The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-26 10:28:22

ประว้ติศาสตร์ 1

ส21103

บันทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนพนมศึกษา ตำบลพนม อำเภอพนม จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

ที่ พเิ ศษ/๒๕๖๕ วันที่ ๑7 พฤษภาคม ๒๕๖๕

เรอื่ ง รายงานการสง่ แผนการสอน

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นพนมศึกษา

ข้าพเจ้า นางสาวสุดารัตน์ ทองคำ ตำแหน่ง ครู คศ. ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ตามที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอน ดังนั้นได้จัดทำแผนการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์
(ส ๒๑๑๐๓) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดการเรียนการสอน
ดงั รายละเอียดในแผนการสอน ดงั แนบ

จึงเรยี นมาเพ่ือทราบ

ลงช่ือ.........................................................
(นางสาวสุดารัตน์ ทองคำ)
ครผู ้สู อน

ความคดิ เห็น ความคดิ เห็น

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ลงชื่อ................................................. ลงช่ือ.................................................
(นายธรี ะศักด์ิ ยอดมณยี )์ (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หวั หน้ากลุ่มงานวชิ าการ
หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษาฯ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงช่ือ.................................................
(นางผกา สามารถ)

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนพนมศึกษา ตำบลพนม อำเภอพนม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

ที่ พเิ ศษ/๒๕๖๕ วันที่ ๑7 พฤษภาคม ๒๕๖๕

เร่ือง ขออนุญาตใชแ้ ผนการจดั การเรียนการเรียนรู้
เรียน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา
สิ่งทแ่ี นบมาด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑

เนื่องด้วยข้าพเจ้า นางสาวสุดารัตน์ ทองคำ ตำแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรียนพนมศึกษา ได้รับมอบหมาย
ให้ปฏิบัติหน้าที่การสอนตามคำสั่งที่ ๒๒๘/๒๕๖๕ เรื่องมอบหมายงานสอน ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕
ซึ่งทางกลุ่มบริหารงานวิชาการได้มอบหมายให้ครูทุกคน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อย่างน้อยคนละ ๑ รายวิชานั้น

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานสายการสอนประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ได้จัดทำแผน
การจดั การเรยี นรู้ ในรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑

บัดนี้ ขา้ พเจา้ ได้ดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เปน็ ทเ่ี รียบร้อยแลว้ จึงขออนมุ ัติใช้แผนการจัดการ

เรียนรดู้ ังกล่าว เพื่อใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนในชัน้ เรยี น ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ตอ่ ไป

จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ
(นางสาวสดุ ารัตน์ ทองคำ)

ครผู ู้สอน

ลงชอื่ ลงช่อื
(นายธรี ะศกั ด์ิ ยอดมณีย์) ( นางสาวณฐั ญิ า คาโส )

หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษาฯ หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

ความคิดเหน็ ผูอ้ ำนวยการ
 อนุมัติ
 ไม่อนุมัติ .................................................................................................................................

ลงชอื่
( นางผกา สามารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นพนมศึกษา
........../......../...........

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

จำนวน ๐.๕ หนว่ ยการเรยี น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕

การกำหนดการใช้แผนจัดการเรียนรู้

รายการตรวจสอบและกลั่นกรองการใชแ้ ผนจัดการเรยี นรู้

ความคิดเหน็ ความคดิ เห็น

................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
................................................................................... ...................................................................................

ลงชื่อ................................................. ลงชอ่ื .................................................
(นายธีระศักด์ิ ยอดมณยี ์) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
หัวหนา้ กลมุ่ งานวชิ าการ
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษาฯ

...................................................................................……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
...................................................................................……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .................................................
(นางผกา สามารถ)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นพนมศกึ ษา

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นสง่ิ จำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอน เพราะเป็นเอกสาร
หลักสูตรที่ใชใ้ นการบริหารงานของครูผู้สอนให้ตรงตามนโยบายในการปฏริ ปู การศึกษา กำหนดไว้ในแผนหลักคุณภาพ
การศกึ ษา สนองจุดประสงค์และคำอธิบายรายวชิ าของหลักสูตร ในการบรหิ ารงานวิชาการถือว่า “แผนจดั การเรียนรู้”
เปน็ เอกสารทางวชิ าการท่สี ำคัญท่ีสุดของครู เพราะในแผนจดั การเรียนรปู้ ระกอบดว้ ย

๑. การกำหนดเวลาเรียน กำหนดการสอน กำหนดการสอบ
๒. สาระสำคญั ของเนอ้ื หาวชิ าท่ีเรียน
๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๔. กิจกรรมการเรียนการสอน
๕. ส่ือและอุปกรณ์
๖. การวดั ผลประเมินผล
การจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ ถือว่าเปน็ การสร้างผลงานทางวชิ าการ เป็นผลงานที่แสดงถงึ ความชำนาญใน
การสอนของครู เพราะครูใช้ศาสตร์ทุกสาขาอาชีพของครู เช่นการออกแบบ การสอน การจัดการ และการ
ประเมินผล ในการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้นั้นจะทำให้เกิดความมั่นใจในการสอนได้ตรงจุดประสงค์การเรียนรู้ เพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนการสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบสูงขึ้น ทั้งยังเป็นข้อมูลในการนิเทศติดตามตรวจสอบและ
ปรับปรุงการเรียนการสอนได้อย่างมีระบบและครบวงจร ยังผลให้คุณภาพการศึกษาโดยรวมพัฒนาไปอย่างมีทิศทาง
บรรลเุ ปา้ หมายของหลักสูตร

นางสาวสดุ ารัตน์ ทองคำ

ครผู สู้ อน

สารบญั

เรือ่ ง หน้า

กำหนดการใชแ้ ผน

คำนำ

วิเคราะหห์ ลกั สูตร
▪ คำอธบิ ายรายวชิ า
▪ โครงสร้างรายวชิ า
▪ โครงสรา้ งแผน

วิเคราะหผ์ ู้เรียน
▪ ตารางวิเคราะหผ์ ู้เรยี นด้านผลสัมฤทธิ์
▪ แบบวิเคราะห์ผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล/ความถนดั /ความสนใจ

การวัดผลประเมินผล

แผนการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เวลาและการแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
▪ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลา
▪ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ การแบง่ ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์
▪ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ ตัวอยา่ งการใชเ้ วลา ชว่ งเวลายคุ สมัยและศักราชในหลกั ฐาน
ทางประวัตศิ าสตร์
▪ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ ทม่ี าของศักราช
▪ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ การเปรียบเทยี บศักราชแบบต่างๆ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ วิธีการทางประวัตศิ าสตร์
▪ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ ความหมายและความสำคญั ของประวัตศิ าสตร์
▪ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์
▪ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย
▪ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ การศึกษาประวัติศาสตร์ทอ้ งถิ่น
▪ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๐ เหตกุ ารณส์ ำคัญในสมัยสุโขทัย

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ สมัยก่อนสุโขทยั ในดนิ แดนไทย
▪ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ เรือ่ งราวสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ในดนิ แดนไทย
▪ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๒ พฒั นาการของชุมชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย
▪ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๓ การสรา้ งสรรค์ภมู ปิ ญั ญาของมนษุ ยก์ ่อนประวัติศาสตร์
ในดินแดนประเทศไทย
▪ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๔ พัฒนาการจากชมุ ชนมาสู่รฐั โบราณ
▪ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๕ รฐั โบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
▪ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๖ การสร้างสรรคภ์ ูมิปญั ญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมยั สโุ ขทยั

โรงเรยี นพนมศึกษา
ตารางวิเคราะห์ผู้เรียนด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อนำไปออกแบบการเรียนรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถของนกั เรยี น
๒. เพ่อื เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพฒั นาผู้เรียนด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัตศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส ๒๑๑๐๓
ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๕ ชอื่ ผ้สู อน นางสาวสุดารัตน์ ทองคำ

สรปุ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นพ้นื ฐานที่ใช้ในการเรยี นวิชาน้ี

ระดบั คุณภาพของ GPA ของกลุ่ม จำนวนคน รอ้ ยละ
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

ปรบั ปรุง ตำ่ กว่า ๒.๐๐ -

พอใช้ ๒.๐๐ – ๒.๕๐

ดี สงู กวา่ ๒.๕๐

แนวทางการจดั กจิ กรรม

ผลสมั ฤทธิ์ ร้อยละ กิจกรรมแก้ไขหรือพัฒนาในแผนการ จำนวน เครอ่ื งมือ/วิธกี าร
ทางการ เดิม เปา้ หมาย เรียนรู้ ประเมนิ
เรียน

ดี

- -

ปรบั ปรงุ

แบบวิเคราะห์นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล
เก่ยี วกบั ความถนดั / ความสนใจ / รายวิชาประวัตศิ าสตร์

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ห้อง ๓

เลขท่ี ชื่อ – สกลุ ระดับความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
๓๒๑๐
๑ เด็กชายก้องภพ สงั ข์เพชร

๒ เด็กชายกัณตภณ คณุ วิจติ ร
๓ เดก็ ชายกิตติพงค์ เสมเมอื ง ✓
๔ เดก็ ชายชาดา แก้วคงคา ✓
๕ เด็กชายชินวัฒร มงั่ มี ✓
๖ เด็กชายธณภัทร นติ ยรัตน์ ✓
๗ เด็กชายพงคพ์ ิราม ศรีจนั ทร์ ✓
๘ เด็กชายพชั รพล มาทพั ✓
๙ เด็กชายภาสกร สมคลองศก ✓
๑๐ เด็กชายวชริ วทิ ย์ นวลขาว ✓
๑๑ เด็กชายวิริทธ์ิพล กองประดิษฐ ✓
๑๒ เด็กชายวรี ภัทร ปรชี า ✓
๑๓ เดก็ ชายวฒุ ิชัย รอดเจริญ ✓
๑๔ เด็กชายสุกฤษฎ์ิ จนั ทร์สว่าง ✓
๑๕ เดก็ ชายหัสนัย ลาภประเสรฐิ ✓
๑๖ เดก็ ชายอธิรญาณ์ อำมณี ✓
๑๗ เดก็ หญิงกัญญาพชั ร สมั พนั ธ์ ✓
๑๘ เดก็ หญงิ คุณญั ญา น้อยเสนา ✓
๑๙ เดก็ หญิงจนั ทกานต์ิ รพเรือง ✓
๒๐ เดก็ หญิงชุตกิ าญจน์ มาดี ✓
๒๑ เดก็ หญงิ ณชิ ารยี ์ ฉายาจติ ร์ ✓
๒๒ เดก็ หญงิ ธนัญญา เพง็ สกุล ✓
๒๓ เดก็ หญิงธัญวรตั น์ ยอดสรุ างค์ ✓
๒๔ เดก็ หญิงนิรนิ ธนา มิสมร ✓
๒๕ เดก็ หญงิ พรนภัส ชว่ ยชนะ ✓
๒๖ เด็กหญงิ พาทินธดิ า แป้นเผือก ✓
๒๗ เดก็ หญิงมลฤดี มากแก้ว ✓
๒๘ เดก็ หญงิ สิดาภัทร ผลบรรจง ✓
๒๙ เด็กหญงิ สุทารัฐ คุ้มเอยี ด ✓
๓๐ เดก็ หญิงเสาวลกั ษณ์ บวั ทอง ✓
๓๑ เดก็ หญงิ อรสิ รา เเซล่ มิ้ ✓


แบบวิเคราะห์นักเรียนเปน็ รายบคุ คล
เกย่ี วกบั ความถนดั / ความสนใจ / รายวิชาประวตั ศิ าสตร์

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ หอ้ ง ๔

เลขที่ ชอ่ื – สกลุ ระดับความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
๓๒๑๐
๑ เด็กชายกรวชิ ญ์ จนั ทรศ์ ร ✓

๒ เด็กชายณฐกร อภโิ มทย์ ✓
๓ เดก็ ชายณรงค์กร ทิพย์บรรพต ✓
๔ เด็กชายณฐั พงษ์ พงษ์ศิลป์
๕ เด็กชายดนยั จรรย์ทัน ✓
๖ เด็กชายทิโนทยั หมายมี ✓
๗ เดก็ ชายธนพร เรอื งเอียด ✓
๘ เดก็ ชายธนวฒั น์ ตรศี รี ✓
๙ เดก็ ชายนรวิชญ์ ณะจันทร์
๑๐ เด็กชายภาษกรณ์ ทองสัมฤทธ์ิ ✓
๑๑ เด็กชายภวู ดล อบุ ล ✓
๑๒ เดก็ ชายวรวชิ หสั พันธ์ ✓
๑๓ เดก็ ชายศกั ดน์ิ รินทร์ รัตนชัย ✓
๑๔ เดก็ หญิงกนกรัชต์ ศรพี งศ์ ✓
๑๕ เดก็ หญิงกานตรัตน์ เรอื งอ่อน ✓
๑๖ เด็กหญงิ กิ่งกานต์ โกหนด ✓
๑๗ เด็กหญิงขวญั จิรา สทุ ธิพิทักษ์ ✓
๑๘ เด็กหญงิ ณฏั ฐิตา ทวี ✓
๑๙ เด็กหญิงนันท์นภัส สาคร ✓
๒๐ เด็กหญิงบัณตติ า ใจงาม ✓
๒๑ เด็กหญงิ ปริชมน รกั บางแหลม ✓
๒๒ เด็กหญิงพรรณพณชั รม่ เมือง ✓
๒๓ เด็กหญิงพรรวษา คงดี ✓
๒๔ เด็กหญิงพวงชมพู ทองจุย้ ✓
๒๕ เด็กหญิงพัชรพร ชนู ลิ ✓
๒๖ เด็กหญงิ พฒั นวดี น้อยเกษม ✓
๒๗ เด็กหญิงพิชชาพร แซ่ซัว ✓
๒๘ เด็กหญงิ มิยาวดี อนิ ดำ ✓
๒๙ เดก็ หญงิ ยวษิ ฐา คำสวัสด์ิ ✓
๓๐ เดก็ หญิงรวิพร วนั โย ✓
๓๑ เด็กหญิงวรศิ รา สมั พนั ธ์ ✓
๓๒ เด็กหญิงศศนิ า มากแก้ว ✓
๓๓ เด็กหญิงศศวิ ิมล ประมวล ✓



เลขที่ ช่อื – สกลุ ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
๓๒๑๐
๓๔ เดก็ หญิงศิริรัตน์ รัตนชัย ✓

๓๕ เดก็ หญงิ สมพร เอย่ี มละออ ✓
๓๖ เดก็ หญิงสุชญา สาคร ✓
๓๗ เด็กหญงิ สุภาวดี ชำนาญเพ็ชร
๓๘ เดก็ หญิงเสาวนีย์ มิสมร ✓
๓๙ เด็กหญงิ อรวรรณ บญุ ลึก ✓


แบบวิเคราะหน์ ักเรยี นเปน็ รายบุคคล
เกี่ยวกบั ความถนดั / ความสนใจ / รายวชิ าประวัตศิ าสตร์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ห้อง ๕

เลขที่ ช่อื – สกลุ ระดบั ความถนดั / ความสนใจ หมายเหตุ
๓๒๑๐
๑ เด็กชายทวีศกั ดิ์ ศริ ปิ ้อ ✓

๒ เดก็ ชายธิตสิ รณ์ เพชรใฝ ✓
๓ เดก็ ชายธปิ กรณ์ กลับรินทร์ ✓
๔ เดก็ ชายนรวฒั น์ ศรรี กั ษา ✓
๕ เดก็ ชายปฐมพงษ์ เสนาะกรรณ
๖ เดก็ ชายพงศพัศ ทมิ รัตน์ ✓
๗ เด็กชายยชญก์ ุลทร แซ่ลิ่ม ✓
๘ เด็กชายรัชตะ พันเดช ✓
๙ เดก็ ชายวิทวสั แพ่งรักษ์
๑๐ เด็กชายวริ ชั ยา จอมประชา ✓
๑๑ เดก็ ชายสหิ รตั น์ หับสุภา ✓
๑๒ เด็กหญงิ กัญญ์วรา แกว้ คง ✓
๑๓ เด็กหญิงจริ ัชญา พชื ผล ✓
๑๔ เด็กหญงิ ญาณจั ฉรา สมสุข ✓
๑๕ เดก็ หญงิ ญาณสิ า พัฒน์มณี ✓
๑๖ เด็กหญงิ ธันปภัส รอดเจริญ ✓
๑๗ เดก็ หญงิ บัณฑติ า ดีสดุ จติ ร ✓
๑๘ เด็กหญิงปัญณ์ตวนั เพชรโชติ ✓
๑๙ เดก็ หญิงปาณิสรา ม่วงมณี ✓
๒๐ เดก็ หญงิ พชั ฎาภรณ์ ทองตำลึง ✓
๒๑ เด็กหญิงภญิ ญดา ฤทธ์ิแกว้ ✓
๒๒ เดก็ หญิงรชั ฎาพร รักกะเปา ✓
๒๓ เดก็ หญิงรุ่งนภา สะเทิน ✓
๒๔ เด็กหญิงวาเศรษฐี ฤทธเ์ิ เกว้ ✓
๒๕ เดก็ หญงิ ศศิธร ศรศี าสนา ✓
๒๖ เด็กหญิงศิริมาศ สตั ย์ซื่อ ✓

๒๗ เด็กหญงิ สุนสิ า ถาพร ✓
๒๘ เดก็ หญงิ อชริ ญาณ์ ทองจนั ทร์
๒๙ เด็กหญิงอินทิรา พนั สะ ✓



การวัดผลประเมินผล

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ / รายวิชา ในแต่ละตัวชี้วัดชั้นปี ซึ่งสถานศึกษา
วิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด การประเมินสาระการเรียนรู้รายวชิ า ให้ตัดสินผลการประเมินเป็นระดบั
ผลการเรียน ๘ ระดับ ดังน้ี

คะแนน ๘๐ – ๑๐๐ ระดบั ผลการเรยี น ๔ หมายถึง ผลการเรยี นดีเยย่ี ม
คะแนน ๗๕ – ๗๙ ระดบั ผลการเรยี น ๓.๕ หมายถงึ ผลการเรยี นดมี าก

คะแนน ๗๐ – ๗๔ ระดับผลการเรยี น ๓ หมายถึง ผลการเรยี นดี

คะแนน ๖๕ – ๖๙ ระดับผลการเรียน ๒.๕ หมายถึง ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี
คะแนน ๖๐ – ๖๔ ระดบั ผลการเรียน ๒ หมายถงึ ผลการเรียนปานกลาง

คะแนน ๕๕ – ๕๙ ระดับผลการเรยี น ๑.๕ หมายถึง ผลการเรยี นพอใช้

คะแนน ๕๐ – ๕๔ ระดบั ผลการเรียน ๑ หมายถงึ ผลการเรียนผ่านเกณฑก์ าร
ประเมินขน้ั ตำ่

คะแนน ๐ - ๔๙ ระดบั ผลการเรยี น ๐ หมายถึง ผลการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์การ

ประเมิน
ในกรณที ี่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดบั ได้ให้ใช้ตัวอักษร ระบุเงอ่ื นไขของผลการเรียน ดังน้ี

มส หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสทิ ธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรยี น เนื่องจากผเู้ รยี นมีเวลาไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ ของ

เวลาเรียนในแตล่ ะรายวชิ า และไม่ไดร้ บั การผ่อนผนั ให้เข้ารับการวดั ผลปลายภาคเรียน

ร หมายถงึ รอการตัดสินและยังตดั สนิ ผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลการเรยี นรายวชิ านน้ั
ครบถว้ น ได้แก่ ไม่ได้วดั ผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ไดส้ ่งงานที่มอบหมายให้ทำ ซง่ึ งานนน้ั เป็นสว่ นหน่ึงของ
การตัดสินผลการเรียน หรอื มีเหตสุ ดุ วสิ ัยท่ที ำใหป้ ระเมินผลการเรยี นไม่ได้

การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์นนั้ ให้ระดบั ผลการประเมนิ เป็น
ดเี ยี่ยม ดี และผ่าน

ดีเย่ยี ม หมายถึง มผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละ เขยี นที่มี
คณุ ภาพดีเลิศอยเู่ สมอ

ดี หมายถึง มผี ลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียนทีม่ ี
คณุ ภาพเปน็ ท่ียอมรบั

ผา่ น หมายถงึ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียนท่ีมี
คณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรบั แต่ยังมีข้อบกพร่องบาง ประการ

ไมผ่ า่ น หมายถงึ ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น
หรอื ถา้ มผี ลงาน ผลงานนั้นยงั มขี ้อบกพรอ่ งท่ตี ้องได้รบั การปรบั ปรุงแก้ไข

หลายประการ

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัตศิ าสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.1 1. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของเวลาใน  ตัวอย่างการใชเ้ วลา ช่วงเวลาและยคุ สมัย

การศึกษาประวตั ิศาสตร์ ทปี่ รากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย

 ความสำคัญของเวลา และชว่ งเวลาสำหรับ

การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์

 ความสัมพนั ธแ์ ละความสำคัญของอดีตที่มีต่อ

ปจั จบุ นั และอนาคต

2. เทยี บศกั ราชตามระบบตา่ งๆที่ใช้ศึกษา  ทีม่ าของศักราชทปี่ รากฏในเอกสาร

ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตรไ์ ทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./

พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.

 วิธกี ารเทียบศกั ราชต่างๆ และตวั อย่าง

การเทยี บ
 ตัวอย่างการใชศ้ ักราชต่าง ๆ ทีป่ รากฏใน

เอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย

3. นำวิธกี ารทางประวัติศาสตรม์ าใชศ้ ึกษา  ความหมายและความสำคญั ของประวัตศิ าสตร์

เหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์ และวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ท่ีมีความ สัมพนั ธ์

เชือ่ มโยงกนั

 ตัวอยา่ งหลักฐานในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ไทย

สมัยสุโขทยั ทัง้ หลกั ฐานชัน้ ต้น และหลกั ฐานชน้ั

รอง ( เช่อื มโยงกับ มฐ.ส 4.3) เช่น ข้อความ

ในศิลาจารึกสมยั สโุ ขทยั เปน็ ตน้

 นำวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรอื่ งราว

ของประวัตศิ าสตร์ไทยท่ีมีอยู่ในทอ้ งถ่ินตนเองใน

สมัยใดก็ได้ (สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ สมัยก่อน

สโุ ขทัย สมยั สโุ ขทัย สมยั อยธุ ยา สมยั ธนบรุ ี

สมยั รัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำคัญ

ในสมยั สุโขทัย

มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ในดา้ นความสัมพันธแ์ ละ
การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคญั และสามารถวิเคราะห์
ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้น

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.1 1. อธบิ ายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ  ทตี่ ง้ั และสภาพทางภูมศิ าสตรข์ องประเทศต่าง ๆ

และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ใน ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ทม่ี ผี ลต่อ

ภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ พัฒนาการทางดา้ นตา่ งๆ

 พฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของ

ประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

2. ระบุความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรม  ท่ตี ั้งและความสำคัญของแหลง่ อารยธรรมในภมู ภิ าค

ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เช่นแหลง่ มรดกโลกใน

ประเทศต่าง ๆของเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้

 อทิ ธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยทม่ี ีต่อ

พฒั นาการของสังคมไทยในปัจจุบนั

มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทยวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาไทย มคี วามรัก ความภมู ใิ จ
และธำรงความเปน็ ไทย

ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.1 1. อธิบายเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์  สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย โดยสงั เขป
สมัยกอ่ นสโุ ขทยั ในดนิ แดนไทยโดยสังเขป  รัฐโบราณในดินแดนไทย เชน่ ศรีวชิ ยั ตามพรลงิ ค์

ทวารวดี เป็นตน้

2. วิเคราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจักร  รัฐไทย ในดินแดนไทย เชน่ ล้านนา
นครศรธี รรมราช สุพรรณภมู ิ เปน็ ต้น
สุโขทัยในดา้ นตา่ ง ๆ  การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และ ปัจจยั ที่

3. วิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ลของวฒั นธรรม และ เก่ยี วข้อง (ปัจจยั ภายในและ ปัจจัยภายนอก )
ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย  พัฒนาการของอาณาจักรสโุ ขทัย ในดา้ นการเมือง
ในปจั จบุ ัน
การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสมั พันธ์

ระหวา่ งประเทศ

 วฒั นธรรมสมยั สโุ ขทยั เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม

ประเพณสี ำคัญ ศิลปกรรมไทย

 ภูมิปญั ญาไทยในสมัยสุโขทยั เช่น

การชลประทาน เครื่องสงั คมโลก

 ความเส่อื มของอาณาจักรสุโขทัย

คำอธบิ ายรายวชิ า

รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ รหสั วชิ า ส 21103 รายวิชาพนื้ ฐาน
กลุม่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑
จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑

ศึกษา วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และความสำคญั ของอดีตท่ีมตี ่อ
ปจั จุบันและอนาคต ท่ีมาและตัวอยา่ งการใช้ศักราชในเอกสารประวตั ศิ าสตร์ไทย วธิ ีการเทยี บศักราชตามแบบตา่ งๆ การ
นำวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ไปใช้ในการศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยท่มี ีอยู่ในท้องถ่ิน และเหตกุ ารณ์สำคัญสมัย
สโุ ขทัย ประวัติศาสตรไ์ ทยสมยั ก่อนสโุ ขทัยในดนิ แดนไทยโดยสังเขป รฐั โบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย

โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ด้วยการกำหนดหัวเรื่องที่จะ
ศึกษา การรวบรวมหลักฐาน การประเมินคุณค่าของหลักฐาน การจัดหมวดหมู่ข้อมูลและตีความ การวิเคราะห์
และสังเคราะห์ขอ้ มูล

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ
ทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์
กษตั ริย์ ซ่ือสัตยส์ จุ ริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ มนั่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ สามารถ
อยู่ร่วมกนั ไดอ้ ย่างสันตสิ ขุ

รหสั ตัวชี้วดั

ส 4.1 ม.1/1 , ม.1/2, ม.1/3
ส 4.3 ม.1/1

รวม 4 ตัวชี้วัด

โครงสรา้ งรายวชิ า

รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ รหสั วชิ า ส 21103 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน ๑ ช่ัวโมง

หน่วย ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรียนร้แู กนกลาง เวลา นำ้ หนัก
ท่ี เรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน

1 เวลาและการแบง่ ยุคสมยั ส 4.1 ม.1/1 1. ความสำคญั ของเวลาและช่วงเวลา 5 15

ทางประวตั ศิ าสตร์ ม.1/2 สำหรับการศึกษาประวตั ิศาสตร์

2. ความสัมพันธ์และความสำคัญของอดตี

ทมี่ ตี อ่ ปจั จบุ ันและอนาคต

3. ตัวอย่างการใชเ้ วลา ช่วงเวลาและ

ยุคสมยั ท่ปี รากฏในเอกสาร

ประวัติศาสตร์ไทย

4. ที่มาของศักราชท่ปี รากฏในเอกสาร

ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ได้แก่ จ.ศ./ม.ศ./

ร.ศ./พ.ศ./ค.ศ. และ ฮ.ศ.

5. วิธกี ารเทียบศักราชต่างๆ และตวั อย่าง

การเทยี บ

6. ตัวอย่างการใช้ศักราชตา่ งๆ ท่ีปรากฏ

ในเอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย

2 วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ ส 4.1 ม.1/3 1. ความหมายและความสำคัญของ 5 15

ประวัตศิ าสตร์และวิธกี ารทาง

ประวัติศาสตรท์ ม่ี คี วามสัมพันธ์

เชื่อมโยงกัน

2. ตัวอยา่ งหลกั ฐานในการศึกษา

ประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทยั

ทัง้ หลักฐานชนั้ ต้น และหลกั ฐาน

ช้ันรอง เชน่ ศิลาจารกึ สมยั สโุ ขทัย

3. นำวธิ ีการทางประวัตศิ าสตรไ์ ปใช้ศกึ ษา

เร่อื งราวของประวัตศิ าสตร์ไทยทม่ี ีอยู่

ในท้องถิ่นตนเองสมยั ใดก็ได้ (สมยั ก่อน

ประวตั ิศาสตร์ สมยั สุโขทยั สมยั อยธุ ยา

สมัยธนบรุ ี สมยั รตั นโกสินทร์)

และ เหตุการณส์ ำคญั ในสมัยสโุ ขทยั

หน่วย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง เวลา นำ้ หนกั
ท่ี เรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน

สอบกลางภาค 20

3 สมัยกอ่ นสโุ ขทยั ส 4.3 ม.1/1 1. สมยั กอ่ นประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย 10 20
ในดินแดนไทย 2. รัฐโบราณในดนิ แดนไทย เชน่ ศรวี ชิ ยั

ตามพรลงิ ค์ ทวารวดี
3. รฐั ไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา

นครศรีธรรมราช สพุ รรณภมู ิ

สอบปลายภาค 30
รวมตลอดภาคเรยี น 20 100

รายวชิ าประวัติศาสตร์ โครงสรา้ งรายวิชารวม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
ภาคเรยี นที่ 1 รหสั วชิ า ส 21103 เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นร้ทู ง้ั หมด 3 หน่วย

หน่วย เวลา คะแนนเกบ็ คะแนน คะแนน รวม
การ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ เรียน รายหนว่ ย กลางภาค ปลายภาค คะแนน
เรียนรทู้ ่ี
1 เวลาและการแบง่ ยุคสมยั ทาง 5 15 10 - 25

ประวัติศาสตร์

2 วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 5 15 10 - 25

3 สมยั กอ่ นสโุ ขทัยในดินแดนไทย 10 20 - 30 50

รวม 20 50 20 30 100

- เอกสารประกอบการสอน/เอกสารประกอบการคน้ คว้า
หนังสือเรียน รายวชิ าประวัติศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ของ อจท. ชื่อผู้แต่ง รศ. ณรงค์ พว่ งพิศ

และคณะ
- แหล่งเรยี นรู้/สอ่ื

- ห้องสมุดโรงเรยี นพนมศกึ ษา
- แบบทดสอบ
- แบบสังเกต (ความรับผิดชอบ ตรงเวลา จิตอาสา)
- อินเตอร์เน็ตจากเว็บไซต์ ตา่ งๆ
- PowerPoint
- สอ่ื สิ่งพิมพ์

ลงชอ่ื ........................................................ครผู ้สู อน
(นางสาวสุดารัตน์ ทองคำ)

ลงชอ่ื ........................................................หวั หน้ากลมุ่ สาระสังคมศึกษาฯ
( นายธรี ะศกั ดิ์ ยอดมณยี ์ )

ลงชื่อ........................................................หวั หน้ากลุ่มงานวิชาการ
(นางสาวณัฐญิ า คาโส)

ลงชื่อ........................................................ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นพนมศึกษา
(นางผกา สามารถ)

โครงสรา้ งแผน

รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ รหสั วิชา ส 21103 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๑ ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั วิธสี อน/กระบวนการจัดการ ทักษะการคดิ เวลา
การเรยี นรู้ เรยี นรู้ (ชั่วโมง)

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 1. ความสำคญั ของ - วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหา 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 1
เวลาและการแบ่ง เวลาและช่วงเวลา ความรู้ (Inquiry Method : 2. ทกั ษะการวเิ คราะห์
ยคุ สมยั ทาง 5E) 3. ทักษะการสรุปลง
ประวัตศิ าสตร์ ความเหน็
4. ทกั ษะการสร้างความรู้

2. การแบง่ ยุคสมยั - วิธสี อนแบบกระบวนการ 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 1
ทางประวัติศาสตร์ กลุ่ม 2. ทกั ษะการวิเคราะห์
สมั พันธ์ 3. ทกั ษะการสรุปลง

ความเหน็

3. ตัวอยา่ งการใช้ - วิธีสอนโดยใชก้ รณีตวั อย่าง 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 1
เวลา ชว่ งเวลา 2. ทกั ษะการวเิ คราะห์
ยุคสมยั 3. ทักษะการสรปุ ลง
และศักราชใน ความเหน็
หลกั ฐานทาง 4. ทกั ษะการสร้างความรู้
ประวัติศาสตร์

4. ที่มาของศักราช - วธิ สี อนแบบกระบวนการ 1. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1

กลมุ่ 2. ทกั ษะการวิเคราะห์

สัมพนั ธ์ 3. ทักษะการสรา้ งความรู้

5. การเปรยี บเทยี บ - วิธสี อนตามรปู แบบโมเดล 1. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1
ศักราชแบบตา่ งๆ ซิปปา (CIPPA Model) 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการสรุปลง

ความเห็น
4. ทักษะการสร้างความรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 1. ความหมายและ - วธิ สี อนแบบกระบวนการ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
กลมุ่ 2. ทกั ษะการวเิ คราะห์
วิธีการทาง ความสำคัญของ สัมพันธ์ 3. ทักษะการให้คำจำกดั

ประวัตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ความ

2. วธิ กี ารทาง - วธิ สี อนแบบสบื เสาะหา 1. ทักษะการสำรวจคน้ หา 1
ประวัติศาสตร์ ความรู้ (Inquiry Method : 2. ทกั ษะการวเิ คราะห์
5E)

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั วธิ สี อน/กระบวนการจดั การ ทกั ษะการคิด เวลา
การเรยี นรู้ เรียนรู้ (ช่วั โมง)

3. ทกั ษะการให้คำจำกัด
ความ

3. หลักฐานทาง - วธิ ีสอนโดยการจดั การ 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 1
ประวัติศาสตร์ไทย เรียนร้แู บบร่วมมอื : 2. ทกั ษะการวิเคราะห์
เทคนิค
คูค่ ิดส่ีสหาย 3. ทกั ษะการสรา้ งความรู้

4. การศกึ ษาประวัติ- - วิธสี อนโดยใชว้ ธิ ีการทาง 1. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1
ศาสตรท์ อ้ งถ่นิ ประวตั ิศาสตร์ 2. ทักษะการวเิ คราะห์
3. ทกั ษะการตั้งสมมตฐิ าน
4. ทกั ษะการสรา้ งความรู้

5. เหตกุ ารณส์ ำคัญ - วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ 1. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1
ในสมยั สโุ ขทยั
: กระบวนการเรียนความรู้ 2. ทกั ษะการวิเคราะห์

ความเข้าใจ 3. ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน

4. ทักษะการสร้างความรู้

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 1. เรื่องราวสมัยก่อน - วิธสี อนแบบสืบเสาะหา 1. ทักษะการสำรวจคน้ หา 2
ความรู้ (Inquiry Method : 2. ทกั ษะการวิเคราะห์
สมัยก่อนสุโขทัย ประวัติศาสตร์ 5E) 3. ทักษะการตีความ
4. ทักษะการสรุปลง
ในดินแดนไทย ในดนิ แดนไทย ความเหน็

2. พัฒนาการของ - วิธสี อนโดยการจัดการ 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 2
ชมุ ชนโบราณใน เรยี นรู้ แบบรว่ มมือ : 2. ทกั ษะการวิเคราะห์
ภาคต่างๆ ของไทย เทคนิค 3. ทกั ษะการสรปุ ลง
การต่อเร่ืองราว (Jigsaw)
ความเห็น

3. การสร้างสรรค์ - วธิ ีสอนโดยการจัดการ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ภูมิปญั ญาของ เรยี นรู้ แบบรว่ มมอื : 2. ทกั ษะการวิเคราะห์
มนษุ ยก์ ่อน เทคนิค 3. ทักษะการตีความ
ประวัตศิ าสตร์ใน คคู่ ิดส่สี หาย
ดนิ แดนประเทศ
ไทย

4. พฒั นาการจาก - วธิ สี อนแบบสบื เสาะหา 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 1
ชุมชนมาสู่รัฐ ความรู้ (Inquiry Method : 2. ทักษะการวิเคราะห์
โบราณ 5E) 3. ทกั ษะการตีความ
4. ทักษะการสรุปลง
ความเหน็

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั วิธีสอน/กระบวนการจัดการ ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้ เรยี นรู้ (ชว่ั โมง)

5. รัฐโบราณและรัฐ - วธิ สี อนแบบสบื เสาะหา 1. ทักษะการสำรวจคน้ หา 2
ไทยในดนิ แดนไทย ความรู้ (Inquiry Method 2. ทักษะการวเิ คราะห์
: 5E) 3. ทักษะการตีความ

4. ทักษะการสรปุ ลง
ความเหน็

6. การสร้างสรรค์ - วธิ ีสอนแบบกระบวนการ 1. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 2
ภูมิปญั ญาของ กลุ่มสมั พันธ์ 2. ทักษะการวเิ คราะห์
อาณาจักรโบราณ 3. ทักษะการสรุปลง
กอ่ นสมัยสโุ ขทยั
ความเห็น

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหสั วิชา ส 21103 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรยี นพนมศึกษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 5 ช่วั โมง
จำนวน ๑ ช่วั โมง
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง เวลาและการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์
เวลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง ความสำคัญของเวลาและชว่ งเวลา

ผ้สู อน นางสาวสุดารตั น์ ทองคำ

ใช้สอนชนั้ ชว่ั โมง วันที่ เดอื น พ.ศ.

1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทาง

ประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ

2. สาระสำคัญ
เวลาและชว่ งเวลามีความสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ ซ่งึ นอกจากจะทำใหเ้ ข้าใจเหตุการณห์ รอื เรื่องราวที่

ศึกษาแลว้ ยังแสดงให้เห็นถงึ ความสมั พันธ์และความสำคัญของอดตี ที่มีตอ่ ปจั จบุ นั และอนาคตอีกด้วย

3. ตวั ชี้วดั
3.1 ตัวชว้ี ัด ม. 1/1 วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัตศิ าสตร์
3.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความสำคญั ของเวลาและช่วงเวลาในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ได้
2. อธบิ ายความสัมพันธแ์ ละความสำคัญของอดีตท่ีมตี อ่ ปัจจุบัน และอนาคตได้

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ความสำคญั ของเวลาและช่วงเวลาสำหรบั การศึกษาประวัติศาสตร์

4.2 ความสัมพันธแ์ ละความสำคัญของอดีตท่ีมีต่อปัจจบุ ันและอนาคต

5. สมรรถนะสำคัญ 5.2.2 ทกั ษะการวเิ คราะห์
5.1 ความสามารถในการส่อื สาร 5.2.4 ทกั ษะการสรา้ งความรู้
5.2 ความสามารถในการคิด
5.2.1 ทักษะการสำรวจค้นหา
5.2.3ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น
5.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
6.1 มีวนิ ยั
6.2 ใฝ่เรยี นรู้
6.3 มุ่งมน่ั ในการทำงาน

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1

ขั้นท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ คำถามกระตุ้นความคดิ
1. นักเรียนคิดวา่ การนบั เวลาในอดตี กบั ในปัจจุบัน
สือ่ การเรียนรู้ : บัตรภาพ
เหมอื นหรือแตกต่างกันอย่างไรบา้ ง
1. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1 (พิจารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ใน
2. ครแู บ่งนักเรยี นเป็นกลมุ่ กลุม่ ละ 4 คน คละกัน ดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน)
2. นักเรียนคดิ วา่ เวลามีความเกย่ี วข้องกบั
ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ประวัติศาสตรอ์ ยา่ งไรบา้ ง
ปานกลาง คอ่ นข้างอ่อน และอ่อน (ทำให้เราเขา้ ใจเหตุการณ์ในประวตั ิศาสตรว์ ่า
3. ครแู จกภาพเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตรใ์ หน้ ักเรียน เกดิ ขน้ึ หรอื สนิ้ สดุ ลงเมือ่ ใด)
กลุม่ ละ 1 ภาพ แลว้ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั
พิจารณาภาพท่ีกล่มุ ของตนไดร้ บั และตอบคำถามต่อไปนี้ 1. นกั เรียนแต่ละกลุ่มจบั คู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละค่รู ว่ มกนั
- ภาพทกี่ ลุ่มของนักเรียนไดร้ บั คือภาพเหตุการณ์ใด ศกึ ษาความรู้เร่อื ง ความสำคัญของเวลาและชว่ งเวลา
- ภาพท่กี ลุ่มของนักเรียนได้รับ เกิดข้นึ ในช่วงเวลาใด จากหนงั สือเรียน หนังสอื ค้นควา้ เพิม่ เติม และ
- เหตุการณใ์ นภาพมคี วามสำคญั ตอ่ ประวัตศิ าสตร์ไทย แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ แล้วบนั ทึกความรู้ท่ไี ดจ้ าก
อยา่ งไรบ้าง การศกึ ษาลงในแบบบันทึกการอา่ น
4. ครสู มุ่ เรยี กนักเรยี นตอบคำถามเปน็ รายกลมุ่ โดยครเู ปน็
ผู้ตรวจสอบความถูกตอ้ งและอธบิ ายเพ่มิ เติม 2.นักเรียนแต่ละครู่ ว่ มกันสรุปสาระสำคัญของเรื่องท่ศี กึ ษา
5. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ข้อ 2 ผลดั กันซกั ถามข้อสงสยั และอธิบายจนมคี วามเขา้ ใจ
ชัดเจน
ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา
3. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ
สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ :
1. หนงั สือเรียน ประวตั ศิ าสตร์ ม.1
2. หนังสือคน้ คว้าเพม่ิ เตมิ
3. แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

คำถามกระตนุ้ ความคดิ

นกั เรียนคิดวา่ หากไมม่ กี ารบันทึกเวลาและช่วงเวลา
ไวใ้ นเอกสารประวตั ิศาสตร์จะเกิดผลอย่างไรบา้ ง
(ทำให้เกิดความยุ่งยากสับสนในการศึกษาและทำ
ความเขา้ ใจเร่ืองราวทเี่ กดิ ขน้ึ ในประวตั ิศาสตร์)

ขัน้ ที่ 3 อธิบายความรู้ คำถามกระตนุ้ ความคดิ

สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ : – นกั เรียนเหน็ ดว้ ยหรอื ไมก่ ับคำกล่าวท่วี ่า
“ประวัตศิ าสตรย์ ่อมมีวันซ้ำรอย”
1. นกั เรียนแตล่ ะคู่ผลดั กนั อธิบายความรู้ทไ่ี ด้จาก อธบิ ายเหตผุ ล
การศึกษาใหเ้ พอ่ื นอีกคูห่ น่งึ ฟัง ผลดั กันซกั ถามข้อสงสัย (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียนโดยใหอ้ ยู่
และผลดั กันอธบิ ายจนทุกคนมีความเข้าใจชดั เจน ในดลุ ยพินจิ ของครูผู้สอน)
ตรงกนั

2. ครอู ธบิ ายความรเู้ กย่ี วกบั ความสำคัญของเวลาและ
ช่วงเวลา ให้นักเรียนฟงั เพ่ิมเติม เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมีความ
เขา้ ใจชดั เจนมากยงิ่ ข้ึน

3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด

ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ คำถามกระตนุ้ ความคดิ

ส่ือการเรยี นรู้ : ใบงานท่ี 1.1 นักเรียนคิดว่า เหตกุ ารณ์ในอดีตมี
ความสำคัญตอ่ ปจั จุบนั และอนาคตอยา่ งไร
นกั เรียนแต่ละคนทำใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ความสำคัญของ บา้ ง
เวลาและชว่ งเวลา เสรจ็ แลว้ นำสง่ ครู (พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยู่
ในดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)
ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล

สอื่ การเรยี นรู้ : ใบงานที่ 1.1
1. ครูตรวจสอบผลนกั เรยี นจากการทำใบงานที่ 1.1
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปความรเู้ รอ่ื ง ความสำคญั ของ

เวลาและชว่ งเวลา
3. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด

8. ส่ืออุปกรณแ์ ละแหลง่ การเรียนรู้
8.1 สอื่ การเรยี นรู้
8.1.1 หนงั สอื เรยี น ประวตั ิศาสตร์ ม.1
8.1.2 หนังสอื ค้นคว้าเพม่ิ เตมิ
วินัย พงศ์ศรีเพียร. 2544. วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช. กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
8.1.3 บตั รภาพ
8.1.4 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคญั ของเวลาและชว่ งเวลา

8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
8.2.1 แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge-detail.php?mul…

8.2.2 หอ้ งสมดุ

๙. การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (๓ ห่วง ๒ เงอ่ื นไข ๔ มิต)ิ

- วเิ คราะห์สมรรถนะและคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ สี่ อดคล้องกนั

หลักความพอประมาณ - ออกแบบกิจกรรมทีส่ อดคลอ้ งกับตวั ชว้ี ัด

- ใชเ้ ครอื่ งมือวิธีประเมินทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ตัวช้ีวดั

หลักมเี หตุผล - จัดกระบวนการเรียนรทู้ คี่ ำนึกถงึ ความรู้ความสามารถของผ้เู รยี น

- ศึกษาเนอื้ หาสาระรูปแบบกิจกรรมให้บรรลุตามตวั ชีว้ ดั

หลกั สร้างภมู คิ ุ้มกันในตัวที่ดี - จัดทำแผนการเรียนรู้อย่างละเอียดสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียน

การสอนและสามารถนำไปใช้ได้ในกรณีขาดแคลนครูสอน

เงอ่ื นไขความรู้ - ความสำคญั ของเวลาและชว่ งเวลาในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ได้

เงอื่ นไขคุณธรรม - มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การทำงาน

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ มิติ

เศรษฐกจิ สังคม สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม

10. การวดั ผลและประเมินผล

วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์

ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 (ประเมินตามสภาพจริง)
ที่ 1

ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานท่ี 1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ตรวจแบบบันทกึ การอา่ น แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน

บตั รภาพ



ภาพพระราชพธิ ฉี ลองสิริราชสมบัตคิ รบ 60 ปี ภาพพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (รัชกาลท่ี 7)
พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรก แหง่ ราชอาณาจักรไทย

ภาพน้ำท่วมกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2485 ภาพพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี
5) เสด็จประพาสรสั เซีย

ภาพวาดแสดงสงครามยทุ ธหัตถี ภาพวาดแสดงเหตกุ ารณค์ ณะราชทูตไทย นำโดยออกญา
โกษาธิบดี (ปาน) เข้าเฝา้ พระเจา้ หลุยส์ที่ 14 แหง่ ฝร่งั เศส

ท่ีมา : ภาพที่ 1 http://user.cjb.net/siam/r9-2.html ภาพท่ี 2 http://irrigation.rid.go.th
ภาพท่ี 4 http://lonesomebabe.wordpress.com
12 ภาพที่ 6 http://www.konrakmeed.com

3 4 ภาพท่ี 3 http://news.mthai.com

56

ภาพที่ 5 http://penthai4.blogspot.com

ใบงานท่ี 1.1 ความสำคญั ของเวลาและชว่ งเวลา

คำช้ีแจง ให้นักเรียนอา่ นข้อความเกีย่ วกับเหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตรต์ อ่ ไปนี้ แล้ววเิ คราะหต์ ามประเดน็ ท่ีกำหนด
สภาพการณ์ของกรุงศรีอยุธยาภายหลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จสวรรคต เมื่อ พ.ศ. 2148 เป็นต้นมา
กำลังไพร่พลของอยุธยาขาดประสบการณ์ในการทำสงครามขนาดใหญ่ มีแต่ทำสงครามขนาดย่อมซึ่งใช้เวลาไม่นาน
ประกอบกับพม่าได้ยกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยาทั้งทางเหนือและใต้ และกวาดต้อนผู้คนและเสบียงอาหารมาตลอด
ทาง จนกระทั่งปิดล้อมกรุงศรีอยุธยาและยิงปืนใหญ่เข้าไปในพระนครอย่างต่อเนื่อง ทำให้กรุงศรีอยุธยาประสบกับ
ภาวะขาดแคลนอาหาร ขาดกระสุนดินดำปนื ใหญ่ ขาดกำลังใจ และเหน่อื ยลา้ จนกระทง่ั ในทสี่ ดุ กรุงศรีอยธุ ยาก็ถูกทัพ
พมา่ เขา้ ยึดไวไ้ ดใ้ น พ.ศ. 2310
1.ขอ้ ความขา้ งตน้ กล่าวถงึ เหตุการณ์ใดในประวัตศิ าสตร์ และเหตุการณ์นเ้ี กิดขึ้นไดอ้ ย่างไร

2.เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อสงั คมไทยอยา่ งไรบา้ ง

3.เหตกุ ารณ์ดงั กล่าวให้ข้อคิดสำคญั ต่อคนไทยอยา่ งไรบ้าง

เฉลยใบงานที่ 1.1 ความสำคัญของเวลาและชว่ งเวลา

คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอา่ นข้อความเก่ยี วกบั เหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์ต่อไปนี้ แลว้ วเิ คราะห์ตามประเดน็ ท่ีกำหนด

สภาพการณ์ของกรุงศรีอยุธยาภายหลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จสวรรคต เมื่อ พ.ศ. 2148 เป็นต้นมา
กำลังไพร่พลของอยุธยาขาดประสบการณ์ในการทำสงครามขนาดใหญ่ มีแต่ทำสงครามขนาดย่อมซึ่งใช้เวลาไม่นาน
ประกอบกับพม่าได้ยกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยาทั้งทางเหนือและใต้ และกวาดต้อนผู้คนและเสบียงอาหารมาตลอด
ทาง จนกระทั่งปิดล้อมกรุงศรีอยุธยาและยิงปืนใหญ่เข้าไปในพระนครอย่างต่อเนื่อง ทำให้กรุงศรีอยุธยาประสบกับ
ภาวะขาดแคลนอาหาร ขาดกระสนุ ดินดำปืนใหญ่ ขาดกำลังใจ และเหนื่อยล้า จนกระท่ังในทส่ี ุดกรุงศรีอยธุ ยาก็ถูกทัพ
พม่าเข้ายดึ ไว้ไดใ้ น พ.ศ. 2310

1.ข้อความข้างตน้ กลา่ วถึงเหตุการณ์ใดในประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์นี้เกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร
เหตุการณ์เสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 ส่วนสาเหตุของการเสียกรุงนั้น มาจากความไร้

ประสิทธิภาพในการทำสงครามของฝ่ายไทย ซึ่งว่างเว้นจากการทำศึกสงครามมานานเกือบ 200 ปี จึงเกิดความ
ประมาทในการป้องกันอาณาจักร ขาดการฝึกฝนกำลงั ทัพและการป้องกันท่ีดี เมื่อต้องทำศึกใหญก่ ับพม่า บวกกับความ
ขดั แยง้ แตกแยกกันเองภายในของคนไทย จึงมผี ลทำให้กรงุ ศรีอยธุ ยาแตกพา่ ยในทสี่ ดุ

2.เหตุการณ์ดังกลา่ วสง่ ผลตอ่ สงั คมไทยอย่างไรบา้ ง

เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ ว ส่งผลใหไ้ ทยต้องเสียเอกราชให้กับพม่า ปราสาทราชวงั วัด บ้านเรอื น ถูกขา้ ศกึ ทำลาย
จนไม่สามารถบูรณะใหด้ ีดงั เดิมได้ สว่ นผู้ท่ีรอดชีวติ ต้องอพยพหลบหนีกระจดั กระจายกนั ไป บางส่วนถูกจบั ตวั ไปเปน็
เชลย ถอื เป็นความสญู เสียอย่างใหญ่หลวงของคนไทย
3.เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วใหข้ ้อคิดสำคญั ตอ่ คนไทยอยา่ งไรบา้ ง

เหตุการณ์ดังกล่าวให้ข้อคิดสำคัญต่อคนไทย คือ ให้ดำรงตนอยู่บนความไม่ประมาท หมั่นฝึกปรือฝีมืออยู่เสมอ
มีการวางแผนการรบที่ดีและที่สำคัญที่สดุ คือ ความสามัคคีของคนในชาติ ซึ่งจะทำให้รักษาเอกราชของชาติบ้านเมือง
ไว้ได้ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงเป็นเสมือนบทเรียนสำคัญให้คนไทยรุ่นหลังเรียนรู้ไว้ เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ในทำนอง
เดยี วกันนข้ี นึ้ อกี

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1

คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ศักราชแบบใดทเี่ ปน็ ท่นี ยิ มใช้มากท่ีสุดและเป็นศักราช 6. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เปน็ การนบั ศักราชทเี่ ก่ยี วข้อง

สากล กับศาสนาใด

ก. พุทธศกั ราช ข. มหาศกั ราช ก. ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู ข. พระพุทธศาสนา

ค. ครสิ ต์ศักราช ง. ฮจิ เราะห์ศกั ราช ค. ศาสนาอิสลาม ง. ครสิ ต์ศาสนา

2. เราทราบได้อยา่ งไรวา่ พ.ศ. 2555 ตรงกับ ค.ศ. 7. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง

2012 ก. พงศาวดารไทยสมัยอยุธยาใช้การนับแบบ

ก. นำ 543 มาลบ เพราะนกั ประวตั ิศาสตร์กำหนดไว้ พทุ ธศักราช

ข. นำ 543 มาลบ เพราะ ค.ศ. ช้ากวา่ พ.ศ. อยู่ ข. การนบั ศักราชแบบรัตนโกสินทรศ์ กเร่ิมใชใ้ นสมยั

543 ปี รัชกาลที่ 5

ค. ไม่มหี ลักเกณฑแ์ นน่ อน แตท่ ราบเพราะเข้าใจกนั ค. ร.ศ. 1 เท่ากับ พ.ศ. 2411 (ปที ่รี ชั กาลท่ี 5

โดยท่ัวไปอยแู่ ล้ว ข้ึนครองราชย์)

ง. นำ 543 มาลบ เพราะพระพุทธเจ้าสนิ้ พระชนม์ ง. พ.ศ. 1 เริ่มใช้เม่ือมีการเปลีย่ นแปลงการปกครอง

กอ่ นพระเยซู 543 ปี เป็นระบอบประชาธปิ ไตย

3. หลกั เกณฑ์สำคญั ในการแบ่งยุคสมัยเปน็ สมัยก่อน 8. “ศักราช 895 มะเสง็ ศก สมเด็จพระบรมราชา

ประวตั ศิ าสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ คืออะไร หนอ่ พุทธางกูรเจ้านฤพาน จงึ สมเด็จพระราชกุมารได้

ก. การตง้ั บา้ นเรือน เสวยราชสมบตั ”ิ เหตุการณ์นี้เกดิ ขน้ึ เม่ือ พ.ศ. ใด

ข. การประดิษฐต์ ัวอกั ษร ก. 1438 ข. 1516

ค. การปกครองดว้ ยระบบกษตั ริย์ ค. 2017 ง. 2076

ง. การประดิษฐ์เครอ่ื งมือเคร่ืองใชท้ ีท่ ันสมยั 9. เวลามคี วามสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อยา่ งไร

4. การแบ่งสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์เปน็ ยคุ หินและยุค ก. ใชห้ าขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์

โลหะ มหี ลกั เกณฑ์ในการแบ่งอย่างไร ข. ใช้บอกรายละเอียดเหตุการณ์สำคญั

ก. รปู ร่างหน้าตาของมนุษย์ ค. ใชใ้ นการลำดบั เหตุการณท์ างประวัตศิ าสตร์

ข. ภาษาพูดและภาษาเขยี น ง. ใชพ้ จิ ารณาว่าเหตุการณ์นนั้ เป็นประวัตศิ าสตร์

ค. การตง้ั บ้านเรือนอยรู่ ิมนำ้ หรือไม่

ง. เคร่ืองมอื เครื่องใช้ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพมากกว่า 10. การแบง่ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์มีประโยชน์อยา่ งไร

5. มนุษย์ทย่ี ังเรร่ ่อนอาศยั อยตู่ ามเพงิ ผา ใช้เครื่องมือหนิ ก. ทำให้ศึกษาเรื่องราวในอดีตได้สะดวกขึ้น

แบบง่ายๆ เปน็ มนุษยย์ คุ ใด ข. ทำใหเ้ ร่อื งราวในอดีตเป็นจริงขึ้นมากกวา่ เดิม

ก. ยคุ หินเกา่ ข. ยุคหนิ กลาง ค. ทำให้เกิดความเขา้ ใจเรือ่ งราวในอดตี ไดด้ ขี ้นึ

ค. ยุคหินใหม่ ง. ยุคโลหะ ง. ทำใหป้ ระหยดั เวลาการทำงานของนัก

ประวตั ศิ าสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหัสวิชา ส 21103 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรยี นพนมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 5 ชั่วโมง
จำนวน ๑ ช่ัวโมง
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง เวลาและการแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรือ่ ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์

ผสู้ อน นางสาวสุดารตั น์ ทองคำ

ใชส้ อนชน้ั ช่ัวโมง วันที่ เดือน พ.ศ.

1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ

ทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ

2. สาระสำคัญ
การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์มีวิธกี ารแบ่งชว่ งเวลาตามแบบสากลและตามแบบไทย ซึง่ มีผลตอ่ ความเขา้ ใจ

เหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์

3. ตวั ชวี้ ดั
3.1 ตวั ช้วี ัด ม. 1/1 วเิ คราะห์ความสำคัญของเวลาในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์
3.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้
อธิบายการแบ่งยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ความสำคัญของเวลาและชว่ งเวลาสำหรบั การศกึ ษาประวัติศาสตร์
4.2 ตัวอยา่ งการใช้เวลา ชว่ งเวลา และยคุ สมยั ที่ปรากฏในเอกสารประวัตศิ าสตร์ไทย

5. สมรรถนะสำคัญ
5.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.2.1 ทกั ษะการสำรวจค้นหา
5.2.2 ทกั ษะการวเิ คราะห์
5.2.3ทักษะการสรุปลงความเหน็
5.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
6.1 มวี ินัย
6.2 ใฝเ่ รียนรู้
6.3 ม่งุ มนั่ ในการทำงาน

7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้
วิธสี อนแบบ กระบวนการกลุม่ สัมพนั ธ์

ขนั้ ท่ี 1 นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ครูใหน้ ักเรยี นกลุ่มเดมิ (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันอภิปรายในหัวข้อ

“เพราะเหตุใดจึงต้องมีการแบง่ ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์” โดยครูคอยกระตนุ้
ให้นักเรยี น ทกุ คนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็
2. ครูสมุ่ นกั เรยี น 2-3 กล่มุ ออกมานำเสนอผลการอภิปรายท่หี น้าช้ันเรยี น แล้วใหก้ ลมุ่ อื่นทีม่ คี วามคิดเห็น
แตกต่างกันออกไปนำเสนอเพิ่มเติม

ขั้นที่ 2 จัดการเรยี นรู้

1. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ จับคกู่ ันเป็น 2 คู่ ให้แตล่ ะครู่ ่วมกนั ศึกษาความรูเ้ ร่ือง การแบ่งยุคสมยั

ทางประวตั ิศาสตร์ จากหนังสือเรยี นในหวั ข้อที่กำหนดให้ ดงั นี้

- ค่ทู ี่ 1 ศึกษาความรเู้ รื่อง การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบสากล

- ค่ทู ี่ 2 ศกึ ษาความรเู้ รื่อง การแบ่งช่วงเวลาตามแบบไทย

จากน้นั บนั ทกึ ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน

2. นกั เรียนแต่ละคนู่ ำความรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษามาอธิบายใหเ้ พ่ือนอีกคู่หน่งึ ฟัง ผลดั กันซักถามขอ้ สงสัย

และอธบิ ายจนทกุ คนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกนั

3. ครอู ธบิ ายความรเู้ ร่ือง การแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ให้นักเรียนฟังเพิ่มเติม เพ่ือให้นักเรยี นมคี วามรู้

ความเข้าใจชดั เจนมากยิ่งขนึ้

4. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั ทำใบงานท่ี 1.2 เร่ือง การแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์

5. ครูเฉลยคำตอบในใบงานท่ี 1.2 สมาชิกแตล่ ะกลุ่มตรวจสอบความถูกต้อง

6. นักเรยี นแต่ละคนทำกิจกรรมฝึกทักษะ : กิจกรรมที่ 3 จากแบบวัดฯ เม่ือทำเสรจ็ แล้วชว่ ยกันตรวจสอบ

ความถกู ต้องและเติมเตม็ คำตอบใหส้ มบรู ณ์

7ข.้ันนทกั ่ี 3เรยี นสตรอปุ บแคลำะถนาำมหกลรกัะตกุ้นารคไวปาปมรคะดิ ยกุ ต์ใช้ คำถามกระตนุ้ ความคดิ
1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรูเ้ รื่อง การเร่ิมสมัยประวัตศิ าสตรแ์ ต่ละประเทศ

การแบ่งยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ เหมือนกนั หรือไม่ อธิบายเหตผุ ล

2. ครแู นะนำใหน้ ักเรียนนำความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษา (ไม่เหมือนกัน เนอื่ งจากการคิดประดษิ ฐต์ วั อักษร
ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์ด้านอืน่ ๆ ของแตล่ ะประเทศเกดิ ขน้ึ ในระยะเวลา
ตอ่ ไปในอนาคต ท่ีแตกตา่ งกนั )

3. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด

ขัน้ ท่ี 4 วดั และประเมนิ ผล คำถามกระตนุ้ ความคดิ

1. ครวู ัดและประเมนิ ผลนักเรียนจากการทำใบงานที่ 1.2 ถา้ นักเรียนตอ้ งการแบง่ ยคุ สมัยในประเทศไทย
และกิจกรรมฝึกทกั ษะ : กิจกรรมที่ 3 จากแบบวัดฯ นักเรยี นจะแบ่งโดยใชห้ ลักเกณฑใ์ ด อธบิ ายเหตุผล

2. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ

(พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อย่ใู น

ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ้สู อน)

8. สือ่ อปุ กรณแ์ ละแหล่งการเรียนรู้
8.1 ส่ือการเรียนรู้
8.1.1 หนงั สอื เรยี น ประวตั ิศาสตร์ ม.1
8.1.2 หนงั สอื ค้นคว้าเพิ่มเติม
วนิ ยั พงศศ์ รเี พยี ร. 2544. วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช. กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธกิ าร.
8.1.3 บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ประวัตศิ าสตร์ ม.1 บรษิ ัท เพลย์เอเบิล จำกดั
8.1.4 ใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง การแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
8.2.1 แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

http://www.aksorn.com/LC/Hist/M1/01

8.2.2 ห้องสมดุ

๙. การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข ๔ มิต)ิ

หลักความพอประมาณ - วิเคราะห์สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ทสี่ อดคล้องกนั
- ออกแบบกจิ กรรมที่สอดคลอ้ งกับตัวชีว้ ดั
หลกั มเี หตุผล - ใช้เครอ่ื งมือวิธปี ระเมินทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ตัวชวี้ ดั

หลักสรา้ งภมู ิคุ้มกันในตัวทดี่ ี - จดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีคำนกึ ถงึ ความรูค้ วามสามารถของผู้เรยี น

เงือ่ นไขความรู้ - ศกึ ษาเนือ้ หาสาระรูปแบบกจิ กรรมใหบ้ รรลตุ ามตวั ชวี้ ดั
เงอื่ นไขคณุ ธรรม - จัดทำแผนการเรียนรู้อย่างละเอียดสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียน

การสอนและสามารถนำไปใช้ได้ในกรณีขาดแคลนครสู อน

- อธบิ ายการแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้

- มคี วามรบั ผิดชอบต่อการทำงาน

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ มิติ

เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์
ใบงานท่ี 1.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
วธิ กี าร แบบบันทกึ การอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ตรวจแบบบันทึกการอา่ น แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ
สังเกตความมวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และ
มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

ใบงานท่ี 1.2
การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์

คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี
1. การแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรอ์ าศยั หลักเกณฑใ์ ดบ้าง

2. การแบง่ สมัยประวัตศิ าสตรต์ ามแบบสากล มีกี่สมยั และแต่ละสมยั เริม่ ต้นและส้นิ สดุ ลงเมื่อใด

3. การแบ่งสมัยประวัตศิ าสตรต์ ามแบบสากลและแบบไทย เหมอื นหรือตา่ งกนั อยา่ งไรบ้าง

เฉลยใบงานท่ี 1.2

การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปนี้

1.การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์อาศัยหลักเกณฑใ์ ดบา้ ง

- สมัยก่อนประวัติศาสตร์ อาจใช้หลักเกณฑ์การแบ่งตามเทคโนโลยีการทำเคร่ืองมือเครื่องใช้ โดยแบ่งเป็นยุค
หนิ กับยุคโลหะ หรือแบ่งตามลกั ษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยแบ่งเปน็ ยุคลา่ สตั ว์ ทีม่ นษุ ย์รจู้ ักเก็บหาอาหาร ลา่ สตั ว์
ป่า ยังไม่มีการตั้งถิ่นฐานที่ถาวร ยุคสังคมเกษตรกรรม มนุษย์รู้จักการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ มีการตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่
รวมกันเป็นชุมชน และยุคสังคมเมือง ชุมชนพัฒนาไปเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากขึ้น มีการจัดระเบียบการ
ปกครองเป็นต้น - สมัยประวัติศาสตร์ จะใช้หลักเกณฑ์การแบ่งเมื่อมนุษย์รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้บันทึก
เร่ืองราวต่างๆซง่ึ อาจบนั ทกึ ลงบนกระดกู ไมไ้ ผ่ แผน่ ดนิ เหนยี ว ศลิ า เปน็ ตน้

2. การแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ตามแบบสากล มีกส่ี มัย และแตล่ ะสมัยเรมิ่ ต้นและสิน้ สุดลงเมือ่ ใด
การแบง่ สมยั ประวัตศิ าสตร์ ตามแบบสากลมี 4 สมัย ได้แก่
1) ประวัติศาสตรส์ มยั โบราณ เริ่มตงั้ แตก่ ารประดษิ ฐ์ตวั อักษรของชาวซเู มเรียเมอื่ 3,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช

จนถงึ กรุงโรมของจกั รวรรดิโรมันตะวันตกถกู พวกอนารยชนตแี ตกใน ค.ศ. 476
2) ประวัติศาสตร์สมัยกลาง เริ่มภายหลังกรุงโรมแตก ค.ศ. 476 จนถึงพวกเติร์กตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลของ

จกั รวรรดไิ บแซนไทนห์ รอื จักรวรรดโิ รมนั ตะวันออกแตกใน ค.ศ. 1453
3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มภายหลังกรุงคอนสแตนติโนเปิลแตก จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

ใน ค.ศ.1945
4) ประวัตศิ าสตร์รว่ มสมยั เร่มิ ตั้งแตส่ น้ิ สุดสงครามโลกครง้ั ที่ 2 จนถึงปจั จบุ นั

3. การแบ่งสมยั ประวตั ิศาสตร์ตามแบบสากลและแบบไทย เหมอื นหรอื ตา่ งกันอยา่ งไรบ้าง
การแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ของไทยจะแตกตา่ งจากแบบสากลเพื่อให้เหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทยโดยสากลจะ

แบ่งออกเป็นสมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบันร่วมสมัย ส่วนไทยจะแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ออกหลาย
แบบ เช่น แบ่งตามอาณาจักร เช่น สมัยทวารวดี สมัยละโว้ สมัยศรีวิชัย แบ่งตามราชธานี เช่น สมัยสุโขทยั สมัยอยุธยา
แบ่งตามราชวงศ์ เช่น สมัยราชวงศ์พระร่วง สมัยราชวงศ์อู่ทอง สมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ แบ่งตามรัชกาล เช่น สมัยพ่อ
ขนุ -รามคำแหงมหาราช สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมยั รชั กาลท่ี 1 แบง่ ตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เช่น
สมัยสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ เปน็ ต้น

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 21103 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
โรงเรียนพนมศึกษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 5 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง เวลาและการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๑ ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง ตัวอย่างการใชเ้ วลา ช่วงเวลายุคสมัยและศักราช เวลา

ในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

ผู้สอน นางสาวสุดารัตน์ ทองคำ

ใชส้ อนชน้ั ชั่วโมง วันท่ี เดอื น พ.ศ.

1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ

ทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่างๆ อย่างเปน็ ระบบ

2. สาระสำคญั
การใช้เวลา ชว่ งเวลา ยุคสมยั และศักราชท่ปี รากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย จะทำใหเ้ ข้าใจเหตกุ ารณ์

หรือเร่อื งราวทางประวัติศาสตร์ไดถ้ ูกต้อง

3. ตัวช้วี ัด
3.1 ตวั ชว้ี ดั ม. 1/1 วิเคราะหค์ วามสำคัญของเวลาในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์
ม. 1/2 เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ทีใ่ ชศ้ กึ ษาประวัตศิ าสตร์
3.2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.2.1 ยกตวั อยา่ งการใช้เวลา ช่วงเวลา และยคุ สมยั ทปี่ รากฏในเอกสารประวัตศิ าสตร์ไทยได้

3.2.2 ยกตัวอยา่ งการใช้ศักราชตา่ งๆ ทป่ี รากฏในเอกสารประวัตศิ าสตร์ไทยได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ตวั อยา่ งการใช้เวลา ช่วงเวลา และยุคสมยั ทปี่ รากฏในเอกสารประวัติศาสตรไ์ ทย

4.2 ตัวอย่างการใชศ้ กั ราชต่างๆ ที่ปรากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตร์ไทย

5. สมรรถนะสำคัญ 5.2.2 ทกั ษะการวิเคราะห์
5.1 ความสามารถในการส่อื สาร 5.2.4 ทกั ษะการสรา้ งความรู้
5.2 ความสามารถในการคดิ
5.2.1 ทกั ษะการสำรวจค้นหา
5.2.3 ทักษะการสรุปลงความเห็น
5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 มีวนิ ยั
6.2 ใฝ่เรยี นรู้
6.3 ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ วิธสี อนแบบ กระบวนการกลุม่ สมั พันธ์

ขน้ั ที่ 1 เตรียม คำถามกระต้นุ ความคดิ

1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด นักเรียนคดิ ว่า การแบง่ ยคุ สมัยในหลักฐานทาง
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั การใชเ้ วลา ประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศเหมอื นกันหรือไม่
อธบิ ายเหตุผล
ชว่ งเวลา ยุคสมยั และศกั ราชในหลักฐานทาง (พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยู่ใน
ประวัติศาสตร์ โดยครูคอยกระตุ้นใหน้ ักเรียนทุกคน ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็
3. ครูอธบิ ายวธิ กี ารศกึ ษากรณีตัวอยา่ งให้นักเรยี นเข้าใจ

ข้ันที่ 2 เสนอกรณีตัวอย่าง คำถามกระตุ้นความคดิ

1. ครใู หน้ กั เรยี นกลุ่มเดมิ (จากแผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย แต่ละสมัยมีการระบุ
1) ร่วมกนั ศึกษาความรู้เร่ือง ตัวอย่างศักราชในหลักฐาน ศักราชเหมอื นกนั หรือไม่ อธิบายเหตผุ ล
(ไมเ่ หมือนกัน เพราะในแต่ละสมัยมกี ารใชศ้ ักราชท่ี
ทางประวตั ิศาสตร์ และตัวอยา่ งการใช้เวลา ชว่ งเวลา แตกต่างกัน เช่น ในสมัยสโุ ขทัย นยิ มใชศ้ ักราชแบบมหา
และยคุ สมยั ท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ศกั ราช ในสมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ นยิ มใช้ศักราชแบบ
ไทยจากหนงั สอื เรียน รตั นโกสนิ ทรศ์ ก เปน็ ต้น)
2. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ

ขั้นที่ 3 วเิ คราะห์ คำถามกระตุน้ ความคิด

1. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วิเคราะห์ตัวอยา่ งศักราช ศกั ราชที่เก่าแก่ท่สี ุดทีป่ รากฏในหลักฐานทาง
ในหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ และตวั อย่างการใช้ ประวตั ิศาสตร์ไทย คือ ศกั ราชใด
เวลา ชว่ งเวลา และยุคสมัยท่ปี รากฏในหลกั ฐาน (มหาศักราช)
ทางประวัตศิ าสตร์ไทย

2. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

ขั้นท่ี 4 สรปุ คำถามกระตนุ้ ความคดิ

1. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปความรู้เรื่อง ตวั อย่าง การระบมุ หาศักราช และจุลศักราชในหลักฐานทาง
ศกั ราชในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ และตวั อย่าง ประวัตศิ าสตร์ไทย มีความแตกต่างกนั อยา่ งไร
การใช้เวลา ชว่ งเวลา และยคุ สมยั ที่ปรากฏใน (การระบุมหาศักราช จะระบุเป็นปนี ักษัตร เช่น ปีกุน
หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ไทย สว่ นการระบจุ ุลศกั ราช จะระบเุ ปน็ ศก เช่น นพศก)

2. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ

ข้นั ท่ี 5 ประเมนิ ผล

1. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ช่วยกันทำใบงานท่ี 1.3 เรอ่ื ง การใช้ศักราชในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย
เมื่อทำเสร็จแลว้ ช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้องและเติมเต็มคำตอบให้สมบรู ณ์

2. ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั เฉลยคำตอบในใบงานที่ 1.3

8. สือ่ อุปกรณ์และแหลง่ การเรยี นรู้
8.1 สือ่ การเรยี นรู้
8.1.1 หนงั สอื เรียน ประวัตศิ าสตร์ ม.1
8.1.2 ใบงานท่ี 1.3 เรือ่ ง การใชศ้ ักราชในหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
-

๙. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข ๔ มิต)ิ

หลกั ความพอประมาณ - วิเคราะหส์ มรรถนะและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ทส่ี อดคล้องกนั
หลักมเี หตุผล - ออกแบบกิจกรรมทีส่ อดคลอ้ งกับตวั ชี้วดั
- ใชเ้ คร่ืองมือวิธีประเมินทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ตัวชวี้ ัด
หลกั สร้างภมู ิคุ้มกันในตัวทด่ี ี
- จดั กระบวนการเรยี นรูท้ ี่คำนกึ ถึงความรูค้ วามสามารถของผู้เรียน
เงื่อนไขความรู้
เงือ่ นไขคุณธรรม - ศกึ ษาเน้ือหาสาระรูปแบบกจิ กรรมให้บรรลตุ ามตัวช้ีวดั
- จัดทำแผนการเรียนรู้อย่างละเอียดสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียน

การสอนและสามารถนำไปใชไ้ ดใ้ นกรณีขาดแคลนครูสอน

- อธิบายการใช้เวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยที่ปรากฏในเอกสาร
ประวตั ิศาสตร์ไทย

- มีความรบั ผิดชอบต่อการทำงาน

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔ มติ ิ

เศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม

10. การวัดผลและประเมนิ ผล

วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานท่ี 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ
สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งม่นั แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ในการทำงาน
แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

ใบงานท่ี 1.3

การใช้ศักราชในหลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทย

คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษากรณีตวั อยา่ ง แล้วตอบคำถาม

กรณีตัวอย่างที่ 1
“ครั้นศักราช 891 ปฉี ลูศก ญ วันอาทติ ย์ ขน้ึ 5 ค่ำ เดือน 8 ขุนวรวงศาธิราชเจา้ แผ่นดิน คิดกนั กบั แม่อยู่หวั
ศรีสดุ าจันทร์ใหเ้ อาพระยอดฟ้าไปประหารชวี ิตเสยี ณ วดั โคกพระยา แต่พระศรีศิลปน์ อ้ งชาย พระชนม์ได้เจ็ดพรรษานั้น
เล้ยี งไว้ สมเดจ็ พระยอดฟ้าอยู่ในราชสมบัติปกี ับสองเดือน”

ทีม่ า : พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา

1. จากกรณีตัวอย่างเปน็ เหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นในสมยั ใด …………………………………………………………………………………
2. เหตุการณด์ งั กลา่ วเปน็ ศักราชใด ………………………………………………………………………………………………………….
3. เหตุการณ์ดงั กล่าวเกิดข้นึ เมื่อใด……………………………………………………………………………………………………………

กรณตี ัวอยา่ งท่ี 2
“...ภายหลงั มานับถอยหลงั ข้ึนไปในรตั นโกสินทร์ศก 85 มีจีนคนหน่ึงชอื่ เจ๊กฮง จัดตัง้ โรงรับจำนำขึ้นโรง
หนึง่ ทร่ี ิมประตผู ีนี้เอง...”

ทม่ี า : วารสารวชริ ญาณวิเศษ เล่ม 6 รัตนโกสินทร์ 105

1. จากกรณตี ัวอยา่ งเป็นเหตุการณ์ที่เกดิ ขึ้นในสมัยใด …………………………………………………………………………………
2. เหตกุ ารณด์ ังกลา่ วเป็นศักราชใด ………………………………………………………………………………………………………….
3. เหตกุ ารณ์ดังกลา่ วเกิดข้นึ เมื่อใด……………………………………………………………………………………………………………

กรณีตัวอยา่ งที่ 3
“เมือ่ ก่อนลายสือไทน้ี บม่ ี 1205 ศก ปมี ะแม พ่อขุนรามคำแหงหาใคร่ใจในใจ แลใส่ลายสอื ไทนี้
ลายสอื ไทน้ีจง่ึ มีเพ่ือพอ่ ขุนผนู้ นั้ ใส่ไว้”

ที่มา : ศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช ด้านท่ี 4

1. จากกรณีตวั อยา่ งเปน็ เหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้นในสมัยใด …………………………………………………………………………………
2. เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วเปน็ ศักราชใด ………………………………………………………………………………………………………….
3. เหตุการณด์ งั กลา่ วเกดิ ขึ้นเมื่อใด……………………………………………………………………………………………………………

เฉลยใบงานที่ 1.3

การใช้ศักราชในหลักฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย

คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นศึกษากรณีตัวอย่าง แล้วตอบคำถาม

กรณีตวั อยา่ งท่ี 1
“คร้ันศักราช 891 ปีฉลูศก ญ วนั อาทติ ย์ ข้ึน 5 คำ่ เดือน 8 ขุนวรวงศาธิราชเจา้ แผ่นดนิ คิดกันกบั แม่อยูห่ ัว
ศรสี ุดาจันทรใ์ ห้เอาพระยอดฟ้าไปประหารชวี ิตเสยี ณ วัดโคกพระยา แต่พระศรศี ลิ ป์น้องชาย พระชนม์ได้เจ็ดพรรษานั้น
เลี้ยงไว้ สมเด็จพระยอดฟา้ อยู่ในราชสมบัติปกี ับสองเดือน”

ทีม่ า : พงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา

1. จากกรณีตัวอย่างเปน็ เหตุการณ์ที่เกิดขนึ้ ในสมัยใด สมัยกรุงศรีอยุธยาสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา
2. เหตุการณด์ งั กลา่ วเป็นศักราชใด จลุ ศักราชจลุ ศกั ราช
3. เหตุการณ์ดังกลา่ วเกิดขนึ้ เม่ือใด วนั อาทิตยข์ นึ้ 5 คำ่ เดือน 8 ปีฉลูเอกศก จลุ ศักราช 891วันอาทติ ย์

กรณีตัวอย่างที่ 2
“...ภายหลังมานบั ถอยหลงั ขึ้นไปในรตั นโกสินทร์ศก 85 มีจีนคนหนง่ึ ช่อื เจก๊ ฮง จดั ต้งั โรงรบั จำนำข้นึ โรง
หนึง่ ท่ีริมประตูผีน้ีเอง...”

ทมี่ า : วารสารวชิรญาณวิเศษ เล่ม 6 รัตนโกสินทร์ 105
1. จากกรณตี ัวอย่างเป็นเหตุการณ์ที่เกดิ ขึ้นในสมัยใด สมยั กรุงรตั นโกสินทร์สมยั กรุงรตั นโกสินทร์
2. เหตุการณด์ งั กล่าวเปน็ ศักราชใด รตั นโกสินทรศ์ กรตั นโกสนิ ทร์ศก
3. เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วเกิดขนึ้ เมื่อใด รตั นโกสินทร์ศกร8ั 5ตนโกสินทรศ์ ก ๘๕

กรณีตวั อยา่ งท่ี 3
“เมือ่ ก่อนลายสือไทน้ี บม่ ี 1205 ศก ปีมะแม พ่อขนุ รามคำแหงหาใครใ่ จในใจ แลใส่ลายสอื ไทนี้
ลายสอื ไทนี้จ่ึงมเี พ่ือพ่อขนุ ผู้นั้นใสไ่ ว”้

ทมี่ า : ศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ดา้ นที่ 4
1. จากกรณีตัวอย่างเป็นเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นในสมัยใด สมยั สโุ ขทยั สมยั สโุ ขทยั
2. เหตุการณด์ งั กลา่ วเป็นศักราชใด มหาศกั ราชมหาศักราช
3. เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วเกดิ ขึ้นเม่ือใด 1205 ศก ปมี ะแม๑๒๐๕ ศก ปมี ะแม

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหสั วชิ า ส 21103 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1
โรงเรยี นพนมศึกษา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 5 ช่ัวโมง
จำนวน ๑ ช่วั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่อื ง เวลาและการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์
เวลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง ท่มี าของศักราช

ผู้สอน นางสาวสดุ ารัตน์ ทองคำ

ใชส้ อนชนั้ ช่วั โมง วนั ท่ี เดอื น พ.ศ.

1. สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ

ทางประวัตศิ าสตรม์ าวิเคราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ

2. สาระสำคัญ
การศึกษาท่ีมาและการใช้ศักราชตามระบบต่างๆ ท่ปี รากฏในเอกสารประวตั ิศาสตรไ์ ทย ยอ่ มทำให้เกดิ ความ

เข้าใจเหตุการณห์ รอื เรื่องราวทางประวัติศาสตรไ์ ด้อยา่ งถกู ต้อง

3. ตัวชว้ี ดั
3.1 ตัวชว้ี ัด ม.1/2 เทียบศักราชตามระบบตา่ งๆ ที่ใชศ้ ึกษาประวัติศาสตร์
3.2 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
บอกที่มาของศักราชท่ปี รากฏในเอกสารประวัตศิ าสตรไ์ ทยได้

4. สาระการเรยี นรู้
ทีม่ าของศกั ราชทปี่ รากฏในเอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย ไดแ้ ก่ จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ./พ.ศ./ค.ศ. และ ฮ.ศ.

5. สมรรถนะสำคัญ
5.1 ความสามารถในการส่ือสาร
5.2 ความสามารถในการคดิ
5.2.1 ทักษะการสำรวจค้นหา
5.2.2 ทักษะการวิเคราะห์
5.2.3 ทักษะการสร้างความรู้
5.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
6.1 มีวนิ ยั
6.2 ใฝ่เรียนรู้
6.3 มุ่งมั่นในการทำงาน

7. กระบวนการจดั การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
วธิ สี อนแบบ กระบวนการกลุ่มสัมพนั ธ์

ขน้ั ท่ี 1 นำเข้าสู่บทเรียน คำถามกระตนุ้ ความคิด
1. ครูนำบัตรคำของศักราชระบบต่างๆ มาให้นักเรียนดู นอกเหนอื จากศกั ราชแลว้ ยังมคี ำใดที่นำมาใชบ้ อก
ชว่ งเวลาอีกบา้ ง อธิบายพรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบ
แลว้ ให้นักเรียนชว่ ยกันบอกคำเต็ม โดยครเู ปน็ (คำว่า วรรษ หมายถึง ปี เช่น ทศวรรษ = 10 ปี)
ผ้ตู รวจสอบความถูกต้อง
2. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด คำถามกระตุ้นความคิด
เพราะเหตใุ ด บางศกั ราชจงึ ไม่นิยมนำมาใช้ในปัจจุบัน
ข้นั ท่ี 2 จัดการเรยี นรู้ (เพราะไม่มหี ลักเกณฑก์ ารนบั ที่แนน่ อน)
1. นักเรยี นกลมุ่ เดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1)

รว่ มกันศกึ ษาความรเู้ รื่อง ท่ีมาของศักราชระบบต่างๆ
จากหนังสือเรียน
2. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั อภิปรายความรทู้ ่ีไดจ้ าก
การศึกษา ผลดั กันซักถามข้อสงสยั และอธบิ ายจนทุก
คน
มีความเขา้ ใจชดั เจนตรงกัน
3. ครูอธบิ ายความรูเ้ ร่อื ง ท่มี าของศักราช ให้นกั เรียนฟงั
เพมิ่ เติม เพ่ือใหน้ ักเรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจชดั เจน
มากยิ่งขึน้
4. นักเรียนแต่ละกล่มุ ช่วยกันทำใบงานท่ี 1.4 เรือ่ ง
ที่มาของศักราช
5. ครูเฉลยคำตอบในใบงานที่ 1.4 สมาชิกแตล่ ะกลุ่ม
ตรวจสอบความถกู ต้อง
6. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

ขัน้ ท่ี 3 สรปุ และนำหลกั การไปประยกุ ต์ใช้ คำถามกระตุน้ ความคดิ
1. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกันสรุปความรู้เร่อื งท่ีมาของ นักเรยี นคิดว่า ศกั ราชใดไมน่ ยิ มนำมาใชใ้ นเอกสารทาง

ศกั ราชระบบตา่ งๆ ประวัตศิ าสตรม์ ากที่สดุ อธิบายเหตผุ ล
2. ครูแนะนำให้นักเรยี นนำความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศกึ ษา
(พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ น
ไปประยกุ ต์ใช้ในการศึกษาประวัตศิ าสตรต์ ่อไป
3. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดลุ ยพินิจของครูผสู้ อน)

ขน้ั ที่ 4 วดั และประเมินผล
ครวู ดั และประเมินผลนักเรยี นจากการทำใบงานท่ี 1.4

8. ส่อื อปุ กรณแ์ ละแหล่งการเรยี นรู้
8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี น ประวัตศิ าสตร์ ม.1
2) หนงั สือคน้ ควา้ เพิม่ เติม
- วินยั พงศ์ศรเี พยี ร. 2544. วนั วาร กาลเวลา แลนานาศักราช. กรงุ เทพมหานคร :
กระทรวงศกึ ษาธิการ.
3) บตั รคำ
4) ใบงานที่ 1.4 เร่ือง ท่ีมาของศักราช
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมดุ
2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
- http://th.wikipedia.org/wiki/ศกั ราช
- http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช

๙. การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (๓ หว่ ง ๒ เงือ่ นไข ๔ มติ ิ)

หลักความพอประมาณ - วเิ คราะห์สมรรถนะและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ทส่ี อดคล้องกัน
- ออกแบบกจิ กรรมที่สอดคล้องกับตัวชว้ี ัด
หลักมีเหตุผล - ใชเ้ คร่ืองมือวิธีประเมินทหี่ ลากหลายเหมาะสมกบั ตวั ชวี้ ดั

หลกั สรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตัวที่ดี - จดั กระบวนการเรียนรู้ที่คำนึกถงึ ความรู้ความสามารถของผูเ้ รียน

เงอ่ื นไขความรู้ - ศึกษาเน้อื หาสาระรปู แบบกจิ กรรมใหบ้ รรลุตามตัวชว้ี ดั
เง่อื นไขคณุ ธรรม - จัดทำแผนการเรียนรู้อย่างละเอียดสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียน

การสอนและสามารถนำไปใช้ได้ในกรณีขาดแคลนครสู อน

- อธบิ ายทม่ี าของศกั ราชทป่ี รากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทยได้

- มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ การทำงาน

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔ มติ ิ

เศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม วัฒนธรรม

10. การวดั ผลและประเมินผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์
วธิ กี าร

ตรวจใบงานท่ี 1.4 ใบงานที่ 1.4 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มั่น
ในการทำงาน แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

บตั รคำ 

พ.ศ. ค.ศ.
ม.ศ. ร.ศ.
จ.ศ. ฮ.ศ.

ใบงานท่ี 1.4
ทม่ี าของศกั ราช

คำช้ีแจง ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปนี้
1. การนบั ศักราชท่ี 1 ของแต่ละศักราชเริ่มนับเม่ือใดบ้าง

2. ศกั ราชใดบา้ งทย่ี ังคงนิยมใชอ้ ยใู่ นปจั จบุ ัน

3. ประเทศไทยใชศ้ กั ราชใดบ้างในการบนั ทึกประวัติศาสตร์

4. เพราะเหตุใด ฮจิ เราะห์ศักราชจงึ มีการเปลย่ี นแปลงการนับทุกๆ 32 ปคี รึ่ง

5. ศักราชมีความสำคญั อยา่ งไรในการศึกษาประวัติศาสตร์

เฉลยใบงานท่ี 1.4
ที่มาของศักราช

คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี

1. การนบั ศักราชท่ี 1 ของแต่ละศกั ราชเร่ิมนบั เม่ือใดบา้ ง

- พุทธศกั ราช เรมิ่ นับจากปีที่พระพุทธเจา้ ปรินิพพาน

- คริสต์ศักราช เร่ิมนับจากปีประสตู ขิ องพระเยซู

- ฮจิ เราะห์ศกั ราช เริ่มนบั จากปีที่นบีมฮู ัมมดั อพยพจากเมอื งเมกกะไปเมืองเมดนิ ะ

- มหาศักราช เริม่ นับจากปที ี่พระเจ้ากนิษกะ แห่งราชวงศ์กุษาณะทรงต้ังขน้ึ

- จุลศักราช เริ่มนบั จากปีทโ่ี ปปะสอระหัน กษัตรยิ ์พมา่ ขน้ึ ครองแผ่นดนิ

- รตั นโกสนิ ทร์ศก เร่ิมนับจากปีทร่ี ัชกาลท่ี 1 ทรงสถาปนากรงุ รัตนโกสนิ ทร์

2. ศักราชใดบา้ งทีย่ งั คงนิยมใชอ้ ยู่ในปจั จุบัน
พุทธศกั ราช ครสิ ตศ์ ักราช และฮิจเราะห์ศักราช

3. ประเทศไทยใชศ้ ักราชใดบ้างในการบนั ทึกประวัตศิ าสตร์
มหาศักราช จลุ ศกั ราช และพุทธศกั ราช

4. เพราะเหตุใด ฮจิ เราะห์ศักราชจึงมกี ารเปล่ยี นแปลงการนบั ทุกๆ 32 ปีคร่ึง
เพราะฮจิ เราะหศ์ ักราช เป็นศักราชทางศาสนาอิสลามใช้ดวงจนั ทรใ์ นการกำหนดเวลา ทำให้ 1 ปี

มี 354 วนั ตา่ งจากคริสตศ์ กั ราชท่มี ี 365 1/4 วนั

5. ศักราชมคี วามสำคัญอย่างไรในการศึกษาประวัตศิ าสตร์
ศักราช ช่วยบอกเวลาในการเกดิ เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ให้ชดั เจนข้นึ ทำให้เราทราบว่า เหตุการณ์

ทางประวัตศิ าสตร์ต่างๆ นั้นเกิดข้ึนเมื่อใดหรือในชว่ งเวลาใด

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหสั วิชา ส 21103 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1
โรงเรียนพนมศึกษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 5 ชั่วโมง
จำนวน ๑ ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่อื ง เวลาและการแบ่งยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์
เวลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 เร่ือง การเปรยี บเทยี บศักราชแบบตา่ งๆ

ผสู้ อน นางสาวสุดารตั น์ ทองคำ

ใชส้ อนชัน้ ชั่วโมง วนั ท่ี เดอื น พ.ศ.

1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ

ทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่างๆ อยา่ งเป็นระบบ

2. สาระสำคัญ
การศกึ ษาหลกั เกณฑก์ ารเทียบศักราชในระบบต่างๆ ย่อมทำใหเ้ ขา้ ใจความสมั พนั ธ์ของเหตุการณ์ทาง

ประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง

3. ตัวชี้วดั
3.1 ตัวชี้วัด ม.1/2 เทยี บศักราชตามระบบตา่ งๆ ทใ่ี ชศ้ ึกษาประวตั ศิ าสตร์
3.2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
นับและเปรียบเทียบศักราชตามระบบตา่ งๆ ที่ใชใ้ นการบนั ทึกประวตั ิศาสตร์ไทยได้

4. สาระการเรียนรู้
วิธีการเทยี บศักราชต่างๆ และตวั อย่างการเทยี บ

5. สมรรถนะสำคญั
5.1 ความสามารถในการส่ือสาร
5.2 ความสามารถในการคดิ
5.2.1 ทกั ษะการสำรวจค้นหา
5.2.2 ทักษะการวเิ คราะห์
5.2.3 ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็
5.2.4 ทักษะการสร้างความรู้
5.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 มวี นิ ัย
6.2 ใฝ่เรยี นรู้
6.3 มุ่งม่ันในการทำงาน

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
วธิ สี อนตามรูปแบบ โมเดลซิปปา (CIPPA Model)

ขัน้ ท่ี 1 ทบทวนความรูเ้ ดมิ
1. ครใู ห้นกั เรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1) จับคู่กนั เปน็ 2 คู่ แลว้ ให้แตล่ ะคูส่ ่งตัวแทนออกมา

จบั สลากบตั รคำแสดงศกั ราชตามระบบต่างๆ ค่ลู ะ 1 ใบ
2. นกั เรียนแต่ละคู่รว่ มกันอภิปรายเกยี่ วกบั ศักราชที่คู่ของตนจบั สลากไดว้ า่ มีที่มา และมีความสำคญั ต่อการ

บันทกึ ประวตั ิศาสตร์อย่างไรบ้าง เพ่ือเป็นการทบทวนความรเู้ ดมิ ของนักเรยี น
3. ครูสุ่มนักเรยี นแต่ละคู่ออกมานำเสนอผลการอภปิ รายหน้าชั้นเรยี น โดยครูและเพื่อนกลุ่มอน่ื ช่วยกัน

ตรวจสอบความถูกต้อง

ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาความรใู้ หม่ คำถามกระตนุ้ ความคดิ

1. นกั เรยี นรว่ มกนั ศึกษาความรู้ เร่ือง การเปรียบเทียบ เพราะเหตุใด ครสิ ต์ศักราชจงึ เปน็ ศกั ราชที่นิยม ใช้ใน
ศักราช จากหนงั สือเรยี น ในประเด็นท่ีกำหนดให้ ดงั นี้ การบนั ทึกเรื่องราวหรอื เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ มากที่สดุ
- การเปรียบเทยี บศกั ราชระหว่าง ค.ศ. และ พ.ศ. (พิจารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ย่ใู น
- การเปรยี บเทียบศกั ราชระหวา่ ง พ.ศ. และ ร.ศ. ดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน)
- การเปรียบเทียบศกั ราชระหวา่ ง ม.ศ. และ พ.ศ.
- การเปรยี บเทยี บศักราชระหว่าง จ.ศ. และ พ.ศ.
- การเปรยี บเทียบศักราชระหว่าง ฮ.ศ. และ พ.ศ.
แลว้ บนั ทกึ ความรูท้ ่ไี ด้จากการศกึ ษาลงในแบบบนั ทึก
การอา่ น

2. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ

ขน้ั ที่ 3 ศึกษาทำความเขา้ ใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และ คำถามกระตุ้นความคดิ

เช่ือมโยงความรูใ้ หมก่ ับความรเู้ ดมิ

1. นกั เรียนแต่ละคู่นำความรูเ้ ดิมและความรูใ้ หม่ นกั เรยี นทราบได้อยา่ งไรวา่ พ.ศ. 2555 ตรงกบั

ที่ไดศ้ ึกษาค้นควา้ มาเชอื่ มโยงกนั ในการทำใบงาน ครสิ ตศ์ ักราช 2012

ท่ี 1.5 เรอื่ ง การเปรยี บเทียบศกั ราชแบบตา่ งๆ (พุทธศักราชมมี ากอ่ นครสิ ตศ์ ักราช 543 ปี

2. นกั เรียนแต่ละคู่ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องของ เอา พ.ศ. 2555 - 543 = ค.ศ. 2012)

ใบงานท่ี 1.5 หากมีขอ้ บกพรอ่ งใหช้ ว่ ยกันเตมิ เต็ม

คำตอบใหส้ มบรู ณ์

3. ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกันเฉลยคำตอบใบงานที่ 1.5

เรื่อง การเปรียบเทียบศักราชแบบตา่ งๆ

4. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ

นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

8. สื่ออปุ กรณ์และแหลง่ การเรยี นรู้
8.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี น ประวัติศาสตร์ ม.1
2) หนงั สอื ค้นควา้ เพ่ิมเติม
- วนิ ัย พงศศ์ รเี พยี ร. 2544. วนั วาร กาลเวลา แลนานาศกั ราช. กรุงเทพมหานคร :
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
3) บตั รคำ
4) ใบงานท่ี 1.4 เรือ่ ง ท่มี าของศักราช
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมดุ
2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
- http://th.wikipedia.org/wiki/ศกั ราช
- http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช

๙. การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (๓ ห่วง ๒ เงอ่ื นไข ๔ มิติ)

- วเิ คราะหส์ มรรถนะและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคท์ ่สี อดคลอ้ งกัน

หลักความพอประมาณ - ออกแบบกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับตัวชว้ี ดั

- ใช้เคร่ืองมอื วธิ ปี ระเมนิ ทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ตัวชีว้ ดั

หลักมเี หตุผล - จัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีคำนึกถึงความร้คู วามสามารถของผเู้ รียน

- ศกึ ษาเน้ือหาสาระรูปแบบกิจกรรมให้บรรลตุ ามตวั ช้ีวัด

หลกั สรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตวั ทดี่ ี - จัดทำแผนการเรียนรู้อย่างละเอียดสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียน

การสอนและสามารถนำไปใช้ได้ในกรณขี าดแคลนครสู อน

เง่อื นไขความรู้ - อธิบายการนับและเปรียบเทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ในการ
บนั ทึกประวัติศาสตรไ์ ทยได้

เง่อื นไขคณุ ธรรม - มีความรับผดิ ชอบต่อการทำงาน

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔ มติ ิ

เศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดล้อม วฒั นธรรม

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครือ่ งมอื เกณฑ์
วธิ กี าร

ตรวจใบงานที่ 1.4 ใบงานที่ 1.4 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สงั เกตความมวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ มั่น แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ในการทำงาน


Click to View FlipBook Version