The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2022-05-17 02:36:15

คู่มือนักศึกษา 2564

คู่มือนักศึกษา 2564

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

Rajamangala University of Technology Krungthep

ค่มู ือนกั ศึกษา
๒๕๖๔

คมู่ ือนี้ มเี จา้ ของช่ือ..................................................................................................................
รหสั นกั ศึกษา..................................................................................................................................
สาขา............................................................................................................................................................
คณะ.............................................................................................................................................................
อาจารยท์ ี่ปรึกษาช่ือ.............................................................................................................

สารจากอธกิ ารบดี หน้า
ประวตั ิความเป็นมาของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

สญั ลกั ษณ์ ๕
สีประจำมหำวิทยำลัย ๖
ต้นไม้ประจำมหำวทิ ยำลัย ๗
ผู้บรหิ ำรมหำวทิ ยำลัย ๘
วิสยั ทัศน์ อตั ลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ ๙
ค่ำนิยมหลัก
การจัดการศึกษา ๑๑
คณะ/สำขำวิชำท่ีเปดิ สอนในมหำวทิ ยำลัย ๑๖
ควำมหมำยของเลขรหสั นกั ศกึ ษำ ๑๗
เคร่ืองแบบนกั ศกึ ษำ ๑๘
บทบำทของอำจำรย์ทป่ี รึกษำ
การให้บริการจากสานักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียน ๒๓
ประเภทกำรบริกำร
พระราชบัญญตั ิ และพระราชกฤษฎีกา ที่เก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษา ๒๕
พระรำชบญั ญตั มิ หำวทิ ยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ๕๔
พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยปรญิ ญำในสำขำวชิ ำ อกั ษรยอ่ สำหรบั สำขำวิชำ
ครยุ วทิ ยฐำนะ เขม็ วทิ ยฐำนะ และครุยประจำตำแหน่งของมหำวทิ ยำลยั ๕๙
เทคโนโลยรี ำชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ. ๒๕๕๑
พระรำชกฤษฎีกำ วำ่ ดว้ ยปริญญำในสำขำวิชำ อกั ษรยอ่ สำหรบั สำขำวชิ ำ ๖๕
ครุยวิทยฐำนะ เขม็ วทิ ยฐำนะ และครุยประจำตำแหนง่ ของมหำวทิ ยำลยั ๗๗
เทคโนโลยีรำชมงคลกรงุ เทพ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๕ ๘๐
หมวดวา่ ด้วยการจัดการศึกษา ๘๒
ระดบั ปริญญาตรี ๙๓
ขอ้ บังคบั ฯ วำ่ ด้วยกำรศึกษำระดับปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๙๔
ระเบยี บฯ วำ่ ด้วยกำรสอบของนักศึกษำระดบั ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๓๗
ระเบียบฯ วำ่ ด้วยกำรศกึ ษำลกั ษณะวิชำเพ่มิ เติมสำหรบั บณั ฑติ พ.ศ. ๒๕๓๗
ระเบยี บฯ วำ่ ด้วยกำรเทยี บโอนผลกำรเรียน พ.ศ. ๒๕๖๔
ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรลงทะเบยี นเรียนข้ำมภำคกำรศึกษำ
ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรตรวจสอบผลกำรลงทะเบยี นและกลุ่มเรยี น (Section)

หน้า

ประกำศฯ เร่ือง กำรลงทะเบียนของนักศกึ ษำกล่มุ สหกิจศึกษำ นักศึกษำฝึกงำน ๙๕

ในสถำนประกอบกำร หรอื นักศกึ ษำฝึกประสบกำรณ์กำรสอนในสถำนศึกษำ

ประกำศฯ เรื่อง กำรลงทะเบียนเรยี นประจำภำคฤดูร้อน ๙๖

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรลงทะเบยี นประจำภำคกำรศึกษำ ๙๗

ประกำศฯ เร่ือง เกณฑก์ ำรลงทะเบยี นเรยี นซำ หรอื แทน ๙๘

และกำรนบั หน่วยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง ข้อปฏบิ ัติในกำรสอบของนกั ศกึ ษำระดับปริญญำ ๑๐๐

พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกำศฯ เร่ือง เกณฑก์ ำรวดั และประเมินผลกำรศึกษำระดับปริญญำตรี ๑๐๔

ประกำศฯ เรอื่ ง เกณฑ์กำรวดั และประเมินผลกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี ๑๑๐

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๒

ประกำศฯ เรอื่ ง เกณฑม์ ำตรฐำนควำมร้ภู ำษำองั กฤษของนกั ศึกษำระดับปริญญำตรี ๑๑๒

พ.ศ. ๒๕๖๐

ประกำศฯ เร่อื ง เกณฑม์ ำตรฐำนควำมรดู้ ำ้ นคอมพิวเตอรข์ องนกั ศึกษำระดบั ปริญญำตรี ๑๑๓

พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกำศฯ เรอ่ื ง เกณฑม์ ำตรฐำนควำมสำมำรถทำงภำษำองั กฤษของนักศกึ ษำ ๑๑๔

ระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรื่อง กำรขอกลับเขำ้ ศึกษำ และ คนื สภำพกำรเป็นนกั ศกึ ษำ ๑๑๖

ประกำศฯ เรือ่ ง กำรยำ้ ยคณะ หรือเปลย่ี นสำขำวิชำ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๑๗

ประกำศฯ เรอ่ื ง หลักเกณฑก์ ำรพจิ ำรณำเทียบรำยวิชำหรือกลุ่มวิชำ ๑๑๙

ประกำศฯ เรือ่ ง แนวทำงกำรดำเนินกำรพฒั นำและบริหำรจัดกำรหลกั สูตระยะสนั ๑๒๐

ประกำศฯ เรอื่ ง กำรแต่งกำยทใี่ ช้ในกำรติดรปู ถ่ำยบนบัตรประจำตวั นักศกึ ษำ ๑๒๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรขอผอ่ นผันเลือ่ นรบั พระรำชทำนปรญิ ญำบัตร ๑๒๗

ระดับบณั ฑติ ศึกษา

ข้อบงั คับฯ วำ่ ดว้ ยกำรศกึ ษำระดบั บณั ฑติ ศึกษำ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๒๙

หมวดการเงนิ

ระดับปริญญาตรี

ประกำศฯ เรื่อง อัตรำกำรเก็บเงินค่ำบำรุงกำรศกึ ษำ คำ่ ลงทะเบยี น คำ่ ขึนทะเบียน ๑๗๔

นกั ศกึ ษำ คำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำและค่ำใชจ้ ่ำยอืน่ ในกำรจดั กำรศกึ ษำ

ระดับปรญิ ญำตรี หลักสตู รนำนำชำติ พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกำศฯ เร่อื ง กำรถอนคนื เงนิ ค่ำบำรุงกำรศกึ ษำ คำ่ ลงทะเบยี น คำ่ สนับสนุน หน้า
กำรจัดกำรศกึ ษำ และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำในกำรจดั กำรศึกษำ ๑๗๖
ระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๗๘
๑๘๓
ประกำศฯ เรือ่ ง อตั รำกำรเก็บเงินคำ่ บำรงุ กำรศึกษำ คำ่ ลงทะเบยี น คำ่ สนบั สนนุ
กำรจัดกำรศึกษำ และค่ำธรรมเนียมกำรศกึ ษำในกำรจดั กำรศกึ ษำระดบั ๑๘๕
ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๘๙
ประกำศฯ เร่ือง อัตรำกำรเก็บเงินคำ่ บำรุงกำรศึกษำ คำ่ ลงทะเบียน คำ่ สนับสนนุ
กำรจัดกำรศึกษำ และค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ ในกำรจดั กำรศึกษำ ๑๙๓
ระดับปริญญำตรี หลักสตู รบรหิ ำรธุรกจิ บัณทิต สำชำวชิ ำธรุ กจิ กำรบิน
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๙๔
๑๙๗
ประกำศฯ เรือ่ ง อตั รำกำรเกบ็ เงนิ ค่ำบำรงุ กำรศึกษำ คำ่ ลงทะเบยี น ๑๙๘
และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำในกำรจดั กำรศกึ ษำระดับปริญญำตรี ภำคสมทบ
โครงกำรควำมรว่ มมือกำรจดั กำรศึกษำระหวำ่ งคณะบรหิ ำรธุรกจิ
และ บริษทั ซพี ี ออลล์ จำกดั (มหำชน) พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรอื่ ง อตั รำกำรเก็บเงนิ ค่ำบำรงุ กำรศกึ ษำ ค่ำลงทะเบียน
และค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำในกำรจัดกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี ภำคสมทบ
โครงกำรควำมรว่ มมือกำรจดั กำรศกึ ษำระหวำ่ งคณะบรหิ ำรธรุ กจิ
และ บริษทั ชอี ำร์ซี ไทวสั ดุ จำกดั พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ ยกเว้นกำรเรยี กเก็บเงินคำ่ บำรงุ กำรศึกษำ คำ่ ลงทะเบยี น
ประจำภำคกำรศึกษำฤดูรอ้ น กรณนี กั ศกึ ษำสำขำวิชำวศิ วกรรมซ่อมบำรุง
อำกำศยำน คณะวิศวกรรมศำสตร์ (หลักสตู ร พ.ศ. ๒๕๖๑)
ลงทะเบียนรำยวิชำกำรฝึกประสบกำรณส์ ำหรบั วศิ วกรรมซอ่ มบำรงุ อำกำศยำน

ประกำศฯ อัตรำกำรเก็บเงินค่ำบำรุงกำรศึกษำ ค่ำลงทะเบยี น และค่ำธรรมเนยี มกำรศกึ ษำ
ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำตรี กรณนี ักศกึ ษำสำเรจ็ กำรศกึ ษำระดบั
ประกำศนียบตั รตำมมำตรฐำน EASA PART-66 Category B1.1

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรยกเลิกกำรเรยี กเกบ็ เงนิ คำ่ สนับสนุนกำรจัดกำรศกึ ษำ
(ชำระแรกเขำ้ ครังเดยี ว) ในกำรจัดกำรศึกษำระดบั ปริญญำตรี
สำหรับคณะบรหิ ำรธุรกจิ และคณะเทคโนโลยีคหกรรมศำสตร์ ภำคสมทบ

ประกำศฯ เรื่อง อัตรำกำรเรียกเกบ็ เงินค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ สำหรับผู้เขำ้ ศกึ ษำ
ในหลกั สูตรระยะสนั

หน้า

ประกำศฯ เร่อื ง อัตรำกำรเกบ็ เงนิ คำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำ สำหรับค่ำใช้จ่ำยในกำร ๑๙๙

ขนึ ทะเบียนบณั ฑติ ระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกำศฯ เร่อื ง อัตรำกำรเก็บเงนิ ในกำรจดั กำรกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำตรี ๒๐๐

หลักสตู รบรหิ ำรธรุ กิจบณั ฑติ สำขำวชิ ำผ้ปู ระกอบกำรธรุ กิจแฟช่นั ภำคพิเศษ

(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา

ประกำศฯ เร่ือง อตั รำกำรเกบ็ คำ่ เล่ำเรยี นแบบเหมำจ่ำย และคำ่ ธรรมเนียมกำรศึกษำ ๒๐๓

ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดบั บณั ฑิตศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๘

ประกำศฯ เร่ือง อัตรำกำรเกบ็ คำ่ เลำ่ เรยี นแบบเหมำจำ่ ย และคำ่ ธรรมเนียมกำรศกึ ษำ ๒๐๖

ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดับบณั ฑติ ศกึ ษำ คณะอุตสำหกรรมส่งิ ทอ ภำคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกำศฯ เร่อื ง อตั รำกำรเกบ็ ค่ำเลำ่ เรยี นแบบเหมำจ่ำย และค่ำธรรมเนยี มกำรศึกษำ ๒๐๙

ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดบั บณั ฑติ ศกึ ษำ คณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ภำคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกำศฯ เร่อื ง อตั รำกำรเก็บค่ำเล่ำเรยี นแบบเหมำจำ่ ย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำ ๒๑๑

ในกำรจดั กำรศกึ ษำระดบั บณั ฑติ ศกึ ษำ คณะบรหิ ำรธรุ กิจ ภำคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกำศฯ เร่ือง อัตรำกำรเก็บคำ่ เลำ่ เรียนแบบเหมำจำ่ ย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำ ๒๑๓

ในกำรจัดกำรศึกษำระดับบณั ฑิตศกึ ษำ ภำคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง อตั รำกำรเกบ็ ค่ำเลำ่ เรียนแบบเหมำจ่ำย และค่ำธรรมเนยี มกำรศึกษำ ๒๑๖

ในกำรจดั กำรศึกษำระดับบณั ฑิตศกึ ษำ ภำคปกติ พ.ศ. ๒๕๖๔

หมวดวา่ ดว้ ยการบรกิ ารและสวสั ดกิ ารนกั ศึกษา

ข้อบังคับฯ วา่ ดว้ ย กิจกรรมนักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๒๐
ระเบยี บฯ ว่ำด้วยกำรปฐมนเิ ทศและปัจฉมิ นเิ ทศนกั ศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒๓๙

ระเบียบฯ วำ่ ดว้ ยกำรแต่งกำยของนักศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๔๒

ระเบยี บฯ วำ่ ด้วยกำรใชบ้ ริกำรสำนกั วิทยบรกิ ำรและเทคโนโลยสี ำรสนเทศ ๒๔๖

พ.ศ. ๒๕๕๙

ระเบียบฯ ว่ำดว้ ยวนิ ัยนักศกึ ษำและผมู้ ำขอรบั บรกิ ำรทำงวิชำกำร ๒๕๖

พ.ศ. ๒๕๖๓

ระเบียบฯ การเงนิ กจิ กรรมนกั ศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ ๒๗๗
พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกำศฯ เรื่อง มำตรกำรในกำรจดั กจิ กรรมต้อนรับน้องใหม่ หนา้
และประชุมเชียร์ในมหำวทิ ยำลยั ๒๘๑

ประกำศฯ เรอื่ ง บทลงโทษนักศกึ ษำทกี่ ระทำผิดตำมประกำศมหำวิทยำลยั ๒๘๓
เทคโนโลยีรำชมงคลกรงุ เทพเรือ่ งมำตรกำรในกำรจัดกิจกรรม
ต้อนรับน้องใหม่และประชุมเชยี ร์ในมหำวิทยำลัย ๒๘๔
๒๘๖
สวสั ดิการนักศึกษา ๒๘๗
ทนุ กำรศกึ ษำ ๒๘๗
งำนแนะแนวกำรศกึ ษำและอำชพี ๒๘๙
งำนประกนั อบุ ตั ิเหตุ ๒๙๑
งำนสขุ ภำพอนำมยั
งำนวิชำทหำร ๒๙๓
องค์กำรนักศึกษำ ๒๙๓
๒๙๔
สาระน่ารู้ ๒๙๔
ระบบกำรจัดกำรศกึ ษำ ๒๙๕
กำรลงทะเบยี นเรยี น ๒๙๗
บทลงโทษสำหรับกำรปลอมแปลงเอกสำร ๒๙๘
กำรพน้ สภำพ
กำรคำนวณระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสม
ท่ีตงั และแผนท่ีกำรเดนิ ทำง
หมายเลขโทรศัพท์

ในนามของผู้บรหิ าร คณาจารย์ และบคุ ลากร มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ ประจาปี
การศึกษา 2564 เข้าศึกษาใน "มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาคนสู่
นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ชงิ สรา้ งสรรค์" ด้วยความยินดีย่ิง

การเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาใหม่
ทุกคนคร้ังน้ีเป็นช่วงเวลาสาคัญมากในชีวิตของนักศึกษา ท่ีกล่าวว่า
สาคัญนัน้ ก็คือ การศึกษาในระดบั อดุ มศึกษานี้เปน็ การศึกษาเพ่ือการ
ประกอบอาชีพในอนาคต ซ่ึงนักศึกษาจะต้องปรับตัวให้เข้ากับระบบ
การจัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม และสังคมใหม่ที่แตกต่างไปจากสถาบันการศึกษาในระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเท่าที่ทกุ คนสาเรจ็ การศกึ ษามา

การปรับตัวและการศึกษาของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพนี้ ผู้บริหาร
คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพทุกคน พร้อมที่จะบริหารจัดการ
ดาเนินการเรียนการสอน พัฒนา ตลอดจนให้การสนับสนุนช่วยเหลอื แก่นักศึกษาทุกคน ต้ังแต่ก้าวแรกจน
ประสบผลสาเร็จ เปน็ "บัณฑติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ" อย่างเตม็ ภาคภมู ิ

สาหรับปีการศึกษา 2564 น้ี นับเป็นปีท่ีคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาจะต้องปรับตัวไป
พร้อมๆ กัน น่ันก็คือปรับการจัดการเรียนการสอนเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ซ่ึงเป็นสถานการณ์ที่ประชาคมโลกเผชิญอยู่ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้มีการจัดการเรียนการสอน
และจัดกิจกรรมนักศึกษา ทั้งในรูปแบบออนไลน์ ในห้องเรยี น และห้องปฏิบัติการ ตามความเหมาะสมกับ
สถานการณ์ โดยคานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษาและบุคลากรเป็นสาคัญ ทั้งน้ีขอให้นักศึกษาได้ติดตาม
ประกาศ ขา่ วประชาสมั พันธข์ องมหาวทิ ยาลัยอยเู่ สมอ

สุดท้ายนี้ผมขออาราธนาสง่ิ ศักดิ์สิทธ์ิในสากลโลก อานวยพรให้นักศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2564
มคี วามสุขความเจรญิ สุขภาพแข็งแรง สาเรจ็ การศึกษาสมดังท่ีตง้ั ใจ

สมพร ปิยะพันธ์

(นายสมพร ปยิ ะพนั ธ์)

รักษาราชการแทน

อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั การเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาหลกั สตู รปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเช่ือม่ันว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพอื่ เป็นกาลงั สาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมไทย

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

พืน้ ทีก่ ารศกึ ษาทง้ั ๓ แห่ง ไดแ้ ก่
เทคนคิ กรุงเทพฯ

ต้ังอยู่ท่ีเลขท่ี ๒ ถนนนางลิ้นจ่ี
แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐
กอ่ ตงั้ ข้ึนเมือ่ วนั ท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๕ บน
เนอื้ ท่ี ๑๔๕ ไร่ ๑ งาน ๖๒ ตารางวา เรมิ่ ตน้ จาก
วิทยาลัยเทคนิคกรงุ เทพฯ ในรฐั บาลสมัยจอมพล
ป. พิบูลสงคราม ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล
สหรัฐอเมริกาเป็นสถานศึกษาด้านเทคนิคแห่ง
แรกของประเทศไทย เรม่ิ การเรียนการสอนด้านช่างอิเล็กทรอนิกส์ ชา่ งไฟฟ้า ช่างยนต์ ช่างก่อสร้าง
เลขานุการ การบัญชี คหกรรมศาสตร์ จากวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิค
กรุงเทพฯ มาเป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ ปัจจุบันเป็นที่ต้ังของ
สานักงานอธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และเป็นสถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน
ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ
บรหิ ารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ คณะอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ และวทิ ยาลัยนานาชาติ

บพิตรพมิ ุข มหาเมฆ

ต้ังอยู่เลขท่ี ๘๗๘ ถนนอาคาร

สงเคราะห์ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร

กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ เป็นวิทยาเขตท่ีแยก

การบริหารจัดการมาจากวิทยาเขตบพิตร

พิมุขจักรวรรดิ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ โดย

คณ ะรัฐมนตรีมีมติให้ใช้ที่ดินราชพัสดุ

แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ

บนเน้ือท่ี ๑๘ ไร่ ๑ งาน ๙๘ ตารางวา และอนุมัติงบประมาณแผ่นดินจานวน ๑๐ ล้านบาท เมื่อปี

พ.ศ. ๒๕๑๙ ให้สร้างอาคารเรียนจานวน ๑ หลงั เพ่อื จัดการเรยี นการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

แผนกวิชาธุรกิจ สาขาวิชาการเลขานุการและการบัญชี และแผนกธรุ กจิ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ

(ภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาอังกฤษ) โดยเริ่มเปิดเรียนเมื่อ วันจันทร์ท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๒๑

(๔) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง (พ.ศ. ๒๕๒๗) และระดับปรญิ ญาตรี (พ.ศ.
๒๕๓๖) ปจั จบุ ันเปน็ สถานทจ่ี ดั การเรียนการสอนของ คณะบริหารธรุ กจิ

พระนครใต้

ต้งั อยู่เลขท่ี ๑๔๙ ถนนเจริญกรุง

เขตสาทร กรุงเทพฯ วิทยาเขตพระนครใต้

ก่อตั้งขึ้นภายใต้ชื่อ โรงเรียนการช่างสตรี เป็น

แห่ งแ รกของป ระเท ศ ไท ย เม่ื อวัน ที่ ๑

สิงหาคม ๒๔๖๕ และพัฒนามาเป็นโรงเรียน

สตรีบ้านทวาย วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพระนครใต้

และเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา

วิทยาเขตพระนครใต้ โดยเปิดสอนระดับ

ปวช. ปวส. และประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ต่อมาเปิดสอนระดับปริญญาตรี สายวิชา

คหกรรมศาสตร์ สายวิชาศิลปกรรม สายวิชาบริหารธุรกิจ ภายใต้ช่ือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

วิทยาเขตพระนครใต้ ปัจจบุ ันเปน็ สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอนของคณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

เปน็ ตรารูปวงกลม มดี อกบัว ๘ กลีบล้อมรอบ หมายถึง ทางแห่งความสาเรจ็ มรรค ๘ และความ
สดช่ืนเบิกบาน ท่ีก่อให้เกิดปัญญาแผ่ขจรไปท่ัวสารทิศ ภายในดอกบัวเป็นตราพระลัญจกรบรรจุอยู่
อันเป็นสัญลักษณ์ และเคร่ืองหมายประจาองค์พระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี ๙ บนตรารูปวงกลมมีพระ
มหาพิชัยมงกุฎครอบ และมีเลข ๙ บรรจุอยู่ หมายถึง รัชกาลท่ี ๙ ด้านล่างของตรารูปวงกลมทาเป็น
กรอบโค้งรองรับ มีชื่อมหาวิทยาลัยบรรจุอยู่ภายในว่า “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ”
คน่ั ปิดหวั ท้ายของกรอบดว้ ยลายดอกไมท้ พิ ย์ประจายามท้งั สองข้าง

สปี ระจามหาวทิ ยาลยั “สเี ขียว”

ที่มาและความหมาย สีเขียวเป็นสีวรรณะเย็น ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความสดช่ืน
แจ่มใส เป็นสัญลักษณ์แห่งความสงบร่มเย็น ซ่ึงหมายถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมุ่งสร้างบัณฑิตให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้าน ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์
และสังคม และพร้อมจะเป็นสถานศึกษาท่ีเป็นบ้านอันร่มเย็นใหน้ ักศึกษาได้พักพิง เรียนรู้ และใช้ชีวิต
อยู่อย่างมีความสุข

(๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตน้ ไมป้ ระจามหาวิทยาลัย “ต้นสาธร”

สาธร เป็นไม้ยืนต้นหายากพันธ์ุหน่ึง ที่มีช่ือพ้องกับ
สถานที่ตง้ั ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่ต้ัง
อยู่บนพ้ืนท่ีเขตสาทร กรงุ เทพมหานคร ต้นสาธรเป็นไม้ท่ีมีเนื้อ
ไม้และแก่นที่มีลักษณะสวยงามดอกมีสีขาวรวมกันเป็นช่อ
เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบอ่อนและยอดอ่อน มีขนยาวอ่อนนิ่ม
คล้ายเส้นไหมปกคลุมอยู่ เป็นลักษณะของพันธุ์ไม้ที่มีความ
เข้มแข็งและอ่อนโยนอยู่ในตัว ลักษณะของต้นสาธรน้ีเหมือน
เป็นสัญลักษณ์แสดงว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความยืนยง มั่นคง มีความเข้มแข็งทางวิชาการ แต่ขณะเดียวกัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ก็มิได้ละท้ิง การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
และพร้อมจะเปน็ ร่มเงาทีย่ นื ยงเป็นทพ่ี ่งึ ดา้ นวชิ าการแกส่ ังคมตลอดไป

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๑๐) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

การจดั การเรยี นการสอนในคณะ / สาขาวิชาทีเ่ ปดิ รบั
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ระดับปริญญาตรี
คณะศิลปศาสตร์

หลักสูตร 4 ปี
ศศ.บ. การท่องเท่ยี ว (ปกติ)
ศศ.บ. การโรงแรม (ปกติ)
ศศ.บ. ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สารสากล (ปกติ)
ศศ.บ. ภาษาญี่ปุน่ (ปกติ)
ศศ.บ. ภาษาจีนเพือ่ การสือ่ สาร (ปกต)ิ
ศศ.บ. การออกแบบนวตั กรรมผลติ ภัณฑภ์ ูมปิ ัญญาไทย (ปกติ)

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลกั สตู ร 4 ปี
วท.บ. เคมี (ปกติ)
ทล.บ. ออกแบบผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยีการถา่ ยภาพและภาพยนตร์ (ปกติ)
ทล.บ. เทคโนโลยกี ารพมิ พ์ (ปกติ)
วท.บ. วิทยาการคอมพวิ เตอร์ / วท.บ. เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ปกติ)
ทล.บ. เทคโนโลยีเครือ่ งเรอื นและการออกแบบ (ปกต)ิ
วท.บ. เทคโนโลยีและการจดั การความปลอดภยั ของอาหาร (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยกี ารโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสยี ง (ปกติ)
วท.บ. วิทยาศาสตรเ์ พ่อื สุขภาพและความงาม (ปกต)ิ

คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม

หลกั สตู ร 4 ปี
ค.อ.บ. เครือ่ งกล (ปกต)ิ
ค.อ.บ. อุตสาหการ (ปกต)ิ
อส.บ. วิศวกรรมการผลติ (ปกต)ิ
อส.บ. เทคโนโลยยี านยนต์สมยั ใหม่ (ปกต)ิ

หลักสูตร 4 ปี (เข้าศึกษาโดยวธิ ีเทียบโอนผลการเรียนฯ)
อส.บ. วิศวกรรมการผลติ (ปกต)ิ

(๑๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คณะวศิ วกรรมศาสตร์

หลกั สูตร 4 ปี
วศ.บ. วิศวกรรมโยธา (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา้ (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมเครอ่ื งกล (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมเคมี (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมสารวจ (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมซ่อมบารุงอากาศยาน (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมอตั โนมตั ิและหุ่นยนต์ (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมการผลิตความแม่นยาสงู (ปกติ)

หลักสตู ร 4 ปี (เข้าศกึ ษาโดยวิธเี ทียบโอนผลการเรียนฯ)
วศ.บ. วิศวกรรมโยธา (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมโยธา (สมทบ)
วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา้ (สมทบ)
วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมเคร่อื งกล (สมทบ)
วศ.บ. วิศวกรรมอตุ สาหการ (ปกติ)
วศ.บ. วิศวกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละโทรคมนาคม (สมทบ)

คณะบริหารธุรกิจ

หลักสูตร 4 ปี
บธ.บ. การเงนิ (ปกต)ิ
บธ.บ. การสอ่ื สารธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ (ปกต)ิ
บธ.บ. การประเมินราคาทรพั ยส์ นิ (ปกต)ิ
บธ.บ. ระบบสารสนเทศ (ปกติ)
บช.บ. การบัญชี (ปกต)ิ
บธ.บ. การจัดการ กลุ่มวิชาการจัดการทวั่ ไป (ปกติ)

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

บธ.บ. การจดั การ กลุ่มวิชาการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ (ปกต)ิ
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบริหารการตลาด (ปกติ)
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการตลาดระหว่างประเทศ (ปกติ)
ทล.บ. เทคโนโลยสี ารสนเทศและธุรกิจดิจทิ ลั (ปกต)ิ
บธ.บ. ธุรกิจการบิน (ปกต)ิ
บธ.บ. การประเมนิ ราคาทรพั ยส์ ิน (สมทบ)
บธ.บ. การจัดการ กลุม่ วชิ าการจัดการท่ัวไป (สมทบ)
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบรหิ ารการตลาด (สมทบ)

หลักสูตร 4 ปี (เข้าศึกษาโดยวิธเี ทียบโอนผลการเรยี นฯ)
บธ.บ. ระบบสารสนเทศ (ปกติ)
บช.บ. การบัญชี (ปกต)ิ
บธ.บ. การจดั การ กลุม่ วชิ าการจดั การท่วั ไป (ปกต)ิ
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบริหารการตลาด (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยสี ารสนเทศและธุรกิจดิจิทลั (ปกติ)
บธ.บ. ระบบสารสนเทศ (สมทบ)
บช.บ. การบัญชี (สมทบ)
บธ.บ. การจัดการ กลมุ่ วิชาการจดั การทั่วไป (สมทบ)
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบรหิ ารการตลาด (สมทบ)

โครงการความรว่ มมอื -คณะบรหิ ารธุรกิจ
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบรหิ ารการตลาดธรุ กจิ ค้าปลกี (4 ปี สมทบ จันทร์- ศุกร)์
โครงการความร่วมมือฯ บริษทั ไทวัสดุ จากดั
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบริหารการตลาดธุรกจิ ค้าปลกี (เทยี บโอน สมทบ จันทร์- ศุกร์)
โครงการความร่วมมือฯ บริษทั ไทวสั ดุ จากดั
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบรหิ ารการตลาดธุรกจิ ค้าปลีก (4 ปี สมทบ จันทร์- ศุกร)์
โครงการความร่วมมือฯ บริษทั ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)

คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

หลักสตู ร 4 ปี
ศษ.บ. คหกรรมศาสตร์ศกึ ษา (ปกติ)
คศ.บ. อาหารและโภชนาการ (ปกติ)
คศ.บ. อาหารและโภชนาการ (สมทบ เสาร์-อาทิตย์)

(๑๔) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คศ.บ. เทคโนโลยีเสื้อผ้าและแพตเทิร์น (ปกติ)
ทล.บ. การออกแบบแฟช่ัน (ปกติ)
คศ.บ. ธรุ กจิ อาหาร (ปกติ)
วท.บ. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร (ปกติ)
วท.บ. การพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหาร (ปกต)ิ

หลักสตู ร 4 ปี (เข้าศึกษาโดยวธิ ีเทียบโอนผลการเรียนฯ)
ศษ.บ. คหกรรมศาสตร์ศึกษา (ปกติ)
คศ.บ. อาหารและโภชนาการ (ปกต)ิ

คณะอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ

หลกั สตู ร 4 ปี
วท.บ. เทคโนโลยีสิ่งทอ (ปกติ)
ทล.บ. ออกแบบสงิ่ ทอและแฟช่นั (ปกต)ิ
บธ.บ. ผูป้ ระกอบการธรุ กจิ แฟชั่น (พิเศษ)

วทิ ยาลัยนานาชาติ

หลกั สตู ร 4 ปี
บธ.บ. การจดั การธุรกิจระหว่างประเทศ (ปกต)ิ
ศศ.บ. การท่องเทย่ี วและการบริการ (ปกต)ิ

วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต (ปกติ) ระดับบัณฑติ ศึกษา
วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต (สมทบ) ปริญญาโท
วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา้ (ปกติ)
วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า (สมทบ) คณะวศิ วกรรมศาสตร์

บธ.ม. บริหารธรุ กจิ (ปกต)ิ คณะบริหารธุรกิจ
บธ.ม. บริหารธรุ กจิ (สมทบ)
คณะอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ
วท.ม. นวตั กรรมสง่ิ ทอ (สมทบ)

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ปริญญาเอก

คณะวิศวกรรมศาสตร์
ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (ปกติ) แบบ 1.1
ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (ปกติ) แบบ 2.2
ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (สมทบ) แบบ 2.1
ปร.ด. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 1.1 (ปกติ)
ปร.ด. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 2.1 (ปกติ)
ปร.ด. การจดั การวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 1.1 (สมทบ)
ปร.ด. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 2.1 (สมทบ)

(๑๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

AA – B– CC – DD – E – XXX-X

ลาดับท่ี
ภาค

สาขาวิชา
คณะ

หลกั สตู ร

ปที ่เี ขา้ ศกึ ษา

AA ปีทเ่ี ข้าศกึ ษา

B หลกั สูตร

๕ หมายถึง ๔ ปี/ วิทยาลัยนานาชาติ

๖ หมายถงึ ต่อเนื่อง, เทียบโอนรายวชิ า

๗ หมายถึง ๕ ปี

๘ หมายถึง ปรญิ ญาโท

๙ หมายถงึ ปริญญาเอก

CC คณะ

๐๑ ศลิ ปศาสตร์ ๐๒ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๐๓ ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ๐๔ วิศวกรรมศาสตร์

๐๕ บรหิ ารธุรกจิ ๐๖ เทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์

๐๗ อตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ๐๘ วทิ ยาลยั นานาชาติ

ตวั อย่าง เลขรหสั นกั ศึกษา คือ ๖๔ ๕ ๐๕ ๑๔ ๐ ๑๐๑ – ๐
หมายถึง นกั ศึกษาแรกเขา้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หลักสตู ร ๔ ปี

คณะบริหารธุรกิจ สาขาวชิ าการจดั การ ภาคปกติ ลาดับที่ ๑๐๑

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

เครอื่ งแต่งกายแบบปกติ นักศึกษาชาย

(๑) เส้ือเช้ิตแขนสั้น หรือแขนยาวสีขาวทรงสุภาพ กลัดกระดุม สีขาวทุกเม็ด
มีกระเปา๋ ขนาดเหมาะสมที่อกเบื้องซ้าย เวลาสวมให้สอดชายเสือ้ ไวใ้ นกางเกงให้เรียบร้อย

(๒) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รัดรูปหรือหลวมเกินไป มีหูเข็มขัด
เยบ็ ดว้ ยผ้าสเี ดียวกนั ผ้าพ้นื สีดา หรอื สีกรมท่า ไม่มีลวดลาย

(๓) สายเขม็ ขัดหนังสดี า ไมม่ ลี วดลาย หวั เขม็ ขัดเคร่ืองหมายมหาวิทยาลัยตามแบบ
ท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด

(๔) รองเท้าหมุ้ สน้ สีดา ทรงสุภาพ
(๕) ถุงเท้าสีดา หรือสีท่ีกลมกลืนกับรองเท้า ไม่มี
ลวดลาย

เครื่องแต่งกายแบบปกติ นักศึกษาหญงิ

(๑) เส้ือเชิ้ตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขน
ปล่อยตรง ไม่ผ่าปลายแขน ไม่บางเกินควร ไม่รัดรูป
และหลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด กระดุม
สีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเสื้อมี
ความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้ เวลาสวม
ให้สอดชายเสื้อไว้ในกระโปรงให้เรียบรอ้ ย

(๒) เข็มกลัดเส้ือตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
กลัดอกเสื้อเบ้ืองซ้าย

(๓) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไม่รัดรูป ไม่สั้น
เกินไป ผ้าเนือ้ เรียบ ไม่มีลวดลาย สดี า หรอื สกี รมท่า
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดเครื่องหมายมหาวิทยาลัย ตามแบบที่
มหาวทิ ยาลัยกาหนด
(๕) รองเทา้ หนังหรือผ้าใบหุม้ สน้ สดี า ไม่มลี วดลายทรงสุภาพ

(๑๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ด้วยวิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความเป็นเลิศในการจัดการศึกษา
วิชาชีพ บนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนากาลังคนให้เป็นนักปฏิบัติที่มีความรู้คู่
คุณธรรม ในการจัดการศึกษาให้สาเร็จลุล่วงไปได้นั้น จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากรและ
หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ส่วนหน่ึงท่ีสาคัญมากในการจัดการศึกษา คือ “อาจารย์ที่ปรึกษา” ซึ่ง
ต้องมีหน้าที่เกี่ยวข้องและต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อนักศึกษาในงานด้านวิชาการ โดยอาจารย์ที่ปรึกษามี
หน้าท่ีเป็นผู้ให้คาปรึกษาต่อนักศึกษาในเร่ืองที่เกี่ยวกับการเรียน และปัญหาเรื่องอื่น ๆ ท่ีนักศึกษา
ต้องการปรกึ ษา และกระตุ้นให้นักศึกษามีความสนใจในดา้ นการเรียน รวมถึงส่งเสริมให้นักศึกษาปฏิบัติ
ตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ของมหาวิทยาลัยอยา่ งเคร่งครดั

คุณลกั ษณะของอาจารย์ทป่ี รึกษา
อาจารย์ทีป่ รึกษาทด่ี คี วรมคี ณุ ลักษณะ ดังน้ี
๑) มมี นษุ ยสมั พันธ์ท่ีดี
๒) มีความรับผดิ ชอบสูง
๓) ใจกวา้ งและรับฟงั ความคดิ เหน็ ของนกั ศกึ ษา
๔) มคี วามรูก้ วา้ งขวางทันต่อเหตุการณ์ในงานวชิ าการและวชิ าชีพ
๕) มคี วามจรงิ ใจและเหน็ อกเห็นใจผอู้ ืน่
๖) มีเหตผุ ลและมคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา
๗) มีความเมตตากรณุ า
๘) ไวตอ่ การรับรู้และเขา้ ใจสง่ิ ตา่ ง ๆ ได้รวดเร็ว
๙) มหี ลักจติ วทิ ยาในการใหค้ าปรึกษา และมจี รรยาบรรณอาจารยท์ ่ีปรึกษา
๑๐) มคี วามประพฤตเิ หมาะสมท่ีจะเปน็ แบบอย่างทด่ี ี
๑๑) รู้บทบาทและหนา้ ที่ของอาจารย์ทป่ี รกึ ษาเปน็ อย่างดี
๑๒) มปี ระสบการณ์ในหน้าทข่ี องอาจารยท์ ่ปี รึกษา

จรรยาบรรณของอาจารยท์ ปี่ รึกษา
เน่ืองจากอาจารย์ที่ปรึกษามีหน้าท่ีให้การปรึกษาแนะนาช่วยเหลืออบรมดูแลนักศึกษา จึงมี

ความจาเป็นต้องยึดม่ันในจรรยาบรรณ โดยต้องคานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษา ต้องเก็บรักษาข้อมูล
ตา่ ง ๆ เร่อื งส่วนตัวของนักศึกษาให้เป็นความลบั ให้ความชว่ ยเหลอื (ภายในขอบเขตความสามารถของ
ตน) ไมว่ พิ ากษว์ จิ ารณบ์ ุคคลหรอื สถาบนั ในทางเสื่อมเสียให้นักศึกษาฟงั และทสี่ าคัญอาจารย์ท่ีปรกึ ษา
ต้องเป็นผู้ท่ีมีความประพฤติที่เหมาะสมตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพในสาขาที่ตนสอนและมีศีลธรรม
จรรยาทดี่ ีงาม เพ่ือเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี กน่ กั ศกึ ษา

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

บทบาทอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา
หนา้ ทีข่ องอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาดา้ นวิชาการ
- ใหก้ ารปรกึ ษาแนะนานกั ศกึ ษาเกีย่ วกับหลักสูตร
- ให้การปรึกษานักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการเรียน การค้นคว้า และติดตามผลการเรียนของ
นกั ศึกษาอย่างสมา่ เสมอ
- ใหค้ าปรึกษาแนะนาหรอื ตักเตือนเมือ่ ผลการเรียนของนกั ศึกษาตา่ ลง
- ให้การปรึกษาและชว่ ยเหลอื นกั ศกึ ษาเพื่อแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคในการเรยี นวชิ าตา่ ง ๆ
- ให้คาปรกึ ษาแนะนาเก่ยี วกบั การคิดคา่ ระดับคะแนนเฉลี่ยของนักศกึ ษา
- ใหค้ าปรึกษาแนะนาเก่ียวกบั การศกึ ษาต่อในระดับสงู
หน้าท่ีของอาจารยท์ ีป่ รึกษาด้านบรกิ ารและพัฒนานักศกึ ษา
- ให้การปรึกษาเกี่ยวกับปญั หาสว่ นตวั ได้แก่ สขุ ภาพอนามยั ทง้ั สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ
- ใหก้ ารปรกึ ษาเกย่ี วกับปัญหาสังคม เช่น การปรับตวั ในสงั คม และปัญหาการคบเพ่ือน
- ใหก้ ารปรึกษาเกี่ยวกับการพฒั นาบุคลกิ ภาพ ความประพฤติ และจริยธรรม
- ให้คาแนะนา ควบคุมและสอดส่องนักศึกษา เก่ียวกับการแต่งกาย ความประพฤติ และ
มารยาททางสงั คม
หนา้ ท่ขี องอาจารย์ทป่ี รกึ ษาด้านอื่น ๆ
- ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ สานักส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบยี น และกองพฒั นานกั ศกึ ษา เปน็ ต้น
- กาหนดเวลาให้นกั ศกึ ษาเขา้ พบเพอ่ื ขอคาปรึกษาแนะนาอยา่ งสมา่ เสมอ
- เก็บขอ้ มลู รายละเอียดของนกั ศึกษาท่ีอยูใ่ นความรับผดิ ชอบเพ่ือเปน็ ข้อมลู พื้นฐานสาหรับ
ให้คาปรกึ ษาและชว่ ยเหลอื นกั ศึกษา
- ใหค้ วามร่วมมอื สรา้ งสมั พันธภาพและความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งนกั ศึกษากับคณาจารย์
- ให้การรับรองนักศึกษาเม่ือต้องการนาข้อมูลไปแสดงแก่ผู้อ่ืนในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
การศกึ ษาตอ่ เปน็ ตน้
- ป้อนข้อมูลย้อนกลับ (feed back) มายังผู้บริหารเก่ียวกับปัญหาต่าง ๆ ของนักศึกษา
เพอื่ ปรับปรงุ แกไ้ ข
ภารกจิ ของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา
- อาจารยท์ ่ีปรึกษาตอ้ งศึกษากฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลยั
- อาจารย์ท่ีปรึกษาต้องแจ้งตารางเวลา (office hours) เพื่อให้นักศึกษาเข้าพบอย่างน้อย
เดือนละครงั้

(๒๐) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

- อาจารย์ที่ปรึกษาควรติดตามผลการเรียนของนักศึกษาในความดูแลของตนเองเพื่อ
แนะนาและช่วยเหลือนักศึกษา และให้ความสนใจกับนักศึกษาในโครงการพิเศษ หรือ
กรณที ่ีนกั ศกึ ษามีปญั หาในด้านตา่ ง ๆ

- อาจารย์ที่ปรกึ ษาควรสนใจทจ่ี ะพฒั นาตนเองท้งั ในด้านเทคนิคในการให้คาปรึกษาและ
ดา้ นอื่น ๆ เพ่ือให้มลี กั ษณะของอาจารย์ที่ปรึกษาทดี่ ที ง้ั ๑๒ ประการ

เทคนคิ การใหค้ าปรกึ ษาเบื้องตน้
อาจารย์ทป่ี รึกษาตอ้ งมเี ทคนิคการสรา้ งสัมพนั ธภาพทดี่ ี เพอื่ ให้นักศกึ ษารูส้ ึกว่าอาจารย์

ท่ีปรึกษาสามารถใหค้ วามเปน็ กันเอง ให้ความอบอุ่น และเป็นทีพ่ ง่ึ ทางใจของนักศึกษาได้
เทคนคิ การให้การปรกึ ษาเบื้องตน้ ทีส่ าคัญและจาเปน็ มีดังน้ี
๑. เทคนิคในการสร้างสมั พนั ธภาพ
- สร้างบรรยากาศทเี่ ปน็ มิตร อบอ่นุ ยมิ้ แย้มแจม่ ใส
- เปิดเผยไมม่ ลี บั ลมคมใน
- มคี วามสนใจ มเี มตตากรณุ า
- มีความจรงิ ใจและปฏบิ ัตติ นอยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย
- ยอมรับท้งั คุณคา่ และความแตกต่างของบุคคล
- ให้ความชว่ ยเหลือนกั ศกึ ษาอยา่ งจรงิ จังและจริงใจ
๒. การใหค้ าแนะนาและการปรึกษา
- การให้คาแนะนา (advising) เป็นวิธีท่ีอาจารย์ท่ีปรึกษาให้การช่วยเหลือแก่ นักศึกษา

มากทส่ี ดุ ซง่ึ มกั จะเป็นเร่ืองกฎ ระเบียบ หรอื วิธปี ฏบิ ัตทิ ใี่ ช้กนั อยเู่ ปน็ ประจา เช่น การขาดเรยี น การขาด
สอบ หรือปัญหาเล็กน้อยท่ีอาจารย์ที่ปรึกษามีประสบการณ์ เพื่อช่วยให้นักศึกษาสามารถหาทาง
แก้ปัญหาได้ การให้คาแนะนาไม่เหมาะสมกับปัญหาที่เกี่ยวกับอารมณ์อย่างรุนแรง ปัญหาบุคลิกภาพ
หรอื ปัญหาที่ตอ้ งตัดสนิ ใจเลอื กทาอย่างใดอย่างหนึ่ง

- การให้คาปรึกษา (counseling) เป็นกระบวนการช่วยเหลือให้นักศึกษาเข้าใจตนเอง
สภาพแวดล้อมและปัญหาท่ีเผชิญอยู่ สามารถใช้ความเข้าใจดังกล่าวมาแก้ปัญหาหรือตัดสินใจเลือก
เป้าหมายในการดาเนินชวี ติ ท่ีเหมาะสมกบั ตวั เอง และเพื่อการปรบั ตัวที่ดใี นอนาคต

- เทคนิคในการปรึกษาเป็นเทคนิคในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซ่ึงจะต้องมีการศึกษา
อบรมและมีการฝึกปฏิบัติเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความชานาญ จงึ จะสามารถแก้ปญั หาของนกั ศึกษาได้อยา่ ง
กว้างขวาง อาจารย์ท่ีปรึกษาที่ไม่ได้ฝึกอบรมมาทางนี้โดยตรงแต่มีหน้าที่ต้องช่วยเหลือนักศึกษา
จึงจาเป็นต้องศึกษาและฝึกทักษะในเทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้มีพ้ืนฐานความรู้ ความชานาญพอสมควรในการ
ชว่ ยเหลือนักศกึ ษา อย่างไรก็ตามปญั หาของนกั ศกึ ษาบางอยา่ งเป็นปญั หาทีแ่ ก้ไขไดย้ ากหรือตอ้ งใชเ้ วลา
เช่น ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว เป็นต้น อาจารย์ท่ีปรึกษาจาเป็นต้องใช้เทคนิคในการ
ปรึกษาอยา่ งระมดั ระวงั เพ่ือช่วยให้ปัญหาคล่คี ลาย สิ่งสาคัญทสี่ ุดก็คอื การเป็นผู้ฟงั ทดี่ ี ควรให้กาลังใจ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๒๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ให้ความอบอุ่น และให้ความจริงจังและจริงใจในการช่วยเหลือนักศึกษาอย่างเต็มความสามารถ และ
หาทางออกเบอื้ งต้นอยา่ งดที ส่ี ดุ ใหก้ บั นกั ศึกษาในฐานะอาจารย์ทป่ี รกึ ษา

บรรณานกุ รม

สานกั งานปลัดทบวงมหาวิทยาลยั กองบริการการศึกษา. ระบบอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาวชิ าการ
ระดับปรญิ ญาตรีในมหาวิทยาลยั . พิมพค์ ร้ังที่ ๒. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั : ๒๕๓๖.

http://www.amed.go.th/RTA_Med/MedSchool/insure/req.htm

(๒๒) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๒๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

สถานที่ทาการ อาคาร ๓๖ ชั้น ๑ ปกี ซา้ ย
เวลาทาการ วนั จันทร์ – วันศุกร์ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. (เว้นวนั หยดุ ราชการ)
หน้าท่ีโดยสังเขป สนบั สนุนงานที่เกยี่ วขอ้ งกับการเรยี นการสอน ปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ขอ้ บงั คบั
และประกาศของมหาวทิ ยาลยั ฯ
ประเภทการบรกิ าร บริการนักศึกษาปัจจุบัน นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษา ศิษย์เก่า ประชาชนท่ัวไป
ทง้ั หนว่ ยงานภายในและภายนอก โดยแบ่งออกเปน็ ๒ ช่องทาง

๑. บริการผา่ นระบบออนไลน์
- - บริการข้อมูลและข่าวสารงานทะเบียน เช่น ปฏิทินการศึกษา ประกาศต่าง ๆ ผ่าน

www.ascar.rmutk.ac.th และ Facebook : สวท.มทร.กรงุ เทพ
- การรายงานตัวนกั ศึกษาใหม่ออนไลน์ http://www.ascar.rmutk.ac.th/ident
- การขอเอกสารและย่ืนคาร้องออนไลน์ ผ่านระบบบริการสนับสนุนทางการศึกษา “eSSS”

http://www.ascar.rmutk.ac.th/eSSS
- การลงทะเบยี นออนไลน์ ผา่ นระบบบริการการศกึ ษา reg.rmutk.ac.th
- การขึ้นทะเบยี นบัณฑติ http://www.ascar.rmutk.ac.th/graduate
๒. บรกิ ารหนา้ เคาน์เตอร์ ให้บริการรับคารอ้ ง
- รบั คารอ้ งตา่ ง ๆ โดย นกั ศกึ ษาสามารถ Print ใบคาร้องไดจ้ าก www.ascar.rmutk.ac.th
- การออกหนังสอื รบั รองการเป็นนกั ศึกษา และใบรายงานผลการศกึ ษา (Transcript )
- ทาบัตรนกั ศึกษาใหม่ กรณเี ปลยี่ นชอ่ื -สกุล หรอื บตั รสญู หาย
- การลงทะเบียน ลงทะเบยี นเพ่ิม/ถอน ลงทะเบยี นลา่ ช้า ลงทะเบยี นขา้ มสถานศกึ ษา
วิธกี ารตดิ ต่อ การติดต่อสานักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น ใหป้ ฏิบตั ดิ ังน้ี
๑. นักศึกษาปัจจุบันต้องแสดงบัตรประจาตัวนักศึกษา ผู้เคยศึกษาแสดงบัตรประจาตัว
ประชาชน หรอื บัตรข้าราชการ หรอื ใบอนุญาตขับข่ีรถยนต์
๒. แตง่ กายสภุ าพ
๓. แจ้งเรอ่ื งทจ่ี ะติดตอ่ และขอ้ มูลส่วนตวั เชน่ ช่อื -สกุล คณะ/สาขาวิชา รอบ ปที เี่ ข้าศกึ ษา
และปีทีส่ าเรจ็ การศกึ ษา เป็นต้น
๔. กรณีนักศึกษาต้องการเอกสารทางการศึกษาที่ต้องติดรูปถ่าย ให้เตรียมรูปถ่ายขนาด ๑ น้ิว
มาด้วย เมื่อรับเอกสารแล้ว นักศึกษาต้องตรวจสอบความถูกต้องทุกคร้ัง กรณีถ้าพบเอกสารไม่ถูกต้อง
ใหร้ บี แจง้ เพอ่ื ดาเนินการแก้ไข

(๒๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๒๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

พระราชบญั ญัติ
มหาวิทยาลัยั เทคโนโลยัราชมงคล

พ.ศ. ๒๕๔๘
------------------------
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ้ ว ณ วัันท่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
เป็นปีท่ ๖๐ ในรชั กาลปัจจุบัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา่

โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลขึ้นแทนสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญตั ิขน้ึ ไวโดยคำแนะนา
และยินยอมของรฐั สภา ดังตอ่ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ ้เี รียกวา่ “พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๔๘”

มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษา เป็นตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิก
(๑) พระราชบญั ญัตวิ ทิ ยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๘
(๒) พระราชบัญญัติเปลี่ยนช่อวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๓๒
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั ินี้

“มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
ตามพระราชบญั ญัตินี้

(๒๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบัญญัตินี้

“สภาวชิ าการ” หมายความว่า สภาวชิ าการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบัญญัตนิ ี้

“สภาคณาจารยแ์ ละขาราชการ” หมายความว่า สภาคณาจารย์และขาราชการ

ม ห าว ทิ ย าลั ย เท ค โน โล ยี ราช ม งค ล ต าม

พระราชบัญญัตนิ ี้

“วิทยาเขต” หมายความว่า เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัย

ท่ีมีคณะ สถาบัน สานัก วทิ ยาลัยหรอส่วน

ราชการ ที่เรียกช่อ อย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่า

คณะ ต้งั แต่สองส่วนราชการข้ึนไปต้ังอยใู่ นเขต

การศกึ ษานั้นตามที่ สภามหาวิทยาลัยกำหนด

“รัฐมนตร”ี หมายความวา่ รฐั มนตรผี รู ักษาการตามพระราช

บญั ญัตนิ ี้

มาตรา ๕ ใหสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราช

มงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี จำนวน

๙ แหง่ ดังนี้

(๑) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

(๒) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๓) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก

(๔) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร

(๕) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์

(๖) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลานนา

(๗) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย

(๘) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

(๙) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๒๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่งตามวรรคหนึ่งเป็นนิติบุคคลและ
เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าดวยวิธีการงบประมาณในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ และ
มอี ำนาจออก กฎกระทรวง และประกาศ เพ่อปฏบิ ัติการตามพระราชบัญญัตินี้

กฎกระทรวง และประกาศน้ัน เม่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับ
ได

หมวดั๑
บทท่ัวไป
--------------------

มาตรา ๗ ใหมหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี
มีวัตถุประสงค์ให การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทำการ
สอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แก่สังคม ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์ ส่ิงแวดลอม โดยใหผูสาเร็จอาชีวศกึ ษา
มีโอกาสในการศึกษาตอ่ ดานวชิ าชพี เฉพาะทางระดับปริญญาเป็นหลัก

มาตรา ๘ มหาวิทยาลัยอาจแบง่ สว่ นราชการ ดังน้ี
(๑) สานักงานอธิการบดี
(๒) สานักงานวิทยาเขต
(๓) บัณฑติ วิทยาลัย
(๔) คณะ
(๕) สถาบนั
(๖) สานกั
(๗) วิทยาลัย
ม ห าว ิท ย าลั ย อาจให มี ส่ วน ราช การที่ เรี ย ก ช่ อ อ ย่ างอ่ น ท่ี มี ฐาน ะเที ย บ เท่ าค ณ ะ
เพอ่ ดาเนินการตาม วัตถุประสงค์ในมาตรา ๗ เป็นส่วนราชการในมหาวิทยาลยั อีกได
สำนักงานอธิการบดีและสำนักงานวิทยาเขต อาจแบ่ งส่ วนราชการเป็ น กองห รอส่ วน

(๒๘) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ราชการ ทเี่ รยี กช่อ อย่างอ่นท่มี ฐี านะเทยี บเทา่ กอง
บัณฑิตวิทยาลัย อาจแบ่งส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี กองหรอส่วนราชการ

ทเ่ี รียกช่ออย่างอ่น ทมี่ ฐี านะเทียบเท่ากอง
คณะ อาจแบ่งส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี ภาควิชา กองหรอส่วนราชการที่

เรยี กช่ออย่างอ่นทมี่ ี ฐานะเทียบเท่าภาควิชาหรอกอง
สถาบัน สำนกั หรอสว่ นราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ อาจแบ่ง

ส่วนราชการเป็น สำนักงานผูอานวยการ กองหรอส่วนราชการท่เี รียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะ
เทียบเท่ากอง

วทิ ยาลัย อาจแบ่งส่วนราชการเป็นสำนักงานผูอานวยการ ภาควิชา กองหรอสว่ น
ราชการ ทเี่ รยี กช่ออย่างอ่น ท่มี ฐี านะเทียบเทา่ ภาควิชาหรอกอง

สำนักงานคณบดี สำนักงานผูอานวยการ ภาควิชา กองหรอส่วนราชการที่
เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ เทียบเท่าภาควิชาหรอกอง อาจแบ่งส่วนราชการเป็นงานหรอส่วน
ราชการทเ่ี รยี กช่ออยา่ งอ่นท่ีมฐี านะเทียบเท่างาน

มาตรา ๙ การจัดตั้ง การรวม และการยุบเลิกสานักงานวิทยาเขต บัณฑิต
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สานัก วิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ
เทียบเท่าคณะ ใหทำเป็นกฎกระทรวง

การแบ่งส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี สำนักงานผูอานวยการ ภาควิชา กอง
หรอส่วนราชการท่ี เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าภาควิชาหรอกอง ใหทาเป็นประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ

การแบ่งสว่ นราชการเป็นงานหรอส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่างาน
ใหทำเป็นประกาศ มหาวิทยาลยั

มาตรา ๑๐ ภายใตวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลยั จะรับสถาบันการศึกษา
ช้ันสูงหรอสถาบันอ่นเขาสมทบในมหาวิทยาลัยก็ไดและมีอานาจใหปริญญาอนุปริญญาหรอ
ประกาศนียบัตรชั้นหน่ึง ชั้นใดแกผ่ ูสาเร็จการศึกษาจากสถาบันสมทบนัน้ ได

การรบั เขาสมทบหรอยกเลิกการสมทบซ่ึงสถาบนั การศึกษาช้ันสูงหรอสถาบันอ่น ให
เป็นไปตามขอบังคับ ของมหาวิทยาลัยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

การควบคุมสถาบันการศึกษาช้ันสูงหรอสถาบันอ่นที่เขาสมทบในมหาวิทยาลัย
ใหเปน็ ไปตามขอบังคบั ของมหาวทิ ยาลัย

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๒๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๑๑ มหาวิทยาลัยจะปฏิเสธการรับผูใดเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย หรอยุติหรอ
ชะลอการศึกษา ของนักศึกษาผูใดดวยเหตเุ พียงว่าผูน้ันขาดแคลนทุนทรัพย์เพ่อจ่ายค่าธรรมเนียม
การศึกษาต่าง ๆ แก่มหาวทิ ยาลยั มิได

หลักเกณฑก์ ารพิจารณาว่านักศึกษาผูใดขาดแคลนทุนทรพั ย์ ใหเปน็ ไปตามระเบียบที่
สภามหาวทิ ยาลยั กาหนด

มาตรา ๑๒ นอกจากเงินที่กาหนดไวในงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยอาจมี
รายได ดงั น้ี

(๑) เงินผลประโยชน์ ค่าธรรมเนยี ม คา่ ปรบั และคา่ บริการตา่ งๆ ของมหาวิทยาลยั
(๒) รายไดหรอผลประโยชน์ท่ีไดมาจากการใชท่รี าชพัสดุซ่งึ มหาวทิ ยาลยั ปกครอง ดแู ล
หรอใชประโยชน์
(๓) เงนิ และทรพั ยส์ นิ ซง่ึ มผี ูอทุ ศิ ใหแก่มหาวทิ ยาลัย
(๔) รายไดหรอผลประโยชน์ที่ไดจากการลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวทิ ยาลยั
(๕) เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนทองถิ่นหรอเงินอุดหนุนอ่นท่ีมหาวิทยาลัย
ไดรบั
(๖) รายไดหรอผลประโยชน์อย่างอ่น
ใหมหาวิทยาลัยมอี ำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชน์
จากทรัพย์สิน ของมหาวิทยาลยั ท้ังท่ีเป็นทรี่ าชพัสดุตามกฎหมายว่าดวยท่รี าชพัสดุและท่เี ป็น
ทรัพย์สินอ่น รวมทั้งจัดหารายได จากการใหบริการ และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา
ของส่วนราชการในมหาวิทยาลยั
รายไดและผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัยเบี้ยปรับที่เกิดจากการดำเนินการตาม
วัตถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลัย รวมทัง้ เบี้ยปรบั ทเ่ี กดิ จากการผดิ สัญญาลาศึกษาและเบี้ยปรบั
ที่เกิดจากการผิดสัญญาการซ้อ ทรัพย์สินหรอสญั ญาจางทำของที่ดาเนินการโดยใชเงิน
งบประมาณ ไม่เป็นรายไดที่ตองนำส่งกระทรวง การคลัง ตามกฎหมายว่าดวยเงินคงคลัง
และกฎหมายวา่ ดวยวิธีการงบประมาณ
มาตรา๑๓ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่มหาวิทยาลัยไดมาโดยมีผูอุทิศใหหรอไดมา
โดยการซ้อหรอ แลกเปล่ียนจากรายไดของมหาวิทยาลัยตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ
ไม่ถอเป็นท่ีราชพัสดุและใหเป็น กรรมสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัย

(๓๐) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๑๔ บรรดารายไดและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยจะตองจัดการเพ่อ
ประโยชน์ภายใต วัตถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๗

เงินและทรัพย์สินท่ีมีผูอุทิศใหแก่มหาวิทยาลัยจะตองจัดการตามเง่อนไขที่ผูอุทิศให
กาหนดไวและตอง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย แต่ถามีความจาเป็นตอง
เปล่ียนแปลงเง่อนไขดังกล่าว มหาวิทยาลัย ตองไดรับความยินยอมจากผูอุทิศใหหรอทายาท
หากไมม่ ีทายาทหรอทายาทไมป่ รากฏ จะตองไดรับอนมุ ตั ิจาก สภามหาวิทยาลัย

หมวดั๒
การดาเนนิ การ
--------------------

มาตรา ๑๕ ใหมหาวทิ ยาลัยแต่ละแหง่ มสี ภามหาวทิ ยาลัย ประกอบดวย
(๑) นายกสภามหาวิทยาลยั ซ่งึ จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แต่งต้งั
(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่ง ไดแก่ อธิการบดีและประธานสภา
คณาจารย์ และ ขาราชการ
(๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซึ่งเลอกจากผูดำรงตำแหน่งรอง
อธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอานวยการสำนัก ผูอานวยการวิทยาลัย และ
หัวหนาส่วนราชการ ทีเ่ รยี กชอ่ อยา่ งอ่นทีม่ ี ฐานะเทียบเท่าคณะ
(๔) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซ่ึงเลอกจากคณาจารย์ประจำของ
มหาวิทยาลัยและ ขาราชการพลเรอนในสถาบนั อดุ มศกึ ษาทมี่ ิใช่ผดู ารงตาแหน่งตาม (๓)
(๕) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวฒุ ิจำนวนสิบส่ีคน ซึ ่ง จ ะ ได ท ร ง พ ร ะ
กรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังจากบุคคลภายนอกมหาวทิ ยาลัย โดยคำแนะนำของนายกสภา
มหาวิทยาลยั และกรรมการสภา มหาวิทยาลัยตาม (๒) (๓) และ (๔) ทั้งนี้ ผูทรงคุณวุฒิ
ดังกล่าวตองมาจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กฎหมาย
การงบประมาณและการเงิน การบรหิ ารงานบุคคลการศึกษา เศรษฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์
อย่างนอยดานละหนึ่งคน และดานอน่ ๆ ตามทีส่ ภามหาวิทยาลยั เห็นสมควร

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๓๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งรองอธิการบดีคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่กรรมการสภ า
มหาวิทยาลัยตาม (๓) เป็นเลขานุการสภามหาวิทยาลัยโดยคาแนะนาของอธิการบดี

ใหสภามหาวิทยาลัยเลอกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหน่ึงเปน็
อุปนายกสภา มหาวิทยาลัยทำหนาท่ีแทนนายกสภามหาวิทยาลัยเม่อนายกสภามหาวทิ ยาลัย
ไมอ่ าจปฏิบัติหนาทไ่ี ด หรอเม่อไมม่ ีผูดารงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย

คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการ
สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวฒุ ิ คุณสมบตั ิของผูเลอก ตลอดจนหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการเลอก
กรรมการสภามหาวิทยาลัยตาม (๓) และ (๔) ใหเป็นไปตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๑๖ นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา
๑๕ (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดำรงตำแหนง่ คราวละสามปี แต่จะทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ แตง่ ต้ังหรออาจไดรับเลอกใหม่อีกได

นอกจากการพนจากตำแหน่งตามวาระตามวรรคหนึ่ง นายกสภามหาวิทยาลัยและ
กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตำแหน่งเมอ่

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติของการเป็นนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยใน ประเภทน้ัน
(๔) ถูกจาคกุ โดยคำพิพากษาถึงท่ีสดุ ใหจาคกุ
(๕) สภามหาวิทยาลัยมีมติใหออกเพราะมีความประพฤตเิ ส่อมเสียบกพรอ่ งต่อหนาที่หรอ
หย่อน ความสามารถ
(๖) เป็นบุคคลลมละลาย
(๗) เป็นคนไรความสามารถหรอคนเสมอนไรความสามารถ
การพนจากตำแหน่งตาม (๕) ตองมีคะแนนเสียงลงมติไม่นอยกว่าสองในสามของ
จำนวนกรรมการ สภามหาวิทยาลัยเท่าทม่ี อี ยู่
ในกรณีท่ีตาแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยว่างลงไม่ว่า
ดวยเหตุใดและยังมิไดดาเนินการใหไดมาซ่ึงนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยแทนตาแหน่งท่ีว่าง ใหสภา มหาวิทยาลัยประกอบดวยกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยเทา่ ทมี่ ีอยู่

(๓๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕
(๓) (๔) หรอ (๕) พนจากตำแหน่งก่อนครบวาระ และไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แต่งต้ัง
หรอไดมีการเลอกผูดำรงตำแหน่งแทนแลว ใหผูซ่ึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งตั้ง หรอ
ไดรับเลอกอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลออยู่ของผูซึ่งตนแทน แต่ถาวาระการดำรงตาแหน่ง
เหลออยู่นอยกวา่ เกาสบิ วนั จะไม่ดำเนนิ การใหมผี ูดารงตำแหนง่ แทนก็ได

ในกรณที น่ี ายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕ (๓)
(๔) และ (๕) พนจากตำแหน่งตามวาระแต่ยงั มิไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังนายก
สภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการ สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวุฒิหรอยังมิไดเลอกกรรมการ
สภามหาวิทยาลัยอ่นขึ้นใหม่ใหนายกสภา มหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยซึ่ง
พนจากตำแหน่งปฏิบัติหนาที่ต่อไปจนกว่าจะไดมีนายกสภา มหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลยั ใหมแ่ ลว

ใหมีการดาเนินการใหไดมาซ่ึงนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) ภายในเกาสิบวนั นบั แตว่ ันทผี่ นู ัน้ พนจากตาแหน่ง

มาตรา ๑๗ สภามหาวิทยาลัยมีอานาจและหนาที่ควบคมุ ดูแลกิจการท่ัวไปของ
มหาวิทยาลยั และ โดยเฉพาะใหมอี ำนาจและหนาท่ี ดังน้ี

(๑) วางนโยบาย และอนุมัติแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยเก่ียวกับการศึกษาการ
ส่งเสริมวิชาการและ วิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทำการสอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ
ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแก่สังคม ทะนุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม และอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอม

(๒) วางระเบียบออกขอบงั คับและประกาศของมหาวิทยาลัย และอาจมอบใหส่วน
ราชการใดในมหาวิทยาลัยเป็นผูวางระเบียบ ออกขอบังคับและประกาศสำหรับส่วนราชการ
น้นั เปน็ เร่อง ๆ ไปก็ได

(๓) กากบั มาตรฐานการศึกษาและการประกนั คุณภาพการศึกษา
(๔) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลยั
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐาน
ที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนด
(๖) พิจารณาการจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิก สำนักงานวิทยาเขต บัณฑิต
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๓๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

เทียบเท่าคณะรวมทั้งการแบ่งส่วนราชการของ ส่วนราชการดังกล่าว
(๗) อนุมัติใหปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต

อนุปรญิ ญาและ ประกาศนียบัตร
(๘) อนุมัติการรบั สถาบันการศึกษาชัน้ สูง และสถาบนั อ่นเขาสมทบ หรอการยกเลิก

การสมทบ
(๙) พิจารณาเสนอเร่องเพ่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังและถอดถอนนายก

สภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ศาสตราจารย์ และ
ศาสตราจารย์พเิ ศษ

(๑๐) แต่งตั้งและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอำนวยการ
สำนัก ผูอำนวยการวิทยาลัยหรอหวั หนาส่วนราชการทเ่ี รียกช่ออย่างอ่นท่ีมฐี านะเทียบเท่าคณะ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์พิเศษ และกรรมการ
สภาวิชาการ

(๑๑) อนุมตั ิงบประมาณรายจ่ายจากเงนิ รายไดของมหาวิทยาลัย
(๑๒) วางระเบียบและออกขอบังคับเกี่ยวกับการบริหารการเงินและทรัพย์สินของ
มหาวทิ ยาลยั และการจัดหารายไดของมหาวิทยาลยั
(๑๓) พิจารณาดาเนินการเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยตาม
กฎหมายว่าดวยระเบียบ ขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษา และตามท่ีคณะกรรมการ
ขาราชการพลเรอนในสถาบนั อดุ มศึกษามอบหมาย
(๑๔) แต่งต้ังคณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ หรอบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพ่อพิจารณา
และเสนอความเห็นในเร่องหน่ึงเร่องใด หรอเพ่อมอบหมายใหปฏิบัติการอยา่ งหน่ึงอย่างใดอันอยู่
ในอำนาจและหนาที่ของสภามหาวทิ ยาลยั
(๑๕) พิจารณาและใหความเห็นชอบในเร่องท่ีเก่ียวกับกิจการของมหาวิทยาลัยตามที่
อธิการบดีเสนอ และอาจมอบหมายใหอธิการบดีปฏิบัติอย่างหน่ึงอย่างใดอันอยู่ในอานาจและ
หนาทขี่ องสภามหาวิทยาลยั ก็ได
(๑๖) ส่งเสริม สนับสนุน และแสวงหาวิธีการ เพ่อพัฒนาความกาวหนาของ
มหาวิทยาลัย

(๓๔) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑๗) ปฏิบัติหนาที่อ่นเก่ียวกับกจิ การของมหาวิทยาลัยท่ีมิไดระบุใหเป็นหนาท่ีของ
ผูใดโดยเฉพาะ

มาตรา ๑๘ การประชุมสภามหาวทิ ยาลัย ใหเป็นไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลัย
มาตรา ๑๙ ใหมหาวทิ ยาลยั แต่ละแห่งมสี ภาวชิ าการ ประกอบดวย
(๑) อธกิ ารบดี เป็นประธานสภาวิชาการ
(๒) รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ เปน็ รองประธานสภาวิชาการ
(๓) กรรมการสภาวิชาการโดยตำแหน่ง ไดแก่ รองอธิการบดีประจาวิทยาเขต
คณบดี ผอู านวยการ สถาบนั เพอ่ การวิจยั และผอู านวยการวิทยาลยั ถามี
(๔) กรรมการสภาวิชาการจานวนหกคน ซึ่งเลอกจากคณาจารย์ประจาใน
มหาวิทยาลัย
(๕) กรรมการสภาวิชาการผูทรงคุณวุฒิจำนวนสิบคน ซ่ึงแต่งต้ังจากบุคคลภายนอก
โดยความ เหน็ ชอบของสภามหาวิทยาลัย
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดมาซึ่งกรรมการสภาวิชาการตาม (๔) และ
(๕) ใหเปน็ ไปตาม ขอบังคับของมหาวทิ ยาลัย
ใหอธิการบดีแต่งตั้งคณาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัยคนหนึ่งเป็นเลขานุการสภา
วิชาการและอาจ แต่งตั้งคณ าจารย์ประจาในมหาวิทยาลัยอีกไม่เกินสองคนเป็น
ผูช่วยเลขานุการ
มาตรา ๒๐ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจากตาแหน่งของกรรมการสภา
วิชาการตลอดจน การประชุมและการดาเนนิ งานของสภาวิชาการ ใหเป็นไปตามขอบังคบั ของ
มหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๒๑ สภาวิชาการมีอานาจและหนาท่ี ดังน้ี
(๑) พิจารณาเกณฑม์ าตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอนการวิจัย การ
วัดผลการศกึ ษา และ การประกนั คุณภาพการศึกษาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย
(๒) เสนอความเห็นเกย่ี วกับการรวมและการยกเลิกสาขาวิชาต่อสภามหาวิทยาลัย
(๓) เสนอความเหน็ เก่ียวกบั การเปิดสอนตามหลักสตู รของมหาวิทยาลยั
(๔) พจิ ารณาเสนอความเห็นในเรอ่ งทเี่ กยี่ วกบั วชิ าการต่อสภามหาวิทยาลัย
(๕) ส่งเสริมการวิจัยและการบริการทางวิชาการที่สอดคลองกับภารกิจของ
มหาวิทยาลยั และความ ตองการของชมุ ชน

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๓๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๖) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรอบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ อันอยู่
ในอานาจและหนาท่ี ของสภาวชิ าการ

มาตรา ๒๒ ใหมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมีสภาคณาจารย์และขาราชการ
ประกอบดวย ประธานสภา คณาจารย์และขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารย์และ
ขาราชการซ่งึ เลอกจากคณาจารยป์ ระจำและขาราชการ ของมหาวทิ ยาลัย

จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง และการ
พนจากตำแหน่งของประธานสภาคณาจารย์และขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารย์และ
ขาราชการตามวรรคหนึ่ง ตลอดจน การประชุมและการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และ
ขาราชการ ใหเป็นไปตามขอบงั คบั ของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๒๓ สภาคณาจารยแ์ ละขาราชการมอี านาจและหนาที่ ดังน้ี
(๑) ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะในกิจการของมหาวิทยาลัยและการพัฒนา
มหาวทิ ยาลัยแก่อธกิ ารบดี หรอสภามหาวทิ ยาลัย
(๒) ส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพของคณาจารย์และขาราชการในการปฏิบัติหนาที่
ตามจรรยาบรรณแหง่ วิชาชีพ
(๓) พิทักษ์ผลประโยชน์ของมหาวทิ ยาลัยและปฏิบัติหนาที่อ่นตามที่อธิการบดีหรอ
สภามหาวทิ ยาลยั มอบหมาย
(๔) เรียกประชุมคณาจารย์และขาราชการเพ่อพิจารณากิจกรรมของมหาวิทยาลัย
และนำเสนอ ความคดิ เห็นต่อสภามหาวิทยาลยั ทัง้ น้ี ตามขอบงั คับของมหาวิทยาลัย
การปฏิบัติหนาท่ีของสภาคณาจารย์และขาราชการถอเป็นการปฏิบัติหนาท่ีราชการ
และการดำเนินการใด ๆ ในการปฏิบัติหนาที่โดยชอบย่อมไดรับความคุมครองและไม่เป็นเหตุใน
การดาเนนิ การทางวนิ ัย
มาตรา ๒๔ ใหมีอธิการบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของ
มหาวิทยาลัยแต่ละ แห่ง และอาจมีรองอธิการบดี หรอผูช่วยอธิการบดีหรอจะมีทั้งรอง
อธิการบดีและผูช่วยอธิการบดีตาม จำนวนที่สภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกาหนด เพ่อทา
หนาทแี่ ละรับผดิ ชอบตามท่ีอธกิ ารบดมี อบหมายก็ได
มาตรา ๒๕ อธิการบดีนน้ั จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังโดยการสรรหาตาม
ขอบังคับของ มหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ทั้งนี้ ให
คานงึ ถงึ การมีสว่ นร่วมของบุคลากรของ มหาวิทยาลัย

(๓๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

อธิการบดีมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละส่ีปี และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
แต่งตงั้ ใหมอ่ กี ได แต่จะดำรงตาแหนง่ เกินสองวาระติดต่อกันมไิ ด

นอกจากการพนจากตาแหน่งตามวาระตามวรรคสอง อธิการบดีพนจากตาแหน่ง
เมอ่

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ถูกลงโทษทางวินัยอย่างรายแรงหรอถกู สงั่ ใหออกจากราชการ เพราะ
เหตมุ มี ลทินหรอ มัวหมองใน กรณที ถ่ี ูกสอบสวนทางวินยั อย่างรายแรง
(๔) เป็นบุคคลลมละลาย คนไรความสามารถ หรอคนเสมอนไรความสามารถ
(๕) ถูกจาคุกโดยคำพิพากษาถงึ ทส่ี ุดใหจาคุก
(๖) สภามหาวทิ ยาลัยใหพนจากตำแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหนาที่มีความ
ประพฤติเสอ่ มเสียหรอหย่อนความสามารถ มติของสภามหาวิทยาลัยใหพนจากตาแหน่ง
ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไม่นอยกว่า สองในสามของจำนวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ท้ังหมด
รองอธิการบดีใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งโดยคำแนะนำของอธิการบดีจากผูมี
คุณสมบตั ิตามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง
ผูช่วยอธิการบดี ใหอธิการบดีแต่งตั้งจากขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงมี
คณุ สมบัตติ าม มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอธิการบดีมีอานาจถอดถอนผูชว่ ยอธิการบดีดวย
เม่ออธิการบดีพนจากตาแหน่ง ใหรองอธิการบดีและผูช่วยอธิการบดี พนจาก
ตาแหนง่ ดวย
มาตรา ๒๖ อธิการบดีและรองอธกิ ารบดี ตองสำเรจ็ การศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรอ
เทียบเทา่ จาก มหาวิทยาลัยหรอสถาบันอดุ มศึกษาอ่นทสี่ ภามหาวทิ ยาลัยรบั รอง แ ล ะ ได ท ำ
การสอนหรอมีประสบการณ์ดาน การบริหารมาแลวไม่นอยกว่าหาปีในมหาวิทยาลัย หรอ
สถาบันอุดมศึกษาอ่นท่ีสภามหาวทิ ยาลัยรับรอง หรอเคย ดำรงตำแหน่งกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยไม่นอยกว่าสามปีหรอดำรงตำแหน่งหรอเคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ รวมท้ังมี
คุณสมบัตอิ น่ และไม่มลี กั ษณะตองหามตามทก่ี าหนดในขอบงั คับของมหาวิทยาลัย
ผูช่วยอธิการบดี ตองสำเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรอเทียบเท่าจาก
มหาวิทยาลัย หรอ สถาบันอุดมศึกษาอ่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และไดทำการสอนหรอมี

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๓๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ป ระส บ ก ารณ ์ดาน ก ารบ ริห ารมาแล ว ไม่น อย ก ว่าสามปี ใน มหาวิทยาลัย ห รอ
สถาบันอุดมศกึ ษาอ่นท่สี ภามหาวทิ ยาลัยรับรอง

มาตรา ๒๗ อธิการบดมี อี านาจและหนาที่ ดงั นี้
(๑) บริหารกิจการของมหาวทิ ยาลัยใหเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอบังคับของทางราชการ และของมหาวิทยาลัย รวมท้ังนโยบายและวัตถุประสงค์ของ
มหาวิทยาลัย
(๒) บริหารบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานท่ีและทรัพย์สินอ่นของมหาวิทยาลัยให
เป็นไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับของทางราชการและของมหาวิทยาลัย
(๓) จดั ทาแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงาน
รวมทง้ั ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานดานตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลยั
(๔) แตง่ ต้งั และถอดถอนผูช่วยอธิการบดี รองคณบดี รองผูอานวยการสถาบัน
รองผอู านวยการ สานัก รองผูอำนวยการวิทยาลัย รองหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่าง
อ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหัวหนาภาควิชา หัวหนาส่วนราชการทีเ่ รียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ
เทียบเทา่ ภาควิชาและอาจารยพ์ ิเศษ
(๕) รายงานเกีย่ วกับกิจการและการดำเนินการของมหาวิทยาลัยต่อสภา
มหาวิทยาลัย
(๖) ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และขาราชการ
คณะกรรมการส่งเสริม กิจการวิทยาเขต และสง่ เสรมิ การพฒั นานักศึกษาและกิจการนักศกึ ษา
(๗) ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน รวมทั้งการเขาไปมีส่วน
รว่ มในการสราง ความสัมพนั ธ์กับชมุ ชน
(๘) เปน็ ผูแทนมหาวทิ ยาลยั ในกิจการท่วั ไป
(๙) ปฏิบัติหนาท่ีอ่นตามระเบียบ ขอบังคบั และประกาศของมหาวิทยาลัย ตามที่
สภามหาวิทยาลยั มอบหมายหรอตามทก่ี ฎหมายกำหนดใหเปน็ อานาจหนาท่ีของอธกิ ารบดี
มาตรา ๒๘ ในกรณีที่ผูดำรงตำแหน่งอธกิ ารบดีไม่อยู่หรอไม่อาจปฏิบัติราชการได ให
รองอธิการบดีเป็นผูรักษาราชการแทนถามีรองอธิการบดีหลายคน ใหรองอธิการบดีซ่ึง
อธิการบดีมอบหมายเป็นผูรักษาราชการแทน ถาอธิการบดีมิไดมอบหมาย ใหรองอธกิ ารบดีซงึ่
มอี าวุโสสงู สุดเปน็ ผูรักษาราชการแทน

(๓๘) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ในกรณที ี่ไม่มี ผูรักษาราชการแทนอธิการบดตี ามความในวรรคหนึ่ง หรอมแี ต่ไมอ่ าจ
ปฏิบัติราชการได หรอไม่มีผูดำรงตำแหน่งอธิการบดี ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งผูมี
คุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง เปน็ ผรู กั ษา ราชการแทนอธิการบดี

มาตรา ๒๙ ในวิทยาเขตใหมีรองอธกิ ารบดีคนหน่ึงซ่ึงสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังโดย
คำแนะนำของ อธิการบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของวทิ ยาเขตให
เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย และปฏิบัติหนาที่อ่น
ตามท่ีอธกิ ารบดีมอบหมาย

มาตรา ๓๐ ในวิทยาเขต ใหมีคณ ะกรรมการประจาวทิ ยาเขตคณ ะหนึ่ง
องค์ประกอบ จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง
และการพนจากตำแหน่งของกรรมการประจำวิทยาเขต ตลอดจนการประชุมของ
คณะกรรมการประจำวิทยาเขตและการจัดระบบบริหารงานใน วิทยาเขต ใหเป็นไปตาม
ขอบงั คับของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ตองมีกรรมการท่ีเป็ น ผูทรงคุณ วุฒิ ซ่ึงแต่งต้ังจาก
บุคคลภายนอกไมน่ อยกว่าหนึ่งในสาม

มาตรา ๓๑ คณะกรรมการประจำวทิ ยาเขตมีอำนาจและหนาท่ี ดงั นี้
(๑) ส่งเสริมใหวิทยาเขตดำเนินภารกิจใหสอดคลองกบั นโยบาย เป้าหมาย และ
แผนพฒั นาตามทส่ี ภา มหาวิทยาลัยกาหนด
(๒) ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินกิจการต่างๆ ของวิทยาเขต
แก่อธิการบดี
(๓) เสนอแนะการเปิดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยในวิทยาเขตต่อสภา
วิชาการ
(๔) ประสานงานระหวา่ งบัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัย และ
ส่วนราชการทเ่ี รียกชอ่ อย่างอน่ ที่มีฐานะเทียบเท่าคณะภายในวิทยาเขต
(๕) พจิ ารณาวางระเบยี บหรอออกขอบังคับอ่นตามทสี่ ภามหาวิทยาลัยมอบหมาย
(๖) พิจารณาเสนอแผนพัฒนา แผนงาน และงบประมาณประจำปีและจัดทำ
รายงานผลการดาเนิน กจิ การของวิทยาเขตเสนอตอ่ อธกิ ารบดี
(๗) แต่งต้งั คณะอนุกรรมการ หรอบคุ คลหน่ึงบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ อันอย่ใู น
อานาจและหนาท่ี ของคณะกรรมการประจำวทิ ยาเขต
(๘) ปฏบิ ตั ิงานอ่นตามทอี่ ธิการบดีมอบหมาย

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๓๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๓๒ ในวิทยาเขต ใหมีคณะกรรมการสง่ เสรมิ กจิ การวิทยาเขต ประกอบดวย
(๑) ประธานกรรมการสง่ เสรมิ กิจการวทิ ยาเขต
(๒) กรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาเขตโดยตำแหน่ง ไดแก่ รองอธิการบดีประจำ
วทิ ยาเขต คณบดี ผอู านวยการสถาบนั ผอู านวยการสำนัก และผูอานวยการวิทยาลยั ถามี
(๓) กรรมการสง่ เสริมกิจการวิทยาเขตจำนวนสี่คน ซ่ึงแต่งต้ังจากผูแทนศิษย์เก่า
จำนวนหน่ึงคน ผูแทน ผูปกครอง จานวนหนึ่งคน และผูแทนนกั ศึกษา จานวนสองคน
(๔) กรรมการสง่ เสริมกิจการวิทยาเขตผูทรงคุณวุฒิจานวนเท่ากับจานวนกรรมการ
ตาม (๒) และ (๓) รวมกัน ซึ่งสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ หรอมี
ประสบการณ์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยเห็นสมควร ในจานวนนี้ ใหแต่งตั้ง
จากบคุ คลในเขตพ้นทีบ่ รกิ ารการศึกษาของวิทยาเขต ไม่นอยกวา่ ก่ึงหนึ่ง
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจาก
ตำแหน่งของประธาน กรรมการสง่ เสริมกิจการวิทยาเขต และกรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาเขต
ตาม (๓) และ (๔) ตลอดจนการประชุม และการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริม
กจิ การวทิ ยาเขต ใหเป็นไปตามขอบงั คบั ของมหาวิทยาลัย
มาตรา ๓๓ คณะกรรมการส่งเสรมิ กิจการวิทยาเขตมีอานาจและหนาท่ี ดังน้ี
(๑) ส่งเสริม สนับสนุน ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะแก่วิทยาเขตเพ่อ
พฒั นาแนวทางการดำเนนิ งาน ของวิทยาเขต
(๒) ส่งเสริมใหมีทุนการศึกษาแก่นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ใหมีโอกาสศึกษา
ในมหาวิทยาลัย อนั เปน็ การสนบั สนุนความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
(๓) ส่งเสริม และสนับสนุนการสรางสัมพันธภาพและการเรียนรูระหว่าง
มหาวิทยาลัยกับนักศึกษา และประชาชน
(๔) แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการ หรอบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ ตาม (๑)
(๒) และ (๓)
มาตรา ๓๔ ในบัณฑิตวิทยาลัย ใหมีคณบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของ
บัณฑิตวิทยาลัย และจะใหมีรองคณบดีตามจำนวนที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด เพอ่ ทำหนาท่ี
และรบั ผิดชอบตามทค่ี ณบดี มอบหมายก็ได
คณบดีนั้น ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังโดยการสรรหาตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลัย
จากผูมีคณุ สมบัติ ตามมาตรา ๒๖ วรรคสอง

(๔๐) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

รองคณบดีน้ัน ใหอธิการบดีแต่งต้ังโดยคาแนะนำของคณบดีจากผูมีคุณสมบัติตาม
มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอธิการบดีมีอานาจถอดถอนรองคณบดีโดยคำแนะนำของ
คณบดี

วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจากตำแหน่งคณบดีใหนำมาตรา ๒๕ วรรคสอง
และวรรคสาม มาใชบงั คบั โดยอนุโลม

การรกั ษาราชการแทนคณบดี ใหนามาตรา ๒๘ มาใชบังคบั โดยอนุโลม
เมอ่ คณบดพี นจากตำแหนง่ ใหรองคณบดพี นจากตำแหนง่ ดวย
มาตรา ๓๕ ในบัณฑิตวิทยาลัย ใหมคี ณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยคณะหนึ่ง
ประกอบดวย คณบดเี ป็นประธานกรรมการและกรรมการอ่นอีกจานวนหน่ึง
จานวน คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ์และวิธีการไดมา อำนาจและหนาท่ี วาระการดำรง
ตาแหนง่ และ การพนจากตาแหนง่ ของกรรมการประจำบัณฑิตวทิ ยาลยั ตลอดจนการประชุม
ของคณะกรรมการประจำ บัณฑิตวิทยาลัยและการจัดระบบบริหารงานในบัณฑิตวิทยาลยั ให
เปน็ ไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๓๖ ในคณะ ใหมีคณบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะ
และจะใหมีรอง คณบดีตามจานวนที่สภามหาวทิ ยาลัยกาหนด เพ่อทาหนาที่และรับผิดชอบ
ตามที่คณบดมี อบหมายกไ็ ด
คุณสมบัติ การแต่งต้ัง วาระการดำรงตาแหน่ง และการพนจากตาแหน่งของ
คณบดีและรองคณบดี ตามวรรคหนึ่ง และการรักษาราชการแทน ใหนามาตรา ๓๔ มาใช
บังคบั โดยอนุโลม
มาตรา ๓๗ ในคณะ ใหมีคณะกรรมการประจำคณะ ประกอบดวย คณบดีเป็น
ประธานกรรมการ และ กรรมการอน่ อกี จำนวนหน่ึง
จานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดารงตาแหน่ง และการ
พนจากตำแหน่ง ของกรรมการ ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการประจำคณะและการ
จัดระบบบรหิ ารงานในคณะใหเป็นไปตามขอบงั คบั ของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๓๘ คณะกรรมการประจำคณะมีอำนาจและหนาที่ ดังนี้
(๑) จัดทาแผนพฒั นาของคณะใหสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลยั

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๔๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒) พจิ ารณาวางระเบียบและออกขอบังคับภายในคณะตามที่สภามหาวิทยาลัย
มอบหมาย

(๓) พิจารณากำหนดหลักสูตรและรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสำหรบั คณะเพ่อเสนอต่อ
สภามหาวิทยาลัย

(๔) จัดการวัดผล ประเมินผล และควบคุมมาตรฐานการศึกษาของคณะ
(๕) ส่งเสริมงานวิจัย งานบริการวิชาการแก่สังคม งานทะนุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม และงาน รักษาสงิ่ แวดลอม
(๖) ใหคาปรึกษาและขอแนะนำเก่ยี วกับการดำเนินกจิ การต่างๆ ของคณะ
(๗) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่อดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดอันอยู่ในอำนาจและหนาที่
ของคณะกรรมการ ประจำคณะ
(๘) ดาเนนิ การอ่นใดตามท่สี ภามหาวทิ ยาลยั สภาวิชาการ หรออธิการบดีมอบหมาย
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่มีการแบ่งภาควิชาหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มี
ฐานะเทียบเท่า ภาควิชาในคณะใหมีหัวหนาภาควิชาหรอหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่อ
อย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าภาควิชาเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของภาควิชาหรอ
ส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะเทยี บเทา่ ภาควิชา
หัวหนาภาควิชา หรอหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่า
ภาควิชาใหอธิการบดี แต่งตั้งจากคณาจารย์ประจำโดยการสรรหาตามขอบังคับของ
มหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ คณบดี และใหอธิการบดีมีอำนาจถอดถอน
หัวหนาภาควิชาหรอหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มี ฐานะเทียบเท่าภาควิชาโดย
คำแนะนำของคณบดี
คุณสมบัติ วาระการดารงตำแหน่ง และการพนจากตำแหน่งของหัวหนาภาควิชาหรอ
หัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าภาควิชาตามวรรคสองและการ
รักษาราชการแทนใหนำมาตรา ๓๔ มาใชบังคับโดยอนโุ ลม
มาตรา ๔๐ ในสถาบันหรอสานัก ใหมีผูอานวยการสถาบันหรอผูอานวยการสำนัก
เปน็ ผูบังคบั บัญชา และรบั ผิดชอบงานของสถาบนั หรอสานัก แลวแต่กรณี แ ล ะ จ ะ ให มี ร อ ง
ผูอำนวยการสถาบันหรอรองผูอำนวยการ สำนักตามจำนวนท่ีสภามหาวิทยาลัยกำหนด เพ่อทำ
หนาทแี่ ละรบั ผิดชอบตามที่ผูอำนวยการสถาบนั หรอ ผอู ำนวยการสานกั มอบหมายก็ได
คุณสมบัติ การแต่งต้ัง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจากตำแหน่งของ

(๔๒) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ผูอำนวยการสถาบันหรอ ผูอำนวยการสำนัก และรองผูอำนวยการสถาบันหรอรองผูอำนวยการ
สานักตามวรรคหนึ่งและการรักษาราชการ แทน ใหนามาตรา ๓๔ มาใชบังคบั โดยอนุโลม

มาตรา ๔๑ ในสถาบันหรอสำนัก ใหมีคณะกรรมการประจำสถาบันหรอสานัก
แลวแตก่ รณี

องค์ประกอบ จานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา อำนาจและ
หนาที่ วาระการดารง ตำแหน่ง และการพนจากตำแหน่งของกรรมการประจำสถาบันหรอ
สำนัก ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการ ประจาสถาบันหรอคณะกรรมการประจาสานัก
และการจดั ระบบบรหิ ารงานในสถาบันหรอสานัก ใหเป็นไปตาม ขอบงั คบั ของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๔๒ ในกรณีที่มีหาวิทยาลัยมีวิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มี
ฐานะเทียบเท่าคณะ ใหมีผูอำนวยการวิทยาลัยหรอหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นท่ีมี
ฐานะเทียบเท่าคณะเปน็ ผูบังคับบัญชาและ รับผิดชอบงานของวิทยาลัยหรอส่วนราชการที่
เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ แลวแต่กรณี และจะใหมีรองผูอำนวยการ
วิทยาลัยหรอรองหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะตาม
จำนวนท่ีสภามหาวิทยาลัยกำหนดเพ่อทำหนาที่และรับผิดชอบตามที่ผอู ำนวยการวิทยาลัย
หรอหัวหนาส่วน ราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะมอบหมายก็ได

คุณสมบัติ การแตง่ ตง้ั วาระการดำรงตำแหน่ง แล ะการพ น จากต ำแห น่ งของ
ผูอำนวยการวิทยาลัย หรอหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ
รวมทง้ั ผูดารงตาแหนง่ รองของตำแหน่ง ดังกลา่ วตามวรรคหนึ่ง และการรักษาราชการแทนให
นาความในมาตรา ๓๔ มาใชบงั คับโดยอนุโลม

ในกรณีที่มีการแบ่งภาควิชา หรอส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่า
ภาควชิ าในวทิ ยาลยั ใหนาความในมาตรา ๓๙ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๓ ในวทิ ยาลัยหรอส่วนราชการท่ีเรียกช่ออยา่ งอ่นท่มี ฐี านะเทียบเท่าคณะให
มี คณะกรรมการประจำวิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ
แลวแต่กรณี

องคป์ ระกอบ จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวธิ ีการไดมา อำนาจและหนาท่ี
วาระการดำรง ตำแหน่ง และการพนจากตำแหน่งของกรรมการประจาวิทยาลัยหรอส่วน
ราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะ เทียบเท่าคณะ ตลอดจนการประชุมของคณะกรรมการ
ประจำวิทยาลยั หรอคณะกรรมการประจำส่วนราชการ ทเ่ี รียกช่ออย่างอ่นทม่ี ีฐานะเทียบเท่า


Click to View FlipBook Version