The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2022-05-17 02:36:15

คู่มือนักศึกษา 2564

คู่มือนักศึกษา 2564

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๔๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คณะและการจัดระบบบริหารงานในวิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่อ อย่างอ่นท่ีมีฐานะ
เทียบเท่าคณะ ใหเป็นไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๔๔ ผูดำรงตำแหน่งอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการ และหัวหนาส่วน
ราชการที่เรียกช่ออย่าง อ่น ท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ จะดารงตำแหน่งดังกล่าวเกินหน่ึง
ตำแหน่งในขณะเดียวกนั มไิ ด

ผูดารงตาแหน่งตามวรรคหนึ่งจะรักษาราชการแทนตำแหน่งอ่นอีกหน่ึงตาแหน่งก็ได
แต่ตองไมเ่ กนิ หนง่ึ รอยแปดสิบวนั

มาตรา ๔๕ เพ่อประโยชน์ในการบรหิ ารราชการในวิทยาเขต บณั ฑิตวิทยาลัย คณะ
สถาบัน สำนกั วิทยาลยั และภาควชิ าหรอส่วนราชการทเี่ รยี กช่ออยา่ งอ่นที่มฐี านะเทียบเทา่
คณะหรอภาควิชา อธิการบดี จะมอบอานาจโดยทำเปน็ หนังสอใหผดู ารงตาแหน่งรอง
อธกิ ารบดี คณบดี ผอู านวยการ หวั หนาภาควชิ าหรอหัวหนาส่วนราชการที่เรียกช่ออย่าง
อ่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะหรอภาควิชา ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดีเฉพาะในราชการ
ของส่วนราชการน้ันก็ได

ใหผูปฏบิ ตั ิราชการแทนตามวรรคหน่ึง มีอานาจและหนาทต่ี ามทอ่ี ธิการบดกี าหนด
มาตรา ๔๖ ใหผูรักษาราชการแทนตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติน้ีมีอานาจและ
หนาท่ี เช่นเดียวกบั ผูซึ่งตนแทน
ในกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำส่ัง หรอมติคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งให
ผูดำรงตำแหน่งใดเปน็ กรรมการหรอใหมีอานาจและหนาทอ่ี ยา่ งใด ใหผูรักษาราชการแทน
ทำหนาท่ีกรรมการ หรอมีอานาจ และหนาที่เช่นเดียวกับผูดารงตาแหน่งน้ันในระหว่างท่ี
รักษาราชการแทนดวย

หมวดั๓
ความร่วมมือดา้ นวชิ าการและการใช้ทรพั ยากร

--------------------

มาตรา ๔๗ เพ่อประโยชนใ์ นความร่วมมอดานวิชาการและการใชทรัพยากรร่วมกัน
ของมหาวิทยาลัยใหมีคณะกรรมการอธิการบดี ประกอบดวย อธิการบดีของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลทกุ แหง่ เปน็ กรรมการ

ใหกรรมการตามวรรคหนึ่งเลอกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ และเลอก

(๔๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

กรรมการอกี คนหนึ่งเปน็ เลขานกุ าร
การประชุมของคณะกรรมการอธิการบดี ใหเป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ

อธิการบดีกาหนด
มาตรา ๔๘ ใหคณะกรรมการอธิการบดมี อี านาจและหนาที่ ดังนี้
(๑) เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเก่ียวกับการจัดการศึกษา การร่วมมอดาน

วิชาการและการใช ทรัพยากรร่วมกันของมหาวิทยาลัยต่อสภามหาวิทยาลยั แต่ละแหง่
(๒) จัดใหมีขอตกลงระหว่างมหาวิทยาลัยเกยี่ วกับความร่วมมอทางวิชาการและการ

ใชทรัพยากร รว่ มกันในการปฏิบตั ิภารกจิ โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัยแต่ละแหง่
(๓) จดั ใหมีขอตกลงระหว่างมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกับสถาบันอาชีวศึกษาทั้งที่เป็น

ของรัฐและ เอกชน ในการใหความร่วมมอดานวิชาการและการศึกษาต่อดานวชิ าชีพเฉพาะ
ทางระดับปรญิ ญา โดยความเห็นชอบ ของสภามหาวิทยาลัยแต่ละแหง่

(๔) กำหนดแนวทางในการแสวงหาความร่วมมอระหว่างมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกบั
ชุมชน องคก์ ร เอกชนและองค์กรปกครองสว่ นทองถ่ิน

(๕) แต่งต้ังคณะทำงานหรอบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพ่อพิจารณาและเสนอความเห็นใน
เร่องหนึ่งเร่องใด หรอเพ่อมอบหมายใหปฏบิ ัติการอย่างหนึ่งอย่างใดอ่นอยู่ในอานาจและ
หนาทีข่ องคณะกรรมการอธิการบดี

หมวดั๔
ตาแหน่งทางวิชาการ

--------------------

มาตรา ๔๙ คณาจารยป์ ระจาในมหาวิทยาลัยมตี าแหนง่ ทางวิชาการ ดงั นี้
(๑) ศาสตราจารย์
(๒) รองศาสตราจารย์
(๓) ผูชว่ ยศาสตราจารย์
(๔) อาจารย์
คณุ สมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งต้ังและถอดถอนคณาจารย์ประจำตามวรรค
หน่ึงใหเปน็ ไปตาม กฎหมายวา่ ดวยระเบียบขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษา

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๔๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ศาสตราจารย์น้ัน จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังโดยคาแนะนำของสภา
มหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๐ ศาสตราจารย์พิเศษนั้น จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังโดย
คำแนะนำของสภา มหาวทิ ยาลัยจากผูซงึ่ มิไดเป็นคณาจารย์ประจาของมหาวิทยาลัย

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ในการแต่งต้ังศาสตราจารย์พิเศษ ใหเป็นไปตามขอบังคับ
ของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๕๑ ศาสตราจารยซ์ งึ่ มีความรูความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ น
จากตำแหน่ง ไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งใหเป็นศาสตราจารย์เกียรติ
คณุ ในสาขาทีศ่ าสตราจารย์ผูนั้น มคี วามเชยี่ วชาญเพ่อเปน็ เกยี รติยศได

คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการแต่งต้ังศาสตราจารย์เกียรติคุณ ใหเป็นไปตาม
ขอบงั คับของ มหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๕๒ สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งผูซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสม และมิได
เป็นคณาจารย์ ประจำของมหาวิทยาลัยเป็นรองศาสตราจารย์พเิ ศษและผูช่วยศาสตราจารย์
พเิ ศษไดโดยคำแนะนำของอธกิ ารบดี

อธิการบดีอาจแตง่ ตั้งผูมีคุณสมบัติเหมาะสมและมิไดเป็นคณาจารย์ประจาของ
มหาวิทยาลัยเป็น อาจารย์พิเศษโดยคำแนะนำของคณบดี ผูอำนวยการหรอหัวหนาสว่ น
ราชการทเ่ี รยี กช่ออย่างอ่นที่มฐี านะเทยี บเทา่ คณะ แลวแตก่ รณี

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ในการแต่งต้ังรองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์
พิเศษและอาจารย์ พิเศษตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเป็นไปตามขอบังคับของ
มหาวิทยาลัย

ม า ต รา ๕ ๓ ให ผู ด ำ ร ง ต ำ แ ห น ่ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ศ า ส ต ร า จ า ร ย ์พ ิเศ ษ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์
และผูช่วยศาสตราจารย์พิเศษ มีสิทธิใชตำแหน่งศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์พิเศษ
ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์ หรอ
ผชู ่วยศาสตราจารย์พเิ ศษ แลวแตก่ รณี เปน็ คานำหนานามเพอ่ แสดงวิทยฐานะได ตลอดไป

การใชคานาหนานามตามความในวรรคหน่ึง ใหใชอกั ษรยอ่ ดงั น้ี
ศาสตราจารย์ ใชอกั ษรยอ่ ศ.
ศาสตราจารย์พิเศษ ใชอกั ษรย่อ ศ. (พเิ ศษ)

(๔๖) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ใชอกั ษรย่อ ศ. (เกยี รตคิ ุณ)
รองศาสตราจารย์ ใชอกั ษรย่อ รศ.
รองศาสตราจารย์พเิ ศษ ใชอักษรย่อ รศ. (พเิ ศษ)
ผชู ่วยศาสตราจารย์ ใชอกั ษรย่อ ผศ.
ผชู ่วยศาสตราจารย์พเิ ศษ ใชอกั ษรย่อ ผศ. (พเิ ศษ)

หมวดั๕ั
ปริญญาและเคร่ืองหมายวทิ ยฐานะั

--------------------

มาตรา ๕๔ ปรญิ ญามสี ามชนั้ คอ
ปริญญาเอก เรียกวา่ ดษุ ฎบี ัณฑิต ใชอกั ษรยอ่ ด.
ปริญญาโท เรียกวา มหาบัณฑิต ใชอกั ษรย่อ ม.
ปรญิ ญาตรี เรยี กวา บัณฑติ ใชอกั ษรยอ่ บ.
มาตรา ๕๕ มหาวทิ ยาลัยมีอานาจใหปริญญาในสาขาวิชาท่ีมีการสอนใน
มหาวิทยาลัย
การกาหนดใหสาขาวิชาใดมีปริญญาช้ันใด และจะใชอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาน้ัน
อย่างไร ใหตราเป็น พระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๕๖ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหผูสาเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี
ไดรับปรญิ ญา เกียรตินิยมอนั ดับหนง่ึ หรอปรญิ ญาเกียรตนิ ิยมอนั ดับสองได
มาตรา ๕๗ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับใหมีประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
ประกาศนียบัตร บณั ฑติ อนปุ รญิ ญา และประกาศนียบตั รสาหรับสาขาวิชาใดได ดงั น้ี
(๑) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ออกใหแก่ผูสาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาหน่ึง
สาขาวิชาใด ภายหลงั ที่ไดรับปริญญาโทแลว
(๒) ประกาศนียบัตรบัณฑิต ออกใหแก่ผูสำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาหนึ่งสาขาวิชา
ใดภายหลังท่ีไดรับปริญญาตรีแลว
(๓) อนุปริญญาหรอประกาศนียบัตร ออกใหแก่ผูสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรใน
สาขาวิชาหนึ่ง สาขาวิชาใดกอ่ นถึงขนั้ ไดรบั ปรญิ ญาตรี

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๔๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๔) ประกาศนียบัตร ออกใหแก่ผูสำเร็จการศึกษาเฉพาะวิชา
มาตรา ๕๘ มหาวทิ ยาลัยมอี ำนาจใหปรญิ ญากิตติมศักด์ิแก่บคุ คลซ่ึงสภามหาวิทยาลัย
เห็นว่า ทรงคุณวุฒิสมควรแก่ปริญญานั้น ๆ แต่จะใหปริญญาดังกล่าวแก่คณาจารย์ประจำ
ผูดารงตำแหน่งต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย นายกสภามหาวทิ ยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวทิ ยาลัยในขณะที่ดารงตาแหน่งนั้นมไิ ด
ชั้น สาขาของปริญญากิตติมศักด์ิ และหลักเกณฑ์การใหปริญญากิตติมศักด์ิ ให
เปน็ ไปตามขอบังคับ ของมหาวทิ ยาลัย
มาตรา ๕๙ มหาวิทยาลัยอาจกำหนดใหมีครุยวิทยฐานะหรอเข็มวิทยฐานะเป็น
เคร่องหมายแสดงวิทยฐานะของผูไดรับปริญ ญ า ประกาศนีย บัตรบัณ ฑิตชั้นสูง
ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญาและประกาศนียบัตร และอาจกาหนดใหมีครุยประจา
ตำแหน่งกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยหรอคณาจารยข์ องมหาวทิ ยาลัยได
การกำหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และส่วนประกอบของครุยวิทยฐานะ เข็มวิทย
ฐานะ และครุย ประจำตำแหน่งใหตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา
ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหน่งจะใชในโอกาสใด โดยมี
เง่อนไขอย่างใด ใหเปน็ ไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๖๐ สภามหาวิทยาลัยอาจกาหนดใหมีตรา เคร่องหมาย หรอสัญลักษณ์
ของมหาวิทยาลัย หรอส่วนราชการในมหาวิทยาลัยได โดยทาเป็นขอบังคับของมหาวิทยาลัย
และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
สภามหาวิทยาลัยอาจกำหนดใหมีเคร่องแบบ เคร่องหมาย หรอเคร่องแต่งกาย
นกั ศกึ ษาได โดยทำเป็น ขอบังคับของมหาวิทยาลยั และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวดั๖
บทกาหนดโทษ
--------------------

มาตรา ๖๑ ผูใดใชตรา สัญลักษณ์ ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุย
ประจำตำแหน่งเคร่องแบบ เคร่องหมาย หรอเคร่องแต่งกายนักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดย
ไม่มีสิทธิท่ีจะใชหรอแสดงดวยประการใด ๆ วา่ ตนมีตำแหน่ง ปริญญา ประกาศนียบัตร

(๔๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

บณั ฑิตชนั้ สูง ประกาศนียบัตรบณั ฑติ อนปุ รญิ ญา หรอประกาศนยี บัตรของมหาวิทยาลยั โดยท่ี
ตนไม่มี ถาไดกระทำเพ่อใหบุคคลอ่น เช่อว่าตนมีสทิ ธิที่จะใชหรอมีตำแหน่ง หรอวิทยฐานะ
เช่นน้ัน ตองระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดอน หรอปรบั ไมเ่ กินหาหมน่ บาท หรอทง้ั จาทง้ั ปรับ

มาตรา ๖๒ ผูใด
(๑) ปลอม หรอทาเลียนแบบซ่ึงตรา เครอ่ งหมาย หรอสญั ลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
หรอสว่ นราชการ ของมหาวทิ ยาลัยไมว่ า่ จะทาเป็นสีใด หรอทาดวยวธิ ีใดๆ
(๒) ใชตรา เคร่องหมาย หรอสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยหรอส่วนราชการของ
มหาวิทยาลยั ปลอม หรอซ่ึงทาเลียนแบบ หรอ
(๓) ใช หรอทาใหปรากฏซึ่งตรา เคร่องหมาย หรอสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
หรอส่วนราชการ ของมหาวิทยาลัยที่วัตถุหรอสินคาใดๆ โดยไม่ไดรับอนุญาตจาก
มหาวิทยาลัย
ตองระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหน่งึ ปี หรอปรบั ไม่เกนิ หนึ่งแสนบาท หรอทง้ั จำทง้ั ปรบั
ถาผูกระทำความผิดตาม (๑) เป็นผูกระทำความผิดตาม (๒) ดวย ใหลงโทษตาม
(๒) แต่กระทงเดยี ว ความผิดตาม (๓) เปน็ ความผิดอนั ยอมความได

บทเฉพาะกาล
-------------------

มาตรา ๖๓ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิ ภาระผูกพันท้ังปวง
ขาราชการ ลูกจาง อัตรากำลัง เงนิ งบประมาณ และรายไดของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไปเป็นของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล แต่ละแห่งตามพระราชบัญญัติน้ี ทั้งนี้ ตามรายการที่รัฐมนตรี
ป ร ะ ก า ศ ก ำ ห น ด โ ด ย ต อ ง ด ำ เน ิน ก า ร ใ ห แ ล ว เ ส ร ็จ ภ า ย ใน ห นึ ่ง ร อ ย ยี ่ส ิบ ว ัน น ับ แ ต ่ว ัน ท่ี
พระราชบญั ญัตินีใ้ ชบังคับ

ให ข า รา ช ก า ร ซึ ่งโอ น ไป ต า ม ว ร ร ค ห นึ ่งเป ็น ข า ร า ช ก า ร พ ล เร อ น ใน
สถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมาย ว่า ดวยระเบียบขาราชการพลเรอนในสถาบันอดุ มศึกษา
โดยในระยะเร่ิมแรกใหขาราชการดงั กลา่ วยงั คงดารง ตาแหน่งและรบั เงินเดอน ตลอดจนไดรับ
สิทธิประโยชน์เช่นเดิมต่อไป จนกว่าจะไดรับแต่งต้ังใหดารงตาแหน่ง ตามกฎหมายว่าดวย
ระเบียบขาราชการพลเรอนในสถาบนั อุดมศกึ ษา

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๔๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๖๔ ใหส่วนราชการท่ีจัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการซึ่งตรา
ขึ้นตามขอ ๒๓ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๑๖ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ ส่วนราชการที่จัดต้ังขึ้นตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงตราข้ึนตาม
มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ และส่วนราชการ
ท่ีจัดต้ังข้นึ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงตราขึ้นตามมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่มีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา คงมีอยู่ต่อไป จนกว่าจะมีการออกกฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่ง ซงึ่ ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติน้ี
ท้งั นี้ ตองไมเ่ กินหน่งึ รอยแปดสิบวนั นับแตว่ ันทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ้ี ใชบังคบั

มาตรา ๖๕ ภายใตบังคับมาตรา ๖๓ และมาตรา ๖๔ ใหมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลตาม มาตรา ๕ ประกอบดวยสว่ นราชการ ดังต่อไปน้ี

(๑) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ประกอบดวย สถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล จังหวัดปทุมธานี และวิทยาเขตปทมุ ธานี

(๒) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ประกอบดวย วิทยาเขตเทคนิค
กรุงเทพฯ วทิ ยาเขต บพิตรพิมขุ มหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต

(๓) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบดวย วิทยาเขตจักรพงษ
ภูวนารถ วทิ ยาเขต อุเทนถวาย วิทยาเขตบางพระ จงั หวัดชลบุรี วิทยาเขตจันทบุรี และ
คณะเกษตรศาสตร์บางพระ จงั หวดั ชลบุรี

(๔) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประกอบดวย วิทยาเขตเทเวศร์
วิทยาเขตโชติเวช วิทยาเขตพณิชยการพระนคร วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และวิทยาเขต
พระนครเหนอ

(๕) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ประกอบดวย วิทยาเขตเพาะช่าง
วิทยาเขตบพิตรพิมขุ จกั รวรรดิ วทิ ยาเขตศาลายา และวิทยาเขตวังไกลกงั วล

(๖) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ประกอบดวย วิทยาเขตภาคพายัพ
จังหวัดเชียงใหม่ วิทยาเขตนา่ น วิทยาเขตลำปาง วิทยาเขตเชียงราย วิทยาเขตตาก
วทิ ยาเขตพษิ ณโุ ลก และสถาบันวจิ ัยและ ฝกึ อบรมการเกษตรลาปาง

(๗) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ประกอบดวย ว ิท ย า เข ต ภ า ค ใต
จังหวัดสงขลา วิทยาเขตนครศรธี รรมราช วิทยาเขตศรีวิชัยจังหวัดนครศรีธรรมราช คณะ

(๕๐) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เกษตรศาสตรน์ ครศรธี รรมราช และ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการประมง จงั หวัดตรงั
(๘) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประกอบดวย วทิ ยาเขตนนทบุรี

วิทยาเขต พระนครศรีอยุธยา วาสุกรี วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา และวิทยาเขต
สุพรรณบรุ ี

(๙) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ประกอบดวย วิทยาเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอ จังหวัดนครราชสีมา วิทยาเขตสุรินทร์ วิทยาเขตขอนแก่น
วิทยาเขตกาฬสินธ์ุ วิทยาเขตสกลนครและสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร

ใหสภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกำหนดท่ีต้ังของสำนักงานอธิการบดี โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา

มาตรา ๖๖ ใหผูดารงตาแหน่งนายกสภาสถาบัน อุปนายกสภาสถาบัน
และกรรมการสภาสถาบัน ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๑๘ อยู่ในวันท่ี พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ปฏิบัติหนาท่ีนายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่งตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไป
จนกว่าจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ และมีการเลอกกรรมการสภามหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่ง แลวแต่กรณี ตามพระราชบัญญัติน้ี ท้ังนี้ ตองไม่เกินหนึ่ง
รอยแปดสบิ วันนับแตว่ นั ทีพ่ ระราชบัญญัตินใ้ี ชบังคับ

มาตรา ๖๗ ใหผูดารงตาแห น่งอธิการบดี คณ บดี ผูอานวยการสถาบัน
ผูอานวยการสำนกั และ หวั หนาภาควิชาของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ อยู่ในวันทพ่ี ระราชบัญญัตินี้ประกาศในราช
กจิ จานุเบกษา รักษาการในตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งต้ังผูดำรง ตำแหนง่ ดังกล่าวขึ้น
ใหม่ ทง้ั น้ี ตองไมเ่ กนิ หนึ่งรอยแปดสบิ วนั นับแตว่ นั ท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบงั คบั

ใหผดู ำรงตำแหน่งรองอธิการบดี รองคณบดี รองผูอำนวยการสถาบัน และรอง
ผูอำนวยการสำนัก ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญ ญัติสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
รักษาการในตำแหน่งต่อไปจนกว่าผูดำรงตำแหน่งอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบันและ
ผูอานวยการสำนกั ตามวรรคหน่ึงจะพนจากตาแหนง่

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๕๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๖๘ การนับวาระการดำรงตำแหน่งของอธิการบดี คณบดี ผูอานวยการ
สถาบัน ผูอานวยการ สานัก และหัวหนาภาควิชา ใหนับวาระการดำรงตาแหน่งตาม
พระราชบัญญัตนิ ีเ้ ปน็ วาระแรก

มาตรา ๖๙ ใหผูดำรงตำแหน่งประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการ
ประจำคณะ คณะกรรมการประจำสถาบันและคณะกรรมการประจำสำนักของสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล ตามพระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘อยู่ในวันท่ี
พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงปฏิบัติ หนาท่ีต่อไปจนกว่าจะไดมี
คณะกรรมการประจำคณะ คณะกรรมการประจำสถาบันและคณะกรรมการประจำ สำนักตาม
พระราชบญั ญตั ินี้ ทง้ั นี้ ตองไม่เกนิ หนึง่ รอยแปดสบิ วันนบั แต่ วันทพี่ ระราชบัญญัตินใี้ ชบังคบั

มาตรา ๗๐ ใหผดู ารงตาแหน่งผูอานวยการวทิ ยาเขตตามกฎหมายว่าดวยระเบียบ
ขาราชการครู และประธานกรรมการ และกรรมการบริหารวิทยาเขตของสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคลตามประกาศสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล ลงวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ อยู่ใน
วันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงปฏิบัติหนาท่ีต่อไปจนกว่าจะมีการ
แต่งตั้งผูดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีประจาวิทยาเขตและคณะกรรมการ ประจำวทิ ยาเขตตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี ทั้งนี้ ตองไม่เกินหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตว่ ันที่ พระราชบัญญัตนิ ี้ใชบังคับ
เวนแต่กรณียังไม่มีการออกกฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการซ่ึงออกโดยอาศัยอำนาจ ตาม
พระราชบัญญตั ินี้

มาตรา ๗๑ ภายใตบังคับมาตรา ๖๗ ในระหว่างที่ยังไม่มีสภาวิชาการตาม
มาตรา ๑๙ ใหมีสภา วิชาการ ประกอบดวย อธิการบดีเป็นประธานสภาวิชาการ รอง
อธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นรองประธานสภา วิชาการ รองอธิการบดี คณบดี และคณาจารย์
ประจำซ่ึงอธิการบดีแต่งต้ังจำนวนหกคนเป็นกรรมการสภา วิชาการ และผูอานวยการสำนัก
บริการทางวชิ าการและทดสอบเป็นเลขานุการสภาวิชาการ ทำหนาท่ีสภาวิชาการ ของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแหง่ ตามพระราชบัญญตั ิน้ี จนกว่าจะมีการแต่งต้ัง
สภาวิชาการ ของ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่งตามพระราชบัญญัติน้ี ท้ังนี้
ตองไมเ่ กินหน่ึงรอยแปดสิบวันนบั แต่ วันทพี่ ระราชบัญญตั นิ ี้ใชบงั คบั

มาตรา ๗๒ ภายใตบงั คบั มาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ ในระหว่างท่ียังไม่มีอธิการบดี
เป็น ผูบังคับบัญชาและรบั ผิดชอบการบรหิ ารงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละ
แห่งตามมาตรา ๒๔ ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง

(๕๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ทำหนาท่ีรักษาการในตำแหน่งอธิการบดี ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่งเป็น
การช่ัวคราว จนกว่าจะมีการแต่งต้ังผูดำรงตำแหน่งดังกล่าวขึ้นใหม่ ท้งั น้ี ตองไม่เกินหน่ึงรอย
แปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เวนแต่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบรุ ีใหแต่งตั้งผดู ำรงตำแหน่งอธิการบดีตามมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง เป็นผูรักษาการใน
ตาแหนง่ อธกิ ารบดี

มาตรา ๗๓ ใหผูซ่ึงเป็นศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์พิเศษ รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์ ผูช่วยศาสตราจารย์พิเศษ และอาจารย์
ประจาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตาม พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๑๘ อยู่ในวนั ทพ่ี ระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา มฐี านะเป็นศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์พิเศษ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์ ผูช่วย
ศาสตราจารย์พิเศษ และอาจารยป์ ระจามหาวิทยาลัยต่อไปตามพระราชบัญญัตนิ ี้

ใหผูซึ่งเป็นอาจารย์พิเศษของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เป็น
อาจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยต่อไป ตามพระราชบัญญัตินี้จนครบกาหนดเวลาที่ไดรับ
แต่งตงั้

มาตรา ๗๔ ใหผูไดรับประกาศนียบัตรช้ันสูงตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นผไู ดรับประกาศนียบตั รบัณฑติ ตามพระราชบัญญตั นิ ี้

มาตรา ๗๕ ในระหว่างท่ียังไม่มีพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ขอบังคับ
ประกาศและระเบียบ เพ่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ีใหนำพระราชกฤษฎีกา
ขอบังคับ ประกาศและระเบียบ ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๑๘ ที่ใชอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษามาใชบังคับ
โดยอนโุ ลม

ในกรณีที่มีปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติการ อานาจหนาที่ของผูดำรงตำแหน่ง หรอ
หน่วยงานตา่ ง ๆ ตามที่กำหนดไวในบทเฉพาะกาลนี้ ใหรัฐมนตรีเป็นผูมอี านาจตีความและ
วนิ ิจฉยั ช้ขี าด

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
วิษณุ เครองาม

รองนายกรัฐมนตรี

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๕๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คอ โดยที่มาตรา ๓๖
แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติใหสถานศึกษาของรัฐที่จัด
การศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล เพ่อใหสถานศึกษาของรัฐดำเนนิ กิจการไดโดยอิสระ
สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการจัดการที่เป็นของ ตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทาง
วิชาการและอยู่ภายใตการกากบั ดูแลของสภาสถานศึกษา ดังนั้น สมควรจัดต้ัง มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล จำนวน ๙ แห่ง ขึ้นแทนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เพ่อให
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐดานวิชาชีพและเทคโนโลยีทม่ี ี
วัตถุประสงค์ใหการศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชนั้ สูงท่ีมุ่งเนนการปฏิบัติ ทำการสอน
ทาการวิจัย ผลติ ครูวชิ าชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ
ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยใหผสู ำเร็จการอาชีวศกึ ษา มีโอกาสในการศึกษาต่อดาน
วชิ าชีพเฉพาะทางระดับปรญิ ญาเปน็ หลกั จึงจาเป็นตองตราพระราชบัญญัตนิ ี้

(๕๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

พระราชกฤษฎกา
ว่าดว้ ยปรญิ ญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครยุ วิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ

และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยราชมงคลกรงุ เทพ
พ.ศ. ๒๕๕๑

---------------------
ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
เปน็ ปีท่ ๖๓ ในรัชกาลปจั จุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา่

โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา
ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
กับมาตรา ๕๕ วรรคสอง และมาตรา ๕๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาขึ้น
ไว ดงั ตอ่ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาว่าดวยปริญญาใน
สาขาวิชาอักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่ง
ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๕๑”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกาน้ีใหใชบังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา เป็นตนไป

มาตรา ๓ ใหกาหนดปริญญาในสาขาวิชา และอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ดงั นี้

(๑) สาขาวิชาครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มีปริญญาสามช้นั คอ
(ก) เอก เรยี กว่า “ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบณั ฑติ ” ใชอักษรย่อ

“ค.อ.ด.” และ“ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑติ ” ใชอกั ษรย่อ “ปร.ด.”

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๕๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(ข) โท เรยี กวา่ “ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ่ “ค.อ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กว่า “ครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมบัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “ค.อ.บ.”
(๒) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มีปริญญาสามช้ัน คอ
(ก) เอก เรียกว่า “คหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “คศ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกว่า “คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ ” ใชอักษรย่อ “คศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กว่า “คหกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “คศ.บ.”
(๓) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปรญิ ญาหนึ่งช้ัน คอ ตรี เรียกวา่ “เทคโนโลยีบัณฑิต” ใช
อกั ษรยอ่ “ทล.บ.”
(๔) สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ มปี ริญญาสามชั้น คอ
(ก) เอก เรียกว่า “บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “บธ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ ” ใชอักษรยอ่ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกว่า “บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “บธ.ม.”
(ค) ตรี เรียกว่า “บริหารธรุ กิจบณั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “บธ.บ.”
(๕) สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ มีปรญิ ญาสามชน้ั คอ
(ก) เอก เรียกว่า “วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “วท.ด.” และ
“ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา่ “วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรย่อ “วท.ม.”
(ค) ตรี เรยี กว่า “วทิ ยาศาสตรบัณฑติ ” ใชอักษรย่อ “วท.บ.”
(๖) สาขาวชิ าวศิ วกรรมศาสตร์ มีปริญญาสามช้ัน คอ
(ก) เอก เรียกวา่ “วศิ วกรรมศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ่ “วศ.ด.”
และ “ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา่ “วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “วศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา่ “วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “วศ.บ.”
(๗) สาขาวชิ าศิลปศาสตร์ มปี ริญญาสามชัน้ คอ
(ก) เอก เรียกว่า “ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ศศ.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา่ “ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอักษรยอ่ “ศศ.ม.”

(๕๖) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ค) ตรี เรียกว่า “ศิลปศาสตรบณั ฑิต” ใชอักษรย่อ “ศศ.บ.”
(๘) สาขาวิชาอตุ สาหกรรมศาสตร์ มปี ริญญาสามชน้ั คอ

(ก) เอก เรียกว่า “อุตสาหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “อส.ด.”
และ “ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “ปร.ด.”

(ข) โท เรยี กวา่ “อุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” ใชอกั ษรยอ่ “อส.ม.”
(ค) ตรี เรยี กวา่ “อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “อส.บ.”
ทง้ั นี้ หากมสี าขาหรอวชิ าเอกใหระบชุ อ่ สาขาหรอวิชาเอกนัน้ ไวในวงเลบ็ ต่อทายปริญญาดวย
มาตรา ๔ ครุยวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีสามชั้น
ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) ครุยดุษฎีบัณฑิต เป็นเส้อคลุมแขนยาวทาดวยผาโปร่งสีขาว ผ่าอก
ตลอด ยาวคลุมเข่ามีสารดรอบขอบ สารดตนแขน และสารดปลายแขน ดังตอ่ ไปนี้

(ก) สารดรอบขอบ พ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบทองกวาง ๑ เซนติเมตร ท่ีริมท้ังสองขาง เวนระยะห่าง ๒.๓ เซนติเมตร ทั้ง
สองขาง ทาบแถบทองกวาง ๐.๗ เซนติเมตร ตอนกลางสารดมีแถบผามันตามสีประจาคณะ
กวาง ๑.๓ เซนติเมตร และมีตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยทาดวยโลหะสีเงิน สูง ๖ เซนติเมตร
ติดบนสารดรอบขอบดานหนาอกท้งั สองขาง

(ข) สารดตนแขน แบ่งเป็น ๓ ตอน ระยะห่างตอนละ ๑.๕ เซนติเมตร
แต่ละตอนกวาง ๖.๕ เซนติเมตร พ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ท่ีริมท้ังสองขางตอนกลางสารดมีแถบผามันตามสีประจาคณะ กวาง ๑.๓
เซนตเิ มตร

(ค) สารดปลายแขน พ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร มีแถบทองกวาง ๑ เซนติเมตร ท่ีริมท้ังสองขาง เวนระยะห่าง ๒.๓ เซนติเมตร ท้ัง
สองขาง ทาบแถบทองกวาง ๐.๗ เซนติเมตร ตอนกลางสารดมีแถบผามันตามสีประจาคณะ
กวาง ๑.๓ เซนตเิ มตร

(๒) ครุยมหาบัณฑิต เช่นเดียวกับครุยดุษฎีบัณฑิต เวนแต่มีสารดตนแขน
๒ ตอน

(๓) ครุยบณั ฑิต เช่นเดยี วกบั ครุยมหาบณั ฑิต เวนแตม่ ีสารดตนแขน ๑ ตอน

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๕๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๕ เข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีลักษณะเป็น
รูปตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยทาดวยโลหะดุนนูนสีทอง ส่วนพ้นของพระราชลัญจกรและ
ดอกบัวลงยาสีน้าเงิน สว่ นพน้ ของช่อมหาวทิ ยาลยั ลงยาสีขาว สูง ๖ เซนตเิ มตร

มาตรา ๖ ครุยประจาตาแหน่งและเคร่องหมายประกอบครุยประจาตาแหน่งของ
นายกสภามหาวทิ ยาลยั กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั และคณาจารย์มหาวิทยาลัย มดี ังตอ่ ไปน้ี

(๑) นายกสภามหาวิทยาลัย ครุยเป็นเส้อคลุมแขนยาวทาดวยผาโปร่งสีขาว ผ่า
อกตลอดยาวคลุมเขา่ มีสารดรอบขอบ สารดตนแขน และสารดปลายแขน ดงั ตอ่ ไปน้ี

(ก) สารดรอบขอบ พ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐
เซนติเมตร โดยทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร จานวน ๖ แถบ บนผาสักหลาดสีเขียว มี
ระยะห่างระหว่างแถบ ๐.๘ เซนติเมตร มีสารดเฉียงโดยพ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว
กวาง ๑๐ เซนติเมตร วางเฉียง๓๖ องศา ทาบบนสารดรอบขอบบริเวณกลางอกเส้อ มีแถบ
ทอง กวาง ๑ เซนติเมตร ท่ีริมทั้งสองขางแบ่งครึ่งผาสักหลาดสีเขียวท่ีเหลอ ๘ เซนติเมตร
ทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร บนผาสักหลาดสีเขยี ว ณ จุดแบ่งครงึ่ ขางละ ๑ แถบ รวม ๒
แถบ และใชแถบทอง กวาง ๐.๕ เซนติเมตร ทาบบนผาสักหลาดสีเขยี วส่วนทีเ่ หลอท้ังสองขาง
มตี ราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ทาดวยโลหะสีทอง สูง ๖ เซนติเมตร ติดกลางสารดเฉยี งทั้งสอง
ขาง

(ข) สารดตนแขน แบ่งเป็น ๓ ตอน ระยะห่างตอนละ ๒ เซนติเมตร แต่
ละตอนกวาง ๓.๕ เซนติเมตร พ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนตเิ มตร ทร่ี มิ ทง้ั สองขาง

(ค) สารดปลายแขน แบ่งเป็น ๓ ตอน ระยะห่างตอนละ ๒ เซนติเมตร
แต่ละตอนกวาง ๓.๕ เซนติเมตร พ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว มีแถบทอง กวาง ๑
เซนติเมตร ทร่ี ิมท้ังสองขางใหมีสายสรอยประกอบครยุ ประจาตาแหนง่ นายกสภามหาวทิ ยาลัย
ทาดวยโลหะสีทองประกอบดวยรูปดอกไมทิพย์ ๙ ดอก มีเกสรเป็นพลอยสีเขียว ก่ึงกลาง
สายสรอยประดับตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลยั ดุนนูนลงยา ยึดติดกับครุยประมาณร่องหวั ไหล่

(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับนายกสภามหาวิทยาลัย แต่ไม่มี
สายสรอยประดับ

(๓) คณาจารย์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับกรรมการสภามหาวิทยาลัย เวนแต่สารด
รอบขอบพ้นสารดทาดวยผาสักหลาดสีเขียว กวาง ๑๐ เซนติเมตร มีแถบทอง กวาง ๑

(๕๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เซนติเมตร ท่ีรมิ ท้ังสองขางเวนระยะห่าง ๐.๕ เซนติเมตร ทั้งสองขาง ทาบแถบทอง กวาง ๐.๗
เซนติเมตร เวนระยะห่าง ๐.๕ เซนติเมตร ท้ังสองขาง ทาบแถบทอง กวาง ๑ เซนติเมตร บนผา
สักหลาดสีเขียว ส่วนท่ีเหลอท้ังสองขางมีตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยทาดวยโลหะสีทอง สูง ๖
เซนติเมตร ติดบนสารดรอบขอบดานหนาอกท้งั สองขาง

มาตรา ๗ สีประจาคณะ มดี งั ต่อไปน้ี
(๑) คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม สีทับทมิ แดง
(๒) คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ สชี มพู
(๓) คณะบรหิ ารธรุ กิจ สีฟา้
(๔) คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สเี หลอง
(๕) คณะวิศวกรรมศาสตร์ สีเลอดหมู
(๖) คณะศลิ ปศาสตร์ สีแสด
(๗) คณะอุตสาหกรรมส่งิ ทอ สีมว่ ง

มาตรา ๘ ใหมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพจดั ทาครุยวิทยฐานะ
เขม็ วิทยฐานะและครุยประจาตาแหน่งตามพระราชกฤษฎกี าน้ีข้นึ ไวเป็นตวั อย่าง

มาตรา ๙ ใหรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชกฤษฎกี านี้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

สมชาย วงศส์ วัสดิ์
(นายสมชาย วงศ์สวสั ด)์ิ

นายกรฐั มนตรี

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๕๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

พระราชกฤษฎกา
วา่ ด้วยปรญิ ญาในสาขาวิชา อกั ษรย่อสาหรับสาขาวิชา
ครยุ วทิ ยฐานะัเข็มวิทยฐานะัและครยุ ประจาตาแหนง่
ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยราชมงคลกรงุ เทพั(ฉบับท่ั๒)

พ.ศ.๒๕๕๕
---------------------

ภมู พิ ลอดุลยเดชัป.ร.
ให้ไว้ัณัวันทั่ ๖ักรกฎาคมัพ.ศ. ๒๕๕๕

เป็นปีท่ั๖๗ัในรชั กาลปัจจบุ ัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหประกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาว่าดวยปริญญาในสาขาวิชา
อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะและครุยประจาตาแหน่งของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

อ า ศั ย อ า น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า ๑ ๘ ๗ ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง
ราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๕๕ วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคล พ.ศ.๒๕๔๘ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชกฤษฎกี าขึน้ ไว ดังตอ่ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาวา่ ดวยปริญญาในสาขาวิชา
อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่ง ของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๕”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจา
นุเบกษาเปน็ ตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในมาตรา ๓ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าดวยปริญญาใน
สาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่ง
ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ พ.ศ.๒๕๕๑ และใหใชความตอ่ ไปนีแ้ ทน

“มาตรา ๓ ใหกาหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ดงั ต่อไปนี้

(๖๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๑) สาขาวิชาการบัญชี มปี ริญญาสามชั้น คอ
(ก) เอก เรียกว่า “บัญชีดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “บช.ด.” และ “ปรัชญา

ดษุ ฎีบัณฑิต ใชอกั ษรยอ่ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกว่า “บญั ชมี หาบัณฑติ ” ใชอักษรยอ่ “บช.ม.”
(ค) ตรี เรียกว่า “บญั ชีบัญฑติ ” ใชอักษรย่อ “บช.บ.”

(๒) สาขาวชิ าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มีปริญญาสามชั้น คอ
(ก) เอก เรยี กวา่ “ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมดษุ ฎบี ัณฑติ ” ใชอกั ษร

“ค.อ.ด.” และ “ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต” ใชอักษรยอ่ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา่ “ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรย่อ

“ค.อ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา่ “ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมบัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “ค.อ.บ.”

(๓) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มปี รญิ ญาสามชั้น คอ
(ก) เอก เรียกว่า “คหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “คศ.ด.” และ

“ปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ ” ใชอักษร “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกว่า “คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ ” ใชอักษรยอ่ “คศ.ม.”
(ค) ตรี เรยี กว่า “คหกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอักษรย่อ “คศ.บ.”

(๔) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งชั้น คอ ตรี เรียกว่า “เทคโนโลยีบัณฑิต”
ใชอักษรย่อ “ทล.บ.”
(๕) สาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ มีปรญิ ญาสามช้นั คอ

(ก) เอก เรียกว่า “บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “บธ.ด.” และ
“ปรัชญาดุษฎีบัณฑติ ” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”

(ข) โท เรียกวา่ “บริหารธุรกิจมหาบณั ฑติ ” ใชอักษรยอ่ “บธ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา่ “บรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “บธ.บ.”
(๖) สาขาวทิ ยาศาสตร์ มปี รญิ ญาสามช้นั คอ
(ก) เอก เรียกว่า “วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “วท.ด.” และ
“ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกว่า “วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “วท.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา่ “วิทยาศาสตรบัณฑติ ” ใชอักษรย่อ “วท.บ.”

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๖๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๗) สาขาวิศวกรรมศาสตร์ มปี ริญญาสามชัน้ คอ
(ก) เอก เรียกว่า “วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “วศ.ด.” และ

“ปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา่ “วศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรย่อ “วศ.ม.”
(ค) ตรี เรียกวา่ “วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ ” ใชอักษรย่อ “วศ.บ.”

(๘) สาขาวิชาศลิ ปศาสตร์ มีปริญญาสามชัน้ คอ
(ก) เอก เรียกว่า “ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ศศ.ด.” และ

“ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ ” ใชอกั ษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกวา่ “ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ่ “ศศ.ม.”
(ค) ตรี เรียกว่า “ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ” ใชอกั ษรย่อ “ศศ.บ.”

(๙) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มปี ริญญาสามชน้ั คอ
(ก) เอก เรียกว่า “ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต” ใชอักษรย่อ “ศษ.ด.” และ

“ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ ” ใชอักษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรียกว่า “ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ่ “ศษ.ม.”
(ค) ตรี เรียกว่า “ศึกษาศาสตรบณั ฑิต” ใชอกั ษรยอ่ “ศษ.บ.”

(๑๐) สาขาวชิ าอุตสาหกรรมศาสตร์ มีปริญญาสามช้นั คอ
(ก) เอก เรียกวา่ “อุตสาหกรรมศาสตรดุษฎีบณั ฑติ ” ใชอักษรย่อ “อส.ด.”

และ “ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต” ใชอกั ษรย่อ “ปร.ด.”
(ข) โท เรยี กวา่ “อตุ สาหกรรมศาสตรมหาบัณฑติ ” ใชอักษรยอ่ “อส.ม.”
(ค) ตรี เรยี กว่า “อุตสาหกรรมศาสตรบณั ฑติ ” ใชอกั ษรย่อ “อส.บ.”
ทั้งนี้ หากมีสาขาหรอวิชาเอกใหระบุช่อสาขาหรอวิชาเอกนั้นไวในวงเล็บ

ตอ่ ทายปริญญาดวย”

ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ
ย่งิ ลักษณ์ ชนิ วัตร

(นางสาวยงิ่ ลกั ษณ์ ชนิ วัตร)
นายกรฐั มนตรี

(๖๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คอ เน่องจากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพไดเปิดสอนสาขาวิชาการบัญชีและสาขาวิชาศึกษาศาสตร์เพิ่มข้ึน
สมควรแกไขเพิ่มเติมการกาหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เพ่อกาหนดปริญญาในสาขาวิชาและ อักษรย่อ
สาหรบั สาขาวชิ าของสาขาวชิ าดงั กลา่ ว จงึ จาเปน็ ตองตราพระราชกฤษฎกี านี้

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๖๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวดการจดั การศกึ ษา

(๖๔) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ระดบั ปรญิ ญาตรี

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๖๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อบังคับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี
พ.ศ. ๒๕๕๐
-------------------------------------

ตามที่ได้มีพระราชบัญญัติจัดต้ังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพ่ือให้
การดาเนินการจัดการศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง
ไปมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึงเห็นควรจัดทาข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับ
ปรญิ ญาตรขี ึน้

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ และมติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในการ
ประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๐ เมื่อวันท่ี ๒๖ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงออกข้อบังคับไว้
ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ขอ้ บังคับน้ีเรียกว่า “ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา่ ด้วยการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐”

ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คบั นีใ้ ห้มีผลใชบ้ งั คับนบั แตว่ ันถดั จากวันประกาศเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ บรรดาความในข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรือประกาศอ่ืนใดในส่วนที่
กาหนดไวแ้ ลว้ ในขอ้ บังคบั นี้ หรอื ซง่ึ ขัดแย้งกบั ความในข้อบังคับนีใ้ ห้ใชค้ วามในข้อบงั คบั นแ้ี ทน
ขอ้ ๔ ในขอ้ บังคับนี้
“มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“คณะ” หมายความว่า ส่วนราชการระดับคณะหรือส่วนราชการทเ่ี รยี กช่ือเป็น
อยา่ งอน่ื แตม่ ีฐานะเทยี บเท่าคณะท่ีมกี ารจัดการเรยี นการสอน
“คณบดี” หมายความว่า หัวหน้าส่วนราชการระดับคณะ หรือหัวหน้าส่วน
ราชการที่เรียกชื่อเปน็ อยา่ งอ่นื แต่มฐี านะเทียบเทา่ คณะ ทีม่ กี ารจัดการเรียนการสอน

(๖๖) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

“นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ท่ีเข้ารับการศึกษาระดับปริญญาตรีใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

“คณะกรรมการประจาคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการประจาคณะของ
แต่ละ คณะในสังกดั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“ภาควิชา” หมายความว่า ภาควิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนใน แต่ละ
คณะและใหห้ มายรวมถึงหน่วยงานท่ีเรยี กชือ่ เปน็ อยา่ งอน่ื ที่มฐี านะเทียบเท่าภาควชิ า

“หัวหน้าภาควิชา” หมายความว่า หัวหน้าภาควิชาท่ีมีการจัดการเรียนการ
สอนในแต่ละคณะ และให้หมายความรวมถึงหัวหน้าหน่วยงานท่ีเรียกช่ือเป็นอย่างอื่น ที่มีฐานะ
เทยี บเท่าภาควิชา

“แผนการเรียน” หมายความว่า แผนการจัดการเรียนการสอนในแต่ละภาค
การศึกษาของแตล่ ะหลักสูตรท่ไี ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลัย

“อาจารย์ท่ีปรึกษา” หมายความว่า อาจารย์ประจาในคณะ ซ่ึงคณบดี
มอบหมายให้ทาหน้าทใี่ ห้คาแนะนาปรึกษา ตดิ ตามผลเกี่ยวกับการศึกษา ตักเตือนและดูแลความ
ประพฤติตลอดจนรบั ผดิ ชอบดูแลแผนการเรยี นของนักศึกษา

“อาจารย์ผู้สอน” หมายความว่า ผู้ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบสอนรายวิชาในระดับ
ปรญิ ญา

ขอ้ ๕ ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับน้ี และมีอานาจวินิจฉัยตีความ
ตลอดจนออกประกาศเพ่ือให้การปฏิบตั ติ ามข้อบังคับนเี้ ป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทั้งน้ี คาวนิ จิ ฉัย
ให้ถือเป็นทีส่ ุด

หมวดท่ี ๑
การรับเข้าศึกษา
ขอ้ ๖ ผทู้ จี่ ะสมคั รเข้าเป็นนกั ศกึ ษาตอ้ งมคี ุณสมบัตแิ ละลักษณะดงั น้ี
(๑) เป็นผู้มคี ุณวฒุ กิ ารศึกษาตามทกี่ าหนดไว้ในหลกั สตู ร
(๒) ไมเ่ ป็นคนวกิ ลจรติ หรือโรคตดิ ตอ่ ร้ายแรง โรคท่ีสงั คมรงั เกียจ หรือโรค
ทีจ่ ะเปน็ อุปสรรคตอ่ การศึกษา
(๓) ไม่เปน็ ผมู้ คี วามประพฤติเสอ่ื มเสยี อยา่ งรา้ ยแรง

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๖๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ้ ๗ การคั ดเลือกผู้สมั ครเข้าเป็ น นั กศึกษ าให้ เป็ น ไป ต ามระเบี ยบ
การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาของมหาวิทยาลัย หรือการคัดเลือกตามวิธีการท่ี
มหาวิทยาลัยกาหนด

ข้อ ๘ ผู้ท่ีผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา จะมีสถานภาพเป็นนักศึกษาเม่ือได้ข้ึน
ทะเบียน และชาระเงินค่าลงทะเบียนเรียน และค่าธรรมเนียมตามประกาศของมหาวิทยาลัย
พร้อมนาส่งหลักฐานเก่ียวกับการขอขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาด้วยตนเองตามวัน เวลา และ
สถานทที่ ี่มหาวทิ ยาลยั กาหนด

หากผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาไม่มาข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาเป็นอัน
หมดสิทธ์ิท่ีจะเข้าเป็นนักศึกษา เว้นแต่จะมีเหตุจาเป็นและได้รับอนุมัติจากอธิการบดีหรือผู้ได้รับ
มอบหมาย

นั ก ศึ ก ษ า ท่ี ขึ้ น ท ะ เบี ย น แ ล้ ว ต้ อ ง ท า บั ต ร ป ร ะ จ า ตั ว นั ก ศึ ก ษ า ข อ ง
มหาวทิ ยาลยั ทุกคน

หมวดที่ ๒
ระบบการศึกษา
ขอ้ ๙ มหาวทิ ยาลยั จัดระบบการศกึ ษาตามเกณฑ์ ดังนี้
(๑) มหาวิทยาลยั จดั การศึกษาโดยการประสานงานด้านวิชาการระหว่างคณะ
หรอื ภาควิชาคณะใดหรอื ภาควิชาใด ท่ีมหี น้าทีเ่ กี่ยวกบั วชิ าการดา้ นใด ให้จัดการศกึ ษาในวชิ าการ
ด้านน้นั แกน่ ักศกึ ษาทุกคนทั้งมหาวิทยาลัย
(๒) มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาภาคการศึกษาปกติโดยใช้ระบบทวิภาค เป็น
หลัก ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาซึ่งเป็นภาคการศึกษาบังคับ
แบ่งออกเป็นภาคการศึกษาท่ีหน่ึง และภาคการศึกษาท่ีสอง มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้า
สปั ดาหต์ ่อหน่ึงภาคการศึกษา ทั้งนี้ไมร่ วมเวลาสาหรับการสอบด้วย สาหรับวันเปดิ ภาคการศกึ ษา
ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั
(๓) มหาวิทยาลัยอาจเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อนเพ่ิมเป็นภาคการศึกษาท่ีไม่
บังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ทั้งนี้ไม่รวมเวลาสาหรับการสอบด้วย แต่ให้มี
จานวนช่วั โมงเรียนของแต่ละรายวชิ าเท่ากับหนึง่ ภาคการศกึ ษาปกติ

(๖๘) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๔) การกาหนดปริมาณการศึกษาของแต่ละรายวิชาให้กาหนดเป็นหน่วยกิต
ตามลักษณะการจดั การเรียนการสอน ดงั น้ี

(ก) รายวชิ าภาคทฤษฎี ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหา ๑ ชั่วโมงต่อ
สัปดาห์ ตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติ หรือจานวนช่ัวโมงรวมไมน่ ้อยกว่า ๑๕ ช่ัวโมง ให้นับเป็น
หนึง่ หน่วยกิต

(ข) รายวิชาภาคปฏิบัติ ใช้เวลาฝึกหรือทดลอง ๒ – ๓ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์
ตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติ หรือจานวนช่ัวโมงรวม ระหว่าง ๓๐ – ๔๕ ช่ัวโมง ให้นับเป็นหนึ่ง
หนว่ ยกิต

(ค) การฝึกงาน หรือการฝึกภาคสนามที่ใช้เวลาฝึกไมน่ ้อยกวา่ ๔๕ ชั่วโมง
ตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ ให้นบั เปน็ หนงึ่ หน่วยกิต

(ง) การทาโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามที่ได้รับมอบหมายที่
ใช้เวลาทาโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษาปกติ ให้นับเป็น
หนึง่ หนว่ ยกติ

(จ) การศึกษาบางรายวิชาที่มีลักษณะเฉพาะ มหาวิทยาลัยอาจกาหนด
หนว่ ยกิต โดยใช้หลกั เกณฑอ์ น่ื ไดค้ วามเหมาะสม

(๕) นักศึกษาต้องมีเวลาศึกษาในแต่ละรายวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศึกษา จึงจะมีสทิ ธ์ิสอบในรายวิชานน้ั กรณีทเี่ วลาศกึ ษาไมถ่ ึงรอ้ ยละ
แปดสิบอันเนื่องมาจากเหตุสุดวิสัยจะต้องได้รับอนุญาตจากอาจารย์ผู้สอนประจารายวิชานั้นและ
รายงานให้คณบดีทราบ

หมวดที่ ๓
การลงทะเบียนเรยี น
ขอ้ ๑๐ นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย
กาหนด ดงั น้ี
(๑) นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนในรายวชิ าท่ีกาหนด ในแต่ละภาคการศึกษา
ใหเ้ สรจ็ ก่อนวนั เปดิ ภาคการศกึ ษาน้ัน หรือตามระยะเวลาที่มหาวทิ ยาลยั กาหนด
(๒) การลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่
ปรึกษา และเป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรและข้อกาหนดของคณะที่นักศึกษาสังกัด หาก
ฝ่าฝนื จะถือวา่ การลงทะเบยี นเรยี นดงั กล่าวเปน็ โมฆะ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๖๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๓) การลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะต้อง
ลงทะเบียนเรียนไม่ต่ากว่า ๙ หน่วยกิต แต่ไม่เกิน ๒๒ หน่วยกิต สาหรับภาคการศึกษา
ฤดูร้อนลงทะเบียนได้ไม่เกิน ๙ หน่วยกิต ยกเว้นในกรณีที่แผนการเรียนของหลักสูตรไดก้ าหนดไว้
เปน็ อยา่ งอ่ืน ให้ปฏบิ ตั ิตามแผนการเรยี นทกี่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตรนนั้

(๔) การลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติทีม่ ีจานวน หน่วยกิตมากกว่า ๒๒
หน่วยกิต แต่ไม่เกิน ๒๕ หน่วยกิตหรือน้อยกว่า ๙ หน่วยกิต ต้องขออนุมัติคณบดีและได้เพียง
หนง่ึ ภาคการศึกษา ยกเวน้ ภาคการศกึ ษาสุดท้ายทน่ี ักศึกษาจะสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร และ
มหี น่วยกิตเหลืออยู่ไม่เกิน ๒๕ หน่วยกิต หรือน้อยกว่า ๙ หน่วยกิต อาจขออนุมัติคณบดีเป็นการ
เฉพาะราย ได้อกี หน่ึงภาคการศึกษาปกติ

(๕) นกั ศึกษาในรายกรณีเป็นสหกจิ ศึกษา นักศกึ ษาฝึกงานในสถานประกอบการ
และนักศึกษาฝึกประสบการณ์การสอนในสถานศึกษา อนุญาตให้ลงทะเบียนเรียน ๖ หน่วยกิต
ในภาคการศึกษานน้ั ได้

(๖) นักศึกษาท่ีได้ลงทะเบียนเรียนก่อนวันเปิดภาคการศึกษาแล้ว แต่มีประกาศ
ภายหลังว่าพ้นสภาพเนอ่ื งจากผลการเรียนในภาคการศึกษาก่อน ให้ถอื ว่าผลการลงทะเบียนเรียน
ในภาคการศึกษาถัดมาเป็นโมฆะ ไม่มีผลผูกพันมหาวิทยาลัย และนักศึกษามีสิทธ์ิขอคืนเงินค่า
บารงุ การศกึ ษา ค่าลงทะเบียน ค่าธรรมเนยี มการศึกษาซ่ึงไดช้ าระในภาคการศึกษาที่เปน็ โมฆะ

(๗) สาหรับภาคการศึกษาปกติ หรือภาคการศึกษาฤดูร้อน นักศึกษาต้อง
ลงทะเบียนเรียนและชาระเงินตามระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
และชาระเงินหลังวันที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ จะต้องชาระเงินค่าธรรมเนียมเพ่ิมเติมเป็นค่าปรับ
ตามประกาศมหาวิทยาลัย

ในภาคการศึกษาปกติหากนักศึกษาไม่ลงทะเบียนเรียนและไม่ชาระเงิน
มหาวิทยาลัยจะถอนชอื่ นักศึกษาผู้นน้ั ออกจากทะเบียนนักศกึ ษา

(๘) ในภาคการศึกษาปกติ หากนักศึกษาไม่ได้ลงทะเบียนเรียน และประสงค์จะ
ขอรักษาสภาพการเปน็ นักศกึ ษาเพื่อลาพกั การศึกษา หรือการขอปรบั คา่ ระดับ ม.ส. (I) คะแนนให้
ย่ืนคาร้องต่อคณบดี เมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้นาคาร้องไปยื่นต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียน ภายในสามสิบวันนับจากวันเปิดภาคการศึกษานั้น และต้องชาระเงินค่าธรรมเนียมเพ่ือ
รักษาสภาพเป็นนักศึกษาหรือค่าการปรับระดับคะแนน หากไม่ปฏิบัติดังกล่าวมหาวิทยาลัยจะ
ถอนชอื่ นกั ศกึ ษาผนู้ ้นั ออกจากทะเบยี นนักศึกษา

(๗๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๙) สาหรับภาคการศึกษาฤดูร้อนนักศึกษาจะต้องลงทะเบียนและชาระเงนิ ตาม
ระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด หากไม่ปฏิบัติดังกล่าว นักศึกษาไม่มีสิทธิ์เข้าศึกษาและถือว่า
การลงทะเบยี นเรียนในภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ นนน้ั เป็นโมฆะ

(๑๐) ให้อธิการบดีมีอานาจอนุมัติให้นักศึกษาผู้ถูกถอนช่ือออกจากทะเบียน
นักศกึ ษาตาม (๖) (๗) กลับเข้าเป็นนกั ศึกษาใหม่ไดเ้ ป็นกรณีพเิ ศษ เมื่อมีเหตุผลอันสมควรโดยให้
ถือระยะเวลาท่ีถูกถอนช่ือออกจากทะเบียนนักศึกษาเป็นระยะเวลาพักการศึกษา ทั้งน้ีต้องไม่พ้น
กาหนดระยะเวลาหนึ่งปนี ับจากวนั ทน่ี ักศึกษาผู้นน้ั ถกู ถอนช่ือจากทะเบยี นนักศกึ ษา โดยนกั ศึกษา
ต้องชาระเงินค่าธรรมเนียมเสมือนเป็นผู้ลาพักการศึกษารวมท้ังค่าคืนสภาพเป็นนักศึกษา และ
คา่ ธรรมเนียมอ่ืนใดที่ค้างชาระตามประกาศมหาวทิ ยาลยั

ขอ้ ๑๑ กรณีที่มหาวิทยาลยั มีเหตุอนั ควรอาจประกาศงดการสอนรายวชิ าใดรายวิชา
หน่ึงหรือจากัดจานวนนกั ศกึ ษาทีล่ งทะเบยี นเรียนในรายวิชาใดก็ได้

การเปิดรายวิชาเพ่ิมหรือปิดรายวิชาใดต้องกระทาภายในสองสัปดาห์แรก
นบั จากวนั เปดิ ภาคการศกึ ษาปกติ หรือภายในสปั ดาหแ์ รกนบั จากวันเปดิ ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน

ข้อ ๑๒ การลงทะเบียนเรยี นในรายวชิ าทม่ี วี ิชาบังคับกอ่ นมหี ลักเกณฑ์ ดังน้ี
(๑) การลงทะเบยี นเรียนรายวิชาหนง่ึ วชิ าใดที่มวี ชิ าบังคับกอ่ น นักศึกษาจะตอ้ ง

สอบผ่านวิชาบังคับก่อนหากฝ่าฝืนจะถือว่าการลงทะเบียนเรียนรายวิชาน้ันเป็นโมฆะ เว้นแต่จะ
ได้รับอนุมัติจากคณบดีก่อนการลงทะเบียนเรียน และจะต้องเป็นนักศึกษาปีสุดท้ายของหลักสูตร
ที่จะสาเรจ็ การศกึ ษาในปีการศึกษานั้น

(๒) นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อเน่ืองควบคู่กับรายวิชาบังคับก่อน
หากงดเรียนรายวิชาบังคับก่อน จะต้องงดเรียนรายวิชาต่อเนื่องคราวเดียวกันด้วย หากไม่งดเรียน
รายวชิ าตอ่ เนอื่ งจะถอื ว่าการลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าตอ่ เน่ืองนน้ั เปน็ โมฆะ

ขอ้ ๑๓ มหาวทิ ยาลยั กาหนดหลกั เกณฑก์ ารลงทะเบียนเรยี นขา้ มสถานศกึ ษา ดังนี้
(๑) นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนข้ามสถานศึกษาได้ในแต่ละภาค

การศึกษา หากเป็นการลงทะเบยี นเพ่อื เพ่มิ พูนความรูป้ ระเภทไม่นับหน่วยกติ
(๒) นักศึกษาที่ประสงค์จะลงทะเบียนเรยี นข้ามสถานศึกษาเพ่ือนบั หน่วยกิตใน

หลักสูตรจะต้องเป็นไปตามเง่อื นไข ดังน้ี
(ก) เป็นนักศึกษาภาคการศึกษาสุดท้ายท่ีจะสาเร็จการศึกษา และรายวิชา

ทจ่ี ะเรียนไม่เปดิ สอนในภาคการศึกษาน้นั

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๗๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ข) รายวิชาท่ีจะลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอื่น จะต้องเทียบได้กับ
รายวิชาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลยั การเทียบใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของภาควิชาและคณะเจ้าของ
รายวชิ าโดยถอื เกณฑเ์ นือ้ หาและจานวนหนว่ ยกิตเป็นหลัก สว่ นการอนุมัติให้ลงทะเบยี นเรยี นข้าม
สถานศึกษาใหเ้ ปน็ อานาจของคณบดที นี่ ักศึกษาสังกัดอยู่

(๓) การเรียนข้ามสถานศึกษา ให้นักศึกษายื่นคาร้องขอเรียนข้ามสถานศึกษา
ต่อคณบดีเพ่ือพิจารณาและนักศึกษาชาระเงินตามประกาศที่มหาวิทยาลัย กาหนดไว้ให้
เรียบร้อย หลังจากนั้นจึงไปดาเนินการ ณ สถานศึกษาที่นักศึกษาต้องการลงทะเบียนเรียนข้าม
สถานศึกษา

(๔) กรณีนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอ่ืนมีความประสงค์จะเรียนข้าม
สถานศกึ ษาให้ปฏิบัติตามประกาศมหาวิทยาลยั

ข้อ ๑๔ นกั ศกึ ษาอาจขอเพมิ่ หรือถอนรายวชิ าได้โดยต้องดาเนินการ ดงั น้ี
(๑) การขอเพ่ิมรายวิชา ต้องกระทาภายในสัปดาห์ท่ีสองของภาคการศึกษา

ปกติ และภายในสัปดาหแ์ รกของภาคการศกึ ษาฤดูร้อน
(๒) การถอนรายวิชาให้มผี ล ดงั นี้
(ก) ถ้าถอนรายวิชาในสัปดาห์ที่สองของภาคการศึกษาปกติ และ

ภายในสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชานั้นจะไม่ปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา
(ข) ถ้าถอนรายวิชาเมื่อพ้นกาหนดสัปดาห์ที่สอง แต่ยังอยู่ภายในสิบ

สองสัปดาห์ของภาคการศึกษาปกติ หรือเมื่อพ้นกาหนดสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อน
แต่ยังอยู่ภายในห้าสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาฤดูร้อนจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
อาจารย์ที่ปรึกษา โดยรายวิชานั้นจะปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา ซึ่งจะได้รับคะแนนถอน
รายวิชา หรือ ถ และเมื่อพ้นกาหนดการถอนรายวิชาแล้ว นักศึกษาจะถอนการลงทะเบียน
เฉพาะรายวิชาไม่ได้

(๓) การลงทะเบียนเรยี นรายวิชาเพ่ิมจนมีจานวนหน่วยกิต สูงกว่า หรอื การ
ถอนรายวิชาจนเหลือจานวนหน่วยกิตต่ากว่าท่ีระบุไว้ในข้อ ๑๐ (๔) จะทามิได้หากฝา่ ฝืนจะถอื ว่า
การลงทะเบียนเรยี นดังกล่าวเปน็ โมฆะ เวน้ แต่จะมเี หตผุ ลอนั ควรและได้รบั อนุมัตจิ ากคณบดี

(๗๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวดที่ ๔
การลาของนักศึกษา
ขอ้ ๑๕ นักศกึ ษามสี ทิ ธล์ิ าพกั การศกึ ษาในระหวา่ งการศึกษา ดังนี้
(๑) การลาพักการศึกษาเป็นการลาพักทั้งภาคการศึกษา และถ้าได้ลงทะเบียน
ไปแล้วให้ยกเลิกการลงทะเบียนเรียน โดยรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียนท้ังหมดในภาคการศึกษา
น้ัน จะไม่ปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา แต่หากเป็นการลาพักการศึกษาหลังจากสัปดาห์ท่ีสิบ
สองในระหว่างภาคการศึกษาปกติหรือสัปดาห์ท่ีหกในระหว่างภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้บันทึก
ระดับคะแนนถอนรายวชิ า หรือ ถ
(๒) การขอลาพกั การศึกษา ให้แสดงเหตุผลความจาเปน็ พร้อมกับมหี นังสอื ย่ืน
ต่อคณบดี
(๓) นักศึกษาอาจยื่นคาร้องต่อคณบดี เพื่อขออนุญาตลาพักการศึกษาได้ไม่
เกินสองภาคการศึกษาปกตติ ดิ ต่อกัน ในกรณีต่อไปนี้
(ก) ถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจาการ
(ข) ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศหรือทุนอื่นใด ซึ่ง
มหาวิทยาลัยเห็นสมควรสนับสนุน
(ค) ประสบอุบัติเหตุ ภยันตราย หรือเจ็บป่วย จนต้องพักรักษาตัวตาม
คาส่ังแพทย์เป็นเวลานานเกินกว่าร้อยละยี่สิบของเวลาศึกษาทั้งหมด โดยมีใบรับรองแพทย์
(ง) มีความจาเป็นส่วนตัว โดยนักศึกษาผู้นั้นได้ศึกษาในมหาวิทยาลัย
มาแล้วไม่น้อยกว่าหน่ึงภาคการศึกษา
(๔) ในภาคการศึกษาแรกที่ข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
นักศกึ ษาจะลาพักการศกึ ษาไม่ได้ เว้นแตจ่ ะไดร้ ับอนุมัติจากอธิการบดี เป็นกรณพี เิ ศษ
(๕) ในการลาพักการศึกษา นักศึกษาจะลาพักการศึกษาเกินกว่าสองภาค
การศกึ ษาปกตติ ิดตอ่ กนั ไม่ได้ เว้นแต่จะได้รบั อนุมัติจากอธกิ ารบดี เปน็ กรณีพิเศษ
(๖) นักศึกษาจะต้องชาระค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษาตามประกาศของ
มหาวิทยาลัยทุกภาคการศึกษาท่ีได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา หากไม่ปฏิบัติจะถูกถอนชื่อออก
จากทะเบียนนักศึกษา ยกเว้นภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาได้ชาระเงินค่าบารุงการศึกษา
ค่าลงทะเบียนเรียน ค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าอ่ืนใดตามประกาศของมหาวิทยาลัย โดย
มหาวิทยาลยั จะไมค่ ืนเงนิ ดังกล่าวให้ แตน่ กั ศกึ ษาไม่ตอ้ งชาระเงินคา่ รักษาสภาพการเปน็ นักศึกษา

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๗๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๗) การลาพักการศึกษาไม่ว่าด้วยเหตุใดหรือการกลับเข้าศึกษาใหม่หรือการ
ถูกให้พักการศึกษาแล้วแต่กรณี ไม่เป็นเหตุให้ขยายระยะเวลาการศึกษาเกินกว่าสองเท่าของ
แผนการเรียนตามหลักสูตร นับแต่วันข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ยกเว้นภาค
การศึกษาฤดูรอ้ น

ขอ้ ๑๖ นักศึกษาที่ป่วยหรอื มีเหตุสุดวิสัย ทาให้ไม่สามารถเข้าสอบปลายภาค
ได้ นักศึกษาต้องขอผ่อนผนั การสอบตอ่ อาจารย์ผู้สอนรายวิชาน้ันภายในวนั ถัดไป หลงั จากท่ีมีการ
สอบปลายภาครายวิชานั้น เว้นแต่จะมีเหตุอันสมควร คณะกรรมการประจาคณะเป็นผู้พิจารณา
การขอผ่อนผันดังกล่าว โดยอาจอนุมัติให้ได้ระดับคะแนนไม่สมบูรณ์หรือ ม.ส. หรือให้ยกเลิกการ
ลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นเป็นกรณีพิเศษ โดยให้ได้ระดับคะแนน ถอนรายวิชา หรือ ถ หรือไม่
อนมุ ัตกิ ารขอผ่อนผนั โดยใหถ้ อื ว่าขาดสอบก็ได้

ขอ้ ๑๗ นักศึกษาอาจลาออกจากการเป็นนักศึกษาไดโ้ ดยยน่ื คารอ้ งขอลาออก
ตอ่ คณะทีน่ ักศึกษาสงั กัด และตอ้ งไม่มีหนส้ี ้ินกบั มหาวทิ ยาลยั ท้ังนตี้ อ้ งได้รับอนมุ ตั ิจากคณบดี

หมวดที่ ๕
การย้ายคณะและการเปล่ยี นสาขาวิชา
ข้อ ๑๘ นักศึกษาอาจย้ายคณะหรือเปล่ียนสาขาวิชาได้ตามหลักเกณฑ์ท่ี
มหาวิทยาลยั กาหนดดงั น้ี
(๑) นักศึกษาท่ีประสงค์จะยา้ ยคณะ ต้องไดร้ ับอนุมัตจิ ากคณบดีของคณะ
ที่นกั ศกึ ษาสังกดั และคณบดีของคณะท่ีนักศึกษาประสงคจ์ ะยา้ ยเขา้ ศึกษา
(๒) นักศกึ ษาทปี่ ระสงค์จะเปลี่ยนสาขาวชิ าในคณะ จะกระทาไดก้ ็ต่อเม่ือ
ได้รับความเห็นชอบจากคณบดขี องคณะท่ีนักศกึ ษาสังกดั

หมวดท่ี ๖
การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา
ขอ้ ๑๙ มหาวิทยาลัยกาหนดหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษา ให้
คณะที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย จัดการวัดและประเมินผลการศึกษาสาหรับรายวิชาที่นักศึกษา
ลงทะเบียนเรียนไว้ในแต่ละภาคการศึกษาหนึ่ง โดยการประเมินผลการศึกษาในแต่ละรายวิชาให้
กาหนดเป็นระดับคะแนน ค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิตและผลการศึกษาตามประกาศของ
มหาวทิ ยาลัย

(๗๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวดที่ ๗
การพ้นสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา
ขอ้ ๒๐ นกั ศกึ ษาจะพน้ สภาพการเปน็ นักศกึ ษาเม่ือ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ได้ศึกษาสาเร็จครบหลักสูตรตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด และได้รับการ
อนมุ ัตปิ รญิ ญา
(๔) พ้นสภาพเนื่องจากถูกถอนชือ่ การเปน็ นักศึกษาตามข้อ ๑๐(๗)
(๕) ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารวัดผลและประเมนิ ผลตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย
(๖) ใชร้ ะยะเวลาการศกึ ษาเกินกว่าสองเทา่ ของแผนการเรียนตามหลักสูตร นับ
แต่วันข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ยกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อน ทั้งน้ีสาหรับ
นักศึกษาท่ีเทียบโอนผลการเรียน ย้ายคณะหรือสาขาวิชา ให้นับเวลาที่เคยศึกษาอยู่ใน
สถานศกึ ษาเดมิ รวมเขา้ ด้วยกัน

หมวดที่ ๘
การขอสาเรจ็ การศึกษา การขอข้ึนทะเบยี นบณั ฑติ
ข้อ ๒๑ นักศกึ ษาจะมีสทิ ธิขอสาเร็จการศึกษาตอ้ งมคี ุณสมบัติ ดงั น้ี
(๑) ต้องศกึ ษารายวิชาใหค้ รบตามหลกั สตู ร และขอ้ กาหนดของสาขาวิชานัน้
(๒) มีหน่วยกิตสะสมไม่ต่ากว่าที่หลักสูตรกาหนดไว้ และได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมไมต่ า่ กว่า ๒.๐๐
(๓) เป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นบัณฑิต และไม่มีหนี้สินผูกพันต่อ
มหาวทิ ยาลัย
(๔) การยื่นคาร้องขอสาเร็จการศึกษา ต้องยื่นต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียน ทุกภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาคาดว่าจะสาเร็จการศึกษาภายในสามสิบวัน นับแต่วันเปิดภาค
การศกึ ษานนั้ จนกวา่ นักศกึ ษาจะสาเร็จการศึกษาตามประกาศสภามหาวิทยาลัย
(๕) นักศกึ ษาทไ่ี ม่ดาเนนิ การตาม (๔) จะไมไ่ ด้รับการพิจารณาเสนอชื่อเพอื่ รับปริญญา
ในภาคการศกึ ษานัน้ และจะต้องชาระค่ารักษาสภาพเปน็ นักศกึ ษาทกุ ภาคการศกึ ษา จนถงึ ภาคการศกึ ษา
ท่ีนักศกึ ษายื่นคารอ้ งขอสาเร็จการศึกษา

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๗๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๒๒ นักศกึ ษาที่สาเร็จการศกึ ษาตอ้ งขอขึน้ ทะเบียนบัณฑติ โดยย่ืนคาร้องขึ้นทะเบียน
บัณฑิตต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน พร้อมชาระเงินค่าข้ึนทะเบียนบัณฑิต ทั้งนี้
จะตอ้ งดาเนินการตามขั้นตอนของมหาวทิ ยาลยั

ขอ้ ๒๓ การเสนอชือ่ เพอื่ รับปริญญาให้เปน็ ไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย

หมวดที่ ๙
ปรญิ ญาเกียรตนิ ยิ มและเหรียญเกยี รตนิ ยิ ม
ข้อ ๒๔ นักศึกษาที่จะได้รับการเสนอช่ือเพื่อรับปริญญาเกียรตินิยมต้องเป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ ดังนี้
(๑) ลงทะเบียนรายวิชาในมหาวิทยาลัยไม่ต่ากว่า ๗๒ หน่วยกิต สาหรับ
หลักสูตร ๒ – ๓ ปีการศึกษา หรือไม่ต่ากว่า ๑๒๐ หน่วยกิต สาหรับหลักสูตร ๔ ปีการศึกษา
หรอื ไมต่ า่ กวา่ ๑๕๐ หนว่ ยกิต สาหรับหลกั สูตร ๕ ปีการศึกษา
(๒) สาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีหลักสูตรกาหนด ทั้งน้ีไม่นับระยะเวลา
ท่นี กั ศึกษาขอลาพกั การศึกษาตามข้อบังคบั น้ี
(๓) ต้องไม่มีผลการศึกษาท่ีอยู่ในเกณฑ์ข้ันไม่พอใจ หรือ ม.จ. (U) หรือต่ากว่า
ระดับคะแนนขั้นพอใช้หรือ ค (C) ในรายวิชาใดวิชาหนึง่
(๔) นักศึกษาผู้สาเร็จการศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตาม (๑) (๒) และ (๓) ท่ี
มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๗๕ จะได้รับการเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาเกียรตินิยม
อันดบั ๑
(๕) นักศึกษาผู้สาเรจ็ การศึกษาทม่ี ีคุณสมบตั ิครบถว้ นตาม (๑) (๒) และ (๓) ท่ี
มีคา่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ ไม่ตา่ กวา่ ๓.๕๐ จะได้รับการเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๒
(๖) การเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาเกียรตินิยม ให้มหาวิทยาลัยนาเสนอต่อสภา
มหาวทิ ยาลยั ในคราวเดียวกันกบั ท่เี สนอขออนมุ ตั ปิ ริญญาประจาภาคการศึกษานน้ั
ขอ้ ๒๕ การใหเ้ กียรตนิ ยิ มเหรียญทองหรอื เกยี รตนิ ิยมเหรียญเงนิ
(๑) ให้มหาวิทยาลัยจัดให้มีเหรียญเกียรตินิยมแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ที่มีผล
การศกึ ษาดเี ดน่ โดยแยกเป็นคณะ
(๒) เกียรตินิยมเหรียญทองให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษา ที่ได้ปริญญาเกียรตินิยม
อันดับ ๑ ท่ีได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมสงู สดุ ในแตล่ ะคณะ

(๗๖) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๓) เกียรตินิยมเหรียญเงินให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษา ที่ได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมเป็นท่ีสอง และจะต้องได้ปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๑ หรือ ๒ ในแต่ละคณะ กรณีผู้สาเร็จ
การศึกษาได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงสุด แต่ได้ปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๒ ในแต่ละคณะ
ใหเ้ กยี รตนิ ยิ มเหรยี ญเงนิ

การเสนอชื่อเพ่ือรับเหรียญเกียรตินิยม ให้สานักส่งเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียนดาเนินการ ปีการศึกษาละหน่ึงคร้ัง และให้อธิการบดีนาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อ
พิจารณาอนุมัติในคราวเดียวกันกับท่ีเสนอขออนุมัติปริญญาประจาภาคการศึกษาสุดท้ายของปี
การศึกษา

หมวดท่ี ๑๐
บทเฉพาะกาล
ขอ้ ๒๖ ภายใต้บังคับข้อ ๖ – ๑๘ ให้มีผลใช้บังคับกับนักศึกษาท่ีได้ลงทะเบียน
เรียนกอ่ นข้อบังคับนมี้ ผี ลใช้บงั คบั โดยอนุโลม
ขอ้ ๒๗ ภายใต้บังคับข้อ ๑๙ ข้อ ๒๔ (๑) (๔) (๕) ไม่ให้มีผลใช้บังคับนักศึกษาท่ี
เข้าเป็นนักศึกษาก่อนปีการศึกษา ๒๕๕๐ โดยให้นักศึกษาที่เข้าก่อนปีการศึกษา ๒๕๕๐ ใช้
ข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญา พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งแก้ไข
เพิ่มเติมข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญา (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๑ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
จนกว่าจะสาเรจ็ การศกึ ษาโดยอนุโลม

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐

(ลงชอ่ื ) จรวยพร ธรณินทร์
(นางจรวยพร ธรณนิ ทร์)
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

นายกสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๗๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ระเบียบสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล
วา่ ดว้ ยการสอบของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี

พ.ศ. ๒๕๓๗
--------------------------

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรีให้
เหมาะสมยิง่ ขน้ึ

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ (๑) แห่งพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ และมติสภาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในการประชุม คร้ังที่ ๓/๒๕๓๗
เมอื่ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๓๗ จงึ วางระเบียบไว้ ดังน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบ นี้เรียกว่า “ระเบียบ สถาบันเท คโน โลยีราช มงคล ว่าด้วย
การสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗”

ข้อ ๒ ใหใ้ ช้ระเบยี บนีต้ งั้ แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าด้วยการสอบของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๐

บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ัง หรือประกาศอื่นใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วใน
ระเบยี บน้หี รือซ่ึงขดั หรือแยง้ กบั ระเบยี บนใ้ี หใ้ ชร้ ะเบยี บน้แี ทน

ขอ้ ๔ ในระเบียบน้ี
“สถาบนั ” หมายความวา่ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
“คณะ” หมายความวา่ คณะต่าง ๆ ที่จดั การสอนระดับปริญญาตรี
“คณบดี” หมายความวา่ คณบดีของคณะตา่ ง ๆ ท่จี ดั สอนระดับปริญญาตรี
“คณะกรรมการประจาคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการประจาคณะท่ีจัด

สอนระดบั ปริญญาตรีตามพระราชบญั ญัตสิ ถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล
“คณะกรรมการสอบประจาภาคการศึกษา” หมายความวา่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร

ดาเนินการสอบประจาภาคการศึกษาและการสอบระหว่างภาคการศึกษาในคณะน้ัน ๆ
“การสอบ” หมายความว่า การสอบประจาภาคการศึกษา หรือการสอบ

ระหวา่ งภาคการศึกษา
“นกั ศึกษา” หมายความวา่ นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี

(๗๘) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๕ ให้มีประกาศของสถาบันเก่ียวกับข้อปฏิบตั ิของผู้คุมสอบระดับปรญิ ญาตรี และ
ข้อปฏบิ ตั ใิ นการสอบของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี เพ่ือใหผ้ คู้ มุ สอบและผู้เขา้ สอบถือปฏิบัติ

ข้อ ๖ กาหนดการสอบประจาภาคการศึกษาให้เป็นไปตามประกาศของสถาบัน ซึ่ง
ประกาศให้นกั ศกึ ษาทราบล่วงหน้า

สาหรับการสอบระหว่างภาคการศึกษา ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการสอบ
ประจาภาคการศึกษา

ข้อ ๗ การสอบของรายวิชาใดท่ีมอี าจารยผ์ ้สู อนหลายคน ให้ภาควิชากาหนดอาจารย์ผู้
หน่งึ ประสานงานการสอบของรายวชิ าน้ัน

ข้อ ๘ การดาเนินการสอบเป็นอานาจของคณะกรรมการประจาคณะ เพื่อการนี้ให้
คณะกรรมการประจาคณะเสนอคณบดีเป็นผู้แต่งต้ังคณะกรรมการสอบประจาภาคการศึกษา
ซึ่งประกอบด้วยผ้แู ทนภาควชิ าอย่างน้อยภาควชิ าละ ๑ คน

ข้อ ๙ อานาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการสอบประจาภาคการศึกษา มีหน้าที่ ดังนี้
๙.๑ กาหนดบุคคลเพ่ือทาหน้าที่ดาเนินการและควบคุมการสอบ แล้วนาเสนอ

คณบดเี พ่อื แต่งตั้งเปน็ อนกุ รรมการหรือเจ้าหนา้ ที่ เพื่อดาเนนิ การในเรอ่ื งต่อไปน้ี
๙.๑.๑ จัดเก็บรวบรวมและตรวจสอบบัญชีรายชื่อนักศึกษาที่มีสิทธิสอบ

ก่อนกาหนดวนั สอบในรายวชิ านั้น ๆ กาหนดสถานที่สอบ
๙.๑.๒ กาหนดวธิ ีการจดั พิมพข์ อ้ สอบ
๙.๑.๓ จดั การรบั –สง่ ขอ้ สอบ สมุดคาตอบ และ/หรือกระดาษคาตอบ
๙.๑.๔ ทาหนา้ ท่คี ุมสอบ
๙.๑.๕ สอบสวนและรายงานการทจุ ริตของผู้เข้าสอบ
๙.๑.๖ ตดิ ตามและรวบรวมบญั ชีประเมินผล แตล่ ะรายวิชาทคี่ ณะรับผดิ ชอบ

สง่ ใหแ้ ผนกทะเบียนคณะ เพอ่ื นาส่งสานักบรกิ ารทางวิชาการและทดสอบ
๙.๒ ดูแลการสอบให้เป็นไปตามประกาศของสถาบัน เกี่ยวกับข้อปฏิบัติของผู้

คมุ สอบระดับปรญิ ญาตรีและข้อปฏิบตั ิในการสอบของนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี
๙.๓ วินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการสอบ และนาเสนอคณะกรรมการ

ประจาคณะเพื่อวนิ ิจฉยั และดาเนินการ
๙.๔ รายงานการปฏบิ ตั ิงานของผู้คมุ สอบ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๗๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๙.๕ ดาเนินการเรื่องอื่นใดท่ีเก่ียวกับการสอบท่ีคณะกรรมการประจาคณะ
มอบหมาย

ขอ้ ๑๐ สิทธิในการเข้าสอบของนักศึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสถาบันว่าด้วย
การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

ขอ้ ๑๑ สถาบันจะไม่ประกาศผลการสอบ และจะไม่ให้ลงทะเบียนเรียนในภาค
การศึกษาถัดไป หรือไม่ออกใบรับรองผลการศึกษาให้แก่นักศึกษาผู้มีหนี้สินติดค้างกับคณะหรือ
สถาบัน จนกว่าจะได้ชาระหนี้สินให้เป็นท่เี รยี บร้อยแลว้

ข้อ ๑๒ ในกรณีท่ีเกิดการทุจริตในการสอบ ให้คณะกรรมการสอบประจาภาค
การศึกษาทารายงานเสนอให้คณะกรรมการประจาคณะพิจารณาโทษเป็น ๓ สถาน ตาม
ลักษณะของความผดิ คือ

๑๒.๑ ใหไ้ ด้ระดบั คะแนน ต. หรอื F ในรายวชิ าทีท่ าการทจุ ริตนนั้
๑๒.๒ ให้ได้ระดับคะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาท่ีทาการทุจริตนั้นและส่ัง
ยกเลิกการลงทะเบยี นเรียนทุกรายวชิ าในภาคการศึกษานั้น
๑๒.๓ ให้พ้นสภาพการเป็นนกั ศกึ ษา
เมอ่ื คณะกรรมการประจาคณะพจิ ารณาโทษสถานใด ให้คณบดเี ป็นผูล้ งนามใน
คาสั่งกรณีลงโทษตามข้อ ๑๒.๑ และ ๑๒.๒ แล้วเสนอสถาบันเพ่ือทราบ กรณีลงโทษตามข้อ
๑๒.๓ ใหเ้ สนอสถาบนั พจิ ารณาส่งั การ
ขอ้ ๑๓ ภายใต้บังคับ ข้อ ๕ เพื่อให้การสอบดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมี
ประสิทธภิ าพสถาบันหรือคณะอาจกาหนดเปน็ ประกาศอื่น ๆ ที่ไม่ขัดต่อระเบยี บน้ี
ขอ้ ๑๔ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้อธิการบดีเป็นผู้
วินิจฉัย ชีข้ าด
ขอ้ ๑๕ ให้อธกิ ารบดเี ป็นผู้รักษาการตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗

(ลงช่ือ) โกวทิ วรพิพฒั น์
(นายโกวิท วรพพิ ัฒน์)
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

นายกสภาสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล

(๘๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วา่ ดว้ ยการศกึ ษาลักษณะวิชาเพิ่มเติมสาหรบั บัณฑิต

พ.ศ. ๒๕๓๗
------------------------------------------
โดยท่ีเป็นการสมควรมีระเบียบว่าด้วยการศึกษาลักษณะวิชาเพ่ิมเติมสาหรบั บัณฑิต
เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วได้ศึกษาลักษณะวิชาเพิ่มเติม ในการนาความรู้
ความสามารถไปประกอบอาชีพ หรอื การขออนญุ าตรบั ใบประกอบอาชีพตามท่ีกฎหมายกาหนด

อาศัยอานาจตามมาตรา ๑๕ (๑) และ (๙) แห่งพระราชบัญญัตสิ ถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล พ.ศ.๒๕๑๘ และมติสภาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในการประชุมคร้ังท่ี ๓/๒๕๓๗
เมื่อวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๓๗ จงึ วางระเบยี บไว้ ดงั น้ี

ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าด้วย
การศึกษาลักษณะวิชาเพิม่ เติมสาหรบั บณั ฑิต พ.ศ. ๒๕๓๗”

ข้อ ๒ ระเบยี บนี้ใหใ้ ช้บังคบั ตง้ั แตว่ นั ถดั จากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าด้วยการศึกษาลักษณะ
วิชาเพิ่มเติมสาหรบั บณั ฑิต พ.ศ. ๒๕๓๓

บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาส่ัง หรือประกาศอ่ืนใด ในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วใน
ระเบยี บน้ี หรอื ซ่ึงขดั หรอื แยง้ กับระเบียบนี้ ใหใ้ ช้ระเบียบนีแ้ ทน

ขอ้ ๔ ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ซ่ึง
ก.พ.รบั รอง

ข้อ ๕ การรับสมัคร
๕.๑ ผู้สมัครจะต้องยื่นคาร้องขอสมัครโดยตรงท่ีคณะนั้น ๆ ล่วงหน้าไม่น้อย

กวา่ ๖๐ วนั กอ่ นวันเปิดภาคการศึกษาที่ประสงค์จะเขา้ ศึกษา
๕.๒ หากเป็นนักศึกษาปัจจุบัน ให้สถาบันการศึกษาที่นักศึกษาผู้นั้น ศึกษา

อยู่ รบั รองสถานภาพการเปน็ นักศึกษาภาคการศึกษาสุดทา้ ย ท่จี ะสาเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี
๕.๓ ใหผ้ ูส้ มคั รสง่ เอกสารแสดงผลการศึกษาทีผ่ ่านมาทั้งหมดในการสมคั ร
๕.๔ ใหค้ ณบดคี ณะนั้น ๆ พิจารณาการรับเขา้ ศกึ ษา

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๘๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๖ การลงทะเบยี นเรียน
๖.๑ นกั ศกึ ษาตามระเบียบนมี้ สี ถานภาพการเป็นนกั ศกึ ษา ๑ ภาคการศึกษา
๖.๒ การลงทะเบียนเรียนจะต้องไม่เกินภาคการศึกษาละ ๑๒ หน่วยกิต โดย

ดาเนินการเช่นเดยี วกบั นกั ศกึ ษาภาคปกติ
๖.๓ คา่ ลงทะเบียนลักษณะวชิ า ให้เรยี กเก็บหน่วยกิตละ ๓๐๐ บาท นอกจากนั้น

ให้ปฏิบัติตามระเบียบของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อรับชาระแล้วจะไม่คืนให้ เว้นแต่จะ
ได้รับอนมุ ัตจิ ากอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

ขอ้ ๗ การขอเอกสารแสดงผลการศึกษา ให้ผู้เข้าศึกษาย่ืนคาร้องต่อสานักบริการทาง
วิชาการและทดสอบ ซ่ึงจะออกให้เป็นระดับคะแนน ก (A) ข (B) ค (C) ง (D) ต (F) และหน่วยกิต
ท่ไี ด้ไมน่ ามาคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉลีย่

ข้อ ๘ ผลการศึกษาตามระเบียบนี้ จะนาไปใช้เพ่ือการศึกษาต่อหรือขอรับหรือขอ
เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตรี ในสาขาวิชาท่เี ปิดสอนในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลไมไ่ ด้

ขอ้ ๙ กรณีท่ีระเบียบนี้มิได้กาหนดไว้ ให้เสนออธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
พจิ ารณาอนมุ ัติ

ข้อ ๑๐ ให้อธกิ ารบดีสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคลรักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗

(ลงชอื่ ) โกวทิ วรพิพัฒน์
(นายโกวิท วรพพิ ัฒน)์
ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

(๘๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
วา่ ดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น
พ.ศ. ๒๕๖๔

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ
วา่ ดว้ ยการเทียบโอนผลการเรียน ใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทของมหาวทิ ยาลยั

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกับมติสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
ในการประชมุ ครงั้ ที่ ๓/๒๕๖๔ เมือ่ วนั ท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๖๔ จึงวางระเบยี บไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. ๒๕๖๔”

ขอ้ ๒ ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บงั คับตงั้ แตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการ
เทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๐
บรรดาระเบียบ ข้อบงั คบั หรือคาสั่งอ่นื ใด ในสว่ นท่กี าหนดไว้แลว้ ในระเบียบนี้ หรือ
ซ่ึงขดั แย้งกับระเบยี บน้ี ใหใ้ ช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“สภามหาวิทยาลยั ” หมายความว่า สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“อธิการบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“คณะ” หมายความว่า ส่วนราชการระดบั คณะ หรือสว่ นราชการอื่นที่เรียกช่อื เป็น
อย่างอ่ืนท่มี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะท่ีมีการจดั การเรียนการสอน
“คณบดี” หมายความว่า หัวหน้าสว่ นราชการระดบั คณะ หรือหัวหน้าส่วนราชการ
ท่ีเรยี กช่ืออยา่ งอื่นทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะที่มีการจดั การเรียนการสอน
“บัณฑิตศึกษา” หมายความว่า การศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีขึ้นไปของ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๘๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนซึ่งสภามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพใหค้ วามเห็นชอบ

“หลักสูตรไม่ได้รับปริญญา” หมายความว่า หลักสูตรท่ีจัดการเรียนการสอนใน
รปู แบบหลักสูตรระยะส้ัน หลักสูตรระยะยาว หลักสตู รฝกึ อบรม หลักสูตรฝึกอาชพี หรอื หลักสูตร
อ่ืนใดท่ีมีกระบวนการจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรมท่ีมีระบบ อาจจัดในช้ันเรียนหรือ
การศึกษาแบบทางไกลผ่านส่ือเรียนเป็นกลุ่มหรือเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีลักษณะเป็น ชุดวิชา
รายวิชา หรือโมดูลการเรียนรู้ที่มีหลักฐานการแสดงผลการเรียนเป็นใบรับรองประกาศนียบัตร
วุฒบิ ัตร สัมฤทธิบัตร อนุปริญญา หรือลกั ษณะอืน่ ใด

“คณะกรรมการเทียบโอน” หมายความวา่ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียนท่ี
ได้รบั การแต่งตั้งจากคณบดใี ห้รับผดิ ชอบในการพิจารณาเทยี บโอนผลการเรยี น

“บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต” หมายความว่า บุคคลในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยอ่ืน หรือบุคคลภายนอกท่ีข้ึนทะเบียนกับ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นบุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีเป็นนักศึกษาของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ท่ีเข้ารับการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษาของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

“นักศึกษาเรียนรูต้ ลอดชีวิต” หมายความว่า ผู้ที่ข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาท่ีเรยี นรู้
ตลอดชีวิต

“รายวิชา” หมายความว่า รายวิชาของหลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในระดับ
บัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาตรี หรือระดับต่ากว่าปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลกรงุ เทพ หรอื สถาบันการศึกษาอ่นื

“ชุดวิชา” หมายความว่า ชุดรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับเร่ืองใด
เร่ืองหน่ึง ที่ให้ความรู้เป็นองค์รวม หรือมีลักษณะเป็นการบูรณาการ โดยแต่ละชุดวิชามีการ
จดั การเรียนการสอนต่อเน่ืองกันเบ็ดเสร็จในระยะเวลาหน่ึงของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพหรอื สถาบันการศกึ ษาอืน่

“โมดูลการเรียนรู้” หมายความว่า หน่วยการเรียนรู้ทีม่ ีกระบวนการเรียนการสอน
อย่างเป็นระบบสมบูรณ์แบบ โดยโมดูลการเรียนรู้ต้องระบผุ ลลัพธ์และการวัดและประเมนิ ผลการ
เรียนรู้แต่ละโมดูลการเรียนรู้ให้ชดั เจน

(๘๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

“ระบบคลังหน่วยกิต” หมายความว่า ระบบและกลไกในการเทียบโอนความรู้
ความสามารถหรือสมรรถนะท่ีได้จากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม
อัธยาศัย และจากประสบการณ์บุคคล มาเก็บสะสมไว้ในคลังหน่วยกิตของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

“คลังหน่วยกิต” หมายความวา่ ระบบทะเบียนสะสมหน่วยกิตสาหรับผู้เรียนท่ีเข้า
ศึกษา รายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรฝึกอบรม หรือหลักสูตรระยะยาวในระดับ
อนุปริญญาหรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือปริญญาตรี หรือบัณฑิตศึกษา ของ
สถาบันอุดมศึกษาที่จัดไว้สาหรับการจัดการศึกษา และท่ีได้จากการเทียบโอนในระบบคลังหน่วย
กิต โดยจัดให้มีหลักฐานการสะสมหน่วยกิต อาทิ สมุดสะสมหน่วยกิต แฟ้มสะสมงานแบบ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ออนไลน์ และฝากในคลังหนว่ ยกิตของมหาวทิ ยาลัย

“การศึกษาในระบบ” หมายความว่า เป็นการศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมายวิธี
การศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นเงื่อนไขของการ
สาเรจ็ การศึกษาท่แี น่นอน

“การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า เป็นการศึกษาท่ีมีความยืดหยุ่นในการ
กาหนดจุดม่งุ หมาย รปู แบบ วธิ ีการจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผล
ซ่ึงเป็นเง่ือนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม
สอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความตอ้ งการของบคุ คลแต่ละกลมุ่

“การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว่า เป็นการศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย
ตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์
สังคม สภาพแวดลอ้ ม สื่อหรอื แหลง่ ความรูอ้ นื่ ๆ

“ประสบการณ์บุคคล” หมายความว่า ความสามารถและหรือสมรรถนะของบุคคล
ที่สั่งสมไว้จากการศึกษาด้วยตนเอง ประสบการณ์จากการทางาน การฝึกอบรมที่สถาน
ประกอบการจัดขึ้น การฝึกอบรมจากการปฏิบัติงาน การฝึกอาชีพ การสัมมนาและการประชุม
เชิงปฏบิ ตั ิการ

“ผลการเรียน” หมายความว่า ความรู้ ทักษะ และเจตคติที่เกิดจากการศึกษาใน
ระบบซึง่ สามารถแสดงในรูปของคะแนนผลการเรยี นหรือคานวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมได้

“ผลลัพธก์ ารเรียนรู้” หมายความวา่ ความรู้ ทักษะและเจตคตทิ ่ีเกิดจากการศกึ ษา
นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศยั และประสบการณบ์ ุคคลท่ีสั่งสมไว้ ท่ีเทียบได้ตามมาตรฐานผล

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๘๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

การเรียนรู้ ของแต่ละระดับคุณวุฒิตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ซ่ึง
สามารถวัดและประเมินได้โดยวิธีการต่าง ๆ ตลอดหลักสูตรเทียบเท่าไม่น้อยกว่ารายวิชาที่เปิด
สอนในมหาวิทยาลยั

“การเทียบโอนผลการเรียน” หมายความว่า การนาผลการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นความรู้
ทักษะเจตคติ และประสบการณ์ ของผู้เรียนท่ีเกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย การฝึกอบรม หรือจากประสบการณ์ทางาน ท่ีผู้เรียนสะสมไว้นามา
เทียบโอนผลการเรียน ในรูปแบบเดียวหรือต่างรูปแบบ ในมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานอื่น หรือ
การเรียนดว้ ยตนเอง มาประเมินเปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สูตรของมหาวิทยาลัย

“การเทียบโอนประสบการณ์” หมายความวา่ การนาผลลัพธ์การเรียนรมู้ าขอเทียบ
กับเน้ือหาสาระสาคัญของรายวิชาต่าง ๆ ของการเรียนในระบบตามหลักสูตรเพื่อให้ได้หน่วยกิต
โดยผู้เรียนสามารถแสดงได้ว่า มีความรู้ ทักษะ และเจตคติของตนเอง พร้อมท้ังมีหลักฐานซ่ึง
แสดงว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ตรงตามวัตถุประสงค์ หรือผลลัพธ์การเรียนรู้ ท่ีกาหนดในรายวิชา
หรือชุดวิชาหรือโมดูลการเรียนรู้ของหลักสูตรท่ีผู้เรียนศึกษาอยู่หรือประสงค์จะศึกษา ซึ่งควร
ได้รับการประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือเทียบโอนประสบการณ์ที่มีเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
และไม่ต้องศึกษาซ้าในเน้ือหาสาระที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะมาก่อนแล้ว ท้ังน้ี การเทียบโอน
ประสบการณ์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสูก่ ารศึกษาใน
ระบบ และขอ้ แนะนาเกีย่ วกับแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ีในการเทยี บโอนผลการเรียนระดบั ปรญิ ญา

ข้อ ๕ ให้อธิการบดีรักษาการตามระเบียบน้ี และมีอานาจวินิจฉัยตีความ ตลอดจน
ออกประกาศเพ่ือให้การปฏบิ ัตติ ามระเบียบนี้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย ทง้ั น้ี คาวินจิ ฉัยใหถ้ ือเป็น
ท่สี ดุ

หมวด ๑
บททวั่ ไป

ข้อ ๖ ระเบียบน้ีให้ใช้บังคับกับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาตรี และ
ระดับตา่ กว่าปริญญาตรี

ข้อ ๗ คณุ สมบัติของผู้มีสิทธข์ิ อเทยี บโอนผลการเรยี น

(๘๖) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๑) ต้องมีคณุ สมบตั ิพ้นื ฐานตามทีก่ าหนดในเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรการศกึ ษาของ
มหาวิทยาลัยที่ขอเทยี บโอนผลการเรยี น ดงั น้ี

(๑.๑) กรณีขอเทียบโอนผลการเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อนุปริญญาและระดับปริญญาตรี ต้องสาเร็จการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขนึ้ ไป

(๑.๒) กรณีขอเทียบโอนผลการเรียนระดับบัณฑิตศึกษา ต้องเป็นผู้สาเร็จ
การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีหรือเทียบเทา่ ขึ้นไป

(๒) ผู้ขอเทียบโอนผลการเรียน ต้องขึน้ ทะเบียนเป็นนักศึกษาของมหาวทิ ยาลัย และ
สาหรับบุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต หรือนักศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิตต้องข้ึนทะเบียนเพ่ือเก็บสะสม
หนว่ ยกิตในคลังหนว่ ยกติ

ขอ้ ๘ การเทียบโอนผลการเรียนใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั ต่อไปน้ี
(๑) ให้คณบดีแต่งตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี น ซึ่งมีคุณสมบัติสอดคล้อง
กับระดับการศึกษาและสาขาวิชาที่ขอเทียบโอน จานวนไม่น้อยกว่าสามคน ดาเนินการเทียบโอน
ผลการเรยี นตามหลักสูตรที่กาหนด โดยอาจแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิจากบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย
กไ็ ด้
(๒) คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน มีหน้าที่ดาเนินการเทียบโอนผลการ
เรียนรู้และประเมินความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์ตามแนวปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน
จากการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั เข้าสู่ระบบการศึกษาใน
ระบบตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย
(๓) ให้คณะดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนภายในปีการศึกษาแรกท่ีข้ึนทะเบียน
เปน็ นกั ศึกษา
กรณี มีเห ตุ ผ ล คว ามจาเป็ น ไม่ส ามารถด าเนิ น การเที ย บ โอน ผล การเรีย น ภ ายใน
กาหนดเวลาตามวรรคหนงึ่ ให้อยใู่ นดลุ พนิ ิจของคณบดจี ะพจิ ารณาให้ขอเทียบโอน
ข้อ ๙ ผู้ขอเทียบโอนผลการเรียนต้องชาระค่าธรรมเนียมการเทียบโอนรายวิชาตาม
ประกาศของมหาวทิ ยาลยั
ขอ้ ๑๐ ใหค้ ณบดีเป็นผอู้ นมุ ัติการเทียบโอนผลการเรียน

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๘๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๑๑ แนวปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษา
นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเข้าสู่ระบบการศึกษาในระบบ ให้เป็นไปตามประกาศของ
มหาวิทยาลยั

ข้อ ๑๒ แนวทางการดาเนินการพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตรระยะสั้น เพ่ือ
การสะสมหน่วยกิตในระบบคลังหนว่ ยกติ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย

หมวด ๒
การเทยี บโอนผลการเรยี นในระบบ

ข้อ ๑๓ หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบรายวิชา ชุดวิชา โมดูล
การเรียนรู้และโอนหนว่ ยกิตระหวา่ งการศกึ ษาในระบบ มีดังนี้

ก. ระดับปรญิ ญาตรี
(๑) ให้เทียบโอนรายวิชา ชุดวิชา หรือโมดูลการเรียนรู้ ซึ่งมีเน้ือหาสาระการ

เรียนรู้ และจุดประสงค์ครอบคลุม ไม่น้อยกว่าสามในส่ีของรายวิชาในสาขาวิชาที่นักศึกษาขอ
เทียบโอน

(๒) รายวชิ าหรือชดุ วชิ า ทจ่ี ะนามาเทียบโอนต้องมีระดับคะแนนไม่ต่ากว่า “ค”
หรือ “C” หรอื แต้มระดับคะแนน ๒.๐๐ หรอื เทียบเท่า

(๓) โมดูลการเรียนรู้ สามารถเทียบโอนหน่วยกิตเข้าสู่การศึกษาในระบบได้
โดยคณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรยี น

(๔) รายวิชา ชุดวิชา หรือโมดูลการเรียนรู้ที่เทียบโอนหน่วยกิตให้ เม่ือรวมกัน
แล้วต้องมจี านวนหน่วยกติ ไมเ่ กินสามในส่ขี องจานวนหนว่ ยกิตรวมของหลกั สูตรท่ีรับเทยี บโอน

(๕) ในกรณีท่ีมหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรใหม่ จะเทียบโอนนักศึกษาได้ไม่เกิน
กว่าชั้นปี และภาคการศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้มีนักศึกษาเรียนอยู่ตามหลักสูตรที่ได้รับความ
เห็นชอบแลว้

(๖) ผู้ขอเทียบโอนที่สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือ
อนุปริญญาหรือปริญญาตรีสามารถเทียบโอนเข้าสู่การศึกษาในระบบได้โดยคณะกรรมการเทียบ
โอนผลการเรยี น

(๘๘) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๗) นักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยที่รับโอนอย่างน้อยหน่ึงปี
การศึกษา

ข. ระดับบณั ฑิตศึกษา
(๑) ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรียน รายวิชา ชดุ วชิ า หรือโมดูลการเรียนรู้ ซึ่งมเี นื้อหา

สาระ การเรียนรู้ และจุดประสงค์ครอบคลุม เม่ือรวมกันแล้วต้องมีจานวนไม่เกิน
หลกั เกณฑ์มาตรฐานการศึกษากาหนดในแต่ละระดับการศึกษา

(๒) การขอเทียบโอนผลการเรียน รายวิชา ชุดวิชา หรือโมดูลการเรียนรู้ต้องมี
เนื้อหาสาระครอบคลมุ ไม่นอ้ ยกว่าสามในส่ขี องรายวชิ า หรอื ชดุ วชิ าทขี่ อเทยี บโอนผลการเรียน

(๓) การเทียบโอนผลการเรียน รายวิชา ชุดวิชาต้องมีระดับคะแนนไม่ต่ากว่า
“ข” หรือ “B” หรอื แต้มระดับคะแนน ๓.๐๐ หรือเทยี บเทา่

(๔) โมดูลการเรียนรู้สามารถเทียบโอนหน่วยกิตเข้าสู่การศึกษาในระบบได้ โดย
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี น

(๕) การเทียบโอนหน่วยกิตท่ีได้จากรายวิชา หรือชุดวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา
ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชา หรือชุดวิชานั้น กระทาได้โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทียบ
โอนผลการเรยี น

(๖) นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา หรือวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้า
อสิ ระตามจานวนหน่วยกติ ทสี่ อดคลอ้ งกบั หลักสตู ร

(๗) นักศึกษาจะเทียบโอนรายวิชาเรียน หรือเทียบโอนหน่วยกิตได้ไม่เกินหน่ึง
ในสามของจานวนหน่วยกิตรวมของหลักสูตรที่รับเทียบโอน ท้ังนี้ ไม่นับรวมหน่วยกิตของ
วิทยานิพนธ์และการค้นควา้ อิสระ

(๘) นักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยที่รับโอนอย่างน้อยหน่ึงปี
การศึกษา

(๙) ในกรณีที่มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรใหม่ จะเทียบโอนนักศึกษาได้ไม่เกิน
กว่าช้ันปี และภาคการศึกษาท่ีได้รับอนุญาตให้มีนักศึกษาเรียนอยู่ตามหลักสูตรที่ได้รับความ
เห็นชอบแลว้

ขอ้ ๑๔ ใหม้ ีการบันทึกการเทยี บโอนผลการเรยี น และการประเมินผล ดงั นี้
ก. ระดบั ปรญิ ญาตรี

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๘๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑) รายวิชา ชดุ วชิ า หรอื โมดลู การเรยี นรู้ทเ่ี ทยี บโอนผลการเรียนได้จะไม่นามา
คิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาค และค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม โดยให้บันทึก “เทียบโอน
ในระบบ” หรือ “Transfer Credits” ไว้ส่วนบนของรายวิชาที่เทียบโอนผลการเรียนในใบ
แสดงผลการเรยี น

(๒) รายวิชาหรือชุดวิชาที่เทียบโอนให้ หากเป็นหลักสูตรท่ีมีองค์กรวิชาชีพ
ควบคุมและต้องใช้ผลการเรียนยื่นขอใบประกอบวิชาชีพ ให้เป็นไปตามข้อกาหนดขององค์กร
วิชาชีพ

กรณีองค์กรวิชาชีพกาหนดระดับคะแนนในรายวิชาหรือชุดวิชาที่เทียบโอน ผล
การเรียน เพื่อนามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาค และค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมให้
บันทึกตัวอักษร “TC” (Transfer Credits) ไว้ส่วนท้ายรายวิชา หรือชุดวิชาท่ีเทียบโอนผลการ
เรยี นได้ในใบแสดงผลการเรียนรายวิชาหรือชุดวิชาที่เทยี บโอนในใบแสดงผลการเรียน

ข. ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา
รายวิชา ชุดวิชาหรือโมดูลการเรียนรู้ที่เทียบโอนให้ จะไม่นามาคิดค่าระดับ

คะแนนเฉลี่ยประจาภาคและค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม โดยให้บันทึก “เทียบโอนในระบบ”
หรอื “Transfer Credits” ไวส้ ่วนบนของรายวชิ าทเ่ี ทียบโอนให้ในใบแสดงผลการเรยี น

ข้อ ๑๕ นักศึกษาที่ไปศึกษาที่สถาบันอุดมศึกษาอื่นในประเทศ หรือต่างประเทศ
ตามโครงการความร่วมมือในการผลิตบัณฑิตร่วมกัน หรือตามโครงการแลกเปล่ียนทางวิชาการ
สามารถนารายวิชาและหน่วยกิตท่ีได้ศึกษามาแล้ว มาเทียบโอนเป็นรายวิชาและหน่วยกิตใน
หลักสูตรของมหาวิทยาลยั โดยมหี ลักเกณฑ์ดงั นี้

(๑) รายวิชาที่นามาเทียบโอนให้บันทึกรายวิชาตามหลักสูตร เป็นคา่ ระดับคะแนน
ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+ (D+) ง (D) และ ต (F)

(๒) ให้นาผลการศึกษาทุกรายวิชาท่ีมีผลการเรียนตามข้อ (๑) มาคานวณแต้ม
ระดับคะแนนเฉลี่ยรวมกบั รายวชิ าทีศ่ ึกษาในมหาวทิ ยาลยั

(๓) นักศึกษาเทียบโอนรายวิชาของคู่สถาบันได้ไม่เกินก่ึงหนึ่งของจานวนหน่วยกิต
รวมของหลักสูตรท่รี บั เทียบโอน

(๔) นักศึกษาไม่ตอ้ งชาระค่าธรรมเนยี มการเทียบโอนรายวชิ า

(๙๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวด ๓
การเทียบโอนผลการเรียน จากการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั

เขา้ ส่กู ารศึกษาในระบบ

ข้อ ๑๖ หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้
และให้หน่วยกิตจากการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เข้าสู่การศึกษาในระบบ
มดี งั นี้

ก. ระดับปริญญาตรี
(๑) วิธีการประเมินเพื่อการเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบโอนผลลัพธ์

การเรียนรู้จะกระทาได้โดยการทดสอบมาตรฐาน การทดสอบท่ีไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน
การประเมินการจัดการศึกษาหรืออบรมที่จัดโดยหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน การประเมินแฟ้ม
สะสมงาน

(๒) การเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยเทียบโอนผลการเรียนจะเทียบ
รายวิชาตามหลักสูตรท่ีเปิดสอนในมหาวิทยาลัย โดยรายวิชา หรือชุดวิชาใหเ้ ม่ือรวมกันแล้วต้องมี
จานวนหน่วยกิตไมเ่ กนิ สามในสข่ี องจานวนหนว่ ยกิตตลอดหลักสตู ร

(๓) การขอเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยเทียบโอนผลการเรียนเป็น
รายวิชา หรือชุดวิชาให้คณะกรรมการเทียบโอนเป็นผู้ดาเนินการเทียบโอน ตามแนวปฏิบัติการ
เทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เข้าสรู่ ะบบการศกึ ษาในระบบ ทม่ี หาวิทยาลยั กาหนด โดยการเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรนู้ ั้นต้อง
ได้รับผลการประเมินเทียบผลการเรียนได้ ไม่ต่ากว่า “ค” หรือ “C” หรือแต้มคะแนน ๒.๐๐
หรือเทียบเท่า จึงจะให้นบั จานวนหนว่ ยกติ ชดุ วิชาหรอื รายวิชาน้นั

(๔) รายวิชาหรือชุดวิชาที่เทียบโอนให้ จะไม่นามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
ประจาภาค และค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม โดยบันทึก “เทียบโอนนอกระบบ” หรือ “Prior
Learning Credits” ไว้ส่วนบนของรายวิชาทเ่ี ทียบโอนให้ในใบแสดงผลการเรียน เว้นแต่หลักสูตร
ท่ีมีองคก์ รวชิ าชีพควบคุม ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และข้อกาหนดขององค์กรวชิ าชีพนน้ั

ในกรณีมีเหตุผลความจาเป็น มหาวิทยาลัยมีเอกสิทธ์ิท่ีจะให้ภาควิชาหรือ
สาขาวชิ าทาการประเมนิ ความรขู้ องผูท้ ี่จะขอเทยี บโอนความรู้

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๙๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข. ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา
(๑) วิธีการประเมินเพ่ือการเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบโอนผลลัพธ์

การเรียนรู้จะกระทาได้โดยการทดสอบมาตรฐาน หรือการทดสอบที่ไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน
การประเมินการจัดการศึกษา หรืออบรมที่จัดโดยหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนหรือการประเมิน
แฟม้ สะสมงาน

(๒) การขอเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยเทียบโอนผลการเรียนเป็น
รายวิชาหรือชุดวิชา ให้คณะกรรมการเทียบโอนเป็นผู้ดาเนินการเทียบโอนตามแนวปฏิบัติการ
เทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เข้าสู่ระบบการศกึ ษาในระบบทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด โดยการเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรนู้ ั้นต้อง
ได้รับผลการประเมินเทียบได้ไม่ต่ากว่า B หรือแต้มระดับคะแนน ๓.๐๐ หรือเทียบเท่าสาหรับ
รายวิชาหรือชุดวิชานั้น จึงจะให้นับจานวนหน่วยกิตรายวิชาหรือชุดวิชานั้น แต่จะไม่ให้ระดับ
คะแนนตัวอกั ษร และไม่มกี ารนามาคดิ คะแนนผลการเรียน

(๓) นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาหรือวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้า
อิสระตามจานวนหนว่ ยกิตท่สี อดคลอ้ งกบั หลกั สูตร

(๔) รายวิชาที่เทียบโอนให้ จะไม่นามาคิดค่าระดับคะแนนเฉลี่ยประจาภาค
และค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม โดยบันทึก “เทียบโอนนอกระบบ” หรือ “Prior Learning
Credits” ไวส้ ่วนบนของรายวชิ าท่ีเทียบโอนให้ในใบแสดงผลการเรียน เว้นแตห่ ลกั สตู รท่ีมีองค์กร
วิชาชีพควบคมุ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และข้อกาหนดขององค์กรวชิ าชพี นัน้

ในกรณีมีเหตุผลความจาเป็น มหาวิทยาลัยมีเอกสิทธ์ิท่ีจะให้คณะทาการประเมิน
ความรขู้ องผ้ทู ่ีจะขอเทยี บโอนความรู้

ขอ้ ๑๗ ใหม้ ีการบันทกึ ผลการเรยี นรายวิชา และชุดวิชาตามวธิ ีการดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) หน่วยกิตท่ีได้จากการทดสอบมาตรฐาน ใหบ้ นั ทึกอักษร “CS” (Credits from
Standardized Test)
(๒) หน่วยกิตที่ได้จากการทดสอบที่ไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน ให้บันทึกอักษร
“CE” (Credits from Examination)
(๓) หน่วยกิตที่ได้จากการประเมินการจัดการศึกษาหรืออบรมท่ีไม่ได้จัด โดย
สถาบนั อดุ มศึกษา ใหบ้ นั ทึกอกั ษร “CT” (Credits from Training)

(๙๒) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๔) หน่วยกิตท่ีได้จากการเสนอแฟ้มสะสมผลงาน ให้บันทึกอักษร “CP” (Credits
from Portfolio)

(๕) หน่วยกติ จากการประเมินการศึกษาหรืออบรมหลกั สูตรในสถาบันอุดมศึกษาที่
ไม่ได้รับปรญิ ญา ให้บันทึกอักษร “CN” (Credits from Non-degree Program)

(๖) หน่วยกิตจากการประเมินการศึกษาหลักสูตรในระบบคลังหน่วยกิต ของ
มหาวิทยาลัย ให้บันทึกอกั ษร “CC” (Credits from Credits Bank System of RMUTK)

การบันทึกผลการเทียบโอนตามวิธีการประเมินในวรรคหน่ึง ให้บันทึกไว้ส่วนท้าย
ของรายวชิ า หรอื ชุดวิชาที่เทียบโอนให้

กรณที ่ีผู้ขอเทียบโอน มีผลการเรียนตามวธิ ีการประเมนิ มากกว่าหนึ่งวิธกี ารประเมิน
ให้สามารถนามารวมกนั และบันทึกผลการเทียบโอนได้

ในกรณีท่ีหลักสูตรท่ีมีองค์กรวิชาชีพควบคุม และต้องใช้ผลการเรียนประกอบ
การขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ใหก้ าหนดระดับคะแนนในรายวิชา หรอื กลุ่มวิชาเพื่อนามาคิด
ค่าระดับคะแนนเฉลย่ี ประจาภาค และค่าระดับคะแนนเฉล่ยี สะสม โดยบันทกึ อักษร “PL” (Prior
Learning) ไวส้ ่วนทา้ ยรายวิชาทเี่ ทียบโอนใหใ้ นใบแสดงผลการเรยี น

ข้อ ๑๘ การพิจารณาบันทึกผลการเรียนรู้ ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการเทียบโอน
ผลการเรยี นกาหนด

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๑๙ นักศึกษาที่เข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา ๒๕๖๔ ให้ใช้หลักเกณฑ์การเทียบ
โอนตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน
พ.ศ. ๒๕๕๐ จนกวา่ จะสาเร็จการศกึ ษาโดยอนโุ ลม

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ศักด์ิทิพย์ ไกรฤกษ์
(นายศกั ด์ิทพิ ย์ ไกรฤกษ์)
นายกสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ


Click to View FlipBook Version