเรียนของสถานศึกษา ซ่ึงขาด
แคลนทุนทรัพยโดยมีหลักประกันดวยบุคคลหรือทรัพย 9) เรียกเก็บคาธรรมเนียม คาบํารุง
คาตอบแทน หรือคาบริการในการดําเนินกิจการตางๆ ตามวัตถุประสงคของศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษและสถานศกึ ษา ทงั้ น้ตี ามหลักเกณฑและอัตราท่ีคณะกรรมการ
กําหนด 10) ใหปริญญาบัตร ประกาศนียบัตร หนังสือรับรอง และเคร่ืองหมายวิทยฐานะในกิจกรรมท่ี
เปนไปตามวัตถุประสงคและอํานาจหนาท่ีของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษและสถานศึกษา และ11) กระทําการอ่ืนใดที่จําเปนหรือตอเน่ืองเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคของ
ศูนยการบรหิ ารจดั การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษและสถานศึกษา เปนไปตามพระราชบัญญัติ
องคการมหาชน พ.ศ. 2542

6. จากผลการวิจัยที่พบวา ความมุงหมายและหลักการในการบริหารจัดการศึกษาของเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ มี 3 ดาน ไดแก 1) ดานผเู รยี น มุงเนนการพัฒนาคุณภาพคนใหมีความสมบูรณ
อยางรอบดาน กลาวคอื มสี ขุ ภาพรางกายท่ีแข็งแรง มีสขุ ภาพจิตทีด่ ี มคี วามรูความสามารถและทักษะ
อาชีพ สามารถแกไขปญหาตางๆดวยการใชสติปญญา มีจิตสํานึกรักและภาคภูมิใจในความเปนไทย
อนุรักษขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย ยอมรับสังคมพหุวัฒนธรรม มี
คุณธรรมท่ีจําเปนตอการทํางาน ตลอดจนมีความสามารถในการส่ือสารดวยภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
และภาษาของประเทศเพื่อนบานท่ีจําเปน 2) ดานสังคม มุงเนนการพัฒนาเพ่ือสรางใหสังคมของเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนสังคมแหงการเรียนรู และ 3) ดานสาระการเรียนรูและกระบวนการเรียนรู
มุงเนนใหมีสาระการเรียนรูท่ีมุงตอบสนองตอความตองการของสถานประกอบการในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะการศึกษาวิจัยเพ่ือสรางและพัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมใหมๆ โดยมี
กระบวนการเรียนรทู ย่ี ดึ ศกั ยภาพของผเู รยี นเปนสาํ คญั เปนไปตามตามแผนบูรณาการจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2559:45) และ แผนการ
ศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ.2560-2579)

202

38

7. จากผลการวิจัยที่พบวา หลักการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหยึดการจัด
การศึกษาตลอดชีวติ ท่สี ามารถตอบสนองความตองการของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ และหลักการใน
การจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจะตองมีความ
เปนอิสระซึ่งแตละเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษอาจแตกตางกัน ตลอดจนมีอิสระในการกําหนดมาตรฐาน
การศึกษาสําหรับใชในการประกันคุณภาพการศึกษา และมีอิสระในการกําหนดหลักเกณฑและ
ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามบริบทของแตเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยคํานึงถึง
สทิ ธิและโอกาสเสมอกันของบุคคลในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บ
คาใชจาย และระบบการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองเปนไปตามระบบการศึกษาของชาติ
เพ่ือใหการจัดการศึกษาของชาติมีความเปนเอกภาพ เปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ.2542

8. จากผลการวิจัยที่พบวา แนวการจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตองยึด
ศักยภาพของผูเรียนเปนสําคัญ โดยกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนไดรับการพัฒนา
เต็มตามศักยภาพสูความเปนเลิศตามอัจฉริยภาพของตนเอง เพ่ือใหผูเรียนมีท้ังความรู และทักษะ
อาชพี และนอกจากนย้ี งั ตองพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรมควบคไู ปดวย หลักสูตรและสาระการเรียนรูตอง
สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สวนกระบวนการ
เรียนรูตองยึดศักยภาพของผูเรียนเปนสําคัญ มุงเนนการศึกษาวิจัยเพ่ือสรางและพัฒนาเทคโนโลยี
หรือนวัตกรรมใหมๆ ที่สามารถตอบสนองตอบความตองการของสถานประกอบการในเขตพัฒนา
เศรษฐกจิ พเิ ศษได เปนไปตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2542

9. จากผลการวิจัยที่พบวา ใหกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่ในการสงเสริม และกํากับ
ดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตลอดจนสนับสนุนทรัพยากร
เพื่อการศึกษา และติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาและราชการอ่ืนตามที่มี
กฎหมายกาํ หนดใหเปนอํานาจหนาท่ีของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกําหนดใหมีคณะกรรมการบริหาร
ศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ีมีลักษณะที่เปนพหุภาคี และมี
ผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนกรรมการและเลขานุการ
โดยตําแหนง เปนไปตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2542

10. จากผลการวจิ ัยที่พบวา คณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจมีอํานาจหนาที่ในการควบคุมดูแลการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
โดยคาํ นึงถึงคณุ ภาพ ความเปนอิสระ และความเปนเลิศทางวิชาการและวิชาชีพ การกําหนดนโยบาย
การบริหารจัดการศึกษา การใหความเห็นชอบแผนการจัดการศึกษา การอนุมัติแผนการลงทุนและ
แผนการเงินในการจัดการศึกษา การควบคุมดูแลการดําเนินงานและการบริหารงานของศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

203

39

ตลอดจนการออกระเบียบ ขอบังคบั ประกาศ หรอื ขอกําหนดเกีย่ วกบั การบริหารจัดการศึกษาของเขต
พฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษในเร่อื งการบริหารงานท่ัวไป และ การจัดแบงสวนงาน ตลอดจนขอบเขตหนาท่ี
ของสวนงานดังกลาว การบริหารงานบุคคล การบริหารและจัดการการเงิน การพัสดุ และทรัพยสิน
รวมทง้ั การบัญชี และการจําหนายทรัพยสินจากบัญชีเปนสูญ การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชนอ่ืน
แกเจาหนาที่และลูกจาง กําหนดขอบเขตอํานาจหนาท่ี หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการปฏิบัติ
หนาที่ของผูตรวจสอบภายใน เปนไปตามพระราชบัญญตั อิ งคการมหาชน พ.ศ. 2542

11. จากผลการวิจัยที่พบวา การจัดต้ัง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษตองถือปฏบิ ัติตามกฎหมาย ระเบยี บทีเ่ กี่ยวของ ซ่ึงเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอาจขอรับถายโอน
สถานศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการได และใหสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีสถานะ
เปนนิติบุคคล โดยมีคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ประกอบดวย
คณะกรรมการการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมีผูบริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและ
เลขานกุ ารโดยตําแหนง เปนไปตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542

12. จากผลการวิจัยที่พบวา คณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษเปนผูมีอํานาจสรรหา แตงตั้ง และถอดถอนผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษา
ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ และผบู รหิ ารสถานศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมติของคณะ
กรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่จะใหผูอํานวยการศูนย
การบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และผูบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษออกจากตําแหนงตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวน
กรรมการเทาที่มีอยู โดยไมนับรวมตําแหนงผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และผูบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ แลวแตกรณี คณะกรรมการ
บริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนผูกําหนดอัตราเงินเดือนและ
ประโยชนตอบแทนอนื่ ของผอู าํ นวยการศูนยการบรหิ ารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและ
ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ตามหลกั เกณฑทีค่ ณะรัฐมนตรีกําหนด เปนไปตาม
พระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. 2542

13. จากผลการวิจัยที่พบวา ผอู าํ นวยการศนู ยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ และผบู ริหารสถานศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษตองสามารถทํางานไดเต็มเวลา และตอง
เปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละส่ีป และอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตไมเกินสองวาระติดตอกัน ตลอดจนการกําหนดอํานาจ
หนาท่ีของผูอํานวยการศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และอํานาจหนาท่ี
ของ ผูบริหารสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เปนไปตามพระราชบัญญัติองคการมหาชน
พ.ศ. 2542

204

40

14. จากผลการวิจัยที่พบวา ผูปฏิบัติงานของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมี 3 ประเภท ประกอบดวย (1) เจาหนาที่
หรือลูกจาง (2) ที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญ (3) เจาหนาท่ีของรัฐซึ่งมาชวยปฏิบัติงานของศูนยการบริหาร
จัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนการ
ชั่วคราวเปนไปตามพระราชบญั ญัตอิ งคการมหาชน พ.ศ. 2542

15. จากผลการวิจัยท่ีพบวา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย
ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก และใหระบบ หลักเกณฑ
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยใหศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจัดใหมีระบบ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษาทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายนอกตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เปนไปตามท่ี
กําหนดในกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553

16. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ทุน รายได และทรัพยสินเพ่ือจัดการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ ประกอบดวย (1) เงินหรือทรัพยสินที่ไดรับถายโอนมา กรณีรับถายโอนสถานศึกษา
จากกระทรวงศึกษาธิการ (2) เงินที่รัฐบาลจายใหเปนทุนประเดิม (3) เงินอุดหนุนทั่วไปท่ีรัฐบาล
จัดสรรใหตามความเหมาะสมเปนรายป (4) เงินอุดหนุนจากสถานประกอบการภาคเอกชน และ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรอื องคกรอื่น รวมทง้ั จากตางประเทศหรอื องคการระหวางประเทศ และ
เงนิ หรือทรัพยสนิ ที่มีผอู ุทิศให (5) คาธรรมเนียม คาบํารุง คาตอบแทน คาบริการ หรือรายไดจากการ
ดาํ เนินการ (6) ดอกผลของเงินหรอื รายไดจากทรัพยสนิ ของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยที่รายไดของศูนยการบริหารจัด
การศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไมเปนรายไดที่
ตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง และกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
สําหรับอสังหาริมทรัพยท่ีศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษไดมาจากการให หรือ การซื้อ หรือการแลกเปลี่ยนดวยเงินรายไดของ
ศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาใหเปนกรรมสิทธิ์ของศูนย
การบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
แลวแตกรณี และใหศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษามี
อํานาจในการปกครอง ดูแล บํารุงรักษา ใช จําหนาย และจัดหาประโยชนจากทรัพยสินของศูนยการ
บรหิ ารจัดการศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ทั้งท่ี

205

41

เปนท่ีราชพัสดุตามกฎหมายวาดวยที่ราชพัสดุ และท่ีเปนทรัพยสินอื่น รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการ
ของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และเก็บคาธรรมเนียมการศึกษา แลวแตกรณี เปนไปตามพระราชบัญญัติองคการ
มหาชน พ.ศ. 2542

17. จากผลการวิจัยท่ีพบวา การใชจายเงินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ใหใชจายไปเพ่ือกิจการของศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
โดยเฉพาะ แลวแตกรณี โดยท่ีการเก็บรักษาและเบิกจายเงินของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใหเปนไปตามขอบังคับที่
คณะกรรมการการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกําหนด เปนไปตามพระราชบัญญัติองคการ
มหาชน พ.ศ. 2542

18. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ควรเปดโอกาสใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบันสังคมอ่ืน บริจาคเงินหรือทรัพยากรทางการศึกษาใหแกศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เปนไปตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และใหผูทบ่ี ริจาคเงินไดรับสิทธิในการลดหยอนหรือยกเวนภาษี เปนไป
ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 558)
พ.ศ.2556

19. จากผลการวิจัยที่พบวา การบัญชี การตรวจสอบ และการประเมินผลงานของศูนยการ
บริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และสถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษให
จัดทาํ ตามหลักสากล ตามแบบและหลกั เกณฑท่ีคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกําหนด และตองมีเจาหนาท่ีตรวจสอบภายในสําหรับทําหนาท่ีเปนผู
ตรวจสอบภายในโดยเฉพาะ และใหข้ึนตรงตอคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ทําหนาที่ในการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุ
ของสํานักงานคณะกรรมการบริหารศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและ
สถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตลอดจนการรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการ
บริหารศนู ยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทราบอยางนอยปละครั้ง นอกจากนี้
ตองไดรับการตรวจสอบจากสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน และตองทํารายงานประจําปเสนอ
รฐั มนตรี เปนไปตามพระราชบัญญตั ิองคการมหาชน พ.ศ. 2542

206

42

20. จากผลการวิจยั ท่พี บวา ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่กํากับดูแล
การดําเนินกิจการของศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสถานศึกษาของเขต
พัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษใหเปนไปตามกฎหมาย เปนไปตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2542

จากท่ีกลาวมาขางตน จะเห็นวาแนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการ
การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเปนไปตามพระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. 2542 และ
กฎหมายท่ีเกี่ยวของ และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ พ.ศ.2542 และแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2560-2579) ตลอดจนแผนบูรณาการจัด
การศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ (สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 2559:45)

ขอเสนอแนะ

จากผลการวิจยั ครั้งนมี้ ีขอคนพบสาํ คัญทจ่ี ะนําไปสขู อเสนอแนะ ดังนี้
1. ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ

1.1 การท่ี “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษ (องคการมหาชน) พ.ศ. ...” จะถูกกาํ หนดเปนนโยบายสาธารณะ (Policy Formulation) ไดน้ัน
จะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ดังนั้น จึงควรจัดประชุมสัมมนาเพ่ือสรางความเขาใจ
เก่ียวกับพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (องคการ
มหาชน) พ.ศ. ... ใหแกคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการพัฒนาและสงเสริมองคการมหาชน และ
หนวยงานที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ทั้งนี้ เพ่ือใหมีการ
สนับสนุนการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษ (องคการมหาชน) พ.ศ. ...

1.2 หลงั จากท่พี ระราชกฤษฎกี าจัดต้ังศูนยการบริหารจดั การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษ (องคการมหาชน) พ.ศ. ... มีผลบังคับใชแลว หนวยงานที่เกี่ยวของควรเผยแพร ประชาสัมพันธ
ใหชมุ ชน สวนราชการ และสถานประกอบการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีความเขาใจเกี่ยวกับการ
จัดต้ังศูนยการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (องคการมหาชน) ท้ังน้ี เพื่อใหพระ
ราชกฤษฎกี าจดั ตัง้ ศนู ยการบรหิ ารจัดการศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ (องคการมหาชน) พ.ศ. .
ซ่งึ เปนนโยบายสาธารณะถูกนําไปปฏบิ ัติ(Policy Implementation) ไดอยางถูกตอง

1.3 หลงั จากท่ีพระราชกฤษฎกี าจดั ต้งั ศูนยการบริหารจดั การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษ (องคการมหาชน) พ.ศ. ... ไดถูกนําไปปฏิบัติแลว หนวยงานท่ีเกี่ยวของควรประเมินผลนโยบาย
(Policy Evaluation) วามีปญหา อุปสรรคประการใด เพื่อจะไดนําขอมูลดังกลาวไปปรับปรุงใหการ

207

43
นาํ นโยบายการจัดตั้งศูนยการบรหิ ารจัดการศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ (องคการมหาชน) ไปสู
การปฏิบัติประสบความสาํ เรจ็ อยางมปี ระสิทธิภาพและมีประสทิ ธิผล

2. ขอเสนอแนะสําหรับการวจิ ัยคร้ังตอไป
2.1 ควรทําการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) พัฒนาความพรอมในการจัด

การศกึ ษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ
2.2 ควรทําการวจิ ยั เชงิ ทดลอง (Experimental Research) ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

ท่ีมคี วามพรอมในการจดั การศกึ ษา ในลักษณะโครงการนํารองการบริหารจัดการศึกษาของเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษในรปู แบบองคการมหาชน

208

44

บรรณานุกรม

ภาษาไทย
กมล สดุ ประเสริฐ และสนุ ทร สนุ นั ทชยั . (2542) การศกึ ษาเปรยี บเทียบกฎหมายเกย่ี วกบั การศึกษา

ข้นั พืน้ ฐานของประเทศตางๆ. รายงานวจิ ยั นําเสนอสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
แหงชาติ สํานกั นายกรัฐมนตรี.
กรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2538) การศึกษาตลอดชีวติ : การศึกษาของคนไทยในยุคโลกาภวิ ตั น.
(พิมพครัง้ ท่ี 2) กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรสุ ภาลาดพราว.
. (ม.ป.ป.) ขอมูลประกอบการพจิ ารณาการปฏริ ปู ระบบบรหิ ารการศึกษา กรมการ
ศกึ ษานอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ : กองแผนงาน กรมการศึกษานอกโรงเรียน.
. (ม.ป.ป.) บทบาทและภารกิจกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. กรงุ เทพฯ : สํานกั งานเลขานุการ
กรม กรมการศึกษานอกโรงเรียน.
. (2538) ศูนยสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพครุ สุ ภาลาดพราว.
. (2529) “สัมภาษณ ดร.โกวิท วรพพิ ฒั น อธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรยี น” ใน
การศกึ ษาตลอดชีวิต : รวมบทความการศึกษานอกโรงเรยี น เลม 5. (กองพฒั นา
การศกึ ษานอกโรงเรียน เอกสารทางวิชาการ ลาํ ดับท่ี 149/29) กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พการ
ศาสนา.
. (2541) หลกั สตู รการศกึ ษานอกโรงเรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช
2539. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พคุรสุ ภาลาดพราว.
กรมสามญั ศึกษา. (2544) แนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน. กรุงเทพฯ : กรมสามญั
ศึกษา. (เอกสารอัดสําเนา).
กรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ . (2558). การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานในการพัฒนาทองถน่ิ .
กรุงเทพฯ : สาํ นักประสานและพัฒนาการจัดการศกึ ษาทองถ่นิ .
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2543) นโยบายและแผนการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 12 ป. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พการศาสนา กรมศาสนา.
. (2543) แนวปฏบิ ัติตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวาดวยคณะกรรมการ
สถานศึกษา พ.ศ. 2543. กรุงเทพฯ : กลุมงานดานสงเสรมิ คุณภาพการศึกษากองการ
มัธยม. (เอกสารอดั สาํ เนา).
. พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว.
. เสนทางสคู วามสําเรจ็ ของการปฏิรูปการศกึ ษา : แนวทางการดาํ เนนิ งานปฏิรูป
การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว.
กองพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กรมการศึกษานอกโรงเรยี น. (2542) ปรทิ ัศน : นานาทศั นะทาง
การศกึ ษาสาํ หรบั ศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : กรมการศึกษานอกโรงเรยี น.

209

45

กาญจนา วธั นสุนทร. (2551) การจดั การศกึ ษาทองถ่นิ แบบบรู ณาการ เพือ่ สงเสริมการเรยี นรู
ตลอดชีวติ . กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพเสมาธรรม.

กาํ ธร กติ ตภิ ูมิชัย.(2524) บทบาทของคณะกรรมการกบั การบรหิ ารราชการไทย. กรุงเทพฯ :
ศูนยการศึกษา.

โกวทิ วรพิพฒั น. (2532) “การศกึ ษาตลอดชีวิต” รวมบทความการศกึ ษานอกโรงเรยี น เลม 8.
กรงุ เทพฯ : พรี ะพฒั นาการพิมพ.

คณะศึกษาโครงการ. “การศึกษาไทยในยคุ โลกาภิวตั น” (2541) ความจรงิ ของแผนดนิ ลําดบั ท่ี 1 :
กระบวนการเรยี นรเู พอ่ื เดก็ ๆ และชมุ ชนของเรา. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท เจ.ฟลม โปรเซส จาํ กัด.

คณะศึกษาโครงการ. “การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวตั น” (2539) ความฝนของแผนดิน กรุงเทพฯ :
โรงพิมพตะวันออก.

จรญู ศรี มาดิลกโกวทิ และคณะ. (2553). การจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพือ่ สงเสรมิ ความเปน
ประชาธปิ ไตย. กรงุ เทพฯ : คณะกรรมการการวจิ ยั และพัฒนา รัฐสภา.

จริ พนั ธ ไตรทพิ จรัส. (ธันวาคม 2542) “ปฏิรปู สถานศึกษา ทางเลือกในชุมชนชาวไทย.”
วารสารวชิ าการ. 2 :46 - 50.
. (กรกฎาคม 2542) “โรงเรยี นปฏิรปู การศึกษากับชมุ ชน.” วารสารปฏริ ปู การศกึ ษา.
1(21) : 8 ; 6-31.

ฉันทนา จนั ทรบรรจง. (2540) รายงานการปฏริ ปู การศึกษาของประเทศญ่ีปนุ สํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ. กรงุ เทพฯ : อรรถพลการพมิ พ.

ชรนิ ทร หาญสบื สาย. (2557). เรือ่ งเลาจาก ส.ว.เขตเศรษฐกจิ พิเศษ“แมสอด. สืบคน 20 สิงหาคม
2557 จาก http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/warasarn
/feb.pdf

ชาติรส สมั มะวฒั นา. (กุมภาพันธ 2557). แตมตอการคาชายแดนไทย : เขตเศรษฐกจิ พิเศษ
ชายแดน. สบื คน 13 สิงหาคม 2557 จาก bts.dft.go.th/btsc/files/
Documentanalysiselse/4.pdf

ชญั ญา อภปิ าลกุล. (2545) การศกึ ษารูปแบบการพฒั นาการมสี วนรวมของคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานในการบรหิ ารจัดการภายใตโครงสรางการกระจายอาํ นาจการ
บริหารการศกึ ษา : กรณีศึกษาสาํ นักงานการประถมศึกษาจงั หวดั ขอนแกน. อางถึงใน
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545) การประชมุ ทางวิชาการเรอ่ื งการ
วิจัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ทําปกเจริญผล.

ชัยยงค พรหมวงศ. (2541) การใชทรัพยากรสื่อสารของชาตดิ านโทรคมนามคมเพอ่ื การศกึ ษา
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ที.พี.พรนิ ทร จํากดั .

ชาญชยั อาจินสมาจาร.(2544) การบริหารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ศนู ยส่อื เสรมิ .

210

46

เชญิ ไกรนรา. (2556). การศกึ ษาการพัฒนาและการบรหิ ารจดั การเขตเศรษฐกจิ พิเศษชายแดนใน
ตางประเทศ. สบื คน 19 สงิ หาคม 2557 จาก
http://www.researchgate.net/publication/259450775_A_Study_on_Develop
ment_and_Management_Practices_of_Special_Boarder_Economic_Zones_i
n_Foreign_Countries

ฐากูร จุลนิ ทร. (2558). รายการ รอยเรอ่ื งเมืองไทย เรือ่ ง การจดั ต้ังเขตเศรษฐกิจพิเศษ.
กรุงเทพฯ : สาํ นักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

ถนอม สุขสงาเจรญิ . (2527) บทบาทของคณะกรรมการการศกึ ษาตอการพัฒนาโรงเรียน
ประชาบาล จงั หวัดสกลนคร. วิทยานิพนธปรญิ ญามหาบัณฑติ . กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ถวิล มาตรเลย่ี ม. (2545) การปฎริ ูปการศึกษา : โรงเรยี นเปนฐานการบริหารจดั การ SBM.
กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พเสมาธรรม.

ถาวร จนั ทศิริ. (ตลุ าคม - พฤศจิกายน 2539) “ กระบวนการปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียน.”
วารสารขาราชการครู. 17 : 13.

ดอน ฮีล. (2540 การปฏิรปู การศกึ ษาในประเทศเกาหลี กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
ดํารง แสงกวีเลิศ และนนั ธิกา ทงั สุพานชิ . (2545). เขตเศรษฐกิจพิเศษ : แนวคิดใหมในการพฒั นา

พ้นื ท่เี ฉพาะ. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, ปท่ี 39 (2) 42-43.
ทรงสทิ ธิ์ ยืนชีวติ . (2544) การศกึ ษาปจจยั ท่สี งผลตอการมีสวนรวมตามบทบาทหนาที่ของ

กรรมการโรงเรยี น สังกดั สํานกั งานประถมศึกษาจังหวดั ขอนแกน. อางถึงในสํานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ. (2545) การประชมุ ทางวชิ าการเรอ่ื งการวิจัยทางการ
บริหารการศึกษา. กรงุ เทพฯ : ทาํ ปกเจริญผล.
ธรรมโรส โชติกญุ ชร. (2536) ทฤษฏีและแนวปฏิบัติในการบรหิ ารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นา
พานิช.
ธงชัย สันตวิ งษ. (2535) องคการและการบริหาร. พิมพคร้ังท่ี 7. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช.
. (2537) องคการและการบริหาร. พิมพครัง้ ที่ 9. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนพานชิ .
. (2541) ทฤษฎีองคการและการออกแบบ. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ .
ธีระ รุญเจริญ. (2521) การบริหารโรงเรยี นประถมศกึ ษา. ขอนแกน: คณะศกึ ษาศาสตร
มหาวิทยาลัยขอนแกน.
นภาภรณ หะวานนท และคณะ. (2543) ศึกษาเงื่อนไขความสําเร็จในการดําเนนิ งานของ
คณะกรรมการโรงเรยี น สงั กัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. อางถงึ ใน
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545) การประชุมทางวิชาการเร่อื งการ
วิจยั ทางการบริหารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ทาํ ปกเจริญผล.
นิภา วรรณรกั ษ. (2541) การดาํ เนินงานของคณะกรรมการโรงเรยี นตามแนวทางปฏริ ูป
สถานศึกษา : ศึกษากรณโี รงเรยี นปฏิรปู การศึกษาสังกดั สํานกั งานประถมศกึ ษา
จังหวดั ลําปาง .วทิ ยานพิ นธการศกึ ษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั เชียงใหม.

211

47

มชี ยั ฤชพุ นั ธุ และคณะ. (2547). รายงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณโครงการรูปแบบเขตเศรษฐกจิ พิเศษ.
กรุงเทพฯ : บริษทั สาํ นักงานกฎหมาย มีชัย ฤชพุ ันธุ จาํ กดั .

บญุ ทนั ดอกไธสง. (2537). การจดั การองคการ.กรงุ เทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.
บญุ ลือ ทองอยู. (2541) “ความจาํ เปนท่จี ะตองมพี ระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ….”

จาก การประชุมประชาพิจารณพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. …….
วันที่ 27 สิงหาคม 2541 ณ หอประชุมศูนยการศึกษานอกโรงเรยี นภาคกลาง อําเภอโพธาราม
จังหวดั ราชบรุ ี.
ปฐม นิคมานนท. (2528) การศึกษานอกระบบโรงเรียน กรุงเทพฯ : พิมพอกั ษร.
. (2532) “โครงสรางระบบการศึกษาไทยในปจจบุ นั ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชา
การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตลอดชีวิต เลมท่ี 1 หนวยที่ 3 สาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. นนทบุรี : โรงพมิ พ
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
. (2532) “ปรชั ญาและหลกั การของการศึกษานอกระบบ” ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ า
การศึกษาตลอดชีวติ และการศึกษานอกระบบ หนวยที่ 6 เลมที่ 1 สาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. นนทบุรี : โรงพมิ พ
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
ประกอบ คุณารักษ และคณะ. (2531) โครงการศกึ ษารูปแบบความรวมมือขององคกรชมุ ชม
(คณะกรรมการศึกษา) ตอการพัฒนาคุณภาพการประถมศกึ ษา:รายงานฉบับสมบรู ณ.
กรงุ เทพฯ : เอช เอน การพิมพ.
ประชุม โพธกิ ลุ . (2530) “ เทคนิคการบริหารงานในรูปคณะกรรมการ.” มิตรครู. 29(19) :16.
ประภาพรรณ รกั เล้ยี ง. (2556). หลักทฤษฎีและปฏิบตั ิการบรหิ ารการศกึ ษา. พษิ ณุโลก :
มหาวทิ ยาลยั พิษณโุ ลก
ประธาน คงฤทธิศึกษากร. (2522) “การใชระบบคณะกรรมการในการบริหาร.” มหาดไทย. 4
(40) :122-123.
ประธาน คงฤทธศิ กึ ษากร. (2526) “ระบบคณะกรรมการในฐานะทีเ่ ปนอุปกรณตอการสื่อขอความ.”
วารสารขาราชการ. 28 (6) :33.
ประเวศ วะสี. (2541) การปฏริ ูปการศึกษา : ยกเครอื่ งทางปญญาทางรอดจากความหายนะ
กรุงเทพฯ : มลู นธิ สิ งศรี – สฤษดว์ิ งศ. .
ประเวศ วะสี. (2542) รายงานการปฏริ ปู การศกึ ษาในประเทศฝร่งั เศส สาํ นกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ. พมิ พคร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ที.พี.พรินทร จาํ กดั .
เปลยี่ น ศริ ิรงั สรรคกุล. (2527) ความคดิ เหน็ ของคณะกรรมการการศึกษา ประจําโรงเรยี น
ประถมศกึ ษา สังกดั สาํ นักงานประถมศึกษาจังหวดั พษิ ณโุ ลก. วิทยานิพนธปรญิ ญา
มหาบัณฑติ . กรงุ เทพฯ :จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พนสั หนั นาคนทร. (2529) หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา. พิมพครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช.

212

48

พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตโต). (2531) หลกั การศึกษาในพระพุทธศาสนา. เอกสารทางวิชาการ
คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั .

พระธรรมปฎก. (2538) ชวี ิต งาน และสงั คมท่ีสมบูรณ กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด
ป.สมั พันธพาณิชย.

พิณสุดา สิริธรงั ศรี.(1-15 กุมภาพันธ 2542) “องคกรปกครองสวนทองถ่นิ กับการจดั การศึกษา.”
วารสารปฏิรูปการศกึ ษา.1 (10) : 10.

พิณสุดา สิริธรงั ศรี.(2556). รปู แบบการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน. กรงุ เทพฯ :
บรษิ ทั พริกหวานกราฟฟค จํากัด.

ไพรัช ธัชยพงษ และกฤษณะ ชางกลอม. (2541) การพฒั นาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศแหงชาติ
เพอื่ การศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพและทาํ ปกเจริญผล.

ไพรัช ธัชยพงษ และพิเชฐ ดุรงคเวโรจน. (2541) เทคโนโลยสี ารสนเทศชาติเพอ่ื การศึกษา
กรุงเทพฯ : โรงพิมพและทาํ ปกเจริญผล.

ไพโรจน พรหมมีเนตร. (2533) การปฏบิ ตั ิงานของคณะกรรมการศกึ ษาประจําโรงเรียน
ประถมศกึ ษาสงั กัดสํานักงานประถมศกึ ษาจังหวดั พิษณุโลก. วทิ ยานิพนธปริญญา
มหาบณั ฑติ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ไพศาล อนิ ทับทนั และสรุ ิยนั นนทศกั ด์ิ. (พฤศจิกายน. 2537) “บทบาทของคณะกรรมการในการ
พฒั นาโรงเรียน” วารสารมติ รครู. 26(21): 10-12.

ภาวดิ า ธาราศรสี ทุ ธิ, และวิบลู ย โตวณะบตุ ร. (2542). หลักและทฤษฎกี ารบริหารการศึกษา.
กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พมหาวิทยาลยั รามคาํ แหง.

มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. (2540) ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฏีและแนวปฏิบัติในการบริหาร
การศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.

ยวุ ดี ศันสนยี รตั น. (2544) การบรหิ ารโดยใชโรงเรยี นเปนฐาน. 2544. อางถึงในกรมสามัญศกึ ษา.
รวมบทความเชงิ วิชาการเรอื่ งการบรหิ ารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน. กรงุ เทพฯ :
กรมสามัญศกึ ษา.

โยทะกา แกงปลั่ง. (2529) การศึกษาการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการศกึ ษาประจําโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาในจังหวัดอบุ ลราชธาน.ี วิทยานพิ นธปริญญามหาบณั ฑิต. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร.

เรวดแี กวมณ.ี (4 กมุ ภาพนั ธ 2554). สรปุ ผลเสวนา Morning Talk เรือ่ งเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษแม
สอด : โอกาส และศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรมชายแดน. สืบคน 7 สิงหาคม
2557 จาก http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/article
/Maesot_SpecialEconomicZone_220254.doc

รุง แกวแดง. (2541) ปฏวิ ตั กิ ารศึกษาไทย กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พมตชิ น.

213

49

วทิ ยากร เชียงกลู . (2542) รายงานสภาวะการศกึ ษาไทยป 2541 : วกิ ฤติและโอกาสในการปฏริ ปู
การศึกษาและสงั คมไทย สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ กรุงเทพฯ :
อมั รินทร พรนิ้ ตตง้ิ แอนดพบั ลชิ ชิง่ จาํ กัด (มหาชน).

วรี ะวัตน อุทัยรัตน. (2544) การบรหิ ารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน. อางถึงในกรมสามญั ศึกษา.
รวมบทความเชงิ วิชาการเรือ่ งการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน. กรงุ เทพฯ :
กรมสามญั ศึกษา.

วฒุ ิ สวุ รรณรงั ษี. (2541) การปฏิบตั ิตามบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการโรงเรียนประถมศึกษา
สาํ นักงานประถมศกึ ษาจังหวดั สระบุรี. ปริญญามหาบัณฑติ .กรงุ เทพฯ :
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.

ศกั ราช ฟาขาว. (เมษายน – พฤษภาคม 2543) “ทําอยางไรใหประชาชนมีสวนรวมตอการจดั
การศึกษา.” วารสารขาราชการครู. 20 : 40 – 42.

ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคใต กรมการศึกษานอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธิการ. (2542)
เอกสารประกอบการประชมุ สัมมนา การปฏริ ูปการสงเสรมิ การศึกษาตลอดชีวติ และ
เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา วนั ที่ 5 พฤศจกิ ายน 2542 ณ โรงแรมทวินโลตสั
จงั หวัดนครศรธี รรมราช.

ศูนยวจิ ัยเศรษฐกิจและธุรกจิ (EIC Economic Intelligence Center). (2555). คาชายแดน โอกาส
ใกลตัว ที่ไมควรมองขาม. สบื คน 13 สงิ หาคม 2557 จาก
http://www.scbeic.com/THA/document/ topic_border_trade/SCB Biz Circle
3/2012.

สงบ ลกั ษณะ.(16-30 พฤศจกิ ายน 2541) “ แนวคดิ เกยี่ วกับการศึกษาภาคบังคบั 12 ป.” วารสาร
ปฏริ ูปการศึกษา. 1 (7) : 12.

สถาบันระหวางประเทศเพ่ือการคาและการพฒั นา. (2557). รายงานสรุปเชงิ นโยบาย โครงการวิจยั
เรอ่ื ง “แนวทางและมาตรการเพอ่ื การพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษบริเวณพ้นื ท่แี นว
ชายแดนของไทย”. กรุงเทพฯ.

สถาบนั เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาแหงชาติ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ. (2543)
นโยบายเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษาในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ (2542)
กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพดี จาํ กัด.

สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข. (กุมภาพนั ธ 2548). รทู นั รางกฎหมายเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ. สืบคน
25 สงิ หาคม 2557 จาก http://www.sea-r.com/Data%20for%20website/E2%20
tsunami%20sec/Tsunami2.pdf

สถาบนั สงเสริมการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ สาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาต.ิ (2541) (ราง) มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาพนื้ ฐาน
(เอกสารอัดสาํ เนา).

214

50

สถาบันแหงชาตเิ พ่ือปฏิรปู การเรียนรู สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2542) แนวการ
จดั การศึกษาตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ กรุงเทพฯ : สํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ (เอกสารอดั สําเนา).

สนานจติ ร สคุ นธทรพั ย. (2544) รวมบทความเชงิ วชิ าการเร่อื งการบรหิ ารโดยใชโรงเรยี นเปนฐาน.
กรุงเทพฯ : กรมสามญั ศึกษา.

สมบัติ สวุ รรณพทิ กั ษ. (2538) “สรปุ การศึกษาตลอดชวี ติ ” จาก การอภิปรายเรื่อง แนวคดิ
การศกึ ษาตลอดชีวิต วันที่ 26 มกราคม 2538 ณ โรงแรมรอยัลรเิ วอร กรงุ เทพมหานคร.

สมพร เพชรสงค. (สิงหาคม-กรกฎาคม 2541) . “กระบวนทัศนใหมของโรงเรยี นสูชุมชน.”
วารสารขาราชการครู. 18 : 27-30.

สมยศ นาวกี าร. (2525) การบริหารงานแบบมสี วนรวม . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.
สมาคมสันนบิ าตเิ ทศบาลแหงประเทศไทย. (ม.ป.ป.). การวิเคราะห (ราง) พระราชบัญญตั ิเขต

เศรษฐกิจพเิ ศษ. สบื คน 13 สิงหาคม 2557 จาก www.nakhonmaesotcity.go.th
สํานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาติ. (2539). คมู ือคณะกรรมการประถมศกึ ษา

จังหวัดและอําเภอ กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : ครุ สุ ภาลาดพราว.
. (2540) เอกสารประกอบการประชมุ สมั มนาคณะกรรมการโรงเรียน. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
สํานกั งานกฎหมาย มีชัย ฤชุพันธุ. (2547). รายงานฉบบั ยอสาํ หรับผบู รหิ ารโครงการรูปแบบเขต
เศรษฐกิจพิเศษ. สบื คน 15 สงิ หาคม 2557 จาก www.nakhonmaesotcity.go.th
สาํ นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2557). ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกจิ
พเิ ศษ. กรุงเทพฯ: สาํ นกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี.
สํานักงานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา. (2548). รายงานของคณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกิจ การพาณิชยและ
อตุ สาหกรรมวฒุ ิสภา เรอื่ ง รางพระราชบญั ญัตเิ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ. กรงุ เทพฯ :
สาํ นักงานเลขาธิการวฒุ ิสภา.
สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (ธนั วาคม 2546). สรปุ Special Economic Zone Laws
ของตางประเทศ กรงุ เทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า.
. (4 เมษายน 2548). เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ (Special Economic Zone.) กรุงเทพฯ:
สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2556). เอกสารประกอบการประชุมเพื่อตรวจพจิ ารณาราง
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ พ.ศ. .... กรงุ เทพฯ:
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
สาํ นกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, (19 ตุลาคม 2547). การจดั ต้ังเขตเศรษฐกจิ ชายแดน จังหวดั ตาก.
สบื คน 20 สงิ หาคม 2557 จาก http://www.cabinet.soc.go.th
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน. (2559). รายงานการจดั การศึกษาในเขตพฒั นา
เศรษฐกจิ พเิ ศษ. กรุงเทพฯ : ประยรู การพมิ พ.

215

51

สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2542). รายงานการสังเคราะหผลการสํารวจ เรอื่ ง
คนไทยคดิ อยางไร ตอการจัดการศึกษา. กรงุ เทพฯ : ไอสแควร.
. (2542) การกระจายอํานาจทางการศกึ ษา : บทบาทของชุมชนในการสนบั สนนุ ดาน
การเงิน (วไิ ลลกั ษณ ผดุงกิตติมาลย แปลจาก Mark Bray Decentralization of
Education : Community Financing (Internet : http://www.worldbank.org
/html/extde/educ/edu-eram/deced-f.htm) กรงุ เทพฯ :
บริษัท ที.พ.พรนิ ทร จํากัด.
. (2542) การบริหารการศกึ ษา กระทรวงเดียว (บทสมั ภาษณ ศาสตราจารย
ดร.วจิ ติ ร ศรสี อาน ออกอากาศทางสถานโี ทรทัศนกองทัพบก ชอง 5 ในรายการ “เชาวนั นี้”
วนั พฤหัสบดีที่ 18 และวันพุธที่ 24 กมุ ภาพนั ธ 2542) (เอกสารอดั สาํ เนา).
. (2540) การปฏิรูปการศึกษาของประเทศองั กฤษ ฝรงั่ เศส เยอรมนี (เอกสารอัด
สําเนา).
. (2540) การเรยี นรู : ขุมทรัพยในตน (ศรีนอย โพวาทอง และคณะแปลจาก Delors,
Jacques and others (1996) Learning : The Treasure within Report to
UNESCO of the International Commission on Education for the
Twenty – first Century) กรงุ เทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
. (2543) การเรยี นรตู ลอดชวี ิต การประเมนิ การเรียนรจู ากประสบการณ (กลอยตา
ณ ถลาง แปลจาก บารบารา เมอรลิ และตเี ฟน ฮิลล Lifelong Learning Through
APEL : AUK Perspective จากมหาวทิ ยาลัยวอรริก สหราชอาณาจักร Internet :
wysiwyg://23//http://www. user.uni-bremen.de/erill/lios/contrib/s5-01.html)
กรงุ เทพฯ : บริษทั พิมพดี จํากดั .

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาต.ิ (2541) การเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 (เอกสารแปลจาก
ฟรายเออร อาร.เอช. และคณะ (Fryer, R.H., and others (1998)) รายงานฉบับแรก
ของคณะกรรมการท่ีปรึกษาแหงชาติวาดวยเรือ่ งการศึกษาตอเนื่องและการเรยี นรูตลอด
ชวี ติ พฤศจิกายน 2540) เอกสารอัดสาํ เนา.
. (2540) การรบั นกั เรยี น ปการศกึ ษา 2540 ความสําเรจ็ ของแผนงานหลักที่ 1
การยกระดบั การศกึ ษาพืน้ ฐานของปวงชน กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ.
. (2540) การศึกษาเพื่อพฒั นาคนสาํ หรับสังคมไทยในสองทศวรรษหนา กรุงเทพฯ : สํานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาต.ิ
. (2542) ความรวมมือระหวางชมุ ชน สถานประกอบการและโรงเรียนในปฏิรูปการศึกษา
กรณีศกึ ษา ซิลิคอนแวลลีย (ภทั รนันท พฒั ิยะ แปลและเรียบเรียงจากเรื่อง 21st Century
Education Initiative internet : http://www.joinventure.org/initiatives /21st/
21cntry.html) กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ที.พี.พรนิ ต จํากัด.

216

52

. (2540) รายงานการปฏิรูปการศกึ ษาของประเทศสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ :
อรรถพลการพิมพ.
. (2540) รายงานการปฏริ ปู การศกึ ษาของประเทศออสเตรเลีย. กรุงเทพฯ :
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ
. (2540) รายงานการปฏริ ูปการศึกษาของประเทศนิวซแี ลนด.
บรษิ ทั เซเวนสพรนิ ติง้ กรุป จาํ กัด, กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ที.พี.พรนิ ต จาํ กดั .
. (2542) รายงานการปฏิรปู การศกึ ษาของประเทศแคนาดา. (พ.ศ. 2541)
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ กรงุ เทพฯ : บริษทั ที.พี.พรนิ ต จํากัด.
. (2540) รายงานการปฏริ ปู การศกึ ษาของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี. กรงุ เทพฯ :
บรษิ ัท ที.พี.พรินต จาํ กัด.
. (ม.ป.ป.) แผนพฒั นาการศกึ ษาแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544). กรุงเทพฯ :
อรรถพลการพิมพ.
. (2542) พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ :
บรษิ ทั พริกหวานกราฟฟค จํากดั .
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2542) มหาวิทยาลัยเพอื่ อุตสาหรรม (University for
Industry) การจดั การเรยี นรทู ท่ี นั สมัย ; บทบาทของมหาวิทยาลัยเพื่ออตุ สาหรรม.
กรงุ เทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ (เอกสารอดั สาํ เนา).
. (2542) ยคุ แหงการเรยี นรู : การฟนฟบู ริเตนสูโฉมหนาใหม (เอกสารฉบับยอ).
(แปลจาก The Learning Age : A Renaissance for A New Britain) กรุงเทพฯ :
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (เอกสารอดั สาํ เนา).
. (2541) ยุทธศาสตรการปฏริ ปู การศึกษาทป่ี ระสบผลสําเร็จ. (สรุ างค โพธิ์พฤกษาวงศ
และ วภิ สั รินทร ประพนั ธสริ ิ แปลและเรียบเรียงจาก Steven Klein and Others เรอ่ื ง
Fitting the Pieces : Education Reform that Works) สาํ นกั พัฒนาระบบการศกึ ษา
และวางแผนมหภาค สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ (เอกสารอัดสําเนา).
. (2543) ยุทธศาสตรการเรียนรูตลอดชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 ของประเทศสหราช
อาณาจกั ร. (พศิ วาส ปทุมุตตรงั ษี) แปลจาก Learning for the Twenty-first
Century:First report of the National Advisory Group for Continuing
Education and Lifelong Learning) กรุงเทพมหานคร : สาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ (เอกสารอัดสาํ เนา).
. (2542) สรุปสาระการสัมมนาสิง่ แวดลอมและการเรียนรูสรางสมองเด็กใหฉลาดได
อยางไร. วนั ท่ี 12 มนี าคม 2542 ณ หองกรงุ ธนบอลรมู โรงแรมรอยลั รเิ วอร
(เอกสารอัดสําเนา).

217

53

. (2542) สังคมการเรียนรู (เอกสารเพ่ือการปรกึ ษาหารือของรัฐบาลสหราชอาณาจกั ร).
(สรุ างค โพธ์ิพฤกษาวงศ และวิภัสรนิ ทร ประพันธสิริ แปลและเรยี บเรียงจาก Connecting
the learning society : National Grid for Learning – the Government consultation
paper) กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ที.พี.พรินต จํากดั .
สาํ นกั งานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา. (20 สิงหาคม 2542) “ครอบครัวมีสวนรวมนอย.”
วารสารเสนทางปฏริ ปู การศึกษาไทย. 1 (11) : 4.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาต.ิ (2542) เอกสารประกอบการ
ประชุมสมั มนาระดมความคิดเห็นในระดบั จงั หวดั และอนุภาค ภาพรวมการพฒั นา
เศรษฐกจิ และสังคมไทย กรุงเทพฯ : บพธิ การพมิ พ.
สาํ นกั งานปฏิรปู การศึกษาตลอดชวี ิต กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ. (2542)
เอกสารประกอบการประชมุ เพอ่ื จัดทํารายละเอยี ดการปฏริ ูปการสงเสริมการศึกษา
ตลอดชีวติ และเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา 16-18 กนั ยายน 2542 ณ โรงแรมคุมสุพรรณ
อ.เมอื ง จ.สุพรรณบรุ ี (เอกสารอดั สาํ เนา).
สาํ นักงานประสานงานโครงการทรพั ยากรมนษุ ย. (เมษายน – พฤษภาคม 2543) เอกสาร
ประกอบการอบรมเพอื่ พฒั นา. กรงุ เทพฯ : คณะกรรมการโรงเรียนโครงการพัฒนา
ทรัพยากรมนษุ ย.
สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). รปู แบบการจดั การศึกษาเชิงพน้ื ท่ี : บทเรียนทางเลอื ก
และเงื่อนไขความสาํ เร็จ. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค.
. (2559). การวิเคราะหปจจัยเชิงสาเหตเุ พื่อพัฒนาสมรรถนะกาํ ลงั คนรองรบั โลก
ศตวรรษที่ 21 (ฉบบั สรุป). กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟค.
. (2559). (ราง) กรอบทศิ ทางแผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2574. กรุงเทพฯ :
สาํ นักนโยบายและแผนการศึกษา.
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร. (2541) รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช
2540. กรุงเทพมหานคร : นะรจุ การพิมพ.
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภารางรัฐธรรมนูญ. (2540) รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช
2540 กรงุ เทพฯ : สํานักงานเลขาธกิ ารสภารางรฐั ธรรมนญู .
สํานกั นโยบายและแผนฯ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2538) คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคของ
คนไทยในยคุ โลกาภิวตั น. (เอกสารอัดสําเนา).
สํานักราชเลขาธกิ าร. (2522) ประมวลพระราชดํารสั และพระบรมราโชวาททีพ่ ระราชทานในโอกาส
ตางๆ ป พ.ศ. 2521. กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท.
สาํ ราญ ถาวรายศุ ม. (2510) “หลักการจดั ต้ังคณะกรรมการ.” นกั บรหิ าร. 2(4) : 9-10.
สําราญ หาญประเสริฐ. (2544) ศึกษาการมสี วนรวมจดั การศึกษาของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้
พื้นฐาน โรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสํานกั งานประถมศึกษาอาํ เภอภูเวยี ง จังหวดั
ขอนแกน. อางถงึ ในสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาต.ิ (2545) การประชุมทาง
วชิ าการเรือ่ งการวิจัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ทําปกเจรญิ ผล.

218

54

สุนทร สุนนั ทชัย. (2529) การศกึ ษานอกโรงเรยี น : เสนทางที่ไมมีส้นิ สุด. กรุงเทพฯ :
อมรนิ ทรการพิมพ.
. (2532) “ววิ ัฒนาการของการจดั การศึกษาไทย” ใน เอกสารสอนชดุ วิชาการการศึกษา
ตลอดชีวิตและการศกึ ษานอกระบบ. หนวยท่ี 2 เลมที่ 1 สาขาวิชาศึกษาศาสตร
มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช นนทบรุ ี : โรงพมิ พมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.
. (2532) “หลกั และปรชั ญาของการศกึ ษาตลอดชวี ติ ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชา
การศึกษาตลอดชีวิตและการศกึ ษานอกระบบ. หนวยที่ 1 เลมท่ี 1 สาขาวชิ า
ศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช นนทบรุ ี :
โรงพมิ พมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.
. (2537) กฎหมายการศึกษาผูใหญและการศึกษาตลอดชีวติ ในสหรฐั อเมรกิ า.
กรงุ เทพฯ : กรมการศึกษานอกโรงเรยี น (เอกสารอดั สําเนา).

สมุ าลี สงั ขศรี. (2532) “หนวยงานท่ใี หบริการการศึกษานอกระบบ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชา
การศกึ ษาตลอดชีวติ และการศึกษานอกระบบ. หนวยที่ 13 เลมท่ี 2 สาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี :
โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
. (2543) รายงานการวิจยั การศกึ ษาตลอดชีวติ เพ่ือสังคมไทยในทศวรรษที่ 21.
กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.

สมุ าลี สงั ขศรี และ นฤมล ตันธสุรเศรษฐ. (2533) “การจัดการศึกษานอกระบบใหสมั พันธกบั
พ้ืนฐานของชีวิตและสังคม” ใน เอกสารการสอนชุดวชิ าการจดั การการศกึ ษา. เลมที่ 1
หนวยท่ี 1 สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช นนทบรุ ี :
โรงพมิ พมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.

สรุ เชษฐ บวั ชาต.ิ (2537) โลกใหมไรพรมแดน. (แปลจาก Peter Druger Post Capitalist
Society) กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจาํ กัดภาพพิมพ.

สุรัฐ ศิลปะอนันต. (2542) แนวคดิ การปฏริ ูปการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรุงเทพฯ :
โรงพิมพการศาสนา.
. (2542) เสนทางสคู วามสาํ เรจ็ ของการปฏิรูปการศึกษา : แนวทางการดาํ เนนิ งาน
ปฏิรปู
การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรงุ เทพฯ : คุรสุ ภาลาดพราว.

สุวรรณ พิณตานนท. (2559) การบรหิ ารโดยใชโรงเรียนเปนฐานในการพัฒนาทองถนิ่ . กรุงเทพฯ :
กรมสงเสรมิ การปกครองทองถน่ิ .

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ และคณะ. (2541) การกระจายอาํ นาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา.
กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.

219

55

ยูเนสโก. (2519) ความรูเบื้องตนเกยี่ วกบั การศึกษาตลอดชีวิต. สํานกั เลขาธกิ ารคณะกรรมการ
แหงชาตวิ าดวยการศึกษาฯ สหประชาชาติของประเทศไทย จัดแปลและพิมพเปน
ภาษาไทย (ปทมาฆะ สคุ นธมาน และ พรนิภา ลิมปพยอม แปลและเรียบเรียงจาก
ปอล ลองกรอง An Introduction to Lifelong Education 1975) กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พรุงเรืองธรรม.

อํานวยพร ทรัพยคง. (2542) บทบาทของคณะกรรมการโรงเรียนปฏิรูปประถมศกึ ษา ดาน
ความสมั พนั ธระหวางโรงเรยี นกับชมุ ชน ในจังหวดั ปราจนี บุรี.ปรญิ ญามหาบณั ฑิต.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.

อาํ รงุ จันทวานิช และไพบูลย แจมพงษ. (กันยายน 2542) “การศกึ ษา :แนวทางการพฒั นา
คุณภาพ.” วารสารวชิ าการ. 2(9) : 5-11.

อทุ ยั บญุ ประเสรฐิ . (2542) การศกึ ษาแนวทางการบริหารและการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาใน
รูปแบบการ บรหิ ารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน (School – Based Management).
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว.
. (เมษายน 2545) “การบรหิ ารโดยใชโรงเรยี นเปนฐาน.” รายงานปฏิรูป
การศึกษา.4(52) : 7.

อุทัย หริ ญั โต. (2532) การบรหิ ารประยกุ ต. กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร.

ภาษาตางประเทศ
Apps, J.W. (1992) Adult Education : The Way to Lifelong Learning (Fast back 334)

Bloomington, Indiana : Phi Delta Kappa Educational Foundation.
. (1985) “Lifelong learning examined” in Long, H., Apps, J.W. and
Hiemstra,R. (1985) Philosophical and otherviews on lifelong learning
Athens : The University of Gersgia.p.p. 1-38.
A.TEC National Council Policy Paper. (May 1997) : A Lifetime of Learning :
A Lifetime of Work, Developing A Learning Society “The Role of
Lifetime Learning Accounts” (Executive Summary) (สืบคนโดยสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ).
Axinn,G.H. (1974) Programme of Studies in Non – Formal Education.
Bartol, Kathryn M., & Martin, David C. (1997). Management. (3rd ed.). New York, NY:
McGraw-Hill.
Busshoff,L.,D’ Hainaut, L.,and others. (1981) Curricula and Lifelong Education :
Education on the move. Studies fof Unesco. Unesco,Paris : Imprimeries
Reunies du Chambery.

220

56

National College of School Leadership of the UK Government) (Citation No =113,
Central Council for Education. (1982) The ldeals and Tasks of Lifelong
Education A Summary of The Report. National Institute for Educational
Research of Japan.

Cheng, Y.C. (1996). School effectiveness and school-based management: A
mechanism for development, London, U.K.: The Falmer Press, pp.1-203.

Chief Education Officers. (1999) Lifelong Learning Partnerships, Internet :
http ://www. dfee.gov.uk/llp/protocol.htm.

Cisco. (2010) The Learning Society. CA : Cisco Systems, Inc.
Coombs,P.H., Prosser, R.C., and Ahmed, M. (1973) New Paths to Learning for Rural

Children and Youth. West Haven, Conn : International Council of
Education Development.
. (1968) The World Educational Crisis. New York : Oxford University Press.
Cropley, A.J. (1977) Lifelong education : A psychological analysis. New York :
Pergamon
. (1980) Towards a System of Lifelong Education. Hamburg : UNESCO
Institute for Education.
Cropley, A.J. and Dave, R.H. (1978) Lifelong education and the training of
terchers : Developing a curriculum for teacher education on the basis
of the Principles of Lifelong education. Oxford : Pergamon.
Dalf, R. (2006). The New Era of Management: International Edition. Ohio :
Thompson
Dave, R.H. (ed.) (1976) Foundations of Lifelong Education. Oxford : Pergamon Press.
. (1973) Lifelong Education and School Curriculum. (UIE Monogragh I)
Hamburg : Unesco Institue for Education.
. (1975) Reflections on Lifelong Education and the School. (UIE
Monogragh llI) Hamburg : Unesco Institute for Education.
Dave, R.H., and Lengrand,P.(ed.) (1974) International Review of Education XX (1974),
No.4 Special issue onv Lifelong Education and Learning Strategies.
Dave, R.H. and Skager, R. Curriculum Evaluation for Lifelong Education. Oxford:
Pergamon Press,1977.
David, Jane L. "Synthesis of Research on School-Based Management." Educational
Leadership. 46,8 (May 1989): 45-53. EJ 388 744.

221

57

Department for Education and Employment, Scotland and Wales. (1996) Lifetime
Learning A Consultation Document. Internet : http//www.transcend.co.uk/
LIFLONG/LEARNING/CONSULT/CHATFORE.HTM.

Department of Education, Training and Youth Affairs. Annual Report. (1993). Lifelong
Learning in New South Wales,Australia Internet :
http://www.dec.nsw.gov.au/about-us/how-we-operate/annual-reports.

Department of Education, Training and Youth Affairs. (Kemp,David). (1999) Lifelong
Learning in the 21st Century. Internet : http://www.dec.nsw.gov.au/about-
us/how-we-operate/annual-reports.

(Kemp, David) (1997) National Launch of Adult Learner’s Week. Canberra, 1
September 1997. Internet : http://www-detya. Gov.au/ministers/ kemp/ks
010997.htm.

Department of Education, Training and Youth Affairs. (Kemp,David). (1998) Pathways
and Priorities for Lifelong Learning (Speech to Unesco Conference on
Education for the 21st Century in the Asia-Pacific Region. Melbourne, 30
March, 1998) Internet : http://www.detya.gov.au/ministers/Kemp/k16-
300398.htm.

Department of Education, Training and Youth Affairs. (Worth, Trish) (1999) Give it a go
for Adult-Learners’week. 3 September 1999. Internet : http://www-detya.
gov.au/ministers/ worth/w-030999 htm.

Drucker. (2005). Management : Tasks. Responsibilities. Practices. New York :Harper
& Row.

Edley Jr.,C. (1992) A World Class School for Every Child : The Challenge of
Reform in. Pennsylvania. Boston : Harvard University Law School.

Edwards,R. (1997). Changing Places? Flexiblity, lifelong learning and a learning
society. Great Britain : Mackays of Chatham PLC, Chatham, Kent.

Employment Community Initiatives. (1998). European Lifelong Learning Initiative
(ELLI), Internet : http://www.ellinet.org/elli/html/body-elli-intro.html.

European Commission. (1996). 1996 the European year of Lifelong Learning
Internet : http://europa..eu.int/en/comm/dg 22/eyinet.html.

Eurydiee. (2000). Lifelong Learning : The Contribution of Education Systems in
the Member States of the European Union. Internet :
http://www.pedz.uni-mannheim.de/daten/edz-wf/eud/00/2-87116-294-8-
EN.pdf.

222

58

Faris,Ron. (Consultant). (1995). Lifelong learning on the knowledge highway.
“Access to lifelong learning opportunities on Canada’s Information
Highway” (prepared for the Office of Learning Technologies).
Internet:http://www.olt-bta.hrdc-drhc.gc.ca/info/online/highway.html.

Faris,Ron. (Consultant for the Ministry of Skills, Training and Labour Victoria, British
Columbia Canada) (September 1995) Major Reforms in Training Systems
in three countries : An Update of Selected Reforms from 1994-1995 in
Australia New Zealand The United States. Internet :
http://www.aett.gov.bc.ca/educ-systems/3nations.htm.

Faure, E.et al. (1972) Learning to Be : The World of Education Today and
Tomorrow. Paris : Unesco.

Freeman, R. Edward (1992). Strategic Management: A stakeholder approach.
Boston: Pitman.

Fryer, R.H. (Chair) (1997). Learning for the Twenty – First Century. First report of the
National Advisory Group for Continuing Education and Lifelong Learning.
November 1997. Internet : http://www.lifelong-learning.co.uk/nagcell
/index.htm.

Galbraith, M.W, (1995) Community-Based Organizations and the Delivery of
Lifelong Learning Opportunities. A commissioned paper presented to the
National Institute on Postsecondary Education, Libraries and Lifelong
Learning, Office of Educational Research and Improvement, U.S.
Department of Education,.Washington, D,C., April 1995 Internet :
http://www.ed.gov/pubs/PLLI.comm.htm.

Galbraith, M.W. (ed.) (1992) “Future Prospects for Rural Lifelong Education” in
Galbraith, M.W. Education in the Rural American Community. A Lifelong
Process. Florida : Krieger Publishing Company.

Galbraith, M.W. (ed.) (1992) Education in the Rural American Community. A
Lifelong Process. Florida : Krieger Publishing Company.

Griffin Colin (1983) Curriculum Theory in Adult and Lifelong Education. New York :
Nichols Publishing Company.

Gulick, L. and Urwick, L. (Eds.) 1937. Papers on the Science of Administration.
New York : Columbia University Press.

Gulick, Luther and Lyndall, Urwick. (1973). Paperson the Science of Administration.
New York : Columbia University Press.

223

59

Hainuat, L.D. “Educational needs” in UNESCO (1981). Curricula and lifelong
education : Education on the move. France : Imprimeries du Chambery.

Harvighurst,R.J. (1972) Developmental Task and Education. (3rd ed.), New York :
Mckay.

Hatton, Michael. J. (1997) A Pure Theory of Lifelong Learning, Internet :
http://www. apec-hurdit.org/lifelong-learning-book/hatton.html.

Hawes, H.W.R. (1975) Lifelong Education, Schools and Curricula in Developing
Countries. (UIE Monopraphs IV) Hamburg : Unesco Institute for Education.

Heermann, Barry and others (1980) New Directions for Community Colleges :
Serving Lifelong Learners. San Francisco : Jossey-Bass Inc., Publishers.
(ERIC No.29/1980)

Fayol, H. (1949). General and Industrial Management. (trans. C Storrs). London:
Pitman.

Simon, Herbert A. (1976) Administrative Behavior. A Study of Decision-Making
Processes in Administrative Organization, Third Edition, London : The
Free Press, Collier Macmillan Publishers.

Holden, M. and Conelly, S. (2004). The learning city : Urban sustanability
education building toward WUF legacy. Canada: Simon Fraser University.

Houle, Cyril O. cited in Axford, Roger.W (1980) Adult Education : The Open Door to
Lifelong Leaning. The A.G. Halldin Publishing Company PA.
. cited in Axford, Roger.W (1961) The Inquiring Mind. Wisconsin : University
of Wisconsin Press.

Hutchins, Robert.H. (1968) The learning Society. New York : New American Library.
James Guthric. (1986) . Consumer Guide. [ on line ]. Available : http ://

ericir.syr.edu/plwebcgi/obtain.pl.
Japanese Government (1994) Policies in Education, Science and Culture, Part ll,

Chapter 2 internet : http ://www.monbu.go.jp/hakusyo/eng/2.c02.html.
Jarvis, P. (1987) Adult learning in the social context. London : Croom Helen,

. (1986) Social perspectives of lifelong education and lifelong learning.
Athens : The University of Georgia, Jessup, F.W. (1969) Lifelong Learnin : A
Symposium on Continuing Education. Oxford : Pergamon Press.
John Dewey อางใน วนดิ า สิทธริ ณฤทธ์ิ (2527) การศกึ ษาไทย นครปฐม : แผนกบรกิ ารกลาง
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
Joseph C. Conaty.(1996) Consumer Guide. [ on line ]. Available : http ://
ericir.syr.edu/plwebcgi/obtain.pl.

224

60

Knapper, C. and Cropley, A.J (1991) Lifelong Learning and Higher Education.
(Second edition) Great Britain : Kogan Page Limited.

Knowles, M.S. (1980) The Modern Practice of Adult Education : From Pedagogy to
Andragogy. 2 nd ed New York : Cambridge Books.
. (1975) “Towards a model of lifelong education” im R.H.Dave (ed.)
Reflections on lifelong Education and the School. Hamburg : Unesco
Institute for Education.

Kolb. (1984) Experiential Learning. Engleword Cliffs : Prentice – Hall.
Okamoto, Kaoru. (1994) Lifelong Learning Movement in Japan : Strategy, Practices

and Challenges. Lifelong Learning Division, Tokyo.
Learning City Network. (September 1998) The Survey : Learning Towns, Learning

Cities Internet : http://www.lifelonglearning.co.uk/learningcities/index.htm.
Lee, Grace O.M. (1997). Lifelong Learning in Hong Kong. Internet : http :

//www.apec-hurdit.org/lifelong-book/lee.htm.
Lengrand, P. (1970) Introduction to Lifelong Education. Paris : Unesco.

. (1975) An Introduction to Lifelong Education. Paris : France and Croom
Helm, Ltd.
. (1986) Areas of Learning Basic to Lifelong Education. Hamburg :
UNESCO Institute for Education. Great Britain : Whenton & Co.Ltd.
Lister, lan., and Chen, Ya-lin (York,U.K.) (1999) “The Role of Information Technology in
the Development of University Adult Education and Lifelong Learning in
Taiwan : A Case Study” in European Conference Lifelong Learning Inside
and Outside School 25-27 February 1999 University of Bremen. Internet
wysiwyg : //68/http://www-user.uni-bremen.de/erill/lios/contrib/s3-07.html.
Lowe, John (1982) The education of adults : a world petspective (2 nd ed)
UNESCO. Paris : Imprimerie de la Manutention, Mayenne.
Mann, Carolyn.M. (1997) Prior Learning Assessment : U.S. Experience Facilitating
Lifelong Learning. Internet :http://www.apce-hurdit.org/lifelong-learning-
book/mann.htm.
McClenaghan, Pauline and Shanahan, Peter. (Ulster at Magee, Northern Lreland).
(1999) Community Development Education : The University in a
community of lifelong learners. European Conference “Lifelong Learning
– Inside and Outside School” 25-27 February 1999 University of Bremen
Internet : wysiwyg : //68/http://www-user.uni-bremen.de/contrib/s3-
07.html.

225

61

Miura, Seiichiro and others. (1992) Lifelong Learning in Japan : An Introduction.
National of Social Education in Japan.

National Extension College (NEC). (1998) Lifelong learning opportunities with NEC
Internet : http://www.nec.ac.uk/resources.html/long.html.

National Institute For Educational Research of Japan. (Section for Educational Co-
operation in Asia). (1982). The ideals and the Tasks of Lifelong
Education : A Summary of the Report by the Central Council for
Education. Tokyo : NIER Occational paper 05/82.

Owens, Thomas R. and Wang Changhua. (1996) Community-Based Learning :
A Foundation for Meaningful Educational Reform. Internet :
http://www.nwrel.org/scpd/sirs

Peter Drucker. (1998). The Profession of Management. Boston: Harvard Business
School Publishing.

Peterson, R.E. (ed.) (1979) Lifelong Learning in America. San Francisco :
Jossey – Bass Publisher.

Peterson, R.R. “Present source of education and learning” in Peterson R.E. (ed)
(1979) Lifelong Learning in America San Francisco : Jossey – Bass.

Peterson-del Mar, David. (1994). School – Site Councils. [ on line ]. Available :
http://ericir.syr.edu/plweb-cgi/obtain.pl.

Pope, R.L. (2002). Ethical Decision-Making on Multicultural Campuses at the
American

College Personnel Association (ACPA) national convention: Long Beach,CA.
Pope, R.L. (2002). Creating a Student Affairs Diversity Action Plan: Challengesand

Strategies at the American College Personnel Association (ACPA) national
convention: Long Beach, CA.
Priscilla Wohlstetter and Susan Albers Mohrman. (1994) . School Based
Management. [ on line]. Available : http ://
www.ed.gov/pubs/SchBasedMgmt/roles.html.
Ryan, J. (ed) (1972) Planning Out-of-School Education for Development Unesco :
International Institute for Education Planning.
Secretaries of State for Education and Employment, Scotland and Wales. (1996).
Lifetime Learning : A Consultation Document. Internet :
http://www.transcend.co.uk/lifelong learning/Consult-/chatfore.htm.
Seoul Metropolitan Office of Education. (1996) Introduction to Education in Seoul
1996 Korea : Seoul.

226

62

Simpson, E. J. (1972). The classification of educational objectives in the
psychomotor domain. Vol. 3. Washington, DC: Gryphon House.

Skager, R. (1978) Lifelong Education and Evaluation Practice. Unesco Institute for
Education. Pergarmon Press and Beccles and Landon : William Cloowes
and Sons Limited.

Skager, R.. and Dave R.H. (1977) Curriculum Evaluation for Lifelong Education
Unesco Institute For Education. Pergarmon Press.

Small, N.J. (Open University Leeds, U.K.) (1999) Self directed Lifelong Learning
Opportunities of Control. Internet : wysiwyg://42/http://www-user.uni-
bremen.de/erill/lios/contrib/s7-02.html.

Smith,R.M. (1982) Learning how to learn Chicago : Follet .
State for Education and Employment, United Kingdom. (1998) The Toolkit-Practice,

Progress and Value, Learning Communities : Assessing the value they
add Internet : http://www.lifelonglearning.co.uk/learningcities/index.htm.
State for Education and Employment, United Kingdom. (1998) The Learning Age
Internet : http://www.lifelonglearning.co.uk/grcenpaper/index.htm.
Stewart,Divid W. (1987) Adult learning in America : Eduard Lindeman and His
Agenda for Lifelong Education. Florida : Robert E. Krieger Publishing
Compan.
Storr, Annie V. (1995) Current practice Potential : Research Adult Education in
Museums Paper Presented in U.S. Department of Education Conference
Panel on Public Libraries and Community-Based Education : Making the
Connection for Lifelong Learning. April 12-13 1995.
Internet:http://www.ed.gov/pubs/PLLIconf95/Pelavin.html.
Technology Action Team, Education Implementation Segment, Community Alliance
for Lifelong Learning. (1994) A Technology Vision for Lifelong Learning
in the Bloomington-Monroe County Telecommunity Internet :
http//www.blomington In us/hoosiernet/CALL/telecommunity – 94/.
The Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning (ASAIHL). (1984)
Proceedings : Seminar on Lifelong Education and the Role of ASAIHL.
Manila, Philippines 15-17 January 1981 Manila : UST press.
The Center for Policy Studies in Education, U.B.C., University of British Columbia.
(1992) Continuing Education in British Columbia’ s Colleges and
Institutes : A Foundation For Lifelong Learning Report Prepared for the
Ministry of Advanced Education, Training and Technology, May 1992.

227

63

The National Advisory Group for Continuing Education and Lifelong Learning. (1998)
Learning for the Twentyfirst Century : First report of the National
Advisory Group for Continunig Education and Lifelong Learning
Internet : http://www.lifelonglearning.co.uk/nagcell/part 1-5.htm.

The Utah State Office of Education. (1997) Lifelong Learning USOE
Homepage/Curriculum
Homepage.http://www.usoe.k12ut.us/curr/lifeskills/lifelong.html.

U.K. Lifelong Learning Homepage. (1998) Learning Towns and Cities Internet :
http://www.lifelonglearning.co.uk/learningcities/front.htm (UK Lifelong
Learning Homepage or the DFEE World Wide Web site).

UNESCO. (1962) Draft Programme and Budget for 1963-1964 Paris : Unesco.
. (1968) Draft Programme and Budget for 1969-1970 Paris : Unesco.
. (2014) UNESCO Education Strategy 2014–2021 Paris : Unesco.

U.S.Government. (1994) Education for Sustainability – Chapter 3 Nonformal
Education Action 8 : Lifelong Learning U.S. Government Printing office
Internet : http://www.gcrio.org/edu/pcsd/chapa3.html.

Vavrek, Bernard. (1995) Rural and Small Libraies : Providers for Lifelong Learning,
Clarion University of pennsylvania. Internet : http://www.ed.gov/pubs/PLLI
Conf95/Librry.html.

Vladislavlev, A.P. (1987) A Conceptual framework for the development of Lifelong
Education in the USSR. UNESCO : International Institute for Educational
Planning.

Yee, Albert.H., and Cheng, Joseph Y.S. (1997) Lifelong Learning in the United States
And Hong Kong : Before 1997 and After Internet : http://www.apec-
hurdit.org/Lifelonglearning book/yee-cheng.html.

228

229

230

231

232

233

234

235

236

237

238

239

240

241


Click to View FlipBook Version