The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2022-05-17 02:36:15

คู่มือนักศึกษา 2564

คู่มือนักศึกษา 2564

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๙๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรือ่ ง การลงทะเบียนเรียนขา้ มภาคการศกึ ษา
------------------------------------------

เพื่อให้การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาระดับปริญ ญ าตรี ดาเนินไปด้วย
ความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย อย่างมีประสิทธิภาพ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพจงึ ขอ
แจง้ กาหนดการ ดงั ตอ่ ไปน้ี

นักศึกษาท่ีมีความประสงค์จะลงทะเบียนเรียนข้ามภาค เช่น ภาคปกติไป
ภาคสมทบ หรือภาคสมทบไปภาคปกติจะต้องชาระค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนเรียน
ข้ามภาคในรายวิชาละ ๑,๐๐๐ บาท และไมเ่ กิน ๒ รายวิชา ต่อภาคการศึกษา

กรณีที่นักศึกษาภาคปกติลงทะเบียนเรียนข้ามภาค กับนักศึกษาภาคสมทบเกิน
๒ รายวิชา ถือเป็นการย้ายรอบ จะต้องชาระค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนเช่นเดียวกับนักศึกษา
ภาคสมทบ และกรณีนักศึกษาภาคสมทบลงทะเบียนเรียนข้ามภาคกับนักศึกษาภาคปกติ
จะลงทะเบียนได้ไม่เกนิ ๒ รายวชิ า

ประกาศนี้ใหใ้ ชบ้ งั คับตั้งแตว่ นั ประกาศเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

(ลงช่อื ) เฉลมิ มัติโก
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เฉลิม มตั ิโก)

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๙๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง การตรวจสอบผลการลงทะเบียน และกลุ่มเรยี น (Section)

--------------------------------------------------
เพ่ือให้การลงทะเบียนรายวิชา และการเข้าช้ันเรียนได้ตรงกลุ่ม (Section) ในแต่ละ
ภาคการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นไปอย่างถูกต้อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ จึงขอประกาศใหน้ กั ศกึ ษาตรวจสอบผลการลงทะเบยี น ดังน้ี
๑. ให้นักศกึ ษาตรวจสอบผลการลงทะเบยี นรายวิชา และกล่มุ เรียนของแตล่ ะรายวิชา
ให้ถูกตอ้ ง ตรงกับอาจารย์ผู้สอนและเวลาเรียน ผ่านเวบ็ ไซต์ระบบงานทะเบียน ของสานักส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียน (www.ascar.rmutk.ac.th) ภายใน ๒ สัปดาห์แรกของการเปิดภาค
การศึกษา

กรณีที่ผลการลงทะเบียนรายวิชา และกลุ่มเรียนไม่ถูกต้อง ให้นักศึกษาติดต่อ
สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อดาเนินการแก้ไข ให้ถกู ต้องเสรจ็ ส้ิน ภายในสัปดาห์ท่ี
๔ หลังจากเปดิ ภาคการศึกษา

๒. กรณีท่ีนักศึกษาไม่ตรวจสอบผลการลงทะเบียนรายวิชา และเข้าเรียนผิดกลุ่มไม่
ตรงตามที่ลงทะเบียนไว้ และเพิกเฉย ไม่ดาเนินการใด ๆ มหาวิทยาลัย จะให้ผลการศึกษาประจา
ภาคของนักศึกษาท่เี ข้าเรียนผดิ กลุ่ม (Section) เปน็ F โดยอตั โนมัติ

๓. ประกาศน้ี ให้ใชบ้ งั คบั ต้ังแตว่ นั ประกาศเปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(ลงชื่อ) เฉลมิ มตั โิ ก
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เฉลิม มตั ิโก)

อธิการบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๙๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง การลงทะเบียนของนักศกึ ษากลมุ่ สหกิจศึกษา นักศึกษาฝกึ งานใน
สถานประกอบการ หรือนกั ศึกษาฝึกประสบการณก์ ารสอนในสถานศกึ ษา

---------------------------------------------------------
เพ่ือให้การลงทะเบียนของนักศึกษากลุ่มสหกิจศึกษา นักศึกษาฝึกงานในสถาน
ประกอบการ หรือนักศึกษาฝึกประสบการณ์การสอนในสถานศึกษา ดาเนินไปด้วยความเป็น
ระเบยี บ เรียบร้อย มปี ระสิทธิภาพ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึงขอแจ้งขอ้ ปฏิบัติ
ดังตอ่ ไปนี้
“มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อนุญาตให้นักศึกษาที่ลงทะเบียน
กลุ่มสหกิจศึกษา นักศึกษาฝึกงานในสถานประกอบการ หรือนักศึกษาฝึกประสบการณ์การสอน
ในสถานศึกษา ลงทะเบียนเรียน จานวน ๖ หน่วยกิต ในภาคการศึกษาน้ันได้ และไม่อนุญาตให้
นกั ศึกษากลุ่มดังกลา่ ว ลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าอืน่ รว่ มดว้ ยทุกกรณ”ี
ประกาศนใี้ ห้ใช้บงั คับ ต้ังแต่วนั ประกาศเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๐ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(ลงชอ่ื สาธติ พทุ ธชยั ยงค์
(นายสาธติ พทุ ธชัยยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๙๖) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรือ่ ง การลงทะเบียนเรยี นประจาภาคฤดูรอ้ น
------------------------------------

นักศกึ ษาท่ีสามารถลงทะเบียนเรยี นภาคฤดรู อ้ น ในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี
๑. ลงทะเบียนรายวิชาติด F หรือ W ไว้ในภาคเรียนก่อนหน้านี้ และเป็น

รายวิชาบงั คบั ก่อนทจ่ี ะเรียนในภาคเรยี นต่อไป
๒. รายวชิ าสดุ ท้าย เพ่ือสาเรจ็ การศึกษา
๓. หลักสตู รกาหนดแผนการเรยี นในภาคฤดูรอ้ น
๔. นกั ศึกษาท่ีถูกปรับทุจริต สามารถลงทะเบียนรายวิชาท่ีทุจริตได้ (รายวชิ า

ทีถ่ กู ยกเลิก ไมส่ ามารถลงทะเบียนได)้
ในกรณีท่ีนักศึกษา ขอลงทะเบียนข้ามภาคปกตไิ ปเรียนภาคสมทบ และภาค

สมทบไปขอเรียนภาคปกติ กระทาได้กรณีเดียวคือ เป็นวิชาสุดท้ายของการเรียน และเพ่ือสาเร็จ
การศกึ ษา

คา่ ลงทะเบียน ให้ชาระตามอัตราข้ันสงู ของกลุม่ ท่ีไปลงทะเบยี น
นักศึกษาท่ีไม่เป็นไปตามประกาศนี้ และได้ทาการลงทะเบียนไปแล้ว ขอให้
มาดาเนินการยกเลิกการลงทะเบียน และทาเร่ืองขอรับเงินคืน แต่ถ้านักศึกษาผู้ใดท่ีไม่มายกเลิก
การลงทะเบียน ทางสานักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน จะทาการยกเลิกการลงทะเบยี นให้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๕ เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๑

(ลงช่ือ) เฉลิม มัติโก
( ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เฉลิม มตั โิ ก)

อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๙๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง การลงทะเบียนประจาภาคการศกึ ษา
-----------------------------------------

ตามที่ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ กาหนดการลงทะเบยี นประจา
ภาคการศึกษานั้น เพื่อให้การลงทะเบียนของนักศึกษา และรายช่ือในการเข้าชั้นเรียน และเข้า
สอบประจาภาคการศกึ ษา เป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มหาวทิ ยาลัยจึงขอประกาศดังน้ี

ข้อ ๑ นักศึกษาที่ทาการลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ หรือผ่านเคาน์เตอร์ให้บริการ
โดยเจ้าหน้าท่ีสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน จะต้องชาระเงินภายในวัน เวลาท่ี
มหาวทิ ยาลัยกาหนด

หากภายหลังจากเปิดภาคการศึกษา ๓๐ วัน นักศึกษายังมิได้ดาเนินการ
ดังกล่าว สวท.จะทาการยกเลิกการลงทะเบียน และนักศึกษาจะไม่มีรายชื่อในการเข้าช้ันเรียน
และหมดสิทธิ์สอบ ท้ังนี้ นักศึกษาจะต้องติดต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพ่ือทา
การรกั ษาสภาพการเปน็ นักศกึ ษา โดยเสยี ค่าธรรมเนยี มในการรักษาสภาพ จานวน ๓๐๐ บาท

ข้อ ๒ นั ก ศึ ก ษ าท่ี มิ ได้ ด าเนิ น การใด ๆ ใน ภ าค ก ารศึ ก ษ านั้ น เช่ น
การลงทะเบียนแล้วมิได้ชาระเงิน การลาพักหรือการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ภายหลังจาก
เปิดภาคการศึกษา ๓๐ วัน สวท.จะทาการปรับสถานะนักศึกษาดังกล่าว นักศึกษาจะต้อง
ดาเนินการติดตอ่ สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพือ่ ทาการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา
โดยเสียค่าธรรมเนียมในการรักษาสภาพ จานวน ๓๐๐ บาท

ข้อ ๓ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไม่อนุญาตให้นักศึกษา
ดาเนินการลงทะเบยี นยอ้ นหลัง เวน้ แตน่ กั ศกึ ษาจะทาการขอผ่อนผันต่อคณบดไี วก้ ่อน หนา้ นัน้

ข้อ ๔ ในกรณีที่มีปัญหาเก่ยี วกบั ประกาศน้ี ให้เสนอตอ่ อธกิ ารบดีเป็นผู้พิจารณา
ตัดสินผล

ขอ้ ๕ ประกาศนี้ ใหใ้ ช้บังคับต้ังแต่วนั ประกาศเปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

ลงชือ่ สาธิต พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธติ พทุ ธชยั ยงค์)

อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๙๘) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรือ่ ง เกณฑก์ ารลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทน
และการนับหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตร
พ.ศ. ๒๕๕๔

----------------------------------------
ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงเกณฑ์การ
ลงทะเบียนเรยี นซ้า หรือแทน และการนบั หน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร ใหเ้ หมาะสมยิ่งขนึ้

อาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๘ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ วา่ ด้วยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ซง่ึ ออกตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แห่ง
พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัย จึงประกาศ
ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ประกาศน้ี เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทน และการนับหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
พ.ศ. ๒๕๕๔”

ข้อ ๒ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทน และการนับหน่วยกิตรวมตลอด
หลักสตู ร

๒.๑ เกณฑ์การลงทะเบยี นเรียนซ้า หรือการเรียนเน้น (Regrade)
๒.๑.๑ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน มีหน่วยกิตรวมต้ังแต่ ๓๐ – ๕๙

หน่วยกิต และมีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมระหว่าง ๑.๕๐ ถึง ๑.๗๔ ให้มีสิทธิลงทะเบียนเรียน
รายวิชาท่ีได้รับคะแนน ง (D) หรอื ง+ (D+) น้นั ซ้าอกี ได้

๒.๑.๒ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน มีหน่วยกิตรวมตั้งแต่ ๖๐ หน่วยกิต
ขึน้ ไปถึงจานวนหน่วยกิตก่อนครบหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมระหว่าง ๑.๗๕ ถึง
๑.๘๙ ใหม้ สี ทิ ธลิ งทะเบยี นเรียนรายวชิ าท่ไี ดร้ บั คะแนน ง (D) หรอื ง+ (D+) นัน้ ซา้ อีกได้

๒.๑.๓ นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนน
เฉลี่ยสะสมระหว่าง ๑.๗๕ ถึง ๑.๙๙ กรณีนักศึกษามีรายวิชาที่ได้รับระดับคะแนน ต (F) ให้
นกั ศกึ ษาขอลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาทไ่ี ด้ระดบั คะแนน ต (F) และมสี ิทธลิ งทะเบยี นเรียนซ้า
รายวิชาอนื่ ควบคูก่ นั ได้

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๙๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๒.๑.๔ นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ย
สะสมระหว่าง ๑.๙๐ – ๑.๙๙ ให้มีสิทธิลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่ได้รับคะแนนตา่ กว่า ก (A) นั้น
ซา้ อีกได้

การนับหน่วยกิตรวม ให้คานวณจากหน่วยกิตที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนใน
แต่ละภาคการศึกษา และได้รับผลการศึกษาตั้งแต่เริ่มสภาพการเป็นนักศึกษา จนถึง
ภาคการศึกษาปจั จุบัน

๒.๒ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทนกัน ให้นับหน่วยกิตของรายวิชาท่ีได้ระดับ
คะแนนที่ดีท่ีสดุ เพยี งคร้ังเดียว ในการคานวณหาคา่ ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสม

๒.๓ การนับหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ให้นับรวมเฉพาะหน่วยกิตของรายวิชาท่ี
ไดร้ ะดบั คะแนนต้ังแต่ ง (D) ขึน้ ไป หรอื ไดค้ ะแนน พ.จ. (S) เทา่ นัน้

๒.๔ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือการเรียนเน้น (Regrade) สามารถกระทาได้ไม่
เกนิ ระยะเวลาสองเท่าของแผนการเรยี นตามหลกั สตู ร

๒.๕ นักศกึ ษาทีล่ งทะเบียนเรียนเนน้ (Regrade) ไม่มสี ิทธิได้รับเกยี รตินิยม
ข้อ ๓ ประกาศนี้ ใหใ้ ช้บงั คบั ต้ังแต่วนั ถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔

ลงช่ือ สาธติ พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธิต พุทธชยั ยงค)์

อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑๐๐) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง ข้อปฏบิ ัติในการสอบของนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญา

พ.ศ. ๒๕๕๗
-----------------------------------
ด้วยมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เหน็ สมควรปรับปรงุ ข้อปฏิบัตใิ น
การสอบของนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาให้เหมาะสมยงิ่ ข้นึ
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๕ แห่งระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่า
ด้วยการสอบของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๗ มหาวิทยาลัย จึงประกาศ ข้อปฏิบัติใน
การสอบของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาดังน้ี
ขอ้ ๑ ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
เรอ่ื ง ข้อปฏิบัติในการสอบของนกั ศึกษาระดับปรญิ ญา พ.ศ. ๒๕๕๗”
ขอ้ ๒ ประกาศนี้ ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตัง้ แต่วนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ “ประกาศมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ เร่อื ง ข้อ
ปฏิบัตใิ นการสอบของนกั ศึกษาระดบั ปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๒”
ข้อ ๔ ผู้เข้าสอบจะต้องเข้าสอบตามตารางสอบและห้องสอบที่คณะ หรือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพได้ประกาศไว้ หากไม่มาเข้าสอบตามตารางสอบและ
ห้องสอบท่ีกาหนด ถอื ว่า ขาดสอบในรายวิชาน้ัน
ข้อ ๕ ในกรณีผู้เข้าสอบมาถึงห้องสอบสายไม่เกิน ๓๐ นาที จะเข้าสอบได้
ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากกรรมการกากับห้องสอบ และไม่อนุญาตให้ต่อเวลาสอบ หากผู้เข้าสอบ
มาถึงหอ้ งสอบสายเกนิ กวา่ ๓๐ นาที จะไม่ไดร้ บั อนุญาตให้เข้าห้องสอบ
ข้อ ๖ ผเู้ ข้าสอบต้องแสดงบัตรประจาตวั นักศกึ ษา ให้กรรมการกากบั หอ้ งสอบ
ตรวจทุกคร้ังท่ีเข้าสอบ ในกรณีที่ผู้เข้าสอบ มิได้นาบัตรประจาตัวนักศึกษามา สามารถใช้ใบแทน
บัตรประจาตัวนักศึกษาท่ีออกจากสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน/ บัตรประจาตัว
ประชาชน / บัตรประจาตัวข้าราชการ / ใบขบั ขีม่ าแสดง จึงจะเข้าสอบได้ และไม่อนุญาตให้ต่อ
เวลาสอบ
ข้อ ๗ ผู้เข้าสอบจะต้องน่ังประจาตามท่ีน่ังสอบที่กาหนดให้ จะเปลี่ยนท่ีนั่ง
สอบกอ่ นได้รบั อนญุ าตไมไ่ ด้

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๐๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๘ ผู้เข้าสอบต้องแต่งกายให้สุภาพตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ วา่ ดว้ ยเครอื่ งแบบ เคร่อื งหมาย และเคร่อื งแต่งกายของนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

ข้อ ๙ ผู้เข้าสอบต้องจัดหาอุปกรณ์ เครื่องเขียนท่ีจาเป็นเกี่ยวกับการเขียน
มาเอง เช่น ปากกา ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด ไม้ฉาก ไม้โปรแทรกเตอร์ วงเวียน เป็นต้น และ
ไม่อนุญาตให้ยืมสิ่งของทุกชนิดจากผู้เข้าสอบอ่ืน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกรรมการกากับ
หอ้ งสอบ

ข้อ ๑๐ ห้ามผู้เข้าสอบนาตารา บันทึก เอกสาร เคร่ืองคานวณ อุปกรณ์หรือส่ิง
อ่ืนใดท่ีมีสูตรสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับการสอบในรายวิชานั้น ๆ เข้าห้องสอบ เว้นแต่จะได้รับ
อนุญาตไว้ในขอ้ สอบของรายวชิ าน้นั ๆ และผู้เขา้ สอบต้องจัดหามาเอง

ข้อ ๑๑ ในระหว่างการสอบ ห้ามผู้เข้าห้องสอบพูดหรือติดต่อซ่ึงกันและกัน หรือ
กอ่ การรบกวนแกผ่ ูอ้ ื่น เช่น สบู บหุ รี่ สง่ เสยี งดงั เป็นต้น

ข้อ ๑๒ ผู้เข้าสอบต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามความที่แจ้งไว้ในข้อสอบเม่ือส่งสมุด
คาตอบและ/หรอื กระดาษคาตอบแล้ว จะขอแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงใด ๆ อกี มิได้

ข้อ ๑๓ การขอสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบเพ่ิมเติม หรืออุปกรณ์
เกี่ยวกับการสอบ หรือมีข้อสงสัยในการสอบ ให้ผู้เข้าสอบสอบถามจากกรรมการกากับห้องสอบ
เท่านั้น

ข้อ ๑๔ ห้ามฉีกหรือนาสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษใด ๆ ที่แจกให้ในห้องสอบ
ออกจากห้องสอบ ไมว่ า่ กรณใี ด ๆ

ขอ้ ๑๕ ผู้เข้าสอบจะออกจากห้องสอบได้ ต่อเมื่อการสอบได้ดาเนินการผ่านพ้น
ไปแล้วก่ึงหน่ึงของเวลาในการสอบรายวิชานั้น ๆ นับแต่เริ่มสัญญาณให้เข้าสอบ และรอจนกว่า
กรรมการกากับหอ้ งสอบจะมาเก็บสมดุ คาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบเรยี บร้อยแลว้

การขออนุญาตออกจากห้องสอบช่ัวคราว หรือหลังระยะเวลาที่กาหนด
ในวรรคแรก ให้อยใู่ นดุลพนิ ิจของกรรมการกากบั หอ้ งสอบ

ข้อ ๑๖ หากผู้เข้าสอบต้องการส่งสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบก่อน
หมดเวลาท่ีกาหนดไว้ ให้ยกมือข้ึนและรอจนกว่ากรรมการกากับห้องสอบจะมาเก็บสมุดคาตอบ
และ/หรือกระดาษคาตอบเรยี บร้อยแลว้ จึงจะออกจากห้องสอบได้

ในกรณีที่ผู้เข้าสอบมิได้ทาข้อสอบให้ดาเนินการตามความในวรรคแรก
เช่นเดียวกัน

(๑๐๒) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ้ ๑๗ เมื่อมีสัญญาณหมดเวลา ห้ามผู้เข้าสอบเขียนต่อไปอีก ให้ผู้เข้าสอบ
วางสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบน้ันไว้บนโต๊ะของตน และรอจนกว่ากรรมการกากับ
ห้องสอบจะมาเก็บสมดุ คาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบเรยี บรอ้ ยแล้ว จึงจะออกจากหอ้ งสอบได้

ข้อ ๑๘ เมื่อผู้เข้าสอบได้ส่งสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบแก่กรรมการ
กากับห้องสอบเรียบร้อยแล้ว ผู้เข้าสอบต้องออกไปให้พ้นบริเวณห้องสอบทันที และไม่กระทา
การรบกวนแกผ่ ู้เขา้ สอบอืน่ ทีก่ าลังสอบอยู่

ข้อ ๑๙ ในกรณีท่ีผู้เข้าสอบต้องสงสัยกระทาการทุจริต ให้กรรมการกากับ
หอ้ งสอบมีอานาจตรวจค้นผเู้ ขา้ สอบได้

ข้อ ๒๐ ผู้เข้าสอบผู้ใดกระทาการฝ่าฝืนประกาศนี้ หรือพยายามกระทาการ
ทุจริตในการสอบรายวิชาใด เมื่อได้สอบสวนแล้ว ประธานกรรมการหรือผู้มีอานาจหน้าท่ีในการ
จัดการสอบ มอี านาจสั่งไม่ให้ผ้นู ั้นเข้าสอบรายวิชาน้นั หรือสั่งไมต่ รวจคาตอบรายวิชานัน้ ของผู้น้ัน
โดยถือว่าสอบตกเฉพาะรายวชิ ากไ็ ด้

ถ้าการกระทาดังกลา่ วในวรรคแรกเข้าลักษณะรา้ ยแรง อาจส่ังไม่ใหผ้ นู้ นั้ เข้าสอบ
ตอ่ ไปกไ็ ด้

ขอ้ ๒๑ ผู้เขา้ สอบผู้ใดกระทาการทุจริตในการสอบรายวิชาใด ให้คณะกรรมการ
สอบประจาภาคการศึกษาทารายงานเสนอให้คณะกรรมการประจาคณะท่ีเป็นคณะกรรมการ
ภายในของคณะ พจิ ารณาโทษเปน็ ๓ สถาน ตามลักษณะของความผิด คอื

๒๑.๑ ให้ไดร้ ะดบั คะแนน ต. หรอื F ในรายวชิ าท่ที าการทจุ รติ นน้ั
๒๑.๒ ให้ได้ระดับคะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาท่ีทาการทุจริตนั้น และส่ัง
ยกเลกิ การลงทะเบียนเรยี นทกุ รายวชิ าในภาคการศกึ ษานนั้
๒๑.๓ ใหพ้ น้ สภาพการเป็นนักศกึ ษา
เมื่อคณะกรรมการประจาคณะที่เป็นคณะกรรมการภายในของคณะ
พจิ ารณาโทษสถานใด ให้คณบดีเป็นผลู้ งนามในคาส่ังกรณีลงโทษตามข้อ ๒๑.๑ และ ๒๑.๒ แล้ว
แจ้งสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนเพ่ือทราบ กรณีลงโทษตามข้อ ๒๑.๓ ให้เสนอ
มหาวิทยาลัยพจิ ารณาสง่ั การ
ข้อ ๒๒ กรณีกระทาการทุจรติ โดยการคัดลอกคาตอบระหว่างผู้เข้าสอบด้วยกัน
ให้สนั นษิ ฐานไวก้ อ่ นว่าผู้เข้าสอบนนั้ ไดส้ มคบกันกระทาการทุจริต

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๐๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๒๓ กรณีท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศน้ี หรือประกาศน้ีมิได้
กาหนดไวใ้ หอ้ ธกิ ารบดเี ปน็ ผู้วนิ จิ ฉยั ชี้ขาด

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

(ลงชอื่ ) สาธติ พุทธชยั ยงค์
(นายสาธิต พุทธชยั ยงค์)

อธิการบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

(๑๐๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปริญญาตรี

--------------------------------------------
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๘ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงออกตามความในมาตรา
๑๗ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๔๘ และโดย
ความเห็นชอบของสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ ในการประชุมคร้งั ท่ี ๔/๒๕๕๐
เมื่อวันท่ี ๒๖ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
จึงกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรดี ังต่อไปน้ี
ข้อ ๑ ให้คณะที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย จัดการวัดและประเมินผลการศึกษา
สาหรับรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนไว้ในแต่ละภาคการศึกษาหน่ึง โดยการประเมินผล
การศึกษาในแต่ละรายวิชา ให้กาหนดเป็นระดับคะแนน ค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิตและ
ผลการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี

ระดบั คะแนน (GRADE) ค่าระดบั คะแนนต่อหน่วยกิต ผลการศึกษา

ก หรอื A ๔.๐๐ ดีเยย่ี ม (Excellent)
๓.๕๐ ดีมาก (Very Good)
ข หรอื B ๓.๐๐ ดี (Good)
ข หรือ B ๒.๕๐ ดพี อใช้ (Fairly Good)
๒.๐๐ พอใช้ (Fair)
ค หรอื C ๑.๕๐ อ่อน (Poor)
ค หรอื C ๑.๐๐ ออ่ นมาก (Very Poor)

ง หรอื D ๐ ตก (Fail)
ง หรอื D  ถอนรายวิชา (Withdrawn)
ต หรือ F  ไม่สมบูรณ์ (Incomplete)
ถ หรือ W  พอใจ (Satisfactory)
ม.ส. หรอื I  ไม่พอใจ (Unsatisfactory)
พ.จ. หรอื S  ไม่นบั หนว่ ยกติ (Audit)
ม.จ. หรอื U
ม.น. หรือ AU

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๐๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๒ การให้ระดับคะแนน ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+( D+)
ง (D) และ ต (F) จะกระทาได้ในกรณี ตอ่ ไปน้ี

๒.๑ ในรายวชิ าท่ีนักศึกษาเขา้ สอบและหรือมีผลงานทีป่ ระเมินการศกึ ษาได้
๒.๒ เปลย่ี นจากระดับคะแนน ม.ส. (I)
ขอ้ ๓ การใหร้ ะดบั คะแนน ต (F) นอกเหนือไปจากขอ้ ๒ แล้วจะกระทาไดด้ ังตอ่ ไปน้ี
๓.๑ ในรายวิชาท่ีนักศึกษามีเวลาศึกษาไม่ครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอด
ภาคการศึกษา
๓.๒ เม่ือนักศึกษาทาผิดระเบียบการสอบในแต่ละภาคการศึกษา ตามข้อบังคับ
หรือระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการนั้น ๆ และได้รับการตัดสนิ ให้ได้ระดับคะแนน
ต (F)
ขอ้ ๔ การให้ระดบั คะแนน ถ (W) จะกระทาได้ในกรณีตอ่ ไปนี้
๔.๑ นักศึกษาป่วยก่อนสอบ และไม่สามารถเข้าสอบในบางรายวิชาหรือ
ท้ังหมดได้ โดยย่ืนใบลาป่วยพร้อมใบรับรองแพทย์ให้คณบดีพิจารณาร่วมกับอาจารย์ผู้สอน
หากเห็นว่าการศึกษาของนักศึกษาผู้นั้นขาดเน้ือหาส่วนท่ีสาคัญ สมควรให้ระดับคะแนน ถ (W)
ในบางวชิ าหรอื ทั้งหมด
๔.๒ นักศึกษาลาพักการศึกษาหลังจากสัปดาห์ที่ ๑๒ ในระหว่างภาคการศึกษา
ปกติหรือสปั ดาห์ ที่ ๖ ในระหวา่ งภาคการศึกษาฤดรู ้อน
๔.๓ คณบดีอนุญาตให้เปลี่ยนระดับคะแนนจาก ม.ส. (I) เน่ืองจากป่วยหรือเหตุ
สุดวสิ ัย
๔.๔ ในรายวิชาที่นักศึกษาได้รับอนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
(AU) และมีเวลาศกึ ษาไมค่ รบรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาคการศกึ ษา
ข้อ ๕ การให้ระดับคะแนน ม.ส. (I) จะกระทาได้ในรายวิชาท่ีผลการศึกษายังไม่
สมบูรณ์โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องระบุสาเหตุท่ีให้ระดับสาเหตุท่ีให้คะแนน ม.ส. (I) ประกอบไว้
ด้วย ในกรณตี อ่ ไปน้ี
๕.๑ กรณีมีเหตุเจ็บป่วยหรือเหตุสุดวิสัย และมีเวลาศึกษาครบร้อยละ ๘๐
โดยไดร้ ับอนุมตั จิ ากคณบดี

(๑๐๖) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๕.๒ กรณนี ักศึกษาทางานที่เป็นส่วนประกอบการศึกษายงั ไม่สมบูรณ์ และ
อาจารย์ผู้สอนรายวิชาน้ันเห็นสมควรให้รอผลการศึกษาไว้ ด้วยความเห็นชอบจากหัวหน้า
ภาควิชา

ขอ้ ๖ การขอแก้ระดับคะแนน ม.ส. (I) นักศึกษาจะต้องย่ืนคาร้องต่ออาจารย์
ผู้สอนรายวิชาน้ันโดยเร็วท่ีสุด ท้ังน้ีจะต้องกระทาภายในกาหนด ๑๐ วันทาการหลังจากวันเปิด
ภาคการศึกษาถัดไป เพ่ือขอให้อาจารย์ผู้สอนกาหนดระยะเวลาสาหรับการวัดผลการศึกษาที่
สมบูรณ์ในรายวิชาน้ัน เพื่อเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วัน
เปิดภาคการศึกษายกเว้นการเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ของรายวิชาที่เป็นโครงการ ให้ขอ
อนุมตั ิจากคณบดี เพื่อเปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) และให้คณะส่งระดับคะแนนถงึ สานกั ส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียนก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาถัดไป หากพ้นกาหนดท้ัง ๒ กรณีน้ีแล้ว
นักศกึ ษาทีไ่ ด้ระดบั คะแนน ม.ส. (I) ในรายวิชาใดถูกเปลย่ี นเป็นระดับคะแนน ต (F) โดยอัตโนมตั ิ

ก่อนวันส้ินภาคการศึกษาถัดไป หมายถึง ก่อนวันท่ีที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ให้
เป็นวันสน้ิ ภาคการศกึ ษาใด ๆ ถัดไปจากภาคการศึกษาทนี่ ักศึกษาได้ระดบั คะแนน ม.ส. (I) ไว้เป็น
ระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษา ยกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อนซึ่งเป็นภาคการศึกษาท่ีไม่บังคับ แต่
หากนักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูร้อน จะต้องดาเนินการวัดผลการศึกษาท่ีสมบูรณ์ให้
เสร็จส้ินก่อนวันส้ินภาคการศึกษาฤดูร้อน มิฉะน้ันระดับคะแนน ม.ส. (I) จะถูกเปลี่ยนเป็นระดับ
คะแนน ต (F) โดยอัตโนมัติ นักศึกษาท่ีได้ระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาใด ไม่
จาเป็นต้องลงทะเบียนเรียนเพ่ือขอปรับระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาต่อไปแต่การขอ
เปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาสุดท้ายของนักศกึ ษา นักศึกษาต้องขอรักษาสภาพ
การเป็นนกั ศึกษา และชาระเงินค่าธรรมเนยี มตามประกาศของมหาวิทยาลัย

ข้อ ๗ การเปล่ยี นระดับคะแนน ม.ส. (I) จะกระทาได้ในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี
๗.๑ นักศึกษาที่มีเวลาศึกษาครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาค

การศึกษาแต่ไม่ได้สอบเพราะเจ็บป่วยหรือมเี หตุสุดวิสัยและได้รับอนุมัติจากคณบดี ในกรณีเช่นนี้
การเปลย่ี นระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้ได้ตามระดับคะแนนปกติ

๗.๒ เม่ืออาจารย์ผู้สอนและหัวหน้าภาควิชาเห็นสมควรให้รอผลการศึกษา
เพราะนักศึกษาต้องทางานซึ่งเป็นส่วนประกอบการศึกษาในรายวิชาน้ันโดยมิใช่ความผิดของ
นักศึกษา ในกรณีเช่นนี้การเปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้สูงกว่าระดับคะแนน ค (C) ขึ้นไปได้

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๐๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

แต่ถ้าเป็นกรณีความผิดของนักศึกษาแล้ว การเปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) ไม่ให้ได้สูงกว่าระดับ
คะแนน ค (C)

ข้อ ๘ การให้ระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะกระทาได้ในรายวิชาท่ี
ผลการประเมนิ ผลการศกึ ษาเป็นทพ่ี อใจ และไมพ่ อใจ ดังกรณีต่อไปน้ี

๘.๑ ในรายวิชาท่ีหลักสูตรกาหนดไว้ว่ามีการประเมินผลการศึกษาอย่างไม่เป็น
ระดับคะแนน ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+( D+) ง (D) และ ต (F)

๘.๒ ในรายวิชาท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน นอกเหนือไปจากหลักสูตรและ
ขอรับการประเมินผลการศึกษาระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะไม่มีค่าระดับคะแนนต่อ
หน่วยกิตและหน่วยกิตท่ีได้ไม่นามาคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาคและค่าระดับ
คะแนนเฉลีย่ สะสม แต่ให้นบั รวมเขา้ เปน็ หน่วยกิตสะสมดว้ ย

ข้อ ๙ การให้ระดับคะแนน ม.น. (AU) จะกระทาได้ในรายวิชาใดวิชาหน่ึงที่อาจารย์
ที่ปรกึ ษาอาจจะแนะนาให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน เพื่อเป็นการเสริมความรู้โดยไม่นับหน่วยกิต
ในรายวชิ าน้ันกไ็ ด้ แตต่ อ้ งไดร้ บั อนุญาตจากอาจารยผ์ ้สู อนรายวิชานั้น

ขอ้ ๑๐ การคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
เมื่อสิ้นภาคการศึกษาหนึ่ง ๆ มหาวิทยาลัยจะคานวณค่าระดับคะแนนเฉล่ีย

ของรายวิชาท่ีนักศึกษาแต่ละคนได้ลงทะเบียนเรียนไว้ ในภาคการศึกษานั้น ๆ เรียกว่าค่าระดับ
คะแนนเฉลี่ยประจาภาคตามผลรวมของหน่วยกิต ท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแต่ละ
ภาคการศึกษา ซ่ึงเรียกว่าหน่วยกิตประจาภาค และจะคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
ทุกรายวิชาของทุกภาคการศึกษา รวมท้ังภาคการศึกษาฤดูร้อนด้วยตั้งแต่เริ่มสภาพการเป็น
นักศึกษาจนถึงภาคการศึกษาปัจจุบัน เรียกว่า ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตามผลรวมของ
หน่วยกิตที่นกั ศึกษาลงทะเบียนเรยี นทุกภาคการศึกษาทง้ั หมด ซ่ึงเรยี กว่า หน่วยกติ สะสม

ค่าระดับคะแนนเฉลีย่ มี ๒ ประเภท ซึง่ คานวณหาไดด้ ังตอ่ ไปน้ี
๑ ๐ .๑ ค่ าระ ดั บ ค ะ แ น น เฉ ล่ี ย ป ระ จ าภ าค ให้ ค าน ว ณ ห าจ า ก
ผลการศึกษาของนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา โดยเอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกติ คานวณ
กบั ค่าระดบั คะแนนต่อหน่วยกิต ท่ีนักศึกษาได้รับในแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง แลว้ หารด้วยผลรวม
ของหน่วยกิตประจาภาคในการหาร เมื่อได้ทศนิยมสองตาแหน่งแล้ว ถ้าปรากฏว่ายังมีเศษก็ให้
ปดั ทง้ิ

(๑๐๘) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

๑๐.๒ ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ให้คานวณหาจากผลการศึกษาของ
นักศึกษา ต้ังแต่เร่ิมสภาพการเป็นนักศึกษา จนถึงภาคการศึกษาปัจจุบันที่กาลังคิดคานวณ โดย
เอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิต คานวณกับค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิตท่ีนักศึกษาได้รับใน
แต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง แล้วหารด้วยผลรวมของจานวนหน่วยกิตสะสม ในการหาร เม่ือได้
ทศนยิ มสองตาแหนง่ แลว้ ถา้ ปรากฏวา่ ยังมีเศษกใ็ ห้ปัดทิ้ง

ข้อ ๑๑ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรอื แทน และการนับหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร
๑๑.๑ นักศึกษาท่ีได้รับคะแนน ง+(D+) หรือ ง(D) ในรายวิชาที่ต้องใช้

ประกอบการขออนุญาตประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติอื่น ให้มีสิทธิลงทะเบียนเรียน
รายวชิ านน้ั ซ้าอกี ได้ การลงทะเบยี นเรยี นทกี่ ล่าวน้ี เรยี กว่า การเรยี นเนน้ (Regrade)

๑๑.๒ รายวิชาใดที่นักศึกษาได้ระดับคะแนน ต (F) หรือ ม.จ. (U) หรือ ถ (W)
หากเปน็ รายวิชาบังคบั ในหลกั สตู รแลว้ นกั ศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวชิ านนั้ ซา้ อีก จนกว่า
จะไดร้ ะดบั คะแนนตามทีห่ ลกั สูตรกาหนดไว้

ถ้ารายวิชาใดที่นักศึกษาได้ระดับคะแนนตามข้อ ๑๑.๒ เป็นรายวิชาเลือกใน
หลักสูตรนกั ศึกษาจะลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาอ่ืนแทนกไ็ ด้

ราย วิช าใด ที่ นั ก ศึ ก ษ าได้ ระดั บ ค ะแ น น ต (F) ห รือ ม .จ.(U) เมื่ อ มี
การลงทะเบียนเรียนรายวิชาซ้าหรือแทนกันแล้ว ให้นับหน่วยกิตสะสมเพียงครั้งเดียวในการ
คานวณหาค่าระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสม

ข้อ ๑๒ การนับหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ให้นับรวมเฉพาะหน่วยกิตของรายวิชาท่ี
ไดร้ บั คะแนนตงั้ แต่ ง (D) ข้ึนไป หรอื ไดค้ ะแนน พ.จ. (S) เทา่ นั้น

ในกรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดซ้าหรือแทนกันให้นับ หน่วยกิต
ของรายวิชาทไี่ ด้ระดบั คะแนนดีท่ีสดุ เพียงครั้งเดยี ว

ข้อ ๑๓ เกณฑ์การพ้นสภาพเนอ่ื งจากผลการศึกษา
๑๓.๑ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า ๑.๕๐ เม่ือลงทะเบียนเรียน มี

หน่วยกิตสะสม (Credit Attempt-CA) ที่นามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม (Grade Point
Average-GPA) ระหว่าง ๓๐ ถึง ๕๙ หนว่ ยกิต

๑๓.๒ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า ๑.๗๕ เมื่อลงทะเบียนเรียน มี
หน่วยกิตสะสม (Credit Attempt-CA) ที่นามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม (Grade Point
Average-GPA) ต้งั แต่ ๖๐ หนว่ ยกิตขนึ้ ไป ถึงจานวนหน่วยกติ สะสมก่อนครบหลักสูตร

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๐๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๑๓.๓ มคี ่าระดบั คะแนนเฉล่ียสะสม (Grade Point Average - GPA) ต่ากว่า
๒.๐๐ เม่ือลงทะเบียนเรียนครบตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ยกเว้นกรณีที่นักศึกษาได้ค่าระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมต้ังแต่ ๑.๙๐ ขึ้นไป แต่ไม่ถึง ๒.๐๐ ซึ่งผลการศึกษาไม่เพียงพอที่จะรับการ
เสนอช่ือเพื่อรับปริญญา ให้นักศึกษาขอลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาท่ีได้ระดับคะแนนต่ากว่า
ก (A) เพ่ือปรับค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมให้ถึง ๒.๐๐ ภายในกาหนดระยะเวลา ๓
ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดูร้อนแต่ไม่เกินระยะเวลาสองเท่าของแผนการเรียนตาม
หลักสูตร

ข้อ ๑๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับนักศึกษาท่ีเข้าศึกษาต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐
เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐

(ลงชือ่ ) เฉลมิ มตั ิโก
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เฉลมิ มัติโก)

อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

(๑๑๐) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี (ฉบับท่ี ๒)

พ.ศ. ๒๕๕๒
-----------------------------------------------

ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงเกณฑ์การวัด
และประเมินผลการศึกษา ในประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง เกณฑ์การ
วัดและประเมนิ ผลการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรใี ห้เหมาะสมยงิ่ ข้นึ

อาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๘ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๕๐ ซ่ึงออกตามความในมาตรา ๑๗
(๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ.๒๕๔๘ มหาวิทยาลัย จึง
ประกาศดังต่อไปนี้

ขอ้ ๑ ประกาศนี้ เรียกว่า ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๒

ขอ้ ๒ ประกาศนี้ ใหใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ ย กเลิ ก ค วาม ใน ข้อ ๖ แห่ งป ระก าศ ม ห าวิท ยาลั ยเท ค โน โล ยี
ราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปริญญาตรี ลงวันท่ี ๒๗
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ และให้ใช้ข้อความตอ่ ไปนี้แทน

“ข้อ ๖ การขอแก้ระดับคะแนน ม.ส. (I) นักศึกษาจะต้องยื่นคาร้องต่อ
อาจารย์ผู้สอนรายวิชาน้ันโดยเร็วท่ีสุด ท้ังนี้จะต้องกระทาภายในกาหนด ๑๐ วันทาการหลังจาก
วันเปดิ ภาคการศึกษาถัดไป เพ่ือขอให้อาจารยผ์ ู้สอนกาหนดระยะเวลาสาหรับการวัดผลการศึกษา
ท่ีสมบูรณ์ในรายวิชานั้น เพื่อเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วัน
เปิดภาคการศึกษายกเว้นการเปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) ของรายวิชาท่ีเป็นโครงการ ให้ขอ
อนุมตั ิจากคณบดี เพ่ือเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) และให้คณะส่งระดับคะแนนถงึ สานกั ส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียนก่อนวันสนิ้ ภาคการศึกษาถัดไป หากพ้นกาหนดทงั้ ๒ กรณีแล้วนกั ศึกษา
ท่ไี ด้ระดับคะแนน ม.ส. (I) ในรายวชิ าใดถกู เปล่ยี นเปน็ ระดับคะแนน ต (F) โดยอัตโนมตั ิ

ก่อนวันส้ินภาคการศึกษาถัดไป หมายถึง ก่อนวันท่ีท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดไว้ให้
เป็นวันสิ้นภาคการศกึ ษาใด ๆ ถัดไปจากภาคการศึกษาที่นักศกึ ษาได้ระดับคะแนน ม.ส. (I) ไว้เป็น

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๑๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษายกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อนซ่ึงเป็นภาคการศึกษาไม่บังคับ แต่หาก
นักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูร้อนจะตอ้ งดาเนินการวัดผลการศึกษาที่สมบูรณ์ให้เสร็จ
สิ้นก่อนวันส้ินภาคการศึกษาฤดูร้อน มิฉะน้ันระดับคะแนน ม.ส. (I) จะถูกเปลี่ยนเป็นระดับ
คะแนน ต (F) โดยอัตโนมัติ การขอเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาสุดท้าย
นักศึกษาจะต้องขอรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา และชาระเงินค่าธรรมเนียมตามประกาศของ
มหาวทิ ยาลัย”

ขอ้ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๓ แห่งประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปริญญาตรี ลงวันท่ี ๒๗
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ และใหใ้ ช้ขอ้ ความต่อไปนแ้ี ทน

“ข้อ ๑๓ เกณฑก์ ารพน้ สภาพเน่ืองจากผลการศึกษา
๑๓.๑ นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา เม่ือมีค่าระดับคะแนน

เฉลี่ยสะสมตามจานวนหนว่ ยกิต ดงั นี้
๑๓.๑.๑ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า ๑.๕๐ เมื่อ

ลงทะเบยี น มีหน่วยกิตรวมท้งั หมด ระหว่าง ๓๐ ถึง ๕๙ หนว่ ยกิต
๑๓.๑.๒ มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า ๑.๗๕ เมื่อ

ลงทะเบยี น มีหนว่ ยกิตรวมทัง้ หมด ตั้งแต่ ๖๐ หนว่ ยกติ ข้นึ ไป
๑๓.๒ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม (Grade Point Average 

GPA) ตา่ กว่า ๒.๐๐ เมื่อลงทะเบียนเรยี นครบตามท่ีกาหนดไวใ้ นหลักสูตร ยกเว้นกรณีท่นี ักศึกษา
ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมระหว่าง ๑.๙๐ ถึง ๑.๙๙ ซึ่งผลการศึกษาไม่เพียงพอท่ีจะรับการ
เสนอชื่อเพ่ือรับปริญญา ให้นักศึกษาขอลงทะเบียนเรียนซ้า ในรายวิชาที่ได้ระดับคะแนนต่ากว่า
ก (A) เพื่อปรับค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมให้ถึง ๒.๐๐ ภายในกาหนดระยะเวลา ๓
ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดูร้อนแต่ไม่เกินระยะเวลาสองเท่าของแผนการเรียนตาม
หลกั สูตร”

ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(ลงชื่อ) เฉลมิ มตั ิโก
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์เฉลิม มัตโิ ก)

อธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

(๑๑๒) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษของนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี

พ.ศ. ๒๕๖๐

--------------------------------------

โดยที่เป็นการสมควรกาหนดเกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา

ระดับปริญญาตรจี ึงออกประกาศมหาวทิ ยาสัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน

ความรู้ภาษาองั กฤษของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๐ ไวด้ งั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เร่ือง เกณฑม์ าตรฐานความรูภ้ าษาอังกฤษของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๐"

ข้อ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใช้บงั คบั ตั้งแต่วันถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป

ข้อ ๓ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สามารถยื่นคาร้องขอเทียบโอนผลการศึกษา

รายวิชาภาษาอังกฤษ ต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน กรณีมีผลคะแนนจากการ

ทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษโดยข้อสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ (TOEIC) หรือข้อสอบมาตรฐาน

ภาษาอังกฤษอ่ืนท่ีสามารถเทียบเคียงได้กับข้อสอบภาษาอังกฤษมาตรฐาน (TOEIC) โดยเป็นไป

ตามเกณฑด์ งั นี้

ระดับคะแนน (TOEIC) รายวิชาท่เี ทียบโอนได้

ไดร้ ับคะแนนสอบมากกว่าหรือเทา่ กบั ๔๕๐ ๑-๒๑๑-๐๐๑ ภาษาองั กฤษท่วั ไป

คะแนน General English

๑-๒๑๑-๐๐๒ ภาษาองั กฤษเพ่ืองาน

English for Work

ได้รบั คะแนนสอบ ระหวา่ ง ๓๕๐ - ๔๔๙ ๑-๒๑๑-๐๐๑ ภาษาอังกฤษท่ัวไป

คะแนน General English

ประกาศ ณ วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

สุกจิ นิตินยั
(นายสกุ ิจ นติ ินยั )
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๑๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ของนกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

พ.ศ. ๒๕๖๑
-----------------------------------

โดยที่เป็นการสมควรกาหนดเกณฑ์มาตรฐานความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ของ
นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี จึงออกประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ เร่ือง เกณฑ์
มาตรฐานความรู้ดา้ นคอมพิวเตอรข์ องนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑ ไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี

ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ งเกณฑ์มาตรฐานความรดู้ ้านคอมพิวเตอรข์ องนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑"

ข้อ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใช้บังคับ ต้งั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ กรณีนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีหลักฐานใบรับรองการสอบผ่าน
มาตรฐาน IC3 Digital Literacy Certification นักศึกษาสามารถยื่นคาร้องขอเทียบโอนผล
การศึกษาต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพ่ือมิต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาหลัก
เทคโนโลยีดิจทิ ัล ๓ (๒-๒-๕) จานวน ๓ หน่วยกติ

ประกาศ ณ วันท่ี ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑

สกุ จิ นิตนิ ยั
(นายสกุ ิจ นิตนิ ยั )
อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

(๑๑๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

พ.ศ. ๒๕๖๔
---------------------------------------

เพ่ือให้การกาหนดเกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี เป็นไปตามมติสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ในการประชุมคร้ัง

ท่ี ๑๑/๒๕๖๓ เมื่อวันจันทร์ท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการการ

อดุ มศกึ ษา เร่ือง นโยบายการยกระดับมาตรฐานภาษาองั กฤษในสถาบนั อุดมศึกษา

ดังนั้น จึงเห็นควรยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เรอื่ ง เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๓

ฉบับลงวันท่ี ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓ และเหน็ ควรออกประกาศใหม่ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.

๒๕๖๔"

ขอ้ ๒ ประกาศนี้มผี ลบังคับใชต้ ้ังแตว่ ันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป

ข้อ ๓ เกณฑ์มาตรฐานการทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษของนักศึกษา

ระดบั ปริญญาตรี ดังนี้

เกณฑม์ าตรฐาน การทดสอบและคา่ ธรรมเนียมการสอบ

(๑) TOEIC (๙๙๐) ม ห า วิ ท ย า ลั ย จ ะ ด า เนิ น ก า ร จั ด ส อ บ ใ ห้ แ ก่

ระดบั คะแนนไม่น้อยกวา่ ๔๐๕ คะแนน นักศึกษาแบบไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการ

หรือ สอบ โดยนักศกึ ษาทีเ่ ขา้ ทดสอบจะต้องผ่านการ

อบรมให้ความรู้ท่ีมหาวิทยาลัยจัดข้ึน ไม่น้อย

กว่าร้อยละ ๖๐ ของช่ัวโมงการอบรม จึงจะมี

สิทธิ์เข้าทดสอบได้ ท้ังน้ี นักศึกษาจะมีสิทธิ์เข้า

ทดสอบแบบไม่เสียค่าธรรมเนียมการสอบได้ไม่

เกนิ ๒ คร้ัง

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๑๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

เกณฑ์มาตรฐาน การทดสอบและค่าธรรมเนียมการสอบ

(๒) TOEFL (๖๗๗) (Paper-based test) นักศึกษาสามารถเข้ารับการทดสอบจากศูนย์

ระดบั คะแนนไม่น้อยกว่า ๔๓๗ คะแนน หรอื สอบภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาจะเป็น

(๓) TOEFL (๑๒๐) (Internet-based test) ผู้ชาระค่ าธรรม เนี ยมก ารสอบ เอง ท้ั งนี้

ระดบั คะแนนไม่น้อยกว่า ๔๑ คะแนน หรือ นักศึกษาสามารถนาผลการทดสอบมายื่นกับ

(๔) TOEFL (๓๐๐) (Computer-based test) มหาวิทยาลัยโดยผลการทดสอบท่ีนามายื่นต้อง

ระดบั คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ๑๒๓ คะแนน หรอื มีอายุไม่เกิน ๒ ปีนับจากวันที่เข้ารับการ

(๕) IELTS (๙) ทดสอบ

ระดบั คะแนนไมน่ ้อยกว่า ๔ คะแนน หรือ

(๖) CU-TEP (๑๒๐) หรือมาตรฐานเทียบเคยี ง

อื่น

ระดับคะแนนไม่น้อยกวา่ ๖๐ คะแนน

(๗) มาตรฐานอ่นื ตามที่มหาวิทยาลยั กาหนด

โดยมีผลคะแนนตามประกาศของมหาวิทยาลยั

ข้อ ๔ สาหรับนักศึกษาที่เขา้ ศึกษาในหลักสูตรปรบั ปรงุ หรอื หลักสูตรใหม่ ตั้งแต่
พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป จะต้องเข้ารับการอบรมให้ความรู้และเข้ารับการทดสอบความสามารถ
ทางภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัยจัดข้ึน หรือสามารถยื่นผลการทดสอบจากศูนย์สอบภายนอก
มหาวิทยาลัยโดยผลการทดสอบน้ันจะต้องมีคะแนนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานเกณฑ์ใดเกณฑ์
หนงึ่ ตามประกาศนีก้ ่อนสาเรจ็ การศกึ ษา

ข้อ ๕ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามประกาศน้ี และมีอานาจออก
ประกาศเพม่ิ เติมเกี่ยวกับแนวปฏบิ ตั ิซึง่ ไม่ขดั หรือแย้งกบั ประกาศน้ี

ประกาศ ณ วันท่ี ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

สมพร ปยิ ะพนั ธ์
(นายสมพร ปยิ ะพันธ์)

รกั ษาราชการแทน
อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

(๑๑๖) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง การขอกลบั เข้าศกึ ษา และ คืนสภาพการเป็นนักศึกษา

---------------------------------------------------------
เพื่อให้การกลับเข้าศึกษา และคืนสภาพการเป็นนักศึกษาของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ดาเนินไปด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ จงึ ขอแจ้งข้อปฏิบตั ิดงั ต่อไปน้ี
๑. นักศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา หรือรักษาสภาพเป็นนักศึกษา
เนื่องจากในภาคการศึกษาท่ีผ่านมาไม่มีรายวิชาลงทะเบียนเรียน เมื่อนักศึกษาประสงค์ขอกลับ
เข้าศึกษาต้องย่ืนคาร้องขอกลับเข้าศึกษาต่อคณบดี เม่ือได้รับอนุมัติแล้วให้นาคาร้องย่ืนต่อสานัก
ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ก่อนกาหนดการลงทะเบียนไม่น้อยกว่า ๑ สัปดาห์ และต้อง
ชาระเงินค่าธรรมเนียมเพอ่ื คนื สภาพการเป็นนักศกึ ษา จานวน ๓๐๐ บาท
๒. นักศึกษาท่ีถูกถอนช่ือออกจากทะเบียนนักศึกษา เน่ืองจากไม่มาลงทะเบียน
หรือมิได้ดาเนินการใด ๆ ๒ ภาคการศึกษาติดต่อกัน ขอกลับเข้าเป็นนักศึกษาได้ หากมีเหตุ
อันสมควร โดยได้รับความเห็นชอบจากคณบดี และได้รบั อนุมัติจากอธิการบดี และต้องชาระเงิน
ค่าธรรมเนียมการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ภาคการศึกษาละ ๓๐๐ บาท ค่าธรรมเนียม
การคืนสภาพการเป็นนักศึกษา จานวน ๓๐๐ บาท และค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนตาม
ระเบียบมหาวิทยาลยั ฯ

ทง้ั นี้ นักศกึ ษาทีไ่ ดร้ ับอนุมตั ิให้คนื สภาพการเป็นนักศึกษา จะมีสถานภาพ การเป็น
นกั ศึกษาตามปกติ และการนบั ระยะเวลาการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบของมหาวทิ ยาลัย

ประกาศนี้ใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแต่วนั ประกาศเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(ลงช่อื สาธติ พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธติ พทุ ธชัยยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๑๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง การยา้ ยคณะ หรอื เปล่ียนสาขาวิชา

พ.ศ. ๒๕๕๗

----------------------------------------
ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงเกณฑ์
การยา้ ยคณะหรอื เปลย่ี นสาขาวิชา ใหเ้ หมาะสมย่ิงข้ึน
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๕ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงออกตามความในมาตรา
๑๗(๒) แห่งพระราชบญั ญัติมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัย
จงึ ประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ เรอื่ ง เกณฑ์การยา้ ยคณะ หรือเปลี่ยนสาขาวิชา พ.ศ. ๒๕๕๗”
ขอ้ ๒ ประกาศนี้ ให้ใชบ้ งั คับตั้งแตว่ ันประกาศเป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง การยา้ ยคณะ หรอื เปลีย่ นสาขาวชิ า พ.ศ. ๒๕๕๔”
ข้อ ๔ เกณฑก์ ารยา้ ยคณะ ดงั น้ี

๔.๑ นักศึกษาท่ีประสงค์จะย้ายคณะ ต้องมีผลการศึกษาเฉลี่ยสะสม
อย่างนอ้ ย ๒.๐๐ โดยมีผลการลงทะเบยี นรวมไม่น้อยกวา่ ๑๘ หน่วยกิต และมีผลการลงทะเบียน
ในหมวดรายวชิ าชพี มาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า ๒ รายวชิ า

๔.๒ นักศึกษาท่ีประสงค์จะย้ายคณะ ต้องได้รับการพิจารณาให้ความ
เห็นชอบจากหัวหน้าสาขาวิชา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และคณบดีของคณะที่นักศึกษาสังกัดอยู่
และได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าสาขาวิชา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และคณบดีของคณะท่ี
นักศึกษาประสงค์จะยา้ ยเข้าศึกษา

๔.๓ นักศึกษาที่ประสงค์จะย้ายคณะ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมในการ
ย้ายคณะครง้ั ละ ๒,๐๐๐ บาท

ขอ้ ๕ เกณฑก์ ารเปลีย่ นสาขาวิชาภายในคณะท่นี กั ศึกษาสงั กัดอยู่ ดงั น้ี

(๑๑๘) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๕.๑ นักศึกษาท่ีประสงค์จะเปล่ียนสาขาวิชา ต้องมีผลการศึกษาอย่างน้อย
๑ ภาคการศึกษา โดยมีผลการลงทะเบียนรวมไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกติ และมีผลการลงทะเบียน
ในหมวดรายวชิ าชพี มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า ๒ รายวชิ า

๕.๒ นักศึกษาที่ประสงค์จะเปลี่ยนสาขาวิชา ต้องได้รับการพิจารณาให้
ความเห็นชอบจากหัวหน้าสาขาวิชาเดิม กรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาใหม่ หัวหน้า
สาขาวิชาใหม่ รองคณบดฝี า่ ยวิชาการ และคณบดขี องคณะท่นี กั ศึกษาสงั กดั อยู่

๕.๓ นักศึกษาที่ประสงค์จะเปลี่ยนสาขาวิชา จะต้องเสียค่าธรรมเนียมใน
การเปลี่ยนสาขาวชิ า ครั้งละ ๕๐๐ บาท

ข้อ ๖ การขอย้ายคณะ หรือเปลี่ยนสาขาวิชาจะสามารถกระทาได้เพียง
ครั้งเดียวตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอย่เู ท่าน้ัน และไม่เป็นเหตุให้ขยายระยะเวลาการศึกษาเกินกว่า
สองเท่าของแผนการเรียน ตามหลักสูตรยกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อน นับแต่วันข้ึนทะเบียนเป็น
นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ขอ้ ๗ นักศึกษาภาคสมทบ จะขอยา้ ยรอบเปน็ ภาคปกติไม่ได้
ข้อ ๘ ในกรณีไม่เป็นไปตามข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ ให้คณบดีของคณะท่ี
นักศกึ ษาสังกดั นาเสนออธกิ ารบดเี ป็นผู้พิจารณาอนุมตั เิ ป็นราย ๆ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ลงช่ือ สาธิต พุทธชยั ยงค์
(นายสาธิต พทุ ธชยั ยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๑๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง หลักเกณฑ์การพิจารณาเทยี บรายวิชาหรอื กลมุ่ วิชา

----------------------------------------

เพื่อให้การพิจารณาการเทียบรายวิชาหรือกลุ่มวิชาระหว่างหลักสูตรต่าง ๆ ภายใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีข้อพิจารณาการเทียบรายวิชาท่ีเป็นมาตรฐาน
เดยี วกนั มหาวิทยาลยั จงึ ประกาศดังนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง หลักเกณฑ์การพจิ ารณาเทียบรายวชิ าหรอื กลุม่ วิชา”

ขอ้ ๒ หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาการเทยี บรายวชิ าหรือกลุ่มวชิ า
๒.๑ เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาท่ีมีเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์

ครอบคลุมไม่น้อยกว่าสามในส่ีของรายวิชาหรือกลุ่มวชิ าที่นักศึกษาต้องการเทียบ ยกเว้นรายวิชา
ทีอ่ ยู่ในขอ้ บังคบั ของสภาวิชาชีพใหย้ ดึ ถือตามเง่ือนไขท่สี ภาวิชาชีพกาหนด

๒.๒ เป็นรายวิชาหรือกลมุ่ วชิ าทม่ี หี นว่ ยกติ เท่ากัน
๒.๓ เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาท่ีมีจานวนชั่วโมงปฏิบัติ และจานวนช่ัวโมง
บรรยายเทา่ กนั
ข้อ ๓ ในกรณีไม่เป็นไปตามข้อ ๒.๒ หรือ ๒.๓ ให้อนุโลมเทียบกันได้โดยถือ
หลักว่า รายวิชาหรือกลมุ่ วิชาที่นามาขอเทียบต้องมจี านวนหน่วยกิตและช่วั โมงปฏิบัติ และชั่วโมง
บรรยายไมน่ ้อยกวา่ รายวชิ าหรือกล่มุ วิชาในหลกั สตู รทตี่ อ้ งการเทยี บ
ข้อ ๔ ในกรณีท่ีมีปัญหาอันเกิดจากการเทียบรายวิชาหรือกลุ่มวิชาตาม
ประกาศนี้ ใหอ้ ธกิ ารบดเี ป็นผ้มู ีอานาจวินจิ ฉัยชีข้ าด
ข้อ ๕ ประกาศน้ี ใหใ้ ช้บังคับตั้งแต่วันถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

ลงช่อื สาธติ พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธติ พทุ ธชัยยงค์)

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

(๑๒๐) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง แนวทางการดาเนินการพฒั นาและบริหารจัดการหลักสูตระยะสนั้

----------------------------------------
ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรกาหนดแนวทาง
การดาเนินการพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตรระยะสั้น เพ่ือสะสมหน่วยกิตในระบบ
คลังหน่วยกิตของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นมาตรฐานเดียวกัน
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๒ แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา่ ด้วยการเทียบโอนผลการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๔ จึงกาหนดแนวปฏิบัตดิ ังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนเี้ รยี กว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
แนวทางการดาเนนิ การพฒั นาและบรหิ ารจัดการหลักสตู รระยะสนั้ "
ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ ห้ใชบ้ งั คับถัดจากวนั ท่ีประกาศเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ในประกาศน้ี

"หลักสูตรในระบบคลังหน่วยกิต " หมายความว่า หลักสูตรระยะส้ันที่มี
กระบวนการจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรม หรือการฝึกอาชีพที่มีระบบชัดเจน อาจจัดใน
ช้นั เรยี น หรือการศึกษาแบบทางไกลผ่านส่ือ เรียนเป็นกลุ่มหรอื เรยี นร้ดู ้วยตนเองที่มีหลักฐานการ
แสดงผลการเรียนรู้เป็นใบรับรองวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร สัมฤทธิบัตร หรือลักษณะอ่ืนใด
โดยสะสมหน่วยกิตผลการเรียนรู้ไว้ในระบบคลังหน่วยกิตและไม่จากัดระยะเวลาในการสะสม
หน่วยกติ

"หลักสูตรระยะส้ัน" หมายความว่า หลักสูตรสาหรับจัดการศึกษานอกระบบท่ีมี
วตั ถุประสงค์ส่งเสริมการเรียนรู้แกบ่ ุคคลทั่วไปที่สนใจให้มีความรู้ ทกั ษะความสามารถในงานหรือ
กิจกรรมเฉพาะอย่าง ท่ีตอบสนองความต้องการเฉพาะ มีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ทางวิซาการหรือ
วิชาชีพไดก้ ว้างขวางยงิ่ ขึ้น เพ่ือนาไปพัฒนางานและพฒั นาวิชาชพี มีการประเมินผลความรู้ได้ตาม
เกณฑ์ของทางมหาวิทยาลยั

"หลักสูตรปกติ" หมายความว่า หลักสูตรสาหรับจัดการศึกษาในระบบมีการ
จัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพพจิ ารณาอนุมตั หิ รือเห็นชอบใหเ้ ปิดหลักสตู ร

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๒๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

"นักศึกษาในระบบ" หมายความว่า นักศึกษาท่ีขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาใน
รูปแบบการจัดการศึกษาในระบบท่ีเข้าศึกษาตามหลักสูตรปกติของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ

"นักศึกษานอกระบบ" หมายความว่า นักศึกษาที่ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาใน
รูปแบบการศึกษานอกระบบ หรือการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีเข้าศึกษาหลักสูตรระยะสั้นของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

"สวท." หมายความว่า สานกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น ของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ขอ้ ๔ หลักสตู รระยะสน้ั สามารถจัดทาได้ ดังต่อไปน้ี
(๑) จดั ทาเปน็ รายวิชา
(๒) จัดทาเปน็ ชุดวิชา
(๓) จดั ทาเป็น โมดูลการเรียนรู้
(๔) จัดทาเป็นลกั ษณะอ่ืน ๆ
ทั้งนี้ รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ให้เปน็ ไปตามท่มี หาวิทยาลยั กาหนด
ข้อ ๕ แนวทางดาเนนิ การพัฒนาหลักสูตรระยะส้นั
(๑) หลักสูตรระยะส้ัน ต้องพัฒนาจากเป็นรายวิชาในหลักสูตรปกติท่ี

จัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โดยยังคงสาระวิชาท่ี
สอดคล้องกบั รายวชิ าน้นั ๆ

(๒) หลักสูตรระยะสั้นที่ไม่ใช่การพัฒนาจากหลักสูตรปกติ ให้คณะ
เสนอต่อสภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พิจารณาอนุมัติหรือ
เหน็ ชอบให้เปดิ หลกั สตู ร

(๓) หลักสตู รระยะสั้น เป็นการจัดการศึกษานอกระบบ และสามารถนา
รายวิชา ชุดวิชา หรือโมดูลการเรยี นรู้ ที่สะสมหน่วยกิตไว้ในคลังหน่วยกิตมาขอเทียบโอนผลการ
เรยี น เพอ่ื นับจานวนหนว่ ยกิตสะสมตลอดหลักสูตรได้ เม่อื ได้สมัครเข้าศึกษาและข้ึนทะเบียนเป็น
นกั ศึกษาในระบบตามหลกั สตู รปกติของมหาวทิ ยาลยั

(๔) การพฒั นาหลักสูตรระยะส้ันเพอื่ สะสมหนว่ ยกิตในระบบคลงั หน่วย
กติ ใหย้ งั คงรกั ษาไวซ้ งึ่ คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาของมหาวทิ ยาลยั

(๑๒๒) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๕) การพัฒนาหลักสูตรระยะส้ัน ตอ้ งมีการวดั และประเมนิ ผลความรู้ของการ
จัดการเรียนการสอนที่ชัดเจนสามารถประเมินผลได้ทันที ท้ังนี้ ให้คานึงถึงคุณภาพการจัดการ
เรยี นการสอนและประโยชนท์ ผ่ี ู้เรียนจะไดร้ บั เปน็ สาคญั

ข้อ ๖ โครงสร้างหลักสูตรระยะส้ัน กาหนดเป็นหน่วยกิตหรือชั่วโมงการศึกษาท่ี
สามารถเทียบเคียง หรือสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการคิดหน่วยกิตหรือการกาหนดชั่วโมง
การศึกษาตามหลักสูตรท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด หรอื มีลักษณะเป็นหน่วยสมรรถนะวิชาชีพท่ไี ดจ้ าก
มาตรฐานอาชพี หรือมาตรฐานสมรรถนะ แล้วแตก่ รณี

ข้อ ๗ คุณสมบตั ผิ ู้เขา้ ศึกษาให้เปน็ ไปตามที่หลกั สตู รระยะส้ันกาหนด
ข้อ ๘ การรับเข้าศึกษา

(๑) วิธีการรับสมัคร กาหนดรับสมัคร หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ให้
จดั ทาเป็นประกาศของคณะ และแจ้ง สวท. เพอ่ื ทราบและดาเนนิ การในสว่ นทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

(๒) ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรระยะสั้นต้องขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษานอก
ระบบ และลงทะเบียนเรียนตามวนั เวลาและสถานทที่ ี่คณะกาหนด ก่อนเร่ิมศึกษาพร้อมท้ังชาระ
คา่ ธรรมเนียมตา่ ง ๆ ตามท่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด จึงจะมสี ถานภาพเป็นนักศึกษานอกระบบ

(๓) ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรระยะส้ัน และมีความประสงค์จะบันทึกผล
การศกึ ษาสะสมหนว่ ยกิตในฐานข้อมลู ระบบคลงั หน่วยกติ ต้องข้นึ ทะเบียนเป็นบุคคลเรียนรูต้ ลอด
ชีวิตหรือนักศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิตพร้อมชาระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
จงึ จะมีสถานภาพเปน็ บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวติ หรอื นกั ศกึ ษาเรยี นรู้ตลอดชวี ติ

ข้อ ๙ เกณฑ์การประเมินผลความรู้ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรระยะ
สน้ั นนั้ ๆ โดยใหค้ ณบดเี ป็นผู้อนุมัติ

ข้อ ๑๐ เม่ือดาเนินการจัดการเรียนการสอนเสร็จสิ้นตามเงื่อนไขท่ีหลักสูตร
ระยะสั้นกาหนด ให้คณะจัดทาหลักฐานการแสดงผลการเรียนรู้เป็นใบรับรอง วุฒิบัตร
ประกาศนียบัตร สัมฤทธิบัตรหรือลักษณะอื่นใดให้ผู้สาเร็จการศึกษา และให้แจ้งผลการศึกษาไป
ยัง สวท. เพอื่ ทราบและดาเนนิ การในส่วนทเี่ กยี่ วข้อง

ข้อ ๑๑ นักศึกษานอกระบบต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ
และชาระค่าธรรมเนียมการศกึ ษาตามท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๒๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๑๒ ให้อธิการบดีรักษาการตามประกาศนี้ และมีอานาจตีความและวินิจฉัย
ปญั หาท่เี ก่ยี วกับการปฏิบัตติ ามประกาศนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

สมพร ปยิ ะพันธ์
(นายสมพร ปยิ ะพนั ธ์)

รักษาราชการแทน
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

(๑๒๔) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง การแตง่ กายท่ใี ชใ้ นการตดิ รูปถา่ ยบนบตั รประจาตัวนักศึกษา

------------------------------
เพ่ือให้การแต่งกายของนักศึกษาที่ใช้ในการติดรูปถ่ายบนบัตรประจาตัวนักศึกษา
มีความถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงเพื่อให้สอดคล้องกับข้อบังคับมหาวิทยาสัยเทคโนโลยีราช
มงคลกรุงเทพ ว่าด้วย เคร่ืองแบบ เคร่ืองหมาย และการแต่งกายของนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙ จึง
เหน็ ควรกาหนดการแตง่ กายของนักศกึ ษา ดงั น้ี
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง การแต่งกายทีใ่ ช้ในการตดิ รูปถา่ ยบนบัตรประจาตวั นกั ศึกษา"
ข้อ ๒ ประกาศนี้ ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตัง้ แต่วันถดั จากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ใหน้ ักศึกษาแตง่ กาย ดังนี้

๓.๑ ระดับปริญญาตรี
๓.๑.๑ นักศึกษาชาย มีลกั ษณะดังนี้
(๑) ผมสนั้ ทรงสภุ าพ ไม่ไวห้ นวดเครา
(๒) เสื้อเชิ้ตสีขาวแขนยาวถึงข้อมือ ไม่พับปลายแขน ไม่รัดรูปและไม่

หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ไม่บางเกินสมควร ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุม ๕ เม็ด มีกระเป๋าขนาด
พอเหมาะท่ีอกเสื้อเบื้องซ้าย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กางเกงทับได้ เวลาสวมให้สอด
ชายเสอื้ ไวใ้ นกางเกงให้เรียบรอ้ ย

(๓) ผกู เนคไทตามแบบที่มหาวิทยาลัยกาหนด กลัดเข็มตราสัญลักษณ์
มหาวิทยาลัย

(๔) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รัดรูปหรือหลวมเกินไป
มีหเู ขม็ ขัดเย็บด้วยผ้าสเี ดียวกัน ผา้ พน้ื สดี า หรอื สกี รมทา่ ไม่มีลวดลาย

(๕) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดมีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์
มหาวทิ ยาลัย

(๖) รองเทา้ หนงั หุ้มส้นั สีดา ไม่มีลวดลาย ทรงสภุ าพ
(๗) ถงุ เทา้ สดี า หรอื สที ี่กลมกลนื กับรองเทา้ ไม่มลี วดลาย

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๒๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

๓.๑.๒ นักศกึ ษาหญิง มลี กั ษณะดงั น้ี
(๑) ผมทรงสภุ าพ ถ้าผมยาวรวบใหเ้ รียบร้อย เปดิ ผมดา้ นหนา้ ให้เห็นค้วิ
(๒) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขนปลอ่ ยตรง ไม่ผ่าปลาย

แขนไม่บางเกินสมควร ไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุมสีเงิน
ลายดุนนูนตราสัญลกั ษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้ เวลา
สวมใหส้ อดชายเสือ้ ไว้ในกระโปรงให้เรยี บรอ้ ย

(๓) เข็มกลดั เส้ือตราสัญลักษณ์มหาวทิ ยาลัย กลัดบนอกเสอ้ื เบ้อื งซ้าย
(๔) กระโปรงทรงตรง เอวสูง ด้านหลังผ่าป้ายแบบสุภาพ ไม่รัดรูป
ยาวเสมอเข่า ผ้าเนอ้ื เรยี บ ไม่มีลวดลาย สดี า หรอื สีกรมท่า
(๕) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดมีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์
มหาวทิ ยาลัย
(๖) รองเท้าหนงั หุม้ ส้นสดี า ไม่มีลวดลาย ทรงสภุ าพ
๓.๒ ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา
๓.๒.๑ นกั ศกึ ษาชาย มีลกั ษณะดงั น้ี
(๑) ผมสัน้ ทรงสภุ าพ ไมไ่ ว้หนวดเครา
(๒) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนยาวถึงข้อมือ ไม่พับปลายแขน ไม่รัดรูปและไม่
หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ไม่บางเกินสมควร ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุม ๕ เม็ด มีกระเป๋าขนาด
พอเหมาะท่ีอกเส้ือเบ้ืองซ้าย ตัวเสื้อมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กางเกงทับได้ เวลาสวมให้สอด
ชายเสอื้ ไว้ในกางเกงใหเ้ รยี บรอ้ ย
(๓) ผูกเนคไทตามแบบทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด กลดั เข็มตราสัญลกั ษณ์
มหาวทิ ยาลยั
(๔) สวมทับด้วยสูทสกี รมทา่
(๕) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รัดรูปหรือหลวมเกินไป มี
หเู ขม็ ขดั เยบ็ ด้วยผ้าสเี ดยี วกัน ผ้าพ้ืนสกี รมทา่ ไมม่ ีลวดลาย
(๖) รองเทา้ หนงั หมุ้ สน้ สีดา ไม่มีลวดลาย ทรงสุภาพ
(๗) ถุงเทา้ สดี า หรือสีท่ีกลมกลนื กับรองเทา้ ไมม่ ลี วดลาย

(๑๒๖) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

๓.๒.๒ นักศึกษาหญงิ มีลกั ษณะดังน้ี
(๑) ผมทรงสุภาพ ถ้าผมยาวรวบใหเ้ รียบร้อย เปดิ ผมด้านหนา้ ใหเ้ หน็ คว้ิ
(๒) เส้ือเชต้ิ สีขาวแขนสนั้ เพยี งศอก ปลายแขนปลอ่ ยตรง ไม่ผา่ ปลายแขน

ไม่บางเกินสมควร ไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุมสีเงินลาย
ดนุ นนู ตราสญั ลักษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเสอ้ื มีความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้ เวลาสวม
ใหส้ อดชายเสื้อไวใ้ นกระโปรงให้เรยี บรอ้ ย

(๓) เข็มกลัดเสอื้ ตราสญั ลกั ษณม์ หาวิทยาลัย กลัดบนอกเสือ้ เบอ้ื งซ้าย
(๔) สวมทบั ด้วยสูทสกี รมท่า
(๕) กระโปรงทรงตรง เอวสงู ด้านหลังผา่ ป้ายแบบสภุ าพ ไม่รดั รปู ยาว
เสมอเขา่ ผ้าเนื้อเรยี บ ไมม่ ลี วดลาย สีกรมทา่
(๖) รองเทา้ หนังหุ้มส้นสีดา ไม่มีลวดลาย ทรงสุภาพ

ประกาศ ณ วันท่ี ๙ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

สมพร ปิยะพนั ธ์
(นายสมพร ปิยะพนั ธ)์

รักษาราชการแทน
อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๒๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง การขอผ่อนผันเล่อื นรับพระราชทานปรญิ ญาบตั ร

---------------------------------------------------------
เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษา ได้ปฏิบัติในการขอผ่อนผันเล่ือนรับพระราชทานปริญญาบัตร
เป็นไปอยา่ งถูกต้อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึงกาหนดหลักเกณฑ์การขอเลื่อน
รับพระราชทานปรญิ ญาบัตรไว้เป็นหลักปฏิบตั ิ ดังน้ี
๑. บัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในแต่ละปี ที่จะขอเล่ือนรับพระราชทานปริญญาบัตร
จะต้องทาเรื่องขอผ่อนผันการเล่ือนรับพระราชทานปริญญาบัตร ที่สานักส่งเสริมวิชาการและ
งานทะเบียน โดยชี้แจงเหตุผลความจาเป็นพร้อมแนบหลักฐานประกอบเหตุผลและแจ้ง
ปีการศกึ ษาท่จี ะขอเข้ารับ โดยไม่เกนิ ๒ ปี นับจากปีที่สาเรจ็ การศึกษา
๒. บัณฑิตท่ีแจ้งความจานงขอเลอ่ื นรับพระราชทานปริญญาบัตร จะต้องขึ้นทะเบียน
รบั พระราชทานปริญญาบตั ร พร้อมกบั บณั ฑติ ทจี่ ะขึน้ รับพระราชทานปริญญาบัตรในรุ่นน้นั
๓. กรณีที่บัณฑิตมิได้แจ้งความจานงขอผ่อนผันเล่ือนรับพระราชทานปริญญาบัตรไว้
จะหมดสิทธิ์ขึ้นรับพระราชทานปริญญาบตั ร
๔. การย่ืนคาร้องขอผ่อนผันรับพระราชทานปริญญาบัตร ต้องย่ืนก่อนวันรับ
พระราชทานปรญิ ญาบัตร ๗ วัน
๕. กรณีที่บัณฑิตเข้ารับการฝึกซ้อมแล้ว เกิดเหตุมิสามารถเข้ารับพระราชทาน
ปริญญาบัตร บัณฑิตจะต้องทาเร่ืองขอผ่อนผันการเลื่อนรับพระราชทานปริญญาบัตรที่สานัก
ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน โดยบัณฑิตมิต้องชาระค่าใช้จ่ายในการฝึกซ้อมแล้ว เมื่อมาย่ืน
ความจานงขอรบั พระราชทานปรญิ ญาบตั รในปถี ดั ไป
ท้งั นี้ ถ้าไม่เป็นไปตามทก่ี าหนด ให้อธิการบดเี ปน็ ผ้พู ิจารณาเป็นราย ๆ ไป

ประกาศนี้ ให้ใชบ้ ังคบั ต้ังแตว่ ันประกาศเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(ลงช่ือ สาธิต พทุ ธชยั ยงค์
(นายสาธติ พทุ ธชยั ยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๑๒๘) ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๒๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ว่าดว้ ยการศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๐

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เก่ียวกับการศึกษา
ระดบั บัณฑิตศึกษาใหส้ อดคล้องกบั ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดับ
บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกบั มตสิ ภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ใน
การประชมุ คร้ังท่ี ๕/๒๕๖๐ เมอื่ วนั ท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จงึ ออกข้อบงั คับไว้ ดังตอ่ ไปน้ี

ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐”

ขอ้ ๒ ข้อบังคบั นี้ใหใ้ ช้บงั คับตั้งแตว่ ันถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป
ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการศึกษา
ระดับบณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙
ขอ้ ๔ ในขอ้ บังคบั น้ี
“มหาวทิ ยาลยั ” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
กรงุ เทพ
“สภาวชิ าการ” หมายความวา่ สภาวชิ าการมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“คณบดี” หมายความว่า คณบดีคณะที่เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“บัณฑิตศึกษา” หมายความว่า การศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีขึ้นไปของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑๓๐) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรสาขาวิชาต่าง ๆ ในระดับบัณฑิตศึกษา
ท่ีสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพให้ความเหน็ ชอบ

“คณะ” หมายความว่า คณะหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ
เทียบเท่าคณะที่ได้รับอนุมัติจัดตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่เปิดสอน
หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา

“บัณฑิตวิทยาลัย” หมายความว่า บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ

“คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย” หมายความว่า คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายความว่า คณะกรรมการบริหาร
หลกั สูตรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

“อาจารย์ประจา” หมายความว่า บุคคลท่ีดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
และปฏบิ ัติหน้าที่เต็มเวลา

“อาจารย์ประจาหลักสูตร” หมายความว่า อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือ
สัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชา
ดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้ อง
เป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้น้ันมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร

“อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายความว่า อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มี
ภาระหน้าที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน
การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการ ศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นพหุวิทยาการ หรือ
สหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรสามารถซา้ ได้ไม่เกิน ๒ คน

“อาจารย์พิเศษ” หมายความว่า ผู้สอนท่ีไม่ใช่อาจารย์ประจา
“นักศึกษา” หมายความว่า ผู้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๓๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

“ผู้ทรงคุณวุฒิ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีคุณวุฒิหรือตาแหน่งทางวิชาการตาม
เกณฑ์และข้อกาหนดของแต่ละหลักสูตรท่ีเปิดสอน

“ผู้เช่ียวชาญเฉพาะ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีความรู้และความเช่ียวชาญใน
สาขาวิชาที่เปิดสอนเป็นอย่างดี หรือเป็นผู้เชี่ยวชาญภายนอกมหาวิทยาลัย โดยไม่ต้องพิจารณาด้าน
คุณวฒุ ิและตาแหน่งทางวชิ าการ

ข้อ ๕ ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับน้ี และมีอานาจวินิจฉัยตีความในกรณีท่ีมี
ปัญหาเกีย่ วกบั การปฏิบตั ติ ามข้อบังคับนี้

หมวด ๑
บททวั่ ไป

ข้อ ๖ ในกรณีท่ีมีการจัดต้ังบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว ให้บัณฑิตวิทยาลัยมีหน้าที่ใน
การกาหนดนโยบาย การจัดการศึกษา การประสานงาน และสนับสนุนการดาเนินการระดับ
บัณฑติ ศึกษา ในสาขาวิชาทเี่ กีย่ วขอ้ งกับคณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย

กรณีท่ียังไม่มีการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย ให้คณะดาเนินการในด้านต่าง ๆ ท่ี
เกีย่ วข้องกบั การจัดการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาไปจนกว่าจะมีการจดั ตง้ั บัณฑิตวิทยาลยั

ข้อ ๗ ให้คณบดีแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อบริหารและจัด
การศกึ ษาในหลักสตู รตา่ ง ๆ ของคณะ

หมวด ๒
ระบบการศกึ ษา

ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๘ ระบบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ให้จัดการศึกษาเป็น ๓ ประเภท
(๑) การศึกษาภาคปกติ จัดเป็น ๓ แบบ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑๓๒) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ก) ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาค
การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ และอาจเปิดสอนภาคการศึกษาฤดูร้อนได้
ซง่ึ มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๗ สปั ดาห์ โดยมีชั่วโมงการเรียนในแต่ละรายวิชาเท่ากับภาคการศึกษา
ปกติ ในกรณีท่ีมีการเปิดภาคการศึกษาฤดรู อ้ น ให้ถอื ว่าเป็นสว่ นหนง่ึ ของปกี ารศกึ ษาเดียวกนั

(ข) ระบบไตรภาค โดย ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ๓ ภาคการศึกษาปกติ
๑ ภาคการศกึ ษาปกติมรี ะยะเวลาศึกษาไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ สัปดาห์ โดย ๑ หน่วยกติ ระบบไตรภาคเทียบ
ได้กับ ๑๒/๑๕ หน่วยกิตระบบทวิภาค หรือ ๔ หน่วยกิตระบบทวิภาคเทียบได้กับ ๕ หน่วยกิต
ระบบไตรภาค

(ค) ระบบจตุรภาค โดย ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ๔ ภาคการศึกษาปกติ
๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๐ สปั ดาห์ โดย ๑ หน่วยกิตระบบจตุรภาคเทียบ
ได้กบั ๑๐/๑๕ หน่วยกิตระบบทวิภาค หรือ ๒ หน่วยกิตระบบทวภิ าคเทียบได้กบั ๓ หน่วยกิตระบบ
จตรุ ภาค

(๒) การศึกษาภาคสมทบ เป็นการจัดการศึกษาในช่วงเวลาวันหยุดสุดสัปดาห์
หรือนอกเวลาราชการในภาคการศึกษาปกติ

(๓) การศึกษาภาคพิเศษ เป็นการจัดการศึกษาในภาคการศึกษาปกติ หรือรูปแบบ
ใดรูปแบบหนง่ึ หรอื แบบผสมผสาน ดงั ตอ่ ไปนี้

(ก) การศึกษาเฉพาะช่วงเวลาของปี จัดเฉพาะช่วงของภาคการศึกษาปกติ
หรือจดั เฉพาะในภาคฤดูรอ้ น

(ข) การศึกษาแบบนานาชาติ เป็นการจัดการศึกษาโดยความร่วมมือของ
สถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศ หรือเป็นหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่มีการจัดการและมาตรฐาน
เดียวกันกับหลักสูตรนานาชาติ โดยอาจจัดในระยะเวลาที่สอดคล้องกับช่วงเวลาในต่างประเทศ ตาม
โครงการความร่วมมือทางวชิ าการ

การจัดการเรียนการสอนแต่ละรูปแบบ ให้พิจารณาตามความเหมาะสมกับ
แต่ละหลักสูตร ทั้งนี้ ต้องจัดให้ได้เนื้อหาโดยรวมที่มีน้าหนักสมดุลกับจานวนหน่วยกิตรวมของ
หลักสูตร โดยการคิดเทียบน้าหนักหน่วยกิตตามข้อ ๙ และให้จัดทาโครงการของหลักสูตรนั้น
เสนอต่อสภามหาวิทยาลัย และจัดทาเป็นประกาศมหาวิทยาลัย

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๓๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ข้อ ๙ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เป็นการศึกษาแบบสะสมหน่วยกิต
การกาหนดหน่วยกิตแตล่ ะรายวชิ า มีหลักเกณฑด์ งั ตอ่ ไปนี้

(๑) รายวิชาภาคทฤษฎี ท่ีใชเ้ วลาบรรยายหรืออภิปรายปญั หาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมง
ต่อภาคการศกึ ษาปกติ ใหม้ คี ่าเท่ากบั ๑ หนว่ ยกติ ระบบทวภิ าค

(๒) รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ช่ัวโมงต่อภาค
การศกึ ษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หนว่ ยกิตระบบทวภิ าค

(๓) การฝึกงานหรือฝึกภาคสนาม ท่ีใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ช่ัวโมงต่อภาค
การศึกษาปกติ ให้มคี ่าเท่ากบั ๑ หน่วยกิตระบบทวิภาค

(๔) การทาโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามท่ีได้รับมอบหมาย ท่ีใช้เวลาทา
โครงงาน หรือกิจกรรมนัน้ ไม่น้อยกว่า ๔๕ ช่ัวโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
ระบบทวิภาค

(๕) การค้นคว้าอิสระ หรือวิทยานิพนธ์ ท่ีใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า ๔๕ ช่ัวโมง
ต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีคา่ เท่ากับ ๑ หน่วยกิตระบบทวิภาค

หมวด ๓
หลกั สูตรการศึกษา

ข้อ ๑๐ หลักสตู รทเี่ ปิดสอนในระดบั บัณฑิตศึกษา มีดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สร้างเสริม
ความเชี่ยวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเป็นหลักสูตรท่ีมีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สาหรับ
ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรีหรือเทยี บเทา่ มาแล้ว
(๒) หลักสูตรปริญ ญ ามหาบัณ ฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริม
ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการหรือวชิ าชีพในสาขาวชิ าต่าง ๆ ในระดับท่ีสูงกวา่ ขัน้ ปริญญาตรี
(๓) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสร้างเสริม
ความเชี่ยวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเป็นหลักสูตรท่ีมีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง
สาหรับผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาในระดับปริญญาโทหรอื เทียบเทา่ มาแลว้

(๑๓๔) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๔) หลักสูตรปริญ ญ าดุษฎีบัณ ฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริม
ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและการวิจยั ในสาขาวิชาตา่ ง ๆ ในระดบั ทสี่ งู กว่าขน้ั ปรญิ ญาโท

ข้อ ๑๑ โครงสรา้ งหลกั สูตร ระบบทวภิ าค
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ให้มี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ ๒๔ หน่วยกติ
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า
๓๖ หนว่ ยกิต โดยแบ่งการศกึ ษาเป็น ๒ แผน ดงั ต่อไปน้ี

(ก) แผน ก เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทาวิทยานิพนธ์
ดังตอ่ ไปนี้

แบบ ก ๑ ทาเฉพาะวทิ ยานพิ นธ์ ซ่งึ มีค่าเทียบได้ไม่น้อยกวา่ ๓๖ หนว่ ยกิต
หลักสูตรอาจกาหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติม หรือทากิจกรรมทางวิชาการอ่ืนเพ่ิมขึ้นก็ได้ โดยไม่นับ
หน่วยกิต แต่จะต้องมีผลสัมฤทธ์ติ ามทหี่ ลักสูตรกาหนด

แบบ ก ๒ ทาวิทยานิพนธ์ ซ่ึงมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต
และศกึ ษารายวชิ าในระดบั บัณฑติ ศกึ ษาอีกไมน่ ้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต

(ข) แผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษารายวิชา โดยไม่ต้องทา
วิทยานิพนธ์แตต่ อ้ งมีการค้นควา้ อิสระไม่น้อยกวา่ ๓ หนว่ ยกติ และไม่เกนิ ๖ หน่วยกิต

(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ โดยเน้นการวิจัย
เพื่อพัฒนานกั วชิ าการ และนักวชิ าชีพช้นั สงู คอื

(ก) แบบ ๑ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทาวิทยานิพนธ์ท่ี
ก่อให้เกดิ ความรู้ใหม่ หลกั สูตรอาจกาหนดใหเ้ รยี นรายวิชาเพ่ิมเติม หรือทากิจกรรมทางวชิ าการอ่ืน
เพิม่ ขนึ้ ก็ไดโ้ ดยไมน่ ับหนว่ ยกิต แตจ่ ะตอ้ งมผี ลสมั ฤทธ์ิตามทห่ี ลักสตู รกาหนด ดังต่อไปนี้

แบบ ๑.๑ ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จปริญญาตรี ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า
๗๒ หน่วยกติ

แบบ ๑.๒ ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จปริญญาโท ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า
๔๘ หนว่ ยกติ

ท้ังน้ี วิทยานิพนธ์ตามแบบ ๑.๑ และแบบ ๑.๒ ต้องมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดียวกนั

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๓๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ข) แบบ ๒ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทาวิทยานิพนธ์
ที่มีคุณภาพสูง และก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษารายวิชาเพ่ิมเติม
ดังตอ่ ไปนี้

แบบ ๒.๑ ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาตรี ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า
๔๘ หนว่ ยกติ และศกึ ษารายวิชาอีกไมน่ ้อยกวา่ ๒๔ หน่วยกติ

แบบ ๒.๒ ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาโท ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า
๓๖ หนว่ ยกติ และศกึ ษารายวชิ าอีกไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกติ

ทั้งน้ี วิทยานิพนธ์ตามแบบ ๒.๑ และแบบ ๒.๒ ต้องมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดียวกนั

ขอ้ ๑๒ ระยะเวลาการศกึ ษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ให้ใช้ระยะเวลา
การศึกษาตามหลกั สตู รไม่เกิน ๓ ปกี ารศึกษา
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ให้ใช้ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไม่เกิน ๕
ปีการศกึ ษา
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ให้ใช้ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า
๓ ปกี ารศึกษา และอยา่ งมากสาหรับนักศึกษาทเ่ี ข้าศกึ ษาด้วยคุณวุฒิทีแ่ ตกต่างกนั ดังต่อไปน้ี

(ก) สาหรับผู้ท่ีเข้าศึกษาด้วยวุฒิปริญญาตรี ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๘
ปีการศกึ ษา

(ข) สาหรับผู้ท่ีเข้าศึกษาด้วยวุฒิปริญญาโท ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๖
ปีการศกึ ษา

(๔) การนับระยะเวลาการศึกษา ให้นบั จากวันเปิดภาคการศึกษาแรกที่นักศึกษา
เขา้ ศกึ ษาในหลกั สูตร โดยทม่ี ีสภาพการเปน็ นักศึกษาตามข้อ ๑๖ (๓)

(๕) ในกรณีที่นักศึกษาไม่สามารถสาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กาหนด
ให้นักศึกษาย่ืนคาร้องขอขยายเวลาต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือพิจารณาและเสนอ
คณบดีเพ่ืออนุมัติ ท้ังน้ี การขยายเวลาให้สามารถขอขยายได้คราวละหน่ึงภาคการศึกษา แต่ไม่
เกินสองภาคการศกึ ษา

(๑๓๖) ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

หมวด ๔
การรับเขา้ เปน็ นักศึกษา ประเภท และสภาพนกั ศึกษา

ข้อ ๑๓ คุณสมบัติของผู้เขา้ ศึกษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และปริญญามหาบัณฑิต ผู้เข้าศึกษา
ต้องสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีหรือเทยี บเท่าจากสถาบันการศกึ ษาที่สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา หรือสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง และมีคุณสมบัติอื่นตาม
เกณฑก์ าหนดของหลกั สูตร
(๒) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ผู้เข้าศึกษาต้องสาเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาโทหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ
สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง และมีคุณสมบัติอ่ืนตามเกณฑ์กาหนดของ
หลกั สูตร
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผู้เข้าศึกษาต้องสาเร็จการศึกษา โดยมีคุณสมบัติ
ดงั ต่อไปน้ี

(ก) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือสาเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญา
ดุษฎีบัณฑิตที่ประสงค์จะศึกษา โดยสาเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาท่ีสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง และมีผล
การสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑท์ ี่คณะกรรมการการอุดมศกึ ษากาหนด

(ข) มีคุณสมบตั ิอน่ื ตามทก่ี าหนดไว้ในหลกั สูตร
(ค) ไม่เคยพ้นสภาพจากการเป็นนักศึกษาเน่ืองจากการสอบวัดคุณสมบัติไม่ผ่าน
ตามข้อ ๓๒ ในการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ในหลกั สตู รท่จี ะเขา้ ศึกษา
ข้อ ๑๔ การรบั เข้าศึกษา
(๑) วธิ ีการสมัครเข้าเป็นนักศกึ ษา ใช้วิธีการตามทมี่ หาวทิ ยาลัยกาหนด โดยอาจมี
การทดสอบความรู้ การสอบคัดเลือก การพิจารณาคัดเลือก หรือโดยวิธีอ่ืนใดที่คณะ
กรรมการบรหิ ารหลักสูตรเหน็ สมควร และคณะใหค้ วามเหน็ ชอบ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๓๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๒) ในกรณีที่ผู้สมัครกาลังรอผลการศึกษาระดับปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งอยู่
การรับเข้าศึกษาจะมีผลสมบูรณ์เม่ือผู้สมัครได้แสดงหลักฐานว่าสาเร็จการศึกษาแล้วก่อนวัน
รายงานตัวเปน็ นกั ศกึ ษาตามวนั และเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด

(๓) คณะอาจพจิ ารณาอนุมตั ิให้รับนักศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั หรือ
สถาบันอุดมศึกษาอ่ืนลงทะเบียนเรียนรายวิชาตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลักสตู ร และปฏิบัตติ ามระเบยี บหรือประกาศมหาวิทยาลัยที่เกย่ี วข้อง

(๔) คณะอาจพิจารณาอนุมัติให้รับบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่นักศึกษาระดับ
บณั ฑิตศึกษาเข้าเป็นนกั ศกึ ษาพิเศษตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร แต่บคุ คล
นนั้ ตอ้ งมีคุณวุฒแิ ละคุณสมบัติตามขอ้ ๑๓

ขอ้ ๑๕ การข้นึ ทะเบียนเปน็ นกั ศกึ ษา
(๑) ผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษา มีสภาพเป็นนักศึกษาต่อเม่ือได้ขึ้น
ทะเบยี นเป็นนกั ศกึ ษาแลว้
(๒) ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษา ต้องขึ้นทะเบียนนักศึกษาด้วย
ตนเองโดยนาหลักฐานตามที่มหาวิทยาลัยกาหนดมารายงานตัวต่อแผนกทะเบียนนักศึกษาของคณะ
หรอื มหาวิทยาลัย พร้อมท้ังชาระเงนิ ตามระเบยี บท่ีมหาวิทยาลยั กาหนด
(๓) ผู้ทีไ่ ดร้ ับการคัดเลอื กเข้าเป็นนักศกึ ษาที่ไม่อาจมาขึ้นทะเบียนตามวนั เวลา และ
สถานท่ีที่มหาวิทยาลัยกาหนด ให้หมดสิทธิ์ข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษา เว้นแต่ได้แจ้งเหตุขัดข้องให้
มหาวิทยาลัยทราบเป็นลายลักษณ์อักษรภายในวันที่กาหนดให้มารายงานตัว และเมื่อได้รับอนุมัติ
แล้วต้องมารายงานตัวภายใน ๗ วัน นบั จากวนั สุดท้ายท่มี หาวทิ ยาลัยกาหนดใหม้ ารายงานตัว
(๔) ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าเป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ
มหาวิทยาลัยจะขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาเกนิ กว่า ๑ สาขาวชิ าในขณะเดยี วกันไมไ่ ด้
ข้อ ๑๖ ประเภทนักศึกษา สถานภาพการเป็นนักศึกษา และการเปลี่ยน
ประเภทและสถานภาพการเป็นนกั ศกึ ษา
(๑) นกั ศึกษา มี ๓ ประเภท ดังตอ่ ไปน้ี

(ก) นักศึกษาภาคปกติ ได้แก่ นกั ศึกษาทศี่ ึกษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ้ ๘ (๑)

(ข) นักศึกษาภาคสมทบ ได้แก่ นักศึกษาท่ีศึกษาในระบบการศึกษาตาม
ข้อ ๘ (๒)

(ค) นักศึกษาภาคพิเศษ ได้แก่ นกั ศึกษาท่ีศกึ ษาในระบบการศกึ ษาตาม
ข้อ ๘ (๓)

(๑๓๘) คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๒) การเปลี่ยนประเภทนกั ศึกษา
(ก) ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็นอย่างย่ิง คณะอาจอนุมัติให้นักศึกษา

ภาคปกติเปลี่ยนประเภทเป็นนักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษได้ ท้ังน้ี นักศึกษาต้อง
ปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับการเป็น
นักศึกษาภาคสมทบหรือภาคพิเศษ ตามจานวนทีก่ าหนดไว้ในแต่ละหลักสตู ร

(ข) นักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษไม่สามารถเปลี่ยนประเภท
เป็นนกั ศกึ ษาภาคปกตไิ ด้

(ค) นักศกึ ษาภาคสมทบไมส่ ามารถเปล่ียนประเภทเปน็ นักศกึ ษาภาคพิเศษได้
(๓) สถานภาพการเป็นนกั ศึกษา มดี งั ต่อไปนี้

(ก) นักศึกษาสามัญ หมายถึง ผู้ท่ีคณะรับเข้าเป็นนักศึกษาโดยสมบูรณ์เพื่อเข้า
ศกึ ษาในหลักสูตรใดหลกั สูตรหนึ่ง

(ข) นักศึกษาทดลองเรียน หมายถึง ผู้ท่ีคณะรับเข้าเป็นนักศึกษาทดลองเรียน
ในภาคการศึกษาแรกตามเง่ือนไขท่ีกาหนด ยกเว้นหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แบบ ก ๑ และ
หลักสูตรปรญิ ญาดุษฎีบณั ฑิต แบบ ๑ มิใหม้ ีนกั ศึกษาทดลองเรียน

(ค) นักศึกษาพิเศษ หมายถึง ผู้ท่ีคณะรับเข้าร่วมศึกษาหรือทาการวิจัย
โดยไม่ขอรับปริญญาของมหาวิทยาลัย คณะอาจพิจารณารับบุคคลเข้าเป็นนักศึกษาพิเศษได้ โดย
อยู่ในดุลพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและไดร้ ับอนุมัติจากคณบดีให้เข้าศึกษาหรือทาการ
วิจยั ได้ โดยต้องชาระเงินตามระเบียบหรือประกาศของมหาวิทยาลัยทเ่ี ก่ยี วข้อง

(๔) การเปล่ียนสถานภาพการเป็นนักศึกษา นักศึกษาทดลองเรียนที่เข้าศึกษา
ในภาคการศึกษาแรกและลงทะเบียนเรียนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และสอบ
ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ สามารถเปล่ียนสถานภาพการเป็นนักศึกษาสามัญได้เมื่อส้ินสุด
ภาคการศกึ ษาแรก โดยย่นื คารอ้ งต่อคณะ มิฉะน้นั ใหพ้ ้นสภาพการเปน็ นักศกึ ษา

หมวด ๕
การบรหิ ารหลักสูตร

ขอ้ ๑๗ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร
(๑) ในแต่ละหลักสูตร ให้คณบดีแต่งต้ัง “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(ช่ือหลักสูตร)” จานวนไม่นอ้ ยกวา่ ๓ คน ประกอบดว้ ย

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๓๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ก) คณบดีหรือผซู้ ึง่ คณบดมี อบหมาย เป็นประธานกรรมการ
(ข) อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร เปน็ กรรมการ
(ค) อาจารย์ประจาหลักสูตร หรืออาจารย์ประจา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัยในสาขาวชิ าทเี่ ก่ยี วข้อง เปน็ กรรมการ
(๒) ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ ๓ ปี
และอาจได้รบั แต่งตัง้ ใหมอ่ กี ได้
(๓) คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รมีอานาจและหนา้ ที่ ดงั ต่อไปนี้
(ก) บริหารจัดการหลักสูตรให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะและ
มหาวิทยาลยั
(ข) ควบคุมมาตรฐานของหลักสูตรสาขาวิชาท่ีรับผิดชอบให้เป็นไปตาม
ขอ้ บังคบั นี้ และตามมาตรฐานวิชาชพี (ถ้ามี)
(ค) กากับและดแู ลการสอนและการสอบของหลักสตู ร
(ง) กาหนดระบบประกันคุณภาพสาหรับหลักสูตรให้ชัดเจน โดยให้การ
ดาเนินงานของหลกั สูตรเป็นไปตามระบบการประกนั คณุ ภาพหลกั สูตรของมหาวิทยาลยั
(จ) จดั ให้มีการประเมินและปรับปรงุ มาตรฐานคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยทุก ๆ
๕ ปี
(ฉ) ปฏิบัตหิ น้าที่อน่ื ตามทค่ี ณบดีมอบหมาย
ข้อ ๑๘ จานวน คณุ วฒุ ิ และคุณสมบัติของอาจารย์
(๑) ประกาศนียบตั รบัณฑติ
(ก) อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิข้นั ต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการ อย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวิจัย

สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ประจา
หลักสตู รตอ้ งมีคณุ สมบัตเิ ป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนนั้ ๆ

(ข) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปรญิ ญาเอกหรือเทียบเท่า หรอื ขัน้ ตา่ ปริญญาโทหรอื เทียบเทา่ ทม่ี ีตาแหนง่ รองศาสตราจารย์ และ

(๑๔๐) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มีผลงานทางวชิ าการท่ีไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวิจยั

กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า ๑๐ คน ทางคณะ
ต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้มหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอดุ มศึกษาพจิ ารณาเป็นรายกรณี

(ค) อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิ
ขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของ
รายวชิ าท่สี อนและต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมผี ลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึง่ ของ
การศึกษาเพื่อรบั ปริญญาและเปน็ ผลงานทางวิชาการท่ีไดร้ ับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ทีก่ าหนด
ในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปี
ยอ้ นหลัง

ในกรณีของอาจารย์พิเศษ อาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโท แต่
ทั้งน้ีต้องมีคุณวุฒิข้ันต่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทางานที่เกี่ยวข้องกับ
วิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี ทั้งน้ี อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของ
รายวิชา โดยมอี าจารยป์ ระจาเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบรายวิชาน้ัน

สาหรับหลักสูตรประกาศนยี บัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้อง
มคี ุณสมบตั ิเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนน้ั ๆ

(๒) ประกาศนียบัตรบัณฑติ ช้ันสงู
(ก) อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่า

ปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหน่ึง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ี
กาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ
๕ ปียอ้ นหลงั โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเปน็ ผลงานวิจยั

สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์
ประจาหลักสตู รตอ้ งมคี ณุ สมบัตเิ ปน็ ไปตามมาตรฐานวิชาชพี นัน้ ๆ

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔ (๑๔๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ข) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตาแหน่งศาสตราจารย์ และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวจิ ยั

กรณีที่มีความจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับสาขาวิชา ท่ีไม่สามารถสรรหา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจานวนหรือมีจานวนนักศึกษาน้อยกว่า ๑๐ คน ทางคณะ
ต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีน้ันให้มหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพจิ ารณาเป็นรายกรณี

(ค) อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษ ท่ีมีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์
ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมี
ประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการทีไ่ ม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรบั ปริญญา
และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้ง
ให้บุคคลดารงตาแหนง่ ทางวิชาการอยา่ งน้อย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยี อ้ นหลัง

ในกรณีของอาจารย์พิเศษ อาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาเอก แต่
ท้ังนี้ต้องมีคุณวุฒิข้ันต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทางานท่ีเกี่ยวข้องกับ
วิชาท่ีสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ ปี ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีช่ัวโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของ
รายวิชา โดยมีอาจารยป์ ระจาเปน็ ผู้รับผดิ ชอบรายวชิ านนั้

สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิชาชีพ อาจารย์
ผู้สอนตอ้ งมีคณุ สมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชีพนั้น ๆ

(๓) ปรญิ ญาโท
(ก) อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิขนั้ ต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมี

ผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวจิ ยั

(๑๔๒) คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๔

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(ข) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย ๓ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรอื ขัน้ ตา่ ปริญญาโทหรือเทยี บเทา่ ที่มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และ
มีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปรญิ ญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ี
ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวจิ ัย

กรณีท่ีมีความจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจานวน หรือมีจานวนนักศึกษานอ้ ยกว่า ๑๐ คน ทางคณะ
ต้องเสนอจานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีน้ันให้มหาวิทยาลัยทราบเพ่ือ
เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพจิ ารณาเปน็ รายกรณี

(ค) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ แบ่งออกเป็น
๒ ประเภท คือ

๑) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและการค้นคว้าอิสระ ต้องเป็น
อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิปรญิ ญาเอกหรือเทียบเทา่ หรือขนั้ ต่าปรญิ ญาโทหรอื เทียบเทา่ ท่ี
มีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับ
ปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีไดร้ ับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ทกี่ าหนดในการพิจารณา
แต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดย
อย่างน้อย ๑ รายการต้องเปน็ ผลงานวิจัย

๒) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ต้องมีคุณวุฒิและ
คุณสมบตั ิ ดังต่อไปนี้

อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นอาจารย์ประจา ต้องมี
คณุ วุฒิและผลงานทางวชิ าการเช่นเดียวกับอาจารย์ทีป่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธห์ ลัก

ส า ห รั บ อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ร่ ว ม ท่ี เป็ น ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัยต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับ
การตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีช่ืออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือ
สัมพนั ธก์ ับหวั ข้อวทิ ยานพิ นธ์หรือการคน้ ควา้ อสิ ระไม่น้อยกวา่ ๑๐ เรอื่ ง

กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงาน
ทางวิชาการตามท่ีกาหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยจะต้องเป็นผู้มีความรู้


Click to View FlipBook Version