(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
นฐาน (ตอ่ ) หนว่ ยงานหลกั
กรมพลศกึ ษา
วิธีการและความถี่ในการจดั เกบ็ ข้อมลู
าวชนที่มี กรมพลศึกษา จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ
งเด็กและ จัดเก็บข้อมูลสถิติเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง
ละอาคาร ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูลสถานท่ี
ออกกำลังกายและเล่นกีฬาของเด็กและเยาวชน
ในสถานศึกษา ทม่ี ีความปลอดภยั และเหมาะสม
๑๑
ประเดน็ การพฒั นาที่ ๒ : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกำลงั กายและกีฬาเพอ่ื ม
ตวั ชี้วัดระดับประเดน็ การพัฒนา นยิ าม
๒.๑ สัดส่วนของประชากรทุกกลุ่ม ดัชนีมวลกาย (Body mass index) เป็นค่า ส
จ
ที่มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ใน ดัชนีความสัมพันธ์ระหวา่ งส่วนสงู และน้ำหนัก ก
ระดับมาตรฐาน ดีขึ้นร้อยละ ๕ ตัว โดยคำนวณจากน้ำหนักตัว (กิโลกรัม) อ
ต่อปี หารด้วยส่วนสูง (เมตรยกกำลังสอง) พ
ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้มีการแบ่งเกณฑ์ ม
ค่าระดับดัชนีมวลกาย (BMI) เพ่ือใช้เป็นแบบ
คัดกรองภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน
โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่
และผู้สูงอายุ โดยใช้ BMI ตามเกณฑ์คนเอเชีย
ซ
โด
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
มวลชนให้เป็นวิถชี ีวิต หน่วยงานหลกั
สำนักงาน
วธิ กี ารและความถใ่ี นการจัดเกบ็ ข้อมูล
ปลดั กระทรวง
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬารวบรวมข้อมูล การทอ่ งเท่ียวและ
จากระบบคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center: HDC) ของ
กระทรวงสาธารณสุข โดยรวบรวมข้อมูลของประชากรวัยทำงาน กีฬา
อายุ ๑๘-๕๙ ปี ทม่ี คี า่ ดชั นมี วลกายปกติ แยกตามรายปี และเขต
พื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งโรงพยาบาลทัว่ ไป และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล
มวี ิธกี ารจัดเกบ็ ขอ้ มูล ดังนี้
๑. โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ให้บริการ
ชั่งน้ำหนกั และวัดส่วนสงู ในเขตพืน้ ทข่ี องการรบั บรกิ าร ทำการบันทึก
ขอ้ มูลนำ้ หนกั และส่วนสูงด้วยทศนยิ ม ๑ ตำแหนง่ เชน่ น้ำหนัก ๔๒.๘
กิโลกรมั ส่วนสงู ๑๖๐.๒ เซนติเมตร
๒. ศูนย์อนามัยที่ ๑-๑๒ รพ.สต. และ PCU ของโรงพยาบาล บันทึก
ในโปรแกรมหลักของสถานบริการ เช่น JHCIS, HosXP PCU เป็นต้น
และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน ๔๓ แฟม้
๓. สำหรับสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง (สสม.) เขต ๑๓ กรุงเทพฯ
ใช้ข้อมูลจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ Health for
You ของ Cluster วยั ทำงาน
ซึง่ มกี ารแบง่ เกณฑค์ า่ ระดบั ดัชนีมวลกาย (BMI) ตามช่วงอายุ ดงั นี้
- อายุ ๑๘ - ๒๙ ปี วยั ทำงานตอนต้น
- อายุ ๓๐ - ๔๔ ปี วยั ทำงานตอนกลาง
- อายุ ๔๕ - ๕๙ ปี วยั ทำงานตอนปลาย
ดยมคี ่าดัชนีมวลกาย (BMI) ตามเกณฑค์ นเอเชีย ดงั น้ี
- ปกติอยู่ในระดบั = ๑๘.๕ - ๒๒.๙
- นำ้ หนักเกิน = ๒๓.๐ - ๒๔.๙
- อ้วนระดบั ที่ ๑ = ๒๕.๐ – ๒๙.๙
- อ้วนระดบั ที่ ๒ = ๓๐.๐ ขนึ้ ไป
- นำ้ หนักเกิน = ๒๓.๐ - ๒๔.๙
๑๒
ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๒ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการออกกำลงั กายและกีฬาเพือ่ ม
ตวั ช้ีวดั ระดับประเด็นการพฒั นา นยิ าม
๒.๒ อัตราการป่วยของประชากร โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดข
ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non- เชื้อโรค และไม่ได้ติดต่อจากคนสู่คนโดยการสัม
Communicable Diseases; NCDs) หายใจ แต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตปร
ลดลง เหมาะสม กลุ่มโรค NCDs ประกอบด้วย โรคเบ
ความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรค
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง แ
เป็นต้น
๒.๓ ค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้ของ ประชาชนทั่วประเทศ ได้เกิดการรับรู้ว่าการอ
ประชาชนทุกกลุ่ม ว่าการออกกำลัง- และการเล่นกีฬาส่งผลดีต่อการพัฒนาทั้งร่างกา
กายและการเล่นกีฬาส่งผลดีต่อ ของตนเอง โดยต้องมีค่าเฉลี่ยของคะแนนด
การพัฒนาทั้งร่างกายและสมอง ท่รี ะดบั ไมต่ ่ำกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
๒.๔ มีการจัดกิจกรรมกีฬาหรือ กิจกรรมกีฬาหรือการแข่งขันกีฬา ครอบคลุมกา
การแข่งขันกีฬาสำหรับประชาชน กายในชีวิตประจำวัน และการออกกำลังกายใน
ทุกกลุ่มในทุกท้องถิ่นทั่วประเทศ อาชีพ ที่ประชาชนทุกกลุ่ม รวมทั้งบุคคลกลุ่
โดยในภาพรวมเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ผู้ด้อยโอกาสได้ออกกำลังกายและเล่นกีฬาให้
ร้อยละ ๑๐ ตอ่ ปี สภาพร่างกายของตน เพอ่ื มีสขุ ภาพดี และมีคณุ ภ
ก-
(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
มวลชนใหเ้ ป็นวิถชี วี ติ (ต่อ) หนว่ ยงานหลัก
วิธกี ารและความถ่ใี นการจัดเกบ็ ขอ้ มลู สำนกั งานปลดั
ขึน้ จากการติด สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวง
มผัสหรือการ รวบรวมข้อมูลจากการรายงานการป่วย การทอ่ งเท่ียวและ
ระจำวันที่ไม่ ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บาหวาน โรค กระทรวงสาธารณสุข โดยมีการจัดเก็บข้อมูล กีฬา
คอ้วน ลงพุง ผ่านคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center:
และโรคมะเร็ง HDC) เป็นประจำทกุ ปี
ออกกำลังกาย กรมพลศึกษา ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด กรมพลศกึ ษา
ายและสมอง โดยการจ้างที่ปรึกษาในแต่ละปีงบประมาณ กรมพลศกึ ษา
ด้านการรับรู้ ในการสำรวจการรับรู้ของประชาชนท่วั ประเทศ
ว่าการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาส่งผลดี
ต่อการพัฒนาท้ังร่างกายและสมองของตนเอง
ารออกกำลัง- กรมพลศึกษา จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ
นการประกอบ จัดเก็บข้อมูลสถิติเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง
มพิเศษ และ ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูลการจัด
เหมาะสมกับ กิจกรรมกีฬาหรือการแข่งขันกีฬาสำหรับ
ภาพชีวิตท่ีดี ประชาชนทกุ กลุม่
๑๓
ประเด็นการพัฒนาท่ี ๒ : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกำลงั กายและกีฬาเพอื่ มว
ตวั ชวี้ ดั ระดบั ประเดน็ การพัฒนา นยิ าม
๒.๕ มีนักพัฒนาการกีฬาประจำตำบลทุก นักพัฒนาการกีฬาประจำตำบลเพื่อส
ตำบล สนับสนุนการออกกำลังกายให้กับประช
ท้องถนิ่
๒.๖ มีการยกระดับพื้นที่สาธารณะที่มี มีการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพใ
ศักยภาพในชุมชนเป็นลานกีฬาท้องถิ่น พื้นที่ใต้ทางยกระดับ รวมถึงพื้นที่ขอ
ครบทุกหมูบ่ ้านภายในปี ๒๕๗๐ ราชการหรือหน่วยงานในกำกับที่เห
ประชาชนทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย รวมท้ังกลุ่ม
กลุ่มพิเศษ โดยการยกระดับพื้นท
ที่มศี กั ยภาพในชมุ ชนเป็นลานกีฬาท้องถ่นิ
๒.๗ มีการสร้างหรือพัฒนาให้มีศูนย์ฝึกกีฬา การสร้างหรือพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาให้มีม
ที่มีมาตรฐานตามที่กำหนดประจำอำเภอ องค์ประกอบภายในศูนย์ฝึกกีฬาและม
๑ แห่งตอ่ อำเภอ แตล่ ะชนิดกีฬาตามทก่ี รมพลศึกษากำหนด
๒.๘ มีประเด็นการส่งเสริมการออกกำลัง ทุกจงั หวัดมปี ระเด็นการส่งเสรมิ การออกก
กายและการพัฒนาการกีฬาในแผนพัฒนา การพัฒนาการกีฬาในแผนพัฒนาจ
จังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น ภายในปี แผนพฒั นาท้องถ่ิน
๒๕๖๖
ก-
(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
วลชนใหเ้ ป็นวิถีชวี ิต (ต่อ) หน่วยงานหลัก
วิธีการและความถี่ในการจัดเกบ็ ข้อมลู กระทรวงมหาดไทย
ส่งเสริมและ สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ชาชนในระดับ ประสานขอขอ้ มูลกับกระทรวงมหาดไทย
ในชุมชน เช่น กรมพลศึกษา จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ กรมพลศึกษา
องหน่วยงาน จัดเก็บข้อมูลสถิติเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง
หมาะสมกับ ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้อมูลลานกีฬา กรมพลศึกษา
มผู้พิการและ ทอ้ งถ่นิ ที่ไดร้ ับการยกระดบั จากพื้นที่สาธารณะ
ที่สาธารณะ ท่มี ศี ักยภาพในชมุ ชน สำนกั งานปลดั
น กระทรวง
มาตรฐานของ กรมพลศึกษา จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ
มาตรฐานของ จัดเก็บข้อมูลสถิติเพื่อให้เป็นฐานข้อมูลกลาง การท่องเทย่ี วและ
ด ด้านการกีฬา โดยมีการจัดเก็บข้ อ มูล กฬี า
ศูนย์ฝกึ กีฬาท่มี ีมาตรฐานประจำอำเภอ
กำลงั กายและ สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
จังหวัดและ ประสานขอข้อมูลกับสำนักงานการท่องเที่ยว
และกฬี าจังหวัดของแตล่ ะจังหวดั
๑๔
ประเด็นการพฒั นาท่ี ๓ : การส่งเสรมิ และพัฒนาการกีฬาเพอื่ ความเปน็ เลิศและกีฬ
ตวั ชวี้ ดั ระดบั ประเด็นการพัฒนา นิยาม
๓.๑ มีจำนวนนักกีฬาหน้าใหม่เพิ่มข้ึน นักกีฬาหน้าใหม่ หมายถึง นักกีฬาที่ได
ในระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ ร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ
ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๕ ตอ่ ปี กีฬาแห่งชาติ ซึ่งเป็นนักกีฬาใหม่ที่ยังไม
เข้ารว่ มการแขง่ ขนั กีฬาเยาวชนแห่งชาติ
กฬี าแห่งชาตมิ าก่อน
๓.๒ มีจำนวนนักกีฬาอาชีพเพิ่มข้ึน ร้อยละของนักกีฬาอาชีพในระบบฐานข
ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕ ต่อปี ของ กกท. มีรายได้ตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด
๓.๓ จำนวนรายการการแข่งขันในระดับ รายการการแข่งขันในระดับนานาช
นานาชาติ มีผลงานตั้งแต่อันดับที่สามของ ทม่ี ีนักกฬี าจากประเทศไทยเข้ารว่ ม
รายการขึ้นไปเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕
ต่อปีของจำนวนรายการที่เข้าร่วม
การแขง่ ขนั
๓.๔ อันดับการแข่งขันกีฬามหกรรมกีฬา รายการแข่งขันกีฬาในรูปแบบ Multi-S
ซีเกมส์และกีฬาอาเซียนพาราเกมส์ อยู่ใน โดยพิจารณาเฉพาะกีฬาสากลในมหก
อันดับ ๑ (นับเฉพาะกีฬาสากล) กฬี าซเี กมส์ อาเซยี นพาราเกมส์
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬาเพื่อการอาชีพ หน่วยงานหลัก
วธิ กี ารและความถ่ีในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู การกีฬา
ด้เข้า การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด แห่งประเทศไทย
หรือ จัดเก็บข้อมูล โดยคำนวณจากจำนวนนักกีฬาหน้าใหม่
ม่เคย ที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ หรือกีฬา
หรือ แห่งชาตจิ ากฐานขอ้ มูลของสมาคมกีฬา
ข้อมูล การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด การกีฬา
จัดเก็บข้อมูล โดยคำนวณจากจำนวนนักกีฬาอาชีพ แห่งประเทศไทย
มรี ายได้ตามเกณฑท์ ่กี ำหนด
การกีฬา
ชาติ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล แหง่ ประเทศไทย
เป็นรายปี โดยคำนวณจากจำนวนรายการการแข่งขัน
ในระดับนานาชาติ ที่มีผลงานตั้งแต่อันดับที่สามของ การกีฬา
รายการขึ้นไปเปรียบเทียบกับรายการแข่งขันในระดับ แห่งประเทศไทย
นานาชาตทิ นี่ ักกีฬาจากประเทศไทยเข้าร่วมทัง้ หมด
Sport การกฬี าแหง่ ประเทศไทยเปน็ ผรู้ ับผิดชอบรวบรวมข้อมูล
กรรม จากการเผยแพร่ผลการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ อาเซียน
พาราเกมส์
๑๕
ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๓ : การสง่ เสริมและพัฒนาการกฬี าเพื่อความเปน็ เลิศและกฬี
ตวั ชี้วดั ระดบั ประเด็นการพฒั นา นิยาม
๓.๕ มีการพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์ การพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬ
การกีฬาให้มีมาตรฐานระดับอาเซียน ให้มีมาตรฐานระดับอาเซียน หมาย
จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๐ แห่งภายในปี ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาที่สามารถรองร
๒๕๗๐ การพัฒนานักกีฬาไปสู่ความเป็นเลิศใกล้เค
กับประเทศชั้นนำในระดับเอเชียหรืออาเซีย
มีองค์ประกอบที่จำเป็นสำหรับการดำเนินง
ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา ดงั น้ี
(๑) ดา้ นสถานท่ี สิ่งอำนวยความสะดวก
และความปลอดภยั
(๒) ด้านอปุ กรณ์การใหบ้ ริการทดสอบ
และเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกาย
(๓) ด้านบคุ ลากร
(๔) ดา้ นการบริหารจัดการ
(๕) ดา้ นการใหบ้ รกิ าร
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬาเพอ่ื การอาชีพ (ต่อ) หน่วยงานหลกั
วิธีการและความถ่ีในการจัดเก็บขอ้ มลู การกีฬา
ฬา การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด แหง่ ประเทศไทย
ถึง จัดเก็บข้อมูล โดยการจ้างที่ปรึกษาในแต่ละปีงบประมาณ
รับ ในการสำรวจประเมินศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา
คียง ทม่ี ีมาตรฐานระดับอาเซยี น
ยน
งาน
๑๖
ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๓ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการกีฬาเพอื่ ความเป็นเลศิ และกีฬ
ตัวชวี้ ัดระดบั ประเดน็ การพัฒนา นิยาม
๓.๖ มีการพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา การพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา ผ่านเกณฑ์มาตรฐานส
ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสากล จำนวน สถานทส่ี ำหรับการเก็บตัวฝึกซ้อมเพ่อื สร้างความ
ไม่นอ้ ยกว่า ๑๒ แหง่ ภายในปี ๒๕๗๐ และชนิดกีฬาที่ประเทศไทย มีโอกาสที่จะพัฒ
ประเทศอื่น ๆ จนไดร้ ับรางวลั จากการแข่งขันหร
เป็นลำดับต้นของโลก การพัฒนาผ่านเกณ
จะกำหนดขึ้นในแผนฯ ๗ โดยการกีฬาแห่งประ
ในการจัดทำรูปแบบและจัดตั้งศูนย์ฝึกกีฬา
จะพิจารณาตามบริบท สภาวะทางกายภาพ แล
ของการกีฬาแห่งประเทศไทย ภายในศูนย
ที่การกีฬาแห่งประเทศไทย หรือสมาคมกีฬาแ
บริหารจดั การ
๓.๗ จัดตั้งศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ ศูนย์ฝึกกฬี าแห่งชาติ (National Training Cent
( National Training Center: NTC) เก็บตัว ฝึกซ้อม และให้บริการที่ได้มาตรฐานส
แหง่ แรกได้สำเรจ็ ภายในปี ๒๕๗๐ บุคลากรกีฬาอย่างครบวงจร ประกอบด้วย ส
กีฬา สถานที่พัก ห้องอาหาร ห้องฝึกกล้ามเ
ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การกฬี า เพือ่ พัฒนาศกั ยภาพข
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬาเพือ่ การอาชีพ (ต่อ)
วธิ ีการและความถี่ในการจดั เก็บข้อมูล หน่วยงานหลกั
สากล หมายถึง พัฒนา การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการ การกีฬา
มเปน็ เลิศให้แก่นักกีฬา ตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยการจ้าง แหง่ ประเทศไทย
ฒนาจนสามารถชนะ ที่ปรึกษาในแต่ละปีงบปร ะมาณ
รือประสบความสำเร็จ ในการสำรวจประเมินศูนย์ฝึกกีฬา
ณฑ์มาตรฐานสากล ทผี่ ่านเกณฑ์มาตรฐานสากล
ะเทศไทย ทั้งนี้ แนวคิด
าตามมาตรฐานสากล
ละบุคลากรที่มีอยู่เดิม
ย์ฝึกและสนามกีฬา
แห่งประเทศไทย ดูแล
ter: NTC) เป็นสถานท่ี การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการ การกีฬา
สากล แก่นักกีฬาและ ตามตวั ชว้ี ัด จดั เกบ็ ขอ้ มลู แหง่ ประเทศไทย
นามฝึกซ้อม อุปกรณ์
นื้อ ห้องสันทนาการ
ของนักกีฬา
๑๗
ประเดน็ การพฒั นาที่ ๓ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการกีฬาเพ่ือความเปน็ เลศิ และกฬี
ตวั ชีว้ ัดระดบั ประเด็นการพัฒนา นยิ าม
๓.๘ มีองค์กรกีฬาเป็นเลิศและอาชีพ เกณฑ์การบริหารจัดการองค์กรตามมา
ที่ผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการองค์กร เพื่อยกระดับการบริหารจัดการองค์กรกีฬา
ตามมาตรฐานที่กำหนด ไม่น้อยกว่า โดยจะพจิ ารณา ๖ ประเด็น มรี ายละเอียดดงั
รอ้ ยละ ๘๐ - ดา้ นท่ี ๑ การบริหารจัดการ (นำ้ หนกั ความ
- ด้านท่ี ๒ การพฒั นาบุคลากรทางการกีฬา
(นำ้ หนักความสำคญั รอ้ ยละ ๑๕)
- ดา้ นที่ ๓ การพัฒนานักกฬี า (นำ้ หนกั ความ
- ดา้ นที่ ๔ การจดั การแข่งขัน/กิจกรรมกีฬา
(น้ำหนกั ความสำคญั ร้อยละ ๑๐)
- ด้านที่ ๕ ผลสำเร็จจากการแข่งขนั
(นำ้ หนกั ความสำคญั ร้อยละ ๑๕)
- ดา้ นท่ี ๖ การมีสว่ นร่วมและระบบสวสั ดกิ า
(นำ้ หนกั ความสำคญั ร้อยละ ๕)
๓.๙ มีหลักสูตรเฉพาะทางสำหรับ หลักสูตรเฉพาะทางในแต่ละชนิดกีฬา โดยเป
ผ ู ้ ท ี ่ ต ้ อ ง ก า ร ห ร ื อ ม ี ศ ั ก ย ภ า พ ที่ สำหรับผู้ที่ต้องการหรือมีศักยภาพที่จะพัฒ
จะพัฒนาเป็นนักกีฬาในการศึกษาทุก การศึกษาทุกระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึก
ระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึง โดยการกีฬาแห่งประเทศไทยบูรณาการจัด
อดุ มศึกษา ภายในปี ๒๕๖๖ สมาคมกฬี าและกระทรวงศึกษาธิการ
ก-
(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬาเพือ่ การอาชีพ (ต่อ) หนว่ ยงานหลกั
วธิ ีการและความถี่ในการจัดเก็บข้อมลู การกีฬา
าตรฐานที่กำหนด การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการ แหง่ ประเทศไทย
าเป็นเลิศและอาชีพ ตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยการจ้าง
งน้ี ท ี ่ ป ร ึ ก ษ า ใ น แ ต ่ ล ะ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ
มสำคญั รอ้ ยละ ๔๐) ในการสำรวจประเมินองค์กรกีฬาเป็นเลิศ
และอาชพี ในดา้ นการบรหิ ารจดั การองคก์ ร
มสำคัญ ร้อยละ ๑๕)
าร
ป็นหลกั สูตรการสอน การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการ การกีฬา
ฒนาเป็นนักกีฬาใน ตามตวั ช้ีวัด จดั เกบ็ ข้อมลู แห่งประเทศไทย
ษาจนถึงอุดมศึกษา
ดทำหลักสูตรร่วมกับ
๑๘
ประเด็นการพัฒนาที่ ๔ : การสง่ เสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกฬี า
ตัวชีว้ ัดระดับประเดน็ การ นิยาม
พัฒนา
๔ . ๑ ค ร ู ผ ู ้ ส อ น พ ล ศ ึ ก ษ า การพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนพลศึกษา เพื่อให้มีควา
ในโรงเรียนทั่วประเทศได้รับ พืน้ ฐานการออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาพน้ื ฐาน แ
การพัฒนาศักยภาพในการจัด ทักษะด้านพลศึกษาหรือการกีฬา รวมถึงความสามา
กิจกรรมการออกกำลังกาย และ ในการใช้ทักษะคว ามรู้ ใหม่ ๆ เป็นเครื่ อ งม
การเล่นกีฬา ผ่านการทดสอบ ในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างบทเรียนใหม่ และต่อยอ
ตามเกณฑ์ท่กี ำหนด ไมน่ ้อยกว่า เป็นนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการศึกษาได้ เพื่อ
รอ้ ยละ ๘๐ ภายในปี ๒๕๗๐ การสอนพลศกึ ษาในโรงเรียนบรรลตุ ามจุดมงุ่ หมาย
๔.๒ มีอาสาสมัครการกีฬา การพัฒนาอาสาสมัครทางการกีฬา เพื่อให้เป็นผู้ท
ที ่ ได ้ ร ั บ ก า ร พั ฒ น า ค ร บ องค์ความรู้ด้านการพลศึกษา กีฬา นันทนาการแ
ทุกหมู่บ้าน ภายในปี ๒๕๖๗ จิตอาสา ตามหลักสูตรที่กรมพลศึกษากำหนด ให้เป
และได้ปฏิบัติหน้าที่ผู้นำในการ ผู้นำเล่นกีฬา ออกกำลังกายในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมช
อ อ ก ก ำ ล ั ง ก า ย ต า ม เ ก ณ ฑ์ และไดไ้ ปปฏิบัตหิ น้าท่ีผู้นำการออกกำลังกายจรงิ
ที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ
๘๐ ภายในปี ๒๕๗๐
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
วิธกี ารและความถ่ใี นการจดั เกบ็ ข้อมูล หน่วยงานหลัก
กรมพลศึกษา
ามรู้ กรมพลศึกษา เป็นผู้จัดเก็บข้อมูลเป็นรายปี โดยวิธีการ
และ แจงนับจำนวนครูผู้สอนวิชาพลศึกษาในโรงเรียนสังกัด
ารถ กระทรวงศึกษาธิการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
มื อ ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมทาง
อด พลศึกษา การออกกำลังกาย และการเลน่ กีฬาพ้ืนฐาน
ให้
ที่มี กรมพลศึกษาเป็นผู้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลเป็นรายปี กรมพลศึกษา
ละ โดยวิธีการแจงนับจำนวนอาสาสมัครกีฬาที่ได้รับ
ป็น การพัฒนา และได้ไปปฏิบัติหน้าที่ผู้นำการออกกำลังกาย
ชน แก่ชุมชนอย่างแท้จริง
๑๙
ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๔ : การส่งเสรมิ และพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการกีฬา (ต่อ)
ตวั ชวี้ ัดระดบั ประเด็นการพฒั นา นยิ าม
๔.๓ จำนวนหลักสูตรมาตรฐาน หลักสูตรทางพลศึกษาและกีฬา เพื่อพัฒนาครูผู้สอ
เพื่อพัฒนาครูผู้สอนพลศึกษา พลศึกษา เช่น หลักสูตรการจัดประสบการณ์เด
ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ หลักสูตรตอ่ ปี ปฐมวัยแบบเรียนปนเล่น การพัฒนาสมรรถนะค
สร้างนวัตกรรมจัดการเรียนรู้ด้วยทักษะกระบวนก
คิด GPAS ในเรื่องธรรมชาติของการเติบโตแ
พฒั นาการของมนษุ ย์
๔.๔ จำนวนหลักสูตรมาตรฐาน หลกั สตู รทางพลศึกษาและกีฬา เพ่อื พฒั นาอาสาสม
เพื่อพัฒนาอาสาสมัครการกีฬา ทางการกีฬา เช่น หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพผ
ไม่น้อยกว่า ๒ หลักสตู รตอ่ ปี การออกกำลังกายผู้สูงอายุ หลักสูตรการส่งเสริม
ชีวิตตามแนวคิดวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อการพัฒ
สขุ ภาวะท่ีย่ังยนื
๔.๕ จำนวนหลักสูตรการอบรม หลักสูตรเพื่อการพัฒนาบุคลากรทางการกีฬา โด
เพื่อการพัฒนาบุคลากรการกีฬา บุคลากรทางการกีฬา ครอบคลมุ ถงึ ผู้ฝกึ สอน ผู้ตัดส
ที่ได้มาตรฐานในระดับสากล ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬาห
ไมน่ ้อยกวา่ ๑๐ หลักสตู รต่อปี บคุ ลากรอนื่ ๆ ท่ีปฏิบัติงานทเี่ ก่ียวข้องกบั การกฬี า
ก-
(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
วธิ กี ารและความถี่ในการจัดเกบ็ ข้อมูล หนว่ ยงานหลกั
อน มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติประสานขอข้อมูลกับ มหาวิทยาลัย
ด็ก กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานในสังกัดของ การกีฬาแห่งชาติ
ครู กระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ที่เป็น
การ ผู้พัฒนาหลักสูตรและผู้จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับ
ละ จำนวนหลักสูตรมาตรฐานเพื่อพัฒนาครผู ูส้ อนพลศึกษา
มัคร กรมพลศึกษาเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล กรมพลศึกษา
ผู้นำ โดยวิธีการแจงนับจำนวนหลักสูตรมาตรฐาน เพื่อพัฒนา
มวิถี อาสาสมคั รทางการกีฬา
ฒนา
ดย การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด การกีฬา
สิน จดั เก็บข้อมลู โดยวิธีการแจงนับจำนวนหลักสูตรการอบรม แหง่ ประเทศไทย
หรือ เพื่อการพัฒนาบุคลากรทางการกีฬาที่ได้มาตรฐานสากล
ของการกีฬาแห่งประเทศไทย และสมาคมกีฬา
แหง่ ประเทศไทย
๒๐
ประเด็นการพฒั นาท่ี ๔ : การส่งเสรมิ และพัฒนาบคุ ลากรด้านการกีฬา (ตอ่ )
ตัวชว้ี ัดระดับประเดน็ การพฒั นา นิยาม
๔ . ๖ จ ำ น ว น บ ุ ค ล า ก ร ด ้ า น หลกั สูตรการอบรมดา้ นการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศแ
การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ กีฬาเพื่อการอาชีพ สำหรับการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬ
กีฬาเพื่อการอาชีพ (ผู้ฝึกสอน ผูต้ ดั สนิ กีฬา ผบู้ ริหารการกีฬา
กีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหาร
การกีฬา) ผ่านการอบรม เพิ่มขึ้น
ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕ ต่อปี
๔.๗ จำนวนบุคลากรกีฬา หลักสูตรการอบรมเฉพาะด้าน สำหรับการพัฒน
ประเภทอื่น ๆ เพื่อรองรับ บคุ ลากรกีฬาประเภทอื่น ๆ ท่ีปฏิบตั งิ านทเี่ ก่ยี วข้องก
อุตสาหกรรมกีฬา ๕ ประเภท การกีฬา เพื่อรองรับอุตสาหกรรมกีฬา ๕ ประเภ
ธุรกิจ ผ่านการอบรม เพิ่มขึ้น ธรุ กิจ ประกอบด้วย
ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี - ธุรกจิ วทิ ยาศาสตร์การกีฬา
- ธุรกจิ กีฬาอาชีพ
- ธรุ กจิ บริการกฬี า
- ธรุ กิจการแขง่ ขันกฬี า
- ธุรกจิ ผลติ ภณั ฑ์กฬี า/อาหารและยา
ก-
(รา่ ง) แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
วธิ กี ารและความถใ่ี นการจดั เก็บข้อมลู หน่วยงานหลกั
และ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด การกีฬา
ฬา จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจำนวนบุคลากรด้าน
แหง่ ประเทศไทย
การกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกฬี าเพื่อการอาชพี ที่เขา้ รบั
การอบรม
นา สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาประสาน สำนกั งานปลัด
กับ ขอข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง
ภท กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น ที่เป็นผู้พัฒนาหลักสูตร
การทอ่ งเท่ียวและ
และผู้จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจำนวนหลักสูตร กีฬา
การอบรม เพื่อการพัฒนาบุคลากรกีฬาประเภทอื่น ๆ
เพ่ือรองรบั อตุ สาหกรรมกฬี า
๒๑
ประเด็นการพัฒนาท่ี ๔ : การสง่ เสริมและพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการกฬี า (ต่อ)
ตัวชวี้ ดั ระดับประเด็นการพฒั นา นยิ าม
๔.๘ มคี วามรว่ มมือ เพือ่ สนับสนุน มีการทำ MOU กับหน่วยงานความร่วมมือท
การพัฒนาบุคลากรการกีฬา การกีฬา เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านกีฬาระหว
อย่างน้อย ๔ องค์กรต่อปี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสมาคมกีฬา สหพันธ์กีฬ
รวมถึงการฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญที่ประส
ความสำเร็จจากในประเทศและต่างประเท
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬ
และผบู้ ริหารการกฬี า
๔.๙ มีจำนวนผลงานด้านวิจัย ผลงานด้านวิจัยและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสต
หรือนวัตกรรมด้านการพัฒนา การกีฬา เช่น การศึกษาเปรียบเทียบความสามา
การกีฬาที่นำไปใช้ประโยชน์ ในการสร้างแรงสำหรับกีฬาที่ต้องใช้แรงระเบ
ในการพัฒนาการกีฬา อย่างน้อย การศึกษาน้ำหนักหมัดในการทำคะแนนของมวยสา
๖ ผลงานตอ่ ปี สมคั รเล่นทถี่ ูกนำไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาการก
ด้านเทคนคิ กฬี าหรือวทิ ยาศาสตร์การกฬี าของประเท
ก-
(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
วธิ ีการและความถ่ใี นการจดั เกบ็ ข้อมลู หนว่ ยงานหลกั
ทาง การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตามตัวชี้วัด การกีฬา
ว่าง จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจำนวนเครือข่าย
ฬา ความร่วมมือ เพื่อแลกเปลี่ยน องค์ความรู้ด้านกีฬา แห่งประเทศไทย
สบ ระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องกับสมาคมกฬี า สหพันธ์กีฬา
ทศ รวมถึงการฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญที่ประสบความสำเร็จ สำนกั งานปลัด
ฬา จากในประเทศและต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการพัฒนา กระทรวง
ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา และผู้บริหารการกีฬา การทอ่ งเที่ยวและ
จากสมาคมกีฬา สหพนั ธ์กีฬา กฬี า
ตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาประสาน
ารถ ขอข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น มหาวิทยาลัย
บิด การกีฬาแห่งชาติ สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นต้น
ากล ทเี่ ปน็ ผูจ้ ัดเก็บขอ้ มลู โดยวิธีการแจงนบั จำนวนผลงานด้าน
กีฬา วิจัยและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาที่นำไปใช้
ทศ ประโยชนใ์ นการพฒั นาการกฬี า
๒๒
ประเด็นการพฒั นาท่ี ๔ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาบคุ ลากรด้านการกฬี า (ต่อ)
ตัวชว้ี ัดระดับประเดน็ การพัฒนา นิยาม
๔.๑๐ มีนักวิทยาศาสตร์การกีฬา มีบุคลากรด้านนักวิทยาศาสตร์การกีฬาทำงา
ประจำอยู่ในแต่ละสมาคมกีฬา ในแตล่ ะสมาคมกฬี าแห่งประเทศไทย
แห่งประเทศไทย ไม่น้อยกว่า ๓
คน ในปี ๒๕๗๐
๔.๑๑ ผู้ฝึกสอนได้รับการพัฒนา ผู้ฝึกสอนของสมาคมกีแห่งประเทศไทยที่ได้รับก
ในระดับสูงสุดของสหพันธ์กีฬา ในระดบั สูงสุดของสหพันธ์กฬี า
เพม่ิ ขน้ึ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕
ก-
(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
วธิ กี ารและความถ่ีในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู หน่วยงานหลกั
านประจำ การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตาม การกีฬา
ตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยวิธีการแจงนับจำนวน แห่งประเทศไทย
น ั ก ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ก า ร ก ี ฬ า ท่ี ท ำ ง า น ป ร ะ จ ำ อ ยู่
ในแตล่ ะสมาคมกีฬาแหง่ ประเทศไทย การกีฬา
การพัฒนา การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตาม แห่งประเทศไทย
ตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูลจากสมาคมกีฬาแห่งประเทศ
ไทย โดยวิธีการแจงนับจำนวนผู้ฝึกสอนท่ีได้รับ
การพฒั นาในระดบั สงู สุดของสหพันธ์กฬี า
๒๓
ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๕ : การส่งเสริมและสนบั สนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬ
ตัวชี้วัด นยิ าม
ระดบั ประเดน็ การพฒั นา
๕.๑ จำนวนและมูลค่า อตุ สาหกรรมการกฬี าที่มีการดำเนนิ ธุรกิจกีฬา โดยกรมพฒั นาธรุ กจิ
รายได้ของผู้ประกอบการ ของธุรกิจกีฬา ว่าครอบคลุมการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกร
ที่เกี่ยวข้องกับธ ุ รกิจ Standard Industrial Classification: TSIC) ดงั ตอ่ ไปน้ี
การกีฬา มีอัตราเพิ่มข้ึน ๑. การผลติ ชุดและอุปกรณ์กฬี ากิจกรรมนนั ทนาการและการแข
อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ ๕ ต่อปี - TSIC ๑๔๑๑๕ การผลติ ชดุ กีฬา
- TSIC ๑๕๒๐๔ การผลิตรองเท้ากฬี า
- TSIC ๓๒๓๐๑ การผลิตลกู บอลท่ีใชใ้ นการกฬี า
- TSIC ๓๒๓๐๙ การผลติ อุปกรณ์กีฬาอื่น ๆ ซ่งึ มไิ ด้จัดประ
๒. การขายสง่ และส่งออกสนิ ค้าเกีย่ วกบั กฬี า
- TSIC ๔๖๔๓๓ การขายสง่ เครือ่ งกีฬา
๓. การผลติ และจำหนา่ ยเคร่อื งดมื่ กีฬา
- TSIC ๑๑๐๔๔ การผลติ เครอ่ื งด่ืมให้พลงั งานรวมถงึ เคร่อื
- TSIC ๑๑๐๔๙ การผลติ เครื่องดมื่ ท่ไี มม่ แี อลกอฮอลอ์ ่ืน
๔. การขายปลกี สินคา้ เกย่ี วกับกีฬา
- TSIC ๔๗๖๓๐ การขายปลกี เครื่องกีฬาในรา้ นค้าเฉพาะ
๕. การดำเนินการใหค้ วามรทู้ างการกฬี า
- TSIC ๘๕๔๑๐ การศึกษาด้านกฬี าและนนั ทนาการ
๖. การดำเนนิ การใหเ้ ชา่ สถานท่ีและอุปกรณก์ ฬี า
-TSIC ๗๗๒๑๐ การให้เช่าและใหเ้ ช่าแบบลสี ซงิ่ สินคา้ เพื่อ
-TSIC ๙๓๑๑๑ การดำเนินงานเก่ียวกับสง่ิ อำนวยความส
-TSIC ๙๓๑๑๒ การดำเนนิ งานของสถานท่อี อกกำลังกาย
๗. การดำเนนิ การซอ่ มบำรุงเกี่ยวกบั การกฬี า
- TSIC ๙๕๒๙๕ การซอ่ มเครื่องกฬี า
๘. กจิ กรรมอ่นื ๆ ทางด้านกีฬา
-TSIC ๙๓๑๙๐ กจิ กรรมอืน่ ๆ ทางด้านการกฬี า
-TSIC ๙๓๑๙๑ กจิ กรรมการจดั การแขง่ ขนั กฬี า
-TSIC ๙๓๑๙๒ กจิ กรรมของสมาคม/สมาพันธ์กฬี า
-TSIC ๙๓๑๙๙ กจิ กรรมอ่ืน ๆ ทางดา้ นการกีฬาซึง่ มไิ ด้จ
ก-
(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬา วธิ ีการและความถี่ หน่วยงานหลัก
ในการจัดเกบ็ ขอ้ มูล
จการคา้ มกี ารให้คำจำกดั ความ สำนักงานปลัดกระทรวงการ สำนักงานปลดั
รรม (ประเทศไทย) (Thailand ท่องเที่ยวและกีฬาจัดทำข้อมูลเป็น กระทรวง
ข่งขันกีฬา รายปี โดยรวบรวมข้อมูลจาก
ะเภทไวใ้ นทีอ่ ืน่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ที่มี การทอ่ งเที่ยวและ
องดืม่ เกลอื แร่ การจัดเก็บข้อมูลจำนวนและมูลค่า กฬี า
ๆ ซ่งึ มไิ ดจ้ ัดประเภทไวใ้ นท่ีอื่น รายได้ของผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง
กับธุรกิจการกีฬา ที่ขึ้นทะเบียน
อการนันทนาการและการกฬี า นิติบุคคล แบ่งประเภทธุรกิจโดยใช้
สะดวกสำหรบั การแขง่ ขัน กฬี า รหัสมาตรฐานอุตสาหกรรม
ย ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย (TSIC) ค ื อ แ บ่ ง
ประเภทของมาตรฐานอุตสาหกรรม
ด้วยการจัดประเภทอุตสาหกรรม
ที่คล้ายกันเข้าอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
แบ่งเป็นหมวดใหญ่ หมวดย่อย
หมู่ใหญ่ และหมู่ย่อย
จดั ประเภทไวใ้ นทอ่ี น่ื
๒๔
ประเด็นการพฒั นาท่ี ๕ : การส่งเสริมและสนับสนนุ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี
ตวั ช้วี ดั ระดับประเดน็ การพฒั นา นิยาม
๕.๒ มูลค่าการส่งออกทาง การส่งออกทางการกีฬา โดยครอบคลุมพิกัดอัตรา
ก า ร ก ี ฬ า โ ด ย ร ว ม ม ี อ ั ต ร า ดงั ต่อไปนี้
ก า ร เ ต ิ บ โ ต อ ย ่ า ง ต ่ อ เ น ื ่ อ ง เครือ่ งแต่งกายและของทีใ่ ชป้ ระกอบกับเครอ่ื งแต่งกาย
ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี HS CODE ๖๒๑๑๓๒๑๐ เส้อื ผา้ สำหรับกีฬาฟันดาบหรือก
HS CODE ๖๒๑๑๑๑๐๐ ชดุ วา่ ยนำ้ ของบรุ ษุ หรอื เดก็ ชาย
HS CODE ๖๒๑๑๑๒๐๐ ชดุ วา่ ยนำ้ ของสตรหี รอื เดก็ หญงิ
HS CODE ๖๒๑๑๒๐๐๐ ชดุ สกี
HS CODE ๖๒๑๑๓๒๑๐ เสื้อผ้าสำหรับกีฬาฟันดาบหร
ผา้ ฝ้าย ของบุรษุ หรือเด็กชาย
HS CODE ๖๒๑๑๓๓๑๐ เสื้อผ้าสำหรับกีฬาฟันดาบหร
เสน้ ใยประดษิ ฐ์ ของบุรุษหรือเด็กชาย
HS CODE ๖๒๑๑๓๙๑๐ เสื้อผ้าสำหรับกีฬาฟันดาบหร
วัตถทุ ออืน่ ๆ ของบุรษุ หรอื เด็กชาย
HS CODE ๖๒๑๑๔๒๑๐ เสื้อผ้าสำหรับกีฬาฟันดาบหร
ผ้าฝ้าย ของสตรหี รอื เดก็ หญิง
HS CODE ๖๒๑๑๔๓๔๐ เสื้อผ้าสำหรับกีฬาฟันดาบหร
เสน้ ใยประดษิ ฐข์ องสตรีหรอื เดก็ หญงิ
HS CODE ๖๒๑๑๔๙๑๐ เสื้อผ้าสำหรับกีฬาฟันดาบหร
วัตถุทออน่ื ๆ ของสตรหี รอื เด็กหญงิ
HS CODE ๖๒๑๒๙๐๑๒ อปุ กรณช์ ว่ ยพยงุ สำหรับใสเ่ ล่นกฬี
HS CODE ๖๒๑๒๙๐๙๒ อปุ กรณช์ ว่ ยพยงุ สำหรบั ใสเ่ ลน่ กฬี
ก-
(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬา (ตอ่ ) วิธกี ารและความถใ่ี นการจัดเกบ็ ขอ้ มลู หน่วยงานหลัก
าศุลกากร (HS CODE) สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว สำนกั งานปลัด
และกีฬาประสานขอข้อมูลจาก
กีฬามวยปลำ้ กรมศุลกากร ที่เป็นผู้จัดเก็บข้อมูล กระทรวง
ง การนำเข้า-ส่งออก โดยใช้ HS CODE การทอ่ งเทยี่ วและ
รือกีฬามวยปล้ำ ทำด้วย (Harmonized System) ห ร ื อ พ ิ กั ด
รือกีฬามวยปล้ำ ทำด้วย ศุลกากร เป็นระบบการจำแนกประเภท กฬี า
และระบุชนิดสินค้าด้วยรหัสตัวเลข
เผยแพร่ขอ้ มลู เป็นรายเดอื น
รือกีฬามวยปล้ำ ทำด้วย
รือกีฬามวยปล้ำ ทำด้วย
รือกีฬามวยปล้ำ ทำด้วย
รือกีฬามวยปล้ำ ทำด้วย
ฬา ทำด้วยฝ้าย
ฬา ทำดว้ ยวตั ถทุ ออน่ื ๆ
๒๕
ประเดน็ การพฒั นาที่ ๕ : การส่งเสรมิ และสนับสนนุ การพฒั นาอุตสาหกรรมการกฬี
ตัวชว้ี ัดระดับประเดน็ การพฒั นา นยิ าม
รองเทา้ กีฬา
HS CODE ๖๔๐๒๑๒ รองเท้าอนื่ ๆ ท่มี พี นื้ รองเทา้ ด้านนอก
ทำด้วยยางหรือพลาสติก --รองเท้าสกี รองเท้าสำหรับสก
รองเท้าสำหรบั สโนว์บอรด์
HS CODE ๖๔๐๒๑๙ รองเทา้ อ่ืน ๆ ทม่ี ีพ้นื รองเท้าดา้ นนอก
ทำด้วยยางหรือพลาสติก –รองเท้ากีฬาอื่น ๆ (นอกจากรอ
สกีแบบครอสคันทรี และรองเท้าสำหรับสโนว์บอร์ด) ที่มีพ
ส่วนบนของรองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก
HS CODE ๖๔๐๓๑๒ รองเท้าที่มีพื้นรองเท้าด้านนอก
หนังฟอก หรือหนังอัด และส่วนบนของรองเท้าทำด้วย
รองเทา้ สำหรับสกแี บบครอสคันทรยี ์ และรองเทา้ สำหรับสโ
๕ . ๓ ม ู ล ค ่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มูลค่ารายได้ที่เกิดจากการใช้จ่ายต่าง ๆ ในโซ่อ
ใน กา ร จ ั ด กา ร แข่ งขัน กีฬา การจัดการแข่งขันกีฬาในประเทศ เงินหมุนเวียนใน
ในประเทศ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า การใช้จ่ายเงินหมุนเวียนในระบบจากการท่องเที่ย
รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี ในระบบเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อ
การแขง่ ขันกฬี าในประเทศ
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬา (ตอ่ )
วธิ ีการและความถใี่ นการจัดเก็บขอ้ มูล หน่วยงานหลัก
กและส่วนบนของรองเท้า
กีแบบครอสคันทรีย์ และ
กและส่วนบนของรองเทา้
องเท้าสกี รองเท้าสำหรับ
พื้นรองเท้าด้านนอกและ
กทำด้วยยาง พลาสติก สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว สำนักงานปลัด
หนังฟอก --รองเท้าสกี และกีฬา ดำเนินการจัดเก็บขอ้ มูลตวั ช้วี ัด กระทรวง
โนว์บอรด์ โดยจัดจ้างที่ปรึกษาในการสำรวจเป็น
รายปี โดยการสำรวจรายได้ที่เกิดจาก การทอ่ งเทยี่ วและ
อุปทานที่เกิดขึ้นจาก เงินหมุนเวียนจากค่าใช้จ่ายต่าง ๆ กฬี า
นระบบเศรษฐกิจจาก ที่เกิดขึ้นจากการจัดการแข่งขันกีฬา
ยวและเงินหมุนเวียน ภายในประเทศ ทั้งที่อยู่ภายใต้ กกท.
องกับการจัดกิจกรรม และหนว่ ยงานท้องถนิ่
๒๖
ประเด็นการพฒั นาท่ี ๕ : การสง่ เสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกฬี
ตัวชี้วดั ระดับประเด็นการพัฒนา นิยาม
๕ . ๔ จ ำ น ว น กิ จ กร ร มกี ฬ า กิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว หมายถึง การเดินทาง
เชิงท่องเที่ยว ทั้งของภาครัฐและ จากถิ่นที่อยู่หรือถิ่นที่ประกอบอาชีพอยูโดยปกต
ภาคเอกชนทุกจังหวัด เพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ใด ๆ ไปยังอีกสถานที่หนึ่งเป็นระยะเ
ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๑๐ ต่อปี ไม่เกนิ ๑ ปี โดยมกี ารเข้ารว่ มกิจกรรมกีฬาเป็นสวน
ของกิจกรรมในการท่องเที่ยว โดยวัตถุประสงค์ห
ในการเดินทางอาจจะเป็นการเข้าร่วมในกิจกรรม
นั้นหรือไม่ก็ได้ ทั้งน้ี ประเภทของกิจกรรมก
เชิงทอ่ งเทย่ี วมี ๓ ประเภท คอื
(๑) การเล่นกีฬาเชิงท่องเที่ยว เช่น การเข้า
กจิ กรรมที่มีการเล่นกีฬา หรือเข้ารว่ มแข่งขนั
(๒) การทอ่ งเทีย่ วในงานหรอื มหกรรมกฬี า
(๓) การกีฬาเชิงท่องเที่ยวเพื่อความทรงจำ
การเดนิ ทางไปเทย่ี วสถานกฬี าท่ีมชี ่ือเสยี ง
๕.๕ มีกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว มีการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเที่ยว โดยนำอัตลัก
ที่เป็นอัตลักษณ์ประจำจังหวัด ของจังหวัดที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัวที่สามารถบ่ง
ทั่วประเทศ (ทุกจังหวัดภายในปี ความเป็นตัวตนของจังหวัดมาผสมผสานกับกา
๒๕๗๐) กจิ กรรมกฬี า
ก-
(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬา (ตอ่ ) หน่วยงานหลัก
วิธกี ารและความถใี่ นการจดั เกบ็ ข้อมูล สำนักงานปลัด
งออก สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจัดทำ กระทรวง
ติเพ่ือ ระบบข้อมูลสารสนเทศจัดเก็บ โดยให้สำนักงาน การท่องเทีย่ วและ
เวลา การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดรวบรวมข้อมูลกิจกรรม
นหนึ่ง กีฬาเชิงท่องเที่ยวภายในจังหวัดและจัดเก็บข้อมูล กีฬา
หลัก ในระบบ
มกีฬา
กีฬา
ร่วม
เช่น
กษณ์ สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจัดทำ สำนักงานปลดั
งบอก ระบบข้อมูลสารสนเทศจัดเก็บ โดยให้สำนักงาน กระทรวง
ารจัด การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดรวบรวมข้อมูลกิจกรรม
การท่องเทย่ี วและ
กีฬาเชิงท่องเที่ยวที่เป็นอัตลักษณ์ประจำจังหวัดและ กีฬา
จดั เก็บข้อมูลในระบบ
๒๗
ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๕ : การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกฬี
ตวั ช้ีวดั ระดับกลยุทธ์ นิยาม
๕.๖ มีมาตรการด้านการเงินและ/ มาตรการด้านการเงินและ/หรือภาษี ที่สถาบันกา
ห ร ื อ ภ า ษ ี เ พ ื ่ อ ส น ั บ ส นุ น หนว่ ยงานภาครัฐหรือเอกชนที่เกย่ี วข้องให้การสนั
ผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา
กบั การกฬี า มาตรการสนิ เชือ่ ดอกเบ้ยี ต่ำ (Soft loan)
๕.๗ การลงทุนจากภาครัฐและ/ มูลค่าการลงทุนจากภาครัฐและ/หรือภาคเอ
หรือภาคเอกชนในการค้นคว้าและ ในการค้นควา้ และวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การสร้างนวัต
วิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง การกีฬา โดยการสร้างนวัตกรรมการกีฬา ครอบ
นวัตกรรมการกีฬา มีอัตราการ เครือ่ งมอื หรืออุปกรณซ์ ่ึงช่วยเพิ่มขีดความสามารถ
เติบโตไม่น้อยกว่าอัตราการ นกั กีฬา โดยแบง่ เป็น ๒ ประเภทหลกั ๆ ดงั น้ี
เจริญเติบโตของมูลค่าการลงทุน - เคร่อื งมอื หรืออปุ กรณ์สว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ เสื้อผ้า ร
ด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) - เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้เพื่อการแข่งขัน ตล
ในภาพรวมของประเทศในแต่ละปี อปุ กรณส์ นาม ได้แก่ พน้ื ลวู่ ่งิ สระว่ายน้ำ
๕.๘ การยื่นจดอนุสิทธิบัตร จำนวนอนสุ ทิ ธิบตั ร สทิ ธบิ ตั ร หรอื ลิขสิทธิ์ดา้ นนวัต
สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ นวัตกรรม ทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ ที่ได้รับการจดอนุสิท
ทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ เพิ่มข้ึน สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ จากกรมทรัพย์สินทางป
ไมน่ ้อยกว่า ๒ ช้ินงานตอ่ ปี กระทรวงพาณิชย์
ก-
(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬา (ตอ่ ) หน่วยงานหลกั
วิธกี ารและความถใ่ี นการจดั เก็บข้อมูล สำนักงานปลัด
ารเงิน/ สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาจัดเก็บ กระทรวง
บสนุน ข้อมูลมาตรการด้านการเงินและ/หรือภาษี ที่สนับสนุน การท่องเทีย่ วและ
า เช่น ผู้ประกอบการธุรกจิ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การกีฬา
กีฬา
อกชน สำนกั งานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาประสาน สำนกั งานปลัด
ตกรรม ขอข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการนโยบาย
บคลุม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวง
ถให้กับ (สวทน.) การทอ่ งเทย่ี วและ
กีฬา
รองเทา้
ลอดจน
ตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาประสาน สำนักงานปลัด
ทธิบัตร ขอข้อมูลจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง กระทรวง
ปัญญา พาณชิ ย์ ทีเ่ ป็นผจู้ ดั เกบ็ ข้อมลู โดยวธิ กี ารแจงนับจำนวน
อนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ ด้านนวัตกรรม การทอ่ งเท่ยี วและ
ทางการกฬี าเชิงพาณชิ ย์ ทไ่ี ด้รบั การจดอนสุ ิทธิบัตรหรือ กีฬา
ลขิ สิทธิ์
๒๘
ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๕ : การส่งเสรมิ และสนับสนุนการพฒั นาอุตสาหกรรมการกีฬ
ตัวช้วี ดั ระดับกลยทุ ธ์ นิยาม
๕.๙ การพัฒนาเมืองกีฬาให้สำเร็จและ เมืองกฬี า หมายถึง จงั หวดั หรือพืน้ ที่ ทางการป
ย่งั ยนื อย่างน้อยปลี ะ ๑ แห่ง ที่มีความพร้อมในการพัฒนาและจัดกิจกรรมก
เพอ่ื ประโยชน์ สขุ ภาพ และคณุ ภาพชีวิตของป
การสร้างความเป็นเลิศ การพัฒนาองค์ควา
การกีฬา การฝึกซ้อม และการจัดการแข่ง
รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของป
ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาค
ภาคประชาสังคม โดยการพัฒนาเมืองกีฬาใ
และยั่งยืนจะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ กกท
กำลังปรับปรุงเกณฑ์ในการพิจารณาเมืองกีฬา
และยงั่ ยนื )
ก-
(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ฬา (ต่อ) หนว่ ยงานหลัก
วธิ ีการและความถ่ีในการจัดเก็บข้อมลู การกีฬา
ปกครอง การกีฬาแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดำเนินการตาม แหง่ ประเทศไทย
การกีฬา ตัวชี้วัด จัดเก็บข้อมูล โดยการจ้างที่ปรกึ ษาในแตล่ ะ
ประชาชน ปีงบประมาณในการสำรวจประเมินจังหวัด
ามรู้ทาง ที่เสนอตัวเป็นเมืองกีฬา พร้อมให้คำปรึกษา
ขันกีฬา ในการเป็นเมืองกฬี าที่สำเร็จและย่ังยืน
ประเทศ
ครัฐและ
ให้สำเร็จ
ท. (กกท.
าที่สำเร็จ
๒๙
ประเด็นการพฒั นาที่ ๕ : การสง่ เสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมกา
ตวั ชว้ี ัดระดบั กลยุทธ์ นยิ าม
๕.๑๐ มีการจัดทำข้อมูลผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการก
มวลรวมภายในประเทศด ้าน (GDSP) คือ มูลค่าตลาดของสินค้าและบร
การกฬี า (Gross Domestic Sport ขั้นสุดท้ายด้านการกีฬาที่ผลิตในประเทศในช่วงเ
Product: GDSP) และการประเมิน หนึ่งๆ โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะเป็นผลผ
ผลตอบแทนทางสังคม (Social ที่ได้จากทรัพยากรภายในหรือภายนอกประเทศ
Return On Investment: SROI) การประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ท่ีเกี่ยว
ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ภายในปี ๒๕๖๖ กับการกีฬา เป็นการประเมินที่ครอบคลุมมู
ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา ทั้งผลลัพธ์ท
ตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน โดยการวัดมูลค่าทางเศรษ
ของผลประโยชน์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการก
ด้วยการนำผลตอบแทนด้านสังคมในเรื่องต่า
ซึ่งเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพมาแปลงค่าเป็นตัว
(Monetized Value) โดยใช้การวัดตัวเงินแบบค
( Discounted Monetized Measurement) ข
มลู ค่าทางสงั คมท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การกีฬา
ก-
(รา่ ง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ารกฬี า (ต่อ) หนว่ ยงานหลัก
วิธีการและความถี่ในการจดั เก็บขอ้ มูล กองเศรษฐกจิ
การท่องเท่ยี วและ
กีฬา กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬาจัดทำผลิตภัณฑ์
ิการ มวลรวมภายในประเทศด้านการกีฬา (GDSP) และ กีฬา
เวลา ประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) เพื่อเป็น (สำนกั งานปลัด
ผลิต แหล่งข้อมูลอ้างอิงด้านมูลค่าทางเศรษฐกิจด้านการกีฬา
และ และมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลประโยชน์ทางสังคม กระทรวง
วข้อง ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการกีฬา การท่องเทยี่ วและ
ลค่า
ที่เป็น กฬี า)
ษฐกิจ
กีฬา
าง ๆ
วเงิน
ิดลด
ของ
๓๐
(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ภาคผนวก ข. : คำสงั่ แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการจัดทำและติดตามการดำเนนิ งาน
ตามแผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐)
คำสั่งคณะกรรมการนโยบายการกฬี าแหง่ ชาติ
ที่ ๑/๒๕๖๓
เร่ือง แตง่ ต้งั คณะอนกุ รรมการจดั ทำและติดตามการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗
(พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐)
-----------------------------------
ตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการ
นโยบายการกีฬาแห่งชาติ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติเสนอคณะรฐั มนตรี และในการประชุม
คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๓ เม่ือวันท่ี ๘ ตุลาคม ๒๕๖๓ มีมติเห็นชอบให้แต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการจัดทำและติดตามการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐)
และคร้ังท่ี ๒/๒๕๖๓ เม่ือวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ มีมติเห็นชอบองค์ประกอบและอำนาจหน้าท่ีของ
คณะอนกุ รรมการจัดทำและตดิ ตามการดำเนินงานตามแผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐)
ดังน้ัน เพ่ือให้การจัดทำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง
กบั ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และแผนความม่ันคงแห่งชาติ
ตลอดจน ติดตามการดำเนินการตามภารกิจที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติให้เป็นไปตาม
เจตนารมณ์ของกฎหมาย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๑ จึงแต่งต้ังคณะอนุกรรมการจัดทำและติดตามการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ
ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐) โดยมีองค์ประกอบและอำนาจหนา้ ท่ี ดังน้ี
องค์ประกอบ
๑. พลเอก ยุทธศกั ด์ิ ศศปิ ระภา ท่ีปรึกษา
๒. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา ประธานอนกุ รรมการ
๓. ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา รองประธานอนกุ รรมการ
๔. ปลดั กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา รองประธานอนุกรรมการ
ข - ๑ /๕. เลขานุการ...
(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
๕. เลขานกุ ารรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อนกุ รรมการ
๖. ผแู้ ทนคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อนกุ รรมการ
๗. ผ้แู ทนคณะกรรมการพาราลิมปกิ แห่งประเทศไทย อนุกรรมการ
๘. อธบิ ดีกรมพลศึกษา อนกุ รรมการ
๙. อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยการกีฬาแหง่ ชาติ อนกุ รรมการ
๑๐. ผู้วา่ การการกีฬาแหง่ ประเทศไทย อนกุ รรมการ
๑๑. ผแู้ ทนกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ อนุกรรมการ
๑๒. ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ อนุกรรมการ
๑๓. ผแู้ ทนกระทรวงมหาดไทย อนุกรรมการ
๑๔. ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข อนุกรรมการ
๑๕. ผแู้ ทนสำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ อนกุ รรมการ
๑๖. ผูแ้ ทนสำนักงบประมาณ อนกุ รรมการ
๑๗. นายพัฒนาชาติ กฤดบิ วร อนกุ รรมการ
๑๘. นายธนดร พทุ ธรกั ษ์ อนุกรรมการ
๑๙. นายบุญชยั หลอ่ พิพัฒน์ อนุกรรมการ
๒๐. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นชัย พงษน์ าค อนุกรรมการ
๒๑. รองปลดั กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า ท่ีไดร้ ับมอบหมาย อนกุ รรมการและเลขานุการ
๒๒. ผู้อำนวยการกองงานคณะกรรมการ อนุกรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
นโยบายการกฬี าแหง่ ชาติ สำนักงานปลดั กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา
๒๓. หัวหน้ากลมุ่ ขับเคลื่อนงานคณะกรรมการ อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
นโยบายการกฬี าแหง่ ชาติ กองงานคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ
สำนกั งานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
อำนาจหนา้ ท่ี
๑. พิจารณากำหนดแนวทาง และให้ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗
(พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐) ให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แผนความมั่นคงแห่งชาติ และแผนอ่ืนที่เก่ียวข้อง รวมทั้งสถานการณ์และแนวโน้มกีฬาที่สำคัญ ให้คณะกรรมการ
นโยบายการกีฬาแหง่ ชาติพิจารณาเหน็ ชอบแลว้ จดั ทำแผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
ตามท่คี ณะกรรมการนโยบายการกีฬาแหง่ ชาติเห็นชอบ
๒. ติดตามการดำเนินงานตามภารกิจท่ีกำหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และผลักดัน
ขบั เคล่ือน ใหข้ ้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติไปสู่การปฏิบัตอิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ในการจดั ทำ
แผนปฏิบัติการขององค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑
ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญตั ิ
ข - ๒ /๓. ดำเนินการอ่ืน...
(รา่ ง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
๓. ดำเนินการอ่ืนตามที่ประธานกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติหรือคณะกรรมการนโยบาย
การกีฬาแหง่ ชาติมอบหมาย
ทง้ั นี้ ตงั้ แต่บดั น้ีเปน็ ตน้ ไป
สั่ง ณ วันที่ ๑๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประวติ ร วงษส์ วุ รรณ)
รองนายกรัฐมนตรี
ประธานกรรมการนโยบายการกีฬาแหง่ ชาติ
ข-๓