The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) นำเสนอคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ_22092564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TORKORCHOR_MOTS_THA, 2021-09-17 06:11:19

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570)

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570) นำเสนอคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ_22092564

Keywords: (ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2565 - 2570)

(ร่าง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๒.๑.๑ การส่งเสริมการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ตามความปกติใหม่ (New Normal) เพ่ือ
สร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นการพัฒนาตนเองไปสู่กีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและกีฬา
เพื่อการอาชีพ โดยให้นักกีฬาท่ีมีผลงานและช่ือเสียงในการถ่ายทอดเรื่องราวและ
เส้นทางสู่ความสาเร็จ

๒.๑.๒ การจัดทาหลักสูตรเฉพาะทางสาหรับผู้ที่ต้องการหรือมีศักยภาพที่จะพัฒนา
เป็นนักกีฬาของแต่ละชนิดกีฬาในการศึกษาทุกระดับ ตังแต่ระดับประถมศึกษาจนถึง
อดุ มศึกษา

๒.๑.๓ การจัดตังองค์กรหรือหน่วยงานท่ีมีการทางานคล้ายกับสมาคมกีฬาระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (National Collegiate Athletic Association: NCAA) ของสหรัฐอเมริกา
ที่ได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ โดยมีการวางโครงสร้างการบริหาร
สมาคมฯ อย่างเป็นรูปธรรม มีระบบการบริหารจัดการท่ีดี ส่งเสริมให้มีการเรียน
การสอนร่วมกับการฝึกซ้อมกีฬาได้อย่างเป็นระบบเหมือนกันทุกมหาวิทยาลัย
ทั่วประเทศ จัดการแข่งขันกีฬาให้มีความปลอดภัย รวมทังส่งเสริมการทาประกันชีวิต
และประกันสุขภาพสาหรับนักกีฬา เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงในการสร้างนักกีฬาที่มีศักยภาพ
ให้กับประเทศอย่างต่อเน่ือง อีกทังส่งเสริมการลงทุนก่อสร้างสถานที่ฝึกซ้อมกีฬา
ภายในมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศให้มีมาตรฐานระดับสากล และมีอุปกรณ์อานวย
ความสะดวกท่ีทันสมัย จนกลายเป็นท่ีเก็บตัวฝึกซ้อมของนักกีฬาทีมชาติได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

๒.๑.๔ การจัดทาระบบการสร้างและพัฒนานักกีฬา รวมทังนักกีฬาคนพิการ อย่างต่อเนื่อง
โดยการสร้างมาตรฐาน และยกระดับระบบการฝึกสอนให้ทันสมัยและครอบคลุม
ด้วยกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมทังจัดทาระบบสรรหาคัดเลือก
นักกีฬาผู้มีพรสวรรค์ หรือเครือข่ายค้นหานักกีฬาผู้มีพรสวรรค์ (Sports Talent
Identification Network) เพื่อพัฒนาไปสู่กีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและกีฬาเพ่ือ
การอาชีพ โดยบูรณาการการดาเนนิ งานของสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬา
แหง่ จังหวดั และหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง

๒.๑.๕ การพัฒนานักกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศศักยภาพสูง ด้วยกระบวนการทางด้าน
วิทยาศาสตร์การกีฬาในสถานท่ีที่มีระบบบริหารจัดการในรูปแบบ National Training
Center (NTC) และจัดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการฝึกซ้อมนักกีฬา
อย่างใกลช้ ิด รวมทังการฝกึ ซอ้ มทางออนไลนต์ ามความปกติใหม่ (New Normal)

๒.๑.๖ การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬา รวมทังกีฬาคนพิการ
ในทุกระดับตามช่วงอายุอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมที่มุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการ
โดยคานงึ ถึงความสาคัญของส่ิงแวดล้อม เพ่อื สนับสนุนใหน้ ักกีฬาไดแ้ สดงศกั ยภาพและ
สร้างโอกาสในการพัฒนาสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพ่ือการอาชีพอย่างบริสุทธ์ิ

- ๗๖ -

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

ยุติธรรม (Fair play) โดยบูรณาการการดาเนินงานของสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย
สมาคมกีฬาแหง่ จงั หวัด และหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง
๒.๑.๗ การสนับสนุนการขยายฐานจานวนชนิดกีฬาในการสร้างและพัฒนานักกีฬา
และการจัดการแข่งขันกีฬาระดับชาติ เพื่อสนับสนุนให้นักกีฬาแต่ละชนิดกีฬาได้มี
โอกาสในการแสดงศักยภาพ
๒.๑.๘ การสนับสนุนการขยายจานวนชนิดกีฬาหรือประเภทกีฬาท่ีได้รับการประกาศ
เป็นกฬี าเพ่อื การอาชพี ในประเทศไทย โดยเทยี บกบั นานาประเทศ
๒.๑.๙ การจัดทาระบบการพิจารณาและส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาอย่างเสมอภาค
และบริสุทธ์ิยุติธรรม และเป็นไปตามเกณฑ์ของสหพันธ์กีฬานานาชาติ โดยกาหนด
แนวทางการบริหารจัดการสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
และสอดดคล้องตามเกณฑข์ องสหพันธ์กีฬานานาชาติ
๒.๑.๑๐ การส่งเสริมการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ โดยการพัฒนา
มาตรฐานการเตรียมตัวนักกีฬาและการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาในขันตอน
การเตรยี มตัว สาหรับการแขง่ ขนั กฬี าระดบั นานาชาติ
๒.๑.๑๑ การสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพการจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติและกีฬา
เพ่ือการอาชีพ โดยการพัฒนาโครงสร้างพืนฐานของประเทศ เพื่อแสดงความพร้อม
และศกั ยภาพในการรองรบั การเป็นเจา้ ภาพการจดั การแข่งขัน
๒.๑.๑๒ การจัดทาระบบพัฒนานักกีฬาเต็มเวลาระยะยาว (Full time athlete) รวมถงึ จัดทา
เส้นทางสายอาชีพของนักกีฬา (Athlete pathway) และเตรียมความพร้อม
ดา้ นทกั ษะอาชพี หลังเลิกเลน่ กีฬา
๒.๑.๑๓ การผลักดันการคุ้มครองสวัสดิภาพและสวัสดิการของนักกีฬา ตังแต่ก่อน ระหว่าง
และภายหลังการแข่งขัน เพื่อสร้างความม่ันคงในชีวิตให้แก่นักกีฬา รวมถึง
การสนับสนุนให้มีการริเร่ิมจัดทากองทุนสาหรบั อดีตนกั กีฬา

๒.๒ การสนับสนุนปัจจัยเอื้อเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและกีฬา
เพ่อื การอาชพี
๒.๒.๑ การสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน (เช่น ศูนย์ฝึกกีฬา ศูนย์วิทยาศาสตร์
การกีฬา และสิ่งอานวยความสะดวก) เพ่ือพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา รวมทังนักกีฬา
คนพิการ ไปส่กู ีฬาเพ่อื ความเป็นเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ
๑) จดั ทามาตรฐานศูนย์ฝึกกีฬาและค่มู ือเกณฑม์ าตรฐานศูนย์ฝกึ กีฬาในแต่ละชนดิ กีฬา
ทีม่ คี วามหวัง
๒) พัฒนาศูนยฝ์ กึ กีฬาท่มี ศี กั ยภาพทัว่ ประเทศให้ได้มาตรฐานสากล
๓) พฒั นาศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การกฬี าใหม้ มี าตรฐานระดับอาเซยี น

- ๗๗ -

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๔) จดั ตงั ศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติ (National Training Center: NTC) แหง่ แรก
๕) บูรณาการร่วมกันของการกีฬาแห่งประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ

หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในการบริหารจัดการ ซ่อมแซม ปรับปรุง และพัฒนา
ศูนย์บริการการกีฬาและสนามกีฬาประเภทต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพท่ีดีและ
ได้มาตรฐานสากล

๒.๒.๒ การจัดทาและยกระดับมาตรฐานกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพ่ือการอาชีพให้เข้าสู่
มาตรฐานสากล
๑) ผลักดันให้สถาบันการศึกษาด้านกีฬา (Sport Academy) ขึนทะเบียนกับสมาคม
กีฬาแห่งประเทศไทย เพื่อสร้างมาตรฐานของสถาบันการศึกษาด้านกีฬา (Sport
Academy) ให้มมี าตรฐานเดียวกนั
๒) จัดทามาตรฐานการจัดการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศทังในระดับชาติ ระดับ
นานาชาติ และกีฬาสมัครเล่นในระดับชาติและระดับนานาชาติให้เข้าสู่
มาตรฐานสากล (Major Sport Event Management)
๓) วางแผนการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพมหกรรมกีฬาในรายการ ขนาดใหญ่ เช่น
ยูธโอลิมปิกเกมส์ เอเชียนเกมส์ และ/หรือรายการแข่งขันชิงชนะเลิศในระดับโลก
ระดบั ทวีป และระดบั ภูมิภาค ใหม้ กี ารแขง่ ขันอยา่ งสมา่ เสมอและมีความยั่งยืน
๔) ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กรกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและกีฬา
เพือ่ การอาชพี ให้ผา่ นเกณฑ์การบรหิ ารจดั การองค์กรตามมาตรฐานท่ีกาหนด

๒.๒.๓ การพัฒนาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ในการสง่ เสรมิ และพฒั นาการกีฬาเพื่อความเป็นเลศิ และกีฬาเพือ่ การอาชีพ
๑) จัดทาระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือการวางแผนและ
การบรหิ ารจดั การในการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพ่ือ
การอาชีพ (ตามประเด็นการพัฒนาท่ี ๓) ทังนี ระบบฐานข้อมูลกลางตามประเด็น
การพฒั นาที่ ๓ ครอบคลมุ ข้อมลู ดังนี
(๑) ผลการแข่งขันในกีฬาระดับนานาชาติ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และ
ระดบั เยาวชน
(๒) จานวนนักกีฬาท่ีเข้าร่วมในกีฬาระดับนานาชาติ นักกีฬาระดับชาติ
ระดับประเทศ ระดับจังหวัด และระดบั เยาวชน
(๓) จานวนบุคลากรกฬี าระดับชาติ ระดับประเทศ และระดับจังหวดั
(๔) จานวนบคุ ลากรทีเ่ กย่ี วข้องกับการแข่งขันในระดับนานาชาติ
(๕) จานวนผชู้ มการแข่งขนั และผูส้ นบั สนนุ
(๖) สนามกีฬาประเภทตา่ ง ๆ ท่ีเปน็ มาตรฐาน

- ๗๘ -

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

(๗) สถานที่ฝกึ อบรมและพัฒนาศักยภาพนกั กีฬาประเภทตา่ ง ๆ
(๘) จานวนและรายการจัดการแข่งขันในระดับนานาชาติ
(๙) สัดส่วนนักกีฬากับสนามกีฬาประเภทตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นมาตรฐาน
(๑๐) สัดส่วนนักกีฬาและบุคลากรกีฬากับสถานท่ีฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ

นกั กีฬาประเภทต่าง ๆ
(๑๑) นโยบายและประเด็นการพฒั นาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
(๑๒) ฯลฯ
๒) จัดทาแพลตฟอร์มข้อมูลของนักกีฬา และบุคลากรทางการกีฬาทุกประเภท
เพ่ือวางรากฐานการติดตามข้อมูลนักกีฬาตังแต่เร่ิมเข้าสู่วงการกีฬา จนกระท่ัง
เลิกเลน่ กีฬา หรอื ผนั ตัวไปสูอ่ าชีพอ่ืนในวงการกฬี า
๓) เผยแพร่องค์ความรู้และสร้างความเข้าใจเรื่องสารต้องห้ามตามมาตรฐานที่กาหนด
กับนกั กฬี าและผู้ฝกึ สอน เพ่อื ป้องกันการใช้สารตอ้ งหา้ มทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การแข่งขัน

๒.๓ การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและ
กีฬาเพอ่ื การอาชพี
๒.๓.๑ การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งกับการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬา
เพื่อความเปน็ เลิศและกฬี าเพ่ือการอาชพี
๑) จัดตังคณะทางานฯ ซ่ึงเป็นคณะทางานภายใต้คณะอนุกรรมการจัดทาและติดตาม
การดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
๒) จัดระบบการนิเทศแผนให้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้รับทราบถึงหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการบูรณาการ เพ่ือดาเนินการ
ขับเคล่ือนแผนตามประเด็นการพัฒนาท่ี ๓ สู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานที่เก่ียวข้อง พร้อมทังจัดทาคู่มือการขับเคล่ือน
แผนตามประเดน็ การพัฒนาที่ ๓ โดยแจกแจงตามหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง
๓) จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทังภาครัฐและภาคเอกชน
ตังแต่ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลและแลกเปล่ียน
ความคิดเห็นในการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา
เพ่ือการอาชีพ
๔) ส่งเสริมการลงทนุ โดยบูรณาการระหว่างภาครฐั และภาคเอกชน เพอ่ื พฒั นานักกฬี า
เป็นเลิศท่มี ศี ักยภาพและต้องการยกระดับตนเองเปน็ นักกีฬาอาชีพ
๕) มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและบูรณาการงบประมาณจาก
ทุก ห น่ ว ย ง าน ห ลั ก ท่ี เ กี่ย ว ข้ อ ง ใ นก า ร ขั บ เ ค ล่ือ น ก า ร ด าเ นิ น ง า น ตา ม ป ร ะ เ ด็ น
การพัฒนาที่ ๓

- ๗๙ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๒.๓.๒ การจดั ทาระบบรายงาน ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามประเดน็ การพัฒนา
ท่ี ๓ เป็นรายไตรมาสและรายปี และการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
ทเ่ี กดิ ขึนจากการดาเนนิ งานในระยะคร่งึ แผนฯ และสนิ แผนฯ

๒.๓.๓ การจัดทาแผนการจัดการความเส่ียงเพ่ือเตรยี มความพรอ้ มและป้องกนั ผลกระทบท่ีเกิด
จากความเส่ียงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและ
พฒั นาการกฬี าเพ่ือความเป็นเลิศและกฬี าเพื่อการอาชพี

ประเด็นการพฒั นาที่ ๔ : การส่งเสรมิ และพัฒนาบุคลากรด้านการกฬี า

พัฒนาบคุ ลากรท่ีเกี่ยวข้องด้านการกฬี าเพื่อรองรับกลุ่มเปา้ หมายทกุ กลมุ่ ในห่วงโซ่อุปทานของการกฬี า
ตังแต่ต้นนา กลางนา และปลายนา โดยพัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐานสาหรับการยกระดับสมรรถนะ
ของบุคลากรด้านการกีฬาทุกกลุ่ม ครอบคลุม ครูผู้สอนพลศึกษา อาสาสมัครทางการกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา
ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมทังบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
อุตสาหกรรมการกีฬา เช่น นักกฎหมายการกีฬา, สถาปนิกการกีฬา, ส่ือมวลชนการกีฬา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
เพื่อให้บุคลากรการกีฬาทุกกลุ่ม ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับสากล หรือเทียบเท่าในระดับสากล
เพ่ือให้สามารถเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาการกีฬาทุกระดับตังแต่กีฬาขันพืนฐาน กีฬาเพ่ือมวลชน
กฬี าเพ่อื ความเปน็ เลิศและกีฬาเพ่อื การอาชพี และอุตสาหกรรมการกฬี าของประเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

๑. ตวั ชีว้ ดั
๑.๑ ครูผู้สอนพลศึกษาในโรงเรียนท่ัวประเทศได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรม
การออกกาลังกาย และการเล่นกีฬา ผ่านการทดสอบตามเกณฑ์ที่กาหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ
๘๐ ภายในปี ๒๕๗๐
๑.๒ มีอาสาสมคั รการกีฬาที่ได้รับการพัฒนาครบทุกหมู่บ้าน ภายในปี ๒๕๖๗ และได้ปฏิบัตหิ น้าที่
ผ้นู าในการออกกาลังกายตามเกณฑท์ ี่กาหนด ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ภายในปี ๒๕๗๐
๑.๓ จานวนหลักสตู รมาตรฐานเพอื่ พฒั นาครูผู้สอนพลศึกษา ไมน่ ้อยกว่า ๒ หลกั สตู ร ตอ่ ปี
๑.๔ จานวนหลักสตู รมาตรฐานเพอื่ พัฒนาอาสาสมคั รการกฬี า ไม่น้อยกวา่ ๒ หลักสูตรตอ่ ปี
๑.๕ จานวนหลักสตู รการอบรมเพอ่ื การพัฒนาบุคลากรการกีฬาท่ไี ด้มาตรฐานเทยี บเท่าระดบั สากล
ไมน่ ้อยกว่า ๑๐ หลกั สตู รต่อปี
๑.๖ จานวนบุคลากรด้านการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกฬี า ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา) ได้รับการรับรอง
มาตรฐาน เพ่มิ ขึนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี
๑.๗ จานวนบุคลากรกีฬาประเภทอื่น ๆ เพ่ือรองรับอุตสาหกรรมกีฬา ๕ ประเภทธุรกิจ
ผ่านการอบรม เพ่ิมขึนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๕ ตอ่ ปี
๑.๘ มีความรว่ มมอื เพ่อื สนบั สนนุ การพฒั นาบคุ ลากรการกฬี า อยา่ งนอ้ ย ๔ องค์กรตอ่ ปี

- ๘๐ -

(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๑.๙ มีจานวนผลงานด้านวิจัยหรือนวัตกรรมด้านการพัฒนาการกีฬาท่ีนาไปใช้ประโยชน์
ในการพฒั นาการกีฬา อย่างนอ้ ย ๖ ผลงานต่อปี

๑.๑๐ มีนักวิทยาศาสตร์การกีฬาประจาอยู่ในแต่ละสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย ไม่น้อยกว่า ๓ คน
ในปี ๒๕๗๐

๑.๑๑ ผ้ฝู ึกสอนได้รบั การพฒั นาในระดบั สูงสุดของสหพนั ธ์กฬี า เพมิ่ ขึนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕

๒. แนวทางการพัฒนา
๒.๑ การพฒั นาหลักสตู รสาหรับพัฒนาบุคลากรทางการกฬี าท่ีเปน็ มาตรฐาน
๒.๑.๑ การพัฒนาหลักสูตรท่ีเป็นมาตรฐาน สาหรับครูผู้สอนพลศึกษา และอาสาสมัคร
ทางการกฬี า
๑) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรท่ีเป็นมาตรฐาน ด้านการจัดกิจกรรม
ทางพลศึกษา การออกกาลังกาย การเล่นกีฬาขันพืนฐาน และการพัฒนา
ด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยใช้ค่านิยมพืนฐานด้านการกีฬา (Sports Values)
ตามความปกติใหม่ (New Normal) เพ่ือพัฒนาครูผู้สอนพลศึกษา และอาสาสมัคร
ทางการกฬี า
๒) บูรณาการในการทางานร่วมกันของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร
ด้านการจัดกิจกรรมทางพลศึกษา การออกกาลังกาย และการเล่นกีฬาขันพืนฐาน
สาหรับครูผูส้ อนพลศกึ ษา และอาสาสมัครทางการกฬี า
๒.๑.๒ การพัฒนาหลักสูตรท่ีเป็นมาตรฐาน สาหรับบุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสิน
กีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา) ตังแต่ระดับขันพืนฐานจนถึง
ระดับสากล
๑) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรเป็นมาตรฐานของการอบรมบุคลากรการกีฬา
(ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา)
ตามความปกติใหม่ (New Normal) เพื่อให้มีคุณภาพและเทียบเท่ามาตรฐาน
ในระดับสากล
๒) บูรณาการในการทางานร่วมกันของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อร่วมกันพัฒนา
หลักสูตรการอบรมบคุ ลากรการกฬี า (ผูฝ้ ึกสอนกีฬา ผู้ตดั สินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา
และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา) เพื่อให้มีคุณภาพและเทียบเท่ามาตรฐานในระดับ
สากล
๒.๑.๓ การพัฒนาหลักสูตรที่เป็นมาตรฐาน สาหรับบุคลากรด้านการกีฬาอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพ่อื รองรบั อตุ สาหกรรมกฬี า

- ๘๑ -

(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๑) สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรการอบรมเฉพาะด้านสาหรับบุคลากรด้าน
การกีฬาอื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง ใหเ้ ปน็ มาตรฐาน โดยจัดทาหลักสูตรเฉพาะด้าน แจกแจง
ตามองค์ความรู้ของการกีฬาท่ีเก่ียวข้องในแต่ละวิชาชีพ เช่น หลักสูตรสาหรับ
นักกฎหมายการกฬี า, สถาปนิกการกฬี า, ส่ือมวลชนการกีฬา รวมถึงบุคลากรอื่น ๆ
ท่เี ก่ยี วข้องกับอุตสาหกรรมกีฬา ตามความปกติใหม่ (New Normal)

๒) บูรณาการในการทางานรว่ มกนั ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยการพัฒนาองคค์ วามรู้
เฉพาะด้านในแต่ละวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา เช่น สภาวิชาชีพ องค์กร
ท่ีเก่ียวข้องกับแต่ละวิชาชีพ ผู้เช่ียวชาญที่ประสบความสาเร็จจากในประเทศและ
ต่างประเทศ เพ่ือรว่ มกนั พัฒนาหลักสูตรการอบรมเฉพาะดา้ นสาหรับบุคลากรอ่ืน ๆ
ที่เกย่ี วขอ้ ง ให้เปน็ มาตรฐาน

๒.๒ การพฒั นาเพอ่ื ยกระดับสมรรถนะของบุคลากรทางการกีฬา
๒.๒.๑ การพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนพลศึกษาและอาสาสมัครทางการกีฬา เพ่ือสร้าง
องค์ความรู้ด้านการออกกาลังกายและการเล่นกีฬาขันพืนฐานอย่างถูกต้อง ให้แก่เด็ก
และเยาวชนและประชาชนทกุ กล่มุ
๑) พัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนพลศึกษาในโรงเรียนให้ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้
ด้านการจัดกิจกรรมทางพลศึกษา การออกกาลังกาย และการเล่นกีฬาขันพืนฐาน
เพ่ือนาไปสร้างเสริมสุขภาพและพลานามัยของนักเรียน พร้อมทังส่งเสริมครูผู้สอน
พลศึกษา ให้สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ สามารถใช้
เทคโนโลยีดิจิทลั เพอื่ สนับสนุนการจดั การศกึ ษาตามความปกตใิ หม่ (New Normal)
แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท่ี จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ในการเคลอ่ื นไหวร่างกาย (Physical Literacy)
๒) พัฒนาอาสาสมัครทางการกีฬา ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีในการขับเคล่ือนการกีฬา
และการออกกาลังกายของประชาชนในท้องถ่ิน ชุมชน หมู่บ้านอย่างเป็นระบบ
ตามความปกติใหม่ (New Normal) โดยสามารถนาความรู้ไปถ่ายทอดให้กับ
เด็ก เยาวชน ประชาชนท่ัวไป บุคคลกลุ่มพิเศษ และผู้ด้อยโอกาสได้อย่างถูกต้อง
และทาหน้าท่ีเป็นผู้มาให้ความรู้ สร้างความตระหนักรู้ รู้ถึงประโยชน์ของ
การออกกาลังกาย ไม่ควรนอนติดเตียง มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อให้มีสุขภาพ
รา่ งกายทีด่ หี ายจากอาการเจ็บปว่ ยได้

- ๘๒ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๓) สนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือภายในสังคมวิชาชีพและภายนอก
ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมทางพลศึกษา การออกกาลังกาย และการเล่นกีฬา
พืนฐาน โดยครอบคลุมครูผู้สอนพลศึกษา อาสาสมัครทางการกีฬา เพ่ือให้เกิด
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้เฉพาะด้านการออกกาลังกายและ
การเลน่ กีฬาพนื ฐาน

๒.๒.๒ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา
และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้อง ให้มีคุณภาพ
และเทียบเท่ามาตรฐาน ตังแต่ระดับขันพืนฐานจนถึงระดับสากล เพื่อรองรับ
อุตสาหกรรมกีฬา
๑) สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา
ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอ่ืน ๆ
ท่ีเกี่ยวข้อง ให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล ซึ่งอาจนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาใช้ในการพัฒนาตนเอง (Digital transformation) โดยการจัดอบรมหลักสูตร
ระยะสันและระยะยาว เพือ่ ใหเ้ พียงพอต่อความต้องการของนักกีฬา
๒) ส่งเสริมและพัฒนาผู้บริหารการกีฬา เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหน่ึงของคณะกรรมการ
ในสหพันธ์กีฬาในระดับเอเชียและระดับโลก เพ่ือให้มีอานาจต่อรอง
ในการจัดกจิ กรรมกีฬาตา่ ง ๆ
๓) มรี ะบบการส่งเสริมและการให้ทุนวจิ ัย เพื่อสนับสนุนผลงานด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า
๔) สนับสนุนการบูรณาการแลกเปล่ียนองค์ความรู้ด้านกีฬาระหว่างหน่วยงาน
ท่เี กี่ยวขอ้ ง รวมถึงการฝกึ อบรมจากผเู้ ช่ียวชาญทป่ี ระสบความสาเร็จจากในประเทศ
และตา่ งประเทศ เพื่อสนับสนนุ การพัฒนาบคุ ลากรการกีฬา (ผู้ฝกึ สอนกีฬา ผู้ตัดสิน
กีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง รวมทังการรวมกลุ่มให้เกิดเป็นเครือข่ายแลกเปล่ียนประสบการณ์และ
ความรู้เฉพาะดา้ น

๒.๓ การรับรองมาตรฐานบคุ ลากรทางการกีฬา
๒.๓.๑ การรับรองมาตรฐานสาหรับครูผู้สอนพลศึกษา และอาสาสมัครทางการกีฬา รวมทัง
การประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะครูผู้สอนพลศึกษา และอาสาสมัครทางการกีฬา
เพอ่ื นาไปสู่การรับรองมาตรฐานสาหรับครูผ้สู อนพลศกึ ษา อาสาสมัครทางการกีฬา

- ๘๓ -

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๒.๓.๒ การรับรองมาตรฐานสาหรับผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บริหารการกีฬา รวมทัง
การประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะ เพื่อนาไปสู่การรับรองมาตรฐานสาหรับ
ผฝู้ กึ สอนกฬี า ผู้ตัดสินกีฬา ผู้บรหิ ารการกีฬา

๒.๓.๓ การรับรองมาตรฐานสาหรับนักวิทยาศาสตร์การกีฬา รวมทังการประเมินตาม
มาตรฐานสมรรถนะ เพื่อนาไปสู่การรับรองมาตรฐานสาหรับนักวิทยาศาสตร์การกีฬา
แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ มี ส ภ า วิ ช า ชี พนั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร กี ฬ า แ ล ะก า ร อ อ กก า ลั ง ก า ย
เพือ่ จัดใหม้ ีมาตรฐานของวิชาชพี และออกใบประกอบวชิ าชพี นักวทิ ยาศาสตร์การกีฬา

๒.๓.๔ การรับรองมาตรฐานสาหรับบุคลากรอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกีฬา รวมทัง
การประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะ เพื่อนาไปสู่การรับรองมาตรฐานสาหรับบุคลากร
ด้านการกีฬาอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับอุตสาหกรรมกีฬา

๒.๔ การยกระดับการบริหารจัดการ เพอ่ื การสง่ เสรมิ และพฒั นาบุคลากรด้านการกฬี า
๒.๔.๑ การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องกบั การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร
ด้านการกีฬา
๑) จัดตังคณะทางานฯ ซ่ึงเป็นคณะทางานภายใต้คณะอนุกรรมการจัดทาและติดตาม
การดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
๒) จัดระบบการนิเทศแผนให้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้รับทราบถึงหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานและรูปแบบการ บูรณาการ เพ่ือดาเนินการ
ขับเคล่ือนแผนตามประเด็นการพัฒนาท่ี ๔ สู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง พร้อมทังจัดทาคู่มือการขับเคลื่อน
แผนตามประเดน็ การพัฒนาที่ ๔ โดยแจกแจงตามหนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง
๓) จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องทังภาครัฐและภาคเอกชน
ตังแต่ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพ่ือรายงานผลและแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นในการสง่ เสริมและพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการกีฬา
๔) มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและบูรณาการงบประมาณจาก
ทุก ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ที่ เ ก่ีย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม ป ร ะ เ ด็ น
การพฒั นาท่ี ๔

- ๘๔ -

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๒.๔.๒ การจัดทาระบบฐานขอ้ มูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลสารสนเทศดา้ นความต้องการ และ
หลักสูตรการอบรมท่ีอยู่ในความสนใจ รวมถึงองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีการกีฬา เพื่อการวางแผนและการบรหิ ารจัดการด้านการส่งเสริมและพัฒนา
ครูผู้สอนพลศึกษา อาสาสมัครทางการกีฬา บุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสิน
กีฬา ผู้บริหารการกีฬา และนักวิทยาศาสตร์การกีฬา) และบุคลากรการกีฬาอ่ืน ๆ
ท่ีเก่ียวข้อง และเผยแพร่ผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาในการพัฒนานักกีฬา
เพอ่ื ให้หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องสามารถนาไปต่อยอดองค์ความรู้

๒.๔.๓ การจดั ทาระบบรายงาน ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามประเด็นการพัฒนา
ท่ี ๔ เป็นรายไตรมาสและรายปี

๒.๔.๔ การจัดทาแผนการจัดการความเสยี่ งเพื่อเตรียมความพร้อมและปอ้ งกนั ผลกระทบท่ีเกิด
จากความเส่ียงในด้านตา่ ง ๆ เช่น โรคติดตอ่ อุบตั ิใหม่ ทส่ี ่งผลตอ่ การส่งเสรมิ และพฒั นา
บุคลากรด้านการกฬี า

ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๕ : การสง่ เสรมิ และสนับสนุนการพฒั นาอุตสาหกรรมการกีฬา

เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬา ครอบคลุม
ทังภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบริการด้านการกีฬา สนับสนุนการจัดกิจกรรมและมหกรรมการกีฬา
ระดับชาติและนานาชาติ และการจัดกิจกรรมกีฬาเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชน (International Sport Events
& Private Sport Events) เพื่อเสริมสร้างการกีฬาเชิงท่องเที่ยว เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
จากอุตสาหกรรมการกีฬาให้ขยายตัวเพ่ิมขนึ อย่างต่อเนื่อง

๑. ตัวช้ีวัด
๑.๑ จานวนและมูลค่ารายได้ของผู้ประกอบการที่เก่ียวข้องกับธุรกิจการกีฬา มีอัตราเพ่ิมขึน
อย่างต่อเนอ่ื ง ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๕ ต่อปี
๑.๒ มูลค่าการส่งออกทางการกีฬาโดยรวม มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเน่ือง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕
ต่อปี
๑.๓ มลู ค่าทางเศรษฐกจิ ในการจดั การแข่งขันกีฬาในประเทศ เพิม่ ขนึ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕ ตอ่ ปี
๑.๔ จานวนกจิ กรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียวทังของภาครัฐและภาคเอกชนทุกจังหวัด เพม่ิ ขึนไมน่ ้อยกว่า
รอ้ ยละ ๑๐ ตอ่ ปี
๑.๕ มีกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียวที่เป็นอัตลักษณ์ประจาจังหวัดทั่วประเทศ (ทุกจังหวัดภายในปี
๒๕๗๐)

- ๘๕ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๑.๖ มีมาตรการด้านการเงินและ/หรือภาษี เพ่ือสนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจท่ีเก่ียวข้อง
กบั การกีฬา

๑.๗ การลงทุนจากภาครัฐและ/หรือภาคเอกชนในการค้นคว้าและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง
นวัตกรรมการกีฬา มีอัตราการเติบโตไม่น้อยกว่าอัตราการเจริญเติบโตของมูลค่าการลงทุน
ดา้ นการวิจยั และพัฒนา (R&D) ในภาพรวมของประเทศในแตล่ ะปี

๑.๘ การย่ืนจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือลิขสิทธ์ิ นวัตกรรมทางการกีฬาเชิงพาณิชย์ เพิ่มขึน
ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ชินงานตอ่ ปี

๑.๙ การพฒั นาเมอื งกีฬาให้สาเร็จและยง่ั ยืนอย่างน้อยปีละ ๑ แหง่
๑.๑๐ มีการจัดทาข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการกีฬา (Gross Domestic Sport

Product: GDSP) และการประเมินผลตอบแทนทางสงั คม (Social Return On Investment:
SROI) ที่เกยี่ วข้อง ภายในปี ๒๕๖๖

๒. แนวทางการพฒั นา
๒.๑ การสนับสนุนการพัฒนาศกั ยภาพในการแข่งขนั ของธรุ กจิ ในอุตสาหกรรมการกีฬา
๒.๑.๑ การสนบั สนนุ การพฒั นาอุตสาหกรรมและธุรกจิ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการกีฬา
๑) สนับสนุนการเพ่ิมผลิตภาพในการดาเนินธุรกิจ การยกระดับความสามารถด้าน
เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาตรฐาน และคณุ ภาพของสินค้าและบรกิ าร การบรหิ าร
จัดการ การขยายโอกาสทางการลงทุนและการตลาด โดยสร้างความร่วมมือ
กับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ
ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การกฬี า ทังภาคการผลติ ภาคการค้า และภาคบริการ
๒) สนับสนุนให้เกิดมาตรการด้านการเงิน และมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุน
ผู้ประกอบการท่เี ก่ียวข้องกบั อุตสาหกรรมการกีฬา
๓) สนบั สนุนการพฒั นานวัตกรรมเพือ่ ความปลอดภัยในการออกกาลงั กายและเล่นกฬี า
และสนับสนุนให้เกิดการถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี จากการทดลองผลิต
ใ น ห้ อ ง ท ด ล อ ง ( Lab Scale) ใ ห้ ข ย า ย ไ ป สู่ ก า ร ผ ลิ ต เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์
(Commercialization Scale) โดยสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับ
การสนับสนุนการต่อยอดงานวิจัย การประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรมในการพฒั นาผลิตภณั ฑ์กีฬา
๒.๑.๒ การสนับสนุนการจัดกิจกรรมและมหกรรมการกีฬาระดับชาติและนานาชาติ และ
การจัดกิจกรรมกีฬาเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชน (International Sport Events &
Private Sport Events) เพ่ือเสริมสร้างการกีฬาเชงิ ทอ่ งเทย่ี ว

- ๘๖ -

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๑) สนับสนุนการจัดกิจกรรมและมหกรรมการกีฬาเชิงท่องเที่ยวในทุกระดับ
การจัดประชุมสัมมนา การประชุมวิชาการ และนิทรรศการท่ีเกี่ยวกับการกีฬา
การแข่งขันกีฬา ท่ีมุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการโดยคานึงถึงความสาคัญของ
ส่ิงแวดล้อม โดยบูรณาการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สหพันธ์กีฬานานาชาติ สมาคมกีฬาต่างประเทศ หรือ
หนว่ ยงานกีฬาต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งในการจัดการแข่งขนั กีฬา

๒) จัดทาปฏิทินกลางกิจกรรมกีฬา และกิจกรรมกีฬาเชิงท่องเท่ียว พร้อมทา
Roadshow เพ่อื ดงึ ดดู ความสนใจจากผ้คู นทงั ในประเทศและตา่ งประเทศ

๓) สนับสนุนการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมและมหกรรมการแข่งขันกีฬา
ระดับชาตแิ ละนานาชาติทเี่ ปน็ มาตรฐานสากล

๒.๒ การสนบั สนุนปจั จยั เออื้ เพื่อการส่งเสรมิ และสนับสนุนการพฒั นาอุตสาหกรรมการกฬี า
๒.๒.๑ การสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน (สนามแข่งขันกีฬา สถานที่จัดกิจกรรมและ
มหกรรมการกฬี าเชงิ ท่องเทย่ี ว ระบบขนสง่ การคมนาคม ฯลฯ)
๑) พัฒนาและยกระดับโครงสร้างพืนฐาน เพ่ือรองรับการจัดกิจกรรมและมหกรรม
การกีฬาเชิงท่องเที่ยว ตามความปกติใหม่ (New Normal)
๒) พัฒนาและยกระดับโครงสร้างพืนฐานในจังหวัดท่ีมีศักยภาพเหมาะสม เพื่อพัฒนา
ให้กลายเป็นเมืองกฬี าให้สาเรจ็ และยั่งยนื
๒.๒.๒ การพัฒนาองค์ความรู้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี า
๑) จัดทาระบบฐานข้อมูลกลาง ประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือการวางแผนและ
การบริหารจัดการในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา
(ตามประเด็นการพัฒนาท่ี ๕) ทังนี ระบบฐานข้อมูลกลางตามประเด็นการพัฒนาที่
๕ ครอบคลุมข้อมูล ดังนี
(๑) ความต้องการและพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อความต้องการ
ทางกฬี า
(๒) จานวนกจิ กรรมการกีฬาเชิงท่องเท่ียว
(๓) จานวนนกั กีฬา และผทู้ ีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมกีฬาเชงิ ทอ่ งเที่ยว
(๔) จานวนผปู้ ระกอบการในธรุ กจิ อตุ สาหกรรมกฬี า
(๕) จานวนผูป้ ระกอบการธุรกิจการกีฬาเชงิ ทอ่ งเทีย่ ว
(๖) จานวนภาคเอกชนที่เข้าร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรมกีฬาและการกีฬา
เชิงท่องเทยี่ ว

- ๘๗ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

(๗) จานวนหน่วยงานภาครัฐ ท่ีเข้าร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรมกีฬาและ
การกฬี าเชงิ ทอ่ งเทย่ี ว

(๘) จานวนหน่วยงานภาคเอกชน ทเี่ ขา้ ร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรมกีฬาและ
การกีฬาเชงิ ทอ่ งเท่ียว

(๙) การเจรญิ เติบโตทางธุรกจิ ท่ีเกยี่ วข้องกับอุตสาหกรรมกีฬา
(๑๐) การเจริญเติบโตทางธุรกิจทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การกีฬาเชงิ ท่องเทยี่ ว
(๑๑) นโยบาย และประเด็นการพัฒนาที่เกย่ี วข้อง
(๑๒) ฯลฯ
๒) การจัดทาข้อมูลผลติ ภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการกีฬา (Gross Domestic
Sport Product: GDSP) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (Social Return
On Investment: SROI) ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการกฬี า

๒.๓ การยกระดับการบริหารจัดการ เพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม
การกฬี า
๒.๓.๑ การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมและสนับสนุน
การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ
๑) จัดตังคณะทางานฯ ซึ่งเป็นคณะทางานภายใต้คณะอนุกรรมการจัดทาและติดตาม
การดาเนินงานตามแผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
๒) จัดระบบการนิเทศแผนให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องได้รับทราบ เพื่อดาเนินการ
ขับเคล่ือนแผนตามประเด็นการพัฒนาท่ี ๕ สู่การปฏิบัติตามขอบเขตหน้าท่ี
ความรบั ผดิ ชอบของแต่ละหน่วยงานท่ีมบี ทบาทท่ีเกย่ี วขอ้ ง และทราบความสมั พันธ์
ว่าหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานว่าต้องมีการบูรณาการกับหน่วยงาน
ใดบ้าง อย่างไร พร้อมทังจัดทาคู่มือการขับเคล่ือนแผนตามประเด็นการพัฒนาท่ี ๕
โดยแจกแจงตามหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง
๓) จัดประชุมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทังภาครัฐและภาคเอกชน
ตังแต่ระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลและแลกเปล่ียน
ความคิดเหน็ ในการสง่ เสริมและสนับสนุนการพัฒนาอตุ สาหกรรมการกฬี า
๔) กาหนดให้มีประเด็นการส่งเสริมการออกกาลังกายและการพัฒนาการกีฬา
ในแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถ่ินในทุกจังหวัด เพื่อเสริมสร้าง
ประสทิ ธิภาพการพัฒนาอุตสาหกรรมกีฬาและเมืองกีฬาทงั ระบบ

- ๘๘ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๕) ผลักดันให้มีการจัดตังกลุ่มอุตสาหกรรมการกีฬาในสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ-
ไทย เพ่ือเป็นตัวแทนของผู้ประกอบอุตสาหกรรมการกีฬาภาคเอกชน
ในการประสานนโยบายระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือเสริมสร้างประโยชน์
ของอตุ สาหกรรมการกีฬาอย่างเป็นรปู ธรรม

๖) ผลกั ดนั ให้มีการจดั ตงั หน่วยงานท่ดี แู ลและสง่ เสริมอตุ สาหกรรมการกีฬาโดยเฉพาะ
๗) มีกระบวนการกลั่นกรองโครงการพัฒนาและบูรณาการงบประมาณจาก

ทุก ห น่ ว ย ง าน ห ลั ก ที่ เ กี่ย ว ข้ อ ง ใ นก า ร ขั บ เ ค ลื่อ น ก า ร ด าเ นิ น ง า น ตา ม ป ร ะ เ ด็ น
การพฒั นาท่ี ๕
๒.๓.๒ การจัดทาระบบรายงาน ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามประเด็นการพัฒนา
ท่ี ๕ เปน็ รายไตรมาสและรายปี เพ่อื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจของประเทศ
๒.๓.๓ การจดั ทาแผนการจัดการความเสยี่ งเพื่อเตรยี มความพรอ้ มและป้องกันผลกระทบท่ีเกิด
จากความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่ ท่ีส่งผลต่อการส่งเสริมและ
สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ

- ๘๙ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

สว่ นท่ี ๕ : การขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติส่กู ารปฏิบัติ

๑. แนวทางการขบั เคลอื่ นแผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติสู่การปฏบิ ตั ิ

การขบั เคลื่อนแผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) มีหลักการ วัตถุประสงค์
และแนวทางการขบั เคลอ่ื นแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

๑.๑ หลักการ
๑.๑.๑ การออกแบบแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) ต้องมี

ความเชื่อมโยงกับแผนระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูป
ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
แผนพฒั นาของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง สามารถตอบสนองการพฒั นาเชิงบูรณาการในแต่ละระดบั ได้อยา่ งต่อเน่ือง

๑.๑.๒ การขับเคลื่อนการพัฒนาการกีฬาของประเทศ โดยยึดแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ
ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) เป็นกรอบทิศทางหลักในการดาเนินงาน และแปลงแผนสู่การปฏิบัติ
โดยกาหนดประเด็นการพัฒนาและแนวทางการพัฒนา ตลอดจนห่วงโซ่คุณค่าของการกีฬาของประเทศ
ในทุกระดับ

๑.๑.๓ การกาหนดให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาเป็นหน่วยงานหลัก
ในการขบั เคล่อื นและบรู ณาการการดาเนนิ งานในแต่ละประเด็นการพฒั นาที่สัมพันธก์ ับภารกิจของหน่วยงาน

๑.๑.๔ การบูรณาการการดาเนินงานของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ในการขับเคลื่อนกีฬาของประเทศ โดยการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาการกีฬาในทุกระดับ รวมท้ังมีระบบ
การรายงาน ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายในแต่ละประเดน็ การพัฒนา

๑.๒ วตั ถุประสงค์
๑.๒.๑ เพื่อให้การขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับท่ี ๗

(พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) ไปสกู่ ารปฏิบตั ดิ ้วยการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนทีเ่ ก่ียวข้อง
๑.๒.๒ เพ่ือบูรณาการแผนงานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา

หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่เก่ียวข้อง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในการขับเคล่ือนประเด็น
การพฒั นาภายใต้แผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๑.๒.๓ เพื่อติดตามและประเมินผลการพัฒนาการกีฬาอย่างเป็นระบบ ต้ังแต่การออกกาลังกาย
และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกาลังกาย
การส่งเสริมการกีฬาเพ่ือพัฒนาไปสู่การอาชีพ การพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา และอุตสาหกรรมการกีฬา
รวมทั้งประเมินผลสมั ฤทธิ์ในการพัฒนาทง้ั ในด้านเศรษฐกจิ และสังคม

- ๙๐ -

(ร่าง) แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๑.๓ แนวทางการขบั เคลอ่ื นแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ
๑.๓.๑ ระดับนโยบาย คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เป็น กลไกสาคัญ

ในการกาหนดนโยบายหรือให้ความเห็น กากับดูแลการดาเนินงานท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬา
รวมทั้งเสนอมาตรการแก้ไขปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติการตามนโยบายและแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ และ
การปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องให้เอ้ือต่อการพัฒนาการกีฬาขอ งชาติ
ก่อนนาเสนอคณะรัฐมนตรี เพ่ือให้ความเห็นชอบและสั่งการต่อไป โดยสานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬาทาหน้าท่ีเป็นสานักงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ โดยวิเคราะห์และ
เสนอแนะมาตรการเพ่ือผลักดันและสนับสนุนการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนพิจารณาเสนอแนะ
แนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของการดาเนินการตามนโยบายและแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ
เสนอแนะแนวทางการจัดสรรและแสวงหาทรพั ยากรเพ่อื ส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาการกีฬาในทกุ ภาคส่วน
ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และรายงานผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบายและ
แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ

๑.๓.๒ ระดับการขบั เคลื่อนแผน คณะกรรมการนโยบายการกฬี าแห่งชาติ แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการ
จัดทาและติดตามการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) ภายใต้
คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เพื่อติดตามการดาเนินงานตามภารกิจที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาการ
กีฬาแห่งชาติ และผลักดัน ขับเคล่ือน ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติไปสู่การ
ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการจัดทาแผนปฏิบัติการขององค์กรและหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
โดยคณะอนุกรรมการ แต่งต้ังคณะทางานฯ รายประเด็นการพัฒนา เพ่ือขับเคล่ือน ติดตามและประเมินผล
การดาเนินงานในแต่ละประเด็นการพัฒนาเป็นรายไตรมาสและรายปี จนส้ินสุดแผน โดยสานักงาน
ปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาทาหน้าท่ีประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและ
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และให้คาแนะนาแก่หน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าท่ี
ดาเนินการตามภารกิจท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติในการจัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา
รวมทั้งจัดทาและพัฒนากลไกและระบบการประสานงานด้านการกีฬา เพื่อสร้างประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการการกีฬาของประเทศ ตลอดจนร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
กับการกีฬาของประเทศในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ท้ังน้ี
ให้หน่วยงานของรัฐซ่ึงมีหน้าที่ ดาเนินการตามภารกิจท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดาเนินการ
แก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬาและปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗
(พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

- ๙๑ -

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๑ การส่งเสริมและพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาขั้นพ้ืนฐาน:
กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า (มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ และกรมพลศึกษา) และกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (สานักงาน
ปลัดกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า และการกีฬาแหง่ ประเทศไทย) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม
กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพมหานคร สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย
สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งประเทศไทย
คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
คณะกรรมการสเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด และ
สมาคมสขุ ศึกษา พลศกึ ษา และสนั ทนาการแห่งประเทศไทย

ประเดน็ การพฒั นาท่ี ๒ การส่งเสริมและพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาเพื่อมวลชน
ให้เป็นวิถีชีวิต: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กรมพลศึกษา) และกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา (สานักงานปลัดกระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬา และมหาวิทยาลัยการกีฬาแหง่ ชาต)ิ กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงกลาโหม กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพมหานคร สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคม
องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั แห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งประเทศไทย คณะกรรมการ
พาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการ
สเปเชยี ลโอลิมปคิ แห่งประเทศไทย สมาคมกฬี าแห่งประเทศไทย และสมาคมกีฬาแหง่ จงั หวัด

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๓ การส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬา
เพ่ือการอาชพี : กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา (การกฬี าแห่งประเทศไทย) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดย
มีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา (สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
กรมพลศึกษา และมหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห่งชาต)ิ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงกลาโหม
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการพาราลิมปิก
แห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการสเปเชียล
โอลิมปิคแห่งประเทศไทย คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย
สมาคมกีฬาแห่งจังหวัด สมาคมวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมจิตวิทยาการกีฬาประยุกต์แห่ง
ประเทศไทย สมาคมการจัดการกีฬาแห่งประเทศไทย และสมาคมนกั กฬี าโอลิมปิกแห่งประเทศไทย

- ๙๒ -

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๔ การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา: กระทรวง
การท่องเท่ียวและกีฬา (สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก
โดยมีหน่วยงานสนบั สนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กรมพลศึกษา มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแหง่ ชาติ
และการกีฬาแห่งประเทศไทย) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรุงเทพมหานคร
คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
คณะกรรมการสเปเชียลโอลิมปิคแห่งประเทศไทย คณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
สมาคมกฬี าแหง่ ประเทศไทย และสมาคมกฬี าแห่งจังหวดั

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๕ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬา:
กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา (สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ
หลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กรมการท่องเท่ียว การท่องเท่ียว
แหง่ ประเทศไทย และการกฬี าแห่งประเทศไทย) กระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงคมนาคม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ
และสังคม กรุงเทพมหานคร สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการลงทุน สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ่ มแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สมาคมกฬี าแหง่ ประเทศไทย สมาคมการคา้ เคร่อื งกีฬา และสมาคมการจัดการกฬี าแห่งประเทศไทย

ท้ังนี้ หน่วยงานรับผิดชอบหลักในแต่ละประเด็นการพัฒนาทาหน้าท่ีประสาน
ความร่วมมือกับหน่วยงานสนับสนุนและเป็นผู้สนับสนุนการพัฒนาในส่วนภูมิภาค โดยกาหนดบทบาท
การพัฒนาและแนวทางการขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนา ได้แก่ การส่งเสริม สนับสนุน และอานวย
ความสะดวกการดาเนนิ งานให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนเผยแพร่ผลการดาเนนิ งานให้ทราบเป็นระยะ

๑.๓.๓ ระดับปฏิบัติการ ให้หน่วยงานซ่ึงมีหน้าท่ีดาเนินการตามภารกิจท่ีกาหนดไว้
ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬาและปฏิบัติการให้เป็นไปตาม
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬาให้เป็นไปตามแผนพัฒนา
การกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเก่ียวข้องกับ
การพัฒนาการกีฬาของประเทศ ดาเนินการตามนโยบายท่ีคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติมอบหมาย
โดยการประสานงานและบูรณาการการดาเนินงานให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนา ซึ่งมีแนว
ทางการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

๑) กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา โดยสานักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียว
และกีฬา กรมพลศึกษา กรมการท่องเท่ียว มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ การกีฬาแห่งประเทศไทย และ

- ๙๓ -

(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ดาเนินการปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับประเด็นการพัฒนาของ
แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๒) ส่วนกลาง กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา โดยสานักงานปลัดกระทรวง
การท่องเท่ียวและกีฬาประสานงานไปยังหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องท้ังในฐานะหน่วยงาน
รับผิดชอบหลักและหน่วยงานสนับสนุน ให้รับทราบถึงแนวทางการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาภายใต้
แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) และดาเนินการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ
ในส่วนที่รับผิดชอบ พร้อมกาหนดจุดประสานงาน (Contact Point) ที่สามารถเช่ือมโยงเป็นเครือข่าย
เพื่อประสานการปฏิบัติงานที่ชัดเจนตลอดระยะเวลาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๗
(พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๓) ส่วนภูมิภาค กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยสานักงานปลัดกระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬาพิจารณากระจายภารกิจและความรับผิดชอบในการดาเนินการตามแผนพัฒนาการกีฬา
แห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) ไปสู่จังหวัด โดยส่วนราชการระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ซึง่ มีสานักงานการทอ่ งเที่ยวและกีฬาจังหวัดเป็นฐานบริหารสว่ นราชการในภูมิภาครว่ มกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ในการขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)
พร้อมผลกั ดันให้มีแผนพัฒนาการกีฬาจังหวัดในทกุ จังหวดั เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มออกกาลังกายและ
เลน่ กีฬาให้เป็นวถิ ีชวี ิต เกดิ การพัฒนาสุขภาพและคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี สรา้ งและพัฒนานกั กีฬา สนับสนนุ ให้นกั กีฬา
ได้แสดงศักยภาพและสร้างโอกาสในการพัฒนาสู่กีฬาเพื่อความเป็นเลิศและกีฬาเพ่ือการอาชีพ รวมท้ังพัฒนา
องค์ความรู้ด้านกีฬาและส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรการกีฬาให้สามารถเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาการกีฬา
ทกุ ระดับของประเทศไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

๔) ระดับท้องถ่ิน กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา โดยสานักงานปลัดกระทรวง
การท่องเท่ยี วและกีฬาประสานงานกับกระทรวงมหาดไทย เพ่ือผลักดันการปรับเปลี่ยนข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับการกีฬาในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องและสนับสนุนการดาเนินงานตาม ประเด็นการพัฒนาของแผนพัฒนา
การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) และแผนพัฒนาการกีฬาจังหวัด พร้อมถ่ายทอดให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในทุกระดับรับทราบ ตระหนักถึงความสาคัญ และนาไปกาหนดเป็นภารกิจที่ต้อง
ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนนุ การพฒั นากฬี าในทอ้ งถิ่นเปน็ ประจาทุกปี

๕) เครือข่ายภาคประชาชน หน่วยงานที่มีหน้าท่ีดาเนินการตามภารกิจท่ีกาหนดไว้
ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติสนับสนุนให้ภาคประชาชน ซึ่งประกอบด้วย (๑) พ่อแม่ ผู้ปกครอง (๒) ชุมชน
และ (๓) สถาบันการศกึ ษา เขา้ มามีส่วนรว่ มในการจดั ทาแผนพฒั นาการกฬี าจังหวัด และสง่ เสริมการมีกจิ กรรม
กีฬาทีเ่ หมาะสมและสอดรับกบั วถิ ชี ีวติ ของชุมชน และต่อยอดไปส่กู ีฬาเพ่ือความเปน็ เลิศ

๖) เครือข่ายภาคเอกชน หน่วยงานท่ีมีหน้าที่ดาเนินการตามภารกิจท่ีกาหนด
ไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติสนับสนุนให้ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการกีฬา ครอบคลุมทั้ง
ภาคการผลิต ภาคการค้า และภาคบรกิ ารด้านการกีฬา ให้มกี ารพฒั นาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ

- ๙๔ -

(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันหรือร่วมงานกับหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมและมหกรรมการกีฬา
ทกุ ระดบั ทีม่ ีความสาคญั ต่อการสรา้ งความเขม้ แขง็ ดา้ นเศรษฐกิจของประเทศ

- ๙๕ -

ระดบั คณะกร
นโยบาย

คณะทำงำนฯ คณะอนกุ รรมกำรจดั ทำและตดิ ตำมกำรดำเนิน
คณะทำงำนฯ

ระดบั ประเดน็ กำรพัฒนำที่ ๑ ประเด็นกำรพฒั นำท่ี ๒ ก
ขับเคลอื่ น กำรสง่ เสรมิ และพัฒนำ กำรส่งเสรมิ และพฒั นำ
กำรออกกำลงั กำยและกฬี ำ
แผน กำรออกกำลงั กำย
และกฬี ำขัน้ พน้ื ฐำน เพ่ือมวลชน ให้เปน็ วิถีชวี ิต

(ศธ., มกช.กก., กพล.กก.) (กพล.กก., มท.) (ส
กห
(สป.กก., กกท.กก., มท., สธ., พม., อว., (สป.กก., มกช.กก., สธ., กห., พม., อว., ดศ.,
ดศ., กทม., สมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ, กทม., สมาคมสันนบิ าตเทศบาลฯ, สมาคม โ
อบจ.ฯ, สมาคม อบต.ฯ, คกก.พาราลมิ ปิกฯ, ก
สมาคม อบจ.ฯ, สมาคม อบต.ฯ, คกก.โอลิมปิคฯ, คกก.สเปเชียลโอลิมปิคฯ, วิท
คกก.พาราลิมปกิ ฯ, คกก.โอลิมปิคฯ,
คกก.สเปเชยี ลโอลิมปิคฯ, สมาคมกฬี า- สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย,
แหง่ ประเทศไทย, สมาคมกฬี าแห่ง สมำคมกฬี ำแห่งจงั หวัด)
จงั หวดั , สมาคมสขุ ศึกษา พลศึกษา และ

สันทนาการฯ)

ระดบั หน่วยงำนในส
ปฏบิ ตั ิการ
หน่วยงำนภำครัฐและภำคเอกชน ส่วนร

ท่เี กี่ยวข้อง (ส่วนกลำง) ระดับจงั หวัด

แผนภาพท่ี ๕-๑ ผงั กลไกการขบั เคล่ือนแผนพัฒนา

- ๙๖

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

คณะรัฐมนตรี

รรมกำรนโยบำยกำรกฬี ำแหง่ ชำติ

นงำนตำมแผนพฒั นำกำรกฬี ำแหง่ ชำติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๗๐)

คณะทำงำนฯ คณะทำงำนฯ คณะทำงำนฯ

ประเด็นกำรพัฒนำที่ ๓ ประเด็นกำรพัฒนำท่ี ๔ ประเด็นกำรพฒั นำท่ี ๕
กำรส่งเสริมและพฒั นำ กำรสง่ เสริมและพัฒนำ กำรสง่ เสรมิ และ

กำรกีฬำเพื่อควำมเปน็ เลิศ บุคลำกรด้ำนกำรกีฬำ สนับสนนุ กำรพัฒนำ

และกฬี ำเพอื่ กำรอำชีพ อตุ สำหกรรมกำรกีฬำ

(กกท.กก.) (สป.กก.) (สป.กก.)
(สป.กก., กพล.กก., มกช.กก., มท., ศธ.,
ห., อว., กทม., คกก.พาราลิมปกิ ฯ, คกก. (กพล.กก., มกช.กก., กกท.กก., (กทท.กก., ททท.กก., กกท.กก., มท.,
โอลมิ ปคิ ฯ, คกก.สเปเชยี ลโอลมิ ปิคฯ, มท., ศธ., สธ., อว., ดศ., กทม., อก., พณ, คค., อว., ดศ., กทม.,
กกมท., สมาคมกฬี าแห่งประเทศไทย, คกก.พาราลมิ ปกิ ฯ, คกก.โอลิมปิคฯ, สสว., BOI, สสปน., ธพว., สภา
หอการค้าฯ, ส.อ.ท.,
สมาคมกฬี าแห่งจังหวัด, สมาคม คกก.สเปเชยี ลโอลมิ ปคิ ฯ, สมาคมกฬี าแหง่ ประเทศไทย,
ทยาศาสตรก์ ารกฬี าฯ, สมาคมจิตวทิ ยา สมาคมกฬี าแหง่ ประเทศไทย, สมาคมการคา้ เครือ่ งกีฬา, สมาคม
การกีฬาฯ, สมาคมการจัดการกฬี าฯ, การจัดการกีฬาฯ)
สมาคมกฬี าแห่งจังหวัด)
สมาคมนักกีฬาโอลิมปิกฯ)

สงั กัดกระทรวงกำรท่องเที่ยวและกีฬำ

รำชกำร องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เครือข่ำยภำคประชำชน
และภำคเอกชน
ด/กล่มุ จังหวดั (ระดบั ทอ้ งถ่นิ )

าการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) สกู่ ารปฏิบตั ิ

-

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

๒. แนวทางการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงาน

การวัด ความ สาเร็จ ของแ ผนพัฒน าการ กีฬาแห่ งช าติ จาเป็น ต้องมี การ ติด ตามแ ละประ เมินผ ล
โดยใช้ระบบที่มีมาตรฐาน สามารถวัดผลการพัฒนาในแต่ละประเด็นการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เก่ียวข้อง ซ่ึงในส่วนของการติดตามและประเมินผล
แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) จะต้องมีการดาเนนิ การดังน้ี

๒.๑ คณะทางานฯ รายประเด็นการพัฒนา ซึ่งเป็นคณะทางานภายใต้คณะอนุกรรมการจัดทาและ
ติดตามการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) ประกอบด้วย
หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีดาเนินการตามภารกิจที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ดาเนินการติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินงานในแต่ละประเด็นการพัฒนาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗
(พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) รายไตรมาสและรายปี และระยะคร่ึงแผน และระยะส้ินสุดแผน รวมทั้งจัดทาแผน
การเตรียมความพร้อมและป้องกันปัญหาท่ีเกิดจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาและการขับเคล่ือน
การกีฬา และนาเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ เพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิในการพัฒนากีฬา
ท้งั ในดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม

๒.๒ คณะทางานฯ รายประเด็นการพัฒนา ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงานภายใต้แผนพัฒนา
การกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) ผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ ของกระทรวงการท่องเที่ยวและ
กฬี าและหนว่ ยงานอน่ื ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง อยา่ งต่อเน่อื ง

- ๙๗ -

๓. ตวั อย่างโครงการสาคญั เพือ่ การขบั เคล่อื นสู่การปฏิบัติ

ประเด็นการพฒั นาที่ ๑ : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาข้ันพื้นฐาน

แนวทางการพฒั นา ตัวอย่างโครงการ
เพ่ือการขบั เคล่อื นสูก่ ารปฏบิ ัติ เช่น

๑. การสร้างการ (๑) โครงการจัดทาสื่อหลากหลายรูปแบบ มีส่ือท่ีมีการ

รับรู้ ความตระหนัก (โดยนาการออกกาลังกายและเล่นกีฬา และศิลป์ด

และความต้องการ ม า ผ ส ม ผ ส า น กั บ Entertainment เล่นกีฬา ที่เ

เพื่อการส่งเสริมและ (ความบันเทิง) รวมความรู้ท้ังศาสตร์และศิลป์ โดยเผยแพ

พั ฒ น า ก า ร อ อ ก - เพ่ือสร้างการรับรู้ด้านประโยชน์ของการ เพอื่ เข้าถงึ ก

กาลังกายและกีฬา ออกกาลังกายและเล่นกีฬาแก่เด็กและ

ขน้ั พน้ื ฐาน เยาวชน)

(๒) โ ค ร ง ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค่ า นิ ย ม โ อ ลิ ม ปิ ก มีองค์ความ

( Olympic Values Education Programs : ค่านิยมโอล

OVEP) ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการออกกาลัง ในกิจกรรม

กายและเล่นกีฬาในสถานศึกษา (เพื่อสร้าง และเลน่ กฬี า

การรับรู้และปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนรับรู้

และเข้าใจคุณค่าของกีฬาและจริยธรรม

ทางการกฬี า)

- ๙๗

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)



ผลผลติ ผลลพั ธ์ หนว่ ยงาน
ดาเนนิ การ

รผสมผสานระหว่างศาสตร์ เด็กและเยาวชนรับรู้และตระหนัก กพล. (กก.),

ด้านการออกกาลังกายและ ว่ า ก า ร อ อ ก ก า ลั ง ก า ย แ ล ะ มกช. (กก.), ศธ.,

เหมาะสมกับเด็กและเยาวชน การเล่นกีฬาส่งผลดีต่อการพัฒนา อปท. (มท.),

พร่ผ่านช่องทางท่ีเหมาะสม ทางร่างกายและสมอง พม., สธ., อว.,

กล่มุ เดก็ และเยาวชน กทม.

และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

มรู้หรือส่ือท่ีมีเนื้อหาเก่ียวกับ เด็กและเยาวชนรับรู้และเข้าใจ กพล. (กก.),

ลิมปิก เพ่ือสร้างการรับรู้ ในคุณค่าของการออกกาลังกาย มกช. (กก.), ศธ.,

มส่งเสริมการออกกาลังกาย แ ล ะ เ ล่ น กี ฬ า แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม อปท. (มท.),

าในสถานศกึ ษา ทางการกีฬา พม., อว.,

คกก.โอลิมปิคฯ

และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

๗-

ประเด็นการพฒั นาท่ี ๑ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการออกกาลงั กายและกีฬาขนั้ พืน้ ฐาน

แนวทางการพัฒนา ตัวอยา่ งโครงการ
เพอื่ การขับเคลอ่ื นสกู่ ารปฏบิ ัติ เช่น

๑. การสร้างการ (๓) โครงการสอนพ้ืนฐานกีฬาในโรงเรียน มีเด็กและเย

รับรู้ ความตระหนัก เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาตามความถนัดและ กีฬาในโรงเร

และความต้องการ ความสนใจ

เพื่อการส่งเสรมิ และ

พั ฒ น า ก า ร อ อ ก -
กาลังกายและกีฬา (๔) โครงการส่งเสริมการออกกาลังกายและ มี ก า ร จั ด ก
กีฬาข้ันพื้นฐาน เพ่ือปลูกฝังให้นักเรียน ออกกาลงั กา
ขั้นพนื้ ฐาน (ต่อ)
นักศึกษา และเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็น

ประโยชน์ด้วยการออกกาลงั กายและเล่นกฬี า

(๕) โครงการหอ้ งเรียนกีฬาในโรงเรียน - มโี รงเรยี น
อยา่ งน้อย

- มนี ักเรียน
ทัว่ ประเท

(๖) โครงการจัดกิจกรรมพิเศษเก่ียวกับกีฬา เพื่อ มีการจัดกิจ
เปน็ ประโยชนต์ อ่ เดก็ และเยาวชนในทอ้ งถ่ิน กฬี า ในทุกต
๑ กจิ กรรม

- ๙๘

(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น (ตอ่ )

ผลผลติ ผลลพั ธ์ หน่วยงาน
ดาเนนิ การ

ยาวชนที่ได้เรียนพ้ืนฐาน เด็กและเยาวชนได้เล่นกีฬาตาม มกช. (กก.), ศธ.,

รยี น ความถนัดและความสนใจ อปท. (มท.),

กทม.,

สมาคมกีฬาฯ

และหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เด็กและเยาวชนมีการออกกาลังกาย กพล. (กก.),

ายและกีฬาข้ันพ้ืนฐาน แ ล ะ เ ล่ น กี ฬ า ต า ม ค ว า ม ส น ใ จ มกช. (กก.),

อย่างสม่าเสมอ ศธ., อปท. (มท.),

กทม.

และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

นทมี่ ีห้องเรยี นกีฬา เด็กและเยาวชนได้รับการพัฒนา สพฐ. (ศธ.),

ยอาเภอละ ๑ แห่ง ก า ร เ ล่ น กี ฬ า บ น พื้ น ฐ า น ก า ร ใ ช้ สอศ. (ศธ.),

นที่เรียนห้องเรียนกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา เพ่ือเป็นแหล่ง สช.( ศธ.),

ทศ บ่ ม เ พ า ะ สู่ ก า ร เ ป็ น นั ก กี ฬ า เ พื่ อ อปท. (มท.),

ความเปน็ เลิศ กทม.

และหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

จกรรมเสริมสร้างทักษะ เด็กและเยาวชนมีการออกกาลังกาย อปท. (มท.),

ตาบล อย่างนอ้ ยตาบลละ และเลน่ กีฬาอย่างสม่าเสมอ กทม.

และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

๘-

ประเดน็ การพฒั นาที่ ๑ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาขนั้ พนื้ ฐาน

แนวทางการพฒั นา ตวั อยา่ งโครงการ
เพ่ือการขับเคลอื่ นสกู่ ารปฏิบัติ เช่น

๑. การสร้างการรับรู้ (๗) โครงการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม - มีหลักสูตรกา

ความตระหนัก และ ออกกาลังกายในเดก็ และเยาวชน เพื่อ ที่น า หลั ก ก า

ความต้องการ เพื่อ สร้างความตระหนักในคุณค่าของ ขั้น พื้ น ฐ า น แ

ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ กิจกรรมการออกกาลังกาย และเกิด (Physical Lite

พัฒนาการออกกาลัง- การพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ และ ร่วมกับวิชาพล

ก า ย แ ล ะ กี ฬ า สงั คม ความเหมาะสม

ขั้นพ้นื ฐาน (ตอ่ ) - มีการเรียนก

การกีฬาข้ันพ้ืน

(Physical Lite

วิชาอน่ื ๆ ทีม่ คี

(๘) โ ค ร ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร - มีการจัดกิจกร

ออกกาลังกายในเด็กเล็ก (ช่วงปฐมวัย เล็ก (ช่วงปฐมว

อ า ยุ ๕ - ๗ ปี ) ทุ ก พ้ื น ที่ ใ ห้ มี อยา่ งน้อยตาบล

ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ร่ า ง ก า ย แ ล ะ เมตร กระโดดไ

ออกกาลงั กายได้อยา่ งถูกต้องตามวยั - มีเด็กเล็ก (ช

ทีเ่ ข้ารว่ มกิจกร

- ๙๙

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น (ต่อ)

ผลผลติ ผลลพั ธ์ หนว่ ยงาน
ดาเนนิ การ

รเรียนการสอนในโรงเรียน เด็กและเยาวชนมีความตระหนัก สพฐ. (ศธ.),

าร วิ ท ยา ศ า สต ร์ ก าร กี ฬ า ในคุณค่าของการออกกาลังกาย สอศ. (ศธ.),

แ ล ะ ก า ร ฉ ล า ด รู้ ท า ง ก า ย และเกิดการพัฒนาด้านร่างกาย สช. (ศธ.),

eracy) มาบูรณาการสอน อารมณ์ และสังคม โดยได้รับการ อปท. (มท.),

ลศึกษา หรือวิชาอื่น ๆ ท่ีมี พัฒนาบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ กทม.

ม การกีฬาและการฉลาดร้ทู างกาย และหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

า ร ส อ น เ รื่ อ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์

นฐานและการฉลาดรู้ทางกาย

eracy) ในวิชาพลศึกษา หรือ

ความเหมาะสม

รรมการออกกาลังกายในเด็ก เด็กเล็ก (ช่วงปฐมวัยอายุ ๕-๗ ปี) สพฐ. (ศธ.),

วัยอายุ ๕-๗ ปี) ในทุกตาบล มีการเคล่ือนไหวร่างกายได้อย่าง สอศ. (ศธ.),

ลละ ๑ กิจกรรม อาทิ ว่ิง ๓๐ ถูกต้องตามวัย พร้อมท้ังมีวินัย และ สช. (ศธ.)

ไกล ว่ิงข้ามร้ัว ๓๐ เมตร น้าใจของนักกฬี า อปท. (มท.),

ช่วงปฐมวัยอายุ ๕-๗ ปี) กทม.

รรม และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

๙-

ประเดน็ การพฒั นาที่ ๑ : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกาลงั กายและกีฬาขัน้ พืน้ ฐาน

แนวทางการพัฒนา ตวั อยา่ งโครงการ ผ
เพือ่ การขบั เคลือ่ นสู่การปฏบิ ัติ เช่น

๑. การสร้างการรับรู้ (๙) โครงการส่งเสริมกีฬาพัฒนา - มีการจัดกิจกรรมกีฬ

ความตระหนัก และ สุขภาวะกลุ่มผู้ด้อยโอกาส อย่างนอ้ ยตาบลละ ๑

ความต้องการ เพ่ือ คนพิการและบุคคลพิเศษ - มีการจัดกิจกรรมส

ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ สังคม และปัญญา)

พัฒนาการออกกาลัง- พิเศษ ใน ๗๖ จังหวัด

ก า ย แ ล ะ กี ฬ า ขั้ น - มีผู้ด้อยโอกาส เด็ก

พืน้ ฐาน (ตอ่ ) บคุ คลพิเศษเข้าร่วมก

(๑๐) โครงการจัดการแข่งขันกีฬา - มีการจัดการแข่งขัน

นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น ศึ ก ษ า สงเคราะห์

สงเคราะห์ - มีเด็กและเยาวชนค

รว่ มการแขง่ ขนั

(๑๑) โครงการจัดการแข่งขันกีฬา - มีการจัดการแข่งขัน

นั ก เ รี ย น ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ทุกจงั หวัดและประจ

แ ล ะ อ า เ ภ อ เ พ่ื อ ส่ ง ต่ อ สู่ - มีเด็กและเยาวชน

ความเปน็ เลิศ นักเรียนประจาจงั หว

- ๑๐

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น (ต่อ)

ผลผลติ ผลลัพธ์ หน่วยงาน
ดาเนินการ

ฬา สาหรับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ผู้ด้อยโอกาส เด็กและเยาวชน กพล. (กก.),

๑ กจิ กรรม คนพิการและบุคคลพิเศษ มีการ สพฐ. (ศธ.),

ส่งเสริมสุขภาวะ (กาย จิต ออกกาลังกายและเล่นกีฬาอย่าง อปท. (มท.),

สาหรับคนพิการและบุคคล สม่าเสมอ กทม.

ด และหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

กและเยาวชนคนพิการและ

กจิ กรรม

นกีฬานักเรียนโรงเรียนศึกษา เด็กและเยาวชนคนพิการและ กพล. (กก.),

บุคคลพิเศษมีการออกกาลังกาย สพฐ. (ศธ.)

คนพิการและบุคคลพิเศษเข้า และเล่นกฬี าอยา่ งสม่าเสมอ และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

นกีฬานักเรียนประจาจังหวัด - เด็กและเยาวชนมีการออกกาลัง- กพล. (กก.)

จาอาเภอทกุ อาเภอ กายและเล่นกฬี าอยา่ งสมา่ เสมอ และหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

นเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา - เด็กและเยาวชนมีการพัฒนา

วัดและอาเภอ ทักษะการเล่นกีฬา เข้าใจเทคนิค

กฬี าและกติกาการแข่งขันมากขึ้น

สามารถนาไปพัฒนาตนเองเพื่อ

พฒั นาต่อยอดสู่ความเป็นเลศิ

๐๐ -

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๑ : การส่งเสรมิ และพัฒนาการออกกาลงั กายและกีฬาขัน้ พนื้ ฐาน

แนวทาง ตวั อย่างโครงการ

การพัฒนา เพอ่ื การขบั เคล่ือนสูก่ ารปฏิบัติ เชน่

๒. การสนับสนุน (๑) โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ศู น ย์ ฝึ ก กี ฬ า อ า เ ภ อ - มีการจัดทามา

ปัจจัยเอื้อเพื่อการ (โดยยกระดับสนามกีฬาของโรงเรียน - มีศูนย์ฝึกกีฬ

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ที่มีศักยภาพ เพื่อการส่งเสริมการออกกาลัง- สนามกีฬาของ

พัฒนาการออก- กาย และกีฬาข้ันพื้นฐานให้กับเด็กและ มีมาตรฐานตา

กาลังกายและกีฬา เยาวชน) แหง่ ต่ออาเภอ

ข้ันพืน้ ฐาน (๒) โครงการศึกษาและวิเคราะหข์ ้อมลู ดา้ นความ - มีรายงานผล

สนใจและต้องการของเด็กและเยาวชนในแต่ ข้อมูลด้านคว

ละช่วงวัยในการออกกาลังกายและการเล่น เด็กและเยาวช

กีฬา (เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนาไป ออกกาลงั กาย

กาหนดแผนส่งเสริมการออกกาลังกายและ - มีแผนส่งเสริม

เล่นกีฬาในกลุ่มเด็กและเยาวชนให้เหมาะสม เล่นกีฬาได้ตา

ในแตล่ ะช่วงวัย) ตอ้ งการของเด

(๓) โครงการจัดทาแพลตฟอร์มด้านการออก- มีแพลตฟอร์มด้า

กาลังกายของเด็กและเยาวชน เพ่ือให้ได้ เด็กและเยาวช

ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีสามารถใช้ในการ สมรรถภาพทางก

ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือการส่งเสริม

พั ฒ น า ก า ร กี ฬ า ขั้ น พื้ น ฐ า น อ ย่ า ง มี

ประสิทธิภาพ

- ๑๐

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น (ต่อ)

ผลผลติ ผลลพั ธ์ หน่วยงาน
ดาเนนิ การ

าตรฐานศนู ยฝ์ ึกกฬี าอาเภอ - เด็กและเยาวชนมีการออกกาลัง- อปท. (มท.),

ฬาอาเภอท่ียกระดับจาก กายและเลน่ กฬี าเพ่ิมขึ้น มกช. (กก.),

งโรงเรียนท่ีมีศักยภาพ ให้ - เด็กและเยาวชนมีความสามารถ กพล. (กก.),

ามท่ีกาหนด ไม่นอ้ ยกว่า ๑ ด้าน กีฬ าเ พื่อ พัฒ นา สู่ค วา ม กกท. (กก.), สพฐ. (ศธ.)

อ เป็นเลศิ และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

การศึกษาและวิเคราะห์ เด็กและเยาวชนได้มีการออกกาลัง- กพล. (กก.), สป. (กก.)

วามสนใจและต้องการของ กายและเล่นกีฬาได้ตามความสนใจ และหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

ชนในแต่ละช่วงวัยในการ และความต้องการในแต่ละชว่ งวัย

ยและการเล่นกฬี า

มการออกกาลังกายและ

ามความสนใจและความ

ด็กและเยาวชน

านการออกกาลังกายของ - สามารถขับเคล่ือนแนวทางการ กพล. (กก.), สป. (กก.)

ชนในการจัดเก็บข้อมูล พัฒนาการส่งเสริมพัฒนาการ และหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

กาย กี ฬ า ขั้ น พื้ น ฐ า น อ ย่ า ง มี

ประสทิ ธภิ าพ

- เด็กและเยาวชนมีการออกกาลัง-

กายและเล่นกีฬาเพม่ิ ขนึ้

๐๑ -

ประเด็นการพฒั นาท่ี ๑ : การส่งเสรมิ และพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาขั้นพ้นื ฐาน

ตัวอยา่ งโครงการ

แนวทางการพัฒนา เพ่ือการขับเคลื่อน ผลผลติ

ส่กู ารปฏบิ ตั ิ เช่น

๓. การยกระดับการ (๑) โครงการขบั เคลอื่ น - มีคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนประ

บริหารจัดการเพื่อ ประเดน็ การพัฒนา พฒั นาฯ ท่ีมผี ูแ้ ทนหน่วยงานทีเ่ กย่ี

ส่งเสริมและพัฒนา ที่ ๑-๕ - มีแผนการขบั เคล่อื นประเด็นการพ

ประเด็นการพัฒนาที่ - มีการจัดทาแผนพัฒนาการกีฬา

๑-๕ ท้ัง ๗๖ จงั หวดั

- มีการปรับโครงสรา้ งหลกั สูตรให้มกี

การสอนวิชาพลศึกษาอย่างน้อย ๒

ต่อสปั ดาห์

- มี แ ผ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น

ในสถานการณ์โรคตดิ ตอ่ อบุ ตั ใิ หม่

- ๑๐

(ร่าง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น (ตอ่ )

ผลลัพธ์ หนว่ ยงานดาเนนิ การ

ะเด็นการ - การดาเนินงานด้านการกีฬาได้รับการ สป. (กก.), กพล. (กก.),

ยวขอ้ ง ยกระดับการบรหิ ารจดั การ มกช. (กก.), กทท. (กก.),

พัฒนาฯ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความ ททท. (กก.), กกท. (กก.),

าจังหวัด เข้าใจและสามารถขับเคลื่อนได้อย่างมี มท., ศธ., สธ., กห., พม., อก.,

ประสิทธิภาพ พณ, คค., อว., ดศ., กทม.,

การเรยี น - มีแนวทาง นโยบาย และข้อเสนอแนะ สสว., BOI, สสปน., ธพว.,

๒ ช่ัวโมง ประกอบการบริหารจัดการการกีฬาทั้ง สภาหอการค้าฯ, ส.อ.ท.,

ระบบ รวมทั้งมีแนวทางและประเด็น สมาคมสันนิบาตเทศบาลฯ,

น า กี ฬ า การพฒั นาท่จี ะพฒั นาต่อไปในอนาคต สมาคม อบจ.ฯ, สมาคม อบต.ฯ,

- ส่งเสริมและพัฒนากีฬาในสถานการณ์ คกก.พาราลิมปกิ ฯ,

โ ร ค ติ ด ต่ อ อุ บั ติ ใ ห ม่ ไ ด้ อ ย่ า ง มี คกก.โอลมิ ปิคฯ,

ประสทิ ธิภาพ คกก.สเปเชียลโอลิมปิคฯ,

สมาคมกีฬาฯ,

สมาคมกีฬาแห่งจังหวดั

และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

๐๒ -

ประเด็นการพัฒนาที่ ๒ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการออกกาลงั กายและกีฬาเพ่อื มวลชน

แนวทางการพฒั นา ตัวอย่างโครงการ
เพอ่ื การขบั เคล่ือนสกู่ ารปฏิบัติ เช่น

๑. การสร้างการรับรู้ (๑) โครงการจัดทาสื่อทุกรูปแบบเพื่อส่งเสริม มีส่ือหลากหล

ความตระหนัก และ การออกกาลังกายและเล่นกีฬา “กีฬาสร้าง การส่งเสริมใ

ความต้องการ เพ่ือ คน คนสร้างชาติ เพ่ือให้ประชาชนรับรู้ถึง เล่นกีฬาในท

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ประโยชน์ของการออกกาลังกายและการ กลุ่มรับรู้ถึงป

พัฒนาการออกกาลัง- เลน่ กีฬา และการเลน่ ก

ก า ย แ ล ะ กี ฬ า เ พื่ อ (๒) โครงการส่งเสริมการออกกาลังกายและ - มเี จ้าหน้า

มวลชนให้เป็นวถิ ีชวี ิต กีฬาเพอื่ มวลชน และศักยภ

(กรมพลศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กายและเล

ประชุมเพื่อจัดทาแผนและวางระบบการ - มีแผนและ

ส่งเสรมิ การออกกาลงั กายและเลน่ กฬี า) กายและเล

- มกี ารจดั ก

และเลน่ ก

(๓) โครงการก้าวท้าใจ (โดยให้ผู้ท่ีเข้าโครงการ มีประชาชนเ

เก็บข้อมูลการออกกาลังกาย เพื่อรับ ออกกาลงั กาย

ประกาศนียบัตร และสะสมคะแนนเพื่อ

แลกของรางวัล กรมอนามัยเร่ิมดาเนินงาน

คร้ังแรกปี ๒๕๖๒ และดาเนินการล่าสุด

เป็น Season ท่ี ๓ ในปี ๒๕๖๔)

- ๑๐

(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

นให้เป็นวิถชี วี ิต

ผลผลติ ผลลัพธ์ หน่วยงาน
ดาเนนิ การ

ลายรูปแบบที่นาเสนอเน้ือหาใน ประชาชนทั่วประเทศรับรู้ว่า กพล. (กก.),

ให้ประชาชนออกกาลังกายและ การออกกาลังกายและการเล่น มกช. (กก.),

ทุกช่องทาง เพื่อให้ประชาชนทุก กีฬาส่งผลดีต่อการพัฒนา ทั้ง สธ., พม., อว.,

ประโยชน์ของการออกกาลังกาย ร่างกายและสมองของตนเอง กทม.

กฬี า (ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐) และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

าที่พลศึกษาท่ีมีความรวู้ ามสามารถ ประชาชนมีการออกกาลังกาย กพล. (กก.),

ภาพในการส่งเสริมการออกกาลัง- และเลน่ กีฬาอยา่ งสมา่ เสมอ อปท. (มท.)

ล่นกฬี าได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

ะระบบการสง่ เสรมิ การออกกาลงั -

ล่นกีฬา

กจิ กรรมสง่ เสริมการออกกาลังกาย

กีฬาในทกุ ท้องถ่ินทว่ั ประเทศ

เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมการ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ กอ. (สธ.)

ยและเล่นกีฬา ในการดูแลรักษาสุขภาพและมี และหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

การออกกาลังกายและเล่นกีฬา

อยา่ งสม่าเสมอ

๐๓ -

ประเดน็ การพฒั นาที่ ๒ : การส่งเสรมิ และพัฒนาการออกกาลงั กายและกีฬาเพื่อมวลชน

แนวทางการพัฒนา ตัวอยา่ งโครงการ
เพ่อื การขบั เคลื่อนสกู่ ารปฏบิ ัติ เชน่

๑. การสร้างการรับรู้ (๔) โครงการส่งเสริมการออกกาลังกายและเล่น - มีการส

ความตระหนัก และ กีฬาหมู่บ้าน ๑ ตาบล ๑ ชนิดกีฬา (One กฬี าทกุ

ความต้องการ เพื่อ Tambol One Sport: OTOS) - มีการส

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ อยา่ งน

พัฒนาการออกกาลัง- (๕) โครงการจัดการแข่งขันกีฬาประจาปี - มีการจ

ก า ย แ ล ะ กี ฬ า เ พ่ื อ ในทุกทอ้ งถนิ่ ทั่วประเทศ ๓ ชนิด

มวลชนให้เป็นวิถีชีวิต ปลี ะ ๑

(ต่อ) - มกี ารส

กีฬาอย

(๖) โครงการส่งเสริมการออกกาลังกาย เล่นกีฬา - มแี นวท

หรือการแข่งขันกีฬาในทุกโครงการ/กิจกรรม - มีการจ

ของทุกหน่วยงาน (Sport Every Event: กีฬา (S

SEE)

- ๑๐

(รา่ ง) แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น ให้เปน็ วถิ ชี ีวติ (ต่อ)

ผลผลติ ผลลพั ธ์ หน่วยงาน
ดาเนนิ การ

ส่งเสริมการออกกาลังกายและเล่น ประชาชนมีการออกกาลังกาย อปท. (มท.),

กหมบู่ ้านท่วั ประเทศ และเลน่ กีฬาเพ่มิ ขึ้น กพล. (กก.)

ส่งเสริมการเล่นกีฬาทุกหมู่บ้าน และหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง

น้อยหมบู่ า้ นละ 1 ชนิดกีฬา

จัดการแข่งขันกีฬา (อย่างน้อย ประชาชนมีการออกกาลังกาย กปท. (มท.),

ดกีฬา) ในทุกท้องถ่ินท่ัวประเทศ และเล่นกีฬาอย่างสมา่ เสมอ อปท. (มท.),

๑ ครง้ั และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

ส่งเสริมการออกกาลังกายและเล่น

ย่างนอ้ ย ๓ ชนดิ กฬี า

ทางการสง่ เสรมิ SEE ประชาชนมีการออกกาลังกาย สป. (กก.)

จัดกิจกรรมกีฬาและการแข่งขัน และเล่นกฬี าอยา่ งสมา่ เสมอ และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

SEE) ในทกุ หนว่ ยงาน

๐๔ -

ประเด็นการพฒั นาที่ ๒ : การส่งเสริมและพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาเพ่ือมวลชน

แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ ผลผลติ
เพอ่ื การขบั เคล่ือนสกู่ ารปฏบิ ัติ เชน่

๒. การสนับสนุนปจั จัย (๑) โครงการยกระดับลานกีฬาห้องถ่ิน มี ล า น กี ฬ า ห รื

เอื้อ เพื่อส่งเสริมและ จากพื้นที่สาธารณะที่มีศักยภาพ ออกกาลังกายแล

พัฒนาการออกกาลัง- ในพ้นื ที่ทกุ ชุมชน สาหรบั ประชาชนใน

ก า ย แ ล ะ กี ฬ า เ พื่ อ (๒) โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มการ - มีแพลตฟอร์มป

มวลชนใหเ้ ปน็ วถิ ชี วี ติ ประมวลผลข้อมูลกิจกรรมทางกาย ข้อมูลการออก

การออกกาลังกายและการเล่นกีฬา ท่ี เ ชื่ อ ม โ ย ง

ของประชาชน (CALORIES CREDIT การพัฒนา สุข

CHALLENGE) การออกกาลงั ก

- ประชาชนได้รับ

จากการเคล่ือน

ออกกาลังกาย

คะแนนจากจา

ที่สญู เสยี

- ๑๐

(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น ใหเ้ ป็นวิถชี ีวิต (ต่อ) หนว่ ยงาน
ดาเนินการ
ต ผลลัพธ์ อปท. (มท.)

อ ส ถ า น ที่ ประชาชนมกี ารออกกาลงั กายและเล่นกีฬาเพ่ิมขึ้น และหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
ล ะ เ ล่ น กี ฬ า
นทกุ หมู่บา้ น สป. (กก.),
ประมวลผล - ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพ ด้วยกิจกรรม กพล. (กก.),
กกาลังกาย ทางกาย การออกกาลังกาย และเล่นกีฬา มกช. (กก.)
กั บ ร ะ บ บ ทาให้มสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง ส่งผลให้มีจิตใจ
ขภ าพด้า น ท่ีเป็นสุข ผ่อนคลาย และสามารถใช้สติปัญญา และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
กาย ในทางสรา้ งสรรค์เพื่อการพฒั นาประเทศ
บสิทธิพิเศษ - ประชาชนมีความคล่องแคล่ว (Active) ลดการ
นไหวร่างกาย เกิดโรค NCDs และเมื่อร่างกายแข็งแรงก็เป็น
ย เพื่อสะสม การปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของ COVID-19
านวนแคลอร่ี - ความร่วมมือจากภาครัฐและภาคเอกชนในการ

สนับสนุนและจูงใจให้ประชาชนออกกาลังกาย
อย่างสม่าเสมอเพิม่ สูงขนึ้

๐๕ -

ประเด็นการพฒั นาท่ี ๒ : การสง่ เสริมและพัฒนาการออกกาลังกายและกีฬาเพ่ือมวลชน

แนวทางการพฒั นา ตัวอยา่ งโครงการ
เพือ่ การขับเคล่อื นส่กู ารปฏบิ ัติ เชน่

๒. การสนับสนนุ ปจั จยั (๓) โครงการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้าน - มีรายง

เอื้อ เพื่อส่งเสริมและ ความสนใจและต้องการของประชาชน ข้อมูลด

พัฒนาการออกกาลัง- ใ น แ ต่ ล ะ ช่ ว ง วั ย ร ว ม ทั้ ง ผู้ พิ ก า ร แ ล ะ ของปร

ก า ย แ ล ะ กี ฬ า เ พื่ อ ผู้ด้อยโอกาสในการออกกาลังกายและ ออกกา

มวลชนให้เป็นวิถีชีวิต การเล่นกีฬา (เพื่อให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง - มีแผนก

(ตอ่ ) นาไปกาหนดแผนส่งเสริมการออกกาลังกาย และเล

และเล่นกีฬาให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ความต

และทุกกล่มุ ) วยั และ

(๔) โครงการธนาคารอุปกรณ์กีฬา (ตามความ - มีการจ
สนใจของเด็กและเยาวชนในท้องถิ่น จัดให้มี อุปกรณ
อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกในการ จานวน
ออกกาลังกายและเล่นกีฬาที่เพียงพอใน - มีการจ
ชุมชน) ตามคว
ในทกุ ห

(๕) โครงการก่อสร้าง/พัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาประจา มีศูนย์ฝึกก

อาเภอให้มมี าตรฐาน ประจาอาเภ

- ๑๐

(ร่าง) แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

น ใหเ้ ปน็ วถิ ีชีวิต (ต่อ)

ผลผลติ ผลลพั ธ์ หน่วยงาน
ดาเนินการ

งานผลการศึกษาและวิเคราะห์ ประชาชนมีการออกกาลังกายและ กพล. (กก.),

ด้านความสนใจและต้องการ เล่นกีฬาตามความสนใจและ มกช. (กก.)

ระชาชนในแต่ละช่วงวัยในการ ความต้องการในแต่ละช่วงวัยและ และหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

าลงั กายและการเล่นกฬี า ทกุ กลุ่ม

การส่งเสริมการออกกาลังกาย

ล่นกีฬาได้ตามความสนใจและ

ต้องการของประชาชนทุกช่วง

ะทุกกล่มุ

จัดทามาตรฐานของธนาคาร เด็กและเยาวชนมีการออกกาลงั กาย อปท. (มท.),

ณ์กีฬา (รายการอุปกรณ์กีฬา และเล่นกฬี าเพ่มิ ขึน้ มกช. (กก.),

น และความเหมาะสม) กพล. (กก.),

จัดต้ังธนาคารอุปกรณ์กีฬา กกท. (กก.),

วามสนใจของเด็กและเยาวชน สพฐ. (ศธ.),

หมู่บ้าน กทม.

และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

กีฬาท่ีมีมาตรฐานตามท่ีกาหนด ประชาชนมีการออกกาลังกายและ อปท. (มท.)

ภอ ๑ แหง่ ต่ออาเภอ เล่นกีฬาเพม่ิ ขึ้น และหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

๐๖ -

ประเดน็ การพฒั นาที่ ๓ : การสง่ เสริมและพัฒนาการกีฬาเพอ่ื ความเปน็ เลศิ และกฬี าเพ

แนวทางการพฒั นา ตวั อย่างโครงการ
เพอ่ื การขบั เคลื่อนสกู่ ารปฏบิ ัติ เช่น

๑. การส่งเสริมความ (๑) โ ครงการรณ รงค์การสร้า ง - มีส่ือท่ีนาเสนอเน้ือห

ต้ อ ง ก า ร เ พ่ื อ ก า ร กระแสความตื่นตัวด้านกีฬา นักกีฬา เพ่ือความ

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ หลากหลายรูปแบบแ

พัฒนาการกีฬาเพ่ือ กิ จ ก ร ร ม ก า ร กี ฬ า ร ว ม ถึ ง - มีช่องทีวีกีฬา ซึ่งด

ความเป็นเลิศและ เส้นทางความสาเร็จของนักกฬี า ภาพลักษณ์กระแส

กฬี าเพือ่ การอาชีพ ถา่ ยทอดสด

- มี Career Path ขอ

การเผยแพร่ผ่านทีว

ต่าง ๆ ส่ือวิทยุ ส

กลมุ่ เป้าหมายเปน็ ผทู้

(๒) โครงการสรรหาและคัดเลือก - มีนักกฬี าเขา้ ร่วมการ

นักกีฬาเป็นเลิศเข้าสู่การเป็น - มีนกั กีฬาเขา้ ร่วมการ

นักกฬี าทีมชาติ - มนี ักกฬี าเข้ารว่ มการ

(๓) โครงการเตรียมและพัฒนา มนี ักกฬี าท่ีมศี ักยภาพสงู
นั ก กี ฬ า เ พ่ื อ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
ศักยภาพสงู (Sports Hero)

-๑

(รา่ ง) แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

พือ่ การอาชีพ

ผลผลติ ผลลัพธ์ หน่วยงาน
ดาเนินการ

หาการสร้างความต้องการในการเป็น นั ก กี ฬ า ห น้ า ใ ห ม่ แ ล ะ กกท. (กก.)

มเป็นเลิศทางกีฬาและกีฬาอาชีพ นั ก กี ฬ า อ า ชี พ มี จ า น ว น และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

และทกุ ช่องทาง เพิ่มขึ้น

ดาเนินการเผยแพร่รายการที่สร้าง

สความนิยมกีฬาอาชีพ และรายการ

องนักกีฬารายชนิดกีฬา และได้รับ

วีกีฬา (T-Sports) สื่อสังคมออนไลน์

สื่อโทรทัศน์ และส่ือส่ิงพิมพ์ ท่ีมี

ที่สนใจดา้ นกฬี า

รแข่งขันกฬี าเยาวชนแหง่ ชาติ นั ก กี ฬ า ห น้ า ใ ห ม่ ไ ด้ รั บ กกท. (กก.)

รแข่งขันกีฬาแหง่ ชาติ การพัฒนาสู่การเป็นนักกีฬา และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

รแขง่ ขนั กฬี าอาวุโสแหง่ ชาติ ที ม ช า ติ เ พ่ิ ม ขึ้ น อ ย่ า ง

ต่อเน่อื ง

งตามเกณฑท์ ี่กาหนด นั ก กี ฬ า ห น้ า ใ ห ม่ ไ ด้ รั บ กกท. (กก.)

ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น นั ก กี ฬ า และหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

ทมี ชาติ

๑๐๗ -

ประเด็นการพฒั นาท่ี ๓ : การสง่ เสรมิ และพัฒนาการกีฬาเพอ่ื ความเปน็ เลศิ และกีฬาเพ

แนวทางการพัฒนา ตัวอย่างโครงการ ผลผล
เพอ่ื การขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ เช่น

๑. การส่งเสริมความ (๔) โครงการพัฒนากีฬาอาชีพอย่าง มีการส่งเสริมและพัฒ

ต้ อ ง ก า ร เ พื่ อ ก า ร เปน็ ระบบ เป็นระบบ

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ

พัฒนาการกีฬาเพื่อ

ความเป็นเลิศและ (๕) โครงการส่งนักกีฬาเข้าร่วมการ - มีนักกีฬาและนักกีฬ

กีฬาเพ่ือการอาชีพ แข่งขันและการเสนอตัวเป็น การแข่งขันกีฬาเพ่ือ

(ต่อ) เจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬา นานาชาติ

ระดับนานาชาติ - มกี ารเสนอตวั เป็นเจ

กฬี าระดับนานาชาต

(๖) โครงการจัดการแข่งขันกีฬา - มีการจัดการแข่งข

อ า ชี พ ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ ใ น นานาชาตใิ นประเทศ

ประเทศไทย - มีนักกีฬาอาชีพเข้าร

อาชีพระดบั นานาชา

- ๑๐

(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

พ่ือการอาชีพ (ต่อ)

ลติ ผลลัพธ์ หนว่ ยงาน
ดาเนินการ

ฒนากีฬาอาชีพอย่าง - กีฬาอาชีพมีการเติบโตและผลงานท้ัง กกท. (กก.)

ระดับชาติและนานาชาติตามเป้าหมายที่ และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

กาหนด

- นกั กฬี าอาชีพมีจานวนเพมิ่ ข้นึ อย่างต่อเนอื่ ง

ฬาทีมชาติได้เข้าร่วม - นักกีฬามีผลงานจากการแข่งขนั เพิ่มข้นึ กกท. (กก.)

อความเป็นเลิศระดับ - ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการจัดการ และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

แขง่ ขันกีฬาระดบั นานาชาติ

จ้าภาพจดั การแข่งขัน

ติ

ขันกีฬาอาชีพระดับ - นกั กีฬามีผลงานจากการแข่งขนั เพิ่มข้ึน กกท. (กก.)

ศไทย - กีฬาอาชีพมีการเติบโตและผลงานท้ัง และหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง

ร่วมการแข่งขันกีฬา ระดับชาติและนานาชาติตามเป้าหมายที่

าติ กาหนด

- นักกฬี าอาชีพมีจานวนเพ่ิมขน้ึ อย่างต่อเน่ือง

๐๘ -

ประเด็นการพฒั นาท่ี ๓ : การส่งเสริมและพัฒนาการกฬี าเพือ่ ความเปน็ เลิศและกีฬาเพ

แนวทางการพฒั นา ตัวอย่างโครงการ ผลผ
เพอื่ การขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ เชน่

๑. การส่งเสริมความ (๗) โครงการกีฬามหาวิทยาลัยแห่ง มนี สิ ติ นักศกึ ษา เข้ารว่ ม

ต้ อ ง ก า ร เ พ่ื อ ก า ร ประเทศไทย

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ

พัฒนาการกีฬาเพ่ือ

ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ แ ล ะ

กีฬาเพื่อการอาชีพ

(ตอ่ ) (๘) โครงการจัดทาหลักสูตรเฉพาะ มีหลักสูตรเฉพาะทา

ทางสาหรับผู้ที่ต้องการหรือมี หรือมีศักยภ าพที่จ ะ

ศักยภาพทีจ่ ะพัฒนาเป็นนกั กฬี า ในสถานศึกษาต้ังแต่ระ

อดุ มศกึ ษา

(๙) โครงการสานฝนั ฮโี ร่ - มคี นพกิ ารทัว่ ประเทศ

- มภี าครฐั และภาคเอกช

- ๑๐

(ร่าง) แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐)

พื่อการอาชีพ (ต่อ) หนว่ ยงาน
ดาเนินการ
ผลติ ผลลพั ธ์ กกมท. (อว.)

มกิจกรรมด้านกฬี า - นิสิต นักศึกษา มีทักษะด้านกีฬา และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา
และมีความรับผิดช อบต่อสังคม มกช. (กก.)
(ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐)
และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
- นิสิ ต นั กศึ ก ษ า ส า ม า รถ พั ฒ น า
ความสามารถจนเป็นนกั กฬี าทีมชาติ

างสาหรับผู้ที่ต้องการ นักกีฬาผ่านการเรียนในหลักสูตรเฉพาะ
ะพัฒนาเป็นนักกีฬ า ทาง
ะดับประถมศึกษาจนถึง

ศเขา้ รว่ มโครงการ - คนพิการสามารถพัฒนาความสามารถ คณะกรรมการ
ชนรว่ มให้การสนับสนุน จนเป็นนกั กฬี าทมี ชาติ พาราลมิ ปิก
แหง่ ประเทศไทย

และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

๐๙ -

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๓ : การสง่ เสริมและพัฒนาการกฬี าเพือ่ ความเปน็ เลศิ และกีฬาเพ

แนวทางการพฒั นา ตวั อยา่ งโครงการ ผลผ
เพือ่ การขับเคล่อื นสู่การปฏบิ ัติ เชน่

๒. ก า ร ส นั บส นุ น (๑) โครงการสร้างและพัฒนาศูนย์- มี ศู น ย์ ฝึ ก กี ฬ า ข อ ง

ปัจจัยเอื้อเพ่ือการ ฝึกกีฬาใหม้ ีมาตรฐานสากล มาตรฐานสากล

ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ

พัฒนาการกีฬาเพ่ือ (๒) โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ศู น ย์ - - มีศูนย์วิทยาศาสตร

ความเป็นเลิศและ วิทยาศาสตร์การกีฬาให้มี ระดบั อาเซียน

กฬี าเพือ่ การอาชพี มาตรฐานในระดับอาเซยี น - องค์ประกอบของศูน

มมี าตรฐานในระดบั อ

(๓) โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์- มีศูนย์วิทยาศาสตร์ก

วิทยาศาสตร์การกีฬาในระดับ จงั หวดั

ภาค/จงั หวดั

(๔) โครงการพัฒนามาตรฐานการ มีชนิดกีฬาที่ได้รับการพ
เ ก็ บ ตั ว ฝึ ก ซ้ อ ม แ ข่ ง ขั น ใ น ตัวฝึกซ้อมแข่งขันในรูป
รู ป แ บ บ ศู น ย์ ฝึ ก กี ฬ า ที่ ไ ด้ มาตรฐานทกี่ าหนด
มาตรฐานรายชนดิ กฬี า

- ๑๑


Click to View FlipBook Version