The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by printing144, 2022-07-04 22:30:12

รวมไฟล์ALL-report VT65

รวมไฟล์ALL-report VT65

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมศี ักยภาพพรอ้ มผลักดนั สูอ่ ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ปัญหาและสาเหตุ
๑. ในการจัดหาตะเกียงพลังงานแสงอาทิตย์ ส�ำหรับติดตั้งบนประภาคารหรือกระโจมไฟท่ีผ่านมา
กรมอุทกศาสตร์พิจารณาจัดหาตะเกยี งแสงอาทิตย์เพื่อติดตั้งในพน้ื ทชี่ ายฝัง่ ออกเป็น ๒ รูปแบบ คือ แบบตะเกียง
เลนส์น่ิง (Static Lantern) และแบบตะเกียงเลนส์หมุน (Rotating Lantern) โดยตะเกียงเลนส์น่ิงจะใช้ติดต้ัง
ตามประภาคาร/กระโจมไฟทั่วไปที่ไม่ต้องการความเข้มของการส่องสว่างสูงมากนัก ประมาณ ๑๕,๐๐๐ cd
(Candela หรือ แรงเทยี น) หรือในยา่ นระยะมองเหน็ ที่นอ้ ยกวา่ ๑๕ ไมลท์ ะเล สว่ นตะเกยี งเลนสห์ มนุ จะพจิ ารณา
ติดตั้งในบริเวณประภาคาร/กระโจมไฟท่ีส�ำคัญ (Major Light) ซ่ึงต้องการระยะมองเห็นไกลประมาณ ๒๐ ไมล์
ทะเลขึ้นไป
๒. ตะเกียงแบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาต่อหน่วยค่อนข้างสูง จากการจัดหาล่าสุด
ในปงี บประมาณ ๒๕๕๐ ตะเกยี งระบบหมุนขนาด ๔๐๐ มม. มีราคาต่อหนว่ ยประมาณ ๒,๖๐๐,๐๐๐ บาท ในขณะที่
ตะเกียงเลนส์น่ิง (ส่วนมากเปน็ ตะเกียงขนาด ๓๐๐ มม.) มรี าคาต่อหน่วยประมาณ ๓๖๐,๐๐๐ บาท
๓. เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดด้านงบประมาณ กรมอุทกศาสตร์จึงได้จัดหาตะเกียงระบบเลนส์หมุนติดต้ัง
ตามประภาคาร/กระโจมไฟทีส่ �ำคญั ได้เพยี ง ๕ แหง่ คอื ประภาคารกาญจนาภเิ ษกแหลมพรหมเทพ จงั หวดั ภูเก็ต
ประภาคารเกาะนก จังหวัดตรัง ประภาคารเกาะตะเภาน้อย จังหวัดภูเก็ต กระโจมไฟเขาตังกวน จังหวัดสงขลา
และประภาคารระยอง (แหลมเจรญิ ) จังหวัดระยอง เทา่ น้ัน
๔. ตะเกียงระบบเลนสห์ มุน ฯ ที่ติดตั้งอยูต่ ามประภาคารและกระโจมไฟ ๕ แห่ง ในข้อ ๓ ข้างต้น
มอี ายกุ ารใชง้ านเกนิ กวา่ ๑๐ ปขี นึ้ ไป จงึ เรม่ิ มกี ารเสอ่ื มสภาพและช�ำรดุ ไปตามอายกุ ารใชง้ าน อกี ทงั้ บรษิ ทั Tideland
Signal Corporation ผูผ้ ลติ ได้ยกเลิกกิจการและสายการผลติ ไป ท�ำใหต้ อ้ งมกี ารจดั หาตะเกยี งแบบเลนสห์ มุน ฯ
มาตดิ ตง้ั แทน ซงึ่ ถา้ หากจดั หาจากตา่ งประเทศแลว้ จะจดั หาไดย้ ากและมรี าคาสงู ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมกี ารวจิ ยั และพฒั นา
สรา้ งตะเกยี งระบบเลนสห์ มนุ พลงั งานแสงอาทติ ยข์ น้ึ ในราคาถกู มาตดิ ตง้ั ใชง้ านทดแทนทง้ั ๕ พน้ื ท่ี เพอ่ื ด�ำรงสภาพ
การเปน็ เครอื่ งหมายชว่ ยการเดนิ เรอื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู และตดิ ตงั้ ถาวร รวมทงั้ ยงั สามารถขยายสายการผลติ ไปตดิ ตง้ั
ใช้งานบนประภาคารหรือกระโจมไฟอ่ืน ๆ ท่ีตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความส�ำคัญในการเดินเรือและมีแสงสว่างฉากหลัง
(Background Light) รบกวนซ่ึงมีการประเมินไว้ถึง ๒๔ แหง่ อนั จะส่งผลให้การเดนิ เรือในนา่ นนำ้� ไทยบริเวณเกาะ
ในทะเลและชายฝงั่ เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและปลอดภยั ยงิ่ ขึ้น
๒.๕ วัตถุประสงค์ของโครงการ
๒.๕.๑ เพอื่ ทดลองสรา้ งตะเกยี งระบบเลนสห์ มนุ พลงั งานแสงอาทติ ยท์ งั้ ระบบ (เรอื นตะเกยี งเลนส์
และชุดอุปกรณ์ควบคุมการท�ำงาน) ไว้ใช้ในงานเคร่ืองหมายช่วยการเดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ในพ้ืนท่ี
ทม่ี คี วามส�ำคญั ตอ่ การเดนิ เรอื และมแี สงไฟฉากหลงั รบกวน ซงึ่ มพี น้ื ทเ่ี ปน็ จ�ำนวนมาก แตม่ ขี อ้ จ�ำกดั ดา้ นงบประมาณ
ในการจัดหาตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์มาติดตั้งใช้งานให้ได้ท่ัวถึง ซ่ึงการสร้างตะเกียงระบบ
เลนสห์ มนุ ฯ ขน้ึ ไวใ้ ชง้ านเองจะมรี าคาตำ่� กวา่ จดั หาจากตา่ งประเทศทงั้ ระบบประมาณ ๔ - ๖ เทา่ ตวั ท�ำใหส้ ามารถ
ประหยดั งบประมาณของกองทพั เรอื ไดเ้ ป็นอย่างมาก และสามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพเท่าเทียมกนั
๒.๕.๒ เพ่ือพัฒนาองค์บุคคลและองค์ความรู้ของกรมอุทกศาสตร์ (โดยเฉพาะกองเครื่องหมาย
ทางเรือศูนย์สนับสนุนการเดินเรือ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเฉพาะทาง)

35

รวมผลงานวิจยั ทีม่ ีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดันสูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ให้ก้าวหน้าย่ิงข้ึน โดยในทางองค์บุคคลจะท�ำให้ก�ำลังพลมีความรู้ความเข้าใจในตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงาน
แสงอาทิตย์ ทั้งในด้านโครงสร้าง การท�ำงาน การวิเคราะห์ประสิทธิภาพระยะการเห็นไกลและก�ำลังการขยาย
ของเลนส์ ฯลฯ ให้สงู มากย่ิงขึน้
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ

๒ ปี
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๑,๑๗๑,๕๐๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
กองทพั เรือ โดย ส�ำนกั งานวจิ ยั และพฒั นาการทางทหารกองทพั เรือ (สวพ.ทร.) เปน็ หน่วยงาน
บริหารงานวิจัย
๓. คณุ ลักษณะส�ำคญั ของผลงาน
๓.๑ เป็นตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์แบบประกอบด้วยเลนส์จ�ำนวน ๖ เลนส์
(6 Lens Carousel) ความยาวโฟกสั (Focus Length) ๔๐๐ มม. ตวั เรือนตะเกียง (Housing) สงู ๑๐๕ ซม. เส้นผ่า
ศูนย์กลาง ๖๐ ซม. สร้างจากโลหะสเตนเลส เกรด ๓๐๔ หนา ๕ มม. และมีครอบนอกอะครีลิคหนา ๕ มม.
ครอบปิดเลนส์ โดยมนี ้�ำหนกั เมื่อประกอบทกุ ส่วนแล้วรวม ๖๗ กก.

36

รวมผลงานวิจัยที่มีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสู่อตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓.๒ ใช้เคร่ืองแสงสว่าง LED (LED Light Source) เป็นอุปกรณ์ก�ำเนิดแสงสว่างแก่ตะเกียงระบบ
เลนสห์ มนุ ฯ ซึง่ มีคณุ สมบตั ิท่ีส�ำคญั คอื มีความเขม้ ของการสอ่ งสว่างสูงมาก (ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ แรงเทียน ข้ึนไป)
มีอณุ หภูมิตำ�่ เมือ่ ใช้งาน (ประมาณ ๒๕ - ๓๐ °C) และมอี ายุการใช้งานทยี่ าวนาน (มากกวา่ ๕๐,๐๐๐ ช่วั โมง) ท�ำให้
ไมจ่ �ำเป็นต้องมีเครอ่ื งเปล่ียนหลอดไฟ (Lamp Changer)

๓.๓ เลนสเ์ ปน็ เลนสแ์ บบเฟรสเนล (Fresnel Lens) สร้างจากวสั ดุโพลคี าร์บอเนต (Polycarbonate)
มลี กั ษณะโปร่งใส แขง็ ทนแรงยืดและแรงกระแทกไดด้ ี ทนความร้อนไดส้ ูง โดยเลนส์มีขนาด ๔๙.๔ x ๒๒ ซม.
หนา ๘.๖ มม. ซงึ่ ทางโครงการวจิ ยั ฯ ไดส้ รา้ งแมแ่ บบ (Mold) ขนึ้ ใชง้ านในการหลอ่ เลนสเ์ พอ่ื ประกอบเปน็ ตะเกยี ง
ระบบเลนส์หมุน ฯ และสามารถหล่อเลนส์ขึ้นใช้งานอยา่ งต่อเนื่องไดไ้ ม่น้อยกว่า ๒๐๐ แผน่

๓.๔ ตะเกียงระบบเลนส์หมุน ฯ ท่สี ร้างข้ึน มรี ะยะเหน็ ได้ไกลของแสงไฟ (Luminous Range) อยทู่ ่ี
๒๐.๒ ไมลท์ ะเล จากความเข้มของการส่องสวา่ ง (Luminous Intensity) ๑๓๕,๙๒๗ แรงเทียน ของรอบการหมุน
๔ รอบ/นาที (4 RPM) ทีท่ ศั นวสิ ยั ทางอุตนุ ิยมวทิ ยา ๑๐ ไมลท์ ะเล หรอื T = 0.74
๓.๕ ได้น�ำไปติดต้ังใช้งานเป็นตะเกียงดวงหลักของประภาคารแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี และเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู การท�ำงานตง้ั แต่ ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ จนถงึ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
๔. ความต้องการผลงานวิจยั
๔.๑ การน�ำไปติดต้ังใช้งานของต้นแบบตะเกียงระบบเลนส์หมุน ฯ ในฐานะตะเกียงดวงหลักของ
ประภาคารแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี ในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีที่มีความส�ำคัญในการเดินเรือและมีแสงสว่าง
ฉากหลังรบกวนแห่งหนึ่ง
๔.๒ น�ำเข้าสู่สายการผลิตหลังจากผ่านการรับรองมาตรฐานผลงานวิจัยจากคณะกรรมการก�ำหนด
มาตรฐานยทุ โธปกรณก์ องทพั เรอื ใน ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๓ แลว้ โดยผลติ เพอ่ื น�ำไปตดิ ตงั้ ทดแทนตะเกยี งระบบเลนส์
หมุนพลังงานแสงอาทติ ย์เดิมทต่ี ดิ ตั้งอยตู่ ามประภาคารและกระโจมไฟทัง้ ๕ พื้นท่ี

37

รวมผลงานวิจัยทม่ี ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดันสูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๔.๓ จากข้อ ๔.๒ เม่ือผลิตและน�ำไปติดตั้งใช้งานแล้ว หากใช้งานได้ดีก็จะสามารถปรับปรุงและ
ผลิตไปตดิ ตั้งในพนื้ ที่อนื่ ๆ
๕. การตอบสนองภารกจิ
๕.๑ ตอบสนองตอ่ ภารกจิ การอ�ำนวยการ ประสานงาน แนะน�ำ ก�ำกบั การ ด�ำเนนิ การ ใหก้ ารสนบั สนนุ
และให้บริการด้านเคร่ืองหมายทางเรือในน่านน้�ำไทยของกรมอุทกศาสตร์ ให้มีความพอเพียง มีความปลอดภัย
และมีประสทิ ธภิ าพ รวมถงึ ครอบคลมุ ท่วั น่านน�้ำไทย
๕.๒ ตอบสนองตอ่ ภารกจิ ปกปอ้ งอธปิ ไตย และคมุ้ ครองผลประโยชนแ์ หง่ ชาตทิ างทะเลของกองทพั เรอื
ตลอดจนทัพเรอื ภาคท่ี ๑ ๒ และ ๓ ซง่ึ ครอบคลมุ ตลอดทวั่ นา่ นน�้ำไทย
๕.๓ ตอบสนองตอ่ นโยบายการวจิ ยั และพฒั นาของกระทรวงกลาโหม อาทิ แผนงานการวจิ ยั และพฒั นา
เพอ่ื การด�ำรงสภาพ และ/หรอื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพยทุ โธปกรณ์ แผนงานการวจิ ยั และพฒั นาเพอื่ สนบั สนนุ อตุ สาหกรรม
ปอ้ งกนั ประเทศ และสอดคลอ้ งกับเทคโนโลยีในการเฝา้ ตรวจและแจง้ เตอื น เป็นต้น
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวจิ ยั
พัฒนาจากขีดความสามารถเดิมในการดัดแปลง/ซ่อมท�ำตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์
ตราอักษร Tideland รุน่ TRB - 400 ทชี่ �ำรดุ ใชก้ ารไม่ได้จากประภาคารกาญจนาภิเษก แหลมพรมเทพ จังหวัด
ภเู กต็ มาซอ่ มท�ำ/ดดั แปลงสว่ นประกอบเกอื บทง้ั หมดของระบบตะเกยี งแบบเลนสห์ มนุ ซง่ึ ผลการซอ่ มท�ำ/ดดั แปลง
เปน็ ผลส�ำเร็จ จนระบบตะเกยี งแบบเลนส์หมุนพลงั งานแสงอาทติ ย์ทช่ี �ำรดุ สามารถใชง้ านได ้
ในการพฒั นาต่อไปอาจจดั หาเคร่อื งแสงสวา่ ง LED (LED Light Source) ทมี่ กี �ำลงั สอ่ งสวา่ งมากข้ึน
ซ่ึงจะท�ำให้ดวงไฟมีขนาดใหญ่และเห็นได้ไกลมากขึ้น รวมถึงเป็นการเตรียมการที่จะต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ระบบ
ควบคุมติดตามระยะไกลและสารสนเทศเคร่ืองหมายทางเรือ (AIS : Automatic Identification System)
ทีต่ ิดตง้ั กบั เคร่อื งหมายช่วยการเดินเรือ (AIS Aton) หรอื อปุ กรณ์ทวนสญั ญาณระบบ AIS (AIS Repeater Aton)
๗. การประเมินด้านมาตรฐานทางทหาร
การรบั รองมาตรฐานผลงานวิจยั จากคณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานยทุ โธปกรณ์ กองทพั เรอื ตามค�ำสั่ง
คณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานยุทโธปกรณ์ กองทพั เรือ (เฉพาะ) ที่ ๑/๒๕๖๓ เร่อื ง รับรองมาตรฐานผลงานวิจยั
โครงการวิจยั และพฒั นาการสร้างตะเกียงระบบ เลนสห์ มนุ พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อใช้กับประภาคาร/กระโจมไฟ
ของ อศ. ลง ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๓
๘. ความพร้อมในการผลติ
ปัจจุบันได้เข้าสู่สายการผลิต โดยกรมอุทกศาสตร์ได้ท�ำการจ้างท�ำตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงาน
แสงอาทติ ย์ จ�ำนวน ๑ ชุด วงเงนิ ๓๕๐,๐๐๐ บาท ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เพือ่ จดั หาทดแทนของเดิมส�ำหรับ
ติดต้งั ทดแทนทีป่ ระภาคารเกาะนก จังหวัดตรงั
๙. ความพร้อมด้านงบประมาณในการผลติ
ใช้งบประมาณของกรมอุทกศาสตร์ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ กลยุทธ์ด้านการส่งก�ำลังบ�ำรุง
งบรายจา่ ยอน่ื ยอดคา่ ใชจ้ า่ ย : การจดั หา ผลติ เพอื่ แจกจา่ ยและซอ่ มบ�ำรงุ สายอทุ กศาสตร์ ขอ้ ๕. คา่ พสั ดสุ นบั สนนุ
งานเครอื่ งหมายทางเรือ
๑๐. ขอ้ มลู ส�ำคัญอืน่ ๆ ของผลงานวิจัย
๑๐.๑ ต้นแบบตะเกียงระบบเลนส์หมุนพลังงานแสงอาทิตย์สามารถถอดแยกออกเป็นชิ้นส่วนหลัก
ได้ ๑๔ ชน้ิ เพื่อใหส้ ะดวกตอ่ การขนยา้ ย และน�ำไปติดตง้ั ในภูมปิ ระเทศต่าง ๆ

38

รวมผลงานวจิ ัยท่มี ีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๑๐.๒ ตน้ แบบตะเกยี งระบบเลนสห์ มนุ ฯ ไดย้ ดึ ตามมาตรฐานของสมาคมประภาคารระหวา่ งประเทศ
(International Association of Marine Aids to Navigation and Lighthouse Authorities : IALA) ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ได้แก่
๑๐.๒.๑ สขี องสัญญาณไฟ ตามขอ้ เสนอแนะ (Recommendation) ท่ี E–200-1 คอื ระบบไฟ
ของสญั ญาณไฟมี ๖ สี คอื ขาว ด�ำ แดง เขยี ว เหลอื ง และ นำ�้ เงิน
๑๐.๒.๒ จังหวะและลักษณะไฟ ตามข้อเสนอแนะ (Recommendation) ที่ E - 110
เรอื่ ง ลกั ษณะของจังหวะไฟที่ใชก้ ับเครื่องหมายทางเรือ
๑๐.๒.๓ ใช้หลอดไฟไดโอดเปล่งแสง (LED) ตามค�ำแนะน�ำ (Guideline) ที่ G - 1043
เรอ่ื ง แหลง่ ก�ำเนดิ ไฟที่ใชก้ ับเคร่อื งหมายทางเรือทางทัศนะ
๑๐.๒.๔ ระยะก�ำหนดในการเห็นแสงไฟ (Nominal Range) ในเวลากลางคืน และระยะ
เห็นได้ไกล ของแสงไฟ (Luminous Range) รวมทั้งแสงสว่างของแหล่งก�ำเนิดที่ตกมาถึงดวงตาผู้ตรวจ ตามข้อ
เสนอแนะ (Recommendation) ที่ E–200-2 เรื่อง การค�ำนวณ นิยาม และข้อก�ำหนดของระยะเห็นได้ไกล
ของแสงไฟ (Luminous Range)
๑๐.๒.๕ ความน่าเช่ือถือและความพร้อมใช้งานตามข้อเสนอแนะ (Recommendation)
ที่ O - 130 เรื่อง เป้าหมายในการจัดอันดับและความพร้อมใช้งานส�ำหรับเครื่องหมายทางเรือระยะใกล้
และค�ำแนะน�ำ (Guideline) ท่ี G-1035 เรื่อง ความพรอ้ มใช้งานและความเช่อื ถือไดข้ องเครื่องหมายทางเรือ
๑๐.๓ อุปกรณแ์ ละอะไหลต่ า่ ง ๆ ของต้นแบบตะเกียงระบบเลนสห์ มุน ฯ สว่ นใหญส่ ามารถจัดหาได้
ในประเทศ ยกเว้นเคร่ืองแสงสว่าง LED (LED Light Source) อันเป็นอุปกรณ์มาตรฐานจะต้องจัดหา
จากต่างประเทศ
๑๐.๔ ก�ำลงั พลของโครงการวจิ ยั ฯ ทงั้ หมดเปน็ ก�ำลงั พลของกองเครอ่ื งหมายทางเรอื ศนู ยส์ นบั สนนุ
การเดินเรือ กรมอุทกศาสตร์ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ความช�ำนาญ และมีประสบการณ์ในงานเคร่ืองหมายทางเรือ
เป็นอยา่ งดี

๒. ใบจกั รนกิ เกิลอะลูมิเนยี มบรอนซส์ �ำหรบั เรือตรวจการณ์ชายฝงั่ (PCF)

๑. ช่ือผลงานวิจยั
ใบจกั รนิกเกลิ อะลมู ิเนียมบรอนซส์ �ำหรบั เรอื ตรวจการณ์ชายฝงั่ (PCF)
๒. ทม่ี าของผลงานวิจัย
๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการหล่อใบจกั รนิกเกลิ อะลมู ิเนียมบรอนซ์ส�ำหรบั เรอื ตรวจการณ์ชายฝ่ัง (PCF)
๒.๒ หนว่ ยเจ้าของโครงการ
กรมอูท่ หารเรอื
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาเอก เสวยี ง เถือ่ นบุญ
๒.๔ ความเปน็ มา/ปญั หาและสาเหตุ
ความเป็นมา

39

รวมผลงานวจิ ยั ที่มีศกั ยภาพพรอ้ มผลักดันส่อู ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ภารกจิ หลกั ของกรมอทู่ หารเรอื (อร.) ซึ่งเป็นหนว่ ยเทคนคิ ของกองทพั เรือ คือ การซอ่ ม/สร้างเรอื รบ
ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจให้กองทัพเรือ ในการปกป้องอธิปไตย รักษาผลประโยชน์ทางทะเล
รวมถงึ การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ตา่ ง ๆ ท�ำใหก้ รมอทู่ หารเรอื ตอ้ งมกี ารพฒั นาเทคโนโลยใี นดา้ นการซอ่ ม/สรา้ งเรอื
เพ่ือให้มีความพร้อมต่อภารกิจหลักอยู่เสมอ ที่ผ่านมา กรมอู่ทหารเรือ มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
ในดา้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื การพงึ่ พาตนเองอยเู่ สมอ งานวจิ ยั ทโี่ ดดเดน่ จะเปน็ การพฒั นาทางดา้ นโลหะเพอ่ื การผลติ ชน้ิ สว่ น
ทางวศิ วกรรมทดแทนการน�ำเขา้ โครงการทสี่ �ำคญั คอื การพฒั นาการผลติ ใบจกั รนกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซ์ (NAB)
เพ่อื ทดแทนการน�ำเขา้
กองทัพเรอื โดยกรมอูท่ หารเรอื
มีความพยายามอย่างต่อเน่ืองในการพัฒนาการหล่อและซ่อมบ�ำรุงใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์
แตด่ ว้ ยการผลิตใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซเ์ ปน็ งานท่ีมคี วามซับซ้อน เรม่ิ ตั้งแต่การหลอ่ ใบจักร ซ่ึงขน้ั ตอนน้ี
จะสร้างแบบใบจักร แลว้ น�ำมาสร้างแบบหล่อทราย จากนน้ั ด�ำเนนิ การเทน้�ำโลหะลงสู่แบบ ซ่ึงตอ้ งควบคมุ ตัวแปร
หลายอย่างเพ่ือให้เกิดโครงสร้างทางโลหะวิทยาที่เหมาะสม เช่น ปริมาณธาตุผสม ช่วงอุณหภูมิการหลอมโลหะ
อณุ หภมู กิ ารอบชนิ้ งาน เปน็ ตน้ นอกจากนนั้ ภายหลงั การหลอ่ ส�ำเรจ็ ยงั มขี นั้ ตอนการปรบั แตง่ ใบจกั รใหไ้ ดต้ ามแบบ
ตลอดจนการหาสมดุลใบจกั ร ความซับซอ้ นในการหล่อจงึ จ�ำเป็นต้องมีทักษะและความช�ำนาญสงู
โครงการวิจัยการหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ส�ำหรับเรือตรวจการชายฝั่งเป็นโครงการวิจัย
ที่หน่วยผใู้ ช้ คอื กรมอทู่ หารเรอื เปน็ ผวู้ จิ ยั เองโดยใชท้ รพั ยากรทางการวิจัยท้ังนกั วิจยั และอปุ กรณท์ ่มี อี ย่แู ลว้ ของ
กรมอู่ทหารเรือ เพื่อด�ำเนินการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาการหล่อใบจักรซึ่งเป็นยุทโธปกรณ์ที่มีความส�ำคัญของเรือรบ
ส่งผลใหเ้ รือรบมีความพร้อมรบและสามารถปฏิบตั ภิ ารกจิ ตามที่ ทร. มอบหมายได ้
๒.๕ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
๑. เพอ่ื พฒั นาเทคนิคการหล่อใบจักรนิกเกิลอะลมู เิ นียมบรอนซ์ ขนาด ๑๐๐ กก. ส�ำหรับใชง้ าน
ในเรือตรวจการณช์ ายฝ่ัง (PCF)
๒. เพื่อหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ต้นแบบส�ำหรับใช้งานในเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง
การด�ำเนินงานสามารถท�ำได้ตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ โดยหล่อใบจักรและทดสอบการใช้งานส�ำหรับเรือ ต.๒๑๘
จ�ำนวน ๒ ใบและใบจักรของเรือประเภทอ่ืนอีกจ�ำนวน ๕ ใบ รวมใบจักรที่หล่อท้ังหมดจ�ำนวน ๗ ใบ ขณะนี้
อยู่ระหว่างการเสนอของบประมาณเพ่ือขยายผลโครงการวิจัย เพ่ือหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ส�ำหรับ
เรอื ตรวจการณช์ ายฝง่ั แบบอ่ืน ๆ ปัจจบุ นั มีแบบใบจกั รส�ำหรบั เรือตรวจการณช์ ายฝ่งั จ�ำนวน ๔ แบบ โดยเสนอ
ของบประมาณจาก วท.กห. งป.๖๒
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๓ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จาํ นวน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ

กระทรวงกลาโหม

40

รวมผลงานวจิ ัยทม่ี ีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓. คุณลกั ษณะส�ำคัญของผลงาน
๓.๑ ส่วนผสมทางเคมี

ช้ินงาน Cu Al ส่วนผสมทางเคมี Pb Si
๘.๕-๙.๕ Fe Ni Mn ๐.๐๓ max ๐.๑ max
มาตรฐาน C๙๕๘๐๐ ๗๙ min. ๓.๕-๔.๕ ๔.๐-๕.๐ ๐.๘-๑.๕

๓.๒ สมบัตทิ างกล

สมบตั ิทางกล ความเค้นแรงดงึ ความเค้นแรงดึง เปอร์เซ็นตก์ าร ความแขง็ ความตา้ นทาน
มาตรฐาน N/mm2 พิสูจน์ ยืดตัว % HB ต่อแรงกระแทก J
C๙๕๘๐๐ ๕๘๕ N/mm2 ๑๕
๒๔๐ ๘๔-๘๙ ๒๒

๓.๓ กระบวนการผลิต
๑. ท�ำแบบใบจักร โดยในขัน้ ตอนนี้จะน�ำใบจักรทต่ี อ้ งการหลอ่ มาสรา้ งเป็นแบบไม้
๒. ท�ำแบบทราย ในข้ันตอนนี้จะน�ำแบบไม้ของใบจักรตามข้อ ๔.๑ กดลงในแบบทราย
และสร้างส่วนประกอบอื่น ๆ
๓. การหลอ่ ใบจกั ร ในขน้ั ตอนนจ้ี ะหลอมโลหะโดยใสส่ ว่ นผสมตามล�ำดบั ทเ่ี หมาะสม เมอื่ สว่ นผสม
ท้งั หมดละลายเข้ากันได้ดีแลว้ จะเทน้�ำโลหะเข้าสู่แบบตามทีส่ รา้ งไว้ในข้อ ๔.๒
๔. การอบใบจักรภายหลงั การหล่อ ในข้นั ตอนนีจ้ ะน�ำใบจักรมาอบในเตาอบทอ่ี ณุ หภูมิ ๖๗๕ °C
เปน็ เวลา ๗ ชม. เพ่อื ปรับโครงสร้างทางจลุ ภาคของใบจกั รให้มีความตา้ นทานการกัดกรอ่ นไดด้ ี
๕. ปรับแต่สมดุลใบจักร ในขั้นตอนน้ีจะปรับแต่งใบจักรให้มีความสมดุลโดยใช้การเจียร
เพ่ือไม่ให้ใบจักรสัน่ เมอื่ น�ำไปใชง้ าน
๔. ความตอ้ งการผลงานวิจยั
ความตอ้ งการผลงานวจิ ยั ประมาณ ๕ ใบตอ่ ปี

รูป ก และ ข ใบจกั รนกิ เกิลอะลมู เิ นียมบรอนซ์หลงั จากท�ำจากแบบแลว้

(ก) ก่อนการอบ (ข) ภายหลงั การอบท่ีอุณหภูมิ
๖๗๕°C เปน็ เวลา ๗ ชม.
41

รวมผลงานวจิ ัยทมี่ ศี กั ยภาพพร้อมผลักดนั ส่อู ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๕. การตอบสนองภารกิจ
๕.๑ การประหยัดงบประมาณและลดการสูญเสีย
๕.๑.๑ การจัดซื้อใบจักรแบบนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์จากต่างประเทศ ถ้าน�้ำหนักใบจักร
ประมาณ ๒๐๐ กิโลกรัม กิโลกรัมละ ๕,๐๐๐ บาท คิดเป็นราคา พวงละ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงหากผลิต
ขึ้นใช้งานเองจะมีค่าใช้จ่ายไม่เกิน กิโลกรัมละ ๑,๕๐๐ บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นราคา พวงละ ๓๐๐,๐๐๐ บาท
ซ่ึงจะลดค่าใชจ้ ่ายลงพวงละ ๗๐๐,๐๐๐ บาท
๕.๑.๒ ปจั จุบันเรอื ตรวจการณ์ชายฝงั่ (PCF) ในกองทพั เรอื มจี �ำนวนประมาณ ๒๐ ล�ำ ซึง่ หาก
ด�ำเนนิ การเปล่ยี นใบจักรพร้อมกันในเรอื ทม่ี ีอยู่ในปจั จบุ ัน ๒๐ ล�ำ จะต้องจดั ซอ้ื จากต่างประเทศดว้ ยงบประมาณ
ไมต่ ำ่� กวา่ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐.- บาท (ยี่สบิ ลา้ นบาทถว้ น) แต่หากเปล่ยี นใบจกั รใหมเ่ ป็นการหล่อเองดว้ ยวสั ดุนิกเกลิ
อะลูมิเนียมบรอนซ์ จะมีค่าใช้จ่าย ประมาณ ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท (หกล้านบาทถ้วน) การด�ำเนินการวิจัยครั้งนี้
หากน�ำผลงานวิจยั มาใชง้ านจริง สามารถลดคา่ ใชจ้ ่ายไดถ้ งึ ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สิบสองลา้ นบาทถว้ น) ซึง่ มีความ
คุ้มคา่ เปน็ อย่างยง่ิ หากเปรียบเทียบคา่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ด้านการวจิ ัย
๕.๑.๓ ค่าใช้จ่ายอื่นนอกจากราคาใบจักรแล้ว ในการประมาณค่าความเสียหายจากการซ่อม
ท�ำใบจักรจะต้องพิจารณาค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ร่วมด้วยประกอบด้วย เช่น ค่าใช้จ่ายในการน�ำเรือเข้าเปลี่ยนใบจักร
ในอแู่ หง้ โดยเฉพาะทพั เรอื ภาคท่ี ๓ ตอ้ งวา่ จา้ งบรษิ ทั เอกชน นอกจากน้ี ยงั มคี า่ เสยี โอกาสระหวา่ งรอการซอ่ มบ�ำรงุ
ซึ่งไม่สามารถใชเ้ รือในการปฏิบัติภารกิจได้
๕.๒ การเพ่ิมอ�ำนาจก�ำลังรบหรือเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการท�ำงาน
โครงการวจิ ยั การหลอ่ ใบจกั รนกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซส์ �ำหรบั เรอื ตรวจการณช์ ายฝง่ั เปน็ โครงการวจิ ยั
ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื สรา้ งความพรอ้ มรบใหก้ บั เรอื ตรวจการณช์ ายฝง่ั ของกองทพั เรอื โดยยกระดบั ขดี ความสามารถ
การหล่อใบจักรของกรมอู่ทหารเรือ ซึ่งเดิมกรมอู่ทหารเรือสามารถหล่อใบจักรแมงกานิสอะลูมิเนียมบรอนซ์
ซ่ึงมีอายุการใช้งานประมาณ ๓ - ๕ ปี เนื่องจากเกิดปัญหาการกัดกร่อน ให้กรมอู่ทหารเรือสามารถหล่อใบจักร
นิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ซ่ึงมีสมบัติทางกลและความต้านทานการกัดกร่อนดี โดยใช้ทรัพยากรในด้านการผลิต
ซง่ึ มอี ยเู่ ดมิ ของกรมอทู่ หารเรอื เชน่ เตาหลอมโลหะ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ สง่ เสรมิ การพง่ึ พาตนเองตามหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เมอื่ กรมอทู่ หารเรอื สามารถหลอ่ ใบจกั รนกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซไ์ ดเ้ อง จงึ ประหยดั งบประมาณ
และสามารถซอ่ มท�ำใบจักรได้ตามแผนโดยไมต่ ้องสงั่ ซ้ือใบจกั รจากต่างประเทศ ซง่ึ จะใช้เวลาในการผลิตเน่ืองจาก
ใบจักรของเรอื แต่ละประเภทมีลักษณะเฉพาะจึงไมม่ กี ารผลิตใบจักรส�ำรองคลงั
๕.๓ เกิดผลประทบทด่ี ี
โครงการวิจัยการหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ เป็นโครงการวิจัยท่ีสามารถ
น�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริงและมีการด�ำเนินการอย่างเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่งานวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้
พ้ืนฐานไปจนถึงข้ันการน�ำไปใช้งานจริงเพ่ือให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน สามารถน�ำไปเป็นต้นแบบการวิจัย
ท่ีประสบผลส�ำเร็จได้กรมอู่ทหารเรือด�ำเนินการวิจัยด้านการผลิตใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์อย่างต่อเนื่อง
โดยมีโครงการวจิ ยั ท่สี �ำคัญดังนี้
๕.๓.๑ โครงการวิจัยการหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ (๒๕๕๓ - ๒๕๕๕) โครงการน้ี
กรมอทู่ หารเรอื รว่ มวจิ ยั กบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั จากส�ำนกั งาน

42

รวมผลงานวิจยั ที่มีศักยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

คณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ซง่ึ เปน็ โครงการวจิ ยั ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นการหลอ่ ใบจกั ร
นกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซ์ ผลการด�ำเนนิ งานท�ำใหเ้ กดิ องคค์ วามรพู้ นื้ ฐานดา้ นการหลอ่ โลหะนกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซ์
โดยเฉพาะความรู้เรื่องโครงสร้างทางโลหะวิทยาของนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ซึ่งมีความซับซ้อนมาก
อีกท้ังกระบวนการทางความร้อนท่มี ีความส�ำคญั ต่อโครงสรา้ งจุลภาค โดยผลส�ำเร็จของโครงการวจิ ัย คอื ใบจักร
ต้นแบบขนาด ๑๕ กก. ที่มีความสมบรู ณท์ ั้งโครงสร้างจุลภาคและความแขง็ แรงเทยี บเท่ามาตรฐาน
๕.๓.๒ โครงการวิจัยการหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ส�ำหรับเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง
(PCF) (๒๕๕๘ - ๒๕๖๐) โครงการน้ีได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม
(วท.กห.) ซ่ึงเป็นโครงการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพ่ือน�ำองค์ความรู้จากโครงการวิจัยท่ี ๑ มาขยายผล เพ่ือผลิต
ใบจกั รนกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซส์ �ำหรบั เรอื ตรวจการณช์ ายฝง่ั ซงึ่ มนี ำ�้ หนกั ใบจกั รไมเ่ กนิ ๑๐๐ กก. ผลการด�ำเนนิ งาน
ท�ำให้สามารถผลิตใบจกั รจ�ำนวน ๒ พวง ส�ำหรับเรอื ตรวจการณช์ ายฝั่ง ต.๒๑๘ และผา่ นทดสอบการใชง้ านจริง
เปน็ เวลา ๑ ปี พบวา่ ใบจกั รผลผลติ ของโครงการวจิ ยั ฯ สามารถใชง้ านไดด้ ี โดยไมม่ ปี ญั หาการสน่ั สะเทอื นโครงการ
วิจัยการหล่อใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ส�ำหรับเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (PCF) ได้รับการรับรองมาตรฐาน
จากคณะกรรมการมาตรฐานยุทโธปกรณ์กองทพั เรือ (กมย.ทร.) ใน งป.๖๐
จากผลการศกึ ษาวิจัยของโครงการวิจยั ท่ี ๑ และ ๒ ท�ำใหก้ รมอู่ทหารเรอื เช่ือมน่ั ว่า การหลอ่ ใบจักร
นิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์ส�ำหรับเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (PCF) ซ่ึงมีน้�ำหนักประมาณ ๑๐๐ - ๒๐๐ กิโลกรัม
สามารถด�ำเนินการได้และปัจจุบันยังต้องน�ำเข้าใบจักรนิกเกิลอะลูมิเนียมบรอนซ์จากต่างประเทศ ดังนั้นกรมอู่
ทหารเรอื จงึ เสนอโครงการขยายผลการหลอ่ ใบจกั รนกิ เกลิ อะลมู เิ นยี มบรอนซส์ �ำหรบั เรอื ตรวจการณช์ ายฝง่ั งป.๖๒
ขณะนี้อย่รู ะหว่างการพจิ ารณาของ วท.กห.
๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยีของผลงานวจิ ยั
โครงการวิจยั มคี วามพร้อมเข้าสูส่ ายการผลติ
๗. การประเมนิ ดา้ นมาตรฐานทางทหาร
โครงการวจิ ยั ฯ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน กมย.ทร. ใน งป.๖๑
๘. ความพร้อมในการผลติ
โครงการวิจัยมีความพร้อมเข้าสู่สายการผลิต โดยได้รับงบประมาณการน�ำงานวิจัยเข้าสู่สายการผลิต
ใน งป.๖๓ โดยผลิตใบจกั รจ�ำนวน ๓ พวง ได้แก่ ใบจักรชดุ เรอื ต.๒๗๐ จ�ำนวน ๑ พวง และ ใบจกั รชดุ เรอื ต.๒๓๕
จ�ำนวน ๒ พวง
๙. ความพร้อมดา้ นงบประมาณในการผลติ
กรมอ่ทู หารเรือมีความพรอ้ มในการหลอ่ ใบจกั รโดยใช้ งป. ของกรมอู่ทหารเรือ ในการด�ำเนนิ การหล่อ ฯ
จ�ำนวน ๔ พวง/ปี
๑๐. ข้อมูลส�ำคัญอนื่ ๆ ของผลงานวิจัย
-

43

รวมผลงานวิจัยทีม่ ีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสูอ่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓. ปลอกทวแี รงถอย (Blank Firing Attachment หรอื Adapter) ของปืนกล
ขนาด ๗.๖๒ มลิ ลิเมตร แบบ เอ็ม ๖๐

๑. ชื่อผลงานวิจัย
โครงการปลอกทวแี รงถอย ((Blank Firing Attachment หรอื Adapter) ของปนื กล ขนาด ๗.๖๒
มิลลเิ มตร แบบ เอ็ม ๖๐

๒. ทมี่ าของผลงานวจิ ยั
๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการปลอกทวแี รงถอย (Blank Firing Attachment หรอื Adapter) ของปนื กล ขนาด ๗.๖๒
มลิ ลเิ มตร แบบ เอม็ ๖๐
๒.๒ หนว่ ยเจ้าของโครงการ
กองเรือล�ำนำ�้ กองเรือยุทธการ
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาเอก ชัชวาลย์ โตรุ่ง
๒.๔ ความเปน็ มา/ปัญหาและสาเหตุ
กองเรอื ล�ำนำ�้ กองเรอื ยทุ ธการ (กลน.กร.) มหี นา้ ท่ี ในการจดั เตรยี มก�ำลงั ใหพ้ รอ้ มในการฏบิ ตั กิ าร
ในล�ำน้�ำทว่ั ประเทศและส่งก�ำลงั พล ยทุ โธปกรณ์ให้กบั หน่วยเรอื รักษาความสงบเรียบร้อยตามล�ำแมน่ ำ้� โขง (นรข.)

44

รวมผลงานวิจัยทม่ี ศี กั ยภาพพร้อมผลกั ดันสอู่ ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ซึง่ ปืนกลขนาด ๗.๖๒ มลิ ลเิ มตร แบบ เอม็ ๖๐ เป็นอาวุธเสริมส�ำหรับเรือเร็วตรวจการณล์ �ำน�ำ้ และเปน็ อาวุธหลกั
ติดต้ังกับเรือจู่โจมล�ำน�้ำ และใช้เป็นอาวุธป้องกันที่ต้ัง แต่จากการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ปัญหาจากการฝึก
ยุทธวิธีประจ�ำปีของหน่วย ตั้งแต่ปี งป. ๕๔ - ๕๗ พบว่า การฝึกไม่เกิดประสิทธิภาพไม่สามารถวัดผลการฝึก
ทางยุทธวิธีได้ เนื่องจากปืนกล ฯ ไม่สามารถยิงได้อย่างต่อเน่ืองหรือยิงกลไม่ได้ อันมีสาเหตุมาจากยุทโธปกรณ์
๒ ชนดิ ทใ่ี ชใ้ นการฝกึ ไมเ่ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั หรอื ไมไ่ ดม้ าจากผผู้ ลติ เดยี วกนั คอื ปก. ๗.๖๒ มม. เอม็ ๖๐ กบั ปลอก
ทวแี รงถอยทไ่ี ดร้ บั มาพรอ้ มกบั ปนื (จดั หาจากประเทศสหรฐั ฯ) และกระสนุ ฝกึ แบบ Blank ทไี่ มไ่ ดม้ าจากมาตรฐาน
หรอื จากโรงงานผลติ เดยี วกนั กบั สหรฐั ฯ/นาโต้ ส�ำหรบั ทร. ไดจ้ ดั หากระสนุ ฝกึ แบบหวั จบี หรอื BLANK M.82 LINK
ท่ีใช้มาจากหลายแหล่งผลิต/หลายมาตรฐาน/หลายตราอักษร และปลอกทวีแรงถอย ฯ ของเดิมท่ีใช้ราชการ
ส่วนใหญ่เร่ิมจะช�ำรุดเสียหาย ดังน้ัน เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นอย่างย่ังยืนจาก กระสุนฝึกแบบ Blank
หลายตราอกั ษร และทดแทนปลอกทวแี รงถอยเดมิ ทเ่ี รมิ่ ช�ำรดุ และการจดั หาจากตา่ งประเทศมรี าคาสงู ลดการผกู ขาด
กระสุนฝึกตามมาตรฐานของผู้ผลิตปืนกล ฯ จึงได้เกิดโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างปลอกทวีแรงถอย
ของ ปก. ๗.๖๒ มม. เอ็ม ๖. ทสี่ ามารถน�ำไปใชย้ ิงได้กับกระสุนฝกึ แบบ Blank ที่ ทร. จดั หาทกุ ตราอักษร ท่ใี ช้แล้ว
ปลอดภยั ตอ่ ก�ำลงั พล ไมส่ รา้ งความเสยี หายตอ่ ตวั ปน่ั และตอบสนองทางยทุ ธวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารล�ำนำ้� ซงึ่ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ
ความพรอ้ มส�ำหรบั ก�ำลังพล เกดิ การพัฒนาขีดความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ารในล�ำนำ้� ได้อย่างต่อเน่อื งบนพน้ื ฐาน
ของการพึ่งพาตนเอง
๒.๕ วัตถุประสงค์
เพื่อออกแบบและสร้างช้ินงานต้นแบบ (Prototype) ของปลอกทวีแรงถอยปืนกล ขนาด
๗.๖๒ มลิ ลิเมตร แบบ เอ็ม ๖๐ (ปก.๗.๖๒ มม. เอม็ ๖๐) ท่ตี ดิ ตงั้ ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์พิเศษ สามารถยงิ กับ
“กระสุนฝึกแบบหัวจีบ หรอื BLANK M.82 LINK” ที่เป็นผลติ ภณั ฑห์ ลายตราอักษร ทมี่ แี รงดันจากดินส่งกระสนุ
ทไ่ี มเ่ ทา่ กนั ได้ โดยปืนกล ฯ สามารถท�ำการยงิ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองไม่ต�่ำกว่า ๑๐๐ นดั ต่อนาที และตอบสนองการฝกึ
ทางยทุ ธวิธีปฏิบัตกิ ารล�ำนำ�้ และตดิ ตั้งในเรอื ขนาดเลก็ ได้
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ

๖ เดอื น
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๖๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
สวพ.ทร.
๓. คุณลกั ษณะส�ำคญั ของผลงาน
เป็นปลอกทวีแรงถอยปืนกลขนาด ๗.๖๒ มิลลิเมตร แบบ เอ็ม ๖๐ (ปก.๗.๖๒ มม. เอ็ม ๖๐)
ที่มสี มรรถนะดีกว่าจดั หาจากตา่ งประเทศ ดังนี้
๓.๑ สามารถยิงกับกระสนุ ฝึกแบบ กระสุนฝกึ แบบหวั จีบ หรือ BLANK M.82 LINK ทีเ่ ป็นผลิตภัณฑ์
ของประเทศต่าง ๆ จากหลายแหลง่ ผลิต/หลายมาตรฐาน/หลายตราอกั ษร ทม่ี คี ่าก�ำลงั ดันดินส่งกระสนุ ไม่เท่ากัน
โดยสามารถปรับแตง่ ก�ำลังแรงถอยปืนใหเ้ พมิ่ ขน้ึ /ลดลงได้ ๘ ระดบั ประหยดั งบประมาณในการจัดหากระสุนฝึก
ท่ีมรี าคาถูกกวา่ จากการทม่ี ที างเลอื กท่จี ะจัดหากระสนุ ฝกึ จากประเทศใดกไ็ ด้

45

รวมผลงานวจิ ยั ทีม่ ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓.๒ ท�ำให้ปืนท�ำการยิงกลได้อย่างต่อเนื่องไม่ต�่ำกว่า ๑๐๐ นัดต่อนาที ตามการฝึกทางยุทธวิธี
หรอื อตั ราการยงิ ต่อเนื่องสูงสดุ ๒๐๐ นดั ต่อนาที โดยปนื หรืออปุ กรณท์ ่เี ก่ียวขอ้ งไม่ช�ำรุดเสยี หาย มอี ายกุ ารใชง้ าน
นานกวา่ ล�ำกลอ้ งปืนประมาณ ๓๐,๐๐๐ - ๕๐,๐๐๐ นดั และคา่ บ�ำรงุ รักษาต่ำ�
๓.๓ ไม่สร้างความเสียหายต่อตัวปืนกล ฯ มีความปลอดภัยต่อ พลยิง พลบรรจุ และก�ำลังพลท่ีอยู่
ดา้ นข้างปืนขณะท�ำการยิงและใช้งานงา่ ย โดยไม่ตอ้ งใช้อปุ กรณพ์ เิ ศษ
๔. ความต้องการผลงานวิจัย
ความต้องการผลงานวิจัย ส�ำหรับหน่วยเรือล�ำน้�ำ จ�ำนวนขั้นต่�ำ ๔๑ ชุด (นรข. ขั้นต�่ำสุด ๒๖ ชุด
และ กลน.กร.ขั้นต�่ำสุด ๑๕ ชดุ ) และจ�ำนวนมากสุด ๑๑๐ ชุด ทั้งนี้ไม่รวมหน่วยตา่ ง ๆ ใน ทร. เชน่ เรอื ตา่ ง ๆ
ในกองเรอื ยุทธการ (เว้นเรือ ๑๙ ล�ำของ กลน.กร.) ฮ.ของ กบร.กร. สอ.รฝ. และ พล.นย. เป็นตน้
๕. การตอบสนองภารกิจ
การฝกึ ก�ำลงั พลใหเ้ กดิ ความพรอ้ มกอ่ นการยงิ ปนื ดว้ ยกระสนุ จรงิ และการฝกึ ทางยทุ ธวธิ ชี น้ั ตน้ ถงึ ขน้ั สงู
ทไ่ี มใ่ ช้กระสุนจรงิ เช่น เรอื – เรือ, เรอื – หนว่ ยบก, เรอื - ฮ.โจมตี และ เรือ - บก - ฮ.โจมตี
๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยีของผลงานวิจัย
สามารถให้ภาคเอกชนในประเทศด�ำเนินการผลิตไดท้ กุ ขน้ั ตอน
๗. การประเมินดา้ นมาตรฐานทางทหาร
การรบั รองมาตรฐานจากคณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานกองทพั เรอื (กมย.ทร.) ตามขา่ ว ฝา่ ยเลขานกุ าร
คณะอนุกรรมการพิจารณาความถูกต้องผลงานวิจัย (กลภ.สวพ.ทร.) ลง ๑๙ ก.ค.๖๒ มวว.๑๙๐๙๑๐ ก.ค.๖๒
และ ข่าวฝา่ ยเลขานุการคณะนุกรรมการ ฯ ลง ๓๐ ส.ค.๖๒ มวว.๐๘๑๓๒๐ ส.ค.๖๒
๘. ความพรอ้ มในการผลติ
ความสามารถในการผลิตสงู สุด ๓๖๐ ชดุ ในระยะเวลา ๑๐ - ๑๒ เดอื น ขึ้นกับเง่ือนไขการน�ำเขา้ วสั ดุ
โดยมบี รษิ ัท วาย.เอส.ทูลส์ จ�ำกดั เปน็ ผู้ผลติ
๙. ความพร้อมด้านงบประมาณในการผลิต
-
๑๐. ขอ้ มลู ส�ำคัญอ่ืน ๆ ของผลงานวิจยั
ยงั ไมม่ กี ารผลิตเพิม่ หลงั จากปิดโครงการ ฯ จะเปน็ การเบกิ ยมื งานตน้ แบบ จ�ำนวน ๒ ชดุ ไปใช้ราชการ
เพอ่ื การฝกึ ของ กลน.กร. เทา่ นนั้ และขออนสุ ทิ ธบิ ตั รเมอ่ื ๒๗ ส.ค.๕๘ เลขที่ ค�ำขอ ๑๖๐๓๐๐๐๘๖๑ กรมทรพั ยส์ นิ
ทางปัญญา ออกให้ เมอื่ ๕ มี.ค.๖๑ และอยูร่ ะหว่างการขอขยายระยะเวลาคมุ้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปัญญา

๔. ปลอกทวแี รงถอย (Blank Firing Attachment : BFA) ของปืนกลขนาด .๕๐ นว้ิ
แบบ เอม็ ๒ ล�ำกล้องหนกั (M2 HB)

๑. ชอื่ ผลงานวิจยั
ปลอกทวีแรงถอย (Blank Firing Attachment : BFA) ของปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว แบบ เอ็ม ๒
ล�ำกลอ้ งหนัก (M2 HB)

46

รวมผลงานวิจัยทม่ี ีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒. ที่มาของผลงานวิจัย
๒.๑ ชอื่ โครงการ
โครงการปลอกทวีแรงถอย (Blank Firing Attachment : BFA) ของปืนกลขนาด .๕๐ น้ิว
แบบ เอม็ ๒ ล�ำกลอ้ งหนัก (M2 HB)
๒.๒ หนว่ ยเจ้าของโครงการ
กองเรอื ล�ำนำ้� กองเรอื ยุทธการ
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาเอก ชัชวาลย์ โตร่งุ
๒.๔ ความเป็นมา/ปญั หาและสาเหตุ
กองเรอื ล�ำนำ�้ กองเรอื ยทุ ธการ (กลน.กร) มหี นา้ ทใ่ี นการจดั เตรยี มก�ำลงั ใหพ้ รอ้ มในการปฏบิ ตั กิ าร
ในล�ำนำ้� ทั่วประเทศและส่งก�ำลงั พล ยทุ โธปกรณ์ใหก้ บั หน่วยเรือรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยตามล�ำแมน่ ำ�้ โขง (นรข.)
ซึ่ง ปนื กลขนาด .๕๐ น้วิ ล�ำกลอ้ งหนกั (M.2 HB) เปน็ อาวุธหลกั ตดิ ตัง้ กบั เรอื เร็วตรวจการณ์ล�ำน�ำ้ ท้งั ๒ แบบ
และใช้เปน็ อาวธุ ป้องกันทตี่ ้งั แต่จากการรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ปญั หาจากการฝึกยุทธวธิ ปี ระจ�ำปีของหนว่ ย
ต้งั แตป่ ี งป.๕๔ - ๕๙ พบว่า การฝกึ ไม่เกิดประสิทธภิ าพ ไม่สามารถวัดผลการฝกึ ทางยุทธวธิ ีได้เนอื่ งจากปนื กล ฯ
ไมส่ ามารถยิงไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งหรือยิงกลได้ อนั มสี าเหตุมาจากยุทโธปกรณ์ ๓ ชนดิ ท่ใี ช้ในการฝกึ ไม่เป็นมาตรฐาน
เดยี วกนั หรอื ไมม่ าจากผผู้ ลติ เดยี วกนั คอื ปนื กลขนาด .๕๐ นว้ิ ล�ำกลอ้ งหนกั (M.2 HB) ปลอกทวแี รงถอยและกระสนุ
ฝึกแบบ Blank ถูกผู้ผลิตออกแบบมาให้ใช้ด้วยกันเฉพาะท่ีมาจากมาตรฐานหรือจากโรงงานผลิตเดียวกันเท่านั้น
เช่น ปืนกล ฯ ของ สหรัฐ ฯ ต้องใช้กับ ปลอกทวีแรงถอยของมาตรฐานกองทัพสหรัฐ ฯ และกระสุนมาตรฐาน
นาโต้ /สหรฐั ฯ เท่านน้ั ส�ำหรบั ทร. ไดจ้ ัดหาปืนกล ฯ มาใช้ราชการอยา่ งต่อเนอ่ื ง กระสุนฝกึ แบบ Blank ทใ่ี ชม้ า
จากหลายแหลง่ ผลติ /หลายมาตรฐาน/หลายตราอกั ษร และปลอกทวแี รงถอย ฯ ของเดมิ ทใ่ี ชใ้ นราชการ มใี ชห้ นว่ ยเดยี ว
ใน ทร. ไดร้ ับมอบจาก กองทัพเรอื สหรฐั อเมรกิ า และจัดหาจาก สพ.ทร. มาจ�ำนวนหนึ่งซึง่ ท้ัง ๒ แบบ มีขอ้ จ�ำกัด
และปญั หาทางเทคนิคที่ต่างกัน ดังน้ันเพ่ือเปน็ การแกไ้ ข่ปญั หาท่เี กิดขึน้ อย่างยงั่ ยนื จากรุน่ ของปืนกล ฯ กระสนุ ฝึก
แบบ Blank หลายตราอักษร และทดแทนปลอกทวีแรงถอยเดิมท่ีเร่ิมช�ำรุดและการจัดหาจากต่างประเทศมีราคาสูง
จงึ ไดเ้ กดิ โครงการวจิ ยั และพฒั นาเพอื่ สรา้ ง ปลอกทวแี รงถอยของปนื กลขนาด .๕๐ นวิ้ ล�ำกลอ้ งหนกั ทสี่ ามารถใชไ้ ด้

47

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมศี กั ยภาพพร้อมผลกั ดันสูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กับปืนกลขนาด .๕๐ น้ิว ล�ำกล้องหนัก ทุกรุ่นที่ใช้ใน กลน.กร. และสามารถน�ำไปใช้ยิงได้กับกระสุนฝึก
แบบ Blank ที่ ทร. จัดหาทุกตราอักษร ที่ใช้แล้วปลอดภัยต่อก�ำลังพล ไม่สร้างความเสียหายต่อตัวปืนและ
ตอบสนองทางยทุ ธวธิ ปี ฏิบตั ิการล�ำน้�ำและตดิ ตั้งในเรอื ขนาดเล็กได้ ซึ่งจะสง่ ผลใหเ้ กิดความพร้อมส�ำหรับก�ำลังพล
เกิดการพัฒนาขดี ความสามารถในการปฏิบัติการในล�ำน�้ำได้อย่างตอ่ เน่ือง บนพน้ื ฐานของการพงึ่ พาตนเอง
๒.๕ วตั ถปุ ระสงค์
การออกแบบและสรา้ งชนิ้ งานต้นแบบ (Prototype) ของปลอกทวแี รงถอยปนื กลขนาด .๕๐ นิ้ว
ล�ำกลอ้ งหนัก ท่ตี ิดตัง้ กบั ปนื กลขนาด .๕๐ น้ิว ล�ำกล้องหนกั ทุกรนุ่ ทมี่ ใี ชใ้ น กลน.กร. โดยไมต่ อ้ งใชอ้ ุปกรณพ์ เิ ศษ
สามารถยงิ กับกระสุนฝึกแบบ Blank M1A1 LINK ที่เป็นผลติ ภณั ฑ์หลายตราอกั ษร ทมี่ ีแรงดนั จากดินสง่ กระสนุ
ทีไ่ มเ่ ท่ากันได้ โดยปืนกล ฯ สามารถท�ำการยิงได้อยา่ งต่อเนื่องไมต่ ่�ำกว่า ๑๐๐ นดั ต่อนาที และตอบสนองการฝึก
ทางยุทธวธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารล�ำนำ้� และตดิ ตั้งในเรอื ขนาดเลก็ ได้
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๔๒๒,๒๘๗ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
สวพ.ทร.
๓. คณุ ลกั ษณะส�ำคัญของผลงาน
ปลอกทวแี รงถอยปืนกลขนาด .๕o นว้ิ แบบล�ำกลอ้ งหนักนีม้ ีสมรรถนะดกี ว่าท่จี ัดหาจากต่างประเทศ
ดังนี้
๓.๑ ติดตง้ั กบั ปนื กลขนาด .๕๐ นิ้ว ล�ำกลอ้ งหนกั ทกุ รนุ่ ทมี่ ใี ช้ใน กลน.กร. ออกแบบให้ติดตัง้ ในเรือ
ขนาดเล็กได้ และใช้งานงา่ ย โดยไมต่ อ้ งใช้อปุ กรณพ์ ิเศษ
๓.๒ สามารถยงิ กบั กระสนุ ฝกึ แบบ Blank M1A1 LINK ทเ่ี ปน็ ผลติ ภณั ฑข์ องประเทศตา่ ง ๆ จากหลาย
แหล่งผลิต/หลายมาตรฐาน/หลายตราอักษร และมาตรฐานของนาโต้ ที่มีค่าก�ำลังดันดินส่งกระสุนไม่เท่ากัน
โดยสามารถปรับแต่งให้มากหรอื นอ้ ย ได้ ๕๔ ระดับ ท�ำใหป้ ืนยิงกลไดอ้ ย่างตอ่ เน่ืองไมต่ �ำ่ กวา่ ๑๐๐ นัดตอ่ นาที
ตามการฝึกทางยุทธวธิ ี หรืออตั ราการยงิ สงู สดุ ๔๕๐ - ๔๘๐ นัดตอ่ นาที โดยปืนหรืออปุ กรณท์ ีเ่ ก่ียวข้องไม่ช�ำรุดเสีย
๓.๓ ไม่สร้างความเสียหายต่อตัวปืนกล ฯ มีความปลอดภัยต่อ พลยิง พลบรรจุ และก�ำลังพลที่อยู่
ดา้ นข้างปืนขณะท�ำการยงิ
๓.๔ อายกุ ารใชง้ านนานสงู กวา่ ล�ำกลอ้ งปนื ประมาณ ๕๐,๐๐๐ - ๑๐๐,๐๐๐ นดั และคา่ บ�ำรงุ รกั ษาตำ่�
๔. ความต้องการผลงานวจิ ัย
ส�ำหรบั หน่วยเรอื ล�ำนำ้� จ�ำนวนขัน้ ต่�ำ ๓๖ ชุด นรข. ขั้นต่�ำสดุ ๒๖ ชดุ และกลน.กร. ขั้นตำ�่ สุด ๑๐ ชดุ
และจ�ำนวนมากสดุ ๑๒๘ ชดุ ทั้งนีไ้ ม่รวมหนว่ ยตา่ ง ๆ ใน ทร. เช่น เรอื ตา่ ง ๆ ในกองเรือยุทธการ (เวน้ เรอื ๔๒ ล�ำ
ของ กลน.กร.) ฮ.ของ กบร.กร. และ พล.นย. เปน็ ตน้
๕. การตอบสนองภารกิจ
การฝึกก�ำลังพลให้เกิดความพร้อมก่อนการยิงปีนด้วยกระสุนจริง และการฝึกทางยุทธวิธีขั้นต้น
ถงึ ขน้ั สูง ไมใ่ ช้กระสนุ จรงิ เชน่ เรือ - เรอื , เรอื - หนว่ ยบก, เรอื - ฮ.โจมตี และ เรอื - บก - ฮ.โจมตี

48

รวมผลงานวิจัยทม่ี ีศักยภาพพรอ้ มผลักดนั สอู่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๕. อากาศยานไร้นักบนิ แบบนารายณ์ ๓.๐

๑. ชอ่ื ผลงานวจิ ยั
อากาศยานไร้นักบนิ แบบนารายณ์ ๓.๐

๒. ทมี่ าของผลงานวจิ ยั
๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการวิจัยและพฒั นาสายการผลติ ของอากาศยานไรน้ ักบินแบบนารายณ์ ๓.๐
๒.๒ หน่วยเจา้ ของโครงการ
สวพ.ทร.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาเอก ภาณุพงศ ขุมสิน
๒.๔ ความเปน็ มา/ปญั หาและสาเหตุ
นโยบายของกองทัพเรือด้านการวิจัยและพัฒนาในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ได้ก�ำหนดให้มีการ
น�ำผลงานวจิ ยั และพฒั นาทปี่ ระสบผลส�ำเรจ็ แลว้ มาท�ำการพฒั นาเพอ่ื ใหเ้ กดิ สายการผลติ และสามารถเขา้ สกู่ ารผลติ
เพอื่ น�ำไปใชง้ านจริงได้ ซงึ่ อากาศยานไรน้ ักบนิ แบบนารายณ์เป็นหน่ึงในผลงานวิจยั ทไ่ี ด้มกี ารพฒั นาปรบั ปรุง และ
ผลติ ใชง้ านมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยเฉพาะในหว้ งปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ทไ่ี ดม้ กี ารปรบั ปรงุ เปน็ รนุ่ ท่ี ๓.๐ และท�ำการผลติ
ใหแ้ กห่ นว่ ยตา่ ง ๆ ทง้ั ในและนอกกองทพั เรอื เปน็ จ�ำนวนทง้ั สนิ้ มากกวา่ ๒๐ ระบบ และจากการผลติ เปน็ จ�ำนวนมากนน้ั
ท�ำใหน้ กั วจิ ยั มคี วามเหน็ วา่ จะตอ้ งมกี ารพฒั นาขน้ั ตอน กระบวนการ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการผลติ ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ
เนื่องจากขั้นตอน กระบวนการ และอุปกรณ์ในการผลิตนนั้ ยงั คงเป็นไปตามผลงานวิจยั ในรุน่ กอ่ นหน้า ซ่ึงเตรียม
การไวส้ �ำหรบั ผลิตแบบต่อเนอื่ งได้จ�ำนวนน้อย ต้องอาศยั ความรคู้ วามสามารถเป็นการเฉพาะตัวบคุ คล ท�ำให้ยังไม่
สามารถผลิตแบบต่อเนื่องได้ในปริมาณมาก ยังไม่มีการจัดท�ำหลักสูตรเพื่อส่งต่อองค์ความรู้ในด้านการผลิต
ใหแ้ ก่บคุ ลากรในรุ่นตอ่ ๆ ไปได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๒.๕ วตั ถปุ ระสงค์
พัฒนาอากาศยานไร้นักบินแบบ ๔ ใบพัด (Quad Rotor) เพื่อปฏิบัติภารกิจลาดตระเวน
ทางอากาศ โดยเนน้ โครงสร้างท่ีสามารถพบั เกบ็ ได้ งา่ ยต่อการขนย้ายเขา้ สพู่ น้ื ท่ปี ฏบิ ัตกิ าร สามารถผลิตชิ้นสว่ นได้
เองหรอื จา้ งผลติ ไดต้ ามทอ้ งตลาดทม่ี รี าคาถกู สามารถเลอื กตดิ ตงั้ กลอ้ งตรวจการณไ์ ดต้ ามภารกจิ ทตี่ อ้ งการ มรี ปู แบบ

49

รวมผลงานวิจัยทีม่ ศี ักยภาพพร้อมผลักดันส่อู ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

การควบคุมการบิน (Fight Mode) ท่ีมีความสามารถมากกว่าอากาศยานไร้นักบินแบบ ๔ พัด ที่มีจ�ำหน่าย
ตามท้องตลาด
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๖ เดือน
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๘๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
กห.
๓. คณุ ลักษณะส�ำคัญของผลงาน
-
๔. ความต้องการผลงานวจิ ยั

-
๕. การตอบสนองภารกจิ
ในหว้ งปี ๒๕๖๐ ตามด�ำรขิ อง ผบ.ทสส. ใหม้ กี ารทดสอบและคดั เลอื กอากาศยานไรน้ กั บนิ ทเี่ ปน็ ผลงาน
การวจิ ยั จากหน่วยงานดา้ นความมั่นคงภายในประเทศ ท�ำการทดสอบที่ อ.ฝาง จว.เชยี งใหม่ เพ่อื สนับสนุนภารกจิ
ตรวจค้นและสกัดก้ันการค้ายาเสพติดและค้าไม้เถ่ือนให้กับ กกล.สุรนารี และ กกล.ผาเมือง ซ่ึงคณะกรรมการ
คดั เลอื กซง่ึ ประกอบดว้ ยผแู้ ทนจาก กกล. และจาก ยก.ทหาร ไดเ้ ลอื กนารายณ์ และสง่ั ผลติ นารายณใ์ ห้ กกล. ตา่ งๆ
ซึ่งนับจนถึงบัดน้ี ๒๕๖๔ ได้มกี ารสัง่ ผลิตนารายณ์ ๓.๐ มาโดยรวมแลว้ ไมต่ �ำ่ กว่า ๗๐ ระบบ
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวิจยั
-
๗. การประเมนิ ด้านมาตรฐานทางทหาร
รบั รองมาตรฐานจากคณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานยทุ โธปกรณก์ องทพั เรอื (กมย.ทร.) รายละเอยี ด
ตามค�ำส่ังคณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานยุทโธปกรณ์ กองทพั เรอื (เฉพาะ) ที่ ๑/๒๕๖๐ เรือ่ ง รบั รองมาตรฐาน
การวิจยั โครงการวจิ ัยและพฒั นาอากาศยานไรน้ ักบนิ ขน้ึ - ลงทางดง่ิ แบบนารายณ์ ๓.๐
๘. ความพรอ้ มในการผลติ
ทร. ได้อนมุ ตั ิให้โครงการวจิ ัยนารายณ์ ๓.๐ เข้าสูส่ ายการผลิตของ ทร. ในห้วงปี ๒๕๖๔
๙. ความพรอ้ มด้านงบประมาณในการผลิต
-
๑๐. ข้อมลู ส�ำคญั อนื่ ๆ ของผลงานวจิ ัย
-

50

รวมผลงานวิจยั ท่มี ีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๖.รว้ั ไรส้ าย ภายใตช้ ุดโครงการวิจยั และพฒั นา
“ระบบเฝา้ ตรวจแจง้ เตือนพืน้ ท่ชี ายแดน ภาคตะวันตกและตะวันออก”
๑. ชอ่ื ผลงานวจิ ัย
รว้ั ไร้สาย
๒. ที่มาของผลงานวจิ ัย
๒.๑ ช่อื โครงการ
รว้ั ไร้สาย
๒.๒ หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
สวพ.ทร.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาเอก อนุสรณ์ ยังคุ้มญาติ
๒.๔ ความเปน็ มา/ปญั หาและสาเหตุ
โครงการวจิ ยั และพฒั นารว้ั ไรส้ าย เมอ่ื ปี ๒๕๕๑ ผบู้ งั คบั การกรมทหารราบที่ ๓ กองพลนาวกิ โยธนิ
หนว่ ยบญั ชาการนาวกิ โยธนิ ซงึ่ รบั ผดิ ชอบพน้ื ทจี่ งั หวดั นราธวิ าส ไดก้ �ำหนดความตอ้ งการยทุ โธปกรณท์ จี่ ะน�ำไปชว่ ย
ป้องกันระวังป้องกันฐานที่ตั้งระหว่างการพักแรม (ลักษณะฐานลอย) โดยต้องสามารถเตือนภัยการบุกรุก
ของผูก้ อ่ ความไม่สงบไดล้ ว่ งหน้า กอ่ นเข้ามาในระยะ ๘๐ - ๑๐๐ เมตร และเปน็ ระยะในภูมิประเทศด้วย นอกจากนนั้
ยงั จ�ำเปน็ ที่สามารถจะน�ำไปประยุกต์ใชใ้ นภารกจิ อ่นื ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย

รปู ประกอบแนวการวางตัวตรวจจบั แบบผสมคร่าว ๆ

นอกจากน้ี แผนแมบ่ ทการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๕๐ จนถงึ ปจั จบุ นั ไดก้ �ำหนด
เปา้ หมายระบบงานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศมเี ปา้ หมายคอื การพงึ่ พาตนเองของกระทรวงกลาโหม
ในการป้องกันประเทศ ในระดับที่สอดคล้องกับขีดความสามารถ โดยก�ำหนดให้งานวิจัยและพัฒนาเป็นงานหลัก
ของระบบงานทีจ่ ะผลักดนั ให้กระทรวงกลาโหม มีฐานความรทู้ ท่ี นั สมยั และตอ่ เนื่อง
เปน็ ผซู้ อื้ และผใู้ ชท้ ฉี่ ลาด สามารถด�ำรงสภาพและพฒั นาดา้ นหลกั การและยทุ โธปกรณข์ องกระทรวงกลาโหม
ได้เองท�ำให้ลดการพ่ึงพาต่างประเทศและหากลงทุนเป็นระบบจะสามารถประหยัดงบประมาณและเงินตรา
ต่างประเทศ ในระยะยาว

51

รวมผลงานวจิ ัยที่มีศักยภาพพร้อมผลักดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ปจั จบุ นั เทคโนโลยใี นดา้ นไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และการสอ่ื สาร มคี วามกา้ วหนา้ ทงั้ ในดา้ นขนาดเลก็ ลง
ลกั ษณะทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชม้ ากขนึ้ และมคี วามงา่ ยในการจดั หา จงึ น�ำไปประยกุ ตใ์ ชง้ านไดห้ ลากหลาย
การออกแบบวงจรเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งอปุ กรณต์ า่ ง ๆ สามารถกระท�ำไดง้ า่ ย การใชพ้ ลงั มคี วามเรว็ ในการท�ำงานมากขนึ้
ท�ำให้การวจิ ัยและการสร้างยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ซง่ึ เดมิ มีความย่งุ ยากและสลบั ซับซ้อนมีความงา่ ยในการใชก้ ารซ่อม
บ�ำรุงระบบมีความเช่ือถือได้สูงและความเป็นไปได้มากย่ิงข้ึนการที่หน่วยบัญชาการนาวิกโยธินมีความต้องการ
ยุทโธปกรณ์ท่ีมีคุณลักษณะดังกล่าว และคณะวิจัยมีขีดความสามารถจะสร้างยุทโธปกรณ์ที่ตอบสนอง
ในความต้องการนั้นได้ จึงได้จัดท�ำเป็นโครงการวิจัย เสนอส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ท้ังน้ี ภายหลัง
จากปดิ โครงการในปี ๒๕๕๒ ไปแลว้ ในปี ๒๕๕๓ โครงการวจิ ยั และพฒั นาร้ัวไร้สายนี้ ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐาน
ยุทโธปกรณ์ทางทหาร กองทัพเรือ จึงเคยผ่านเกณฑ์ ในกลุ่ม ๒ มาแล้ว และในปี ๒๕๕๓ ได้ด�ำเนินการผลิต
แจกจา่ ยใหแ้ ก่ บก.กองทัพไทย กองทัพบก และ กองทัพเรอื รวมจ�ำนวนกวา่ ๒๐๐ ชุด จงึ เคยผา่ นเกณฑ์ กลมุ่ ๑
มาดว้ ย อกี ทงั้ ผลงานนไี้ ดถ้ กู น�ำไปใชจ้ รงิ ตามแนวชายแดนทว่ั ประเทศมาแลว้ ประกอบกบั ในชว่ งทผี่ า่ นมา รวั้ ไรส้ าย
ถูกน�ำไปใช้สนับสนุนงานจริงในจังหวัดชายแดนภาคใต้มาอย่างต่อเน่ือง และภารกิจต่าง ๆ จึงเคยผ่านเกณฑ์
กลมุ่ ๓ มาแล้วเช่นกนั

รปู รัว้ ไรส้ าย ไดร้ ับการวจิ ัยและพัฒนามาอย่างตอ่ เนื่องตง้ั แตป่ ี ๕๑ จนถงึ ปัจจบุ นั
จนในปี ๒๕๕๘ รั้วไร้สายได้รบั การอนุมตั ิให้ข้นึ บัญชีนวตั กรรมไทย ดา้ นความม่ันคง ของส�ำนักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติแล้ว หลังสุดในปี ๒๕๖๔ โครงการวิจัยและพัฒนาร้ัวไร้สาย ได้รับอนุมัติ
จาก ทร. เป็นโครงการวิจัยและพฒั นาทสี่ ามารถเข้าส่กู ารผลติ และได้ผลติ แจกจ่ายใหแ้ ก่ กปช.จต. จ�ำนวน ๓๕ ชดุ
๒.๕ วัตถปุ ระสงค์
๒.๕.๑ เพอ่ื ตรวจจบั และแสดงผลการบกุ รกุ ของผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งตามแนวชายแดน ทเี่ ปน็ ปา่ ทบึ
ในภมู ิประเทศ ไดพ้ ืน้ ทหี่ น้ากวา้ งยาวได้ไมน่ ้อยกว่า ๖ กิโลเมตร ทางลึกได้ไมน่ ้อยกว่า ๑ กิโลเมตร และมโี อกาส
ในการตรวจจบั ได้มากกว่า รอ้ ยละ ๘๐ ซ่ึงหมายถงึ ผหู้ ลบหนีเขา้ เมือง ผา่ นพ้นื ทรี่ ับผิดชอบเข้ามา จ�ำนวน ๑๐ ครง้ั
รวั้ ไรส้ ายตอ้ งตรวจจับและแสดงผลได้มากกวา่ ๘ ครงั้ โดยในการทดสอบ จะจดั ใหก้ �ำลงั พล ๑๐ ชุด ๆ ละ ๑ - ๒ นาย
(ก�ำลงั พลส่วนนี้จะไม่ทราบวา่ มกี ารวางระบบรั้วไรส้ ายไว้) ใหพ้ ยายามหลบหนจี ากพ้ืนที่แนวชายแดนจนผา่ นไปถึง
แนวท่ีก�ำหนด มเี วลาให้หลบหนี ๑๒ ชัว่ โมง ร้ัวไร้สายต้องมีผลการถูกตรวจจบั ไดม้ ากกว่า ๘ ครั้ง

52

รวมผลงานวิจัยทมี่ ศี ักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒.๕.๒ เพื่อตรวจการณ์และให้ทราบทิศทางของยานพาหนะที่จะเข้ามาสนับสนุนการขนย้าย
ผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง ซง่ึ สามารถแจง้ ทศิ ทางการเขา้ มาบนแผนท่ี และบนสว่ นแสดงผลบนมอื ถอื ของเจา้ หนา้ ทซ่ี มุ่ ตรวจ
ใหเ้ ขา้ ใจไดง้ ่าย
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
ต.ค.๖๔ – ม.ี ค.๖๕
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๒,๒๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
๓. คณุ ลักษณะส�ำคัญของผลงาน
เป็นระบบท่ีวางไว้เพื่อตรวจจับและแจ้งเตือนการบุกรุกได้เป็นพ้ืนที่ขนาดใหญ่มีโอกาสในการตรวจจับ
ไดส้ งู มาก ระบบนอ้ี าศยั การท�ำงานระหวา่ งคนกบั เครอื่ งมอื อยา่ งกลมกลนื ระบบทนทานตอ่ สภาวะแวดลอ้ มทร่ี อ้ นขน้ึ
หรอื ฝนตกได้เป็นอย่างดี แนวตรวจจบั สามารถวางไดค้ รอบคลุมเปน็ ระยะทางกวา่ ๑,๐๐๐ เมตร ตอ่ ๑ ทศิ ทาง
(วางได้สงู สุด ๘ ทิศทาง) และใน ๑ ทศิ ทางน้ี สามารถระบุระยะได้ ๘ ชว่ ง ตวั ตรวจจับมใี ห้เลอื กใชไ้ ดม้ ากกว่า ๒ แบบ
ขึ้นอยู่กบั ความตอ้ งการของผ้ใู ช้และสภาพแวดลอ้ มท่กี �ำหนด การส่งขอ้ มูลมีทัง้ แบบมสี ายและไร้สาย เพอื่ ความเชื่อถือ
ไดข้ องระบบ สว่ นแสดงผลรองรบั ส่วนตรวจจบั มีแบบประจ�ำทแี่ ละเคลื่อนท่เี พอื่ ใหเ้ กดิ ความออ่ นตวั ในการน�ำไป
ใช้งานในฐานหรือในภูมิประเทศ ส่วนแสดงผลส�ำหรับผู้บริหารมีการแสดงภาพท้ังแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ
ได้ผา่ นห้อง war room และไปยังเครือ่ งโทรศัพท์มือถอื ผ่านเว็บไซต์ (ภาพแบบ ๒ มิต)ิ ไดพ้ ร้อมกนั

รปู กล่องแสดงผล และการแสดงผลบนแผนท่ีแบบ ๒ มติ ิ

๔. ความต้องการผลงานวิจยั
หนว่ ยงานทมี่ ภี ารกจิ ปอ้ งกนั การหลบหนเี ขา้ เมอื งตามแนวชายแดนทเ่ี ปน็ ปา่ ในภมู ปิ ระเทศ การลกั ลอบตดั ไม้
การป้องกนั การล�ำเลียงยาเสพติดขา้ มแนวชายแดน การแจง้ เตือนภัยดินถล่ม น้ำ� ปา่ ไหลหลากและนำ�้ ท่วมฉบั พลัน
การแจง้ การเขา้ มาของชา้ งป่าในพ้นื ทีข่ องชาวสวนชาวไร่ เป็นตน้
๕. การตอบสนองภารกิจ
รวั้ ไรส้ าย ทไี่ ดว้ จิ ยั และพฒั นาขนึ้ สามารถตอบสนองภารกจิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดยี งิ่ สรา้ งโอกาสในการตรวจจบั
ได้สูงมาก มีความง่ายในการใช้งาน ซ่อนพรางง่ายเข้ากับภูมิประเทศได้อย่างดี และที่ส�ำคัญในทุกระดับ

53

รวมผลงานวจิ ยั ทีม่ ศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสอู่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

มคี วามพึงพอใจในระดับดีมาก และมีผลการน�ำไปใช้งานจรงิ เป็นทปี่ ระจกั ษ์ นอกจากนี้ยัง ตอบสนองภารกิจอืน่ ๆ
ได้อย่างหลากหลาย
๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยขี องผลงานวิจัย
คณะวิจัย ได้พัฒนาองค์ความรู้ด้านอุปกรณ์แจ้งเตือนการบุกรุกในภูมิประเทศมาอย่างต่อเน่ือง
จงึ มคี วามเชยี่ วชาญในทงั้ ดา้ นการออกแบบวงจร สว่ นสอ่ื สาร สว่ นแสดงผล ไดค้ รบวงจร สามารถน�ำไปประยกุ ตง์ าน
ไดอ้ ยา่ งหลากหลายภารกจิ และแสดงผลไดท้ ้ังระยะใกล้ ระยะไกล ผา่ นแผนทท่ี ั้งแบบ ๒ มิติและ ๓ มติ ิ รวมทงั้
การสง่ ภาพการแสดงผลไปยงั ผบู้ งั คบั บญั ชาชน้ั สงู ในแนวหลงั ไกล ๆ (เมอ่ื การสอ่ื สารอ�ำนวย) ผา่ นเวบ็ ไซตไ์ ดด้ ว้ ย
๗. การประเมนิ ดา้ นมาตรฐานทางทหาร
เนอ่ื งจากรวั้ ไรส้ ายต้ังแตเ่ รมิ่ วิจยั ตงั้ แต่ปี ๒๕๕๑ และไดร้ บั การรับรองมาตรฐานยุทโธปกรณ์ทางทหาร
ในปี ๒๕๕๓ ไปแล้ว ยงั มพี ฒั นาการดา้ นเทคโนโลยตี า่ ง ๆ มาอยา่ งต่อเน่อื ง อาทิ ด้านการสอ่ื สาร ดา้ นการประหยดั
พลังงานด้านการประยุกต์ใช้ ในภารกิจอ่ืน ๆ รวมถึงเพิ่มตัวตรวจจับรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจ
ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปหรอื ปรบั เปลย่ี นใหก้ บั ความตอ้ งการของผใู้ ชท้ หี่ ลากหลายยงิ่ ขน้ึ และตอ่ เนอ่ื ง จงึ ถอื วา่ มพี ฒั นาการ
มากกวา่ มาตรฐานท่ีเคยได้รับเดิมเปน็ อยา่ งมากและเป็นปจั จุบันน้ดี ว้ ย
๘. ความพร้อมในการผลติ
ผลติ ไดค้ รบวงจร ก�ำลังการผลิตได้ ๓๐๐ ชุด ตอ่ ๓ เดอื น (นบั จากซ้ืออปุ กรณ์มาครบ)
๙. ความพรอ้ มด้านงบประมาณในการผลติ
หน่วยเสนอความต้องการเป็นรายปี ท้ังนี้งบประมาณที่ใช้ จะข้ึนอยู่กับความต้องการที่เปล่ียนไป
ของแตล่ ะหน่วยดว้ ย ใชง้ บประมาณมากนอ้ ยแตกตา่ งกนั และขนึ้ อยูก่ บั ราคาของอปุ กรณท์ ีเ่ ปลยี่ นตามท้องตลาดบา้ ง
๑๐. ขอ้ มูลส�ำคัญอื่น ๆ ของผลงานวจิ ยั
๑๐.๑ ใช้ไดด้ มี ากในภมู ิประเทศท่เี ปน็ ป่าทบึ
๑๐.๒ การซอ่ นพรางในขั้นดีมาก จนไรร้ ปู แบบ ท�ำใหส้ ามารถซอ่ นพรางไว้ได้ทุกพนื้ ท่ี เชน่ พงหญา้
ตอไม้ กระบอกไมไ้ ผ่ กรวยจราจร ฝงั ในตน้ ไม้เลก็ ใหญ่ กอ้ นหิน ใต้น้�ำ
๑๐.๓ สามารถวางตวั ตรวจจบั ไว้ใตน้ ำ้� ล�ำคลอง โดยยงั คงมีประสทิ ธิภาพดี
๑๐.๔ สายดักเส้นลวดท่ีเคยใชม้ านบั สิบ ๆ ปี ยทุ ธว์ ธิ ีทางทหาร อาจจะคน้ หามนั ได้ด้วย สนุ ขั ทหาร
หรอื ใช้กา้ นกระถนิ อ่อนปัดค้นหาไปขา้ งหนา้ แต่จากการคิดใหมแ่ บบนี้ หมาทหารกห็ าไมเ่ จอ รวมทั้งวธิ กี ารเดิม ๆ
จะใชไ้ ม่ไดผ้ ลอกี ต่อไป
๑๐.๕ สามารถวางแนวการตรวจจบั เปน็ แบบพน้ื ท่ี และวางตวั ตรวจจบั รว่ มกนั ไดใ้ นลกั ษณะใยแมงมมุ
ท�ำใหโ้ อกาสที่จะการบุกเขา้ ถึงใจกลางโดยฝา่ ยตั้งรบั ไมร่ ู้ตวั แทบจะเปน็ ไปไมไ่ ด้
๑๐.๖ เพือ่ ใหเ้ กดิ การเตอื นภัยที่เชอ่ื ถอื ได้ ข้อมลู การบุกรกุ จะมที ้งั แบบมีสายสญั ญาณและไร้สาย
๑๐.๗ ขนาดเล็ก และใช้พลังงานค่อนข้างตำ่� มาก ท�ำให้แมฐ้ านที่ตงั้ จะถกู ตัดไฟฟ้าหรอื น�ำไปใช้ในปา่
ระบบยงั ท�ำงานไดอ้ ยา่ งน้อย ๓ วนั นอกจากน้ี ยงั ประยกุ ตใ์ ชก้ ับการเตอื นภัยดินถลม่ ในถ่นิ ทรุ กันดารไดเ้ ปน็ อย่างดี
๑๐.๘ สว่ นแสดงผล สามารถบอกท้ังทิศทางและระยะทบ่ี ุกรกุ ได้
๑๐.๙ สามารถแยกคนและสตั ว์ไดใ้ นระดบั หน่งึ รวมทั้งกง่ิ ไมต้ กใส่ ก็จะไม่แจ้งเตือนดว้ ย

54

รวมผลงานวจิ ัยท่มี ีศกั ยภาพพรอ้ มผลักดันส่อู ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๑๐.๑๐ สามารถใชย้ ทุ ธว์ ธิ ใี นการวาง เพอื่ แกไ้ ขปญั หาทางดา้ นองคว์ ตั ถไุ ด้ หรอื แกป้ ญั หาตามโจทยใ์ หม่ ๆ
ไดเ้ ป็น
๑๐.๑๑ ระยะแนวตรวจจบั ทส่ี รา้ งขนึ้ วางแบบตอ่ เนอ่ื งเปน็ แนวยาวไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ขา้ งละ ๑,๐๐๐ เมตร
และวางเป็นช้ัน ๆ ทางลกึ ไดอ้ กี ๘ ชนั้
๑๐.๑๒ สามารถน�ำข้อมลู ทีไ่ ด้แสดงผลขน้ึ บนจอคอมพิวเตอร์ได้ บนแผนที่ ๒ มติ ิ และ ๓ มิติ

๗. สารยับย้ังไฟปา่ ชนิดเหลว

๑. ช่ือผลงานวิจยั
สารยบั ย้งั ไฟป่าชนดิ เหลว
๒. ทีม่ าของผลงานวิจยั

๒.๑ ช่ือโครงการ
โครงการศกึ ษาความเป็นไปได้ในการวิจยั พัฒนาสารยับยงั้ ไฟปา่ ชนิดเหลว

๒.๒ หน่วยเจา้ ของโครงการ
กองสนับสนุนการวจิ ัยยุทโธปกรณ์ ศนู ยว์ ิจัยพัฒนาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยกี ารบินและอวกาศ

๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศตรี นรพงษ์ เอกหาญกมล
๒.๔ ความเป็นมา/ปญั หาและสาเหตุ
สถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันในประเทศไทยมีอัตราการเกิดขึ้นเป็นประจ�ำต่อเน่ืองทุกปี
อันมีสาเหตุหลายประการท้ังท่ีเกิดจากมนุษย์สร้างข้ึนหรือเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติและภูมิอากาศโลก
ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ทงั้ นีร้ ายงานจากดาวเทียม Suomi NPP (ระบบ VIRS) ตง้ั แต่วนั ท่ี ๑ ต.ค.๖๒ ถึง ๑๑ มี.ค.๖๓
ได้ตรวจพบจุดความร้อนท่ัวประเทศไทย รวมจ�ำนวน ๑๒๓,๘๘๔ จุด แบ่งเป็นจุดความร้อนในเขตป่า
จ�ำนวน ๖๗,๔๖๖ จุด คดิ เป็นร้อยละ ๕๓ ของจดุ ความรอ้ นทง้ั หมด แยกเปน็ พ้นื ทีป่ ่าคงสภาพ จ�ำนวน ๕๙,๐๐๖ จดุ
(ปา่ สงวนแหง่ ชาติ จ�ำนวน ๒๐,๘๐๖ จดุ และปา่ อนรุ กั ษ์ จ�ำนวน ๓๘,๒๐๐ จดุ ) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๖ และพน้ื ทเ่ี กษตร
ในเขตปา่ จ�ำนวน ๘,๔๖๐ จดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗ และจดุ ความรอ้ นนอกเขตปา่ จ�ำนวน ๖๐,๔๑๘ จดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๗
ของจุดความร้อนท้ังหมด โดยในบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะพบปัญหาไฟป่าในช่วงเดือน
ม.ค. ถึง เม.ย.และภาคใต้ในช่วงเดือน ก.ค. ถึง ก.ย.ของทุกปี ภาครัฐได้ก�ำหนดนโยบายโดยแก้ไขปัญหาไฟป่า
และหมอกควัน เน้นการแก้ไขปัญหาท่ีต้นเหตุและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนกองทัพอากาศจึงมีหน้าที่
ใหก้ ารสนบั สนนุ ภารกิจในการควบคมุ ไฟป่าและหมอกควัน
หน่วยบินควบคุมไฟปา่ กองทพั อากาศ ได้ด�ำเนนิ การบนิ โปรยสารยับยงั้ ไฟปา่ PHOS-CHEK G75
ชนิดผงละลายน�้ำ ซง่ึ ได้จัดหามาจากตา่ งประเทศ เพื่อสรา้ งแนวกนั ไฟไม่ให้ขยายวงกว้าง ผนวกกับศนู ยว์ ิจยั พัฒนา
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบินและอวกาศกองทัพอากาศ ได้ด�ำเนินการวิจัยพัฒนาผลิตสารยับยั้งไฟป่า
สตู ร ทอ.๑ ชนดิ ผงขนึ้ มาใชง้ านและมปี ระสทิ ธภิ าพเทยี บเทา่ กบั สารยบั ยง้ั ไฟปา่ ทจ่ี ดั หามาจากตา่ งประเทศเปน็ ผลส�ำเรจ็
โดยปัจจบุ นั อยรู่ ะหว่างการขอรับรองมาตรฐานทางทหาร เพอื่ เตรยี มการสนับสนุนภารกจิ การบรรเทาสาธารณภยั

55

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ีศกั ยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ของกองทัพต่อไปในอนาคต สารยับย้ังไฟป่า PHOS-CHEK G75 และสูตร ทอ.๑ ของ ศวอ.ทอ. มีคุณลักษณะ
ทางกายภาพเปน็ ผงผลกึ ของเกลอื อนนิ ทรยี ์ ซงึ่ เปน็ สว่ นประกอบหลกั ทท่ี �ำหนา้ ทหี่ นว่ งการลามไฟ ซงึ่ หากมกี ารผลติ
และเก็บรักษาเป็นระยะเวลานานผลึกเกลือจะเกิดการดูดซับความชื้นจากบรรยากาศ ท�ำให้เกิดการรวมผลึก
ลักษณะเป็นก้อนสารเคมีแข็งตัวและมีขนาดใหญ่ ในข้ันตอนของการเตรียมสารละลายสารยับย้ังไฟป่า เจ้าหน้าท่ี
ปฏิบัติจะต้องท�ำการบดก้อนสารให้เป็นผงละเอียดก่อนน�ำไปละลายน�้ำ การด�ำเนินการดังกล่าวจ�ำเป็นต้องจัดหา
เครื่องบดสารเคมี เพ่ิมขน้ั ตอนการบดสาร ระยะเวลาในการเตรียมสารละลายมากขน้ึ การปฏิบัติการควบคมุ ไฟป่า
จึงมีความล่าช้าไม่ทันต่อความเร่งด่วนของภารกิจ ตลอดจนขณะบดสารเคมี เจ้าหน้าท่ีในพื้นท่ีใกล้เคียงมีโอกาส
ไดร้ บั การปนเปอ้ื นของฝนุ่ ผงสารเคมี ซงึ่ หากไดร้ บั หรอื สมั ผสั ในปรมิ าณมากจะสามารถท�ำใหเ้ กดิ อาการระคายเคอื ง
หรือเกิดความอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจได้หากไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน ปัจจุบันต่างประเทศได้มีการคิดค้น
และพัฒนาสารยับยั้งไฟป่าให้มีลักษณะทางกายภาพและสถานะเป็นของเหลวหนืด เพ่ือลดการฟุ้งกระจาย
ของผงสารเคมีสารยับย้ังไฟป่าชนิดของเหลวหนืดมีความสามารถแทรกตัวอยู่ระหว่างโมเลกุลของน้�ำได้ง่าย
ท�ำให้สะดวกตอ่ การละลายรวมเปน็ เนอ้ื เดียวกันกบั น�้ำ ลดระยะเวลาในการเตรียมสารและปฏบิ ัตภิ ารกิจไดร้ วดเร็ว
ยงิ่ ขนึ้ ซงึ่ หาก ทอ. สามารถด�ำเนนิ การวจิ ยั พฒั นาสตู รสารยบั ยง้ั ไฟปา่ ใหอ้ ยใู่ นรปู ของเหลว กจ็ ะสง่ ผลดตี อ่ การปฏบิ ตั ิ
การควบคมุ ไฟป่าของ ทอ. ไดด้ ียง่ิ ขน้ึ ดว้ ยเชน่ เดยี วกัน
๒.๕ วัตถุประสงคข์ องโครงการ
เพื่อวิจัยพัฒนาสารยับย้ังไฟป่าชนิดเหลวให้มีคุณลักษณะเหมาะสมกับการควบคุมไฟป่า
ของประเทศไทยมีประสทิ ธิภาพและมคี วามปลอดภยั ตอ่ การใชง้ านแกเ่ จา้ หน้าที่ และอากาศยาน
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๒๘๗,๖๐๐ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
กองทพั อากาศ
๓. คุณลักษณะส�ำคัญของผลงาน
การพฒั นาสตู รสารยบั ยง้ั ไฟปา่ ชนดิ เหลว มคี วามสอดคลอ้ งกบั ขอ้ หา้ ม ขอ้ บงั คบั การใชส้ ารเคมที สี่ ามารถ
ส่งผลกระทบและเป็นอันตรายต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ตลอดจนสารยับยั้งไฟป่าชนิดเหลวมีคุณสมบัติ
และประสทิ ธิภาพเป็นไปตามตามขอ้ ก�ำหนดมาตรฐาน Specification 5100 - 304c Long -Term Retardant
Wild land Firefighting ของกรมวิชาการเกษตร ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
๔. ความตอ้ งการผลงานวจิ ยั
๔.๑ ความตอ้ งการดา้ นยทุ ธการ
๔.๒ ความตอ้ งการดา้ นการวิจัยและพฒั นา
๔.๓ ความต้องการดา้ นบุคลากร

56

รวมผลงานวิจัยทม่ี ีศกั ยภาพพร้อมผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๕. การตอบสนองภารกิจ
๕.๑ สามารถน�ำไปใช้ในภารกิจควบคุมไฟป่าของประเทศไทยระดับเหล่าทัพ คือ ตอบสนองต่อแผน
บรรเทาสาธารณภัย ศนู ยบ์ รรเทาสาธารณภยั กองบญั ชาการกองทัพไทย
๕.๒ สารยับย้ังไฟป่าชนิดเหลว สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้งานกับยุทโธปกรณ์ที่ ทอ. มีบรรจุใช้งาน
ในภารกิจการบินควบคุมไฟป่าและหมอกควัน เช่น ประยุกต์ใช้งานกับระบบขนส่งบริภัณฑ์ทางอากาศ
(Container Delivery System : CDS) ทตี่ ิดตัง้ กบั บ.ล.๘ (C-130H) โดยใชง้ านรว่ มกับระบบอปุ กรณ์ควบคมุ ไฟป่า
(PCAD) ตลอดจนประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์พ่นละอองสารเคมีแบบสะพาย ท�ำการฉีดพ่นบนเชื้อเพลิงแห้งเพื่อสร้าง
แนวปอ้ งกันไฟรอบฐานบนิ หรือสถานเี รดาร์
๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยขี องผลงานวจิ ัย
๖.๑ เทคโนโลยีการผสมสารเคมี

ภาพแสดงเครื่องผสมและควบคุมอุณหภมู ิสารเคมี

๖.๒ เทคโนโลยกี ารวิเคราะห์เชิงกายภาพ

ภาพแสดงเครอ่ื งวัดความหนืด เครือ่ งช่งั พรอ้ มอปุ กรณ์วดั วดั ความหนาแน่นและเครอ่ื งวดั ค่ากรดด่าง

ตามมาตรฐาน ASTM. Standard Test Methods for Rheological of Non-Newtonian Materialsby Rotational
(Brookfield type) Viscometer ; D2196-05 และ Standard test Methods for pH of water ; D1293 - 99

(2005)

57

รวมผลงานวจิ ัยที่มีศักยภาพพร้อมผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๖.๓ เทคโนโลยกี ารตรวจสอบสารยบั ยงั้ ไฟปา่ ชนดิ เหลวทผี่ ลติ ได้ จะตอ้ งผา่ นการทดสอบประสทิ ธภิ าพ
ในการยบั ย้งั ไฟปา่ สูตร ทอ.๑

ภาพแสดงการทดสอบการกัดกร่อนภาพแสดงการทดสอบการกัดกรอ่ นตามมาตรฐาน ASTM. Stan-

dard Test Method for Macroteching Metals and Alloya; E340-00(2006). และ Standard Guide for Prepa-
ration of Metallographic Specimens; E3-01(2007)

ภาพแสดงการตรวจวดั การหกั เหแสงของสารละลายสารยับยั้งไฟปา่ ตามมาตรฐาน USDA Forest

ServiceAssessments of Seven Refractometers for Evaluating Wildland Retardants 2005.

ภาพการทดสอบการวัดอตั ราการลามไฟตามมาตรฐาน Vertical & Horizontal Burning Test for
Classifying Materials (Flammability UL94 VB & HB) by Underwriters Laboratories Inc. USA และ Standard Test
Procedures, Section 2. Fire Tests. Evalution of Wildland Chemicals Standard Test procedures.
USDA Forest Service.
๗. การประเมนิ ด้านมาตรฐานทางทหาร

ไดเ้ ขา้ สกู่ ารพจิ ารณาการรบั รองมาตรฐานในทป่ี ระชมุ คณก.ก�ำหนดมาตรฐานยทุ โธปกรณก์ องทพั อากาศ

เมือ่ วันที่ ๑๗ ก.ย.๖๔, ๑๓๓๐ ณ ห้องประชมุ ยก.ทอ. ซง่ึ มมี ติเห็นชอบ รับรองมาตรฐานสารยบั ยงั้ ไฟปา่ ชนิดเหลว

สตู ร ทอ.๒ และ ผบ.ทอ.ไดล้ งนามอนมุ ัตเิ มื่อ ๑๑ ต.ค.๖๔ ทา้ ยหนงั สือ ยก.ทอ.ลับ ด่วน ท่ี กห ๑๖๐๖.๕/๔๖๘

ลง ๒๙ ก.ย.๖๔ เรอ่ื ง สรปุ ผลการประชมุ กมย.ทอ. ครง้ั ท่ี ๒/๖๔

58

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั ส่อู ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๘. ความพรอ้ มในการผลิต
๘.๑ ความพรอ้ มด้านเอกสาร ศวอ.ทอ. ในฐานะหน่วยควบคุมดแู ลการผลิตสารยบั ย้ังไฟป่าชนิดเหลว
ได้ด�ำเนินการจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง การผลิตและการใช้งานสารยับยั้งไฟป่าชนิดเหลว รหัสเอกสาร
WM - ARSD - P&QC - FRL
๘.๒ ความพร้อมด้านสถานที่และเครื่องมือที่ในระดับงานวิจัย ส�ำหรับใช้ในการเตรียมสารเคมี
และทดลองปรับปรงุ พัฒนาสารยบั ย้ังไฟปา่ ชนิดเหลว
๘.๓ ความพร้อมในการผลิตระดับอุตสาหกรรม สามารถด�ำเนินการจัดหาและว่าจ้างบริษัทเอกชน
หรอื หน่วยงานที่มคี วามสามารถในการผสมสารเคมีเพือ่ การค้าหรอื เชิงอตุ สาหกรรม
๙. ความพรอ้ มด้านงบประมาณในการผลิต
การผลิตสารยับยั้งไฟป่าชนิดเหลว สูตร ทอ.๒ ส�ำหรับใช้ในภารกิจบรรเทาสาธารณภัย ซ่ึงภารกิจ
ดงั กลา่ วจ�ำเปน็ ตอ้ งใชป้ รมิ าณสารในปรมิ าณมาก ซงึ่ จ�ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณจากหนว่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
เพื่อด�ำเนินการจ้างผลิตสารยับย้ังไฟป่าชนิดเหลว สูตร ทอ.๖ ในระดับอุตสาหกรรม โดยงบประมาณส�ำหรับใช้
ในการผลติ พิจารณาจากราคาต้นทนุ และการคา่ ด�ำเนินการการผลิต มีราคา ๗๖ บาท/กก. โดยประมาณ
๑๐. ขอ้ มูลส�ำคญั อ่นื ๆ ของผลงานวจิ ยั
หนว่ ยงานทน่ี �ำผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ ศนู ยบ์ รรเทาสาธารณภยั กองทพั อากาศ (ศบภ.ทอ.) ทก่ี �ำหนด
ให้เปน็ หนว่ ยบรรเทาสาธารณภยั ของกองทพั อากาศในปฏบิ ตั ิการการควบคุมไฟป่า

59

รวมผลงานวิจัยท่ีมศี ักยภาพพร้อมผลักดนั สู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๘. ชนวนหวั กระทบแตกไว/ถ่วงเวลา ส�ำหรับ ลย./ค. เพือ่ ทดสอบประสทิ ธิภาพการใช้งาน

๑. ชือ่ ผลงานวิจยั
ชนวนหัวกระทบแตกไว/ถ่วงเวลา ส�ำหรบั ลย./ค. เพอื่ ทดสอบประสทิ ธภิ าพการใช้งาน
๒. ที่มาของผลงานวจิ ัย
๒.๑ ชื่อโครงการ
โครงการวิจัยและพัฒนาชนวนหัวกระทบแตกไว/ถ่วงเวลา ส�ำหรับ ลย./ค. เพ่ือทดสอบ
ประสทิ ธภิ าพการใชง้ าน
๒.๒ หนว่ ยเจ้าของโครงการ
ศวอ.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
พล.ต.ประสทิ ธิ์ สุขวงศ์
๒.๔ ความเปน็ มา/ปญั หาและสาเหตุ
ตามนโยบาย รมว.กห. ในเรอ่ื งการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและระบบการปอ้ งกนั ประเทศใหม้ คี วามพรอ้ ม
ในการพิทักษ์รักษาเอกราชอธิปไตยความม่ันคงและผลประโยชน์แห่งชาติ รวมถึงการพัฒนากิจการอุตสาหกรรม
ปอ้ งกนั ประเทศโดยบรู ณาการขดี ความสามารถของภาครฐั และเอกชน เพอื่ น�ำไปสกู่ ารพง่ึ พาตนเองในการผลติ อาวธุ
ยุทโธปกรณร์ ายการที่จ�ำเปน็ ศอว.ศอพท. เป็นหนว่ ยงานทท่ี �ำการศึกษาวิจยั พัฒนาและผลติ กระสุนรวมถึงอาวุธ
ยุทโธปกรณ์ทไี่ ดม้ าตรฐานสากลมาอย่างตอ่ เนอ่ื ง มีผลติ ภัณฑป์ ระเภทกระสุนปนื ใหญแ่ ละลกู ระเบิดยงิ ท่ีมคี ุณภาพ
ทดั เทยี มกบั ผลติ ภณั ฑจ์ ากตา่ งประเทศทกุ ประการ โดยสามารถด�ำเนนิ การผลติ ไดต้ งั้ แตช่ น้ั ตอนการผลติ ตวั กระสนุ
การบรรจดุ นิ ระเบิด จนถงึ ข้ันการประกอบรวมกระสนุ แตย่ งั จ�ำเปน็ ตอ้ งจดั หาชนวนหัวจากตา่ งประเทศ เน่ืองจาก
ยังไม่มีองคก์ รใดภายในประเทศทสี่ ามารถผลติ ชนวนหัวได้
ศอว.ศอพท. มอี งคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั ผลติ ภณั ฑด์ า้ นชนวนหวั โดยเรม่ิ จากรบั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี
การประกอบรวมและการทดสอบชนวนหวั ส�ำหรบั ลย./ค. จากสาธารณรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ และการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการประกอบรวมชนวนหัวและการทดสอบส�ำหรับ ลย./ค. และ ป. จากสาธารณรัฐเกาหลี
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗
ต่อมาได้ด�ำเนินโครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาชนวนหัวกระทบแตกไข/ถ่วงเวลา
(ต.ค.๕๔ - ธ.ค.๕๖) ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และสถาบันไทยเยอรมัน
ในการศึกษาทฤษฎีและขั้นตอนในการสร้างชนวนหัวต้นแบบ พร้อมทั้งแบบรูป (Drawing) รวมถึงข้อขัดข้อง
ทางเทคนคิ ตา่ ง ๆ ส�ำหรับน�ำมาตอ่ ยอดพัฒนาในโครงการวิจยั และพฒั นาขนวนหวั กระทบแตกไวถ่วงเวลา ส�ำหรับ
ลย./ค. (เมย.๕๘ - เมย.๖๐) เพอื่ ศกึ ษา ออกแบบ สรา้ งและประกอบชน้ิ สว่ นทางกล รวมถงึ การประกอบวตั ถรุ ะเบดิ
ส�ำหรับกระบวนการระเบิด (Explosive train) ของชนวนหวั กระทบแตกไว/ถ่วงเวลา ส�ำหรับลย./ค. ให้ไดต้ ้นแบบ
ชนวนหวั ส�ำหรบั ลกู ระเบดิ ยงิ จากเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ทมี่ คี ณุ ลกั ษณะและขดี ความสามารถเทยี บเทา่ กบั ตา่ งประเทศ
โดยใช้วัสดุภายในประเทศให้มากที่สุด โดยผลการวิจัยสามารถสร้างต้นแบบชนวนหัวกระทบแตกไว/ถ่วงเวลา
ส�ำหรบั ลย./ค จ�ำนวน ๑,๒๐๐ ชดุ ทมี่ คี ณุ ลกั ษณะและขดี ความสามารถตามเกณฑม์ าตรฐานการทดสอบทางทหาร

60

รวมผลงานวิจยั ทม่ี ีศักยภาพพร้อมผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ในการออกแบบและความปลอดภัยของชนวนหัว (MIL-STD 13 16C) โดยมีความน่าจะเป็นในการท�ำงาน
ของกระสนุ ใชส้ ถติ ชิ ว่ งความเชอื่ มน่ั ทร่ี อ้ ยละ ๙๗ และผา่ นการทดสอบตามมาตรฐานทางทหารภายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม
และการทดสอบสมรรถนะ ของชนวน (MIL-STD-331B) ในระดบั ของการพฒั นาต้นแบบตามมาตรฐานทางทหาร
ภายใต้สภาพแวดล้อมและการทดสอบสมรรถนะ ของชนวน (MIL-STD-331B) ในระดับของการพัฒนาต้นแบบ
(Development) จากผลความส�ำเร็จของงานวิจัยพัฒนาดังกล่าว ศอว.ศอพท. จึงมีความพร้อมท่ีจะน�ำต้นแบบ
เขา้ สสู่ ายการผลติ เพอ่ื ผลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑช์ นวนหวั กระทบแตกไว/ถว่ งเวลาส�ำหรบั ลย./ค. ตอ่ ไปในอนาคต อยา่ งไร
กต็ ามในการด�ำเนนิ การดงั กลา่ ว มคี วามจ�ำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งมกี ารทดสอบตามมาตรฐานทางทหารภายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม
และการทดสอบสมรรถนะของชนวน (MIL - STD - 331B) ในระดับของการผลติ (Production) เพื่อใหผ้ ลิตภณั ฑ์
เป็นไปตามมาตรฐานการผลิต รวมถึงการน�ำเข้าสู่การรับรองมาตรฐานยุทโธปกรณ์กระทรวงกลาโหม (กมย.กห.)
เพ่ือเป็นท่ียอมรับและน�ำมาใช้งานในกองทัพได้ อีกท้ังในการด�ำเนินการทดสอบตามมาตรฐานทางทหาร น้ัน
ศอว.ศอพท. ยงั มคี วามจ�ำเปน็ ในการขอรบั การสนบั สนนุ กบั องคก์ รภายนอกและภาคเอกชนทม่ี คี วามพรอ้ มในเรอื่ ง
ขององคค์ วามรู้และเคร่อื งมอื ในการทดสอบต่าง ๆ อันเป็นการบูรณาการขีดความสามารถของภาครัฐและเอกชน
ในการพัฒนาอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศไดอ้ ีกทางหน่งึ
๒.๕ วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
๒.๕.๑ เพอ่ื ทดสอบประสิทธิภาพและมาตรฐานในการใช้งานต้นแบบชนวนหัวกระทบแตกไว/
ถ่วงเวลาส�ำหรบั ลย./ค. ตามมาตรฐานทางทหารกอ่ นน�ำเข้าสูส่ ายการผลติ
๒.๕.๒ พฒั นาองค์ความรใู้ นงานวจิ ัยและพัฒนาชนวนหวั ใหม้ คี วามสมบรู ณ์ยิง่ ข้ึน
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๑๑,๗๙๙,๕๘๑ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
สทป.
๓. คณุ ลักษณะส�ำคญั ของผลงาน
ชนวนหัวเป็นองค์ประกอบส�ำคัญส�ำหรับน�ำมาประกอบเข้ากับ ลย./ค. ขนาดต่าง ๆ ให้เป็นกระสุน
ครบนดั โดยชนวนหัวจะท�ำหนา้ ทีเ่ ป็นสว่ นเรม่ิ ต้นของการจดุ ระเบดิ เม่ือ ลย./ค. ตกกระทบ ณ เปา้ หมาย

รปู ท่ี ๑ ภาพชนวนหวั เอม็ ๖๓๑ และองคป์ ระกอบภายใน

61

รวมผลงานวจิ ยั ที่มศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๔. ความตอ้ งการผลงานวจิ ัย
ศอว.ศอพท.ผลิต ลย./ค. สนับสนุนให้กับเหล่าทัพเป็นเวลานานกว่า ๔๐ ปี โดยที่ผ่านมาต้องจัดหา
ชนวนหัวจากต่างประเทศ การวิจัยและพัฒนาชนวนหัวจนสามารถน�ำเข้าสู่สายการผลิตได้ถือว่าเป็นส่ิงส�ำคัญ
ที่จะตอบสนองความตอ้ งการจดั หา ลย./ค.ของกองทพั รปู ที่ ๒ ชนวนหัวเอม็ ๖๓๑ เม่ือประกอบกับ ลย./ค.

รูปท่ี ๒ ชนวนหัวเอม็ ๖๓๑ เมือ่ ประกอบกบั ลย./ค.
๕. การตอบสนองภารกจิ
ชนวนหัวที่ได้วิจัยและพัฒนา จนสามารถผ่านการรับรองมาตรฐานกระทรวงกลาโหมได้น้ัน สามารถ
น�ำเขา้ สสู่ ายการผลิตและตอบสนองภารกิจในการผลติ ลย./ค. ครบนดั สนบั สนุนเหล่าทพั ได้ในอนาคต
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวิจยั
ชนวนหัวท่ีได้วิจัยน้ี ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องตามหลักการทางวิศวกรรมและมาตรฐานทางทหาร
โดยเม่ือได้ต้นแบบแล้วได้คัดสรรภาคเอกชนท่ีมีขีดความสามารถในการข้ึนรูปกลไกของนาฬิกาซึ่งมีลักษณะ
คล้ายคลึงกับกลไกของชนวนหัวมาร่วมด�ำเนนิ การพัฒนาต้นแบบและจดั ต้งั สายการผลติ

รปู ที่ ๓ สายการประกอบรวม ชนวนหวั เอม็ ๖๓๑ ณ ศอว.ศอพท.
๗. การประเมนิ ดา้ นมาตรฐานทางทหาร
ชนวนหัวทไี่ ดว้ ิจัยและพฒั นาขึน้ น้ี มีความปลอดภัยขณะท�ำการยงิ และมีความสมบูรณ์ในการท�ำงาน
ณ เปา้ หมาย ผา่ นตามมาตรฐานทางทหาร MIL-STD-1316 E และ MIL-STD-331 B รวมถงึ ผา่ นการรบั รองมาตรฐาน
ยุทโธปกรณก์ ระทรวงกลาโหมเรยี บร้อยแล้ว

62

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ีศักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

รูปท่ี ๔ เคร่อื งมอื ในการทดสอบ ชนวนหวั เอ็ม ๖๓๑ ตามมาตรฐานทางทหาร MIL – STD – 331 B

๘. ความพร้อมในการผลิต
ศอว.ศอพท. ได้รับความร่วมมือจากภาคเอกชนท่ีมขี ดี ความสามารถในการผลิต และ รวท.อท.ศอพท.
ทจ่ี ะไดร้ บั การถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ นการผลติ องคป์ ระกอบวตั ถรุ ะเบดิ แรงสงู จาก สพ.ทบ. ในอนาคต ท�ำใหใ้ นภาพรวม
สามารถผลิตชิ้นส่วนได้ครบทุกชิ้น ตลอดจน ศอว.ศอพท. มีเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทดสอบชนวนหัว
ตามมาตรฐานทางทหาร MIL- STD - 331 B ท�ำใหม้ คี วามพรอ้ มในการผลติ และการทดสอบตามมาตรฐานทางทหาร
๙. ความพรอ้ มดา้ นงบประมาณในการผลิต
ศอว.ศอพท. สามารถใช้เงินทุนหมนุ เวียนของหน่วยเปน็ งบประมาณในการผลิตได้
๑๐. ข้อมูลส�ำคัญอน่ื ๆ ของผลงานวิจยั
-

63

รวมผลงานวิจัยทมี่ ีศักยภาพพร้อมผลักดนั ส่อู ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กลมุ่ ผลงานวจิ ัยทีม่ ีศักยภาพ และมคี วามพรอ้ มท่จี ะผลติ เพือ่ ใช้งานในกองทัพ
ในระดับท่จี �ำเป็นตอ้ งพัฒนาเพิม่ เตมิ อกี หลายสว่ น

๑. ระบบควบคุมและอ�ำนวยการยงิ อตั โนมตั สิ �ำหรับปนื ใหญเ่ บา
กระสุนวถิ โี คง้ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรล้อยาง

๑. ช่ือผลงานวิจัย
ระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอัตโนมัติส�ำหรับปืนใหญ่เบากระสุนวิถีโค้ง ขนาด ๑๐๕ มม.
แบบอัตตาจรล้อยาง
๒. ทีม่ าของผลงานวิจยั
๒.๑ ช่ือโครงการ
โครงการวิจัยและพัฒนาระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอัตโนมัติส�ำหรับปืนใหญ่เบากระสุน
วถิ โี คง้ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรลอ้ ยาง
๒.๒ หน่วยเจ้าของโครงการ
ศอว.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
พนั เอก สัญญา แสนทนันชัย
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
หลกั นยิ มในการรบปจั จบุ นั ผลส�ำเรจ็ ในสนามรบจะขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถในการตอ่ สซู้ งึ่ ประกอบ
ดว้ ยหลกั ๔ ประการ ไดแ้ ก่ ความรเิ รม่ิ ความวอ่ งไว ความลกึ และความประสานสอดคลอ้ ง ฉะนน้ั อาวธุ ยงิ สนบั สนนุ
ในปัจจุบันจึงต้องการความสามารถในเรื่องของความรวดเร็ว ว่องไว และความอ่อนตัวในการปฏิบัติการ รวมถึง
อ�ำนาจในการท�ำลายลา้ งสงู ดว้ ยการประสานการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งอยา่ งรวดเรว็ และตอบสนองไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที
ศอว.ศอพท. เป็นหน่วยวิจัยและพัฒนาอาวุธของกองทัพ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการพัฒนา
อาวุธยุทโธปกรณ์ให้มีศักยภาพรองรับความต้องการดังกล่าวเช่นกัน เร่ิมต้ังแต่การริเร่ิมโครงการวิจัยและพัฒนา
ปบค. (ปืนใหญเ่ บากระสนุ วถิ ีโค้ง) ขนาด ๑๐๕ มม. ลากจงู เพ่ือให้เป็นแบบขบั เคลื่อนดว้ ยตนเอง ซง่ึ เปน็ การน�ำเอา
ปบค. ขนาด ๑๐๕ มม. แบบ เอ็ม ๔๒๕ ที่ ศอว.ศอพท. ผลิตข้ึนติดต้งั บนรถยนต์บรรทกุ ขนาด ๕ ตัน แบบเอม็ ๘๑๓
เพอ่ื เพม่ิ ความคลอ่ งแคลว่ ในการเคลอ่ื นทใ่ี นการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ โดยโครงการวจิ ยั ไดด้ �ำเนนิ การส�ำเรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒
ได้ต้นแบบ ปบค. ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรล้อยาง ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก กมย.ทบ.
(คณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานยทุ โรปกรณ์ กองทพั บก) และน�ำเข้าสสู่ ายการผลิต เพื่อผลติ ใหก้ องทพั ไดท้ ดลอง
ใชง้ าน ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ศอว.ศอพท. ได้ด�ำเนนิ การพัฒนาโครงการวจิ ยั และพัฒนาปนื ใหญ่ ขนาด ๑๕๕ มม.
แบบอตั ตาจรลอ้ ยาง เพอื่ เปน็ การเพมิ่ ความคลอ่ งแคลว่ ในการปฏบิ ตั งิ าน ใหก้ บั ปนื ใหญ่ ขนาด ๑๕๕ มม. ทมี่ อี �ำนาจ
ในการยงิ ทสี่ งู กวา่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพทดั เทยี มกบั ตา่ งประเทศ เพอ่ื สนบั สนนุ ใหแ้ กก่ องทพั ใชใ้ นอนาคตตอ่ ไปส�ำหรบั
การวิจัยพัฒนาด้านการควบคุมและอ�ำนวยการยิงเพื่อเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติภารกิจยิงให้แก่ ปืนใหญ่น้ัน
กองทัพได้มีการวิจัยพัฒนาอยู่หลายด้าน อาทิ โครงการพัฒนาระบบอ�ำนวยการยิงปืนใหญ่ทางยุทธวิธีอัตโนมัติ
ดว้ ยเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ โดย ศป. (ศนู ย์การทหารปืนใหญ)่ (ก.ย.๕๕) และโครงการวิจยั พัฒนาระบบอ�ำนวยการยงิ

64

รวมผลงานวิจยั ทีม่ ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ทางเทคนคิ อัตโนมตั ิส�ำหรับปนื ใหญส่ นาม โดย ศอว.ศอพท. (ต.ค.๕๖) ซึง่ เป็นการวิจยั พฒั นาระบบอ�ำนวยการยิง
ท่ีใช้ส�ำหรับการหาหลักฐานยิงและการเชื่อมต่อการปฏิบัติงานของระบบทหารปืนใหญ่สนามให้เป็นแบบอัตโนมัติ
โครงการวิจัยและพัฒนาระบบการตั้งหลักฐานยิงอัตโนมัติส�ำหรับปืนใหญ่สนาม โดย ศอว.ศอพท. (ก.ย.๕๔)
ซึ่งเป็นการวิจัยพัฒนาให้ปืนใหญ่ ขนาด ๑๕๕ มม. ล้อยาง สามารถตั้งยิงตามหลักฐานยิงได้โดยอัตโนมัติ
และโครงการวจิ ยั และพฒั นาระบบก�ำหนดพกิ ดั และชที้ ศิ ทางอตั โนมตั ิ ซง่ึ ศอว.ศอพท. อยใู่ นระหวา่ งการวจิ ยั พฒั นา
เพื่อให้ได้ระบบก�ำหนดพิกัดและช้ีทิศอัตโนมัติท่ีเป็นองค์ความรู้ของกองทัพเอง ส�ำหรับการน�ำมาประยุกต์ติดต้ัง
กบั ระบบปืนใหญอ่ ตั โนมัตติ ่อไป
ศอว.ศอพท. มกี ารพัฒนาเทคโนโลยขี องยุทโธปกรณอ์ ย่างตอ่ เนอ่ื ง เพื่อตอบสนองความตอ้ งการ
ของกองทัพท้ังในปัจจุบันและอนาคต ซ่ึงการพัฒนายุทโธปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงในปัจจุบันจ�ำเป็นต้องมีการ
สะสมองค์ความรูท้ างดา้ นงานวิจยั เพอ่ื ท่จี ะไดผ้ ลิตภัณฑ์ทมี่ ีประสิทธิภาพและทันสมัยสนับสนุนให้กับกองทัพ
ปนื ใหญข่ นาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรล้อยาง ทีต่ ิดตัง้ ระบบควบคมุ และอ�ำนวยการยงิ อัตโนมตั ิ
จากตา่ งประเทศนนั้ มรี าคาสงู การจดั ซอื้ จากตา่ งประเทศจงึ เปน็ แนวทางทไี่ มเ่ หมาะสมในสภาวะเศรษฐกจิ ในปจั จบุ นั
ภารกิจของกองทัพไดใ้ นอนาคต
การจัดหายุทโธปกรณ์จากต่างประเทศท�ำให้กองทัพไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในสภาวะไม่ปกติ
และเนื่องจากเป็นเทคโนโลยีของต่างประเทศ การซ่อมบ�ำรุงระดับสูง หรือการปรับปรุงแก้ไข กองทัพไม่สามารถ
ด�ำเนนิ การไดเ้ อง
๒.๕ วัตถุประสงคข์ องโครงการ
๒.๕.๑ เพอื่ สรา้ งเทคโนโลยแี ละองคค์ วามรทู้ ส่ี �ำคญั ของระบบควบคมุ และอ�ำนวยการยงิ อตั โนมตั ิ
ส�ำหรับ ปบค.ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรล้อยาง
๒.๕.๒ เพอื่ ประยุกต์ตอ่ ยอดงานวิจัยพฒั นาในการสรา้ งต้นแบบระบบควบคมุ และอ�ำนวยการยงิ
อตั โนมตั สิ �ำหรบั ปบค.ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรล้อยาง จ�ำนวน ๑ ระบบ
๒.๕.๓ เพ่อื เปน็ แนวทางการพฒั นาเพือ่ น�ำเข้าสสู่ ายการผลติ ในการผลติ ขึ้นใชเ้ องในกองทัพ
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๒ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๓,๐๒๘,๐๒๕ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
เงินทนุ หมุนเวยี น ศอว. ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒
๓. คณุ ลักษณะส�ำคญั ของผลงาน
๓.๑ สามารถควบคมุ การยงิ และด�ำเนินภารกจิ ยงิ ด้วยปนื ใหญ่ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรลอ้ ยาง
ผา่ นโปรแกรมควบคุมและอ�ำนวยการยิงอตั โนมัตทิ อ่ี อกแบบได้
๓.๒ สามารถควบคุมการยิงและด�ำเนินภารกิจยิงปืนใหญ่ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรล้อยาง
ท้งั แบบอตั โนมัตแิ ละแบบการด�ำเนินการโดยพลประจ�ำปืน

65

รวมผลงานวิจัยทีม่ ีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๔. ความต้องการผลงานวิจยั
๔.๑ ไดต้ น้ แบบระบบควบคมุ และอ�ำนวยการยงิ อตั โนมตั สิ �ำหรบั ปนื ใหญ่ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจร
ลอ้ ยาง จ�ำนวน ๑ หน่วยยิง
๔.๒ ตันแบบระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอัตโนมัติ สามารถควบคุมการยิงและด�ำเนินภารกิจ
ยิงปนื ใหญข่ นาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรล้อยางผ่านระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอตั โนมัตทิ ่อี อกแบบได้
๔.๓ ต้นแบบระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอัตโนมัติ สามารถควบคุมการยิงและด�ำเนินภารกิจ
ยงิ ปนื ใหญข่ นาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรล้อยางในแบบอัตโนมตั ิ และแบบปฏิบัตโิ ดยพลประจ�ำปืน
๔.๔ น�ำองค์ความรู้แนวทางการพัฒนาระบบควบคุมและอ�ำนวยการยิงอัตโนมัติส�ำหรับปืนใหญ่
ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอัตตาจรล้อยางทสี่ มบรู ณ์ ไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับปืนใหญ่อัตตาจรขนาดต่าง ๆ ไดใ้ นอนาคต
๔.๕ กอ่ ให้เกดิ การพฒั นาอุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศแบบพง่ึ พาตนเอง
๕. การตอบสนองภารกจิ
ปัจจุบันการน�ำเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มาพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีใช้ในกองทัพ ให้มีประสิทธิภาพ
ทดี่ ขี ึ้นทดั เทยี มกับอาวธุ จากตา่ งประเทศ
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวิจยั
มอี งคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั เทคโนโลยรี ะบบตงั้ หลกั ฐานยงิ อตั โนมตั ขิ องปนื ใหญส่ นาม ซง่ึ พฒั นาโดยบคุ ลากร
ของหน่วย และสามารถปรบั ปรุง แกไ้ ข พฒั นาต่อยอดได้เองในอนาคต
๗. การประเมินดา้ นมาตรฐานทางทหาร
ยงั ไม่ได้รบั การประเมนิ ด้านการมาตรฐานทางทหาร
๘. ความพรอ้ มในการผลิต
มอี งค์ความรู้ การศกึ ษาทฤษฎแี ละหลักการของระบบการควบคุมอัตโนมัติ การสร้างและตดิ ต้ังระบบ
ต้งั หลกั ฐานยงิ อัตโนมตั ิ ใหก้ ับปืนใหญ่ และการทดลอง/ทดสอบในการใช้งาน
๙. ความพรอ้ มด้านงบประมาณในการผลติ
ยงั ไมไ่ ดร้ ับการจัดสรรงบประมาณในการผลติ
๑๐. ข้อมลู ส�ำคัญอืน่ ๆ ของผลงานวิจยั
ตามเอกสารรายงานผลงานวิจัย

รูปภาพประกอบ

รปู ตน้ แบบควบคมุ และอ�ำนวยการยงิ อัตโนมัติส�ำหรบั ปืนใหญ่ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบอตั ตาจรลอ้ ยาง
66

รวมผลงานวจิ ัยท่มี ศี กั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒. แบตเตอรี่ ส�ำหรับรถยานเกราะล้อยาง แบบ BTR-3E1

๑. ชื่อผลงานวิจยั
แบตเตอรี่ ส�ำหรบั รถยานเกราะล้อยาง แบบ BTR-3E1
๒. ที่มาของผลงานวจิ ัย
๒.๑ ช่อื โครงการ
โครงการวิจยั และพัฒนาแบตเตอร่ี ส�ำหรับรถยานเกราะลอ้ ยาง แบบ BTR-3E1
๒.๒ หนว่ ยเจ้าของโครงการ
อท.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก ชูชาติ จิตตรีเหิม
๒.๔ ความเปน็ มา/ปัญหาและสาเหตุ
-
๒.๕ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
เพอ่ื วิจัยพัฒนาแบตเตอร่ีส�ำหรบั รถยานเกราะล้อยางแบบ BTR-3E1 ใหไ้ ด้ต้นแบบท่มี สี มรรถนะ
เทยี บเท่าแบตเตอร่กี องทพั บกและกองทัพเรือ ใชอ้ ยู่ในปจั จบุ นั
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๒ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๓,๔๓๐,๒๐๐ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
งบอดุ หนุนการวจิ ัยและพัฒนาการทางทหารของ กห.
๓. คุณลักษณะส�ำคญั ของผลงาน
เป็นแบตเตอร่ี ขนาด 24 V. 85 Ah, เปลอื กหม้อยางแขง็ และ มิติ ขนาด เหมือนกบั กองทพั ใช้งาน
๔. ความตอ้ งการผลงานวิจัย
๔.๑ ไดอ้ งคค์ วามรใู้ นการผลติ แบตเตอรสี่ �ำหรบั รถยานเกราะลอ้ ยาง แบบ BTR-3E1 ขนาด 24 V. 85 Ah.
ทมี่ มี ติ ิ การตดิ ตง้ั การเชอื่ มตอ่ วงจรเหมอื นมาตรฐานทผ่ี ใู้ ชง้ านในปจั จบุ นั สมรรถนะ และคณุ ภาพเทยี บเทา่ สามารถ
ใชท้ ดแทนแบตเตอร่ที ่ีใชง้ านอยู่ในปัจจุบันได้
๔.๒ น�ำแบตเตอรี่ต้นแบบไปท�ำการทดสอบสมรรถนะภาคสนามในพื้นท่ีของหน่วยท่ีใช้งาน คือ
พนั . ถ. พล.นย.ร.๒๑ พัน. ๑ รอ. และ ร.๒ พัน. ๑ รอ. ซง่ึ เปน็ ที่พงึ พอใจของผูใ้ ช้
๕. การตอบสนองภารกิจ
ผลงานจากการวิจัย เพื่อน�ำไปให้กองทัพบกและกองทัพเรือใช้งานนั้น มีผลการทดสอบและทดลอง
ใชง้ านทุกข้นั ตอนของทุกหน่วยผ่านเกณฑท์ งั้ หมดเปน็ ท่พี งึ พอใจและผูใ้ ชม้ คี วามเช่ือม่นั ในการน�ำไปใชง้ าน

67

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ีศักยภาพพร้อมผลักดันสู่อตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๖. ความพร้อมของเทคโนโลยีของผลงานวจิ ยั
โรงงานแบตเตอร่ที หาร ฯ มีประสบการณ์ และองค์ความรใู้ นการผลติ แบตเตอร่ีชนิดตะกั่ว – กรดมา
ไม่ต่�ำกวา่ ๖๐ ปี สามารถผลติ แบตเตอร่ีส�ำหรบั รถยานเกราะล้อยางแบบ BTR-3E1 จากผลงานวิจัยได้
๗. การประเมินดา้ นมาตรฐานทางทหาร
ยังไม่ได้ส่งผลงานวิจัยรับรองมาตรฐานอุปกรณ์ของ กมย.กห. จะด�ำเนินการส่งผลงานวิจัยรับรอง
เมือ่ ด�ำเนินโครงการขยายผลแบตเตอร่สี �ำหรบั รถยานเกราะล้อยางแบบ BTR - 3E1 ในปี งป.๖๕ (อนมุ ัตแิ ผนแลว้
รองบประมาณ จาก วท.กห. ในการด�ำเนินงาน)
๘. ความพร้อมในการผลติ
จะมีความพร้อมในการเปิดสายการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพเม่ือด�ำเนินโครงการขยายผลแบตเตอรี่
ส�ำหรบั รถยานเกราะล้อยางแบบ BTR - 3E - 1 ในปี งป.๖๕ เนื่องจากรวบรวมปัญหาข้อขัดข้องในขั้นตอนการผลติ
มาพฒั นาแกไ้ ขในโครงการขยายผล ฯ
๙. ความพร้อมด้านงบประมาณในการผลติ
มคี วามพร้อมด้านงบประมาณส�ำหรับรองรบั สายการผลิต
๑๐. ขอ้ มูลส�ำคัญอน่ื ๆ ของผลงานวจิ ัย

๑๐.๑ ไดอ้ งค์ความรใู้ นการออกแบบแบตเตอร่ี ส�ำหรับรถยานเกราะล้อยางแบบ BTR-3E1
๑๐.๒ ผลติ แบตเตอรีต่ ้นแบบ ขนาด 24V. 85Ah จ�ำนวน ๒๕ หมอ้ ทีม่ มี ิติ การติดตง้ั การเชื่อมต่อ
วงจรเหมอื นมาตรฐานทใ่ี ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั มคี ณุ ภาพและสมรรถนะเทยี บเทา่ สามารถใชท้ ดแทนแบตเตอรท่ี ก่ี องทพั บก
และกองทัพเรือใชง้ านอยู่ในปจั จบุ ันได้
๑๐.๓ น�ำแบตเตอรี่ต้นแบบไปทดสอบสมรรถนะภาคสนามในพ้ืนที่ของหน่วยใช้งาน ๓ หน่วย คือ
กองพันรถถงั กองพลนาวิกโยธนิ (พนั .ถ.พล.นย.) อ.สัตหีบ จ.ชลบรุ ี กองพนั ทหารราบที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๒๑
รักษาพระองค์ (ร.๒๑ พัน.๑ รอ.) ค่ายนวมินทราชินี จ.ชลบุรี และ กองพันทหารราบท่ี ๑ กรมทหารราบท่ี ๒
รกั ษาพระองค์ (ร.๒ พัน.๑ รอ.) คา่ ยจักรพงษ์ จ.ปราจีนบรุ ี

68

รวมผลงานวิจยั ท่มี ศี กั ยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓. แบตเตอร่ี ส�ำหรบั ใช้งานในระบบโซล่าเซลล์


๑. ช่อื ผลงานวิจยั
แบตเตอร่ี ส�ำหรับใชง้ านในระบบโซลา่ เซลล์
๒. ที่มาของผลงานวิจยั
๒.๑ ช่อื โครงการ
โครงการพฒั นากระบวนการผลติ แบตเตอร่ี ส�ำหรบั ใชง้ านในระบบโซลา่ เซลล์
๒.๒ หน่วยเจ้าของโครงการ
อท.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก ชชู าติ จติ ตรีเหิม
๒.๔ ความเปน็ มา/ปญั หาและสาเหตุ
-
๒.๕ วัตถุประสงค์ของโครงการ
๒.๕.๑ เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพกรรมวธิ กี ารผลติ แบตเตอรที่ ใ่ี ชง้ านส�ำหรบั โซลา่ เซลล์ (Deep Cyle)
โดยใชส้ ายการผลติ DC 125 เป็นต้นแบบในการพฒั นา
๒.๕.๒ เพื่อก�ำหนดขั้นตอนวิธีการท่ีชัดเจนในการผลิต DC 125 ให้มีคุณภาพเป็นไปตาม
ความตอ้ งการของผ้ใู ชง้ าน
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๒,๔๘๕,๒๘๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
งบอดุ หนนุ การวิจัยและพัฒนาการทหารของ กห.
๓. คณุ ลกั ษณะส�ำคญั ของผลงาน
๓.๑ เปน็ แบตเตอรี่ ขนาด 12 V.150 Ah.
๓.๒ เปลอื กหม้อยางแขง็
๔. ความตอ้ งการผลงานวิจัย
๔.๑ เปน็ การเพ่มิ ขดี ความสามารถของการผลติ แบตเตอรี่ แบบ Deep Cycle ของโรงงานแบตเตอร่ี
ทหาร ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน IEC 60896 - 1
๔.๒ ได้องคค์ วามร้ใู นกรรมวิธกี ารผลติ แบตเตอรีส่ �ำหรับ โซล่าเซลล์ขนาดตา่ ง ๆ
๕. การตอบสนองภารกิจ
-

69

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมศี ักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สูอ่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยีของผลงานวจิ ัย
โรงงานแบตเตอรี่ทหาร ฯ มีประสบการณแ์ ละองค์ความรู้ในการผลิตแบตเตอร่ีชนดิ ตะกั่ว - กรด มา
ไมต่ ่�ำกวา่ ๖๐ ปี สามารถรองรับการพฒั นาในการผลติ แบตเตอรีส่ �ำหรบั ใชง้ านในระบบโซลา่
๗. การประเมินดา้ นมาตรฐานทางทหาร
ยงั ไมไ่ ด้ส่งผลงานวิจยั รับรองมาตรฐานอปุ กรณข์ อง กมย.กห.
๘. ความพร้อมในการผลติ
มีความพรอ้ มส�ำหรบั การเปดิ สายการผลติ
๙. ความพร้อมด้านงบประมาณในการผลิต
มีความพร้อมด้านงบประมาณส�ำหรับรองรับการเปิดสายการผลิต
๑๐. ข้อมลู ส�ำคัญอน่ื ๆ ของผลงานวิจัย
๑๐.๑ ไดอ้ งคค์ วามรใู้ นการพฒั นาปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ แบตเตอรแ่ี บบ Deep Cycle ของโรงงาน
แบตเตอร่ีทหาร ให้เป็นไปตามมาตรฐาน IEC 60896-1 และได้แบตเตอรี่ต้นแบบ จ�ำนวน ๖๐ หม้อ ซึ่งขนาด
12V 125 Ah เปลือกหมอ้ ยางแข็ง
๑๐.๒ ต้นแบบ ๖๐ หม้อ น�ำแบตเตอรี่ต้นแบบไปทดสอบภาคสนาม โดยน�ำไปติดต้ังกับระบบ
โซลา่ เซลล์ ณ จดุ ตรวจรว่ มนำ�้ เกรกิ๊ อ.สงั ขละบรุ ี จ.กาญจนบรุ ี ซงึ่ เปน็ พนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบของหนว่ ยเฉพาะกจิ ลาดหญา้
กองก�ำลังสรุ สหี ์ และไปตรวจติดตามผลการใช้งานอย่างตอ่ เนอ่ื ง พบวา่ สามารถกักเกบ็ พลังงานในระบบโซล่าเซลล์
และจา่ ยกระแสไฟฟ้าให้กบั ภารกจิ ส�ำหรบั การติดตอ่ ส่ือสาร และใหแ้ สงสว่างในพ้ืนทไ่ี ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๑๐.๓ ได้องค์ความรใู้ นกรรมวิธกี ารผลติ แบตเตอรสี่ �ำหรับโซลา่ เชลลข์ นาดตา่ ง ๆ

70

รวมผลงานวิจยั ทม่ี ีศักยภาพพรอ้ มผลักดันสูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๔. วิจยั และพัฒนาดนิ ส่งกระสุนส�ำหรบั กระสุน ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นิ้ว)

๑ ช่ือผลงานวจิ ยั
วจิ ยั และพัฒนาดนิ สง่ กระสุนส�ำหรบั กระสุน ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ น้ิว)
๒. ทม่ี าของผลงานวจิ ัย
๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการวจิ ัยและพัฒนาดินสง่ กระสุนส�ำหรับกระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นิ้ว)
๒.๒ หน่วยเจ้าของโครงการ
รวท.อท.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
พลเรอื ตรี บญุ ศลิ ป์ กลุ ศริ ิพฤกษ์
นาวาเอก กฤษณ์ ค�ำโฉม
๒.๔ ความเป็นมา/ปญั หาและสาเหตุ
นโยบาย สป. พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ ในดา้ นการอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศและพลงั งาน “พฒั นา
ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศให้มีมาตรฐานและตรงตามความต้องการของหน่วยใช้ โดยการปรับปรุง
โครงสร้างการบริหารจัดการ และโรงงานผลิตให้มีประสิทธิภาพเป็นท่ียอมรับและทัดเทียมกับนานาประเทศ
สร้างกลไกการตลาดให้สามารถรองรับการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ทั้งในประเทศและ
ส่งออกต่างประเทศ พัฒนาและผลักดันกฎหมายท่ีสนับสนุนกิจการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ เพื่อมุ่งไปสู่การ
พง่ึ พาตนเอง “แผนการด�ำเนินงานดา้ นอตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ตามแผนพัฒนา สป. พ.ศ. ๒๕๕๔- ๒๕๖๓”
โดยมีเปา้ หมายในการด�ำเนนิ การดา้ นอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ คือ ดา้ นดินส่งกระสุน กระสนุ และวัตถรุ ะเบิด
รวท.อท.ศอพท. มีความจ�ำเป็นต้องริเริ่มด�ำเนินโครงการวิจัยและพัฒนาดินส่งกระสุนส�ำหรับ
กระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นิ้ว) เพือ่ ใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรหู้ รือข้อมูลทางเทคนคิ ในการผลิตอยา่ งเพยี งพอ ในการ
ทจี่ ะผลติ ดนิ สง่ กระสนุ ส�ำหรบั กระสุน ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นิ้ว) เพือ่ ต่อยอดในการประกอบรวมเปน็ กระสุนปืน
ครบนัด เพ่ือสนับสนุน ให้กับเหล่าทัพ อย่างมีคุณภาพและตรงตามความต้องการของผู้ใช้มากท่ีสุดเพ่ือเป็นการ
น�ำเครอ่ื งจกั รอปุ กรณข์ อง รวท.อท.ศอพท. มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ อกี ทงั้ ยงั เปน็ การเพมิ่ พนู ความรู้ ประสบการณ์
ของก�ำลงั พล ให้มคี วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๒.๕ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
เพอ่ื ศกึ ษากระบวนการผลติ และทดลองผลติ ดนิ สง่ กระสนุ ส�ำหรบั กระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐นวิ้ )
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๒ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๒,๔๑๖,๓๕๐ บาท

71

รวมผลงานวิจัยท่มี ีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั ส่อู ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
งบอดุ หนุนการวจิ ยั และพัฒนาการทางทหารของ กห.
๓. คณุ ลักษณะส�ำคัญของผลงาน
จากผลการวจิ ัยของโครงการวิจยั และพฒั นาดนิ ส่งกระสนุ ส�ำหรับกระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นิว้ )
ดินส่งกระสุนต้นแบบที่วิจัยพัฒนาขึ้นมีคุณสมบัติทางขีปนวิธี เทียบเท่ากับดินส่งกระสุนของต่างประเทศ และ
สามารถขยายผลเป็นโครงการผลิตกระสุน ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐นิ้ว) ครบนัด ที่มีคุณภาพเทียบเท่ากับของ
ต่างประเทศได้
๔. ความตอ้ งการผลงานวจิ ยั
จากการศกึ ษาขอ้ มลู การใชง้ านกระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นวิ้ ) มหี นว่ ยงานทม่ี กี ารใชง้ านยทุ โธปกรณ์
ดังกล่าวคอื กองทพั บก กองทพั อากาศ และกองทัพเรือ เพอื่ ใช้ส�ำหรบั การฝึกและการส�ำรองสงคราม อกี ทงั้ ยังมี
บรษิ ทั ฯ เอกชนภายในประเทศใหค้ วามสนใจดนิ สง่ กระสนุ ส�ำหรบั กระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นว้ิ ) ทว่ี จิ ยั พฒั นา
ขึน้
๕. การตอบสนองภารกิจ
รวท.อท.ศอพท. มภี ารกจิ ในการผลติ วตั ถรุ ะเบดิ และกระสนุ ตลอดจนวจิ ยั และพฒั นาผลผลติ ใหส้ ามารถ
ตอบสนอง ความตอ้ งการของเหล่าทพั
๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยีของผลงานวิจัย
รวท.อท.ศอพท. ได้รบั การถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลติ ดนิ ส่งกระสุน ฐานเดี่ยว (Single Base) ฐานคู่
(Double Base) จากบรษิ ัทโนเบลวตั ถรุ ะเบดิ สหราชอาณาจักร และดินสง่ กระสนุ ฐานสาม (Triple Base) จาก
บรษิ ัท IMI ประเทศอิสราเอล ซึ่งในเทคโนโลยขี องการผลติ ดินสง่ กระสุนทง้ั ๓ แบบ คงเพยี งพอทีจ่ ะใชใ้ นการผลิต
ดนิ ส่งกระสุนส�ำหรบั กระสุนขนาด ๑๒.๗ มม. (.๕๐ นวิ้ )
๗. การประเมนิ ดา้ นมาตรฐานทางทหาร
-
๘. ความพรอ้ มในการผลติ
มคี วามพรอ้ มส�ำหรับการเปดิ สายการผลิต
๙. ความพรอ้ มด้านงบประมาณในการผลติ
มคี วามพร้อมดา้ นงบประมาณส�ำหรบั รองรบั การเปดิ สายการผลติ
๑๐. ขอ้ มลู ส�ำคญั อน่ื ๆ ของผลงานวิจัย
๑๐.๑ รวท.อท.ศอพท. ไดข้ อ้ มลู เทคนคิ การผลติ ในการผลติ ดนิ สง่ กระสนุ ส�ำหรบั กระสนุ ขนาด ๑๒.๗ มม.
(.๕๐ นว้ิ )
๑๐.๒ เป็นการเพ่ิมพนู ความร้แู ละประสบการณ์ใหก้ บั ก�ำลงั พลของ รวท.อท.ศอพท.
๑๐.๓ เป็นการน�ำเคร่ืองมอื เครือ่ งจักรของ รวท.อท.ศอพท. มาใชง้ านใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด
๑๐.๔ ลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ และเปน็ ไปตามนโยบายพง่ึ พาตนเองของรัฐบาล

72

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดันสอู่ ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๕. ตน้ แบบเครอ่ื งบนิ ฝึกบังคบั ด้วยวทิ ยุ SIKAN
๑. ช่ือผลงานวจิ ยั
ตน้ แบบเคร่อื งบินฝึกบังคับดว้ ยวทิ ยุ SIKAN
๒. ทีม่ าของผลงานวิจยั
๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการพฒั นาตน้ เครอื่ งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale สสู่ ายการผลติ เชงิ อตุ สาหกรรม
ป้องกนั ประเทศ
๒.๒ หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.

73

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ีศักยภาพพร้อมผลกั ดนั ส่อู ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก เจษฎา พทุ ธพงศ์วไิ ล
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
จากยทุ ธศาสตรก์ องทพั อากาศ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ก�ำหนดวสิ ยั ทศั นท์ จี่ ะเปน็ “กองทพั อากาศ
ชัน้ น�ำในภูมภิ าค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” และนโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๓
ดา้ นการวจิ ยั พฒั นา และอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ขอ้ ๘.๔ พจิ ารณาน�ำผลงานวจิ ยั และพฒั นาการทหารกองทพั
อากาศเขา้ สกู่ ระบวนการผลติ โดยพจิ ารณารปู แบบการผลติ ทค่ี �ำนงึ ถงึ ความรว่ มมอื กบั อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ
และการบริหารจัดการลิขสิทธ์ิอย่างเหมาะสม ซ่ึง ศวอ.ทอ. ได้ด�ำเนินการโครงสร้างอากาศยานไร้คนขับต้นแบบ
ของกองทพั อากาศ ตง้ั แตป่ ี ๒๕๕๑ ท�ำให้ ศวอ.ทอ. มขี ดี ความสามารถในการสรา้ งและซอ่ มบ�ำรงุ เครอ่ื งบนิ ฝกึ บงั คบั
ด้วยวิทยุท่ีท�ำจากวัสดุผสม (Composite Materials) ขนาดต่าง ๆ ได้และได้สร้างเคร่ืองบินฝึกบังคับด้วยวิทยุ
ขนาด Half Scale สนับสนุนฝูงบิน ๓๐๑ กองบิน ๓ ใช้งานในการฝึกบินให้กับผู้บังคับอากาศยานภายนอก
หรอื นกั บินภายนอก (External Pilot) โดยปัจจุบนั มีเครอ่ื งบินฝึกบังคบั ดว้ ยวทิ ยุขนาด Half Scale ท่ี ศวอ.ทอ.
สรา้ งใหฝ้ งู บนิ ๓๐๑ กองบนิ ๓ ใชง้ านไมเ่ พยี งพอและมคี วามตอ้ งการเครอ่ื งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale
เพ่ิมมากข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิด การปรับปรุงโครงสร้างกองทัพอากาศ จัดตั้งศูนย์ฝึกนักบินอากาศยาน
ไร้คนขับของ ทอ. ในการปรับปรุง พัฒนาเครื่องบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาดกลางให้มีมาตรฐานระดับสากล
พรอ้ มสสู่ ายการผลติ เชงิ อตุ สาหกรรม ในการพฒั นาก�ำลงั กองทพั อากาศและการพฒั นาอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ
(Defense Industry) ตามทิศทางยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) อันจะน�ำไปสู่ความ
ย่งั ยืนท่เี ป็นรปู ธรรมต่อไป
๒.๕ วัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. เพ่ือพฒั นาต้นแบบเคร่ืองบนิ ฝึกบินดว้ ยวทิ ยุขนาด Half Scale ใหม้ ีความปลอดภัยมาตรฐาน
สากล จ�ำนวน ๒ เคร่อื ง เพ่อื สสู่ ายการผลิตเชิงอตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ
๒. เพ่อื พัฒนาการออกแบบใหม้ คี วามแมน่ ย�ำ มีความปลอดภัย และมีมาตรฐานสากล
๓. เพอ่ื พฒั นาระบบตา่ ง ๆ กระบวนการผลติ การทดสอบประเมนิ ผล การฝกึ อบรม และการใชง้ าน
๔. เพอ่ื ถา่ ยทอด และเก็บรวบรวมองค์ความรู้ทเี่ ป็นประโยชน์ในการปฏิบตั ิงาน เพ่ือใหก้ �ำลังพล
สามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง เชน่ จดั ท�ำคมู่ อื การใชง้ าน การสรา้ งรายละเอยี ดชนิ้ สว่ นประกอบตา่ ง ๆ และการซอ่ มบ�ำรงุ
๕. เพ่ือเข้าสกู่ ระบวนการขอรบั รองมาตรฐานยุทโธปกรณ์กองทพั อากาศ
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
ทอ.
๓. คณุ ลกั ษณะส�ำคัญของผลงาน
เครื่องบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาด Half Scale : IKAN เป็นเครื่องบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาดกลาง

74

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมศี กั ยภาพพรอ้ มผลักดันสูอ่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

(เคร่ืองช่วยฝึก) ส�ำหรับนักบินภายนอกของ ฝูง ๓๐๑ บน.๓ ก่อนท�ำการฝึกบินกับอากาศยานไร้คนขับของ ทอ.
มกี ารวางแผนทง้ั แบบวศิ วกรรม Engineering Drawing และแบบการสรา้ ง Layup Drawing มกี ารวเิ คราะหอ์ ากาศ
พลศาสตร์ CFD และวิเคราะห์ความแข็งแรงโครงสร้าง FEA ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีการทดสอบ
ความแข็งแรงโครงสร้างปีกชุดฐานล้อ และผลกระทบทางอากาศพลศาสตร์ด้วยอุโมงค์ลมความเร็วต�่ำกว่าเสียง
อ้างอิงมาตรฐาน STANAG 4671/ 4703 มีการออกแบบคู่มือการใช้งาน โปรแกรมการซ่อมบ�ำรุงมีพัสดุอะไหล่
ใช้งานงา่ ย มคี ่าซ่อมบ�ำรุงต�่ำและราคาถกู กวา่ จัดหาจากต่างประเทศ โดยมีคุณลักษณะและสมรรถนะดังนี้
๓.๑ โครงสรา้ งเป็นวสั ดุผสม Composite Material
๓.๒ มิติมีขนาด ล�ำตวั ๓.๕๘ เมตร ความยาวปีก ๔.๕๘ เมตร สงู ๑.๑๖ เมตร
๓.๓ เครื่องยนตล์ กู สูบ ๒ จงั หวะขนาด ๑๗๐ ลบ.ซม. ๑๗.๕ แรงม้า พรอ้ ม Starter motor
๓.๔ หนักตัวเปล่า ๖๕ กิโลกรมั
๓.๕ น้�ำหนกั ว่ิงข้นึ สงู สดุ ๘๐ กโิ ลกรัม
๓.๖ ความเร็วปฏบิ ตั กิ าร ๑๑๐ กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง
๓.๗ ความเร็วสงู สุด ๑๘๐ กโิ ลเมตรตอ่ ชัว่ โมง
๓.๘ ระยะเวลาปฏิบตั กิ าร ๑ ชัว่ โมง
๓.๙ เพดานบนิ สูงสุด ๑ กิโลเมตร
๓.๑๐ ระยะปฏบิ ตั กิ าร ๒ กิโลเมตร
๓.๑๑ ระบบความคุมการบนิ Radio Control 2.4GHz band
๔. ความต้องการผลงานวจิ ยั
เครือ่ งบินฝึกบงั คบั ด้วยวิทยุขนาด Half Scale : SIKAN มีคุณลักษณะและสมรรถนะตอบสนองความ
ตอ้ งการในการฝกึ นกั บินภายนอกของ ทอ. ซงึ่ มคี วามต้องการ ๒ ฝงู จ�ำนวน ๑๐ เคร่อื ง และ ทบ. ทร. ซ่ึงปจั จุบนั
ไม่มเี ครอื่ งฝกึ ขนาดกลาง (ระยะปกี ๔.๕ เมตร) ส�ำหรับฝกึ บินและมตี ้องการใชง้ านเพิ่มเตมิ
๕. การตอบสนองภารกิจ
๕.๑ กองทพั ไทย สามารถน�ำเครอื่ งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale : SIKAN ทไี่ ดจ้ ากโครงการ
ไปใช้ในการฝึกบนิ ใหก้ บั นักบินภายนอก อ.ไรค้ นขับได้
๕.๒ ศวอ.ทอ. สามารถสร้าง/ซ่อมแซม เคร่ืองบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาดต่าง ๆ ได้เอง โดยเฉพาะ
เครอื่ งบนิ ฝกึ ทที่ �ำจากวสั ดผุ สม (Composite Materials) สามารถน�ำผลงานไปใชใ้ นการวจิ ยั พฒั นาขดี ความสามารถ
ในการสร้าง/ซอ่ ม อากาศยานไร้คนขบั ของกองทัพไทยได้ในอนาคต
๕.๓ ศวอ.ทอ. สามารถสนับสนุนเครื่องบินฝึกบังคับด้วยวิทยุส�ำหรับนักบินภายนอกของ บน.๓
ใหส้ ามารถปฏิบัตภิ ารกิจการบนิ อากาศยานไรค้ นขบั ของ ทอ. ไดจ้ �ำนวนเพิม่ ขึ้น
๕.๔ ศวอ.ทอ. ยก.ทอ. และ บน.๓ สามารถน�ำเครอื่ งบนิ ท่ีสรา้ งจากโครงการไปดดั แปลงติดตง้ั ระบบ
ตา่ ง ๆ เพิ่มเตมิ ใหเ้ ปน็ อากาศยานไร้คนขบั ไดใ้ นอนาคต
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวิจยั

การพฒั นาต้นแบบทางวิศวกรรมของเครอื่ งบินฝึกบนิ ดว้ ยวทิ ยุขนาด Half Scale : SIKAN ที่ผา่ นนั้น
ถอื ไดว้ า่ เปน็ กา้ วแรกทมี่ คี วามส�ำคญั ตอ่ การพฒั นาศกั ยภาพทางดา้ นยทุ โธปกรณอ์ ากาศยานไรค้ นขบั ภายในประเทศ

75

รวมผลงานวจิ ยั ทีม่ ีศักยภาพพรอ้ มผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

เพื่อการพ่งึ พาตนเองบนพน้ื ฐานเทคโนโลยขี องระบบอากาศยานไรค้ นขับอย่างแท้จรงิ จะสามารถน�ำไป สูก่ ารเสริม
ขดี ความสามารถดา้ นการฝกึ ใหเ้ กดิ ทกั ษะความช�ำนาญของการบงั คบั เครอื่ งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale
: SIKAN ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การสรา้ งเครื่องบินฝึกบังคับดว้ ยวทิ ยขุ นาดเล็ก Half Scale ตอ้ งใช้การออกแบบ
ชนั้ ละเอยี ด (Detail Design) การทดสอบใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล และระบบความของเครอ่ื งบนิ ฝกึ บนิ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยุ
ขนาด Half Scale เปน็ สง่ิ ทต่ี ้องค�ำนึงถงึ เปน็ ส�ำคัญอยา่ งแรก เพราะฉะนนั้ การพฒั นาเครอื่ งบินฝกึ บงั คับดว้ ยวิทยุ
ขนาด Half Scale ใหม้ ีระบบความปลอดภัยสูงข้ึนและมีมาตรฐานท้งั โครงสร้าง จุดเชอื่ มต่อตา่ ง ๆ รวมถึงพฒั นา
ระบบความปลอดภัย Safety Mode เม่ือเคร่ืองบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาด Half Scale : IKAN เกิดมีปัญหา
ในระหวา่ งการฝกึ นอกจากนกี้ ารออกแบบใหเ้ ครอ่ื งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale : SIKAN มคี วามสะดวก
ต่อการใช้งานสามารถถอดประกอบง่าย ท�ำให้มีความพร้อมรับมือกับการใช้งานในทุกรูปแบบ จึงจ�ำเป็น
ต้องมีการผลิตเครื่องบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาด Half Scale : SIKAN เพ่ิมเติมเพ่ือให้เหล่าทัพ ได้น�ำไปทดลอง
ใชง้ านในการฝกึ บนิ ใหก้ บั นกั บนิ ภายนอก และรองรบั ศนู ยฝ์ กึ นกั บนิ อ.ไรค้ นขบั ของ ทอ. พรอ้ มทงั้ กา้ วเขา้ สกู่ ารเปน็
ศูนย์กลางการพัฒนาอากาศยานไร้คนขับอย่างแท้จริง นอกจากนี้องค์ความรู้ที่ได้จากการติดตั้งอุปกรณ์เพ่ิมเติม
จะท�ำใหเ้ กดิ องคค์ วามรใู้ นการดดั แปลงออกแบบเครอื่ งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale เปน็ พนื้ ฐานส�ำหรบั
การประกอบเปน็ อากาศยานไรค้ นขบั ไดใ้ นอนาคต แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี หากอา้ งถงึ ทฤษฎแี ละหลกั การ “กา้ วขา้ มอปุ สรรค
ของการส่งผ่านงานวิจัยสู่สายการผลิตในอนาคต” ซึ่งการด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาต่าง ๆ ในส่วนของต้นแบบ
ทางวิศวกรรมเคร่ืองบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาด Half Scale ที่ได้กล่าวมาในข้างต้นถือได้ว่า เป็นความคิดริเริ่ม
ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง แต่ในทางวิชาการยังคงถูกนิยามให้จ�ำกัดอยู่ภายใต้บริบทของการวิจัยพ้ืนฐาน (Basic
Research) หากแตเ่ ปน็ การด�ำเนนิ การควบคไู่ ปกบั การศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นขนั้ ตน้ (Early Feasibility Studies)
ซ่ึงแม้ว่าต้นแบบเคร่ืองบินฝึกบังคับด้วยวิทยุขนาด Half Scale น้ี ได้ถูกน�ำไปใช้งานกับหน่วยผู้ใช้ (End User)
เกิดความตระหนัก
๗. การประเมินดา้ นมาตรฐานทางทหาร
๗.๑ ด�ำเนนิ เข้าสกู่ ระบวนการรับรองมาตรฐานยุทโธปกรณก์ องทพั อากาศเพมิ่ เตมิ
๗.๒ การทดสอบและสอบทานเพ่ิมเติมกอ่ นขอรบั รองมาตรฐานยทุ โธปกรณก์ ระทรวงกลาโหม
๘. ความพรอ้ มในการผลิต
๘.๑ ด้านบคุ ลากรทางการวจิ ัย

- ศวอ.ทอ. มีบุคลากรท่ีจบการศึกษาด้านวิศวกรรมอากาศยานท้ังในประเทศและต่างประเทศ
มบี คุ ลากรทม่ี ปี ระสบการณใ์ นการประกอบรวมระบบ บ.เปา้ บนิ เครอ่ื งบนิ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาดตา่ ง ๆ และอากาศมาแลว้

- ฝูงบิน ๓๐๑ บน.๓ มีประสบการณ์ในการบินทดสอบต้นแบบเคร่ืองบินฝึกบังคับด้วยวิทยุ
ขนาด Half Scale : SIKAN มาแล้ว

- ขอ. มบี คุ ลากรทม่ี คี วามรู้และประสบการณด์ า้ นการสง่ ก�ำลงั และการซอ่ มบ�ำรุง
- สอ.ทอ. มีบุคลากรทีม่ ีความร้แู ละประสบการณ์ด้านระบบสือ่ สารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
- รร.นนก. มีบุคลากรทีม่ ีความร้ดู ้านการวเิ คราะหอ์ ากาศพลศาสตร์ดว้ ยอุโมงค์ลม
- สนภ.ทอ. มบี คุ ลากรทม่ี คี วามรแู้ ละประสบการณด์ า้ นนริ ภยั การบนิ นริ ภยั ภาคพนื้ ความปลอดภยั
และความสมควรเดินอากาศ (Airworthiness)

76

รวมผลงานวจิ ยั ที่มีศกั ยภาพพร้อมผลักดนั สู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

- สบน.ทอ. (MAA) มบี คุ ลากรทมี่ คี วามรแู้ ละประสบการณด์ า้ นมาตรฐาน ทอ. และมาตรฐานสากล
๘.๒ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
- ศวอ.ทอ. เปน็ ผเู้ ขยี นแผนแบบอากาศยาน เครอ่ื งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale : SIKAN

- ศวอ.ทอ. มีเคร่ืองมือในการเขียนแบบออกแบบ ๓ มิติ วิเคราะห์ความแข็งแรงและวิเคราะห์
อากาศพลศาสตร์ที่เปน็ มาตรฐานสากล

- ศวอ.ทอ. มีประสบการณ์ในการสรา้ ง เคร่ืองบินฝึกบังคับดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale : SIKAN
ทที่ �ำจากวสั ดผุ สมมาแลว้ ต้ังแต่ปี ๕๔ - ปจั จบุ นั จ�ำนวนรวม ๑๓ เครอ่ื ง
๘.๓ ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมือและส่งิ อ�ำนวยความสะดวก

- ศวอ.ทอ. มเี ครอื่ งมอื ทดสอบความแขง็ แรงของโครงสรา้ งอากาศยานซงึ่ เคยใชท้ ดสอบโครงสรา้ ง
ปกี บ.ทอ.๖

- ศวอ.ทอ. มสี ถานที่ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมอื ในการสรา้ งเครอ่ื งบนิ ฝกึ บงั คบั ดว้ ยวทิ ยขุ นาด Half Scale
และ Full Scale ท่ีท�ำจากวสั ดุผสม

การทดสอบภาคพื้นและภาคอากาศ สามารถใช้สนามบินของ บน. ๓ วัฒนานคร จ.สระแก้ว
ทส่ี ามารถให้การสนับสนุนการทดสอบอากาศยานไร้คนขบั ต้นแบบหรือการฝกึ บินบงั คับดว้ ยวิทยุได้
๙. ความพร้อมดา้ นงบประมาณในการผลติ
ขอรบั การสนบั สนนุ ชดุ โครงการขยายผลงานวจิ ยั พฒั นาของ วท.กห. ปี ๖๓ - ๖๕ ความรู้ (Awareness
Building) ถึงขีดความสามารถในการท�ำงานและความเป็นไปได้ในการสนับสนุนปฏิบัติภารกิจแล้วก็ตาม
แต่เมอื่ พจิ ารณาจากระดบั ความพรอ้ มเทคโนโลยสี อู่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ Technology Readiness Levels:
TRL 1-9) โดยองค์รวมแล้ว แม้ว่าคุณสมบัติทางเทคนิคท่ีผ่านการตรวจสอบความเชื่อถือได้อย่างสมเหตุสมผล
อกี ทงั้ ยังเปน็ ต้นแบบทม่ี คี วามพร้อมทางวศิ วกรรมครบถ้วนสมบรู ณ์ (Technical Validation & Prototyping แต่มี
ความจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องด�ำเนินการต่อยอดไปสู่การพัฒนาต้นแบบสายการผลิต (Production Prototype)
ต่อไป ซ่ึงถือได้ว่าจะเป็นกุญแจส�ำคัญในการก้าวข้ามอุปสรรคของการน�ำผลงานวิจัยไปสู่การสร้างนวัตกรรม
หรือการส่งผ่านไปสู่สายผลิตเชิงอุตสาหกรรมในอนาคต โดยอาศัยกลไกการยกระดับต้นแบบทางวิศวกรรม
(Engineering Prototype) ใหส้ งู ขึ้น ด้วยการปรบั ปรุงสมรรถนะเพมิ่ ความปลอดภยั และมาตรฐานของต้นแบบ
วิศวกรรมให้ดีขึ้น เป็นระบบลดความซับซ้อน อีกทั้งแก้ไขข้อบกพร่องและลดข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ที่ตรวจพบได้
จากทดลองตน้ แบบทางวศิ วกรรมทผี่ า่ นมา ชว่ ยเพมิ่ ความมน่ั ใจของผอู้ อกแบบ และผใู้ ชว้ า่ มคี ณุ ลกั ษณะการท�ำงาน
ที่เช่ือถือได้ พร้อมท้ังผ่านการทดสอบความแข็งแรงโครงสร้างและความปลอดภัยในการบินต่อเน่ืองได้
อย่างเปน็ ระเบียบแบบแผนทางวศิ วกรรมถา้ การทดสอบตน้ แบบทางวิศวกรรมประสบผลส�ำเรจ็ ดว้ ยดี หรอื มีความ
จ�ำเป็นต้องปรับปรุงเพียงเล็กน้อยและผ่านการรับรองมาตรฐานยุทโธปกรณ์กระทรวงกลาโหม เช่นการทดสอบ
สมรรถนะการบิน (Performance Flight Test) การทดสอบเสถียรภาพการบิน (Stability Flight Test)
การทดสอบระบบควบคุมการบินอัตโนมัติ (Autopilot System Test) ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า
(Electromagnetic Compatibility : EMC) เป็นต้น จึงจะสามารถเข้าสู่การพัฒนาผลิตต้นแบบสายการผลิต
(Production Prototype) และผลิตแจกจ่ายไปยังหน่วยผู้ใช้งานในกองทัพไทย เพ่ือท�ำการทดสอบ ทดลอง
และประเมนิ ผลการใช้งาน เพ่อื ลดค่าใชจ้ า่ ยในการจัดหาจากตา่ งประเทศและพง่ึ พาตนเองไดอ้ ย่างสมบรู ณ์

77

รวมผลงานวจิ ยั ท่มี ีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

รูปที่ ๑ ระดับความพร้อมเทคโนโลยสี ู่อตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ (Technology Readiness Levels : TRL 1-9
รปู ท่ี ๒ แนวทางการขบั เคล่ือนผลงานวิจัยและพัฒนาส่อู ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ๘ ขนั้ ตอน
การวิเคราะหอ์ ากาศพลศาสตรด์ ้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การวเิ คราะหค์ วามแขง็ แรงโครงสรา้ งดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

78

รวมผลงานวิจยั ทม่ี ศี ักยภาพพรอ้ มผลักดันสอู่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

การทดสอบความแขง็ แรงโครงสร้างและผลกระทบอากาศพลศาสตรด์ ้วยอโุ มงค์ลมตาม STANAG 4671

๑๐. ข้อมูลส�ำคญั อ่นื ๆ ของผลงานวิจยั

โมเดลของต้นแบบเครอ่ื งบินฝึกดว้ ยวทิ ยุ Half Scale : SIKAN การออกแบบส่วนประกอบของเครื่องบนิ ออกเปน็ โมดูล

ส่วนประกอบทส่ี �ำคัญของเครื่องบนิ ฝกึ ด้วยวิทยุ Half Scale : SIKAN

การวางแผนทางวศิ วกรรม การแผนแบบสร้างชน้ิ สว่ นและโครงสร้าง Layup Drawing
79

รวมผลงานวจิ ยั ทม่ี ศี ักยภาพพรอ้ มผลกั ดันส่อู ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๖. บรรจุภณั ฑ์ดบั ไฟปา่ แบบแตกกระทบพนื้ ส�ำหรบั ติดตั้งกบั บ.ล.๘

๑. ช่อื ผลงานวจิ ยั
บรรจุภัณฑ์ดบั ไฟปา่ แบบแตกกระทบพ้ืนส�ำหรับ ตดิ ตั้งกับ บ.ล.๘
๒. ท่มี าของผลงานวิจัย
๒.๑ ชื่อโครงการ
โครงการศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นการสรา้ งบรรจภุ ณั ฑด์ บั ไฟปา่ แบบแตกกระทบพน้ื ส�ำหรบั ตดิ ตง้ั
กับ บ.ล.๘
๒.๒ หนว่ ยเจ้าของโครงการ
ศวอ.ทอ.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก คมน์ แสงอ�ำพนั ธ์
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
ประเทศไทยมีพื้นที่ต้ังอยู่ในเขตร้อนขึ้น มีพ้ืนท่ีป่าไม้ร้อยละ ๓๑.๕๘ ของพ้ืนท่ีท้ังหมด
ของประเทศไทยหรือคิดเป็น ๑๖๓,๔๗๙ ๖๔ ตร.กม. ในแต่ละปีเม่ือเข้าสู่ฤดูร้อนหรือฤดูหนาวอากาศแห้งนั้น
มกั เกดิ เหตไุ ฟไหมป้ า่ บอ่ ยครงั้ สรา้ งความเสยี หายใหก้ บั พนื้ ทปี่ า่ ไมบ้ รเิ วณกวา้ ง หากสามารถจ�ำกดั พนื้ ทขี่ องการเกดิ
ไฟป่าใหเ้ ลก็ ลงหรือใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ พน้ื ท่ีป่าไมใ้ หน้ ้อยทส่ี ุด จะเปน็ การลดความเสียหายทเ่ี กิดขน้ึ ได้
กองทัพอากาศเป็นหนว่ ยงานท่ีมภี ารกจิ ในการสนับสนนุ การดบั ไฟป่าโดยบรรจนุ ำ้� ใส่ถุงพลาสตกิ
ลงในกล่องควบคุมไฟป่า (PCADS) มีฐานกล่องและฝาบนท�ำด้วยไม้ โดยใช้รูปแบบการขนส่งบริภัณฑ์ทางอากาศ
(Container Delivery System: CDS) ตดิ ต้งั กบั เครือ่ งบินล�ำเลยี งแบบที่ ๘ (C-130H) และปลอ่ ยกล่องควบคุมไฟปา่
ในพ้นื ทเ่ี ป้าหมายที่ก�ำหนด

รปู ท่ี ๑ การตดิ ตัง้ กลอ่ งควบคุมไฟปา่ (PCADS) กับเครอื่ งบินล�ำเลยี งแบบท่ี ๘ (C – 130H)

ปัญหาและสาเหตุ
กลอ่ งควบคมุ ไฟปา่ จะตอ้ งปลอ่ ยออกจาก บ.ล.๘ ตามความสงู ทกี่ �ำหนด (๕๐๐ ฟตุ ) เมอื่ ปลอ่ ยออกมาแลว้
ฝาบนซงึ่ ถกู ออกแบบมาใหเ้ ปดิ ออกท�ำหนา้ ทเ่ี สมอื นรม่ ชชู พี ดงึ กลไกใหท้ �ำงาน โดยตดั ถงุ พลาสตกิ บรรจนุ ำ้� อยภู่ ายในกลอ่ ง
ใหแ้ ตกออกหลงั ปลอ่ ยออกมาเปน็ ละอองไปสพู่ น้ื ทเ่ี ปา้ หมาย

80

รวมผลงานวิจยั ท่มี ศี กั ยภาพพร้อมผลักดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

การเกดิ ไฟปา่ แตล่ ะครง้ั โดยสว่ นมากจะเปน็ พน้ื ทภี่ เู ขา ซง่ึ นกั บนิ ไมส่ ามารถบนิ ไปตามความสงู ทกี่ �ำหนด
จงึ ตอ้ งปลอ่ ยกลอ่ งควบคมุ ไฟปา่ ทร่ี ะยะสงู กวา่ ทกี่ �ำหนด ท�ำใหล้ ะอองนำ้� ทไี่ ดม้ ขี นาดเลก็ ลง และระเหยไปกอ่ นทจ่ี ะ
ตกลงไปสู่พื้นทีเ่ ป้าหมายไฟปา่ ทก่ี �ำหนด

รปู ที่ ๒ การทดสอบการทิ้งกลอ่ งควบคุมไฟป่า (PCADS) กบั เครื่องบินล�ำเลียงแบบที่ ๘ (C – 130H)

ในส่วนฝาบนก็จะปลิวไปอย่างไม่มีทิศทาง และในบางคร้ังก็จะปลิวไปตีท้ายเครื่องบิน ซ่ึงก่อให้เกิด
ความเสียหายกับแพนหางของเครอ่ื งบิน กอปรกลอ่ งควบคมุ ไฟปา่ ท่ี ทอ. ใชใ้ นปัจจุบนั ตอ้ งจัดหาจากตา่ งประเทศ
ซ่ึงมรี าคาสูง (ประมาณ ๖๐,๐๐๐ บาท/ชดุ )

รปู ที่ ๓ ฝากล่องควบคมุ ไฟป่า (PCADS) กับเคร่อื งบนิ ล�ำเลยี งแบบที่ ๘ (C – 130H)

ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่ จะพัฒนาบรรจุภัณฑ์ควบคุมไฟป่าโดยใช้วัสดุภายในประเทศ และบรรจุภัณฑ์
ดงั กลา่ วจะตอ้ งไมแ่ ตกบนอากาศท�ำใหน้ ำ�้ ระเหยไปกอ่ นทจี่ ะตกลงไปสพู่ น้ื ทไี่ ฟปา่ ท�ำใหก้ ารดบั ไฟปา่ หรอื การควบคมุ
ไฟปา่ ท�ำได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึน
๒.๕ วัตถุประสงคข์ องโครงการ
เพื่อออกแบบและสร้างบรรจุภัณฑ์ยับยั้งไฟป่าท่ีผลิตได้ภายในประเทศ เพ่ือน�ำมาทดแทน
กล่องควบคุมไฟป่าที่จัดหาจากต่างประเทศ เพ่ิมความพร้อมในการสนับสนุนภารกิจการบรรเทาสาธารณภัย
ของ ทอ. ได้อย่างทันท่วงทีและเทคนิคการปล่อยสารยับย้ังไฟป่าที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมไฟป่า
ใหเ้ หมาะสมกบั พื้นทป่ี ่าทีเ่ กดิ เพลิงไหม้ในประเทศไทยและให้มคี วามปลอดภัยตอ่ อากาศยาน
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๖ เดือน
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๔๙๙,๒๔๐ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
วท.กห.

81

รวมผลงานวิจยั ที่มีศักยภาพพร้อมผลักดนั สอู่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓. คณุ ลักษณะส�ำคัญของผลงาน
๓.๑ สามารถปลอ่ ยบรรจุภณั ฑด์ บั ไฟป่า ท่ีความสงู ปลอดภยั ส�ำหรับนักบิน (๑,๕๐๐ ฟตุ )

๓.๒ ฝาของบรรจภุ ณั ฑด์ บั ไฟปา่ ตอ้ งไม่ปลวิ ไปตที ้ายเคร่ืองและมรี าคาถูกกว่าจดั หาจากต่างประเทศ

๓.๓ บรรจภุ ัณฑด์ ับไฟปา่ ตอ้ งเหมาะส�ำหรับการใชง้ านกบั ปา่ ของประเทศไทย

๔. ความต้องการผลงานวิจยั
๔.๑ ได้บรรจุภัณฑ์และเทคนิคการปล่อยสารดับไฟป่าท่ีเหมาะสม ส�ำหรับใช้งานกับ บ.ล.๘ เพ่ือใช้
ในภารกจิ
๔.๒ นกั บนิ สามารถใช้ บ.ล.๘ ทงิ้ บรรจภุ ณั ฑเ์ พอ่ื ภารกจิ ดบั ไฟปา่ ทรี่ ะยะความสงู ทปี่ ลอดภยั เหนอื พนื้ ดนิ
๔.๓ สามารถขยายผลเขา้ สกู่ ระบวนผลติ เชงิ อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศได้ เนอื่ งจากจะมรี าคาถกู กวา่
การจดั ซ้อื จากต่างประเทศประมาณ ๕ เท่า

82

รวมผลงานวิจัยที่มีศักยภาพพร้อมผลักดันส่อู ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๕. การตอบสนองภารกิจ
ตามยทุ ธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ในยุทธศาสตร์ท่ี ๓ รักษาความมั่นคง
ของรัฐยุทธศาสตร์ท่ี ๔ รักษาผลประโยชน์แห่งชาติ กองทัพอากาศจึงต้องด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์
ดับไฟป่าดังกล่าว เพื่อให้การปฏิบัติการบินดับไฟป่า หรือการควบคุมไฟป่าของกองทัพอากาศท�ำได้อย่าง
มีประสิทธิภาพมากข้ึน และหากสามารถผลักดันงานวิจัยนี้ไปสู่สายการผลิตในประเทศได้ จะเป็นการส่งเสริม
อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศตอบสนองนโยบายรฐั บาล S-Curve ตวั ท่ี ๑๑ คอื การผลกั ดนั อตุ สาหกรรมเทคโนโลยี
ปอ้ งกนั ประเทศ ซง่ึ มกี ระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์วิจัยและนวตั กรรม (อว.) เปน็ ผู้รับผิดชอบ
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยีของผลงานวจิ ยั
มคี วามพรอ้ มดา้ นเทคโนโลยี
๗. การประเมนิ ดา้ นมาตรฐานทางทหาร
อยู่ระหวา่ งการขอรับรองมาตรฐานทางทหาร
๘. ความพร้อมในการผลติ
มีความพรอ้ มดา้ นการผลิต
๙. ความพรอ้ มด้านงบประมาณในการผลิต
-
๑๐. ขอ้ มูลส�ำคัญอ่ืน ๆ ของผลงานวิจยั
-

๗. เคร่ืองผสมสารอัตโนมัติในภารกิจยับยงั้ ไฟป่า

๑. ชื่อผลงานวิจยั
เครอื่ งผสมสารอตั โนมัติในภารกิจยบั ย้ังไฟป่า
๒. ท่มี าของผลงานวจิ ัย
๒.๑ ชอื่ โครงการ
โครงการพฒั นาระบบเครอ่ื งผสมสารอัตโนมตั ิในภารกิจยบั ย้ังไฟปา่
๒.๒ หน่วยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศตรี อธิการ เชือ้ กลาง และ เรอื อากาศเอกหญิง ศริ พิ ร สขุ กุล
๒.๔ ความเปน็ มา/ปัญหาและสาเหตุ
กองทพั อากาศเปน็ หนว่ ยงานทไี่ ดส้ นบั สนนุ ภารกจิ ยบั ยงั้ ไฟปา่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๔
จนถึงปัจจุบัน โดยกองทัพอากาศได้ใช้สารยับย้ังไฟป่าสูตร Firewall I ของบริษัท ECO Fire Solutions, LLC
ซง่ึ มลี กั ษณะเปน็ แบบเจลขน้ และแบบสารของแขง็ PHOSCHEK G75 ซงึ่ สารทงั้ สองน้ี น�ำมาใชใ้ นการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ

83

รวมผลงานวจิ ัยทมี่ ศี ักยภาพพรอ้ มผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ดบั ไฟป่า ซงึ่ มีความต้องการใช้งานในปรมิ าณมาก ๆ ดงั นั้น เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน ลดเวลาความเสย่ี ง
และอันตราย จึงมีความจ�ำเป็นท่ีต้องสร้างชุดอุปกรณ์ในการรองรับ และตอบสนองภารกิจท่ีมีความเร่งด่วน
ในระหว่างผสมสารด้วยการพัฒนาระบบเคร่ืองผสมสารเป็นแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน
และใหม้ คี วามเหมาะสมสะดวกต่อการน�ำไปใชง้ านในสภาวการณป์ จั จุบนั
๒.๕ วัตถุประสงคข์ องโครงการ
เพื่อพัฒนาและสรา้ งระบบเคร่ืองผสมสารยบั ยงั้ ไฟป่าสตู ร Firewall II และ PHOS-CHEK G75
ใหเ้ ปน็ ระบบอตั โนมตั สิ ามารถปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ยบั ยง้ั ไฟปา่ และภารกจิ บรรเทาสาธารณภยั ของกองทพั อากาศไดอ้ ยา่ ง
มีประสิทธิภาพ และทันท่วงที
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๖ เดอื น
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
กองทัพอากาศ
๓. คุณลกั ษณะส�ำคัญของผลงาน

รปู ที่ ๓ ออกแบบเครื่องผสมสารอตั โนมัติ
๔. ความต้องการผลงานวจิ ยั
หนว่ ยงานด้านบรรเทาสาธารณภัยตามกองบินตา่ ง ๆ ของ ทอ.
๕. การตอบสนองภารกิจ
การบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการดบั ไฟปา่
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวจิ ัย
สามารถสรา้ งและจัดหาวัสดภุ ายในประเทศมาใช้ในการสร้างได้
๗. การประเมนิ ด้านมาตรฐานทางทหาร
อยูร่ ะหว่างการขอมาตรฐาน กมย.ทอ.

84


Click to View FlipBook Version