The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by printing144, 2022-07-04 22:30:12

รวมไฟล์ALL-report VT65

รวมไฟล์ALL-report VT65

รวมผลงานวิจยั ที่มีศกั ยภาพพร้อมผลกั ดนั สอู่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๘. ความพร้อมในการผลิต
สามารถด�ำเนนิ การได้ทันที
๙. ความพร้อมดา้ นงบประมาณในการผลิต
-
๑๐. ข้อมูลส�ำคัญอื่น ๆ ของผลงานวิจัย
๑๐.๑ ยงั มีความต้องการปรบั ปรงุ ดา้ นวัสดุทน่ี �ำมาใชใ้ นโครงการเพอ่ื ป้องกนั การเกิดสนิมมากขึ้น
๑๐.๒ ยงั ต้องปรบั ปรุงการท�ำงานการผสมโดยใชม้ อเตอร์และระบบควบคมุ ทีม่ ีขนาดใหญ่เพ่ิมขึ้น
๑๐.๓ ยังตอ้ งการลดนำ�้ หนกั ของฐานใหเ้ บาขึน้ และสามารถถอดแยกชิ้นส่วนได้

ล�ำดับ รายการ/ชุด จ�ำนวน หนว่ ยนบั

๑. ถงั น้ำ� ขนาด ๓,๐๐๐ ลติ ร ๑ ถัง

๒. ปัม๊ น้ำ� หอยโข่งขนาด ๑.๕ แรงมา้ ๑ เครื่อง

๓. ทอ่ ส�ำหรับการผสมสารโดยติดตั้งท่อ Educator nozzle ๑๒ ตัว

๔. ถงั น�ำ้ ๒๐๐ ลติ ร ส�ำหรับเติมนำ้� และเทสารพรอ้ มตะแกรง (Feeder System) ๑ ชุด

๕. ชดุ ควบคุมการท�ำงานของปั๊มน้�ำ ๑ ตัว

๖. ท่อสวมเรว็ ส�ำหรบั สาย Hydrant ๑ ตัว

๗. ฐานวางชุดผสมสารอตั โนมตั ิ ๑ แทน่

๘. บันได ๑ อัน

๙. วาลว์ Circulation ๔ ตัว

85

รวมผลงานวิจยั ท่ีมีศักยภาพพร้อมผลักดันสูอ่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๘. ต้นแบบระบบต้ังหลักฐานยงิ อัตโนมัติเครือ่ งยิงลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.

๑. ช่อื ผลงานวิจัย
๑.๑ ต้นแบบระบบตั้งหลกั ฐานยงิ อัตโนมัตเิ ครอื่ งยงิ ลกู ระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำลองในการศึกษา
ความเปน็ ไปได้ จ�ำนวน ๑ ระบบ
๑.๒ ต้นแบบระบบตงั้ หลกั ฐานยงิ อัตโนมัติเคร่อื งยิงลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ หน่วย
๒. ท่มี าของผลงานวจิ ยั
๒.๑ ช่อื โครงการ
โครงการวจิ ยั และพฒั นาระบบตั้งหลกั ฐานยงิ อตั โนมตั ิเครอ่ื งยงิ ลูกระเบิดขนาด ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๒ หน่วยเจ้าของโครงการ
ศอว.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
พลตรี พรมงคล พ่ึงเสมา
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
ศอว.ศอพท. ได้ริเริ่มด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาระบบรับแรง (Recoil mechanism) เครื่องยิง
ลกู ระเบิดขนาด ๑๒๐ มม. ส�ำหรับตดิ ตง้ั ให้กบั ระบบเคร่ืองยิงลกู ระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. ท่ปี ระจ�ำการอย่ใู นกรม
ทหารมา้ และกรมทหารราบของกองทัพบก ซึ่งโครงการ ฯ ดังกล่าวเปน็ การน�ำระบบรบั แรงเพื่อลดแรงภาระกรรม
ท่ีเกิดจากการยิง ท�ำให้เคร่ืองยิงลูกระเบิดดังกล่าวสามารถน�ำไปประยุกต์ติดตั้งบนยานพาหนะแบบต่าง ๆ ของ
กองทัพบกได้ เช่น รถยนต์บรรทุก, รถสายพาน, ยานเกราะล้อยาง เป็นต้น โดยระบบดังกล่าวยังขาดระบบ
ตง้ั หลกั ฐานยงิ อตั โนมตั ิ (Automatic Laying System) ซง่ึ เปน็ หวั ใจส�ำคญั ของการควบคมุ การเคลอื่ นทขี่ องล�ำกลอ้ ง
ในทางระดบั และทางสงู ของระบบอาวธุ ยงิ สนบั สนนุ สามารถเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการด�ำเนนิ กลยทุ ธ์ (Maneuver)
ความรวดเร็วในการเลกิ ยิงและตั้งยิง (Deployment and Disengagement) และเพม่ิ ความแมน่ ย�ำ (Accuracy)
ในการยิงท�ำใหห้ น่วยด�ำเนนิ กลยทุ ธด์ �ำรงความเหนือกวา่ ในสนามรบ (Combat superior) ในทีส่ ุด
ศอว.ศอพท. มีการพฒั นาเทคโนโลยีของยุทโธปกรณ์อย่างต่อเนือ่ ง เพอ่ื ตอบสนองความต้องการ
ของกองทัพทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซ่ึงการพัฒนายุทโธปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงในปัจจุบัน จ�ำเป็นต้องมี
การสะสมองค์ความรู้ทางด้านงานวิจัย เพ่ือท่ีจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยสนับสนุนภารกิจ
ของกองทัพไดใ้ นอนาคต
เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. จากต่างประเทศท่ีประกอบด้วยระบบอ�ำนวยการยิง
และระบบตัง้ หลักฐานยงิ อตั โนมตั ินนั้ มีราคาสงู การจดั ซอ้ื จากตา่ งประเทศจึงเปน็ แนวทางทีไ่ มเ่ หมาะสมในสภาวะ
เศรษฐกิจ การจัดหายุทโธปกรณ์จากต่างประเทศท�ำให้กองทัพไม่สามารถพ่ึงพาตนเองได้ในสภาวะไม่ปกติ
และ เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีของตา่ งประเทศ การซ่อมบ�ำรงุ ระดับสูง หรอื การปรับปรงุ แก้ไข กองทัพไม่สามารถ
ด�ำเนนิ การเองได้

86

รวมผลงานวิจัยท่มี ศี ักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

การท่ี ศอว.ศอพท. ได้ด�ำเนนิ การวิจัยต้นแบบเครือ่ งยงิ ลกู ระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. ส�ำหรบั ใหห้ น่วยทดลองใช้งาน
รวมถงึ การวจิ ยั พฒั นาโครงการวจิ ยั ปรบั ปรงุ พฒั นาระบบตง้ั หลกั ฐานยงิ ส�ำหรบั เครอื่ งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. นน้ั
ยุทโธปกรณ์เหล่านี้เป็นการติดตั้งเคร่ืองยิงลูกระเบิดประกอบกับระบบต้ังหลักฐานยิงอัตโนมัติเพ่ือเป็นการเพิ่ม
ความคล่องแคล่วในการปฏิบัติภารกิจ แต่การปฏิบัติงานต่าง ๆ ยังคงใช้พลประจ�ำเคร่ืองยิงลูกระเบิดในการตั้ง
หลกั ฐานยงิ เชน่ เดยี วกบั การตง้ั หลกั ฐานยงิ ของเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ทวั่ ไป ซงึ่ ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ กี ารวจิ ยั และพฒั นาระบบ
ตั้งหลักฐานยิงอัตโนมัติแต่อย่างใด อีกท้ังเคร่ืองยิงลูกระเบิดซ่ึงติดต้ังระบบต้ังหลักฐานยิงอัตโนมัติท่ีกองทัพจัดหา
นั้น เป็นเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ฉะน้ัน การได้มาซึ่งองค์ความรู้และการพัฒนาระบบต้ังหลักฐานยิงอัตโนมัติ
จงึ มีความจ�ำเป็นอยา่ งยง่ิ ท่จี ะเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบการควบคมุ เครอื่ งยิงลูกระเบิดขนาด ๑๒๐ มม. ให้มคี วาม
สมบูรณ์และทันสมัยข้ึนใช้เอง อันเป็นการส่งเสริมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศโดยไม่ต้องพ่ึงพาเทคโนโลยี
จากต่างประเทศได้อีกทางหน่งึ
๒.๕ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
๒.๕.๑ เพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ ไปไดแ้ ละแนวทางการออกแบบระบบตง้ั หลกั ฐานยงิ อตั โนมตั ิ เครอ่ื งยงิ
ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๕.๒ เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ในการท�ำงานของระบบตั้งหลักฐานยิงอัตโนมัติเครื่องยิง
ลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๕.๓ เพอ่ื สร้างตน้ แบบระบบตง้ั หลักฐานยงิ อัตโนมตั เิ ครือ่ งยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๕.๔ เพ่อื เป็นแนวทางการพัฒนาเพอ่ื น�ำเขา้ สู่สายการผลติ ในการผลติ ข้นึ ใช้เองในกองทัพ
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๗๐๙,๖๘๖ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
เงนิ ทุนหมุนเวียน ศอว.ศอพท.
๓. คุณลกั ษณะส�ำคญั ของผลงาน
ต้นแบบระบบตง้ั หลกั ฐานยงิ อตั โนมตั ิเคร่ืองยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ หน่วยยิง โดยมี
คุณสมบตั ดิ ังนี้
๓.๑ สามารถต้ังหลักฐานยิงอัตโนมัติเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. ผ่านโปรแกรม ควบคุม
ท่อี อกแบบได้
๓.๒ สามารถต้ังหลักฐานยิงอัตโนมัตเิ ครอ่ื งยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. ทงั้ แบบอตั โนมตั ิและแบบ
การตงั้ หลักฐานยงิ โดยพลประจ�ำเครือ่ งยงิ ลูกระเบิด
๔. ความต้องการผลงานวิจัย
๔.๑ องคค์ วามรใู้ นการค�ำนวณ ออกแบบ วเิ คราะหแ์ ละแนวทางการสรา้ งระบบตง้ั หลกั ฐานยงิ อตั โนมตั ิ
เคร่ืองยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.

87

รวมผลงานวิจยั ทม่ี ศี ักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๔.๒ ตน้ แบบระบบตง้ั หลักฐานยิงอตั โนมตั ิเคร่อื งยงิ ลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ ระบบ
๔.๓ ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหายุทโธปกรณ์ ราคาแพงจากต่างประเทศ
๔.๔ กอ่ ให้เกิดการพัฒนาอตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศเพ่ือพึ่งพาตนเอง
๕. การตอบสนองภารกจิ
ต้นแบบระบบการตงั้ หลักฐานยงิ อตั โนมตั สิ �ำหรบั เครอ่ื งยงิ ลกู ระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. สามารถน�ำไป
ตงั้ ยงิ ไดโ้ ดยไมม่ คี วามแตกตา่ งในการตงั้ ยงิ ทงั้ ในมมุ ทางทศิ /มมุ ภาคและมมุ ทางระดบั /มมุ ยงิ เทยี บกบั การใชก้ ลอ้ งเลง็
และเครอื่ งต้งั มุมยงิ ประณตี โดยพลประจ�ำเครอ่ื งยงิ ลูกระเบิด
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยขี องผลงานวจิ ยั
เปน็ การวจิ ยั แบบวจิ ยั ประยกุ ตโ์ ดยการศกึ ษาแนวคดิ และทฤษฎกี ารควบคมุ การออกแบบระบบเครอื่ งยงิ
ลูกระเบิด การออกแบบชิ้นส่วนทางกล และศึกษาหลักการท�ำงานของอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เพอ่ื เปน็ องคค์ วามรใู้ นการออกแบบระบบควบคมุ การออกแบบและสรา้ งชน้ิ สว่ น และการประกอบรวมเปน็ ตน้ แบบ
ระบบตงั้ หลกั ฐานยิงอัตโนมตั สิ �ำหรบั เครอ่ื งยิงลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.
๗. การประเมนิ ด้านมาตรฐานทางทหาร

-
๘. ความพร้อมในการผลิต
ทางหนว่ ยมคี วามพร้อมในองคค์ วามรสู้ ายการผลติ มเี คร่ืองจกั ร มบี คุ ลากรท่ีมีศักยภาพ
๙. ความพรอ้ มดา้ นงบประมาณในการผลิต
หากได้รบั การสนบั สนุนงบประมาณ ทางหนว่ ยสามารถเปิดสายการผลิตได้
๑๐. ข้อมูลส�ำคัญอ่ืน ๆ ของผลงานวจิ ยั

รปู ภาพประกอบ

รปู ท่ี ๑ ระบบต้งั หลกั ฐานยิง

88

รวมผลงานวจิ ัยที่มีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดันสู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔



๙. ต้นแบบแทน่ ยงิ ทตี่ ิดต้ังระบบรับแรงของเคร่ืองยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ ระบบ

๑. ชอ่ื ผลงานวิจยั
ต้นแบบแทน่ ยิงทตี่ ดิ ตง้ั ระบบรบั แรงของเคร่ืองยงิ ลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ ระบบ
๒. ทมี่ าของผลงานวิจัย
๒.๑ ชอ่ื โครงการ
โครงการวิจัยและพัฒนาระบบรับแรงเคร่อื งยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๒ หน่วยเจ้าของโครงการ
ศอว.ศอพท.
๒.๓ นายทหารโครงการ
พลตรี พรมงคล พ่งึ เสมา
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. เป็นอาวุธสนับสนุนโดยตรง ให้กับหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์
ของกรมทหารราบ โดยเป็นอาวุธท่ีมีอ�ำนาจการยิงเพ่ือท�ำลายเป้าหมายด้วยความรุนแรงและแม่นย�ำ ซึ่งชุดยิง
จะต้องปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วและเร่งด่วน เพื่อให้ภารกิจยิงบรรลุผลตามเป้าหมายที่ต้องการ
ของหน่วยด�ำเนินกลยุทธ์ การรบรูปแบบใหม่ของอาวุธยิงสนับสนุนในปัจจุบันต้องปฏิบัติการด้วยความต่อเน่ือง
แมน่ ย�ำและทนั เวลา อกี ทงั้ ยงั ตอ้ งมคี วามคลอ่ งแคลว่ ในการเคลอื่ นทแ่ี ละการปฏบิ ตั กิ าร อาวธุ ยงิ สนบั สนนุ ประเภท
ปืนใหญ่และเคร่ืองยิงลูกระเบิด จึงเริ่มมีการประยุกต์น�ำมาติดต้ังบนยานยนต์แบบต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการเคลอ่ื นทีแ่ ละการเขา้ ทต่ี ้งั ยิงส�ำหรับรองรับภารกจิ ที่ไดร้ ับมอบหมาย
จากการทก่ี องทัพบกไดต้ ิดตงั้ เครอ่ื งยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. บนยานเกราะลอ้ ยาง ๘ x ๘
BTR - 3E1 จ�ำนวน ๔ คัน (BTR-3M2) นนั้ ระบบดงั กลา่ วเมอื่ ท�ำการยงิ แล้ว จะเกิดแรงภาระกรรมทเี่ กิดจากแรง
สะทอ้ นถอยหลังของชุดล�ำกล้อง ผา่ นชดุ ฐานรับล�ำกลอ้ งมายงั ฐานรบั แรงของยานยนต์ ซงึ่ หากติดตงั้ บนจุดทีม่ ฐี าน
รองรบั ไมแ่ ขง็ แรงและออกแบบไมเ่ หมาะสมแลว้ จะท�ำใหข้ ปี นวธิ ใี นการยงิ ของกระสนุ ผดิ พลาด หรอื ท�ำใหย้ านยนต์
หรือฐานท่รี องรบั เกดิ ความช�ำรดุ เสียหายเมอ่ื มีการใชง้ านในระยะยาวได้ เนอ่ื งจากเครื่องยิงลกู ระเบดิ ทีน่ �ำมาตดิ ตัง้
ดังกล่าวถูกออกแบบส�ำหรับการใช้งานโดยการผ่านแรงภาระกรรมจากฐานเคร่ืองยิงลูกระเบิดลงบนพ้ืนดินในการ
ใชง้ านแบบดง้ั เดมิ ดงั นน้ั การน�ำเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. ทใ่ี ชง้ านอยปู่ จั จบุ นั ประยกุ ตต์ ดิ ตงั้ บนยานยนต์
ในจดุ ทมี่ ฐี านรองรบั ไมแ่ ขง็ แรง จงึ ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาในการสรา้ งระบบรบั แรงเพอื่ ลดแรงสะทอ้ นถอยหลงั
กอ่ นน�ำมาตดิ ตง้ั แมป้ จั จบุ นั จะมเี ทคโนโลยดี งั กลา่ วจากตา่ งประเทศแลว้ กต็ าม แตก่ ารตดิ ตง้ั ยทุ โธปกรณโ์ ดยบรษิ ทั
ต่างประเทศน้ัน กองทัพยังคงประสบปัญหาในการใช้งานและซ่อมบ�ำรุงในระยะยาว เนื่องจากไม่ได้ออกแบบ
และสร้างมาจากเทคโนโลยีของกองทัพเอง ศูนย์อ�ำนวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
และพลงั งานทหาร (ศอว.ศอพท.) เปน็ หนว่ ยงานทผ่ี ลติ ทงั้ เครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ และปนื ใหญส่ นาม รวมทงั้ ไดเ้ รม่ิ มกี าร
ศกึ ษาวจิ ยั พฒั นาระบบรบั แรงในโครงการวจิ ยั พฒั นาระบบรบั แรงเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๘๑ มม. (พ.ค.๖๐ - ก.ย.๖๑)

89

รวมผลงานวิจัยทมี่ ศี กั ยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

อีกท้ังมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการติดต้ังและประกอบรวมตามโครงการปรับปรุงพัฒนาเคร่ืองยิงลูกระเบิด
ขนาด ๑๒๐ มม. แบบอัตตาจรล้อยาง (ม.ี ค.๕๙ - ก.ค.๖๑) โดยบริษัท เอลบทิ ซิสเต็มส์ แลนด์ แอนด์ ซีโฟร์ไอ จ�ำกดั
(Elbit Systems Land and C4I Ltd.) รฐั อิสราเอล ซ่ึงการถา่ ยทอดดังกล่าวยงั ขาดองค์ความรู้ในการสร้างระบบ
รับแรงของเครอ่ื งยงิ ลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. ท่เี ป็นของกองทัพเอง ดังนนั้ ศอว.ศอพท. จงึ มแี นวคิดท่ีจะด�ำเนนิ
การวิจัยและพัฒนาเพื่อเพ่ิมองค์ความรู้ในการสร้างระบบรับแรงของเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม.
เพ่ือประยุกต์ใช้ในการติดต้ังบนยานยนต์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้งานและอ�ำนาจการยิงให้กับหน่วยด�ำเนิน
กลยทุ ธ์ โดยเทคโนโลยแี ละองคค์ วามรขู้ องหนว่ ยเอง รวมถงึ เปน็ องคค์ วามรใู้ นการประยกุ ตใ์ นการซอ่ มบ�ำรงุ ส�ำหรบั
ยุทโธปกรณท์ ีผ่ ลติ โดยต่างประเทศต่อไป
๒.๕ วัตถุประสงคข์ องโครงการ
๒.๕.๑ เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้และแนวทางการออกแบบระบบรับแรงเคร่ืองยิงลูกระเบิด
ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๕.๒ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรใู้ นการท�ำงานของระบบรบั แรงเครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม.
๒.๕.๓ เพือ่ สร้างตน้ แบบแทน่ ยิงท่ตี ดิ ตั้งระบบรับแรงของเคร่ืองยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม.

๒.๕.๔ เพือ่ เปน็ แนวทางการพฒั นาเพอ่ื น�ำเข้าสู่สายการผลติ ในการผลติ ขึน้ ใช้เองในกองทพั
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ

๒ ปี
๒.๗ วงเงินงบประมาณของโครงการ

จ�ำนวน ๑,๒๔๗,๐๗๔ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ

ศอว.ศอพท.
๓. คณุ ลกั ษณะส�ำคญั ของผลงาน
ต้นแบบแท่นยงิ ท่ตี ดิ ตง้ั ระบบรบั แรงของเคร่อื งยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ ระบบ
๔. ความต้องการผลงานวจิ ยั
๔.๑ องคค์ วามรู้ในการค�ำนวณ ออกแบบ วเิ คราะห์และแนวทางการสรา้ งระบบรบั แรงและเครอื่ งยงิ
ลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม.
๔.๒ องค์ความรู้ในการออกแบบและสร้างแท่นยิงที่ติดตั้งระบบรับแรง การจ�ำลองการท�ำงาน
และการหาค่าภาระกรรมของระบบรับแรงเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. ส�ำหรับการน�ำไปประยุกต์
ในการตดิ ตั้งบนยานยนตแ์ บบตา่ ง ๆ ต่อไปในอนาคต
๔.๓ ต้นแบบแทน่ ยงิ ทต่ี ดิ ตง้ั ระบบรบั แรงของเคร่ืองยิงลกู ระเบดิ ขนาด ๑๒๐ มม. จ�ำนวน ๑ ระบบ
๔.๔ ชว่ ยประหยัดงบประมาณในการจดั หายทุ โธปกรณ์ ราคาแพงจากต่างประเทศ
๔.๕ กอ่ ให้เกดิ การพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพ่อื พงึ่ พาตนเอง
๕. การตอบสนองภารกิจ
ก่อให้เกิดผลดีต่อการสร้างความม่ันคงด้วยการพึ่งพาตนเองในด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
และสามารถต่อยอดในการเพ่ิมขีดความสามารถในการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ ๆ ข้ึนใช้เองในกองทัพ

90

รวมผลงานวจิ ัยทมี่ ีศักยภาพพร้อมผลกั ดันสอู่ ุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

โดยไม่พึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ สามารถด�ำรงสภาพความพร้อมรบท้ังยามปกติและสงคราม เสริมสร้าง
ความม่นั คงใหก้ บั ประเทศ
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยีของผลงานวจิ ัย
เปน็ การวจิ ยั พฒั นาทใี่ ชอ้ งคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในการประยกุ ตส์ �ำหรบั การออกแบบ
และสรา้ งระบบรับแรงส�ำหรับเครื่องยงิ ลกู ระเบิด ขนาด ๑๒๐ มม. ซ่งึ จะสามารถน�ำไปพัฒนาตดิ ตั้งกบั ผลิตภณั ฑ์
ทปี่ ระสบปญั หาในปจั จบุ นั รวมถงึ น�ำไปปรบั ปรงุ พฒั นาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการตดิ ตง้ั บนยานพาหนะอน่ื ๆ ตอ่ ไปในอนาคต
๗. การประเมนิ ด้านมาตรฐานทางทหาร
-
๘. ความพร้อมในการผลิต
ทางหน่วยมคี วามพรอ้ มในเรือ่ งสายการผลิต มเี คร่อื งจกั ร มบี ุคลากรทีม่ ีศักยภาพ
๙. ความพรอ้ มดา้ นงบประมาณในการผลติ
หากไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณ ทางหนว่ ยสามารถเปิดสายการผลติ ได้
๑๐. ข้อมลู ส�ำคัญอน่ื ๆ ของผลงานวจิ ัย

รปู ท่ี ๑ รูปด้านหนา้ ของอาวุธต้นแบบ รปู ที่ ๒ รูปดา้ นข้าง ดา้ นขวา และดา้ นซ้ายของอาวธุ ตน้ แบบ

รปู ที่ ๓ แผนภาพแสดงองค์ประกอบของระบบรับแรงถอยของอาวุธตน้ แบบ

91

รวมผลงานวจิ ัยทีม่ ีศกั ยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

รปู ท่ี ๔ แผนภาพแสดงองค์ประกอบของแคร่ล่างของอาวุธตน้ แบบ

๑๐. อากาศยานไรค้ นขับขนาดเล็กตดิ อาวธุ ระยะที่ ๑
๑. ชื่อผลงานวจิ ยั
อากาศยานไรค้ นขับขนาดเลก็ ติดอาวธุ ระยะที่ ๑

๒. ท่ีมาของผลงานวิจัย
๒.๑ ชือ่ โครงการ
โครงการวจิ ัยและพัฒนาอากาศยานไรค้ นขับขนาดเลก็ ติดอาวธุ ระยะท่ี ๑
๒.๒ หนว่ ยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก สนุ นั ท์ ชมู าลี
๒.๔ ความเปน็ มา/ปญั หาและสาเหตุ
กองทัพอากาศได้จดั ท�ำยทุ ธศาสตร์กองทพั อากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๙๙) เพ่อื ใชเ้ ปน็
แผนทน่ี �ำทาง (Roadmap) ในการก�ำหนดเปา้ หมายและทศิ ทางการพฒั นากองทพั อากาศอยา่ งชดั เจน ในทกุ ๆ ดา้ น
อยา่ งเปน็ ระบบและรปู ธรรม ในอกี ๒๐ ปีข้างหน้า ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ เช่น การจัดหาอปุ กรณ์ เครือ่ งมือ
และอาวุธยุทโธปกรณ์ท่เี หมาะสม การฝึกศกึ ษาเพ่ือพฒั นาบุคลากร การพัฒนาแนวความคดิ ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ
และการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร เปน็ ตน้ ทั้งนี้ เพอ่ื ใหก้ องทพั อากาศมีขีดความสามารถที่เพียงพอและเหมาะสม

92

รวมผลงานวิจัยทีม่ ีศกั ยภาพพร้อมผลกั ดนั ส่อู ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ ทไี่ ด้รับมอบหมายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งยทุ ธศาสตรก์ องทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ -
๒๕๗๙) ได้มุ่งเนน้ การพัฒนา ๓ มิติส�ำคัญ ประกอบด้วย (๑) มติ ิทางอากาศ (Air Domain) (๒) มติ ิไซเบอร์ (Cyber
Domain) และ (๓) มติ อิ วกาศ (Space Domain) เพอ่ื รองรบั การพฒั นาการปฏบิ ตั กิ ารทใี่ ชเ้ ครอื ขา่ ยเปน็ ศนู ยก์ ลาง
(NCO) โดยกองทัพอากาศได้ก�ำหนดให้แผนพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติการท่ีใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง
ของกองทัพอากาศ (RTAF NCO Master Plan) เปน็ หนง่ึ ในแผนงานหลักตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้าง
สมรรถนะและความพรอ้ มในการป้องกนั ประเทศ ยุทธศาสตร์กองทพั อากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) รวมถงึ
ได้ก�ำหนดกลยุทธ์ท่ี ๒.๑๕ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมก�ำลังทางอากาศ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ เสริมสร้าง
สมรรถนะและ ความพร้อมในการป้องกันประเทศ เพ่ือสร้างนวัตกรรมก�ำลังทางอากาศให้สามารถสนับสนุน
การปฏิบัติภารกจิ หลักของกองทัพอากาศ (Core Functions) เป็นหลกั โดยเฉพาะอย่างย่งิ การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ
การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ หรอื การลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทงั้ นี้ ผลงานวจิ ยั ตอ้ งสามารถขยายผล ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ได้จริง โดยส่งเสริมการวิจัยแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิอีกท้ัง นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๖๓
ดา้ นการวจิ ยั พฒั นา และอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ขอ้ ที่ ๘.๑ “สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาตอ่ ยอดจากโครงการ
เสรมิ สรา้ งก�ำลงั กองทพั เจา้ หนา้ ทกี่ องทพั อากาศไดร้ บั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี เพอ่ื ใหก้ องทพั อากาศสามารถพฒั นา
ขีดความสามารถไดเ้ องในอนาคต และข้อที่ ๘.๒ “ด�ำเนนิ การวิจัย พัฒนา และปรับปรงุ ซอฟตแ์ วรเ์ พื่อสนับสนุน
การปฏบิ ัติการของกองทพั อากาศ โดยเนน้ การพฒั นาซอฟตแ์ วร์ระบบบัญชาการและควบคุม ระบบปฏบิ ัตกิ ารบนิ
(OFP) ระบบเช่ือมโยงขอ้ มลู ทางยทุ ธวธิ ี (TDL) และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานด้านตา่ ง ๆ ตลอดจนวิจัย
และพฒั นาอากาศยานไรค้ นขับขนาดเล็กตดิ อาวุธ”
นอกจากนี้ ในปี ๕๔ ศวอ.ทอ. ไดด้ �ำเนนิ โครงการผลติ อากาศยานไรน้ กั บนิ ของ ทอ. จ�ำนวน ๑๗ เครอื่ ง
ตามใบสั่งจ้างที่ ๑๒/๕๙ เม่ือ ๒๒ ธ.ค.๕๘ ศวอ.ทอ. ได้จ้างเหมาบริการบริษัท อุตสาหกรรมการบิน จ�ำกัด
เพอื่ สนบั สนนุ โครงการผลติ อากาศยานไรน้ กั บนิ ของ ทอ.จ�ำนวน ๑๗ เครอ่ื ง ซงึ่ ระหวา่ งด�ำเนนิ โครงการ ฯ เจา้ หนา้ ที่
ศวอ.ทอ. ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านระบบควบคุมการบินอัตโนมัติส�ำหรับอากาศยานไร้คนขับ
(Automatic Flight Control System for UAVs) จากผลส�ำเร็จของโครงการผลติ อากาศยานไร้นักบนิ ของ ทอ.
จ�ำนวน ๑๗ เครอื่ ง ท�ำให้บริษัทอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศในประเทศไทย และวศิ วกรไทยสามารถด�ำเนินการ
ออกแบบและสร้าง Airframe อากาศยานไร้คนขับด้วยวัสดุ Carbon Fiber Composite พร้อมประกอบ
ติดต้งั เครอ่ื งยนต์ ออกแบบและสรา้ ง Hardware/Software ระบบควบคมุ การบนิ อตั โนมัติ (Automatic Flight
Control System) ออกแบบและสร้าง Hardware/Software สถานีควบคมุ ภาคพนื้ (Ground Control Station
: GCS) รวมถึงท�ำการบนิ ทดสอบอากาศยานโดยไม่ตอ้ งพึ่งพาบรษิ ทั ต่างประเทศ เปน็ การลดตน้ ทุนการผลติ
ปัญหาและสาเหตุ
ภารกจิ การคน้ หา ระบตุ �ำแหนง่ และท�ำลายเปา้ หมายประเภท Time-Critical Target เชน่ ฐานปลอ่ ยจรวด
เคลื่อนที่ (Mobile Missile Launcher) ภารกิจสนับสนุนทางอากาศอย่างใกล้ชิด Air Support : CAS)
ภารกิจ Armed Intelligence, Surveillance, Target Acquisition, and econnaissance (Armed ISTAR)
หรือภารกิจสงครามในเมือง (Urban Warfare) เป้าหมายของเหล่าน้ี มีท้ังเป้าหมาย ท่ีอยู่กับท่ี เช่น บังเกอร์
และ/หรือเปา้ หมายที่สามารถเคลอื่ นท่ไี ด้ เช่น ฐานปล่อยจรวดเคลือ่ นที่ รถบรรทุก หรอื เรือขนาดเล็ก เปน็ ตน้

93

รวมผลงานวจิ ัยทมี่ ีศักยภาพพร้อมผลกั ดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ดว้ ยนวตั กรรมเทคโนโลยลี กู ระเบดิ น�ำวถิ ขี นาดเลก็ (Small Guided Bomb - SGB) ส�ำหรบั อากาศยาน
ไรค้ นขบั ท�ำใหอ้ ากาศยานไรค้ นขบั ขนาดเลก็ ตดิ อาวธุ มคี วามเหมาะสมทจี่ ะปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ดงั กลา่ ว เนอื่ งจากมตี น้ ทนุ ตำ�่
และมีประสทิ ธิภาพในการท�ำลายเฉพาะเป้าหมายในพื้นท่ีที่จ�ำกดั ไมไ่ ด้ท�ำลายพน้ื ทีเ่ ป็นวงกวา้ ง
๒.๕ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
๒.๕.๑ เพอื่ พฒั นาโปรแกรม (Software) ของระบบควบคมุ การบนิ อตั โนมตั ิ (Automatic Flight
Control System : AFCS) ให้สามารถควบคุมการบินอากาศยานไร้คนขบั ของ ทอ. ให้ไดเ้ หมอื นเดิม เมอ่ื มกี าร
ติดตงั้ อาวธุ (Small (Guided Bornb : SGB) ท่ปี กี ทงั้ แบบสมมาตร (Symmetry) คอื มหี รอื ไม่มีอาวุธ SGB ท้ังสองด้าน
ของปีก และแบบไมส่ มมาตร (Asymmetry) คอื มอี าวุธ SGB แค่ด้านใดด้านหนึ่งของปกี รวมถงึ พฒั นาโปรแกรม
(Software) ของระบบควบคมุ การบนิ อตั โนมตั ิ ส�ำหรับการใชอ้ าวธุ ด้วย
๒.๕.๒ เพอื่ พฒั นาโปรแกรม (Sofware) ของสถานคี วบคมุ ภาคฟน้ื (Ground Control Station: GCS
ให้สามารถส่ังการอากาศยานไร้คนขบั ของ ทอ.ที่ติดอาวุธ ใหใ้ ชอ้ าวุธได้
๒.๕.๓ เพื่อวิเคราะห์และออกแบบเสริมความแข็งแรงของโครงสรา้ งปีก (Spar) ของอากาศยาน
ไรค้ นขบั ของ ทอ. เพม่ิ เตมิ เพอื่ ใหส้ ามารถตดิ อาวธุ ประเภทลกู ระเบดิ น�ำวถิ ขี นาดเลก็ (Small Guided Bomb : SCB)
ส�ำหรับอากาศยานไรค้ นขับ ได้จ�ำนวน ๒ ลูก ทางด้านปกี ซา้ ย ๑ ลูก แสะทางดา้ นปีกขวาอกี ๑ ลกู โดยให้ค�ำนึงว่า
อาวธุ SCB ๑ ลูก มนี �้ำหนกั ระหวา่ ง ๓ – ๑๐ กิโลกรมั
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
๑ ปี
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
จ�ำนวน ๙,๐๐๙,๐๑๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
ทอ.
๓. คณุ ลักษณะส�ำคัญของผลงาน
๓.๑ ไดโ้ ปรแกรม (Software) ระบบควบคมุ การบนิ อตั โนมตั ิ (Automatic Flight Control System : AFCS)
ทส่ี ามารถควบคมุ การบนิ อากาศยานไรค้ นขบั ของ ทอ. ไดอ้ ตั โนมตั ิ เมอ่ื มกี ารตดิ ตงั้ (Small Control System: SGB)
ทป่ี กี ทั้งแบบสมมาตร (Symmetry) และแบบไม่สมมาตร (Asymmetry) รวมถงึ สามารถใช้อาวธุ ได้
๓.๒ ได้โปรแกรม (Software) ของสถานีควบคุมภาคพ้ืน (Ground Control System : GCS)
ท่สี ามารถสง่ั การให้อากาศยานไรค้ นขับของ ทอ. ทตี่ ิดอาวธุ ใชอ้ าวุธได้
๓.๓ ได้ผลการวิเคราะห์และผลการออกแบบเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างปีก (Spar)
ของอากาศยานไร้คนขับของ ทอ. เพื่อให้สามารถติดอาวุธประเภทลูกระเบิดน�ำวิถีขนาดเล็ก (Small Guided
Bomb : SGB) ส�ำหรบั อากาศยานไรค้ นขบั ไดจ้ �ำนวน ๒ ลูก ทางดา้ นปกี ซ้าย ๑ ลูก และทางด้านปีกขวาอีก ๑ ลกู
โดยให้ค�ำนงึ ว่าอาวธุ SGB ๑ ลูก มีน�้ำหนักระหวา่ ง ๓ - ๑๐ กิโลกรัม
๔. ความตอ้ งการผลงานวจิ ัย
๔.๑ โปรแกรมระบบควบคมุ การบนิ อตั โนมตั ิ และโปรแกรมระบบควบคมุ ภาคพน้ื ถกู น�ำมาใชท้ ดสอบ
ในโครงการวจิ ยั และพัฒนาอากาศยานไร้คนขบั ขนาดเลก็ ติดอาวธุ ระยะที่ ๒

94

รวมผลงานวิจยั ท่ีมีศกั ยภาพพร้อมผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๔.๒ แผนแบบการตดั แปลงปีก บร.ตฝ.๑ (เพ่ือเสริม Hard Point ส�ำหรับติดต้งั Pylon และลกู ระเบดิ ฯ)
ถกู น�ำมาใช้ในโครงการวจิ ัยและพัฒนา อากาศยานไร้คนขับขนาดเลก็ ติดอาวธุ ระยะท่ี ๒
๔.๓ องคค์ วามรทู้ ไี่ ดร้ บั จากการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ถกู น�ำมาใชข้ ยายผลตอ่ ยอดกบั โครงการวจิ ยั อน่ื ๆ
ในการวิจัยและพัฒนาอากาศยานไร้คนขับของ ทอ.
๕. การตอบสนองภารกจิ
หน่วยท่ีน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ฝูงบินอากาศยานไร้คนขับของกองทัพอากาศ (กองบิน ๓
วัฒนานคร จ.สระแกว้ )
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยีของผลงานวิจยั
๖.๑ เทคโนโลยีโปรแกรมทางด้าน Finite Element Method (FEM) สามารถประเมิน
ความแข็งแรงปีก เคร่ืองบินไร้คนขับตรวจการณ์และฝึกแบบท่ี ๑ (บร.ตฝ.๑) แบบ Wing Static Load Test
ได้เบ้อื งต้น ก่อนท�ำการบนิ ทดสอบจริง
๖.๒ เทคโนโลยีโปรแกรมทางด้าน Computational Fluid Dynamics (CFD) สามารถประมาณค่า
สัมประสิทธิ์อากาศพลศาสตร์ (Aerodynamic Coefficients) ของ บร.ตฝ.๑ ท่ีติดอาวุธได้ ท้ังแบบสมมาตร
(Symmetry) และแบบไมส่ มมาตร (Asymmetry)
๖.๓ เทคโนโลยรี ะบบจ�ำลองการบนิ แบบ Real-Time Hardware in the Loop (HIL) Simulation
ของ บร.ตฝ.๑
๖.๔ เทคโนโลยีระบบควบคุมการบินอัตโนมัติ ของ บร.ตฝ.๑ ได้เลือกใช้งานอุปกรณ์เซ็นเซอร์
Primary and Backup GPS/INS, Air Data Computer, Smart Digital Magnetometer และ Servo Motor
ทีม่ ีความชอ่ื ถอื ได้และไว้วางใจไดส้ งู
๖.๕ เทคโนโลยีระบบควบคุมการว่ิงขึ้นและร่อนลงสนามบินอัตโนมัติของ บร.ตฝ.๑ ได้เลือกใช้งาน
อุปกรณ์ตรวจจับความสูงด้วยแสงเลเซอร์ จ�ำนวน ๒ ชุด และระบบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม Global
Navigation Satellite System (GNSS) แบบ Real-Time Kinematic (RTK) จ�ำนวน ๒ ชดุ ค�ำนวณหาค่าพิกดั
ด้วยความแมน่ ย�ำระดับเซนตเิ มตร ท�ำใหส้ ามารถว่ิงขน้ึ และรอ่ นลงทางวงิ่ ด้วยความแม่นย�ำ
๖.๖ เทคโนโลยีสถานีควบคุมภาคพื้น ซ่ึงโปรแกรมสถานีควบคุมภาคพ้ืน (GCS) ของ บร.ตฝ.๑
สามารถพฒั นาต่อยอด Software เพื่อให้รองรับการติดต้งั และการปลอ่ ยลกู ระเบิดน�ำวิถีขนาดเลก็ (SGB) ได้
๗. การประเมนิ ด้านมาตรฐานทางทหาร
-
๘. ความพรอ้ มในการผลิต
-
๙. ความพร้อมด้านงบประมาณในการผลิต

-
๑๐. ข้อมลู ส�ำคญั อนื่ ๆ ของผลงานวจิ ยั
แนวคดิ ในการขยายผล
๑๐.๑ พัฒนาเชือ่ มต่อเขา้ กบั ระบบ Air Command and Control System (ACCS) ของ ทอ.
๑๐.๒ พัฒนาติดต้ังระบบตรวจจับสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Intelligence Payload)
ส�ำหรบั การปฏบิ ัติการลาดตระเวนทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

95

รวมผลงานวจิ ยั ท่ีมีศกั ยภาพพร้อมผลกั ดนั สู่อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กลุ่มผลงานวจิ ัยท่ี กห. ร่วมมือกับเครือข่ายในการพัฒนาผลงานวจิ ัยทีส่ ามารถน�ำไปใชง้ าน
ในลักษณะสองทาง (Dual Use)

๑. การศึกษาความเป็นไปได้การออกแบบถงั ปล่อยสารฝนหลวง บ.ล.๒ ก

๑. ชื่อผลงานวิจยั
โครงการการศกึ ษาความเป็นไปไดก้ ารออกแบบถงั ปลอ่ ยสารฝนหลวง บ.ล.๒ ก
๒. ท่ีมาของผลงานวจิ ัย
๒.๑ ช่ือโครงการ
โครงการการศึกษาความเปน็ ไปไดก้ ารออกแบบถังปล่อยสารฝนหลวง บ.ล.๒ ก
๒.๒ หน่วยเจา้ ของโครงการ
ศวอ.ทอ.
๒.๓ นายทหารโครงการ
นาวาอากาศเอก อภิสิทธ์ิ ยุวนะเตมยี ์
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหตุ
ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ ฝนหลวงดงั กล่าวมกี ารใช้อากาศยานของ ทอ. ๓ แบบ คอื บ.จธ.๒, บ.จ.๗
และ บ.ล.๒ ก ซงึ่ ลกั ษณะการท�ำฝนหลวง มกี ารพฒั นามาเปน็ ล�ำดบั โดย บ.จธ.๒ จะใชป้ ฏบิ ตั กิ ารดว้ ยพลดุ ดู ความชนื้
(Hygroscopic Flare), บ.จ.๗ ใชป้ ฏิบตั กิ ารดว้ ยพลุซลิ เวอร์ไอโอไดด์ และ บ.ล.๒ ก จะปฏิบตั ิการโดยการโปรย
สารฝนหลวงหลายชนดิ ในการปฏบิ ัติภารกิจแตล่ ะคร้ัง
บ.ล.๒ ก เป็นเคร่ืองบินหลักในการโปรยสารฝนหลวงของ ทอ. ซึ่งมีขนาดใหญ่สามารถบรรทุก
สารฝนหลวงได้มากกว่า ๒,๐๐๐ กิโลกรัม ในการปฏิบัติการแต่ละเที่ยวบินจะใช้เจ้าหน้าที่ท�ำงานบนอากาศยาน
จ�ำนวนมากโดยการโปรยสารฝนหลวงเปน็ การโปรยด้วยแรงงานคน
ปัญหาและสาเหตุ
การปฏิบัติการฝนหลวงด้วยการโปรยสารฝนหลวงจากอากาศยาน ได้ด�ำเนินการมาต้ังแต่เริ่มต้น
มาจนถึงปัจจุบันด้วยการใช้แรงงานคนเป็นหลัก ในการโปรยสารฝนหลวงผ่านทางท่อโปรยสารให้สารฝนหลวง
ออกมาภายนอกอากาศยาน จากการปฏิบัติภารกิจโปรยสารฝนหลวงของ บ.ล.๒ ก พบว่าเกิดการฟุ้งกระจาย
ของสารฝนหลวงขณะเทสารลงทอ่ โปรยสาร ซงึ่ การโปรยสารฝนหลวง มกี ารใชส้ ารหลายชนดิ ประกอบดว้ ย NaCl,
CaCl2, CO2 (Dry Ice) และ Urea ลกั ษณะของสารมลี กั ษณะเปน็ ผงฝนุ่ ขนาดเลก็ โดยสารจะถกู บรรจอุ ยใู่ นกระสอบ
ท่มี ขี นาดความจุ ๒๕ กิโลกรมั /กระสอบ
การโปรยสารเปน็ ขน้ั ตอนส�ำคญั และมปี ระสทิ ธภิ าพท�ำใหเ้ กดิ ฝนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี แตเ่ ทคโนโลยกี ารโปรย
สารฝนหลวงยงั คงใชค้ นเป็นหลักในการปฏิบตั ิ ซึ่งปญั หาทพี่ บ คือ ตอ้ งใช้เจา้ หนา้ ทบี่ นอากาศยานเปน็ จ�ำนวนมาก
ในการล�ำเลียงถุงใส่สารปล่อยลงสู่ท่อโปรยสาร เพื่อปฏิบัติภารกิจให้เสร็จสิ้นในเวลาท่ีก�ำหนด และส่งผลให้เกิด
การฟงุ้ กระจายของสารบนอากาศยานขณะโปรยสารท�ำใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของเจา้ หนา้ ที่ และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ
การกัดกรอ่ นจากสารฝนหลวงต่ออากาศยาน

96

รวมผลงานวิจยั ทีม่ ศี กั ยภาพพร้อมผลกั ดนั สูอ่ ตุ สาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

จากปัญหาและสาเหตุดังกล่าวข้างต้น จึงมีแนวความคิดในการพัฒนาระบบโปรยสารฝนหลวง
ใหก้ บั บ.ล.๒ ก เปน็ แบบระบบปดิ ซง่ึ จะสง่ ผลใหเ้ จา้ หนา้ ทท่ี �ำงานบนอากาศยานลดลง และสามารถปอ้ งกนั อนั ตราย
ตอ่ สุขภาพของเจา้ หนา้ ที่ รวมท้งั ลดการกัดกร่อนจากสารฝนหลวงต่ออากาศยานอกี ด้วย
๒.๕ วัตถุประสงคข์ องโครงการ
เพอ่ื ออกแบบถงั ปล่อยสารฝนหลวงส�ำหรบั บ.ล.๒ ก
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนินการโครงการ
มีก�ำหนดระยะเวลาการด�ำเนนิ งาน ๕ เดือน
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
วงเงินงบประมาณ จ�ำนวน ๗๓,๕๐๐ บาท
๒.๘ แหล่งงบประมาณของโครงการ
กองทพั อากาศ
๓. คณุ ลักษณะส�ำคญั ของผลงาน
ไดต้ น้ แบบของถงั ปลอ่ ยสารฝนหลวงแบบ ๔ ชดุ ล�ำเลยี ง (4 Conveyers) ในระดบั Preliminary Design

รูปที่ ๑ ถังปลอ่ ยสารฝนหลวงแบบ ๔ ชุดล�ำเลียง

รูปท่ี ๒ อากาศยาน บ.ล.๒ ก เม่อื ตดิ ต้งั ถังปล่อยสารฝนหลวง

๔. ความตอ้ งการผลงานวิจัย
-
๕. การตอบสนองภารกจิ
-
๖. ความพร้อมของเทคโนโลยีของผลงานวจิ ัย
-
๗. การประเมินด้านมาตรฐานทางทหาร
-
๘. ความพรอ้ มในการผลิต
-

97

รวมผลงานวิจยั ท่ีมีศักยภาพพรอ้ มผลักดนั ส่อู ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๙. ความพร้อมดา้ นงบประมาณในการผลติ
-
๑๐. ข้อมูลส�ำคญั อ่นื ๆ ของผลงานวิจยั
-

๒. โครงการวจิ ัยและพัฒนาตน้ แบบระบบอากาศยานไรค้ นขับขนาดเล็ก

๑. ชอ่ื ผลงานวิจยั
โครงการวจิ ัยและพฒั นาตน้ แบบระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก
๒. ที่มาของผลงานวิจัย
๒.๑ ชือ่ โครงการ
โครงการวิจัยและพฒั นาตน้ แบบระบบอากาศยานไรค้ นขบั ขนาดเล็ก
๒.๒ หน่วยเจา้ ของโครงการ
สทป.
๒.๓ นายทหารโครงการ
พันเอก ดร.มนชยั ดวงปญั ญา

พนั เอก ดร.อ�ำพนั ธ์ จนั ทรเ์ พ็งเพญ็
นาวาโท พิทกั ษ์ ประกรแกว้ .
นาวาอากาศโท ดร.สคุ นธ์ พันธเุ ณร
นาวาอากาศโท ปรัชญา เรยี นพชื น์
นาวาตรี ธรี ะพงษ์ สนธยามาลย์
นาวาอากาศตรี กลุ ชาติ เทพกุลชร
๒.๔ ความเป็นมา/ปัญหาและสาเหต ุ
ความเปน็ มา
ปัญหาและสาเหตุ
๒.๕ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
เพื่อน�ำไปใช้ในภารกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะสนับสนุนภารกิจการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ๓ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้
๒.๖ ระยะเวลาด�ำเนนิ การโครงการ
ก�ำหนดระยะเวลาการด�ำเนินงาน ๒๔ เดือน (๒๕๕๗ - ๒๕๕๘)
๒.๗ วงเงนิ งบประมาณของโครงการ
วงเงนิ งบประมาณ จ�ำนวน ๒๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๘ แหลง่ งบประมาณของโครงการ
สถาบนั เทคโนโลยีป้องกนั ประเทศ

98

รวมผลงานวิจัยท่มี ีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๓. คุณลักษณะส�ำคัญของผลงาน
อากาศยานไรค้ นขบั ขนาดเลก็ (Mini UAV) ๑ ระบบประกอบด้วย อากาศยานไรค้ นขับขนาดเล็ก ๓ ล�ำ
การเคลอ่ื นท่ี ระบบตรวจจบั ระบบตดิ ตอ่ สอ่ื สาร สถานคี วบคมุ ระบบอปุ กรณต์ ดิ ตงั้ และระบบสนบั สนนุ การท�ำงาน
รว่ มกบั อากาศยานไรค้ นขับขนาดเล็ก

๔. ความต้องการผลงานวจิ ยั
-
๕. การตอบสนองภารกจิ
-
๖. ความพรอ้ มของเทคโนโลยขี องผลงานวิจัย
-
๗. การประเมนิ ดา้ นมาตรฐานทางทหาร
-
๘. ความพร้อมในการผลิต
-
๙. ความพรอ้ มดา้ นงบประมาณในการผลติ
-
๑๐. ข้อมลู ส�ำคญั อน่ื ๆ ของผลงานวิจัย
-

99

รวมผลงานวจิ ยั ที่มีศักยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

บทท่ี ๖ ข้อเสนอในการผลกั ดันผลงานวจิ ยั ไปสู่การผลติ เพื่อใช้ในราชการ
และอุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ

การผลกั ดนั ผลงานวจิ ยั ไปสกู่ ารผลติ เพอ่ื ใชใ้ นราชการและอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ใหเ้ ปน็ รปู ธรรมนน้ั
จะแบ่งออกเปน็ สองสว่ น กล่าวคอื ส่วนแรก ส�ำหรับผลงานวจิ ยั และพฒั นาท่ีได้ด�ำเนนิ การมาแล้ว และส่วนที่สอง
ผลงานวจิ ยั และพัฒนาท่ีจะด�ำเนนิ ต่อไปในอนาคต
ในส่วนแรก ส�ำหรบั ผลงานวจิ ัยและพัฒนาทไ่ี ดด้ �ำเนนิ การมาแลว้ วท.กห.ได้ด�ำเนนิ การรวบรวมข้อมูล
ผลงานวิจัยและพัฒนาของ กห.ท่ีมีศักยภาพ โดยได้รับความร่วมมืออย่างดีจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องจาก ศอพท.
สวพ.เหลา่ ทพั , ยก.เหลา่ ทพั และ สทป. รวมทงั้ เครอื ขา่ ยงานวจิ ยั นอก กห. และไดด้ �ำเนนิ การคดั เลอื กและแยกผลงาน
ออกเป็น ๓ กลุ่ม รายละเอียดตามบทที่ ๕ และภาคผนวก ก ผนวก ข และ ผนวก ค
การด�ำเนนิ การตอ่ จากนี้ วท.กห.จะเสนอขอ้ มลู ผลงานวจิ ยั ดงั กลา่ ว ตามแผนผงั ขา้ งลา่ งน้ี เพอื่ น�ำเขา้ พจิ ารณา
ในคณะกรรมการนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมป้องกันประเทศกระทรวงกลาโหม
และน�ำเรยี น รมว.กห. เพอ่ื พจิ ารณาสง่ั การให้หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องไปด�ำเนนิ การต่อไป

ภาพ ๖.๑ แผนผังเส้นทางการรายงานผลงานวจิ ยั ทีม่ ีศักยภาพสู่สายการผลิตเพ่อื ใช้งาน

100

รวมผลงานวิจยั ท่มี ศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

รปู หน้า ๔๑

ในขั้นตอนน้ี วท.กห. ใด้ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลและพิจารณาคัดเลือกผลงานวิจัยท่ีมีศักยภาพ
เข้าสู่สายการผลิตแล้ว เสนอ สนผ.กห.เพ่ือเข้าพิจารณาในคณะกรรมการนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
อุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม ผ่าน ศอพท. และ สทป. เพอ่ื ให้ ศอพท. พจิ ารณาความเหมาะสม
ในการผลิตตรงตามความต้องการของเหล่าทัพหรือไม่ ในส่วน สทป. จะพิจารณาความเหมาะสมในการผลิต
และพจิ ารณาตามกรอบ พ.ร.บ. ของ สทป. ทก่ี �ำหนดอ�ำนาจหนา้ ท่ใี ห้ สทป.ส่งเสรมิ และสนับสนุนงานดา้ นการวจิ ัย
และพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ โดยสามารถด�ำเนินการในเชิงพาณิชย์ได้ อีกทั้งสามารถไปร่วมทุน
ด�ำเนินการกับภาคเอกชนได้ เพื่อให้ข้อพิจารณาต่อ ศอพท. ถึงความเป็นไปได้ในการด�ำเนินการผลิตของแต่ละ
ผลงานวิจัย จากนั้น ศอพท. จะสรุปผลการพิจารณารวมทั้งในส่วนของ วท.กห.และ สทป. เสนอต่อ สนผ.กห.
เพ่อื น�ำเขา้ พจิ ารณาในคณะกรรมการนโยบายด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศกระทรวง
กลาโหม โดยท่ี สนผ.กห. จะด�ำเนินการยืนยันความต้องการกับเหล่าทัพแล้วจึงเสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย
เพื่อพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ เมื่อมมี ติของคณะกรรมการนโยบายฯ ใหค้ วามเหน็ ชอบแลว้ จึงน�ำเรยี น รมว.กห.
เพ่อื พจิ ารณาสั่งการตอ่ ไป ตามล�ำดบั
ส่วนที่สอง ส�ำหรับผลงานวิจัยและพัฒนาที่จะด�ำเนินต่อไปในอนาคตนั้น เพ่ือให้มีการด�ำเนินการ
อย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับการปฏิรูประบบงานวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในระดับชาติ วท.กห.
ขอเสนอเพ่ือพิจารณาอนุมัติข้ันตอนการพัฒนายุทโธปกรณ์ขึ้นมาใช้งานเองภายในประเทศ เพื่อเป็นแนวทาง
การด�ำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งระบบงานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง จะได้ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติเพ่ือให้เกิด
ความมีส่วนร่วมมีความเชื่อมโยง ประสานสอดคล้องกันและมีความเป็นเอกภาพในการตัดสินใจร่วมกัน ด้วยการ
ก�ำหนดบทบาทของแตล่ ะหนว่ ยงานในระบบ ดงั นี้
ใหด้ �ำเนนิ การในลักษณะรวมการในระดับกระทรวงกลาโหมในเร่อื งต่อไปนี้
๑) ก�ำหนดนโยบายและทิศทางของระบบงานวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมป้องกัน
ประเทศและ ระบบอนื่ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง วา่ จะพัฒนาขึ้นมาใช้เองหรือจะใช้เทคโนโลยีจากภายนอกประเทศ

101

รวมผลงานวจิ ัยทม่ี ีศกั ยภาพพรอ้ มผลกั ดนั สู่อตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๒) การตัดสินใจขัน้ สดุ ทา้ ยท่ีจะด�ำเนนิ งานในแต่ละขั้นตอน
๓) การตัดสินใจขั้นสุดท้ายส�ำหรับแหล่งงบประมาณในการสนับสนุนในแต่ละข้ันตอนตามบทบาท
หนา้ ที่ท่ีได้รับมอบหมาย
ให้บรหิ ารจัดการในภาพรวมผา่ นคณะกรรมการระดบั กระทรวงกลาโหม ดงั นี้
๑) ระดบั นโยบาย โดยคณะกรรมการโยบายดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ
กระทรวงกลาโหม (กวทอ.กห) ทม่ี ี รมว.กห.เปน็ ประธาน เป็นคณะกรรมการสงู สดุ ในระดบั กระทรวงกลาโหม
๒) ระดบั อ�ำนวยการ โดย
๒.๑) คณะกรรมการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการทหาร กระทรวงกลาโหม
(กวท.กห.) รับผิดชอบขับเคล่ือนงานวิจัยและพัฒนาการทหารของ กห. ท่ีมีความเชื่อมโยง สอดคล้องกับงาน
วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในระดับชาติ
๒.๒) คณะกรรมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม (กอป.กห) รับผิดชอบ
ขับเคล่ือนงานอุตสาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศของ กห.
๒.๓) คณะกรรมการมาตรฐานยทุ โธปกรณ์ กระทรวงกลาโหม (กมย.กห.) รบั ผดิ ชอบขบั เคลอ่ื นงาน
มาตรฐานทางทหารของ กห.
โดยจะแบ่งข้ันตอนการด�ำเนินงานออกเป็น ๘ ข้ันตอน โดยน�ำผลการศึกษาแนวทางการด�ำเนินการ
ขับเคล่ือนงานวิจัยไปสู่การผลิตใช้งานของ กห.ต่างประเทศ รวมทั้งการปฏิรูประบบงานวิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวตั กรรมในระดบั ชาติ มาปรบั ปรุงเพ่มิ เติมจาก : ขน้ั ตอนเดิม เพือ่ ให้มคี วามเหมาะสม มีความเป็นไปไดส้ อดคลอ้ ง
กันระบบงานต่างๆ ของ กห. และระบบงานวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในระดับชาติ มรี ายละเอียด ดังน้ี

ภาพที่ ๖.๒ วงจรชีวติ (Life cycle) ของการพฒั นายุทโธปกรณข์ ้ึนมาใชเ้ องของ กห.

102

รวมผลงานวิจัยทีม่ ีศกั ยภาพพร้อมผลักดันสอู่ ตุ สาหกรรมป้องกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ขัน้ ตอนที่ ๑ การศึกษาชอ่ งว่างของขีดความสามารถ
เป็นการศึกษาวิจัยเชิงหลักการถึงนโยบายการป้องกันประเทศในภาพรวม และปัญหาภัยคุกคาม
ที่ประเทศอาจจะต้องเผชิญหน้าและศึกษาวิจัยเชิงส�ำรวจถึงสถานภาพขีดความสามารถในปัจจุบัน
(หลักนิยม, โครงสร้างหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ, การฝึกศึกษาเฉพาะเร่ือง, อุปกรณ์เครื่องมือท่ีมี, ภาวะผู้น�ำหน่วย,
ก�ำลังพลของหน่วย, โครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่) รวมทั้งศึกษาวิจัยเชิงหลักการในการศึกษาวิเคราะห์ช่องว่าง
ของขดี ความสามารถทตี่ อ้ งเพมิ่ เตมิ และหนทางแกไ้ ขปญั หาชอ่ งวา่ งของขดี ความสามารถทบ่ี กพรอ่ งอยู่ โดย วท.กห.
(ศวพท.วท.กห.) จัดให้มีโครงการวิจัยที่เก่ียวข้องดังกล่าวร่วมกับ สวพ.เหล่าทัพ และ ยก.เหล่าทัพ ในการ
ด�ำเนินการร่วมกันในขั้นตอนน้ี โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
จะได้ผลงานวิจัยท่ีสรุปผลการศึกษาช่องว่างของขีดความสามารถในด้านนั้น ๆ ส�ำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจ
ของคณะกรรมการทเี่ ก่ยี วข้องคอื กวท.กห. และ กวทอ.กห. ในการพิจารณาด�ำเนนิ การในขัน้ ต่อไป
ขั้นตอนท่ี ๒ การศกึ ษาความเปน็ ไปได้
เปน็ การด�ำเนนิ การตอ่ จากขน้ั ศกึ ษาชอ่ งวา่ งของขดี ความสามารถ โดยศกึ ษาทบทวนถงึ ปญั หาภยั คกุ คาม
ทีป่ ระเทศอาจจะต้องเผชิญหน้าและผลศกึ ษาวเิ คราะห์ขีดความสามารถที่ต้องเพม่ิ เติม รวมท้ังหนทางแกไ้ ขปญั หา
ช่องว่างของขีดความสามารถท่ียังบกพร่องอยู่ รวมท้ังศึกษาวิจัยเชิงส�ำรวจถึงความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยี
ภายในประเทศ (องค์ความรู้, เทคโนโลยี, นักวิจัย, นักวิศวกร, นักนวัตกรรม, สถาบันวิจัย, สถาบันการศึกษา,
ผู้ประกอบการภาคเอกชน, ห้องปฏิบัติการ, อุปกรณ์เคร่ืองมือ, โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีมีอยู่) รวบรวมผลการศึกษา
ความต้องการทางยุทธการ ผลการประมาณการความต้องการงบประมาณในการด�ำเนินการ รวมถึงการจัดหา
และผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการรับรองมาตรฐาน โดย วท.กห.(ศวพท.วท.กห.) จัดให้มีโครงการวิจัย
ท่ีเก่ียวข้องดังกลา่ วร่วมกับ สวพ.เหล่าทัพ โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสง่ เสริมวทิ ยาศาสตร์ วิจยั และ
นวตั กรรมในการด�ำเนนิ การรว่ มกนั ในขนั้ ตอนนี้ จะไดต้ น้ แบบผลงานวจิ ยั และพฒั นา รวมทงั้ ความพรอ้ มในดา้ นอนื่ ๆ
ส�ำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการที่เก่ียวข้อง คือ กวท.กห. และ กวทอ.กห. ในการพิจารณา
ด�ำเนนิ การในข้นั ตอ่ ไปหรือไม่
ขัน้ ตอนท่ี ๓ การวจิ ยั และพัฒนาต้นแบบงานวิจยั
เป็นการด�ำเนนิ การต่อจากข้ันศึกษาความเปน็ ไปได้ โดยจะวิจัยและพัฒนาตัง้ แต่ Concept ไปจนถงึ
ไดต้ น้ แบบงานวจิ ยั อนั เปน็ การพสิ จู น์ วา่ มคี วามเปน็ ไปไดท้ างเทคโนโลยภี ายในประเทศ ใหม้ กี ารศกึ ษาความตอ้ งการ
ทางยุทธการ (ร่วมกับ สวพ.เหล่าทัพและ ยก.เหล่าทัพ) รวมท้ังการประมาณการความต้องการงบประมาณ
ในการด�ำเนินการ ต้ังแต่ต้นจนสิ้นสุด และพัฒนาเข้าสู่แผนจัดหาในอนาคต มีการศึกษาความเป็นไปได้เพิ่มเติม
ในการรับรองมาตรฐานภายในประเทศ ในการด�ำเนินการในข้ันนี้ กห. จะร่วมมือกับเครือข่ายสถาบันการศึกษา
ในการวิจัยและพัฒนาพร้อมท้ังดึงเอาผู้ประกอบการภาคเอกชนเข้ามารับงานวิจัยและพัฒนาบางส่วน อันเป็น
การเร่ิมพัฒนาความพร้อมในการผลิตในขั้นต้น ดึงเอา สทป.เข้ามาร่วมส�ำหรับการพัฒนายุทโธปกรณ์ขนาดใหญ่
หรอื ทม่ี เี ทคโนโลยขี นั้ สงู อกี ทง้ั รว่ มมอื กบั เครอื ขา่ ยภายนอกประเทศเพอื่ รบั การถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยี
บางส่วน โดย วท.กห.(ศวพท.วท.กห. และ สทป.) จัดให้มโี ครงการวิจัยทเ่ี กย่ี วข้องดังกล่าวรว่ มกับ สวพ.เหล่าทัพ
โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในการด�ำเนินการร่วมกัน

103

รวมผลงานวจิ ยั ทีม่ ศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันส่อู ตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

ในขนั้ ตอนนี้ จะไดต้ น้ แบบผลงานวิจยั และพฒั นา รวมท้งั ความพรอ้ มในด้านอ่นื ๆ ส�ำหรับใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ
ของคณะกรรมการทเี่ กีย่ วขอ้ ง คือ กวท.กห. และ กวทอ.กห. ในการพจิ ารณาด�ำเนนิ การในข้นั ตอ่ ไปหรอื ไม่
ข้นั ตอนท่ี ๔ การพฒั นาต้นแบบวิศวกรรม
เปน็ การด�ำเนนิ การตอ่ จากขนั้ การวจิ ยั และพฒั นาตน้ แบบงานวจิ ยั โดยจะมกี ารพฒั นาตน้ แบบวศิ วกรรม
เพือ่ ให้ไดค้ วามพรอ้ มของเทคโนโลยีระดบั สงู สุด โดย สทป. จะเป็นแม่งานหลักในขนั้ ตอนน้ี โดยการจัดท�ำโครงการ
โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และร่วมมือกับผู้ประกอบการ
ภาคเอกชน ด�ำเนินการพัฒนาต้นแบบวิศวกรรมต่อจากต้นแบบงานวิจัยจนได้ต้นแบบวิศวกรรมท่ีมีความพร้อม
ของเทคโนโลยรี ะดบั สงู สดุ และจะเปน็ การพฒั นาความพรอ้ มในการผลติ ควบคกู่ นั ไปดว้ ย ในบางครง้ั ผปู้ ระกอบการ
ภาคเอกชน อาจด�ำเนินการพัฒนาต้นแบบวิศวกรรมต่อจากต้นแบบงานวิจัยเองหากมีศักยภาพ โดยท่ีต้นแบบ
วิศวกรรมนั้น จะต้องได้รับการทดสอบทดลองจนได้รับการยอมรับ ต้องมีการก�ำหนดมาตรฐานขึ้นมารองรับ
โดย สมท.วท.กห. ร่วมกับ กมย.เหล่าทัพ เพื่อเป็นหลักประกันว่าผลงานวิจัยน้ันมีคุณภาพ และมีคุณลักษณะ
ท่ีตรงกับความต้องการและตอบสนองต่อภารกิจทางยุทธการ หากจ�ำเป็นต้องใช้งบประมาณ ให้ใช้จากกองทุน
สง่ เสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ในขณะเดยี วกัน เหล่าทพั จะเรม่ิ พฒั นาหลักนิยม เตรยี มหน่วยงานรองรบั
เตรยี มโครงการจดั หาเพอ่ื ใช้ในราชการ ในขน้ั นจ้ี ะไดต้ น้ แบบวศิ วกรรมขน้ั สดุ ทา้ ยทจี่ ะมกี ก็ ารปรับปรงุ ตน้ แบบเทา่ ที่
จ�ำเป็นในข้ันต่อไปเท่าน้ัน รวมทั้งความพร้อมในด้านอื่นๆ ส�ำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ
ท่เี ก่ยี วข้อง คือ กวท.กห. และ กวทอ.กห. ในการพิจารณาด�ำเนินการในข้นั ตอ่ ไปหรือไม่
ขั้นตอนที่ ๕ การทดสอบประเมินคา่ สดุ ทา้ ย
เป็นการด�ำเนินการต่อจากข้ันพัฒนาต้นแบบวิศวกรรม เพื่อให้เกิดความมั่นใจในผลงานที่ได้มาว่ามี
ความพร้อมของเทคโนโลยีระดับสูงสุด และตรงกับความต้องการและตอบสนองทางด้านยุทธการได้จริง
เป็นการทดสอบเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานทางทหาร จนผ่านเกณฑท์ ่ีก�ำหนดและไดร้ บั การรับรองตน้ แบบวศิ วกรรม ตามท่ี
สมท.วท.กห. ได้ด�ำเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการก�ำหนดมาตรฐานในข้ันตอนก่อนหน้านี้แล้ว
หากจ�ำเปน็ ตอ้ งใชง้ บประมาณสนบั สนนุ การทดสอบมาตรฐาน ใหใ้ ชจ้ ากกองทนุ สง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
ในข้ันตอนน้ี เหล่าทัพจะด�ำเนินการขออนุมัติใช้ในราชการ รวมท้ังการพัฒนาหลักนิยมให้เรียบร้อยจัดโครงสร้าง
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ จัดการฝึกศึกษาเฉพาะเร่ือง เตรียมอุปกรณ์เคร่ืองมือ เตรียมผู้น�ำและก�ำลังพลของหน่วย
เตรียมโครงสร้างพ้ืนฐาน หลังจากผ่านการทดสอบประเมินค่าสุดท้ายแล้วและเสนอโครงการที่เก่ียวข้องเพ่ือ
ขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากรฐั บาลในการจดั หายทุ โธปกรณท์ เี่ ปน็ ผลงานวจิ ยั นเ้ี ขา้ ใชใ้ นราชการ ในขน้ั ตอนนี้
วท.กห. (สมท.วท.กห) จะเป็นหน่วยงานหลักในการด�ำเนินการทดสอบประเมินค่าสุดท้ายร่วมกับ กมย.เหล่าทัพ
ในการด�ำเนินการร่วมกัน เพ่ือจะได้ผลการทดสอบและประเมินค่าครั้งสุดท้าย และความพร้อมในด้านอ่ืนๆ
ส�ำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้อง คือ กมย.กห. และ กวทอ.กห. ในการพิจารณา
ด�ำเนนิ การในข้ันตอ่ ไปหรือไม่
ขน้ั ตอนท่ี ๖ การพฒั นาอุตสาหกรรม
เปน็ การด�ำเนนิ การตอ่ จากขนั้ การทดสอบและประเมินคา่ สดุ ทา้ ย หลงั จากได้ตน้ แบบวศิ วกรรมท่ผี ่าน
การทดสอบจนไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานของตน้ แบบแลว้ กจ็ ะมกี ารพฒั นาอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศอนั เปน็ การ
ตอ่ ยอดพฒั นาความพรอ้ มในการผลติ ตอ่ จนถงึ ขน้ั สงู สดุ โดย สทป. จดั ท�ำโครงการพฒั นาอตุ สาหกรรมและรว่ มมอื

104

รวมผลงานวิจยั ทีม่ ศี ักยภาพพร้อมผลกั ดันสู่อตุ สาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

กับผู้ประกอบการภาคเอกชน และจะด�ำนินกรรมวิธีที่เก่ียวข้องเพ่ือให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนเริ่มทดลองผลิต
เบอ้ื งตน้ จากโรงงาน โดยใชง้ บประมาณสนบั สนนุ จากกองทนุ สง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ในการพฒั นา
อุตสาหกรรมจนมีความพร้อมในการผลิตสูงสุด ในบางครั้งผู้ประกอบการภาคเอกชนอาจด�ำเนินการพัฒนา
อุตสาหกรรมเองก็ได้หากมศี ักยภาพเพยี งพอ ในขณะเดียวกันเหล่าทพั จะขอรบั การจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาล
ในการจดั หายุทโธปกรณ์ท่ีเปน็ ผลงานวจิ ยั นี้เข้าใช้ในราชการ ในสว่ น ศอพท. น้ันจะควบคุม ก�ำกับดูแล ให้ สทป.
และผู้ประกอบการด�ำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องจนได้มาตรฐานอุตสาหกรรม
ทางทหาร ในขนั้ ตอนนีจ้ ะได้ผลการพฒั นาอุตสาหกรรมและความพรอ้ มในด้านอ่นื ๆ ส�ำหรบั ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ
ของคณะกรรมการที่เกย่ี วข้อง คอื กมย.กห., กอป.กห. และ กวทอ.กห. ในการพิจารณาด�ำเนนิ การในขั้นตอ่ ไปหรือไม่
ขั้นตอนท่ี ๗ การผลติ เพอื่ เข้าประจ�ำการ
เปน็ การด�ำเนนิ การตอ่ จากขน้ั การพฒั นาอตุ สาหกรรม หลงั จากไดท้ ดลองผลติ เบอ้ื งตน้ แลว้ และเหลา่ ทพั
ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณจากรฐั บาลในการจดั หายทุ โธปกรณท์ เ่ี ปน็ ผลงานวจิ ยั นขี้ นึ้ ใชใ้ นราชการ และด�ำเนนิ กรรมวธิ ี
ท่ีเกี่ยวข้องในการจ้างให้ สทป.ร่วมกับผู้ประกอบการภาคเอกชนผลิตเพื่อเข้าใช้ในราชการ ในส่วนของ ศอพท.
จะควบคุม ก�ำกับดูแล ให้ สทป.และผู้ประกอบการด�ำเนินการผลิตเพื่อเข้าประจ�ำการให้เป็นไปตามกฎหมาย
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และ วท.กห.(สมท.วท.กห) ตรวจสอบผลติ ภณั ฑจ์ ากโรงงานทพ่ี ฒั นาขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจวา่ มคี ณุ ภาพ
คุณลกั ษณะตรงกบั ต้นแบบวศิ วกรรมท่ีได้รับการรับรองมาตรฐานไปแลว้ กอ่ นทจี่ ะส่งมอบให้กบั เหล่าทพั ในขน้ั ตอนนี้
จะไดผ้ ลการผลติ เพอ่ื เขา้ ประจ�ำการและความพรอ้ มในดา้ นอนื่ ๆ ส�ำหรบั ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจของคณะกรรมการ
ท่ีเก่ยี วขอ้ ง คอื กมย.กห. กอป.กห.และ กวทอ.กห. ในการพิจารณาด�ำเนนิ การในข้ันต่อไปหรือไม่
ข้นั ตอนที่ ๘ บรรจใุ ชง้ านและการสนบั สนุน
เป็นการด�ำเนินการต่อเน่ืองมาจากขั้นการผลิตเพื่อเข้าประจ�ำการ อันเป็นการด�ำเนินการในระหว่าง
การใช้งานไปจนถึงการจ�ำหน่ายออกจากทางราชการ โดยเหล่าทัพจะต้องด�ำเนินการบรรจุใช้ในราชการเม่ือได้รับ
การส่งมอบผลิตภัณฑ์ และเหล่าทัพจะต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการส่งก�ำลัง/ซ่อมบ�ำรุงประจ�ำปี
ไปจนกว่าจะมกี ารจ�ำหน่ายออกจากทางราชการ ในสว่ นของ ศอพท. จะควบคุม ก�ำกับดูแล และสง่ เสรมิ ให้ สทป.
และผปู้ ระกอบการด�ำเนนิ การสนบั สนนุ ราชการไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งและใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งไปจนถงึ การ
จ�ำหนา่ ยออกจากทางราชการการพฒั นายทุ โธปกรณข์ น้ึ ใชง้ านเองนน้ั อาจจะเรมิ่ ตน้ ทข่ี น้ั ตอนใดกไ็ ด้ ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู่ บั
ความพร้อมของเทคโนโลยแี ละความพรอ้ มของการผลติ เปน็ ส�ำคัญ แต่อย่างไรกต็ าม ยังมคี วามจ�ำเปน็ ท่จี ะต้องไป
ด�ำเนินการในส่วนท่ีเกี่ยวข้องแบบคู่ขนานในข้ันตอนต้นๆ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้การก้าวไปในขั้นต่อ ๆ ไป
มคี วามรอบคอบ ม่ันคงเป็นไปได้ และเกิดความยัง่ ยืนในทส่ี ุด
ถา้ หากมคี วามรว่ มมือ รว่ มแรง ร่วมใจในทุกฝ่ายที่เก่ยี วขอ้ ง ด�ำเนนิ การพฒั นาขีดความสามารถในการ
ปอ้ งกนั ประเทศ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทม่ี คี วามพอประมาณ พฒั นาขดี ความสามารถในลกั ษณะ
พอเพียง ไม่เกินตัว มีเหตุมีผลท่คี รบถ้วน เปน็ ไปตามหลกั วิชา และสรา้ งภมู ิคุ้มกัน พัฒนาท้งั คน และเทคโนโลยี
ท่ีเป็นของตนเอง จนมีความย่ังยืนในท่ีสุด ย่อมเป็นการสืบสานพระราชปณิธานของในหลวง ร.๙ ท่ีได้มี
พระราชด�ำรัส ณ สภาคองเกรส เมืองวอชิงตัน ดี.ชี. ประเทศสหรัฐอเมริกา มีใจความตอนหนึ่งว่า ...เรามีความ
ซาบซ้ึงในความช่วยเหลือจากชาวอเมริกัน แต่เรามุ่งม่ันว่าวันหน่ึงเราจะด�ำเนินการได้เองโดยปราศจากความ
ชว่ ยเหลอื นี้...

105

รวมผลงานวิจยั ทมี่ ศี กั ยภาพพร้อมผลักดันสูอ่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

รูปหน้า ๔๗

ภาพที่ ๖.๓ ความเช่ือมโยงของคณะกรรมการ งบประมาณ และหน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง
106

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมศี กั ยภาพพร้อมผลักดนั สอู่ ุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

เอกสารอา้ งอิง

๑. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๕๘๐
๒. ค�ำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรตี อ่ รัฐสภา เมอ่ื ๒๕ ก.ค.๖๒
๓. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕๖๔)
๔. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕๗๙
๕. ยุทธศาสตร์การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม
พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕๗๙
๖. นโยบายรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหมในโอกาสเขา้ รบั ต�ำแหนง่ ของ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา
เม่อื ๓๐ ก.ค.๖๒ ณ หอ้ งภาณรุ งั ษี ในศาลาว่าการกลาโหม
๗. แนวทางการปฏบิ ตั ิงานของปลดั กระทรวงกลาโหม (พลเอก วรเกยี รติ รตั นานนท์)
๘. คลปิ His Majesty King Bhumibol Adulyadej speaks at the Joint Meeting of U.S. Congress
เผยแพรโ่ ดยสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทย เมอ่ื ๓ พ.ย. ๒๕๕๙ https://
www.youtube.com/watch?v=mhMON38Mr9M
๙. เอกสารน�ำเสนอ (Power Point) ของผู้แทน กห.สรอ. ในงานสัมมนา Crimson Viper 2016
เม่อื ๖ ก.ย.๕๙ ณ คา่ ยอดิศร จว.สระบรุ ี
๑๐. เอกสารน�ำเสนอ (Power Point) ของผู้แทน กห.ญี่ปุ่น ในงานสัมมนานาชาติ เร่ือง โครงสร้าง
งานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศทก่ี า้ วทนั ตอ่ ภยั คกุ คามในอนาคต ในวนั ท่ี ๑๒ ม.ี ค.๕๘
ณ โรงแรมมริ าเศิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรงุ เทพ ฯ
๑๑. เอกสารน�ำเสนอ (Power Point) ของผแู้ ทน กห.สาธารณรัฐเกาหลีในโอกาศทค่ี ณะผแู้ ทน วท.กห.
เยือน Agency for Defense Development (ADD) ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เมอ่ื ๒๕ ส.ค.๕๘
๑๒. เอกสารน�ำเสนอ (Power Point) ของผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัย
และนวัตกรรม (สกสว.) ในการอบรมถ่ายทอดความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยปี อ้ งกนั ประเทศ เมอื่ ๒๔ ก.ค.๖๒ ณ หอ้ งอบรม กง.กห.(๑) ชน้ั ๒ อาคาร สป. (ศรสี มาน)

107

รวมผลงานวจิ ัยท่ีมีศักยภาพพรอ้ มผลักดันสู่อุตสาหกรรมปอ้ งกันประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

คณะผู้จัดท�ำ

ท่ีปรกึ ษา

พลโท สมเกยี รติ สัมพนั ธ์
พลตรี เขมชาติ ปตั ตะนุ
พลตรี อภินนั ท์ จนั ดอนไผ่
พลตรี ศพิ นั ท์ ภาณววฒั น์
พลตรี วนั ชัย เกตวุ ิทยา
พลอากาศตรี จริ ชัย ผุดผอ่ ง
พลอากาศตรี ปยิ ะ ศริ ิสทุ ธ์ิ

บรรณาธกิ าร

พลตรี ศพิ ันท์ ภาณววัฒน์

พนั เอก ศุภโชค สมรรคเสวี นาวาอากาศเอก นภิ ทั ร ธรี อ�ำพน

พนั เอก ธนวฒั น์ รอดช้ือ พนั เอก กิตต์ินธิ ิ ธนภาณุธาดา

พันเอก อรรถเศรษฐ์ นวิ าตานนท์ นาวาเอก ศร เขยี วสอาด

พนั เอก กิตติ รตั นดษิ ฐ ์ นาวาเอกหญิง มยรุ ี อษั ฎมงคลพนั ธ์

นาวาอากาศเอก เบญจพล ส�ำรวจเบญจกลุ นาวาเอก กวีศกั ด์ิ วฒั นะครี ี

พันเอก อภิชาต วงศว์ ฒั นา พันเอก เกียรตพิ งษ์ ศาลารมณ์

พันเอกหญิง สุภาภรณ์ ราชะพริง้ นาวาเอก นธิ ิกฤดิ ประกอบกจิ

พันเอก นพพล พลภัทรพิจารณ ์ นาวาโทหญงิ สนธยา ธเนศราภา

108



จัดท�ำ โดย

กรมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ลาโหม

ชัน้ ๓ อาคารส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม (ศรสี มาน)
๑๒๗ หมทู่ ่ี ๓ ต�ำ บลบ้านใหม่ อ�ำ เภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี ๑๑๑๒๐
โทร. ๐ ๒๕๖๐ ๕๖๐๗ โทรสาร ๐ ๒๕๐๑ ๖๗๖๐ เว็บไซต์ www.dstd.mi.th


Click to View FlipBook Version