The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by printing144, 2022-07-04 22:30:12

รวมไฟล์ALL-report VT65

รวมไฟล์ALL-report VT65

กระทรวงกลาโหม

MINISTRY OF DEFENCE

รวมผลงานวิจัย

ทม่ี ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั
สอู่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ

ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๔

A

พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี และรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม

นโยบายรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม

“เสริมสร้างความมั่นคงและปลอดภยั ของประเทศ
การปฏริ ูปกองทพั และการส่งเสริมการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภบิ าล

และการสนบั สนุนรฐั บาลในการแกไ้ ขปัญหาทส่ี �ำ คัญของชาติ”

A

พลเอก วรเกียรติ รัตนานนท์

ปลัดกระทรวงกลาโหม

เจตนารมณ์และแนวทางการปฏิบัตงิ านของปลดั กระทรวงกลาโหม

“ส่งเสรมิ การวิจัยและพฒั นาหลักการทางทหารและยุทธศาสตร์ สนับสนนุ
การแกไ้ ขปัญหาและรบั มือภยั คกุ คามรูปแบบต่าง ๆ การวจิ ยั พฒั นาดา้ นยุทโธปกรณ์
และด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ่นื ๆ ทจี่ ำ�เป็นทางทหาร โดยมุ่งเนน้ เทคโนโลยี
เป้าหมายทีส่ อดคล้องตามกรอบความรว่ มมือด้านอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศของอาเซียน
การพัฒนางานมาตรฐานทางทหารใหเ้ ป็นทีย่ อมรบั การเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถ

ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศรวมทงั้ ขยายผลงานวจิ ัยพฒั นา
และนวัตกรรมทางทหารสกู่ ารใช้ประโยชน์ดา้ นความม่ันคงและเชิงพาณิชย”์

A

สาร

พลโท สมเกียรติ สัมพนั ธ์

เจ้ากรมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีกลาโหม

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นสิ่งสำ�คัญที่จะนำ�พาและขับเคล่ือนประเทศชาติรวมถึงทุกองค์กร
ให้มีความเจริญก้าวหน้าพัฒนาตามยุคสมัย ซ่ึงกระทรวงกลาโหมได้ให้ความสำ�คัญกับงานด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ โดยมีกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก
ของกระทรวงกลาโหม มีหน้าที่ พิจารณา เสนอความเห็น วางแผน อำ�นวยการ ประสานงาน กำ�กับการ และ
ด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั กจิ การดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ ตลอดจนบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั นโยบาย
แผนงาน โครงการ และงบประมาณ ให้เป็นไปตามนโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศของ
กระทรวงกลาโหม ดำ�เนินงานร่วมกับหน่วยข้ึนตรงกระทรวงกลาโหมและท้ังสามเหล่าทัพ เป็นการทำ�งาน
แบบบูรณาการ มุ่งเน้นด้านงานวิจัยและพัฒนา เพ่ือให้ได้มาซึ่งยุทโธปกรณ์ที่จะนำ�มาใช้งานในกองทัพ
ปัจจุบันได้สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย รวมทั้งภาคเอกชน ในการทำ�งานวิจัย
และพัฒนาของกระทรวงกลาโหม ทำ�ให้มีการพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ สามารถ
นำ�ผลงานวิจัยมาใช้งานในกองทัพได้จริง ทั้งน้ี ผลงานวิจัยดังกล่าวจะต้องผ่านการรับรองมาตรฐาน มีคุณภาพ
และมีมาตรฐานสามารถน�ำ ไปใช้งานไดใ้ นกองทพั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทงั้ กองทพั มคี วามม่ันใจในการใชง้ าน
ซึ่งสำ�นักมาตรฐานทางทหาร กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมเป็นหน่วยงานที่ทำ�หน้าท่ีรับรองมาตรฐาน
ของยุทโธปกรณ์นั้น โดยจะยึดถือหรือเทียบเคียงตามมาตรฐานสากล อีกท้ังยังมีคณะกรรมการมาตรฐาน
ยทุ โธปกรณก์ ระทรวงกลาโหม หรอื กมย.กห. เปน็ กรรมการเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเปน็ กลางในการตดั สนิ ความมคี ณุ ภาพ
และมมี าตรฐานของยทุ โธปกรณ์นน้ั อกี ดว้ ย
เอกสารเล่มน้ี ได้รวบรวมผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพไปสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่หน่วยงาน
ภายใต้กระทรวงกลาโหมได้ดำ�เนินการวิจัยและพัฒนาข้ึน โดยแบ่งเป็น ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มท่ี ๑ กลุ่มผลงานวิจัย
ที่มีศักยภาพและมีความพร้อมที่จะผลิตเพื่อใช้งานในกองทัพในระดับสูง กลุ่มที่ ๒ กลุ่มผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพ
และมคี วามพรอ้ มที่จะผลิตเพ่ือใช้งานในกองทพั ในระดับทจ่ี �ำ เป็นต้องพฒั นาเพ่ิมเติมอกี หลายส่วน และ กล่มุ ที่ ๓
กลมุ่ ผลงานวิจยั ทก่ี ระทรวงกลาโหมร่วมมือกบั เครอื ขา่ ยในการพัฒนาผลงานวจิ ยั ท่สี ามารถน�ำ ไปใชง้ านในลักษณะ
สองทาง (Dual Use) ท้ังทางการทหารและไม่ใชท่ างการทหาร จะเหน็ ไดว้ า่ กระทรวงกลาโหม ได้นำ�วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีมาใช้ในการขับเคลื่อนองค์กร โดยเฉพาะงานด้านการวิจัยและพัฒนา งานด้านการมาตรฐาน
ทางทหาร ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำ�ให้กองทัพได้ผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการพ่ึงพาตนเอง ลดการนำ�เข้า
จากต่างประเทศ ทำ�ให้ประหยัดงบประมาณของภาครัฐ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ทีไ่ ด้ประกาศใหอ้ ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศเป็น S – CURVE 11 ไว้แล้ว
เอกสารเล่มน้จี ะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานภายในกระทรวงกลาโหมและหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง ท้งั หน่วยงาน
ผู้ใช้ หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนส่งเสริม และหน่วยงานที่ดำ�เนินการผลิต ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
กระทรวงกลาโหมและประเทศชาตติ อ่ ไป

พลโท
(สมเกยี รติ สัมพนั ธ์)

เจ้ากรมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ลาโหม

สาร

พลตรี สมบุญ เกตุอินทร์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานวิจยั และพฒั นาการทางทหารกองทัพบก

“แม้หวังตัง้ สงบ จงเตรียมรบใหพ้ รอ้ มสรรพ์ ศัตรูกล้ามาประจญั จะอาจส้รู ปิ ูสลาย” เป็นค�ำขวัญเสอื ปา่
ท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๖ ทรงพระราชทานไว้นับเป็นข้อคิดสิ่งเตือนใจให้พวกเรา
ทกุ คนพงึ ระลกึ ในการตอ้ งเตรยี มก�ำลงั ใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะปกปอ้ งอธปิ ไตยของประเทศตลอดเวลาในหว้ งหลงั สงครามโลก
คร้ังที่ ๒ เข้าสู่ยุคสงครามเย็น ประเทศไทยได้รับการช่วยเหลือได้รับการสนับสนุนยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัย
ในขณะนน้ั จากมติ รประเทศจ�ำนวนมากอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนกระทง่ั สงครามยตุ ลิ งการชว่ ยเหลอื กล็ ดลงในขณะทปี่ ระเทศ
ยังต้องเตรียมก�ำลังให้พร้อมตลอดเวลาจ�ำเป็นต้องท�ำการจัดหายุทโธปกรณ์จากมิตรประเทศจ�ำนวนมาก ซึ่งเป็นเรื่อง
ปกติท่ีผู้ขายจะไม่ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีทั้งหมดให้กับผู้ซ้ือ เพื่อผลประโยชน์ที่ตามมาในเรื่องต่างๆ เช่น
การซอ่ มบ�ำรงุ การพฒั นายทุ โธปกรณใ์ หท้ นั สมยั เปน็ ตน้ ดงั นน้ั หากขาดการสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ จากประเทศคคู่ า้ หรอื ขาด
ความช่วยเหลอื จากมิตรประเทศเราจะไม่สามารถเตรียมก�ำลังให้พรอ้ มรบอยา่ งมีประสิทธภิ าพได้
รัฐบาลได้เห็นความส�ำคัญของเรื่องดังกล่าวจึงได้ประกาศให้อุตสาหกรรมป้องกันประเทศเป็นเป้าหมาย
พิเศษท่ี ๑๑ (S - Curve 11) เพอื่ เปน็ การพัฒนาเพิม่ ศกั ยภาพการวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมป้องกนั
ประเทศด้วยตัวของเราเองให้สามารถพ่ึงพาตนเองได้ซ่ึงผู้บัญชาการทหารบกได้มอบนโยบายการปฏิบัติงาน
ด้านการวิจัยโดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ตามนโยบายการพึ่งพาตนเอง
อย่างจริงจังโดยมีเป้าหมายสุดท้ายคือ “การสนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ กห. สามารถผลิตข้ึนใช้เองเป็นหลัก
และการท�ำใหภ้ าคเอกชนไทย ที่เปน็ เครือข่ายของ กห. มคี วามเขม้ แขง็ สามารถสนบั สนนุ นโยบายการพ่ึงพาตนเอง
ของกองทัพได้อย่างย่ังยืนและเป็นรูปธรรม” ด้วยการส่งเสริมการจัดหายุทโธปกรณ์จากโรงงานภายในประเทศ
ตามแนวความคดิ “ไทยท�ำ ไทยใช้” โดยเฉพาะการจัดหาผลิตภัณฑท์ ่ี กห. และภาคเอกชนไทยมีขดี ความสามารถ
ในการด�ำเนนิ การควบคกู่ บั การสง่ เสริมผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของไทยใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน
ตรงตามความตอ้ งการของหนว่ ยใชร้ วมทง้ั การสรา้ งความรว่ มมอื กบั สถาบนั การศกึ ษา และมติ รประเทศเพอื่ ทจี่ ะน�ำ
ศักยภาพท่มี มี าบูรณาการร่วมกนั
ส�ำนกั งานวจิ ยั และพฒั นาการทางทหารกองทพั บกไดน้ �ำนโยบายดงั กลา่ วมายดึ ถอื และน�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ทเี่ ปน็ รปู ธรรมโดยการแสวงหาความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกกองทพั ทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนทงั้ ดา้ นวชิ าการ
โครงสรา้ งพน้ื ฐานแหลง่ ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั และภาคเอกชนทจ่ี ะน�ำไปสสู่ ายการผลติ ในระบบอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั
ประเทศอันจะน�ำไปสู่การพึ่งพาตนเองท่ียั่งยืนต่อไปดังพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รไดท้ รงตรสั ในสภาคองเกรส สหรฐั อเมรกิ าเมอ่ื วนั ที่ ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๐๓
ความตอนหน่ึงว่า “ตนน่ันแหละเป็นท่ีพ่ึงแห่งตนเราขอขอบคุณในความช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกาแต่เราต้ังใจ
ไวว้ า่ วนั หนึง่ ข้างหน้าเราคงท�ำได้เองโดยไม่ตอ้ งพง่ึ ความชว่ ยเหลอื นี”้

พลตรี
(สมบุญ เกตุอินทร)์

ผูอ้ �ำนวยการส�ำนักงานวจิ ยั และพัฒนาการทางทหารกองทัพบก

A

สาร

พลอากาศโท ฐากูร นาครทรรพ

ผอู้ �ำนวยการศนู ยว์ จิ ยั พฒั นาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยกี ารบนิ และอวกาศกองทพั อากาศ

ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เป็นแนวทางการขับเคล่ือนประเทศไปสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน รัฐบาล
ได้ก�ำหนดนโยบาย Thailand 4.0 และให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม
ในการป้องกนั ประเทศ ตอ่ ยอดในกลุ่มเทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมเป้าหมาย เปา้ หมายที่ ๑๑ (NEW S – CURVE ๑๑)
ซึ่งกองทัพได้มกี ารขับเคลือ่ นอย่างเปน็ รูปธรรมโดยไดร้ ะบใุ นนโยบายรัฐมนตรกี ลาโหมประจ�ำปี ๒๕๖๕ เสริมสรา้ ง
ขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศให้เข้มแข็ง รวมท้ังขยายผลงานวิจัยพัฒนา
และนวัตกรรมทางทหาร เพือ่ ใช้งานในหนว่ ยทหาร เกิดการพง่ึ พาตนเอง ลดการพงึ่ พาตา่ งประเทศ และขยายผล
เพ่ือการพาณชิ ยร์ วมท้ังมีการขึน้ ทะเบียนบญั ชีนวตั กรรมไทย
เทคโนโลยีการป้องกันประเทศแทบทุกด้านมีลักษณะเป็นเทคโนโลยีสองทางคือ ผลิตส�ำหรับใช้
ทั้งในทางการทหารและทางพลเรือนหรือการพาณิชย์ โดยที่ผ่านมาผลงานการวิจัยและการพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม ยังไม่เคยมีการน�ำไปผลิตใช้งานในเชิงอุตสาหกรรม
อย่างเป็นรูปธรรม เน่ืองจากขาดการส่งเสริมและสนับสนุน รวมทั้งการสร้างความเช่ือมั่นให้กับหน่วยผู้ใช้งาน
ปัจจบุ นั กระทรวงกลาโหม ได้ก�ำหนดแนวทางการขบั เคลือ่ นผลงานวจิ ัยและพฒั นาสูอ่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ
ดงั นน้ั จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งวจิ ยั และพฒั นาทตี่ อบสนองความตอ้ งการทางยทุ ธวธิ แี ละดา้ นยทุ ธการสามารถน�ำไปใชใ้ นกองทพั
อย่างแท้จริง โดยมีการทดสอบประเมินค่าจนได้มาตรฐานทางทหารและพัฒนาต่อยอดขยายผลงานต้นแบบ
ไปสู่การผลิตอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและบรรจุใช้ในราชการต่อไป ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าการวิจัยและพัฒนา
เปน็ กลยทุ ธ์หนงึ่ ท่มี ีความส�ำคัญในการขับเคล่ือนประเทศเพือ่ มงุ่ สคู่ วาม “ม่นั คง ม่งั คงั่ และย่ังยืน”

พลอากาศโท
(ฐากรู นาครทรรพ)

ผู้อ�ำนวยการศนู ยว์ จิ ัยพัฒนาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยกี ารบินและอวกาศกองทพั อากาศ

สาร

พลเรอื ตรี สุชาติ นาคมอญ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานวจิ ัยและพัฒนาการทางทหารกองทพั เรือ

ในปัจจุบันงานด้านการวิจัยและการพัฒนาการทหารของกองทัพเรือ ถือเป็นกลไกหลักท่ีจะช่วยเหลือ
ในการแบ่งเบาภาระของกองทัพในการพ่ึงพา รวมทั้งเป็นการสร้างผลงานและผลผลิต ที่จะเป็นพื้นฐานน�ำไปสู่
ความม่ันคงและความเข้มแข็งทางด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ อีกทั้งยังมีโอกาสเป็นแหล่งรายได้ท่ีส�ำคัญ
ของประเทศด้วยการน�ำผลงานวจิ ัยเขา้ สสู่ ายการผลติ ในลกั ษณะอุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศต่อไป
ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหารกองทัพเรือ ยังคงมุ่งมั่นในการบริหารจัดการงานวิจัยและ
พัฒนาการทหาร เพื่อให้ผลงานวิจัยของกองทัพเรือมีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล มีความเหมาะสม
ความสอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน ภายใต้การน�ำของกระทรวงกลาโหม เพื่อความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน
กอ่ นทจี่ ะน�ำผลงานเข้าสสู่ ายการผลติ เปน็ อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
หัวใจส�ำคัญของส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหารของกองทัพเรือ คือ ด�ำเนินการเตรียมความพร้อม
ของสภาพแวดล้อมในด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ด้วยการสนับสนุนบุคลากรของกองทัพ ให้สามารถด�ำเนิน
การวิจัยและการพัฒนาทางการทหาร และรวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้งานวิจัยเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม
ป้องกันประเทศ น�ำสู่สายการผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไป อย่างไรก็ตาม ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาการทางทหาร
กองทัพเรือ ยังคงมุ่นม่ันที่จะด�ำเนินการในทุก ๆ ด้านอย่างครอบคลุม และเคร่งครัดเป็นไปอย่างครบวงจร
เพ่ือใหเ้ กดิ การพง่ึ พาตนเองของกระทรวงกลาโหม และบรรลุเปา้ หมาย “มน่ั คง มัง่ คั่ง ยัง่ ยนื ” สืบตอ่ ไป

พลเรือตรี
(สชุ าติ นาคมอญ)

ผ้อู �ำนวยการส�ำนกั งานวิจยั และพัฒนาการทางทหารกองทัพเรอื

A

สาร

พลเอก ชูชาติ บวั ขาว

ผู้อ�ำ นวยการสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ คือ อุตสาหกรรมทางยุทธศาสตร์ท่ีมีความส�ำคัญต่อพลังอ�ำนาจทางทหาร
และความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ดงั นน้ั หว่ งโซอ่ ปุ ทานของอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศจงึ ตอ้ งมคี วาม
มนั่ คง (Defense Industry Supply Chain Security) ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ปจั จยั หลกั คอื ความพรอ้ มทางเทคโนโลยี และ
ห่วงโซ่การผลิต ระดับความพร้อมทางเทคโนโลยี (Technology Readiness Level: TRL) โดยเฉพาะ
การเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับเทคโนโลยีแห่งอนาคตนั้น มักจะเกิดจากการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา
ซ่ึงประเทศที่พัฒนาแล้ว จะมีสัดส่วนการลงทุนในด้านงานวิจัยที่สูงมาก เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของ
ยุทโธปกรณ์ให้มีเทคโนโลยีที่ล้�ำสมัย และพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศให้มีศักยภาพสูง เพื่อให้มีความ
ได้เปรียบในการแข่งขนั
หน่วยงานวจิ ัยในกระทรวงกลาโหม และทกุ เหล่าทพั ถอื เปน็ องค์กรหลกั ทีข่ ับเคลื่อนงานวจิ ัยและพัฒนา
เทคโนโลยีทางทหารให้มีความก้าวหน้า ตามแผนการพัฒนาเสริมสร้างก�ำลังกองทัพมาโดยต่อเนื่องเป็นเวลาหลาย
ทศวรรษ และได้ตัง้ เป้าหมายในการน�ำผลงานวจิ ัยทีม่ ศี ักยภาพผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ตามผลงาน
ในปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ ในรายงานฉบบั น้ี
สถาบนั เทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ (สทป.) ในฐานะเครอื ขา่ ยพนั ธมติ รของหนว่ ยงานวจิ ยั ในกระทรวงกลาโหม
และทกุ เหลา่ ทพั มคี วามยนิ ดที จ่ี ะรว่ มสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหก้ ารขบั เคลอื่ นงานวจิ ยั ไปสอู่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ
ประสบความสำ�เร็จ และเปน็ สว่ นหนึง่ ของอตุ สาหกรรมเป้าหมายพิเศษอนั ดับท่ี ๑๑ (S Curve 11) ตามนโยบาย
ของรัฐบาล เพ่ือเสริมสร้างความมัน่ คงทางดา้ นเทคโนโลยปี ้องกันประเทศอย่างยั่งยืนตอ่ ไป

พลเอก
(ชชู าติ บวั ขาว)

ผูอ้ ำ�นวยการสถาบันเทคโนโลยีป้องกนั ประเทศ

A

สารบญั

หน้า

บทท ี่ ๑ บทน�ำ ๑

บทท ี่ ๒ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และคำ�สง่ั ที่เกี่ยวข้อง ๓
๒.๑ ค�ำ แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรตี อ่ รัฐสภา ๓
๒.๒ ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ๔
๒.๓ แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าต ิ ๕
๒.๔ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ ๕
๒.๕ การปฏริ ูปงานวิทยาศาสตร์ วิจยั และ นวตั กรรมในระดบั ชาต ิ ๗
๒.๖ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยปี ้องกนั ประเทศ ๑๐
กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
๒.๗ ยุทธศาสตร์การพัฒนา วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ๑๑
กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
๒.๘ นโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ๑๒
๒.๙ แนวทางการปฏบิ ตั ิงานของปลัดกระทรวงกลาโหม ๑๒

บทท ี่ ๓ การขับเคล่ือนงานวิจัยไปสูก่ ารผลิตเพือ่ ใช้งานในกองทัพของตา่ งประเทศ ๑๓

บทท่ ี ๔ แนวทางในการขับเคล่อื นงานวจิ ยั สูส่ ายการผลติ และอตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ๒๐

บทที ่ ๕ ผลงานวิจัยและพฒั นาทมี่ ศี ักยภาพสูส่ ายการผลิตเพ่ือใชง้ าน ๒๕
- กลุม่ ผลงานวิจยั ที่มศี ักยภาพและมีความพร้อมทีจ่ ะผลิตเพ่อื ใชง้ านในกองทพั ในระดบั สงู ๒๖
- กลมุ่ ผลงานวจิ ยั ทม่ี ีศักยภาพ และมีความพร้อมที่จะผลิตเพือ่ ใช้งานในกองทพั ๒๙
ในระดับทจ่ี �ำ เป็นต้องพฒั นาเพ่มิ เติมอีกหลายสว่ น
- กลมุ่ ผลงานวจิ ัยที่ กห. รว่ มมอื กบั เครือขา่ ยในการพัฒนาผลงานวจิ ัย ๓๒
ทสี่ ามารถน�ำ ไปใชง้ านในลักษณะสองทาง (Dual Use)
- กลมุ่ ผลงานวิจัยทม่ี ศี กั ยภาพและมคี วามพรอ้ มที่จะผลติ เพ่อื ใช้งานในกองทพั ในระดับสูง ๓๓
๑. การสรา้ งตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใชก้ ับประภาคาร/กระโจมไฟ ๓๓
ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรอื
๒. ใบจกั รนกิ เกิลอะลูมเิ นยี มบรอนซ์ส�ำ หรบั เรอื ตรวจการณช์ ายฝ่งั (PCF) ๓๙
๓. ปลอกทวแี รงถอย (Blank Firing Attachment หรอื Adapter) ๔๔
ของปนื กล ขนาด ๗.๖๒ มิลลเิ มตร แบบ เอ็ม ๖๐
๔. ปลอกทวีแรงถอย (Blank Firing Attachment : BFA) ของปนื กลขนาด .๕๐ นว้ิ ๔๖
แบบ เอม็ ๒ ล�ำ กล้องหนัก (M2 HB)
๕. อากาศยานไรน้ ักบนิ แบบนารายณ์ ๓.๐ ๔๙
๖. รว้ั ไร้สาย ภายใตช้ ดุ โครงการวจิ ัยและพฒั นา “ระบบเฝ้าตรวจแจ้งเตือนพืน้ ทีช่ ายแดน ๕๑
ภาคตะวนั ตกและตะวนั ออก”
๗. สารยบั ยง้ั ไฟปา่ ชนดิ เหลว ๕๕

สารบญั

หนา้

๘. ชนวนหวั กระทบแตกไว/ถ่วงเวลา สำ�หรับ ลย./ค. เพ่ือทดสอบประสทิ ธภิ าพการใชง้ าน ๖๐
- กลุ่มผลงานวจิ ยั ที่มศี กั ยภาพ และมีความพร้อมทีจ่ ะผลติ เพือ่ ใช้งานในกองทัพ ๖๔
ในระดับท่ีจำ�เปน็ ต้องพัฒนาเพ่มิ เตมิ อีกหลายส่วน
๑. ระบบควบคมุ และอำ�นวยการยิงอัตโนมัติสำ�หรับปืนใหญเ่ บากระสุนวถิ โี คง้ ๖๔
ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรล้อยาง
๒. แบตเตอรี่ สำ�หรับรถยานเกราะล้อยาง แบบ BTR-3E1 ๖๗
๓. แบตเตอรี่ ส�ำ หรบั ใชง้ านในระบบโซล่าเซลล์ ๖๙

๔. วจิ ยั และพฒั นาดินส่งกระสุนส�ำ หรบั กระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ น้ิว) ๗๑
๕. ต้นแบบเครือ่ งบินฝกึ บงั คบั ด้วยวทิ ยุ SIKAN ๗๓
๖. บรรจภุ ณั ฑด์ บั ไฟปา่ แบบแตกกระทบพน้ื ส�ำ หรับ ติดตงั้ กับ บ.ล.๘ ๘๐
๗. เครอ่ื งผสมสารอตั โนมตั ิในภารกิจยบั ยัง้ ไฟป่า ๘๓
๘. ต้นแบบระบบต้ังหลกั ฐานยิงอตั โนมัติเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. ๘๖
๙. ตน้ แบบแทน่ ยิงท่ตี ิดต้งั ระบบรับแรงของเครอื่ งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. ๘๙
จำ�นวน ๑ ระบบ
๑๐. อากาศยานไรค้ นขับขนาดเลก็ ติดอาวุธ ระยะที่ ๑ ๙๒
- กลุม่ ผลงานวจิ ัยท่ี กห. รว่ มมือกบั เครือข่ายในการพัฒนาผลงานวิจยั ๙๖
ท่ีสามารถน�ำ ไปใช้งานในลกั ษณะสองทาง (Dual Use)
๑. การศกึ ษาความเปน็ ไปได้การออกแบบถงั ปลอ่ ยสารฝนหลวง บ.ล.๒ ก ๙๖
๒. โครงการวิจัยและพฒั นาตน้ แบบระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก ๙๘

บทท่ ี ๖ ข้อเสนอในการผลกั ดันผลงานวิจยั ไปส่กู ารผลติ เพอ่ื ใชใ้ นราชการ ๑๐๐

และอุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ

เอกสารอา้ งองิ ๑๐๗

คณะผูจ้ ัดทำ� ๑๐๘

A

รวมผลงานวิจยั

ท่มี ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดัน
สู่อตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ

ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

A

รวมผลงานวจิ ัยที่มศี ักยภาพพรอ้ มผลักดนั ส่อู ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

บทที่ ๑ บทน�ำ

กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม (วท.กห.) มีหน้าท่ี พิจารณา เสนอความเห็น วางแผน
อ�ำ นวยการ ประสานงาน ก�ำ กบั การ และด�ำ เนนิ การเกยี่ วกบั กจิ การดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ
ตลอดจนบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั นโยบายแผนงาน โครงการ และงบประมาณ ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายดา้ นวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม และปฏิบัติงานอื่นตามท่ีได้รับมอบหมาย มีเจ้ากรม
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ลาโหม เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชารบั ผดิ ชอบ โดยมขี อบเขตความรบั ผดิ ชอบและหนา้ ทที่ ส่ี �ำ คญั
คอื พจิ ารณา เสนอความเหน็ วางแผน อ�ำ นวยการ ประสานงาน ก�ำ กบั การ สง่ เสรมิ และด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั การวจิ ยั
และพัฒนาทางทหาร การพัฒนากำ�ลังพล การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การถ่ายทอดองค์ความรู้ การมาตรฐาน
ทางทหาร การบรหิ ารจดั การระบบงาน รวมทง้ั การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี น่ื อนั จ�ำ เปน็ เพอื่ การปอ้ งกนั ประเทศ
เปน็ ส่วนรวมของกระทรวงกลาโหม
กรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ลาโหม ไดจ้ ดั ท�ำ เอกสารรวบรวมผลงานวจิ ยั ทม่ี ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั
สอู่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศฉบบั นข้ี นึ้ เพอ่ื ใชใ้ นการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธผ์ ลงานวจิ ยั ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายใตก้ ระทรวง
กลาโหม รวมทั้งท่ีเกิดจากความร่วมมือกับหน่วยงานวิจัยภายนอกกระทรวงกลาโหมท่ีมีศักยภาพพร้อมผลักดัน
สู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ซ่ึงได้รวบรวมนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องด้านการวิจัย วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ต้ังแต่ระดับรัฐบาลที่ได้กำ�หนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี สำ�หรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา
ประเทศให้มคี วามมัน่ คง มงั่ คั่ง และยั่งยืน ตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ลงมาถงึ ระดับกระทรวง โดยมี
นโยบายของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม (รมว.กห.) และปลัดกระทรวงกลาโหม (ปล.กห.) ในบทที่ ๒ สำ�หรับ
แนวทางการขับเคลื่อนผลงานวิจัยไปสู่สายการผลิตและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของต่างประเทศ ได้แก่
สาธารณรฐั เกาหลี ญป่ี นุ่ และสหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ ไดร้ วบรวมไวใ้ นบทท่ี ๓ ส�ำ หรบั ในบทที่ ๔ เปน็ การกลา่ วถงึ หลกั การ
ตลอดจนแนวทางการผลักดันผลงานวิจัยผ่านคณะกรรมการอำ�นวยการระดับต่าง ๆ ของกระทรวงกลาโหม
ไปจนถงึ คณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศทม่ี ี รมว.กห. เปน็ ประธาน
และมีผู้อำ�นวยการสำ�นักนโยบายและแผนกระทรวงกลาโหม (ผอ.สนผ.กห.) เป็นกรรมการและเลขานุการ
ส่วนในบทที่ ๕ เป็นการรวบรวมผลงานวิจัยที่มีศักยภาพพร้อมผลักดันสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของกระทรวง
กลาโหม ทัง้ ในสว่ นของสำ�นกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม (สป.) กองทัพบก (ทบ.) กองทัพเรอื (ทร.) กองทัพอากาศ
(ทอ.) และสถาบันเทคโนโลยปี ้องกันประเทศ (องคก์ ารมหาชน) (สทป.) รวมทัง้ เครอื ข่ายความรว่ มมือดา้ นงานวจิ ัย
นอกกระทรวงกลาโหม และในบทท่ี ๖ จะเป็นการกลา่ วถึง การกำ�หนดบทบาทและกรอบแนวทางการดำ�เนินงาน
ของแต่ละหน่วยงาน พร้อมท้ังคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้การขับเคล่ือนผลงานวิจัยไปสู่สายการผลิตเพื่อ
การใช้งานมีความประสานสอดคล้อง และมีเอกภาพในการตัดสินใจร่วมกันในแต่ละขั้นตอน อย่างมีเหตุและผล
มีความเป็นไปได้ ลดความเสี่ยงที่จะทำ�ให้ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ในแต่ละโครงการ ต้ังแต่เร่ิมต้น
โครงการวิจัยไปจนถึงโครงการจัดหาเพ่ือผลิตใช้ในราชการ เป็นการลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
อกี ทงั้ ยงั เปน็ การประหยดั งบประมาณของประเทศในการพฒั นาศกั ยภาพและสามารถด�ำ รงขดี ความสามารถในการ
ป้องกนั ประเทศไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ เพื่อใหป้ ระเทศชาติเกิดความม่นั คง มั่งคง่ั และย่งั ยืนตลอดไป

1

A

รวมผลงานวจิ ยั ทม่ี ศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

บทที่ ๒ นโยบายยุทธศาสตรท์ เี่ ก่ียวข้อง

การขับเคล่ือนการด�ำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ยึดถือนโบบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ และแนวทางการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชาทุกระดับ เป็นกรอบแนวทางการ
ด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญตามค�ำสั่ง กฎ และระเบียบท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้การด�ำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีก�ำหนดไว้
ประกอบดว้ ย
๒.๑ ค�ำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรตี อ่ รฐั สภา
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา
เมื่อ ๒๕ ก.ค.๖๒ โดยมีวิสัยทัศน์ในการขับเคล่ือนประเทศของรัฐบาล คือ มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศ
ทพ่ี ฒั นาแลว้ ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยก�ำหนดนโยบายในการบรหิ ารการแผน่ ดนิ ประกอบดว้ ย นโยบายหลกั ๑๒ ดา้ น
และนโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรอื่ ง โดยม่งุ เน้นใหก้ ารด�ำเนนิ การดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมเป็นกลไกส�ำคญั
ในการสนบั สนนุ ขบั เคลอ่ื นของทกุ ภาคสว่ น โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ซง่ึ จากการทบทวน
ค�ำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี มีประเด็นส�ำคัญเก่ียวกับการด�ำเนินการด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม
ของรัฐบาล ในนโยบายหลกั ๒ หัวข้อ ดงั น้ี
๑. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขนั ของไทย ประกอบดว้ ย
๑.๑ การพฒั นาภาคอตุ สาหกรรม ภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ
สีเขียว [Bio-Circular- Green (BCG) Economy] โดยน�ำความก้าวหน้าทางเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาพัฒนา
ตอ่ ยอดและสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ จากทรพั ยากรความหลากหลายทางชวี ภาพและวฒั นธรรม
๑.๒ พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ัยและพัฒนา และนวัตกรรม อาทิ
๑.๒.๑ พัฒนาสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศที่เอื้อต่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การวิจยั และพฒั นา และนวตั กรรม ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและส่งผลตอ่ การพฒั นาตอ่ ยอด
จากผลการวจิ ัยใหน้ �ำไปใชใ้ นเชิงพาณชิ ยไ์ ด้
๑.๒.๒ สร้างระบบจัดการข้อมูลเพื่อรองรับการบริหารจัดการงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ
ผา่ นการบรู ณาการและเชอ่ื มโยงระบบงานวจิ ยั ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื สรา้ งความเปน็ เอกภาพ ในการ
สง่ เสริมการด�ำเนินงานด้านการวจิ ัยทตี่ ่อยอดไปสกู่ ารสร้างนวตั กรรม
๑.๒.๓ เสริมสร้างการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสูด มุ่งเน้นการพัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐานที่เป็นปัจจัยน�ำไปสู่การสร้าง
งานวจิ ัยและนวัตกรรมทมี่ ีมูลค่าสูงและสามารถน�ำไปใช้ได้จรงิ และใช้วัตถดุ บิ จากภายในประเทศใหม้ ากท่ีสุด
๑.๒.๔ สนับสนุนการพัฒนาโรงงาน ห้องปฏิบัติการต้นแบบท่ีเป็นโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรมในระดับต้นน้�ำ โดยเฉพาะโรงงานและห้องปฏิบัติการน�ำร่อง
ทีส่ ามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกจิ ภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน
และเศรษฐกิจสเี ขยี ว [Bio – Circular - Green (BCG) Economy] และสนับสนนุ ให้เกดิ การลงทุนจากภาคธรุ กิจ
เอกชนไปพร้อมกนั
๒. การปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวยั
ในประเดน็ วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมทต่ี อบโจทยก์ ารพฒั นาประเทศ ประกอบดว้ ย

3

รวมผลงานวิจัยทม่ี ศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒.๑ สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมเพอ่ื ขจดั ความเหลอื่ มลำ�้ และความยากจน ยกระดบั คณุ ภาพ
ชีวิตของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพื้นท่ีที่สามารถ ช่วยแก้ปัญหา
ความเหลอื่ มลำ�้ สรา้ งโอกาสส�ำหรบั ผดู้ อ้ ยโอกาส และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู วยั ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาทนุ มนษุ ย์
ใหพ้ ร้อมส�ำหรบั โลกยคุ ดจิ ิทลั และอุตสาหกรรม ๔.๐
๒.๒ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของประเทศในอนาคต
โดยม่งุ เนน้ การวิจยั และพฒั นานวตั กรรมเพ่ือน�ำมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในเชงิ ธุรกจิ
๒.๓ สรา้ งเครอื ขา่ ยการท�ำวจิ ยั ระหวา่ งภาคสว่ นตา่ ง ๆ ปฏริ ปู และบรู ณาการระบบการเรยี นการสอน
กับระบบงานวิจัยและพัฒนา ให้เอื้อต่อการเพิ่มศักยภาพด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุนการสร้าง
ความเข้มแข็งของธรุ กจิ ไทยทุกระดับในเวทีการค้าโลก
๒.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทย
ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ซงึ่ จะตอ้ งน�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหป้ ระเทศไทยบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ ประเทศไทย
มีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง ๒) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขัน ๓) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๕) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งการเตบิ โต
บนคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รต่อส่ิงแวดลอ้ ม และ ๖) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ าร
จัดการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส�ำคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชน
มคี วามสุข เนน้ การบริหารจัดการสภาวะแวดลอ้ มของประเทศใหม้ คี วามมนั่ คง ปลอดภยั เอกราช อธปิ ไตย และ
มคี วามสงบเรียบร้อยในทุกระดบั ตงั้ แต่ระดับชาติ สงั คม ชมุ ชน มุง่ เน้นการพฒั นาคน เคร่อื งมือ เทคโนโลยี และ
ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับ
ความรนุ แรงควบคไู่ ปกบั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาดา้ นความมนั่ คงทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั และทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต
โดยใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการร่วมกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองค์กร
ทไ่ี มใ่ ชร่ ฐั รวมถงึ ประเทศเพอื่ นบา้ น และมติ รประเทศทว่ั โลกบนพน้ื ฐานของหลกั ธรรมาภบิ าล เออื้ อ�ำนวยประโยชน์
ต่อการด�ำเนนิ การของยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านอื่น ๆ ให้สามารถขบั เคล่ือนตามทิศทางและเปา้ หมายที่ก�ำหนด
ส�ำหรับประเดน็ ทีเ่ กยี่ วข้องกับงานดา้ นการวจิ ัยและพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศนน้ั ไดก้ ลา่ วไว้
ในยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในหัวข้ออุตสาหกรรมด้านความม่ันคงของประเทศ
โดยมุ่งเน้นพัฒนาอุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศที่ไทยมีศักยภาพ เพ่ือลดการพ่ึงพาจากต่างประเทศ และ
พัฒนาต่อยอดเป็นอุตสาหกรรมส่งออกต่อไป โดยการต่อยอดพัฒนาอุตสาหกรรมความม่ันคงด้านต่าง ๆ
จากอุตสาหกรรมของประเทศท่ีไทยมีความเข้มแข็งอยู่แล้ว รวมท้ังส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรม
ท่ีเกี่ยวข้องกับความม่ันคงด้านต่าง ๆ และเทคโนโลยีท่ีมีประโยชน์ในบริบทด้านความมั่นคงและเชิงพาณิชย์
ตลอดจนพฒั นาบคุ ลากรทางดา้ นวจิ ยั และพฒั นาการออกแบบ และการผลติ เพอื่ รองรบั การเตบิ โตของอตุ สาหกรรม
ความม่ันคงของประเทศการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภัยพิบัติ ซ่ึงรวมถึงระบบการเตือนภัย
การเตรียมตวั รับภัยพิบัติ และการใหค้ วามช่วยเหลอื ระหวา่ งและหลังเกิดภยั พิบัติ พร้อมทงั้ การสรา้ งอุตสาหกรรม

4

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ีศักยภาพพรอ้ มผลักดนั สอู่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ท่ีส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ เพ่ือลดผลกระทบจากภัยคุกคามไซเบอร์ต่อเศรษฐกิจและสังคมและ
ปกป้องอธิปไตยทางไซเบอร์ เพ่ือรักษาผลประโยชน์ของชาติจากการท�ำธุรกิจดิจิทัล ส่งเสริมการจัดหาพลังงาน
ใหเ้ พยี งพอ เพอื่ เปน็ ฐานความมนั่ คงดา้ นพลงั งานของประเทศ พรอ้ มกบั การเพม่ิ สดั สว่ นการใชพ้ ลงั งานทดแทนและ
พลังงานทางเลือก ให้มีความสมดุลและเกิดความม่ันคง สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านพลังงาน ตลอดจนพัฒนา
อุตสาหกรรมด้านพลังงานท่ีมีมูลค่าเพ่ิม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีพลังงานใหม่ และอุตสาหกรรมและบริการ
ที่เก่ียวเนื่องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ รวมทั้งการผลิตยุทโธปกรณ์และยุทธภัณฑ์ทางการทหาร
ไปพร้อมกับอุตสาหกรรมที่เป็นเทคโนโลยีสองทาง และอุตสาหกรรมที่เก่ียวกับความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สนิ ของประชาชน
๒.๓ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทที่มุ่งเน้นเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีก�ำหนด
ไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ มีทั้งส้ิน ๒๓ แผนแม่บท ซ่ึงจะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องท่ีจะต้องปฏิบัติ
ให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทซ่ึงจะ
น�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทยบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง มง่ั คง่ั ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้
ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
ทง้ั ๒๓ ฉบบั เปน็ การก�ำหนดประเด็นในลักษณะบูรณาการและเชอ่ื มโยงระหวา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติด้านท่ีเกีย่ วขอ้ ง
ไมม่ คี วามซำ�้ ชอ้ นระหวา่ งแผนแมบ่ ท โดยมกี ารก�ำหนดองคป์ ระกอบของแผนตามหลกั การความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล
มีการระบุแนวทางการพัฒนาและการด�ำเนินแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ที่สะท้อนผลสัมฤทธ์ิต่อเป้าหมายของ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านท่ีเก่ียวข้องได้อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือให้ส่วนราชการสามารถถ่ายทอดสู่การปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพบรรลุผลตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ โดยมี แผนแม่บท ฯ ที่สมควรใช้เป็นกรอบแนวทางการ
ขบั เคลอื่ นการด�ำเนินงานด้านการวิจัยและพฒั นา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีป้องกนั ประเทศ ดงั น้ี
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง ถือเป็นกรอบแนวทางการด�ำเนินการหลัก
ที่จะน�ำไปสู่จุดหมายปลายทางในภาพรวมที่เป็นรูปธรรมชัดเจนในระยะ ๒๐ ปี ตามท่ียุทธศาสตร์ชาติด้าน ๑)
ประชาชนอย่ดู ี กินดี และมีความสขุ ๒) บา้ นเมอื งมคี วามมนั่ คงในทุกมิตแิ ละทุกระดบั ๓) กองทัพ หน่วยงานดา้ น
ความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มคี วามพร้อมในการป้องกนั และแกไ้ ขความมั่นคงไดก้ �ำหนด
เอาไว้ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข โดยมีเป้าหมายส�ำคัญ ประกอบด้วยปัญหาความมั่นคง ๔)
ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคมระหว่างประเทศ และ ๕)
การบริหารจดั การความมั่นคงมีผลส�ำเรจ็ ทีเ่ ป็นรปู ธรรมอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
สาระส�ำคัญประกอบดว้ ยแผนย่อย จ�ำนวน ๕ แผนย่อย ได้แก่
๑) การรกั ษาความสงบภายในประเทศ
๒) การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาทม่ี ีผลกระทบต่อความม่ันคง
๓) การพฒั นาศกั ยภาพของประเทศ
๔) การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกบั อาเซยี น และนานาชาติ
๕) การพัฒนากลไกการบริหารจดั การความมนั่ คงแบบองค์รวม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ที่ให้ความส�ำคัญ
กบั การพฒั นาตอ่ ยอดอตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศไปสอู่ ตุ สาหกรรมแหง่ อนาคต การพฒั นาเปน็ องคร์ วมและ
การสรา้ งระบบนิเวศให้อตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต ประกอบด้วย ๖ แผนยอ่ ย โดยมีแผนงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

5

รวมผลงานวิจัยท่มี ีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดันสูอ่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กบั กระทรวงกลาโหม คอื อตุ สาหกรรมความมนั่ คงของประเทศ มเี ปา้ หมายในการสรา้ งและพฒั นาบคุ ลากรส�ำหรบั
อตุ สาหกรรมความมนั่ คงของประเทศ และสนบั สนนุ การน�ำเขา้ ผเู้ ชยี่ วชาญจากตา่ งประเทศ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การวจิ ยั
พฒั นาและสรา้ งนวตั กรรมเพอื่ ลดการพงึ่ พาจากตา่ งประเทศ สนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการตามระดบั ความสามารถของ
ผู้ประกอบการ สร้างเครือข่ายและคลัสเตอร์ของอุตสาหกรรมความม่ันคงของประเทศและเช่ือมโยงกับห่วงโซ่
ระดับโลก ส่งเสรมิ ให้มีการลงทุนเพื่อสร้างฐานการผลติ ของอตุ สาหกรรมความมนั่ คงในประเทศ สรา้ งระบบนิเวศ
สนับสนุนและเปิดโอกาสในการแสวงหาช่องทางการตลาดใหม่ ๆ จากในประเทศและต่างประเทศแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ซาติ ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเป็นปัจจัยสนับสนุน
ที่ส�ำคญั ในการด�ำเนินการตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ในดา้ นต่าง ๆ โดยการสร้างและสะสมองค์ความรูใ้ หม้ คี วามทนั สมัย
ตลอดเวลา และพฒั นาประเทศจากประเทศทใ่ี ชแ้ รงงานเขม้ ขน้ ไปเปน็ ประเทศทมี่ รี ะบบเศรษฐกจิ และสงั คมบนฐาน
ความรู้ด้านการวิจัยและนวัตกรรม โดยมีเป้าหมาย คือ ความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ทางเทคโนโลยี และด้านโครงสร้างพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศเพ่ิมสูงขึ้น และมูลค่าการลงทุนวิจัยและ
พฒั นานวตั กรรมตอ่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในของประเทศเพมิ่ ข้ึน ประกอบดว้ ย ๕ แผนย่อย คือ
๑) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ มุ่งเน้นการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์
ความต้องการของประเทศ ศักยภาพของผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและบริการที่สามารถใช้ประโยชน์เชิง
พาณชิ ยไ์ ด้จรงิ
๒) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านสังคม มุ่งเน้นการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมท่ีเป็นเคร่ืองมือ
ในการขับเคลือ่ นสงั คมไทย การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนทุกกลุ่ม
๓) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดัานส่ิงแวดล้อม มุ่งเน้นการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมท่ีเป็น
เคร่ืองมือในการอนุรักษ์และฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรทางบก
ทางน้�ำและทางทะเล รวมท้งั การจัดการมลพิษท่มี ผี ลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม และการจดั การกา๊ ชเรือนกระจก
๔) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านองค์ความรู้พื้นฐาน มุ่งเน้นการวิจัยที่สร้างองค์ความรู้พื้นฐาน
เพอื่ การสะสมองคค์ วามรู้ การตอ่ ยอดไปสกู่ ารประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ และการตอ่ ยอดไปสนู่ วตั กรรมทางเศรษฐกจิ
หรอื นวัตกรรมทางสังคม
๕) ด้านปัจจัยสนับสนุนในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มุ่งเน้นการพัฒนาปัจจัยสนับสนุน อาทิ
โครงสร้างฟื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ระบบบริหารจัดการงานวิจัย
การพฒั นามาตรการแรงจงู ใจ การเพมิ่ จ�ำนวนบคุ ลากรวจิ ยั และนวตั กรรม การพฒั นามาตรฐาน ระบบคณุ ภาพและ
การวิเคราะห์ทดสอบสังคมไทย
๒.๔ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ได้จัดท�ำบนพ้ืนฐาน
ของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ซ่ึงเป็นแผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน
(Sustainable Development Goals : SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย ๔.๐
ตลอดจนประเดน็ การปฏริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ มที ้งั หมด
๑๐ ยทุ ธศาสตรโ์ ดยมี ๖ ยทุ ธศาสตร์ ตามกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และอกี ๔ ยทุ ธศาสตรท์ เี่ ปน็ ปจั จยั สนบั สนนุ
ดังน้ี
๑) การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย์
๒) ยุทธศาสตร์การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหล่อื มล้ำ� ในสังคม

6

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมศี ักยภาพพรอ้ มผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓) ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแข่งขันไดอ้ ยา่ งย่ังยืน
๔) ยทุ ธศาสตรก์ ารเตบิ โตท่เี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ การพัฒนาทีย่ ่งั ยืน
๕) ยทุ ธศาสตร์การเสริมสรา้ งความม่ันคงแหง่ ชาตเิ พ่อื การพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคงั่ และย่งั ยนื
๖) ยทุ ธศาสตร์การบริหารจดั การในภาครฐั การป้องกันการทจุ ริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาล
ในสังคม
๗) ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส์
๘) ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม ๑ ) เรง่ ส่งเสริมการลงทนุ วจิ ัย
และพัฒนาและผลักดันสู่การใชป้ ระโยชน์เชิงพาณชิ ย์และเชงิ สงั คม ๒) พฒั นาผปู้ ระกอบการใหเ้ ป็นผปู้ ระกอบการ
ทางเทคโนโลยี และ ๓) พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
ดา้ นบุคลากรวจิ ัย
๙) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาค เมือง และพ้ืนทเี่ ศรษฐกจิ
๑๐) ยทุ ธศาสตรค์ วามรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพ่อื การพัฒนา
๒.๕ การปฏริ ูปงานวิทยาศาสตร์ วิจยั และ นวัตกรรมในระดับชาติ
รัฐบาลได้เล็งเห็นความส�ำคัญของพลังอ�ำนาจด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงใช้วิทยาศาสตร์
วจิ ยั และนวตั กรรมเปน็ เครอื่ งมอื ส�ำคญั ในการพฒั นาประเทศใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ไปสปู่ ระเทศทเ่ี จรญิ แลว้ เปน็ ประเทศ
ทีม่ ีความม่ันคง ม่งั คั่ง และยัง่ ยืน ตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี จึงไดม้ ีการปฏิรูประบบงานวิทยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวตั กรรมในระดบั ชาติ โดยไดต้ ราเป็นกฎหมายรองรับถึง ๑๐ ฉบับ กฎหมายที่ส�ำคัญ ได้แก่ พ.ร.บ.สภานโยบาย
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ และ พ.ร.บ.การส่งเสริมวิทยาศาสตร์
การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ท�ำให้มีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงระบบงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องท้ังประเทศ
เป็นเสมือนการปฏิรูประบบงานวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศคร้ังใหญ่ท่ีสุดเท่าที่เคยมีมา โดย
มุ่งหวังที่จะใหม้ ีการท�ำงานร่วมกนั อยา่ งเป็นระบบของหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งด้านวทิ ยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม
เพอื่ สรา้ งความเชอื่ มโยงกนั อยา่ งประสานสอดคลอ้ ง และเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั มงุ่ ด�ำเนนิ กจิ การทเี่ ปน็ การเพมิ่ พนู
ความรู้และความสามารถทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และวิศวกรรมเพื่อยกระดับความสามารถในการผลิตและการบริการ ตลอดจนความสามารถในการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจของประเทศ และความเป็นอยู่ของสังคม โดยรวมถึงการพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพ้ืนฐาน และ
การพฒั นาขดี ความสามารถในการรบั และถา่ ยทอดเทคโนโลยที ง้ั ภายในและจากตา่ งประเทศ เพอ่ื การพฒั นาประเทศ
ในทุกดา้ นน�ำไปสู่การบรรลเุ ปา้ หมายตามทก่ี �ำหนดไว้ในยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปขี องประเทศ
ตาม พ.ร.บ.สภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ไดก้ �ำหนด
ใหม้ ี สภานโยบาย การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมแหง่ ชาติขึน้ โดยมนี ายกรฐั มนตรีเป็นประธาน
สภานโยบาย มี รมว.กห. เป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง และให้ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัย
และนวัตกรรม (ปล.อว.) เป็นกรรมการและเลขานุการ นโยบายการอุดมศึกษามีผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานสภา
วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ (ผอ.สอวช) เป็นกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร สภานโยบาย ฯ มีอ�ำนาจ
หนา้ ทท่ี สี่ �ำคญั คอื เสนอนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และแผนดา้ นการอดุ มศกึ ษาเพอ่ื ผลติ และพฒั นาก�ำลงั คนของประเทศ
และแผนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมของประเทศทส่ี อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ผนแมบ่ ท และแผนอนื่
รวมท้ังนโยบายของรัฐบาล ต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้ความเห็นชอบ และพิจารณาให้ความเห็นชอบกรอบวงเงิน
งบประมาณประจ�ำปีด้านการอุดมศึกษาในความรับผิดชอบของกระทรวง และงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์

7

รวมผลงานวิจยั ท่มี ศี กั ยภาพพร้อมผลักดันสูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ กอ่ นทสี่ �ำนกั งบประมาณจะน�ำเสนอคณะรัฐมนตรี รวมท้งั เสนอระบบการจดั สรร
และบรหิ ารงบประมาณแบบบรู ณาการทมี่ งุ่ ผลสมั ฤทธติ์ ามกรอบวงเงนิ ดงั กลา่ ว ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์
และแผนดังกลา่ ว ตอ่ คณะรัฐมนตรเี พื่อพจิ ารณาอนมุ ัติ

ภาพท่ี ๒.๑ ภาพความเชอื่ มโยงของนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

ภาพที่ ๒.๒ ระบบทุนวิจัยและนวตั กรรมของประเทศ
8

รวมผลงานวจิ ยั ที่มศี กั ยภาพพรอ้ มผลักดันส่อู ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ภาพที่ ๒.๓ เสน้ ทางการขออนมุ ตั ิแผนและกรอบวงเงนิ งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม

ภาพที่ ๒.๔ เสน้ ทางการอนมุ ตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจ�ำปดี า้ นวทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

9

รวมผลงานวจิ ัยทม่ี ีศกั ยภาพพร้อมผลักดนั ส่อู ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ภาพท่ี ๒.๕ แนวทางการจัดสรรงบประมาณดา้ นวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

จะเห็นว่าระบบงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมได้เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีการรวมการ
ดา้ นนโยบาย ทศิ ทาง และงบประมาณไวใ้ นระดบั ชาติ ท�ำใหเ้ กดิ การปฏริ ปู ในภาพรวมกลไกตา่ ง ๆ ตงั้ แตง่ บประมาณ
ก�ำลังคนจากสถาบันอุดมศึกษา และระบบงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีกฎหมายรองรับในการขับเคลื่อนงาน
ดา้ นวิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมของประเทศไดอ้ ยา่ งมเี อกภาพ มงุ่ ผลสัมฤทธิ์ แบบที่ไม่เคยมมี ากอ่ น
๒.๖ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
มีวิสัยทัศน์ กระทรวงกลาโหม ด�ำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
แบบบรู ณาการ ผลงานมมี าตรฐาน ตอบสนองความตอ้ งการของกองทพั ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม พฒั นาสอู่ ตุ สาหกรรม
ปอ้ งกันประเทศเพ่อื การพงึ่ พาตนเองไดอ้ ย่างย่งั ยนื ประกอบด้วย ๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ : การวิจัยและพัฒนาทตี่ อบสนองความตอ้ งการของกองทัพ สอดคลอ้ งกบั ภัย
คกุ คามในภูมิภาค และตอบโจทย์ประเทศดา้ นความมนั่ คง
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ : การสร้างความเชื่อม่ันในผลงานวิจยั และนวตั กรรม ดา้ นการป้องกนั ประเทศ
ใหเ้ ป็นที่ยอมรับ
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๓ : การเสริมสร้างขีดความสามารถและส่งเสริมงานวิจัยและนวัตกรรม
สอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศเพอ่ื การพงึ่ พาตนเองและการพาณิชยแ์ บ่งการด�ำเนนิ งานเปน็ ๔ ระยะ ดงั น้ี
ระยะท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) มุ่งเน้นการปรับปรุงการบริหารจัดการงานการวิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศให้มีประสิทธิภาพ เป็นเอกภาพ ไม่ซ้�ำซ้อนมีทิศทางแนวทางท่ีชัดเจน
รวมถงึ ขีดความสามารถด้านการมาตรฐานทางทหาร

10

รวมผลงานวิจยั ทม่ี ีศักยภาพพร้อมผลักดันสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) มุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรม การผลักดันผลงานวิจัยและพัฒนา
สู่อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ และการใชง้ านในกองทพั

ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๗๐ - ๒๕๗๔) มงุ่ เน้นการเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ และเชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยทัง้ ในและ
ตา่ งประเทศ เพอ่ื พฒั นางานดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องกระทรวงกลาโหมในเทคโนโลยี
ขน้ั สูง และมขี ีดความสามารถทัดเทียมกับประเทศในภมู ภิ าคอาเซยี น
ระยะท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๗๔ - ๒๕๗๙) มุง่ เน้นการเสรมิ สร้างขดี ความสามารถของกองทพั และอตุ สาหกรรม
ป้องกนั ประเทศดว้ ยนวตั กรรม
ปจั จยั แหง่ ความส�ำเรจ็ ของการด�ำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั
ประเทศของกระทรวงกลาโหม ให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ ได้แก่ การก�ำหนดหน่วยงานรับผิดชอบ
การด�ำเนนิ งานอยา่ งชัดเจน ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานด้านนโยบาย หนว่ ยงานด้านบริหาร และหน่วยงานดา้ นการ
ปฏิบัติ การจัดล�ำดับความเร่งด่วนของโครงการ การจัดท�ำหลักการและแนวทางการจัดท�ำโครงการวิจัยและ
พัฒนาการทหาร การก�ำหนดกลไกในการขบั เคล่อื นและบรหิ ารจดั การ รวมท้ังการบรู ณาการงานวจิ ยั และบรหิ าร
จัดการด้านงบประมาณและการติดตามและประเมินผลโครงการ ตลอดจนก�ำหนดให้มีการทบทวนปรับปรุง
ยุทธศาสตร์การพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม ทกุ ๆ วงรอบ อย่างน้อย
๒ ปี หรือเม่อื สถานการณ์ด้านความมัน่ คงมีการเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว
๒.๗ ยุทธศาสตร์การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
ยุทธศาสตร์การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ได้ก�ำหนดวสิ ัยทัศน์ พฒั นา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ
ตอบสนองความต้องการของกองทัพไทย และพันธมิตรอาเซียนโดยได้ก�ำหนดเป้าหมายในระยะยาวให้กระทรวง
กลาโหมผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์เฉพาะรายการที่จ�ำเป็นเพื่อความพร้อมรบ และสนับสนุนให้ภาคเอกชน
ด�ำเนนิ กิจการอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศเพอ่ื ผลิตใช้ในราชการและเพือ่ การพาณิชย์ แบง่ ออกเปน็ ๔ ระยะ คอื
ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) เป้าหมาย : กระทรวงกลาโหมมีกลไกการบริหารและระบบงาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศทสี่ ามารถซ่อมบ�ำรุงและผลิตยทุ โธปกรณ์พนื้ ฐานไดภ้ ายใต้
ลิขสิทธิข์ องไทย และสง่ เสรมิ ใหภ้ าคเอกชนในประเทศเป็นผู้จัดสง่ วตั ถุดบิ (Supplier)
ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) เป้าหมาย : กระทรวงกลาโหมสามารถวิจัยพัฒนายุทโธปกรณ์
ได้ตรงความต้องการของเหล่าทัพและส่งผ่านต้นแบบงานวิจัยไปสู่ต้นแบบการผลิตเชิงอุตสาหกรรมด้วยการ
รว่ มงาน/รว่ มทนุ กบั ภาคเอกชนเพื่อผลิตขายในเชงิ พาณิชย์
ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๗๐ - ๒๕๗๔) เป้าหมาย : กระทรวงกลาโหมร่วมงาน/ร่วมทุนกับภาคเอกชน
วิจยั พัฒนายุทโธปกรณเ์ พ่อื ผลิตใช้ในราชการและเพ่อื การพาณชิ ย์
ระยะท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๗๕- ๒๕๗๙) เป้าหมาย : กิจการอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศของไทยสามารถ
วิจยั พฒั นาและผลิตยทุ โธปกรณเ์ พอ่ื การสง่ ออก
ปัจจยั แหง่ ความส�ำเร็จของการด�ำเนนิ การตามยุทธศาสตร์ โดยใหค้ วามส�ำคญั กับนโยบายและหลกั การ
ท่ีส�ำคัญ คือ ๑) นโยบายการตัดสินใจ สร้าง หรือ ซื้อ (Make or Buy) ท่ีคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์

11

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

เทคโนโลยีอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม จะต้องก�ำหนดเพื่อให้เกิดการบูรณาการและ
การเชอื่ มโยงระหวา่ งความตอ้ งการยทุ โธปกรณข์ องกองทพั (ตน้ นำ�้ ) การวจิ ยั พฒั นาใหเ้ กดิ นวตั กรรม (กลางนำ้� ) และ
การสง่ ต่อเพือ่ การผลติ เชงิ อุตสาหกรรม (ปลายน้�ำ) ๒) นโยบายชดเชยในกรณซี ื้อจากต่างประเทศ (Offset Policy)
ของกระทรวงกลาโหม เพื่อเป็นกรอบความร่วมมือในระดับกระทรวงกลาโหมท่ีแสวงประโยชน์จากการจัดซื้อ
ยุทโธปกรณ์ของเหล่าทัพจากมิตรประเทศ ด้วยการขยายผลประโยชน์หลักท่ีได้รับในปัจจุบัน คือ ความม่ันคง
ของรัฐ โดยให้มีการเพิ่มเติมการชดเชยหรือตอบแทนผลประโยชน์กลับมายังประเทศไทยในรูปแบบต่าง ๆ
๓) การมาตรฐานทางทหาร ไดแ้ ก่ การก�ำหนดมาตรฐานทางทหาร การทดสอบมาตรฐานทางทหาร และการรบั รอง
มาตรฐานทางทหาร ๔) การสร้างนวัตกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของกองทัพและการจดสิทธิบัตร
ได้แก่ การพัฒนาโครงการท่ีตอบสนองความต้องการของเหล่าทัพอย่างแท้จริง โดยความเห็นพ้องของหน่วยใช้
เหล่าสายวิทยาการ ยุทธการ ส่งก�ำลังบ�ำรุง และปลัดบัญชี จนถึงขั้นอนุมัติหลักการของ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ
และเสริมสร้างการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาที่มีประสิทธิภาพด้วยการน�ำผลงานวิจัยข้ึนบัญชีนวัตกรรมและ
ส่ิงประดิษฐ์ไทยและ ๕) ระบบการพัฒนางานวิจัยสู่สายการผลิตใช้ในราชการ/เชิงพาณิชย์ของสถาบันเทคโนโลยี
ป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) ด้วยการจัดท�ำพระราชบัญญัติเทคโนโลยีป้องกันประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒
เพอ่ื เพม่ิ อ�ำนาจหนา้ ทขี่ องสถาบนั เทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ (องคก์ ารมหาชน) ใหส้ ามารถด�ำเนนิ การในขน้ั กลางนำ้�
(วิจัยและพัฒนา) ไปข้ันปลายน้�ำ (การผลิตเชิงอุตสาหกรรม ด้วยการจัดให้มีระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัย
ไปสู่การผลิตเชงิ อตุ สาหกรรมท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๒.๘ นโยบายรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม
พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม กรณุ ามอบแนวทาง
การปฏิบัตงิ าน ในโอกาสเขา้ รบั ต�ำแหนง่ เมื่อ ๓๐ ก.ค.๖๒ ณ หอ้ งภาณุรังษี ในศาลาวา่ การกลาโหม สรุปสาระ
ส�ำคัญ ๗ ประเด็น คอื ๑) การยดึ ม่นั ในสถาบนั หลักของชาติ ๒) การพฒั นาบุคลากร ๓) การเสริมสร้างขีดความ
สามารถของกองทัพ ๔) การพัฒนางานด้านการวิจัยและเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ๕) การพัฒนาประเทศและ
การชว่ ยเหลือประชาชน ๖) การสนับสนนุ การด�ำเนนิ งานที่ส�ำคัญตามนโยบายของรัฐบาล และ ๗) การด�ำเนินการ
ดา้ นอ่ืน ๆ
ในประเด็นการพัฒนางานด้านการวิจัยและเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ให้มุ่งเน้นการเสริมสร้างขีด
ความสามารถจากภายในและเพม่ิ การลงทนุ จากภายนอก ทงั้ ในเรอ่ื งการซอ่ มบ�ำรงุ สงิ่ อปุ กรณ์ การประดษิ ฐช์ น้ิ สว่ น
ซอ่ มบ�ำรุงตา่ ง ๆ เพ่ือการพง่ึ พาตนเอง
๒.๙ แนวทางการปฏิบตั งิ านของปลดั กระทรวงกลาโหม
ปลดั กระทรวงกลาโหม (พลเอก วรเกยี รต์ิ รตั นานนท)์ ไดก้ �ำหนดแนวทางการปฏบิ ตั งิ านในการด�ำเนนิ การ
ตามนโยบายของรฐั บาล โดยในดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา ไดก้ �ำหนดให้ สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาหลกั การทางทหาร
และยุทธศาสตร์ สนับสนุน การแก้ไขปัญหาและรับมือภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ การวิจัยพัฒนาด้านยุทโธปกรณ์
และ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ท่ีจ�ำเป็นทางทหาร โดยมุ่งเน้นเทคโนโลยีเป้าหมาย ที่สอดคล้อง
ตามกรอบความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของอาเซียน การพัฒนางานมาตรฐานทางทหารให้เป็น
ท่ียอมรับ การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศรวมท้ังขยายผลงาน
วิจัยพฒั นาและนวัตกรรม ทางทหารสกู่ ารใช้ประโยชนด์ า้ นความม่นั คงและเชงิ พาณิชย์

12

รวมผลงานวจิ ัยที่มีศกั ยภาพพรอ้ มผลักดันส่อู ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

บทท่ี ๓ การขับเคลื่อนงานวิจัยไปส่กู ารผลติ เพอื่ ใชง้ านในกองทพั ของตา่ งประเทศ

ตามท่ี วท.กห. ไดม้ คี วามสมั พันธด์ ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยปี ้องกันประเทศกบั กห.มิตรประเทศ
ที่ผ่านมา จงึ ไดร้ วบรวมข้อมูลในโอกาสตา่ งๆ ตง้ั แตก่ ารแลกเปล่ยี นเยย่ี มเยยี น ไปจนถงึ การสมั มนารว่ มกันเกี่ยวกบั
การขบั เคลอ่ื นงานวจิ ยั จนไปสกู่ ารผลติ ใชง้ านในกองทพั ของ กห.มติ รประเทศเหลา่ นนั้ ในทนี่ จี้ ะไดน้ �ำเสนอแนวทาง
การขับเคล่ือนงานวจิ ัยสูส่ ายการผลิต และอตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศของ กห.สาธารณรัฐเกาหล,ี กห.ญป่ี นุ่ และ
กห.สหรัฐอเมริกา ตามล�ำดบั
กห.สาธารณรัฐเกาหลี จะเรม่ิ กระบวนการเมอ่ื ผู้บญั ชาการเหลา่ ทพั ร่วม (Joint Chiefs of staff) หรอื
กองทัพบก กองทัพเรอื หรอื กองทพั อากาศ ซ่งึ เปน็ หนว่ ยต้นก�ำเนดิ ของความต้องการหรอื ข้อเสนอโครงการอีกท้ัง
เปน็ หนว่ ยทดสอบและประเมนิ คา่ ทางยทุ ธวธิ ใี นภายหลงั ไดเ้ สนอความตอ้ งการไปยงั กระทรวงกลาโหมสาธารณรฐั
เกาหลี (กห.เกาหลีใต้) ซึ่งเป็นหน่วยในระดับนโยบายด้านการป้องกันประเทศ และ การตัดสินใจเกี่ยวกับ
ความต้องการนัน้ หากตัดสินใจว่าตอ้ งการจดั หา ก็จะส่งความต้องการนน้ั ไปให้ Defense AcquisitionProgram
Administration (DAPA) ซ่ึงป็นหน่วยจัดหาแบบรวมการของ กห.เกาหลีใต้ ไปพิจารณาด�ำเนินการต่อแต่หาก
ตัดสินใจท่ีจะวิจัยและพัฒนาขึ้นใช้งานเอง ก็จะส่งความต้องการน้ันไปยัง DAPA และ Agency for Defense
Development (ADD) เพื่อไปด�ำเนินการพฒั นาตอ่ โดยที่ DAPA จะบริหารจดั การโครงการในภาพรวมเองเพอ่ื
ขับเคลื่อนตั้งแต่การวิจัยและพัฒนาต้นแบบ ไปจนถึงส่งมอบยุทโธปกรณ์ให้กับกองทัพ ในช่วงการวิจัยและ
พฒั นาตน้ แบบนนั้ กจ็ ะมอบให้ ADD ด�ำเนนิ การ ซง่ึ ภารกจิ หลกั ของ ADD คอื การพฒั นาระบบอาวธุ ตา่ งๆ และเปน็
แกนหลักในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประทศ การพัฒนาเทคโนโลยีสองทาง และ การทดสอบ
ในระหว่างการพัฒนา โดย ADD อาจจะด�ำเนินการวิจัยพ้ืนฐาน (Basic Research) ร่วมกับสถาบันการศึกษา

ภาพท่ี ๓.๑ ภาพรวมการพัฒนายทุ โธปกรณ์ ของ กห.เกาหลใี ตต้ ้ังแต่ก�ำหนดความต้องการไปจนถึงการผลติ
13

รวมผลงานวจิ ยั ทีม่ ศี ักยภาพพรอ้ มผลักดนั สู่อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ตา่ ง ๆ ดว้ ยก็ได้ ในระหวา่ งการวิจัยและพัฒนาตน้ แบบน้นั ADD จะตอ้ งตดิ ตอ่ ประสานงานอยา่ งใกล้ชิดกับกองทัพ
เพ่ือให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับความต้องการของกองทัพ ตลอดจนคุณลักษณะท่ีต้องการตอบสนองภารกิจทาง
ยุทธวิธีในขณะเดียวกันก็จะมีการติดต่อประสานงานอย่างใกล้ชิดกับ Defense Technology and Quality
Assurance Institute (DTaQ) ซึ่งเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในด้านการมาตรฐานทางทหารของ กห.สาธารณรัฐ
เกาหลี ทั้งน้ี เพือ่ ให้การสนบั สนนุ ข้อมลู ทางเทคนิคตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ทจี่ ะน�ำไปสู่การพัฒนามาตรฐานตา่ งๆ เทา่ ท่ี
จ�ำเป็นซ่ึงมาตรฐานน้ีจะน�ำไปใช้ทดสอบและรับรองคุณภาพในขั้นตอนภาคเอกชนผลิตออกมาเป็นผลิตภัณฑ์
กอ่ นน�ำสง่ ผลติ ภณั ฑน์ น้ั ใหก้ บั กองทพั กลา่ วคอื ADD จะวจิ ยั และพฒั นายทุ โธปกรณจ์ นไดต้ น้ แบบสดุ ทา้ ยทกี่ องทพั
ต้องการแต่ ADD จะไม่ผลิตยุทโธปกรณ์น้ันเอง แต่จะส่งต่อไปให้ภาคเอกชนไปด�ำเนินการผลิตเป็นอุตสาหกรรม
ป้องกันประเทศ ตามโครงการในภาพรวมท่ี DAPA ด�ำเนินการขับเคลื่อน ควบคุม ก�ำกับดูแลอยู่ โดย ADD
จะด�ำเนนิ การถา่ ยทอดเทคโนโลยไี ปใหก้ บั ภาคเอกชนเพอ่ื น�ำไปผลติ ใหไ้ ดย้ ทุ โธปกรณต์ ามทก่ี องทพั ตอ้ งการในขณะ
เดียวกัน ADD ก็จะช่วย DTaQ ทดสอบทางเทคนิค และ กองทัพก็จะร่วมทดสอบและประเมินค่าทางยุทธวิธี
อีกด้วย ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของการทดสอบมาตรฐานเพ่ือประกันคุณภาพตามท่ีกองทัพต้องการ ก่อนที่จะส่งมอบ
ผลติ ภณั ฑ์ไปใหก้ องทพั บรรจใุ ช้งานในราชการตอ่ ไป

ภาพท่ี ๓.๒ กระบวนการจดั หา/พัฒนายุทโธปกรณข์ อง กห.สาธารณรฐั เกาหลี

ในภาพท่ี ๓.๒ นี้ จะเห็นการได้มาของยุทโธปกรณ์ท้ังจากการวิจัยและพัฒนา และจากการจัดหา
ซึ่งด�ำเนินการโดย DAPA ในส่วนของการวิจัยและพัฒนาน้ัน จะมีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแกนหลัก ตั้งแต่
การวิจยั ฟ้ืนฐาน การวิจัยประยกุ ต์ และ การพัฒนาการทดสอบดว้ ย สว่ นการวิจยั และพฒั นาระบบอาวุธนั้น จะมี
การพฒั นาเชิงส�ำรวจ การประเมินผลการปฏบิ ัติการทางยทุ ธวิธี การพัฒนาระบบอาวุธ การทดสอบและประเมนิ ผล
และการมาตรฐานทางทหาร นอกจากนยี้ งั มกี ารรว่ มมอื ทางเทคโนโลยกี ารผลติ กบั ภาคเอกชน ซง่ึ ยทุ โธปกรณท์ ผี่ ลติ
ภายในประเทศน้นั จะด�ำเนินการโดยภาคเอกชนท้งั หมด

14

รวมผลงานวิจยั ทมี่ ีศกั ยภาพพรอ้ มผลักดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

จากขอ้ มลู การด�ำเนนิ การขบั เคลอื่ นงานวจิ ยั และพฒั นาไปสกู่ ารผลติ ใชง้ านในกองทพั ของ กห.สาธารณรฐั
เกาหลนี ้นั จะมลี ักษณะเดน่ คอื มหี นว่ ยงานเฉพาะที่ด�ำเนินการในภาพรวม ซึ่งได้แก่ DAPA ท้งั การจดั หา และ
การพัฒนายุทโธปกรณ์ข้ึนมาใช้งานเอง จึงท�ำให้มีเอกภาพและต่อเนื่อง จนประสบผลส�ำเร็จได้อย่างเป็นรูปธรรม
สามารถวจิ ยั และพฒั นายทุ โธปกรณท์ ม่ี คี วามกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยใี นระดบั โลก ท�ำใหพ้ ง่ึ พาเทคโนโลยขี องตนเอง
ไดอ้ กี ท้งั ยงั สามารถแข่งขันเชิงพาณิชย์ น�ำรายไดเ้ ข้าสูป่ ระเทศไดอ้ ีกด้วย

ภาพท่ี ๓.๓ การพัฒนายุทโธปกรณ์ของ กห.ญี่ปุ่นตั้งแตก่ �ำหนดความตอ้ งการไปจนถึงการผลิตเพ่ือบรรจใุ ช้งาน

ภาพท่ี ๓.๓ การพฒั นายทุ โธปรณข์ อง กห.ญปี่ นุ่ ตง้ั แตก่ �ำหนดความตอ้ งการไปจนถงึ การผลติ เพอื่ บรรจใุ ชง้ าน
ส�ำหรับ กห.ญป่ี นุ่ มีกระบวนการวิจยั และพฒั นา ไปจนถงึ การผลิตเพ่อื เขา้ ประจ�ำการดงั นี้ เริม่ จากภาพ
ระยะปานกลางและระยะยาวของเทคโนโลยีป้องกันประเทศ และ วิสัยทัศน์ของการวิจัยและพัฒนา ซ่ึงเป็นจุด
เร่ิมต้นของด้านเทคนิค รวมกับความต้องการทางยุทธการ น�ำไปสู่เฟสแรกคือเฟสการวิจัยเพ่ือให้ได้เทคโนโลยี
โดยจะแบ่งออกเป็น ๒ ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นแรก เป็นการศึกษาแนวความคิดของระบบ เป็นการวิจัยพื้นฐาน
ศึกษาทฤษฎีต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง พร้อมกับการทดสอบในห้องปฏิบัติการต่าง ๆ รวมท้ังการจ�ำลองแบบต่าง ๆ
(Simulations) เพื่อประกอบกับการออกแบบระบบย่อยต่าง ๆ ของระบบอาวุธทั้งหมด ขั้นท่ีสอง การวิจัย
เชิงประยุกต์ เพ่ือการสาธิตเทคโนโลยี ในขั้นน้ีจะวิจัยและพัฒนาจนได้ต้นแบบงานวิจัยเพ่ือประกอบการสาธิต
ใหเ้ หน็ วา่ มคี วามเปน็ ไปไดท้ จี่ ะพฒั นายทุ โธปกรณน์ น้ั ขน้ึ มาใชง้ านไดเ้ อง ในเฟสทสี่ อง คอื เฟสการพฒั นาเทคโนโลยี
ในเฟสน้ี จะแบ่งออกเป็นขั้นตอนเช่นกัน ขั้นแรก คือ การพัฒนาต้นแบบวิศวกรรม เพ่ือให้ได้ต้นแบบขั้นสุดท้าย
ก่อนที่เข้าสู่ข้ันตอนที่สอง คือ การทดสอบและประเมินค่า ในข้ันน้ีจะเป็นการทดสอบต้นแบบวิศวกรรมที่ได้มา
จากนั้นก็จะน�ำไปทดสอบภาคสนาม เพ่ือให้เกิดความมั่นใจอันเป็นส่วนหน่ึงของการทดสอบมาตรฐานน่ันเอง
เมื่อผ่านการทดสอบภาคสนามจึงจะน�ำไปสู่การผลิตเพื่อเข้าประจ�ำการ ในท่ีสุด ซ่ึงมักจะด�ำเนินการโดยภาค
อตุ สาหกรรมของเอกชนเชน่ กนั

15

รวมผลงานวิจัยทม่ี ีศกั ยภาพพร้อมผลักดันส่อู ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ในปจั จุบนั กห.ญีป่ นุ่ มีหน่วยงานเฉพาะ คือ Acquisition, Technology & Logistics Agency (ATLA)
ซ่ึงเป็นหน่วยงานด้านการจัดหาเทคโนโลยีและส่งก�ำลังบ�ำรุง ซึ่งจะด�ำเนินการแบบรวมการในภาพรวม ตาม
กระบวนการข้างต้นให้กับ กห.ญี่ปุ่น ซึ่งก็เป็นไปในท�ำนองเดียวกับ กห.สาธารณรัฐเกาหลี ท่ีมีหน่วยงานหลัก
รับผิดชอบด�ำเนินการในภาพรวม คือ DAPA ทั้งการจัดหาและการพัฒนายุทโธปกรณ์ข้ึนมาใช้งานเองจึงท�ำให้มี
เอกภาพและความต่อเน่ือง จนประสบผลส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สามารถวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์ท่ีมี
ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยใี นระดบั โลก ท�ำใหพ้ ง่ึ พาเทคโนโลยขี องตนเองได้ อกี ทงั้ ยงั สามารถแขง่ ขนั เชงิ พาณชิ ย์
ตามทมี่ กี ารตคี วามรฐั ธรรมนญู ของญป่ี นุ่ ใหม่ ซงึ่ จะสามารถสง่ ออกเทคโนโลยที างทหารเพอ่ื น�ำรายไดเ้ ขา้ สปู่ ระเทศ
ญ่ีปุ่นไดอ้ ีกด้วย
กห.สหรฐั อเมรกิ า มกี ระบวนการในการพฒั นายทุ โธปกรณต์ ง้ั แตก่ ารวจิ ยั ไปจนถงึ การผลติ ใชง้ านตามภาพ
ข้างลา่ ง

ภาพท่ี ๓.๔ การพฒั นายุทโปกรณ์ของ กห.สหรัฐอมริกาต้ังแตก่ �ำหนดความต้องการไปจนถงึ การผลติ

ภาพที่ ๓.๔ การพฒั นายุทโปกรณข์ อง กห.สหรฐั อมริกาตง้ั แตก่ �ำหนดความต้องการไปจนถงึ การผลิต
จากภาพน้ีจะเห็นกระบวนการในแต่ละขั้นตอนและความเก่ียวข้องเชื่อมโยงจากหลากหลายภาคส่วน
ได้ดีให้เร่ิมจากดา้ นซ้ายสุด ไปจนถึงดา้ นขวาสดุ โดยใชข้ น้ั ตอนตรงกลางภาพ เปน็ แนวศูนยก์ ลางการอธบิ ายดงั น้ี

ภาพที่ ๓.๕ ข้ันตอนการด�ำเนนิ การตง้ั แต่การวิจัยไปจนถงึ การผลติ เร่ิมจากด้านซ้ายสุด ไปจนถงึ ด้านขวาสุด

ภาพที่ ๓.๕ ขั้นตอนการด�ำเนินการต้ังแต่การวิจัยไปจนถึงการผลิต เร่ิมจากด้านซ้ายสุด ไปจนถึงด้าน
ขวาสุดกระบวนการท้ังหมดน้ันมี ๖ ขั้นตอน ได้แก่ ๑) ขั้นแนวความคิดก่อนการจัดหา (Pre-Concept)
๒) ขนั้ วเิ คราะหท์ างเลอื กยุทโธปกรณ์ (Material Solution Analysis) ๓) ขนั้ การพัฒนาเทคโนโลยแี ละลดความเสย่ี ง

16

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมศี ักยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

(Technology Maturation & Risk Reduction) ๔) ขั้นการพฒั นาตน้ แบบวิศวกรรมและการพัฒนา การผลิต
(Engineering & Manufacturing Development) ๕) ข้ันการผลิตและบรรจุเข้าประจ�ำการ (Production &
Deployment)
ในขน้ั แนวความคดิ กอ่ นการจดั หา (Pre – Concept) นน้ั จะเรมิ่ จากการเลอื กแนวคดิ รว่ ม (Joint Concept)
การพฒั นาหลกั นยิ ม/แนวทางการใชง้ าน (CON OPS) ตลอดจนการประเมนิ ขดี ความสามารถหรอื การศกึ ษาในสว่ น
อื่น (Capabilities-Base Assessment/Other Study) ด�ำเนินการโดยกลุ่มของที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์
(Science Advisors) ของกองก�ำลังประจ�ำภาคพื้นต่าง ๆ ของกองทัพสหรัฐอเมริกาทั่วโลก ร่วมกันศึกษา
และรวบรวมข้อมูลต่างๆ เช่น แผนปฏิบัติการต่างๆ บทเรียนการรบจากสนามรบ เป็นต้น น�ำผลการศึกษาท่ีได้
รวบรวมจัดท�ำเป็นเอกสารขีดความสามารถท่ีต้องการเบื้องต้น (Initial Capabilities Document : ICD)
ท่ีระบุภารกิจและปัญหาท่ีเกิดขึ้น การประเมินก่อนการศึกษางานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ขีดความสามารถท่ีต้องการ
และช่องว่างของขีดความสามารถท่ีมีความเสี่ยงทางด้านยุทธการ แนวคิดแก้ปัญหาท่ีไม่ใช้ยุทโธปกรณ์ใหม่
แนวคดิ แกป้ ัญหาทตี่ อ้ งใช้ยุทโธปกรณ์ใหม่ และขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ ส�ำหรับสภาการก�ำกบั ดูแลความต้องการร่วม
(Joint Requirements Oversigh! Council : JROC ) จะตรวจสอบและรับรอง ICD ในขัน้ น้ี เพ่ือน�ำไปประกอบ
การพจิ ารณาที่จะเข้าสขู่ ั้นตอนต่อไป
ในขนั้ แนวความคดิ กอ่ นการจดั หา (Pre - Concept) นน้ั จะเรม่ิ จากการเลอื กแนวคดิ รว่ ม (Joint Concept)
การพฒั นาหลักนยิ ม/แนวทางการใช้งาน (CONOPS) ตลอดจนการประเมินขดี ความสามารถหรือการศึกษาในส่วนอน่ื
(Capabilities-Base Assessment/Other Study) ด�ำเนินการโดยกล่มุ ของทป่ี รึกษาด้านวทิ ยาศาสตร์ (Science
Advisors) ของกองก�ำลังประจ�ำภาคพื้นต่างๆ ของกองทัพสหรฐั อเมริกาทัว่ โลก ร่วมกนั ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
ต่าง ๆ เช่น แผนปฏิบัติการต่างๆ บทเรียนการรบจากสนามรบ เป็นต้น น�ำผลการศึกษาท่ีได้รวบรวมจัดท�ำเป็น
เอกสารขีดความสามารถท่ีต้องการเบ้ืองต้น (nitial Capabilities Document : ICD) ท่ีระบุภารกิจและปัญหา
ท่เี กดิ ขน้ึ การประเมินกอ่ นการศกึ ษา งานตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง ขีดความสามารถท่ตี ้องการและช่องว่างของขีดความ
สามารถที่มี ความเส่ียงทางด้านยุทธการ แนวคิดแก้ปัญหาที่ไม่ใช้ยุทโธปกรณ์ใหม่ แนวคิดแก้ปัญหาที่ต้องใช้
ยุทโธปกรณ์ใหม่ และข้อเสนอแนะต่าง ๆ ส�ำหรับสภาการก�ำกับดูแลความต้องการร่วม (Joint Requirements
Oversight Council : JROC) จะตรวจสอบและรับรอง ICD ในข้ันน้ี เพ่อื น�ำไปประกอบการพจิ ารณาที่จะเข้าสู่
ขั้นตอนต่อไป
ในขนั้ วเิ คราะหท์ างเลอื กยทุ โธปกรณ์ (Material Solution Analysis) จะรวบรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ จากหนว่ ยงาน
ที่เก่ียวข้อง เช่น การวิเคราะห์หนทางเลือกอ่ืนๆ (Analysis of Alternatives : AoA) ยุทธศาสตร์การจัดหา
(Acquisition Strategy : AS) แผนแมบ่ ทการทดสอบและประเมนิ ผล (Test & Evaluation Master Plan : TEMP)
แผนการวิศวกรรมระบบ (System Engineering Plan : SEP) แผนการส่งก�ำลงั บ�ำรุง (Life Cycle Sustainment
Plan : LCSP) แนวคิดทางยุทธการ (Concept of Operations : CONOPS) เป็นต้น โดยจะรวบรวมผลที่ได้
จัดท�ำเปน็ เอกสารรา่ งการพัฒนาขีดความสามารถ (Draft Capability Development Document : Draft CDD)
ส�ำหรบั กห. สหรฐั อเมรกิ านบั ตงั้ แตข่ นั้ ตอนนจี้ ะเปน็ การเรมิ่ ตน้ ของกระบวนการจดั หายทุ โธปกรณข์ องกองทพั แลว้
ซง่ึ จะมกี ารจดั ท�ำโครงการส�ำหรบั ชนั้ นขี้ น้ึ โดยมกี ารแตง่ ตงั้ ผบู้ รหิ ารโครงการ (Project manager) ขนึ้ มาด�ำเนนิ การ
ขบั เคลอื่ นตง้ั แตข่ นั้ ตอนนไี้ ปจนถงึ ขนั้ ตอนการผลติ สว่ นสภาการก�ำกบั ดแู ลความตอ้ งการรว่ ม (Joint Requirements
Oversight Council : JROC) จะทบทวนผลการวิเคราะหห์ นทางเลือกอ่นื ๆ (AoA) ในข้ันน้ี เพอื่ น�ำไปประกอบ
การพจิ ารณาวา่ จะผ่านไปสขู่ ั้นตอนตอ่ ไปหรอื ไม่

17

รวมผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ในขั้นการพฒั นาเทคโนโลยแี ละลดความเสี่ยง (Technology Maturation & Risk Reduction) จะมี
การพฒั นาตน้ แบบเพอื่ การสาธติ เทคโนโลยี (Technology Demonstrated) พรอ้ มทงั้ ก�ำหนดคณุ ลกั ษณะทสี่ �ำคญั /
คณุ สมบตั ขิ องระบบทสี่ �ำคญั ซงึ่ ในขน้ั นอ้ี าจจะมภี าคอตุ สาหกรรมของเอกชนเขา้ มาเสนอโครงการเพอื่ พฒั นาตน้ แบบ
ยุทโธปกรณ์ที่เป็นค�ำตอบต่อความต้องการข้างต้น และอาจจะมีมากกว่าหน่ึงบริษัทท่ีได้รับอนุมัติให้ด�ำเนินการ
พฒั นาต้นแบบตามแนวคิดของตน เพ่ือใหไ้ ด้ต้นแบบส�ำหรับการสาธิตเทคโนโลยี จากน้ันน�ำผลทไ่ี ด้จากการสาธติ
เทคโนโลยนี ี้ประกอบกับขอ้ มลู เดมิ จากข้นั ตอนกอ่ นรวบรวมเป็นเอกสารการพฒั นาขดี ความสามารถ (Capability
Development Document : CDD) ส�ำหรบั สภาการก�ำกบั ดแู ลความตอ้ งการรว่ ม (Joint Requirements Oversight
Council : JROC) จะตรวจสอบและรับรอง CDD ในขัน้ นี้ เพอื่ ใช้ประกอบการพิจารณาท่ีจะผ่านเข้าสูข่ ้ันตอ่ ไป
ในขั้นการพัฒนาต้นแบบวิศวกรรมและการพัฒนาการผลิต (Engineering & Manufacturing
Development) จะมกี ารพฒั นาตน้ แบบวศิ วกรรม ซง่ึ เปน็ ตน้ แบบขน้ั สดุ ทา้ ย (Final Design) ซงึ่ มกั จะเปน็ ตน้ แบบ
ที่ผ่านการสาธิตเทคโนโลยี (หากมีมากกว่าหน่ึงก็จะต้องมีการพิจารณาคัดเลือกเทคโนโลยีที่ดีท่ีสุด) มีการพัฒนา
การทดสอบและประเมนิ ผล (DT&E) มีการประเมินค่าการใช้งานทางด้านยทุ ธการ (0A) มีการทบทวนคุณลักษณะ
ท่ีส�ำคัญ/คุณสมบัติของระบบท่ีส�ำคัญ มีการสรุปแผนจัดหาจนถึงปัจจุบัน น�ำผลที่ได้ประกอบเข้ากับข้อมูลเดิม
จากขนั้ ตอนกอ่ นรวบรวมเปน็ เอกสารระบขุ ดี ความสามารถในการผลติ (Capabilty Production Document : CPD)
ส�ำหรับสภาการก�ำกับดูแลความตอ้ งการร่วม (Joint Requirements Oversight Council : JROC) จะตรวจสอบ
และรบั รอง CPD ในข้นั นี้ เพ่ือใช้ประกอบการพจิ ารณาท่จี ะผา่ นเขา้ ส่ขู นั้ ต่อไป
ในขั้นการผลิตและบรรจเุ ขา้ ประจ�ำการ (Production & Deployment) มีการผลติ ขั้นต้นในอตั ราท่ตี ่�ำ
(LRIP) มีการทดสอบและประเมินผลทางยุทธการเบื้องต้น (OT&E) จากนั้นมีการผลิตในอัตราเต็มก�ำลังผลิต
(Full rate Production : FRP) เพ่ือน�ำเขา้ ประจ�ำการในที่สุด
การด�ำเนินการในส่วนของ กห.สหรัฐอเมริกานั้น จะไม่มีหน่วยงานรวมการในภาพรวมดั่งเช่นของ
กห.สาธารณรฐั เกาหลี หรอื กห.ญีป่ นุ่ แต่มกั จะแยกกันด�ำเนินการในแตล่ ะกองทพั ท้ังนแ้ี ตล่ ะกองทัพน้นั เปน็ เพยี ง
หน่วยเตรียมก�ำลังเท่าน้ัน ส่วนหน่วยใช้ก�ำลังเป็นกองก�ำลังรบร่วมท่ีมีท้ังสามเหล่าทัพซึ่งประจ�ำการตามภูมิภาค
ต่างๆ ทัว่ โลก เชน่ ในภมู ภิ าคนี้ ได้แก่ United States Indo-Pacific Command (USINDOPACOM) และในย่าน
ตะวันออกกลาง ไดแ้ ก่ The United States Central Command (USCENTCOM) เป็นต้น ซึง่ ในกระบวนการ
พัฒนายุทโธปกรณ์ของ กห.สหรัฐอเมรกิ าน้ัน จะมี ๓ กลมุ่ งานท่ีร่วมกนั ตัดสนิ ใจ คือ ๑) กลุ่ม Joint Capabilties
Integration & Development System (need driven) ซึ่งเปน็ กล่มุ ผูใ้ ชผ้ ลงานเป็นหลัก จึงเป็นกลุม่ ทเ่ี อา
ความตอ้ งการเปน็ ส่วนส�ำคัญในการผลกั ดนั ๒) กล่มุ Defense Acquistion System (event driven) ซ่งึ เป็น
กลมุ่ ระบบจดั หา รวมไปถงึ การวจิ ยั และพฒั นา และภาคการผลติ ดว้ ย ทจ่ี ะท�ำใหไ้ ดม้ าซงึ่ ยทุ โธปกรณต์ ามทกี่ ลมุ่ แรก
ตอ้ งการ และ ๓) กลมุ่ Planning Programming Budgeting & Execution Process (biennial calendar
driven) ซึ่งเป็นกลุ่มท่ีวางแผนงานโครงการและอ�ำนวยการด้านงบประมาณสนับสนุนโครงการทั้งหมด ดังน้ัน
การตัดสินใจในแต่ละขั้นตอนน้ันจึงต้องกระท�ำร่วมกัน โดยก�ำหนดว่าการจะผ่านในแต่ละข้ันตอนน้ันจ�ำเป็นต้อง
ด�ำเนินการในส่วนที่เก่ียวข้องให้แล้วเสร็จก่อน เพ่ือน�ำผลที่ได้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาตัดสินใจ จึงเป็น
ข้อสังเกตว่าการพัฒนายุทโธปกรณ์ของสหรัฐอเมริกาน้ันมักจะใช้เวลานานมาก เนื่องจากมีกระบวนการค่อนข้าง
จะมมี ากมายนนั่ เอง
จากการศึกษากระบวนการพัฒนายุทโธปกรณ์ของ กห. ต่างประเทศดังกล่าวมาแล้วน้ัน จะเห็นได้ว่า
ในการด�ำเนินการการพัฒนายุทโธปกรณ์น้ันจ�ำเป็นต้องมีเอกภาพในการด�ำเนินการท้ังสิ้น บางประเทศถึงกับ

18

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ต้องมีหน่วยงานเฉพาะข้ึนมาด�ำเนินการต้ังแต่เริ่มต้น ไปจนถึงข้ันตอนสุดท้าย ทั้งน้ีเป็นท่ีสังเกตได้ว่า การพัฒนา
ยุทโธปกรณ์น้ันมีความยาก ต้องใช้เทคโนโลยีขน้ั สูง อีกทั้งต้องใช้ระยะเวลาด�ำเนนิ การนาน ต้องการความต่อเนอื่ ง
ท้ังในด้านความก้าวหน้าของเทคโนโลยี รวมทั้งงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล จึงจะประสบผลส�ำเร็จได้
จากผลการศึกษาดังกล่าว ได้น�ำไปสู่การพิจารณาปรับมาใช้ในการพัฒนายุทโธปกรณ์ของไทยเราเอง ซ่ึงจะกล่าว
ในรายละเอยี ดในบทที่ ๖ ตอ่ ไป

19

รวมผลงานวิจัยท่มี ีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

บทที่ ๔ แนวทางในการขบั เคลือ่ นงานวจิ ัยสู่สายการผลิต และอุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ

เนอื่ งจากการวจิ ยั และพฒั นา ไปจนถงึ การผลติ ยทุ โธปกรณเ์ พอื่ การใชง้ านนนั้ มคี วามเกยี่ วขอ้ งเกยี่ วพนั
และเชื่อมโยงกับหลายระบบงานใน กห. จ�ำเป็นจะต้องด�ำเนินการด้วยความมุ่งมั่น มีความยุ่งยากท่ีต้องใช้
ความละเอยี ดรอบคอบ ระมดั ระวงั ตอ้ งใชเ้ วลานานและตอ่ เนอื่ งในการด�ำเนนิ การ แบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ตอ้ งไดร้ บั
ความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องไปในทิศทางเดียวกันเพ่ือให้มีความเป็นเอกภาพ โดยสามารถแบ่งทุกฝ่าย
ท่เี กย่ี วขอ้ งออกเปน็ ๓ กลุ่มใหญ่ ไดด้ งั น้ี กล่มุ แรก คือกลุม่ หนว่ ยงานผูใ้ ช้ ได้แกก่ องทพั ต่าง ๆ ซึ่งเปน็ ผ้กู �ำหนด
ความต้องการผลงานวิจัยเพื่อตอบสนองต่อภารกิจ กลุ่มท่ีสอง เป็นกลุ่มพัฒนาผลงานวิจัย ท่ีจะวิจัยและพัฒนา
ตัวผลงาน ไปจนถึงขนั้ การผลิตผลงานนนั้ และ กลมุ่ สดุ ทา้ ย ได้แก่ฝา่ ยนโยบายและงบประมาณ ซ่ึงมสี ว่ นส�ำคัญ
ท่ีจะท�ำให้การด�ำเนินการทั้งหมดมีความเป็นไปได้ ดังน้ันการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนา
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศของกระทรวงกลาโหม ยดึ ถอื แนวทางตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
และแผนแม่บทที่เก่ียวข้องเป็นส�ำคัญ โดยด�ำเนินการผ่านกลไกในรูปแบบของคณะกรรมการของ กห.
ไดแ้ ก่ คณะกรรมการด้านวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี อตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม ประกอบดว้ ย
คณะกรรมการระดับนโยบาย ๑ คณะ และ คณะกรรมการในระดับอ�ำนวยการอีก ๓ คณะ ที่มีองค์ประกอบ
ครบท้งั ๓ กล่มุ ใหญด่ งั กล่าว เพ่อื ขบั เคลอ่ื นงานวจิ ยั สู่สายการผลติ และอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศตามวสิ ัยทัศน์
ของยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ท่จี ะน�ำพาประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่งั ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศที่พฒั นาแล้ว ดว้ ยการ
พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเป็นรูปธรรม จ�ำเป็นจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย
ที่เก่ียวข้องเพื่อให้มีเอกภาพในการตัดสินใจ มีความรอบคอบ มีเหตุมีผลมีความพร้อมท้ังด้านเทคโนโลยีและด้าน
การผลติ ทีม่ อี ยู่ภายในประเทศสามารถด�ำเนนิ การไดจ้ ริง มคี วามพอประมาณ พอเพียง ท�ำเท่าทที่ �ำได้ ไมท่ �ำอะไร
เกนิ ตัว และสามารถด�ำเนนิ การไดต้ ่อเน่อื งระยะยาว เพื่อให้มีความยั่งยืน พง่ึ พาตนเองได้อยา่ งแท้จรงิ
คณะกรรมการระดบั นโยบาย มี ๓ คณะ ไดแ้ ก่
๓.๑ คณะกรรมการนโยบายด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม
มอี งคป์ ระกอบที่ส�ำคัญคอื มี รมว.กห. เป็นประธานกรรมการ มี รมช.กห. ปล.กห.และ ผบ.ทท. เป็นรอง
ประธานกรรมการ นอกจากนั้นมี ผบ.เหล่าทัพ และ ผบ.หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นกรรมการ มี ผอ.สนผ.กห.
เป็นกรรมการและเลขานกุ าร มผี ้แู ทน สทป. รอง ผอ.สนผ.กห. รอง ผอ.ศอพท. และ รอง จก.วท.กห. เป็นผชู้ ่วย
เลขานุการ
มีอ�ำนาจหน้าท่ีท่ีส�ำคัญคือ บูรณาการขีดความสามารถท่ีต้องการของกองทัพกับความสามารถ
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ เพ่อื พัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ พิจารณา
ก�ำหนดนโยบาย และยทุ ธศาสตรเ์ กย่ี วกบั การวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และกจิ การอตุ สาหกรรม
ป้องกันประเทศ ของกระทรวงกลาโหม พิจารณาก�ำหนดนโยบายเสริมสร้างความร่วมมือ ด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และกจิ การอตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศท้ังในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อให้ไดร้ ับประโยชน์รว่ มกนั
พิจารณาก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับมาตรฐานยุทโธปกรณ์ และสิ่งอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวกับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
รวมถึงการวิจัยและพัฒนากิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศให้ได้มาตรฐานตามความต้องการของเหล่าทัพ
และเพอื่ การสง่ ออก พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการจดั ตง้ั หนว่ ยงานในก�ำกบั ของกระทรวงกลาโหม เพอ่ื ด�ำเนนิ การ
เกยี่ วกบั การวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศในเชงิ พาณชิ ย์ หรอื การรว่ มทนุ

20

รวมผลงานวิจัยท่มี ีศักยภาพพร้อมผลักดนั ส่อู ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ รวมท้ังการจดั ตัง้ การเปลย่ี นแปลง การโอน การยบุ เลกิ และการขยายขีดความสามารถการ
ผลติ ของโรงงานอตุ สาหกรรมทส่ี งั กดั สว่ นราชการในกระทรวงกลาโหมตลอดจนการสนบั สนนุ โรงงานอตุ สาหกรรม
ยทุ โธปกรณข์ องสว่ นราชการพลเรอื นและเอกชน และพจิ ารณาก�ำหนดนโยบายการแปรสภาพกจิ การอตุ สาหกรรม
ป้องกันประเทศที่พร้อม เหมาะสม และจ�ำเป็นสู่การด�ำเนินงานโดยภาคเอกชน หรือการร่วมทุน
กับภาคเอกชนตามที่กฎหมายบญั ญัติ
๓.๒ คณะกรรมการวิจัยและพฒั นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการทหาร กระทรวงกลาโหม (กวท.กห.)
มอี งคป์ ระกอบทส่ี �ำคญั คอื มี รอง ปล.กห. (รบั ผดิ ชอบสายงานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ)
เปน็ ประธานกรรมการ และมี รอง เสธ.ทหาร (รบั ผดิ ชอบงานดา้ นยทุ ธการ) เปน็ รองประธานกรรมการ มี ผอ.สนผ.กห.
ผอ.ศอพท. ผอ.สงป.กห รอง เสธ.เหล่าทพั (รับผิดชอบงานดา้ นยทุ ธการ) จก.วท.กห. เปน็ กรรมการ มี รอง จก.วท.กห.
เป็นกรรมการและเลขานุการ
มีอ�ำนาจหนา้ ท่ที ่สี �ำคญั คอื ทบทวน ศกึ ษา พิจารณา และเสนอความเหน็ ต่อคณะกรรมการนโยบาย
ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี อตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ กระทรวงกลาโหม ในการก�ำหนดนโยบายยทุ ธศาสตร์
เป้าหมายเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการทหาร ของกระทรวงกลาโหม พิจารณา
ใหค้ วามเหน็ ชอบแนวทางการด�ำเนนิ งานโครงการ แผน ระเบยี บ และค�ำสง่ั เกย่ี วกบั การวจิ ยั และพฒั นา วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยกี ารทหาร ของกระทรวงกลาโหม พจิ ารณาความเหมาะสมและจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ของโครงการวจิ ยั
และพัฒนาเพ่ือจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณและให้ความเห็นชอบโครงการ ก�ำกับดูแลการวิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการทหารให้เป็นไปตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และเป้าหมาย การวิจัยและพัฒนา
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการทหารของกระทรวงกลาโหม และ พิจารณาแนวทางการด�ำเนนิ การต่อผลงานวจิ ัย
และพฒั นา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารทหาร เพอ่ื น�ำไปใชป้ ระโยชน์ ทดสอบ ทดลองการใชง้ าน รวมทง้ั การน�ำ
ไปส่อู ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศการบรรจุใช้ในราชการ และการผลติ เพ่ือการพาณิชยท์ ้งั ในและนอกประเทศ
๓.๓ คณะกรรมการอตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ กระทรวงกลาโหม (กอป.กห.)
มีองค์ประกอบท่ีส�ำคัญ คือ มี รอง ปล.กห. (รับผิดชอบสายงานด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ)
เป็นประธานกรรมการ และ ผอ.ศอพท. เปน็ รองประธานกรรมการ มี จก.วท.กห. รอง ผอ.สทป. รอง ผอ.สนผ.กห.
รอง ผอ.สงป.กห. รอง เสธ.เหลา่ ทพั (รบั ผดิ ชอบงานดา้ นสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ ) จก.สพ.เหลา่ ทพั เปน็ กรรมการมี เสธ.ศอพท.
เป็นกรรมการและเลขานกุ าร
มอี �ำนาจหนา้ ทที่ ส่ี �ำคญั คอื ด�ำเนนิ กจิ การอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศตามนโยบายของคณะกรรมการ
นโยบายดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม ด�ำเนนิ การเสรมิ สรา้ ง
ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศกับภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ได้รับ
ประโยชนร์ ว่ มกนั พจิ ารณาความเหมาะสมของโครงการและงบประมาณทจ่ี ะขอรบั การจดั สรรในแผนปฏบิ ตั ริ าชการ
ประจ�ำปี และในประมาณการรายจ่ายเงินทุนหมุนเวียนประจ�ำปีของโรงงานหรือหน่วยงานอุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศในสังกัดกระทรวงกลาโหม เพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินงาน รวมทั้งติดตามผลการปฏิบัติงานและผล
การจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการท่ีได้รับอนุมัติ ท้ังน้ีให้ยกเว้นประมาณการรายจ่าย
เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น เพอื่ การบรหิ ารตามค�ำสง่ั ซอ้ื จากเหลา่ ทพั ในสายการผลติ ทม่ี อี ยเู่ ดมิ แลว้ พจิ ารณาความเหมาะสม

21

รวมผลงานวิจัยท่มี ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดันส่อู ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ของแผนการด�ำเนนิ งานประจ�ำปงี บประมาณเกยี่ วกบั การก�ำหนดความตอ้ งการในการผลติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
หรือการสั่งซื้อ การแจกจ่าย ขายหรือจ�ำหน่วยผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และเสนอแนะ
และรายงานผลการพิจารณาในเร่ืองที่จ�ำเป็นให้คณะกรรมการนโยบายด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อุตสาหกรรม
ปอ้ งกันประเทศ กระทรวงกลาโหม พิจารณาด�ำเนนิ การตอ่ ไป
คณะกรรมการมาตรฐานยทุ โธปกรณก์ ระทรวงกลาโหม (กมย.กห.)
มอี งคป์ ระกอบทส่ี �ำคญั คอื รอง ปล.กห. (รบั ผดิ ชอบสายงานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ)
เป็นประธานกรรมการ และมี รอง ผบ.สส.หรือผู้แทน เป็นรองประธานกรรมการ มี ประธาน กมย.เหล่าทัพ
หรือผ้แู ทน ผอ.สทป. ผอ.สนผ.กห. ผอ.ศอพท. ผอ.สงป.กห. จก.วท.กห. จก.ยก.ทหาร จก.ยก.เหลา่ ทพั ผอ.สถาบนั
มาตรวิทยาแห่งชาติ ผู้แทนส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเป็นกรรมการ มี ผอ.สมท.วท.กห.
เปน็ กรรมการและเลขานุการ
มอี �ำนาจหนา้ ทท่ี สี่ �ำคญั คอื ทบทวน ศกึ ษา พจิ ารณา และเสนอความเหน็ ชอบตอ่ คณะกรรมการนโยบาย
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศในการก�ำหนดนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการมาตรฐาน
ยทุ โธปกรณข์ องกระทรวงกลาโหม สง่ เสรมิ พฒั นา ควบคมุ ก�ำกบั ดแู ล และด�ำเนนิ การดา้ นการมาตรฐานยทุ โธปกรณ์
ของกระทรวงกลาโหม ก�ำหนดแนวทางในการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างคณะกรรมการมาตรฐาน
ยทุ โธปกรณก์ ระทรวงกลาโหมกบั งานการมาตรฐานยทุ โธปกรณข์ องเหลา่ ทพั และ/หรอื งานการมาตรฐานของหนว่ ยงาน
ต่าง ๆ ท้ังในประเทศ และต่างประเทศ เพ่ือให้เกิดการเช่ือมโยง และการบูรณาการของทุกภาคส่วนรวมถึงการ
ยอมรับร่วมกันด้านการมาตรฐาน พิจารณาตรวจสอบเพ่ือให้ความเห็นชอบ ตามความในกฎกระทรวงอนุญาต
ประกอบกจิ การโรงงานผลติ อาวธุ พ.ศ. ๒๕๕๕ ออกตามความในพระราชบญั ญตั โิ รงงานผลติ อาวธุ ของเอกชน พ.ศ.
๒๕๕๐ หรอื บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง พจิ ารณาการก�ำหนดมาตรฐาน การตรวจสอบและประเมนิ ผลการ
ทดสอบ และรบั รองมาตรฐานดา้ นยทุ โธปกรณ์ ผลงานวจิ ยั พฒั นา และสงิ่ ประดษิ ฐท์ างทหาร ตามทห่ี นว่ ยขนึ้ ตรง
กระทรวงกลาโหม เหลา่ ทพั สถาบนั เทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ (องคก์ ารมหาชน) และหนว่ ยงานภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
นอกกระทรวงกลาโหม ขอรบั การสนบั สนนุ พจิ ารณาผลงานการรบั รองมาตรฐาน ดา้ นยทุ โธปกรณผ์ ลงานวจิ ยั พฒั นา
และสงิ่ ประดษิ ฐท์ างทหารของเหลา่ ทพั เพอ่ื ใหส้ ามารถบรู ณาการใชง้ านรว่ มกนั ไดร้ ะหวา่ งเหลา่ ทพั รวมทง้ั สนบั สนนุ
การปฏบิ ัติการร่วมได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยใหส้ �ำนกั มาตรฐานทางทหาร รว่ มสงั เกตการณก์ ระบวนการรองรับ
มาตรฐาน และรวบรวมผลงานการรองรบั มาตรฐานดังกลา่ ว และน�ำมตทิ ่ีมีนยั ส�ำคญั ของคณะกรรมการมาตรฐาน
ยทุ โธปกรณก์ ระทรวงกลาโหม หรือการก�ำหนด การแกไ้ ข และการยกเลิกมาตรฐาน เสนอคณะกรรมการนโยบาย
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหมและรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม
เพื่อพิจารณาสง่ั การ
ในข้ันตอนการด�ำเนินการขับเคลื่อนงานวิจัยไปสู่การผลิตเพ่ือใช้งานนั้นได้ยึดถือหลักการและแนวทาง
การจดั ท�ำโครงการวจิ ยั และพฒั นาการทหารของกระทรวงกลาโหมทกี่ �ำหนดไวใ้ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ แบง่ เป็น ๕ ขน้ั ตอน ดังน้ี
ขน้ั ที่ ๑ การศึกษาความเปน็ ไปได้ โดยการรวบรวมข้อมลู ความตอ้ งการของหน่วยผใู้ ช้ การมาตรฐาน
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมทงั้ ความเปน็ ไปไดใ้ นดา้ นเทคนคิ และขดี ความสามารถในการพฒั นาทงั้ ของภาครฐั และเอกชนภายใน
ประเทศ จะต้องไดร้ ับความเหน็ ชอบถึงความเหมาะสมท่จี ะด�ำเนนิ การจากหน่วยงานทางยุทธการ และหน่วยงาน
ทางส่งก�ำลังบ�ำรุง ในข้ันนี้จะเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของ กวท.กห. ซ่ึงเป็นคณะกรรมการอ�ำนวยการ
ด้านการบริหารงานวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศของ กห. ในการรวบรวมข้อมูล

22

รวมผลงานวิจยั ที่มีศักยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ทีเ่ กย่ี วข้องจากระบบงานอน่ื ๆ มารว่ มพจิ ารณาในการประชุม กวท.กห. และ คณะกรรมการนโยบาย ฯ ตามล�ำดับ
เมื่อไดร้ บั การยอมรบั จากทกุ ฝ่ายทเ่ี ก่ียวข้องแล้วจงึ จะผา่ นไปสขู่ ้ันตอ่ ไป
ขัน้ ที่ ๒ การวจิ ัยและพฒั นาตน้ แบบการวจิ ัยเพ่อื การสาธิต ในขนั้ นจี้ ะตอ้ งออกแบบช้ินส่วนยอ่ ยต่าง ๆ
แลว้ พฒั นาขน้ั ตน้ โดยผา่ นการทดสอบทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ประกอบรวมระบบเพอ่ื การสาธติ ในขนั้ นี้
จะตอ้ งมีแนวความคิดในการใช้งานยทุ ธวธิ โี ดยพฒั นาร่วมกบั หน่วยงานทางยทุ ธวธิ ี จะต้องมแี ผนการส่งก�ำลงั บ�ำรงุ
และแผนการจัดหาเพื่อเข้าประจ�ำการ โดยพัฒนาร่วมกับหน่วยงานทางส่งก�ำลังบ�ำรุง จะต้องมีแผนการพัฒนา
ตน้ แบบวศิ วกรรมและการผลติ แผนการทดสอบและประเมนิ คา่ เมอื่ มกี ารสาธติ ตน้ แบบการวจิ ยั และไดร้ บั การยอมรบั
จากทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องแล้วจึงจะผ่านไปสู่ข้ันตอนต่อไป ในข้ันนี้จะเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของ กวท.กห.
เช่นกันในการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากระบบงานอื่นๆ มาร่วมพิจารณาในการประชุม กวท.กห. และคณะ
กรรมการนโยบาย ฯ ตามล�ำดับ เมอื่ ไดร้ ับการยอมรับจากทุกฝา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งแลว้ จึงจะผ่านไปสขู่ ้ันต่อไป
ข้ันท่ี ๓ การพัฒนาต้นแบบวิศวกรรม ในข้ันตอนนี้จะต้องออกแบบทางวิศวกรรมเพ่ือน�ำไปสู่การผลิต
เป็นอุตสาหกรรมได้ พัฒนากระบวนการผลิต ด�ำเนินการสร้างต้นแบบ เพ่ือจะเข้าสู่การทดสอบและประเมินค่า
และฝา่ ยสง่ ก�ำลงั บ�ำรงุ จะตอ้ งจดั ท�ำโครงการจดั หาเพอื่ บรรจใุ ชง้ าน เสนอขอรบั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลตามแผนการ
จัดหาเพื่อเข้าประจ�ำการ ในข้ันน้ียังเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของ กวท.กห. เช่นกันในการรวบรวมข้อมูล
ที่เกย่ี วขอ้ งจากระบบงานอ่นื ๆ มารว่ มพจิ ารณาในการประชมุ กวท.กห. และ คณะกรรมการนโยบายฯ ตามล�ำดับ
เมอ่ื มกี ารด�ำเนินการครบถว้ นและไดร้ ับการยอมรบั จากทกุ ฝ่ายทเ่ี กีย่ วขอ้ งแลว้ จงึ จะผา่ นไปส่ขู ้ันตอ่ ไป
ขั้นท่ี ๔ การทดสอบและประเมินค่า ในข้ันตอนน้ีจะต้องมีการทดสอบในภาคสนามเพ่ือประเมินค่า
ในดา้ นตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งตามแผนการทดสอบและประเมนิ คา่ ตามแนวความคดิ ในการใชง้ านยทุ ธวธิ ี และตามแผนการ
ส่งก�ำลังบ�ำรุงเท่าที่เกี่ยวข้อง การทดสอบในสนาม และขั้นทดลองใช้งานในเหล่าทัพตามห้วงเวลาที่เหมาะสม
และเพียงพอท่ีจะมีข้อมูลการปรับปรุงแก้ไข เก็บรวบรวมองค์ความรู้ เพื่อจัดท�ำคู่มือการใช้งานการซ่อมบ�ำรุง
ในระดบั ตา่ ง ๆ ซง่ึ ขอ้ มลู เหลา่ นจี้ ะเปน็ สงิ่ ทสี่ �ำคญั ในการขยายผลงานวจิ ยั ไปสกู่ ารผลติ ของภาคอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั
ประเทศสนับสนุนการใช้งานในกองทัพ ในขั้นนี้จะเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของ กมย.กห. ในการทดสอบ
และประเมินคา่ และมีการรวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งจากระบบงานอื่นๆ มารว่ มพิจารณาในการประชมุ กวท.กห.
และคณะกรรมการนโยบาย ฯ ตามล�ำดบั เมอ่ื มกี ารด�ำเนนิ การครบถว้ นและไดร้ บั การยอมรบั จากทกุ ฝา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
แลว้ จงึ จะผา่ นไปสู่ขัน้ ตอนต่อไป

ข้นั ท่ี ๕ การผลติ และเข้าประจ�ำการ ในขน้ั นีจ้ ะเป็นการด�ำเนินการตามโครงการจดั หาเพอ่ื บรรจใุ ช้งาน
ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากรฐั บาลตามแผนการจดั หาเพอ่ื เขา้ ประจ�ำการแลว้ นน่ั เอง โดยจะตอ้ งมกี ารควบคมุ คณุ ภาพ
มีการตรวจสอบเพ่ือให้ได้ยุทโธปกรณท์ ี่ตรงตามต้นแบบท่ผี า่ นกระบวนการจนถงึ ขนั้ ท่ี ๔ และมกี ารจัดท�ำคมู่ ือการ
ใชง้ าน การปรนนบิ ตั บิ �ำรงุ ตามหว้ งเวลา และการซอ่ มบ�ำรงุ ในระดบั ตา่ ง ๆ ทง้ั นจี้ ะตอ้ งด�ำเนนิ การตามกระบวนการ
จดั หายทุ โธปกรณข์ องกองทพั ในขน้ั นจ้ี ะเปน็ ความรบั ผดิ ชอบโดยตรงของ กอป.กห. ในการรวบรวมขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
จากระบบงานอน่ื ๆ มารว่ มพจิ ารณาในการประชมุ กอป.กห. และ คณะกรรมการนโยบาย ฯ ตามล�ำดบั เพอื่ ขบั เคลอ่ื น
การน�ำผลงานวจิ ยั และพฒั นาของกระทรวงกลาโหม ทมี่ ศี กั ยภาพไปสสู่ ายการผลติ เพอ่ื ใชใ้ นราชการจนเสรจ็ สมบรู ณ์

23

รวมผลงานวจิ ยั ท่มี ีศกั ยภาพพร้อมผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

การด�ำเนนิ การขบั เคลอื่ นตามแนวทางท่กี ล่าวมาแลว้ นี้ อาจจะไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งเรม่ิ ทข่ี น้ั ตอนแรก อาจจะ
เรมิ่ ทข่ี ัน้ ตอนใดกไ็ ด้ ตามแต่จะมคี วามพรอ้ มทจี่ ะด�ำเนินการ ส�ำหรับในรายงานฉบับนี้ ผลงานวจิ ยั ทีไ่ ดค้ ัดเลอื กมานัน้
ส่วนใหญ่จะอยู่ในขั้นท่ี ๓ เป็นอย่างน้อย และมีบางผลงานที่จัดว่ามีความพร้อมอยู่ในขั้นที่ ๔ หรือ เกือบจะอยู่
ใน ข้ันที่ ๕ แลว้ หากมีนโยบายและงบประมาณในการผลติ ก็สามารถด�ำเนนิ การไดใ้ นทันที
กล่าวโดยสรุปแล้ว การขับเคล่ือนงานวิจัยไปสู่การผลิตเป็นอุตสาหกรรมป้องกันประเทศนั้น จะเป็น
การด�ำเนินการโดยคณะกรรมการทัง้ ๔ คณะ อยา่ งประสานสอดคล้องกนั ในช่วงขน้ั ที่ ๑ ถงึ ขัน้ ที่ ๓ นน้ั จะอยู่
ในความรบั ผดิ ชอบโดยตรงของ กวท.กห. ซง่ึ มี วท.กห. เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร สว่ นในขน้ั ที่ ๔ นนั้ อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ
โดยตรงของ กมย.กห. ซงึ่ มี วท.กห.เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ ารเชน่ กนั และในขนั้ ที่ ๕ ซง่ึ เปน็ ขน้ั สดุ ทา้ ยนนั้ อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ
โดยตรงของ กอป.กห. ซง่ึ มี ศอพท. เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร ส�ำหรบั คณะกรรมการนโยบายดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ซ่ึงมี สนผ.กห. เป็นฝา่ ยเลขานุการน้นั จะเปน็ ส่วนส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายและ
การตดั สนิ ใจทส่ี �ำคญั ในการขับเคลอื่ นไปในแต่ละขน้ั ตอน โดยเฉพาะในขัน้ ตอนทา้ ย ๆ ท่จี �ำเป็นตอ้ งมีงบประมาณ
ในการสนบั สนนุ จ�ำนวนมาก และเปน็ สว่ นส�ำคญั ทจี่ ะท�ำใหท้ ง้ั ๓ ฝา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ กฝ่ า่ ยหนว่ ยงานผใู้ ช้ ทกี่ �ำหนด
ความตอ้ งการผลงานวจิ ยั เพอ่ื ตอบสนองภารกจิ ฝา่ ยพฒั นาผลงานวจิ ยั จนถงึ การผลติ ทจี่ ะพฒั นาตวั ผลงานวจิ ยั และ
ความสามารถในการผลิตผลงานน้ัน และฝ่ายสุดท้ายได้แก่ฝ่ายนโยบายและงบประมาณสนับสนุน ท่ีจะท�ำให้เกิด
การพัฒนายุทโธปกรณ์ไปจนถงึ การผลิตเพือ่ ใชง้ านในกองทัพและเพอ่ื การพาณิชย์ไดจ้ ริง

ภาพท่ี ๔.๑ แผนผงั ความเชอ่ื มโยงการด�ำเนนิ การของคณะกรรมการระดบั กห. ในการขบั เคลอ่ื นงานวจิ ยั ไปสกู่ ารผลติ เพอ่ื ใชง้ าน

การขับเคล่ือนรายโครงการน้ัน อาจจะไม่จ�ำเป็นต้องเร่ิมต้นในข้ันแรก ๆ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับความพร้อม
ของทุกกลุ่มงานท่ีเก่ียวข้อง ดังตัวอย่างของการด�ำเนินการรวบรวมผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพในครั้งน้ี จะมีหลาย
โครงการทอ่ี ยู่ในขน้ั ท่ี ๓ ขั้นที่ ๔ และ ขนั้ ท่ี ๕ เมื่อมีนโยบายและงบประมาณสนบั สนุนให้ด�ำเนินการ

24

รวมผลงานวิจัยท่ีมีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

บทท่ี ๕ ผลงานวิจัยและพัฒนาทีม่ ศี กั ยภาพสูส่ ายการผลิตเพอ่ื ใช้งาน

แนวทางการพิจารณาผลงานวิจัยและพัฒนาการทหารของ กห. ว่ามีศักยภาพเข้าสู่สายการผลิต
เพอ่ื ใช้งานหรอื ไม่นน้ั ไดน้ �ำขอ้ มลู เก่ียวกบั ผลงานวิจัยนน้ั ท่มี ีความเกี่ยวขอ้ งกบั ๓ กลุม่ ปัจจยั ไดแ้ กก่ ล่มุ หน่วยงาน
ผู้ใช้หมายถึงกองทัพต่าง ๆ ว่ามีความต้องการผลงานวิจัยหรือไม่ อีกทั้งผลงานวิจัยน้ันสามารถตอบสนองภารกิจ
กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มพัฒนาผลงานวิจัยน้ัน ว่ามีความพร้อมของท้ังตัวผลงาน ไปจนถึงขีดความสามารถในการผลิต
ผลงานนน้ั และกลมุ่ ปจั จยั สดุ ทา้ ยไดแ้ กฝ่ า่ ยนโยบายและงบประมาณ ซงึ่ มสี ว่ นส�ำคญั ทจี่ ะท�ำใหก้ ารด�ำเนนิ การทง้ั หมด
เป็นไปได้หากผลงานวิจัยใดมีความพร้อมของกลุ่มปัจจัยท้ังสามในระดับสูงสุดแล้ว ย่อมท�ำให้ผลงานวิจัยนั้นเข้าสู่
สายการผลติ เพื่อใช้งานในกองทัพได้เป็นทแ่ี นน่ อน

กลุ่มนโยบายและ
งบประมาณ

กลมุ่ หน่วยงานผู้ใช้ กลมุ่ พัฒนา
ผลงานวจิ ัย

ภาพที่ ๕.๑ ภาพความเช่ือมโยงของกลุ่มทมี่ ีปจั จยั ต่อความส�ำเรจ็ ของการขบั เคล่ือนผลงานวจิ ยั
และพัฒนาการทหารของ กห. เข้าสกู่ ารผลติ เพอ่ื ใช้งาน

การน�ำเสนอผลงานวจิ ยั และพฒั นาการทหารของ กห. ทม่ี ศี กั ยภาพเขา้ สสู่ ายการผลติ เพอ่ื ใชง้ านตอ่ ไปนี้
แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มใหญ่ ๆ โดยที่ กลุ่มที่ ๑ ผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพและมีความพร้อมท่ีจะผลิตเพ่ือใช้งาน
ในกองทัพในระดับสูง มีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถด�ำเนินการได้ส�ำเร็จน้อย ขาดแค่เพียงความชัดเจนในนโยบาย
ที่จะน�ำไปใช้ในกองทัพและงบประมาณในการผลิตเพ่ือการใช้งานในกองทัพ กลุ่มท่ี ๒ ผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพ
และมีความพร้อมท่ีจะผลิตเพื่อใช้งานในกองทัพในระดับที่จ�ำเป็นจะต้องได้รับการสนับสนุนเพ่ือพัฒนาเพ่ิมเติม
อีกหลายสว่ น และกลุ่มที่ ๓ ผลงานวจิ ยั ท่ี กห. รว่ มมือกับเครือขา่ ยในการพัฒนาผลงานวจิ ยั ท่ีสามารถน�ำไปใช้งาน
ในลักษณะสองทาง (Dual Use) สามารถน�ำไปใชง้ านท้งั ทางทหาร และ ไมใ่ ช่ทางทหาร อาทิ อากาศยานไร้คนขบั
ท่ีสามารถใช้ในการลาดตระเวนเพ่ือการป้องกันรักษาป่าไม้จากไฟป่า เป็นต้น โดยพิจารณาจากข้อมูลหลักฐาน
เชงิ ประจกั ษ์ทีส่ �ำคญั ต่าง ๆ ของผลงานวิจัยนัน้ ๆ โดยมขี ้อมลู ส�ำคัญท่นี �ำมาใช้พจิ ารณา ได้แก่

25

รวมผลงานวิจัยทีม่ ีศกั ยภาพพรอ้ มผลักดนั สู่อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๑. ขอ้ มูลคุณลักษณะเฉพาะหรือคุณลกั ษณะท่ัวไปทีส่ �ำคญั ของผลงานวจิ ยั
๒. ขอ้ มลู ความตอ้ งการลา่ สดุ ของผลงานวฉิ ยั วา่ เปน็ ความตอ้ งการของหนว่ ยงานวจิ ยั หรอื เปน็ ความ
ต้องการของหน่วยสายวิทยาการที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นความต้องการในระดับกองทัพโดยบรรจุไว้ในแผนพัฒนา
ขีดความสามารถของกองทพั หรอื บรรจุไว้ในแผนการจัดหาของกองทพั เรยี บรอ้ ยแลว้
๓. ข้อมูลการตอบสนองการกิจ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ผลงานวิจัยน้ันสามารถใช้งานได้
สามารถตอบสนองภารกจิ ของหนว่ ยงานผใู้ ชไ้ ด้ หรอื มแี นวทางการน�ำไปใชใ้ นภารกจิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรอื มหี ลกั นยิ มรองรบั
๔. ขอ้ มลู ความพรอ้ มของเทคโนโลยขี องผลงานวจิ ยั โดยมหี ลักฐานเชิงประจกั ษ์ที่บง่ ชไ้ี ด้ว่า ผลงาน
วิจัยนั้นมีความพร้อมของผลงานวิจัยในระดับพิสูจน์ความเป็นไปได้ของเทคโนโลยี หรือระดับท่ีสาธิตการท�ำงาน
ไดโ้ ดยหนว่ ยวจิ ัย หรอื ระดับทป่ี ระเมินคา่ เทคโนโลยีโดยหน่วยผูใ้ ช้
๕. ข้อมูลการประเมินด้านมาตรฐานทางทหาร โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ผลงานวิจัยนี้ได้ถูก
ก�ำหนดมาตรฐาน/ทดสอบ/รับรองมาตรฐานยุทโธปกรณท์ างทหารโดย กมย.เหลา่ ทพั หรือโดย กมย.กห.

๖. ขอ้ มูลความพรอ้ มในการผลิต โดยมีหลักฐานเชงิ ประจักษท์ บี่ ่งช้ีได้ว่า ผลงานวิจัยนมี้ คี วามพรอ้ ม
ในการผลิตในระดับพิสูจน์ความเป็นไปได้ในการผลิตโดยพัฒนาต้นแบบวิศวกรรมเตรียมเข้าสู่สายการผลิต
หรือระดับสาธิตการผลิตข้ันต่�ำ ผลิตเป็นจ�ำนวนข้ันต่�ำ อันเป็นขั้นการพัฒนาโรงงานผลิต หรือมีขีดความสามารถ
ผลิตไดเ้ ต็มรปู แบบ มีโรงงานผลติ เรียบรอ้ ยแล้ว
๗. ความพร้อมด้านงบประมาณในการผลิต โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ว่า ผลงานวิจัยน้ีอยู่ใน
แผนจัดหาของกองทัพ หรือ อยู่ในโครงการจัดหาของกองทัพ หรือเป็นโครงการที่ได้รับอนุมัติให้ด�ำเนินการแล้ว
หรอื มีแหลง่ งบประมาณอ่นื ที่จะสามารถน�ำมาใชใ้ นการผลติ เพื่อบรรจใุ ชง้ านในกองทพั

กลุม่ ผลงานวิจัยท่มี ีศักยภาพและมีความพรอ้ มทีจ่ ะผลติ เพอ่ื ใช้งานในกองทัพในระดับสูง

๑. ชอ่ื ผลงานวจิ ัย
ตะเกียงระบบเลนส์หมนุ พลงั งานแสงอาทติ ยเ์ พ่อื ใชก้ บั ประภาคาร/
กระโจมไฟของกรมอทุ กศาสตร์ กองทัพเรือ
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
กรมอทุ กศาสตร์ กองทพั เรอื (อศ.)
นายทหารโครงการ
นาวาเอก พันธ์นาถ นาคบปุ ผา
๒. ชอ่ื ผลงานวิจยั
ใบจกั รนกิ เกลิ อะลมู เิ นียมบรอนซ์ส�ำหรบั เรือตรวจการณ์ชายฝงั่ (PCF)
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
กรมอทู่ หารเรือ
นายทหารโครงการ
นาวาเอก เสวยี ง เถื่อนบุญ

26

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ศี กั ยภาพพรอ้ มผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓. ช่อื ผลงานวจิ ัย
ปลอกทวีแรงถอย (Blank Firing Attachment หรอื Adapter)
ของ ปนื กล ขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร แบบ เอ็ม ๖๐
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
กองเรือล�ำนำ้� กองเรือยทุ ธการ
นายทหารโครงการ
นาวาเอก ชชั วาลย์ โตรุง่
๔. ชื่อผลงานวิจยั
ปลอกทวีแรงถอย (Blank Firing Attachment : BFA) ของปนื กล
ขนาด .๕๐ นิว้ แบบ เอม็ ๒ ล�ำกลอ้ งหนกั (M2 HB)
หน่วยเจา้ ของโครงการ
กองเรือล�ำน�้ำ กองเรอื ยทุ ธการ
นายทหารโครงการ
นาวาเอก ชัชวาลย์ โตร่งุ
๕. ชื่อผลงานวจิ ัย
อากาศยานไรน้ กั บินแบบนารายณ์ ๓.๐
หน่วยเจ้าของโครงการ
สวพ.ทร.
นายทหารโครงการ
นาวาเอก ภานพุ งศ ขุมสนิ
๖. ชื่อผลงานวิจัย
ร้ัวไรส้ าย
หน่วยเจ้าของโครงการ
สวพ.ทร.
นายทหารโครงการ
นาวาเอก อนสุ รณ์ ยงั คุ้มญาติ
๗. ชอื่ ผลงานวิจัย
สารยบั ยงั้ ไฟป่าชนดิ เหลว
หน่วยเจ้าของโครงการ
ศวอ.ทอ.
นายทหารโครงการ
นาวาตรี นรพงษ์ เอกหาญกมล

27

รวมผลงานวิจยั ที่มศี กั ยภาพพรอ้ มผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๘. ชื่อผลงานวิจัย
ชนวนหัวกระทบแตกไว/ถว่ งเวลา ส�ำหรบั ลย/ค. เพอ่ื ทดสอบ
ประสิทธภิ าพการใช้งาน
หนว่ ยเจ้าของโครงการ
ศอว.ศอพท.
นายทหารโครงการ
พลตรี ประสิทธิ์ สขุ วงศ์

๙. ชอื่ ผลงานวจิ ัย
ระบบควบคมุ การเคลือ่ นท่ีของมมุ ทางสงู และทางทศิ ของปืนใหญ่
ต่อส้อู ากาศยานขนาด ๔๐ มลิ ลเิ มตร แอล ๗๐
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
สวพ.ทบ./ม.เกษตรศาสตร์
นายทหารโครงการ
พันเอก วิชริ ธร ครองสขุ
นายอาทติ ย์ อัมพุนันทน์

๑๐. ชอื่ ผลงานวิจัย
ระบบปืนใหญ่ ขนาด ๑๐๕ มลิ ลเิ มตร ของรถถังรุ่น M48A5
ของรถถงั ร่นุ M60A1/A3
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
สวพ.ทบ./ม.เกษตรศาสตร์
นายทหารโครงการ
พนั โท กิตติวิทย์ วรรคตอน
พนั โท สันติพงษ์ นารี
พันโท ศักรนันท์ อนุ่ แสงจนั ทร์
พันโท กฤษดา กล้าผจญ
รอ้ ยตรี จรี ะวตั ร์ อนั สวุ รรณ

28

รวมผลงานวิจัยท่ีมีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กล่มุ ผลงานวิจยั ทมี่ ศี ักยภาพ และมีความพร้อมทีจ่ ะผลติ เพอื่ ใช้งานในกองทัพ
ในระดับทจ่ี �ำเป็นต้องพฒั นาเพิม่ เติมอกี หลายสว่ น

๑. ชื่อผลงานวจิ ยั
ระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอัตโนมัตสิ �ำหรบั ปืนใหญเ่ บา
กระสุนวิถโี คง้ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรลอ้ ยาง
หน่วยเจ้าของโครงการ
ศอว.ศอพท.
นายทหารโครงการ
พนั เอก สญั ญา แสนทนนั ชยั

๒. ชื่อผลงานวิจยั
แบตเตอร่ี ส�ำหรบั รถยานเกราะลอ้ ยาง แบบ BTR-3E1
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
อท.ศอพท.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก ชูชาติ จติ ตรีเหิม

๓. ชื่อผลงานวิจัย
แบตเตอรี่ ส�ำหรับใช้งานในระบบโซลา่ เซลล์
หน่วยเจา้ ของโครงการ
อท.ศอพท.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก ชชู าติ จิตตรเี หมิ

๔. ชอื่ ผลงานวจิ ยั
ดินสง่ กระสนุ ส�ำหรบั กระสุน ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ น้วิ )
หนว่ ยเจ้าของโครงการ
รวท.อท.ศอพท.
นายทหารโครงการ
พลเรือตรี บญุ ศิลป์ กุลศริ พิ ฤกษ์
นาวาเอก กฤษณ์ ค�ำโฉม

29

รวมผลงานวิจยั ที่มศี กั ยภาพพร้อมผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๕. ช่ือผลงานวิจัย
ต้นแบบเคร่ืองบนิ ฝกึ บงั คบั ด้วยวทิ ยุ SIKAN
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก เจษฎา พุทธพงศว์ ิไล

๖. ชื่อผลงานวิจัย
บรรจุภัณฑด์ ับไฟปา่ แบบแตกกระทบพน้ื ส�ำหรับตดิ ต้ังกบั บ.ล.๘
หน่วยเจ้าของโครงการ
ศวอ.ทอ.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก คมน์ แสงอ�ำพันธ์

๗. ช่ือผลงานวิจัย
เคร่ืองผสมสารอัตโนมตั ิในภารกิจยับยงั้ ไฟป่า
หน่วยเจ้าของโครงการ
ศวอ.ทอ.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศตรี อธิการ เชือ้ กลาง
เรอื อากาศเอกหญงิ ศิริพร สขุ กุล

๘. ช่อื ผลงานวิจัย
ต้นแบบระบบตั้งหลักฐานยิงอัตโนมัติเคร่ืองยิงลูกระเบิดขนาด
๑๒๐ มม. จ�ำลอง ในการศกึ ษาความเปน็ ไปได้ จ�ำนวน ๑ ระบบ
และต้นแบบ ระบบตั้งหลักฐานยิงอัตโนมัติเครื่องยิงลูกระเบิด
ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ หน่วย
หนว่ ยเจ้าของโครงการ
ศอว.ศอพท.
นายทหารโครงการ
พลตรี พรมงคล พ่ึงเสมา

30

รวมผลงานวจิ ัยทม่ี ีศักยภาพพร้อมผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๙. ชือ่ ผลงานวิจยั
ต้นแบบแทน่ ยิงทต่ี ดิ ต้งั ระบบรบั แรงของเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ
ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ ระบบ
หน่วยเจา้ ของโครงการ
ศอว.ศอพท.
นายทหารโครงการ
พลตรี พรมงคล พึ่งเสมา
๑๐. ชอ่ื ผลงานวจิ ยั
อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กติดอาวุธ ระยะท่ี ๑
หน่วยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก สุนันท์ ชมู าลี

31

รวมผลงานวจิ ัยทม่ี ีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสูอ่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กลุ่มผลงานวจิ ัยที่ กห. รว่ มมอื กบั เครือข่ายในการพัฒนาผลงานวิจยั
ที่สามารถน�ำไปใช้งานในลกั ษณะสองทาง (Dual Use)

๑. ชอ่ื ผลงานวิจัย
การศึกษาความเป็นไปได้การออกแบบถังปลอ่ ยสารฝนหลวง บ.ล.๒ ก
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.
นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก อภสิ ทิ ธิ์ ยวุ นะเตมยี ์

๒. ช่อื ผลงานวจิ ยั
ต้นแบบระบบอากาศยานไร้คนขบั ขนาดเล็ก
หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
สทป.
นายทหารโครงการ
พนั เอก ดร.มนชัย ดวงปัญญา
พนั เอก ดร.อ�ำพนั ธ์ จันทรเ์ พง็ เพ็ญ
นาวาโท พทิ ักษ์ ประกรแกว้ ร.น.
นาวาอากาศโท ดร.สุคนธ์ พันธเุ ณร
นาวาอากาศโท ปรชั ญา เรียนพชื น์
นาวาตรี ธรี ะพงษ์ สนธยามาลย์ ร.น.
นาวาอากาศตรี กุลชาติ เทพกุลชร

32

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสูอ่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กลุ่มผลงานวิจยั ทีม่ ีศักยภาพและมีความพรอ้ มท่ีจะผลติ เพ่ือใชง้ านในกองทัพในระดับสงู

๑. การสรา้ งตะเกยี งระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตยเ์ พ่อื ใช้กับประภาคาร/กระโจมไฟ
ของกรมอุทกศาสตร์ กองทพั เรอื

๑. ชอ่ื ผลงานวิจัย
การสร้างตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้กับประภาคาร/กระโจมไฟของกรม
อทุ กศาสตร์ กองทพั เรอื
๒. ทมี่ าของผลงานวิจัย

๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการการสรา้ งตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลงั งานแสงอาทติ ยเ์ พ่ือใชก้ ับประภาคาร/กระโจมไฟ
ของกรมอทุ กศาสตร์ กองทพั เรือ (อศ.)
๒.๒ หน่วยเจา้ ของโครงการ
กรมอทุ กศาสตร์ กองทัพเรือ (อศ.)
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาเอก พนั ธ์นาถ นาคบุปผา
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
ความเปน็ มา
กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรอื (อศ.) เป็นหน่วยงานหลักทีร่ บั ผดิ ชอบเคร่อื งหมายช่วยการเดนิ เรือ
ในทะเลของน่านน�้ำไทย ปัจจุบันมีเครื่องหมายทางเรือท่ีรับผิดชอบ ๔ ประเภท ได้แก่ ประภาคาร กระโจมไฟ
หลักน�ำ และทุ่นเครื่องหมายทางเรือ ในส่วนของประภาคารและกระโจมไฟ เป็นเครื่องหมายช่วยการเดินเรือ
ที่ก่อสร้างถาวรบริเวณชายฝั่ง และเกาะในทะเลที่ส�ำคัญ เพ่ือช่วยในการเดินเรือบริเวณชายฝั่ง และเกาะในทะเล
ให้มีความปลอดภัย ดังนั้น ตะเกียงพลังแสงอาทิตย์ท่ีติดตั้งตามประภาคารและกระโจมไฟต้องมีประสิทธิภาพสูง
เหน็ ไดช้ ดั เจนในระยะไกล และมีความเขม้ ของการส่องสวา่ ง (Luminous Intensity) สูงเพอื่ ชว่ ยในการมองเห็น
ได้ในเวลากลางคืนแม้จะถูกรบกวนจากปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะแสงไฟที่เป็นฉากหลัง (Background Light)
ซ่ึงจะท�ำให้ระยะมองเห็นของไฟลดลงจากภาวะปกติ โดยตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์
(Solar Energy Rotating Lantern) มคี ณุ สมบัตทิ ่ีส�ำคัญดงั กลา่ ว ได้แก่ มคี วามเขม้ ของการส่องสวา่ งสูงประมาณ
๗๐,๐๐๐ – ๑๐๐,๐๐๐ แรงเทยี น (Candela : cd) ขน้ึ ไป ท�ำใหม้ ีระยะเหน็ ไดไ้ กลถงึ ๒๐ ไมล์ทะเล หรือไกลกวา่
เมื่อเดินทางเข้าใกล้ฝั่งจะเห็นแสงไฟจากตะเกียงระบบเลนส์หมุนฯ เป็นล�ำ (Pencil Beam) และไฟมีลักษณะ
ไฟวับเดีย่ ว (Flashing หรอื ไฟท่ีชว่ งคาบสว่างสั้นกว่าคาบมดื หรือสวา่ งน้อย) และไฟวาบเดย่ี ว (Occulting หรอื ไฟ
ท่คี าบสว่างยาวกว่าคาบมดื หรอื มีความสว่างมาก) รวมอยู่ด้วยกนั ท�ำใหน้ กั เดินเรือสามารถแยกไฟของประภาคาร
หรือกระโจมไฟท่ีติดต้ังตะเกียงระบบเลนส์หมุนฯ ออกจากไฟแสงสว่างฉากหลัง (Background Light)
หรอื แสงสว่างทีม่ ากเกินไปจากฉากหลงั เชน่ ไฟถนน ป้ายนีออน ฯลฯ ไดส้ ะดวก

33

รวมผลงานวจิ ยั ที่มศี กั ยภาพพร้อมผลักดันสู่อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ปญั หาและสาเหตุ
๑. ในการจัดหาตะเกียงพลังงานแสงอาทิตย์ ส�ำหรับติดตั้งบนประภาคารหรือกระโจมไฟที่ผ่านมา
กรมอทุ กศาสตร์พจิ ารณาจัดหาตะเกยี งแสงอาทติ ย์เพือ่ ติดต้ังในพ้นื ทชี่ ายฝงั่ ออกเป็น ๒ รปู แบบ คือ แบบตะเกียง
เลนส์น่ิง (Static Lantern) และแบบตะเกียงเลนส์หมุน (Rotating Lantern) โดยตะเกียงเลนส์นิ่งจะใช้ติดต้ัง
ตามประภาคาร/กระโจมไฟท่ัวไปที่ไม่ต้องการความเข้มของการส่องสว่างสูงมากนัก ประมาณ ๑๕,๐๐๐ cd
(Candela หรือ แรงเทียน) หรือในยา่ นระยะมองเหน็ ที่นอ้ ยกวา่ ๑๕ ไมลท์ ะเล ส่วนตะเกียงเลนสห์ มนุ จะพิจารณา
ติดตั้งในบริเวณประภาคาร/กระโจมไฟท่ีส�ำคัญ (Major Light) ซ่ึงต้องการระยะมองเห็นไกลประมาณ ๒๐ ไมล์
ทะเลขนึ้ ไป
๒. ตะเกียงแบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาต่อหน่วยค่อนข้างสูง จากการจัดหาล่าสุด
ในปงี บประมาณ ๒๕๕๐ ตะเกยี งระบบหมนุ ขนาด ๔๐๐ มม. มีราคาต่อหน่วยประมาณ ๒,๖๐๐,๐๐๐ บาท ในขณะที่
ตะเกยี งเลนสน์ ง่ิ (ส่วนมากเปน็ ตะเกียงขนาด ๓๐๐ มม.) มีราคาตอ่ หน่วยประมาณ ๓๖๐,๐๐๐ บาท
๓. เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดด้านงบประมาณ กรมอุทกศาสตร์จึงได้จัดหาตะเกียงระบบเลนส์หมุนติดต้ัง
ตามประภาคาร/กระโจมไฟทีส่ �ำคญั ได้เพยี ง ๕ แห่ง คอื ประภาคารกาญจนาภเิ ษกแหลมพรหมเทพ จังหวัดภเู กต็
ประภาคารเกาะนก จังหวัดตรัง ประภาคารเกาะตะเภาน้อย จังหวัดภูเก็ต กระโจมไฟเขาตังกวน จังหวัดสงขลา
และประภาคารระยอง (แหลมเจริญ) จังหวดั ระยอง เทา่ นั้น
๔. ตะเกียงระบบเลนสห์ มุน ฯ ทตี่ ิดต้งั อยู่ตามประภาคารและกระโจมไฟ ๕ แหง่ ในข้อ ๓ ขา้ งต้น
มอี ายกุ ารใชง้ านเกนิ กวา่ ๑๐ ปขี นึ้ ไป จงึ เรม่ิ มกี ารเสอ่ื มสภาพและช�ำรดุ ไปตามอายกุ ารใชง้ าน อกี ทงั้ บรษิ ทั Tideland
Signal Corporation ผูผ้ ลติ ไดย้ กเลกิ กจิ การและสายการผลิตไป ท�ำใหต้ อ้ งมกี ารจดั หาตะเกียงแบบเลนสห์ มนุ ฯ
มาตดิ ตงั้ แทน ซงึ่ ถา้ หากจดั หาจากตา่ งประเทศแลว้ จะจดั หาไดย้ ากและมรี าคาสงู ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งมกี ารวจิ ยั และพฒั นา
สรา้ งตะเกยี งระบบเลนสห์ มนุ พลงั งานแสงอาทติ ยข์ นึ้ ในราคาถกู มาตดิ ตงั้ ใชง้ านทดแทนทงั้ ๕ พนื้ ที่ เพอ่ื ด�ำรงสภาพ
การเปน็ เครอื่ งหมายชว่ ยการเดนิ เรอื ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู และตดิ ตงั้ ถาวร รวมทง้ั ยงั สามารถขยายสายการผลติ ไปตดิ ตงั้
ใช้งานบนประภาคารหรือกระโจมไฟอ่ืน ๆ ที่ต้ังอยู่ในพื้นที่ท่ีมีความส�ำคัญในการเดินเรือและมีแสงสว่างฉากหลัง
(Background Light) รบกวนซ่ึงมีการประเมนิ ไว้ถงึ ๒๔ แห่ง อันจะส่งผลให้การเดนิ เรอื ในนา่ นน�้ำไทยบรเิ วณเกาะ
ในทะเลและชายฝัง่ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและปลอดภยั ยง่ิ ขึน้

34


Click to View FlipBook Version