เอกสารประกอบการสอนรายวิชาภาษาไทย
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓
สณั ห์พงษ์ ศรีหะรญั
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา
ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
ก
คานา
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผู้เขียนได้เรียบเรียงเน้ือหาสาระ
การสอนเร่ืองต่าง ๆ ไว้เป็นหน่วยการเรียนรู้ ๔ หน่วยการเรียนรู้ คือ หน่วยที่ ๑ เรียนรู้ภาษา หน่วยท่ี ๒
พัฒนาการอ่าน หน่วยที่ ๓ ฝึกวิเคราะห์วิจารณ์ และหน่วยท่ี ๔ สื่อสารสัมฤทธ์ิ ซ่ึงมีเน้ือหาครอบคลุมตัวช้ีวัด
สาระรายวชิ าในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เอกสารประกอบการสอนน้ี มีเน้อื หาเร่ืองเก่ยี วกับหลักการใช้ภาษา การฟัง ดู และพูด การเขียน และ
วรรณคดี ที่นักเรยี นตอ้ งเรียนในชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓
ผู้เขียนหวังว่าเอกสารประกอบการสอนนี้คงมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนตามสมควร หากท่านท่ี
นาไปใช้มขี ้อเสนอแนะใด ๆ กรณุ าเขียนใหผ้ เู้ ขยี นทราบด้วย ผู้เขยี นยินดรี ับฟงั ข้อคดิ เหน็ ต่าง ๆ และขอบคณุ มา
ณ โอกาสนดี้ ว้ ย
สณั หพ์ งษ์ ศรีหะรัญ
สารบัญ ข
คานา ก
สารบญั ข
หนว่ ยที่ ๑ เรยี นรภู้ าษา ๑
๑
การจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง คำยมื ภำษำตำ่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภำษำไทย ๑
สาเหตขุ องคาภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในประเทศไทย ๒
ลักษณะคาไทยแท้ ๔
คายืมท่ีมาจากภาษาอังกฤษ ๕
คายืมที่มาจากภาษาจีน ๖
คายมื ท่ีมาจากภาษาเขมร ๗
คายมื ท่ีมาจากภาษาชวาและมลายู ๘
คำยมื ท่ีมำจำกภำษำบำลี สันสกฤต
๑๑
การจดั การเรยี นรู้ เร่อื ง วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคซับซ้อน ๑๑
ส่วนประกอบของประโยค ๑๒
ประโยคความเดียว ๑๓
ประโยคความเดียวท่ีซบั ซ้อน ๑๔
ประโยคความรวม ๑๕
ประโยคความรวมท่ีซบั ซ้อน ๑๗
ประโยคความซ้อน ๑๘
ประโยคความซ้อนที่ซับซ้อน
๒๐
กำรจดั กำรเรยี นรู้ เรอื่ ง วเิ ครำะห์ระดบั ภำษำ ๒๐
ความหมายของระดับภาษา ๒๐
ระดับของภาษา
๒๓
หนว่ ยท่ี ๒ พฒั นาการอ่าน ๒๓
การจดั กำรเรียนรู้ เร่ือง กำรอ่ำนออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๒๓
ควำมหมำยของกำรอำ่ น ๒๓
ระดับของกำรอำ่ น ๒๓
จุดประสงค์ของกำรอ่ำน ๒๔
ประเภทของกำรอ่ำน ๒๔
มำรยำทในกำรอ่ำนออกเสียง ๒๔
กำรอ่ำนออกเสยี งร้อยแกว้ ๒๕
การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง
ค
แนวทำงกำรอ่ำนกลอนสภุ ำพ ๒๖
กำรจดั กำรเรียนรูเ้ รอื่ งกำรวิเครำะห์คำทม่ี คี วำมหมำยโดยตรงและโดยนัย ๒๗
ความหมาย ๒๗
ตวั อยา่ งความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ๒๗
กำรจดั กำรเรยี นรู้ เร่ือง กำรอำ่ นจับใจควำมสำคญั ๒๙
ความหมายของการอา่ นจับใจความสาคญั ๒๙
หลกั การอา่ นจับใจความสาคัญ ๒๙
วิธีจบั ใจความสาคัญ ๒๙
กำรจดั การเรียนรู้ เร่อื ง การเขียนแผนผังความคดิ ๓๒
ความหมายของแผนผังความคิด ๓๒
ข้นั ตอนการสร้างแผนผังภาพความคิด ๓๒
รูปแบบของแผนผังความคิด ๓๓
การจดั การเรยี นร้เู รอื่ งการวเิ คราะห์ วิจารณแ์ ละประเมนิ บทละครพดู เร่อื ง เห็นแกล่ กู ๓๖
ประวตั ผิ แู้ ตง่ ๓๖
สาระนา่ รู้ เกี่ยวกับบทละครพูด ๓๖
แนวทางในการพจิ ารณาวรรณกรรม ๓๖
การจดั การเรียนรู้ เร่ือง พระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณีหนนี างผเี สื้อสมุทร และวรรณกรรม ๓๘
ท้องถิ่นเร่ืองปลาบู่ทอง
ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน ๓๘
วรรณกรรมท้องถ่ินเรื่อง ปลาบู่ทอง ๔๐
วรรณคดีเร่ือง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผีเสอื้ สมุทร ๔๑
การจดั การเรียนรู้ เรื่อง วเิ คราะหโ์ วหารการเขียน ๔๓
บรรยายโวหาร ๔๓
พรรณนาโวหาร ๔๔
เทศนาโวหาร ๔๖
สาธกโวหาร ๔๗
อุปมาโวหาร ๔๘
การจดั การเรยี นรู้ เร่อื ง วเิ คราะห์ภาพพจน์ ๔๙
ความหมายของภาพพจน์ ๔๙
อปุ มา ๕๐
อปุ ลกั ษณ์ ๕๑
อตพิ จน์ หรอื อธิพจน์ ๕๒
ง
สทั พจน์ ๕๔
สญั ลกั ษณ์ ๕๕
บุคลาธิษฐาน ๕๖
การจดั การเรียนรู้ เรื่อง รสวรรณคดี ๕๖
ความหมาย ๕๖
เสาวรจนี ๕๖
นารีปราโมทย์ ๕๗
พิโรธวาทงั ๕๗
สัลลาปังคพิสยั ๕๘
หนว่ ยที่ ๓ ฝกึ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ ๕๙
การจัดการเรียนการสอน เรอ่ื ง การฟังและการดู เพอื่ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความ ๕๙
คดิ เห็นและประเมนิ เรอื่ ง ๕๙
ความหมายของการฟังและการดู ๕๙
ความสาคญั ของการฟงั และการดู ๖๐
ประเภทของสารที่ฟงั และดู ๖๐
การวเิ คราะห์และประเมนิ ค่าสารจากการฟงั และการดู ๖๐
การประเมนิ ผลการรับสาร ๖๑
มารยาทในการฟังและการดู ๖๑
ประเภทของการฟังและการดู ๖๒
การพูดวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ๖๒
ขอ้ ควรปฏบิ ัติในการพูดวเิ คราะห์และวจิ ารณ์ที่ดี
การจดั การเรยี นการสอน เรอื่ ง การพูดรายงานเร่อื งหรือประเดน็ ท่ศี ึกษาค้นควา้ จากการฟัง ๖๓
การดู
ขนั้ ตอนในการพดู รายงาน ๖๓
การจดั การเรียนการสอน เรอื่ ง การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ๖๓
องค์ประกอบของการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ๖๓
แนวเน้อื หาของการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ๖๔
การจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง การพดู โนม้ น้าวใจ ๖๘
ความหมายของการพูดโน้มน้าวใจ ๖๘
จดุ มุ่งหมายของการพดู โน้มน้าวใจ ๖๘
กลวธิ ีการโน้มน้าวใจ ๖๙
การโน้มนา้ วใจจะประสบความสาเรจ็ ตอ้ งประกอบด้วยสิง่ ต่าง ๆ ๖๙
ขอ้ พึงระวงั ในการโน้มน้าวใจ ๖๙
ภาษาเพ่ือการโนม้ นา้ วใจ จ
วธิ กี ารพดู เพื่อโน้มน้าวใจ
ข้นั ตอนการเตรียมการพดู เพ่ือโน้มน้าวใจ ๖๙
๗๐
การจัดการเรยี นการสอนวรรณคดี เรอื่ ง อศิ รญาณภาษิต ๗๐
ประวัตผิ ้แู ต่ง
ลกั ษณะคาประพันธ์ ๗๐
จดุ มุ่งหมายในการแต่ง ๗๐
เนื้อเรอื่ ง ๗๑
การแปลเน้ือความ ๗๑
๗๑
หน่วยที่ ๔ สื่อสารสมั ฤทธิ์ ๗๑
การจัดการเรียนการสอน เรอ่ื ง การคัดลายมอื
ความหมายการเขียนคัดลายมือ ๘๓
หลักการคดั ลายมือ ๘๓
รูปแบบตัวอกั ษรภาษาไทย ๘๓
๘๓
การจดั การเรยี นการสอน เรอ่ื ง การเขียนตามสถานการณ์และโอกาสต่าง ๆ ๘๔
การเขยี นคาคม
การเขยี นคาขวัญ ๘๗
การเขยี นอวยพร ๘๗
๘๘
การจัดการเรยี นการสอน เรอ่ื ง การเขียนชีวประวตั ิ ๘๘
ความหมายของชวี ประวัติ ๘๙
ลักษณะของชวี ประวัติที่ดี ๘๙
มารยาทในการเขยี นชีวประวัตทิ ี่ดี ๙๐
ตัวอย่างการเขยี นประวตั ิบุคคลสาคัญ ๙๐
๙๐
การจดั การเรียนการสอน เรอื่ ง การเขยี นย่อความ
ความหมายของการเขียนย่อความ ๙๑
ส่วนประกอบของย่อความ ๙๑
หลักในการเขียนยอ่ ความ ๙๑
ประโยชน์ของการยอ่ ความ ๙๑
รปู แบบการเขยี นขนึ้ ต้นย่อความสาหรับงานเขียนประเภทต่าง ๆ ๙๒
ตัวอย่างนทิ านทีร่ ่วมกนั อภปิ ราย ๙๒
๙๗
การจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง การเขียนจดหมายกจิ ธุระ
หลักการเขยี นจดหมายกิจธุระ ๙๙
ประเภทของจดหมายกิจธรุ ะ ๙๙
๙๙
ฉ
องคป์ ระกอบของจดหมายกจิ ธรุ ะ ๑๐๐
ลกั ษณะของการเขยี นจดหมายกิจธรุ ะทด่ี ี ๑๐๑
ตวั อยา่ งการเขียนจดหมายกิจธรุ ะ ๑๐๒
การจดั การเรียนการสอน เรอ่ื ง การเขยี นอธิบาย ช้แี จง โตแ้ ย้ง แสดงความคิดเหน็ ๑๐๕
อยา่ งมเี หตุมีผล
๑๐๕
การเขยี นอธิบาย ๑๐๗
การเขียนชแี้ จง ๑๐๗
การเขยี นโตแ้ ย้ง
การจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง การเขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เห็น ๑๐๙
และโตแ้ ยง้ อยา่ งมเี หตุผล
๑๐๙
การเขียนวิเคราะหว์ ิจารณ์ ๑๑๐
การเขียนแสดงความคิดเห็น ๑๑๑
การเขียนโตแ้ ยง้
การจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง การเขยี นรายงานการศกึ ษาค้นคว้า ๑๑๑
ความหมายของรายงาน ๑๑๑
ประเภทของรายงาน ๑๑๒
องค์ประกอบของรายงาน ๑๑๖
๑๑๙
บรรณานกุ รม
๑
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑
เรยี นรู้ภาษา
๑. การจัดการเรียนรู้ เร่ือง คำยืมภำษำต่ำงประเทศท่ีใช้ในภำษำไทย
คายืมทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ คอื ภาษาทีม่ ีใช้ปะปนในภาษาไทย มีท้ัง ภาษาบาลี-สนั สกฤต ภาษาเขมร
ภาษาจีน ภาษาชวา-มลายู ภาษาอังกฤษ สาเหตุที่ต้องยืมมาน้ันเพราะว่าคาท่ีมีใช้ในภาษาไทยไม่เพียงพอต่อ
การส่ือสาร จนทาให้เกิดการรับคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย นักเรียนจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ลักษณะ
ท่ัวไปของคาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ เพ่ือให้เข้าใจลักษณะของคาที่แตกต่างไปจากคาไทยแท้ รวมท้ัง
สามารถนาไปใชใ้ นการสือ่ สารไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
๑.๑ สาเหตขุ องคาภาษาต่างประเทศเขา้ มาปะปนในประเทศไทย
๑.๑ ความสัมพนั ธก์ ันทางเช้ือชาตแิ ละถิ่นที่อย่อู าศัยตามสภาพภูมศิ าสตร์
ประเทศไทยมี อาณาเขตติดตอ่ หรอื ใกล้เคียงกันกบั มติ รประเทศกับประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ
ได้แก่ พม่า ลาว มาเลเซีย เขมร มอญ ญวน จึงทาให้คนไทยท่ีอยู่อาศัยบริเวณชายแดนเกี่ยวพันกับชนชาติ
ตา่ ง ๆ โดยปริยาย มีการเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่ซึง่ กันและกัน มีการแต่งงานกันเป็นญาติกนั จึงเปน็ สาเหตุ
สาคัญให้ภาษาของประเทศเหล่านน้ั เข้ามาปะปนอย่ใู นภาษาไทย
๑.๒ ความสมั พันธก์ ันทางดา้ นประวตั ิศาสตร์
ชนชาติไทยเป็นชนชาติท่ีมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีการอพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่
ในถิ่น ซ่ึงชนชาติอ่ืนเคยอาศัยอยู่ก่อนหรือมีการทาศึกสงครามกับชนชาติอ่ืน มีการกวาดต้อนชนชาติอื่น
เขา้ มาเปน็ เชลยศึก หรอื ชนชาตอิ ่ืนอพยพเขา้ มาอยู่ ในแผน่ ดนิ ไทยดว้ ยเหตุผล ตา่ ง ๆ และอาจจะกลายเป็นคน
ไทยในท่ีสุด ผลท่ตี ามมาก็คือคนเหล่านั้น ได้นาถ้อยคาภาษาเดิมของตนเองมาใช้ปะปนกบั ภาษาไทย
๑.๓ ความสมั พนั ธ์กันทางดา้ นการค้า
จากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้ากับชน
ชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญ่ีปุ่น
ยิ่งปัจจุบันการค้าขายระหว่างประเทศมีความสาคัญมากข้ึน มีการใช้ภาษา-ต่างประเทศในวงการธุรกิจการค้า
มากขน้ึ คาภาษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยได้ตลอดเวลาไมม่ วี ันสิน้ สุด
๑.๔ ความสัมพนั ธ์ทางดา้ นศาสนา
คนไทยมีเสรีภาพในการยอมรับนับถือศาสนามาเป็นเวลาช้านาน เม่ือยอมรับนับถือศาสนาใดก็
ย่อมได้รับถ้อยคาภาษาท่ีใช้ในคาสอน หรือคาเรียกช่ือต่าง ๆ ในทางศาสนาของศาสนาน้ัน ๆ มาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทยด้วย เช่น ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษาสนั สกฤต ศาสนาพทุ ธใช้ภาษาบาลี ศาสนาอสิ ลามใช้ภาษาอาหรับ
และศาสนาคริสต์ใช้ภาษาองั กฤษ ดังนัน้ ภาษาตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในทางศาสนากจ็ ะเข้ามาปะปนในภาษาไทยดว้ ย
๒
๑.๕ ความสัมพนั ธ์ทางดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี
เมื่อชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับชนชาติไทย หรือเข้ามาต้ังหลักแหล่งอยู่ในประเทศ
ไทย ย่อมนาเอาวัฒนธรรมและประเพณีท่ีเคยยึดถือปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติใน
สังคมไทยนาน ๆ เข้าถ้อยคาภาษาที่เก่ียวข้องกบั วัฒนธรรมและประเพณีเหล่าน้นั ก็กลายมาเป็นถอ้ ยคาภาษาที่
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของคนไทยมากขึ้น จนถึงปจั จุบัน การหยิบยืมคาจากภาษาอ่ืนมาใช้ในการส่ือสารยัง
ไมม่ ีวนั ส้ินสดุ ตราบใดทเ่ี รายังติดตอ่ สมั พนั ธ์ กับชาวต่างชาติ การหยิบยืมภาษาตา่ งประเทศมาใช้ในการสอื่ สาร
จะต้องคงมีตลอดไป ภาษาไทยหยิบยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาใช้ในการติดต่อส่ือสาร
ท้ังในส่วนของรูปคาและวิธีการสร้างคาใหม่จานวนมากมาย เป็นเวลายาวนานจนคนไทยส่วนใหญ่ไม่ค่อยมี
ความรู้สึกว่าเป็นคาที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลในการติดต่อส่ือสารจึงเป็น
ภาษา ตา่ งประเทศทเี่ ขา้ มามี อิทธพิ ลต่อคนไทยมากทสี่ ุด
๑.๒ ลักษณะคาไทยแท้
“คาไทยแท้” เป็นคาดั้งเดิมที่มีใช้อยู่ในภาษาไทย หลายคนอาจจะสับสนกับคาภาษาไทยที่ยืมมาจาก
ภาษาต่างประเทศ และใช้ปะปนจนแยกไม่ออก เช่น สันสกฤต คาว่า บริษัท โฆษณา ประกาศ ภรรยา แพทย์
หรือ จีน คาว่าก๋วยเต๋ียว ซาลาเปา เต้าฮวย บะหม่ี ล้ินจ่ี เป็นต้น ดังน้ันวันนี้เรามาติดตามกันว่า คาไทยแท้มี
หลกั ในการสังเกตทที่ าใหส้ ามารถแยกแยะวิเคราะห์ได้วา่ คาน้เี ปน็ ไทยแท้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1.๒.๑ คำไทยแท้ส่วนมำกเป็นคำพยำงค์เดียว เรียกว่ำเป็น ภำษำคำโดด แต่ละคำมีควำมหมำย
สมบูรณ์ในตัวเอง เช่น ปู่ ย่ำ แขน ขำ หมำ แมว ฟ้ำ ฝน มีด ตู้ ฯลฯ ส่วนคำไทยแท้ที่มีหลำยพยำงค์ เช่น
มะพร้ำว กระโจน สะใภ้ ตะวัน มีสำเหตุดงั น้ี
๑.๒.1.๑ กำรกร่อนเสียง คือ คำ 2 คำ เม่อื พูดเร็ว ๆ ทำให้ออกเสียงคำแรกสน้ั ลงกลำยเป็นคำ
2 พยำงค์ เชน่
ตำวัน เป็น ตะวัน หมำกม่วง เปน็ มะม่วง
สำยดอื เปน็ สะดือ ตำปู เปน็ ตะปู
หมำกตมู เปน็ มะตมู หมำกขำม เป็น มะขำม
๑.๒.1.๒ กำรแทรกเสียง คอื กำรเติมพยำงคล์ งไปตรงกลำงระหวำ่ งคำ 2 คำ เช่น
นกจอก เปน็ นกกระจอก ลกู เดอื ก เปน็ ลูกกระเดอื ก
ลกู ดุม เป็น ลกู กระดมุ ผักถนิ เป็น ผักกระถนิ
ลกู ตำ เปน็ ลกู กะตำ ลกู ท้อน เป็น ลกู กระท้อน
๑.๒.1.๓ กำรเติมพยำงค์หน้ำ คือ กำรเติมพยำงค์ที่หน้ำคำมูลโดยให้มีควำมหมำยใกล้เคียงกัน
เชน่
ทำ เปน็ กระทำ โจน เปน็ กระโจน
เดย๋ี ว เป็น ประเดยี๋ ว ทว้ ง เป็น ประท้วง
จุ๋มจ๋ิม เปน็ กระจ๋มุ กระจ๋ิม โดด เปน็ กระโดด
๓
1.๒.๒ คำไทยแทเ้ ปน็ คำทม่ี ตี ัวสะกดเดยี ว ไม่มตี ัวตำมและสะกดตรงตำมมำตรำ คอื
แมก่ ก สะกดดว้ ยตัว ก เชน่ กัก เดก็ ลกู จอก
แม่กง สะกดดว้ ยตัว ง เชน่ เก่ง น่ัง พิง ถัง
แมก่ ด สะกดดว้ ยตัว ด เชน่ กด ปิด อวด ปดู
แมก่ น สะกดด้วยตวั น เชน่ กิน นอน ฉนุ เห็น
แม่กบ สะกดด้วยตวั บ เชน่ กับ แคบ จบ ซบู
แม่กม สะกดดว้ ยตัว ม เชน่ ชำม หอม ดื่ม ต่มุ
แม่เกอว สะกดดว้ ยตวั ว เชน่ แมว หิว ข้ำว หนำว
แมเ่ กย สะกดด้วยตวั ย เชน่ คอย ขำย ป๋ยุ ตำย
1.๒.๓ คำไทยแท้จะไม่ใช้พยญั ชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ
ยกเว้นบำงคำต่อไปนี้ที่เป็นคำไทย ได้แก่ ฆ่ำ เฆี่ยน ระฆัง ฆอ้ ง ตะเฆ่ ใหญ่ หญำ้ เฒ่ำ ณ
ธ ธง เธอ สำเภำ ภำย เศรำ้ ศึก ศอก ศอ ศก
1.๒.๔ คำไทยจะใช้ “ใ” (ไมม้ ้วน) มี 20 คำ คอื
ผู้ใหญห่ ำผำ้ ใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
ใฝ่ใจเอำใส่หอ่ มิหลงใหลใครขอดู
จะใคร่ลงเรอื ใบ ดนู ำ้ ใสและปลำปู
สง่ิ ใดอยู่ในตู้ มใิ ช่อยู่ใตต้ งั่ เตยี ง
บ้ำใบถ้ ือใยบัว หูตำมัวมำใกล้เคียง
เลำ่ ทอ่ งอย่ำละเลย่ี ง ย่สี บิ ม้วนจำจงดี
1.๒.๕ คำไทยจะมรี ูปวรรณยุกต์กำกบั ทำใหอ้ อกเสียงต่ำงกนั มีควำมหมำยต่ำงกนั เชน่
ปำ หมำยถึง ซดั ไปดว้ ยอำกำรยกแขนขึน้ สงู แลว้ เอ้ยี วตัว
ปำ่ หมำยถึง ที่ทม่ี ตี น้ ไม้ต่ำง ๆ ขึ้นมำ
ปำ้ หมำยถงึ พสี่ ำวของพ่อหรือแม่ คำเรยี กหญิงท่ไี ม่รูจ้ ักแต่มักมีอำยแุ ก่กวำ่ พ่อหรือแม่
1.๒.๖ คำไทยไมน่ ยิ มใชต้ วั กำรนั ต์และคำควบกลำ เชน่ คำว่ำ เด็ก ว่งิ เลน่ ใน สวน แมว
๑.๓ คายมื ทีม่ าจากภาษาองั กฤษ
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน มีวิภัตติปัจจัย เช่นเดียวกับภาษาบาลี-สันสกฤต
ภาษาอังกฤษได้รับความนิยมใช้เป็นภาษาเพื่อการส่ือสารมากที่สุด มีประเทศต่าง ๆ ยอมรับภาษาอังกฤษเป็น
ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษจึงกลาย เปน็ ภาษาสากลของชาวโลก คำทีย่ ืมมำจำกภำษำองั กฤษ เกิดขน้ึ เนอ่ื งจำก
กำรเข้ำมำของชำติตะวันตก โดยเฉพำะอังกฤษที่เริ่มเข้ำมำแสวงหำอำณำนิคมในทวีปเอเชีย ในช่วงเวลำ
เดยี วกันอังกฤษได้พยำยำมเข้ำมำเจรจำทำงกำรค้ำกับไทยจนเกิดสนธิสัญญำทำงกำรค้ำฉบับแรกข้นึ ในรัชกำลที่
๓ เวลำนั้นกลุ่มชนชั้นผู้นำของไทยต่ำงเห็นควำมสำคัญของภำษำอังกฤษ จึงเริ่มมีกำรเรียนภำษำอังกฤษและมี
กำรนำคำภำษำอังกฤษมำใช้ทับศัพท์ในคำท่ีภำษำไทยไม่มีใช้ ทำให้เกิดกำรยืมคำภำษำอังกฤษเป็นคร้ังแรกคน
ไทยได้ศึกษาภาษาอังกฤษเป็นภาษาทสี่ องมาเปน็ เวลานาน จนภาษาองั กฤษเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตของคนไทย
๔
มากข้ึน ทัง้ ในด้านการพูดและการเขียนส่ือสารในชวี ิตประจาวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันคนไทยศึกษาความรู้และ
วิทยาการต่าง ๆ จากตาราภาษาอังกฤษ และสนใจเรียนรู้ภาษาอังกฤษกันมากข้ึน คายืมจากภาษาอังกฤษจึง
หล่ังไหลเข้ามาในภาษาไทยมากข้นึ ทุกขณะทัง้ ในวงการศกึ ษา ธรุ กิจ การเมอื ง การบนั เทิง เปน็ ตน้
๑.๒.๑ หลักการสังเกตคายมื ท่ีมาจากภาษาองั กฤษ
๑.๒.๑.๑ ส่วนใหญ่เป็นคำหลำยพยำงค์ เมื่อนำมำใช้ทำให้ภำษำไทยมีคำหลำยพยำงค์เพ่ิมมำก
ขึ้น เชน่ คอมพิวเตอร์ ไวโอลนิ เปยี โน เทคโนโลยี เปน็ ตน้
๑.๒.๑.๒ เขยี นรูปคำตรงกับเสยี งเดมิ ในภำษำองั กฤษ เชน่ ลอนดอน กรมั โอโซน
๑.๒.๑.๓ เปล่ียนคำและเสยี งใหผ้ ดิ ไปจำกเดิม เช่น องิ ลชิ เป็น องั กฤษ, พำวนดฺ ฺ เปน็ ปอนด์
๑.๒.๑.๔ ชนิดและหน้ำท่ีของคำเปล่ียนไปจำกเดิม คือ คำภำษำอังกฤษเดิมท่ีอยู่รูปคำนำม แต่
ไทยเรำนำมำใช้เปน็ คำกริยำ เช่น ไทยใช้ คอร์รปั ชัน ช็อปปิง ไดเอต็ ในรูปของคำกริยำ ทัง้ ที่ ๓ คำนเ้ี ป็นคำนำม
ในภำษำองั กฤษ
๑.๒.๑.๕ ปรับพยัญชนะทำ้ ยใหเ้ ขำ้ กับตัวสะกดตำมระบบเสียงของภำษำไทย แมก่ บ แม่กน และ
แมก่ ด เชน่ กอลฟ์ (อำ่ นวำ่ ก๊อบ) แอปเปิล (อ่ำนว่ำ แอบ๊ -เปิ้น) เทนนสิ (อ่ำนว่ำ เทน-นิด)
๑.๒.๑.๖ ใช้เครื่องหมำยทัณฑฆำตหรือกำรันต์กำกับพยัญชนะท้ำยคำ เพ่ือไม่ต้องกำรออกเสียง
เชน่ ไมล์ คำรบ์ อนไดออกไซด์ กำรนั ต์พยญั ชนะกลำงคำ เช่น วำลว์ ชอล์ก กำร์ด ฟำรม์
๑.๒.๑.๗ คำท่ีมำจำกภำษำอังกฤษ ไทยมักจะตัดพยำงค์ให้ส้ันลงเพื่อนำไปใช้ในกรณีที่ไม่เป็น
ทำงกำร เช่น
กิโลเมตร ใชว้ ำ่ กิโล
ไมโครเวฟ ใช้วำ่ เวฟ
มอเตอร์ไซค์ ใชว้ ำ่ มอรไ์ ซค์
๑.๒.๑.๘ มกี ำรเพ่ิมเสียงพยัญชนะควบกล้ำ คือ คำภำษำอังกฤษทใ่ี ช้ในไทยจะมีเสียงพยัญชนะ
ควบกล้ำเพิ่มขึ้น ได้แก่ “ทร บร บล ฟร ดร” เช่น ทรำนซิตเตอร์ เบรก บรอกโคลี บล็อก ฟรี ฟรุตสลัด
ฟลกุ ไฟลท์ ดรำฟต์ ดรอ็ ป ซง่ึ เสียงควบกลำ้ ดังกล่ำวไม่มใี นระบบเสียงภำษำไทย
๑.๒.๑.๙ มีกำรเพ่ิมเสียงตวั สะกดหรือพยัญชนะท้ำย คือ คำภำษำอังกฤษมตี ัวสะกดเพิ่มคือ “ฟ
ล ซ ช ส ศ” ซง่ึ เป็นสียงเกิดใหม่ เชน่ ปรฟู๊ ทฟั อเี มล พซิ ซำ แคชเชียร์ โบนัส เทนนิส โฟกัส ออฟฟิศ
๑.๒.๑.๑๐ นำคำมำใช้ตรงศัพท์ ( ใชท้ บั ศัพท์ ) โดยไมไ่ ดก้ ำหนดคำไทยขนึ้ ใช้แทน เชน่
คำทับศัพท์ คำภำษำอังกฤษ คำอำ่ น
แอปเปิล apple แอบ๊ -เปิ้น
ฟตุ บอล football ฟุด-บอน
โบนสั bonus โบ-นดั
แคปซูล capsule แคบ็ -ซนุ
เวบ็ ไซต์ Web site เว็บ-ไซ้
สลัด salad สะ-หลดั
กอลฟ์ golf กอ๊ บ
๕
ตัวอย่างคาทับศัพท์ ท่ีมีใช้ในภาษาไทย เช่น กราฟ การ์ตูน กิ๊บ กลูโคส กัปตัน
แก๊ส กุ๊ก เกียร์ แก๊ง แกลลอน คริสต์มาส ไดนาโม ไดโนเสาร์ ครีม คลอรีน คอนกรีต คลินิก คอนเสิร์ต
คอมพิวเตอร์ คุกก้ี เคเบิล เครดิต แคปซูล เคาน์เตอร์ แคลอรี โควตา ชอล์ก ช็อกโกเลต เช็ค เชิ้ต เชียร์ โชว์
ซีเมนต์ เซลล์ ไซเรน ดีเซลดอลลาร์ ดีเปรสช่ัน เต็นท์ ทอนซิล เทอม แท็กซี่ แทรกเตอร์ นิโคติน นิวเคลียร์
นีออน นิวเคลียส โน้ต ไนลอน บล็อก เบนซิน แบคทีเรีย ปล๊ัก ปิกนิก เปอร์เซ็นต์ พลาสติก พีระมิด ฟลูออรีน
ฟอร์มาลีน ฟังก์ชัน ฟาร์ม ฟิสิกส์ มอเตอร์ มัมมี่ มาเลเรีย โมเลกุล ไมล์ ไมโครโฟน ไมโครเวฟ ยิปซัม ยีราฟ
รบิ บ้ิน เรดาร์ ลิกไนต์ ลปิ สตกิ เลเซอร์ วัคซีน วติ ามิน ไวโอลิน
๑.๒.๑.๑๑ กำหนดคำไทยขึ้นใช้แทน ( ศัพท์บัญญตั ิ ) โดยคณะกรรมกำรบัญญตั ิศัพท์ของ
รำชบัณฑติ ยสถำน พ.ศ ๒๕๕๔ เช่น
คำที่มำจำกภำษำองั กฤษ ศัพท์บัญญัติ
บอยสเกำต์ (boyscout) ลกู เสือ
ไฟล์ (file) แฟ้มขอ้ มูล
พอลลูชน่ั (pollution) มลพิษ
พำสปอรต์ (furniture) หนังสือเดินทำง
บัส (bus) รถโดยสำรประจำทำง
เฟอร์นิเจอร์ (furniture) เครอ่ื งเรือน
แบงค์ (bank) ธนำคำร
ออฟฟิศ (office) สำนกั งำน ทีท่ ำกำร
เน็ตเวิรค์ (network) เครือข่ำย
แสตมป์ (stamp) ดวงตรำไปรษณยี ำกร
สแกนเนอร์ (scanner) เคร่อื งกรำดตรวจ
๑.๔ คายืมที่มาจากภาษาจีน
ไทยและจีนเป็นชนชำติที่มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมำเป็นเวลำยำวนำนมำก ต้ังแต่ก่อนสมัย
ประวัติศำสตร์ไทยมำถึงสมัยปัจจุบัน คำภำษำจีนจึงเข้ำมำปะปนอยู่ในภำษำไทยมำกมำยจำกหลำยสำเหตุ
ท้ังควำมสัมพันธ์ทำงด้ำนถ่ินท่ีอยู่อำศัยตำมสภำพภูมิศำสตร์ ควำมสัมพันธ์ทำงด้ำนเชื้อชำติ ควำมสัมพันธ์
ทำงด้ำนกำรค้ำ เป็นต้น นอกจำกน้ีภำษำจีนและภำษำไทยมีลักษณะที่คล้ำยคลึงกันจึงทำให้ภำษำจีน
เขำ้ มำปะปนอยู่ในภำษำไทยจนแทบแยกกนั ไมอ่ อก
การยืมคาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยน้ัน ได้มาจากภาษาพูดไม่ใช่ภาษาเขียน เพราะระบบการเขียน
ภาษาจีนต่างกับภาษาไทยมาก ภาษาจีนเขียนอักษรแทนคาเป็นตัว ๆ ไม่มีการประสมสระ พยัญชนะ
คาภาษาจีนท่ีมีใช้ในภาษาไทย นามาเป็นคาเรียกชื่อ เคร่ืองใช้แบบจีน ยาสมุนไพร สัตว์ อาหาร เคร่ืองแต่งกาย
ธุรกจิ การค้า มหรสพ และอ่ืน ๆ
๖
๑.๔.๑ หลักกำรสงั เกตคำภำษำจีน
๑.๔.๑.๑ มกั เป็นช่อื อำหำรกำรกนิ เช่น กว๋ ยเต๋ยี ว เต้ำทึง แปะ๊ ซะ เฉำก๊วย จบั ฉำ่ ย เป็นต้น
๑.๔.๑.๒ เป็นคำท่ีเกี่ยวกับส่ิงของเครื่องใช้ที่เรำรับมำจำกชำวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้ำอ้ี เก๋ง
ฮวงซยุ้ เซยี มซี
๑.๔.๑.๓ มักมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลำง คือ ก จ ต บ ป อ มำกกว่ำพยัญชนะต้นอื่น ๆ
เช่น กก๊ เจ๊ง ป๋ยุ เก๋ง เต้ำหู้ เอ๊ยี ม
๑.๔.๑.๔ เป็นคำทใ่ี ชว้ รรณยกุ ตต์ รี จตั วำ เชน่ กว๋ ยจับ๊ กยุ๊ เก๊ เก๊ก กง๋ ต๋นุ เก๊กฮวย กงเตก๊
๑.๔.๑.๕ เป็นคำท่ีประสมด้วยสระเสียงสั้น เอียะ และ อัวะ โดยเฉพำะคำเลียนเสียง
เช่น เพยี ะ ผัวะ หรือเปน็ คำขยำย เชน่ (เหมือน) เดี๊ยะ (ขำว) จว๊ั ะ
๑.๔.๒ วธิ นี าคายืมภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทย
ไทยนาคาภาษาจีนมาใช้ โดยมากไทยเลียนเสียงจีนได้ใกล้เคียงกว่าชาติอ่ืน ๆ เช่น เกาเหลา
ต้ังฉ่าย เต้าทึง เต้าหู้ เต้าฮวย บะฉ่อ พะโล้ แฮ่กึน้ เป็นต้น มีบางคาท่ีนามาตัดทอนและเปล่ียนเสียง เช่น เต้ียะ
หลวิ ตะหลวิ บ๊ะหมี่ บะหมี่ ปุง้ กี ปุ้งกี๋
๑.๔.๓. ตัวอย่ำงคำภำษำจนี ที่นำเขำ้ มำใช้ในภำษำไทย
๑.๔.๓.๑ คาที่เกี่ยวกบั อาหารและขนม เชน่ กว๋ ยเตีย๋ ว กวยจั๊บ เย็นตาโฟ เกย้ี มอี๋ บะหม่ี
เฉากว๊ ย เต้าหู้ พะโล้ บะช่อ เจ๋ยี น กวยจี๊ เกาเหลา แปะ๊ ซะ เต้าส่วน เตา้ ทึง เต้าฮวย เต้าห้ยู ี้
๑.๔.๓.๒ คาทีเ่ ก่ียวกับเครอื ญาติ เชน่ เจ๊ ก๋ง เตย่ี เฮยี ม่วย
๑.๔.๓.๓ คาท่ีเกี่ยวกับผักผลไม้ เชน่ เกี่ยมฉ่าย ขึน้ ฉ่าย ตั้งโอ๋ กุยช่าย กง้ ฉ่าย เก๊กฮวย
บว๊ ย หนาเลย้ี บ
๑.๔.๓.๔ คาที่เก่ยี วกับเครื่องใช้ เชน่ เก๊ะ เข่ง โตะ๊ เก้าอ้ี ตั๋ว กอเอยี๊ ะ อั้งโล่
๑.๔.๓.๕ คาที่เก่ยี วกบั เครือ่ งแต่งกาย เชน่ ขากว๊ ย เก๊ยี ะ กุยเฮง เอย๊ี ม
๑.๔.๓.๖ คำที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของจนี เชน่ งว้ิ กงเต๊ก เซียมซี แซยิด
๑.๕ คายืมที่มาจากภาษาเขมร
เขมรเป็นชำติท่ีมีควำมสัมพันธ์กับไทยมำช้ำนำนท้ังทำงด้ำนกำรถ่ำยทอดวัฒนธรรมและอำรยธรรมซึ่งกัน
และกัน เขมรและไทยมอี ำณำเขตติดต่อกันทำให้ภำษำเขมรเข้ำมำปะปนกบั ภำษำไทยอย่ำงแยกไม่ออก ในสมัย
โบรำณรำเรียกภำษำเขมรว่ำ “ภำษำขอม” ซ่ึงถือกันว่ำเป็นภำษำท่ีศักด์ิสิทธิ์ใช้บันทึกเร่ืองรำวศำสนำลงแผ่น
หิน ใบลำน หรอื แม้กระทงั่ ศิลำจำรกึ ต่ำง ๆ ในไทยกพ็ บวำ่ ใช้ภำษำขอมบันทึกเช่นกนั
๑.๕.๑ ลักษณะของคำภำษำเขมรในภำษำไทย
๑.๕.๑.๑ คำภำษำเขมรมักใช้พยัญชนะ จ ญ ล ร ส เป็นตัวสะกด เช่น เผด็จ บำเพ็ญ กำธร
ถกล ตรัส
๑.๕.๑.๒ คำยืมภำษำเขมรจะมีพยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกัน เมื่อออกเสียงไทยอ่ำนพยัญชนะสอง
ตวั เรียงกันโดยมเี สียงอะทพี่ ยำงคแ์ รก ทำให้คำเดิมพยำงค์เดียวกลำยเป็นสองพยำงค์ แต่จะไม่ปรำกฏรปู สระใน
กำรเขียน และบำงคำไทยอ่ำนออกเสยี งแบบอกั ษรนำ เช่น ขลำด กระแส กรม โตนด ฉนวน ถนน
๑.๕.๑.๓ คำที่มำจำกภำษำเขมร มกั จะขน้ึ ต้นด้วย “บงั บนั บรร บำ ประ” เชน่ บงั อร บงั เกิด
บันดำล บนั เทิง บำบัด บำรุง บรรทกุ บรรทม ประกำย ประสำน
๗
๑.๕.๑.๔ คำที่มำจำกภำษำเขมร พยำงค์แรกมักข้ึนตน้ ดว้ ยสระอำ เช่น กำเนิด กำหนด จำแนก
จำหนำ่ ย ตำรวจ ทำเนยี บ
๑.๕.๑.๕ คำเขมร ไทยนำมำใชเ้ ป็นคำรำชำศัพท์จำนวนมำก เช่น เสด็จ ถวำย ตรัส เสวย สรง
ขนง
๑.๕.๑.๖ คำเขมรท่ีแผลงเปน็ คำไทย
ตัวอย่ำง ข แผลงเป็น กระ เช่น
ขดำน แผลงเป็น กระดำน
ขจำย แผลงเป็น กระจำย
ผ แผลงเป็น ประ เช่น
ผสม แผลงเป็น ประสม
ผสำน แผลงเปน็ ประสำน
ประ แผลงเปน็ บรร เช่น
ประทม แผลงเป็น บรรทม
ประทุก แผลงเปน็ บรรทุก
๑.๕.๑.๗ คำเขมรในไทยบำงคำเป็นโดดมีใช้ในไทยจนคิดว่ำเป็นคำไทย เช่น แข (ดวงจันทร์)
มำน (ม)ี อวย (ให)้
๑.๕.๑.๘ คำภำษำเขมร เป็นคำท่ีไม่มีรูปวรรณยุกต์ คำทยี่ ืมมำจำกภำษำเขมรจึงไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์
กำกับ เช่น รำบ กำจ ดจุ ควร จำร
๑.๖ คายมื ทมี่ าจากภาษาชวาและมลายู
ชวำ ปัจจุบันเรียกว่ำภำษำอินโดนีเซีย เป็นภำษำตระกูลคำติดต่อ ตระกูลเดียวกับภำษำมลำยู ภำษำ
ชวำที่ไทยยืมมำใช้ส่วนมำกเป็นภำษำเขียน ซงึ่ รับมำจำกวรรณคดีเร่ือง ดำหลงั และอเิ หนำเปน็ ส่วนใหญ่ ถ้อยคำ
ภำษำเหล่ำนี้ใช้สื่อสำรในวรรณคดี และในบทร้อยกรองต่ำง ๆ มำกกว่ำคำท่ีนำมำใช้สื่อสำรในชีวิตประจำวัน
ภำษำมลำยูหรือภำษำมำเลย์ ปัจจุบันเรียกว่ำ ภำษำมำเลเซีย เป็นภำษำคำติดต่อ อยู่ในตระกูลภำษำ
ชวำ-มลำยู คำส่วนใหญ่จะมีสองพยำงค์และสำมพยำงค์ เข้ำมำปะปนในภำษำไทยเพรำะมีเขตแดนติดต่อกัน
จึงติดต่อสัมพันธ์กันทั้งทำงด้ำนกำรค้ำขำย ศำสนำ วัฒนธรรม มำเป็นเวลำนำน โดยเฉพำะจังหวัดชำยแดน
ภำคใต้ ได้แก่ ยะลำ สงขลำ ปัตตำนี นรำธิวำส และสตูล ยังคงใช้ภำษำมลำยูสื่อสำรในชีวิตประจำวันอยู่เป็น
จำนวนมำก
๑.๖.๑ กำรยมื คำภำษำชวำ-มลำยมู ำใชใ้ นภำษำไทย
๑.๖.๑.๑ ใช้ในกำรแต่งคำประพันธ์ เชน่ บุหรง บหุ ลนั ระตู ปำหนัน ตนุ ำหงัน เป็นตน้
๑.๖.๑.๒ ใชส้ อ่ื สำรในชวี ิตประจำวัน เชน่ กัลปงั หำ กญุ แจ กระดังงำ ซ่ำหรม่ิ ประทัด เปน็ ตน้
๑.๖.๑.๓ นำมำใชใ้ นควำมหมำยคงเดิม เชน่ ทุเรยี น นอ้ ยหน่ำ บุหลนั เปน็ ตน้
๘
๑.๖.๒ หลกั กำรสังเกตคำภำษำชวำ-มลำยู
๑.๖.๒.๑ เปน็ คำ ๒ พยำงค์ ภำษำชวำ- มลำยู ส่วนใหญ่เป็นคำ ๒ พยำงค์ มีคำพยำงค์เดียว
นอ้ ย ภำษำไทยเปน็ ภำษำคำโดด จึงสำมำรถสังเกตเห็นได้งำ่ ย ว่ำคำใดเป็นคำทย่ี มื มำจำกภำษำชวำ- มลำยู เช่น
กระพง โลมำ ทเุ รียน เบตง
๑.๖.๒.๒ ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้ำ ภำษำชวำ- มลำยู ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้ำ เช่น
กำยำน กุดัง กะปะ ( งู ) อังกะลงุ
๑.๖.๒.๓ ไม่มีรูปวรรณยุกต์ ภำษำชวำ- มลำยู ไมม่ หี น่วยเสยี งวรรณยุกต์ รปู วรรณยุกต์กำกับ
เช่น ตุนำหงัน บุหงำ บูดู สลัก กระจูด อย่ำงไรก็ตำมคำยืมที่ยืมมำบำงคำก็นำมำใช้โดยมีรูปวรรณยุกต์กำกับ
ด้วยเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับระบบเสียงในภำษำไทย เช่น ยเี่ ก เบ้ำหลุด
๑.๖.๒ ตัวอย่ำงคำภำษำชวำ-มลำยใู นภำษำไทย
กะพง กระจูด กะลำสี กะลุมพี กำยำน กำป่ัน กระยำหงัน (สวรรค์) กะละปงั หำ กระแชง จับป้ิง
จำปำดะ ตลบั ทเุ รียน บูดู ปำเตะ๊ มังคุด สละ สลัก สลำตัน สลัด สุจหน่ี โสรง่ หนงั ยะลำ เบตง นอ้ ยหนำ่ กริช
กิดำหยัน (มหำดเล็ก) กุหนุง (เขำสูง) กุญแจ กำระบุหนิง (ดอกแก้ว) กระดังงำ อิเหนำ อังกะลุง อสัญแดหวำ
(เทวดำ) ตุนำหงัน (คู่หม้ัน) ยิหวำ (ดวงใจ) บุหรง (นกยูง) บุหลัน (ดวงจันทร์) บุหงำ (ดอกไม้) อุรังอุตัง
สะตำหมัน (สวน) บุหงำรำไป ปำหนัน (ดอกลำเจียก) รำมะนำ กำระบุหนิง (ดอกแก้ว) กิดำหยัน (มหำดเล็ก)
ซ่ำโบะ (ผ้ำห่ม) ซ่ำหร่ิม ดำหงัน (สงครำม) ปันหยี ป้ันเหน่ง ประทัด บุษบำมินตรำ (ดอกพุทธรักษำ) มำลำตี
(ดอกมะลิ) มนิ ตรำ (ตน้ กระถิน) มิรนั ตี (ดำวเรือง) สะกำระตำหรำ (ดอกกรรณิกำร)์ ตันหยง (ดอกพกิ ุล) กำหลำ
(ชื่อดอกไม)้ ประไหมสหุ รี มะเดหวี ระตู (เจ้ำเมือง)
๑.๗ คายมื ทีม่ าจากภาษาบาลี สนั สกฤต
เม่ือพระพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาสู่ประเทศไทย และคนไทยได้ยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนา
ประจาชาติ คนไทยจึงจาเป็นต้องเรียนภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะคาสอนทางศาสนาเป็นภาษาบาลีและ
สนั สกฤต ดงั น้ันจึงได้เกิดคาภาษาบาลแี ละสนั สกฤตใชใ้ นภาษาไทยมากข้ึน นอกจากการรับนับถือศาสนาพุทธ
ไทยยังได้รับเอาความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมต่างๆรวมทั้งวรรณคดีบาลีและสันสกฤตเข้ามา
เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมไทย ซงึ่ เป็นสว่ นทาใหเ้ รารับคาภาษาบาลีและสันสกฤตซ่งึ เป็นคาทีเ่ กี่ยวเน่ืองกับส่ิง
ต่างๆเหล่านั้น เขา้ มาใชใ้ นภาษาไทย
๙
๑.๗.๑ หลกั การสังเกตคายืมที่มาจากภาษาบาลี สนั สกฤต
บำลี สนั สกฤต
๑. ใชส้ ระ ๘ ตวั คือ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ ๑. ใช้สระ ๑๔ ตัว อะ อำ อิ อี อุ อู
โอ เอ โอ ไอ เอำ ฤ ฤำ ฦ ฦำ
๒. ใช้ เอ เช่น เมตตำ เอรำวัณ เวชช ๒. ใชไ้ อ เชน่ ไมตรี ไอรำวัณ ไวทย
๓. ใช้ โอ เชน่ โกเสยฺย (โกไสย) อกั โขภณิ ี ๓. ใช้เอำ, อว เช่น เกำเศยยฺ (เกำไศย)
โอฬำริก โอสำน โอกำส อักเษำหณิ ี เอำทำริก อวสำน อวกำศ
๔. ใช้ อะ อิ อุ เชน่ อมต กัณหำ หทัย สติ ๔. ใช้ ฤ เช่น อมฤต กฤษณำ หฤทัย
สิงคำร ติณ อิทธิ อสิ ิ ทิฐิ อชุ ุ รกุ ข์ อุสภ สมฤติ ศฤงคำร ตฤณ ฤทธิ ฤษี
ปุจฉำ อุตุ มสุ ำ ทฤษฎี ฤชุ พฤกษ์ พฤษภ ปฤจฉำ
ฤดู มฤษำ
๕. มพี ยัญชนะที่ใช้ ๓๓ ตวั ๕. มพี ยัญชนะท่ีใช้ ๓๕ ตัว (ศ ษ)
๖. ใช้ ส เช่น สญุ ญ สนั ติ สตั ถำ ๖. สันสกฤตใช้ ศ, ษ เชน่ ศูนย์ ศำนติ
ศำสดำ
๗. ใช้ ฬ เชน่ จฬุ ำ กีฬำ บีฬ ครฬุ เวฬรุ ิยะ ๗. ใช้ ฑ จุฑำ กรฑี ำ บีฑำ ครุฑ
ไพฑรู ย์
๘. ใชพ้ ยญั ชนะเรียงพยำงค์ เช่น กริ ยิ ำ สำมี ๘. ใช้อกั ษรควบกลำ้ พยญั ชนะประสม
ฐำน ถำวร ปทมุ เปม ปยิ ะ ปฐม ปชำ
ปกติ ภัทท ปตี ิ จิต เชน่ กริยำ สวำมี สถำน สถำวร
ปทั มะ เปรม ปรียะ ประถม
ประชำ ปรกติ ภัทร ปรตี ิ
๙. ใชพ้ ยญั ชนะสะกดและตวั ตำมตวั เดยี วกัน เชน่ ๙. ใช้ตวั รร แทน รฺ (ร เรผะ) เชน่ ธรรม
ธมั ม กัมม มคั ค สัคค สพั พ วณั ณ กรรม มรรค สวรรค์ สรรพ วรรณ
๑๐. ใช้ ข หรอื กข เช่น ขตั ติยะ ขีร ขณี ขณะ ๑๐. ใช้ กษ เช่น กษัตรยิ ์ กษีร กษีณ
ขมำ จกั ขุ อักขระ ภกิ ขุ ลักขณะ กษณะ กษมำ จกั ษุ อักษร ภกิ ษุ
ลกั ษณะ
๑๐
๑๑. ใช้ คห เชน่ สงั คหะ วคิ หะ (วคิ คฺ ห) ๑๑. ใช้ เครำะห์ ซึ่งแผลงมำจำก คฺรห เช่น
สังเครำะห์ วิเครำะห์
๑๒. มีหลักตัวสะกดตัวตำม ๑๒. ไมม่ หี ลักตวั สะกดตัวตำมจำกบำลี
นอกจำกนีภ้ ำษำบำลีไดว้ ำงกฎเกณฑ์เก่ยี วกบั กำรใชต้ วั สะกดตัวตำมเอำไวอ้ ย่ำงเป็นระเบียบเรียกว่ำ
“พยญั ชนะสงั โยค”
แถว
ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
วรรค
วรรคกะ กัณฐชะ (ฐำนคอ) กขคฆง
วรรคจะ ตำลุชะ (ฐำนเพดำน) จ ฉ ช ฌ ญ
วรรคฏะ มุทธชะ (ฐำนปุ่มเหงือก) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรคตะ ทันตชะ (ฐำนฟนั ) ตถทธน **** ๐ นิคหิต หรอื นฤคหติ
วรรคปะ โอษฐชะ (ฐำนปำก) ปผพภม ในภาษาบาลีอา่ นเป็นเสียง
ย ร ล ว (ศ ษ) ส ห ฬ ๐ “ง” ในภาษาสนั สกฤตอ่าน
เศษวรรค เปน็ เสียง “ม” ****
๑. พยญั ชนะแถวที่ ๑ เปน็ ตัวสะกด ตำมด้วยพยัญชนะแถวท่ี ๑,๒ เช่น
อุกกำบำต ทกุ ข์ กักขฬะ ปัจจุบนั สจั จะ ปัจจยั วฏั ฏะ ทิฏฐิ อฏั ฐิ สตั ตะ วติ ถำร สตั ถำ
สปิ ปะ บุปผำ บปั ผำสะ
๒. พยญั ชนะแถวท่ี ๓ เป็นตวั สะกด ตำมดว้ ยพยัญชนะแถวที่ ๓,๔ เชน่
อัคคี พยัคฆ์ วชิ ชำ อุปัชฌำย์ อัชฌำสยั วฑุ ฒิ(วุฒิ) อัฑฒ(อฒั ) วฑั ฒน(วฒั นะ) สทิ ธิ ลทั ธิ พทุ ธ
อทิ ธิ นิพพำน ทัพพี
๓. พยัญชนะแถวท่ี ๕ เป็นตวั สะกดตำมด้วยพยัญชนะแถว ๑-๕ ในวรรคเดยี วกนั เชน่
สงั กร องั กรู สัญญำ กุญชร สัญจร กณุ ฑล สณั ฐำน กัณฐ์ สนั ติ สนั ถำร สนทนำ คัมภรี ์
กุมภลี ์ กมั พล สัมผสั
๔. พยญั ชนะเศษวรรคเปน็ ตัวสะกดตำมดว้ ยตัวมันเอง เชน่
อัยยกำ (อัยกำ) เวยยำกรณ์ (ไวยำกรณ์) เวเนยย (เวไนย) บัลลังก์ อสิ สระ อสิ สริยะ อัสสะ มสั สุ
ปัสสำสะ พสั สะ วิสสำสะ
๑๑
หมำยเหตุ ภำษำสันสกฤต ตัวสะกดตัวตำมไม่เป็นไปตำมกฎอย่ำงบำลี คือ จะใช้พยัญชนะตัวใด
สะกด พยัญชนะตัวใดตำมก็ได้ จะอยู่ในวรรคเดียวกันหรืออยู่ต่ำงวรรคกันก็ได้ เช่น อัปสร สัตย์ มัธยม
ปรัชญำ กลป์ ภกิ ษุ ทพิ ย์ ฯลฯ
๒. การจัดการเรยี นรู้ เร่ือง วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคซบั ซอ้ น
การวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคซับซ้อน คือ การจาแนกส่วนประกอบของประโยคในรูปของภาค
ประธานและภาคแสดง รวมถึงส่วนขยายและคาเช่ือมในประโยคชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีประโยคความเดียวที่ซับซ้อน
ประโยคความรวมที่ซับซ้อน และประโยคความซ้อนท่ีซับซ้อน จึงมีความสาคัญต่อการส่ือสารในชีวิตประจาวัน
เพราะหากการใช้รูปประโยคที่ไม่ครบถ้วนอาจทาให้ได้ใจความไม่สมบูรณ์ นักเรียนจึงควรสังเกตลักษณะของ
ประโยคความเดยี วท่ซี บั ซอ้ นใหไ้ ด้ เพ่ือสามารถจาแนกลักษณะของประโยคได้อยา่ งถูกต้อง
๒.๑ สว่ นประกอบของประโยค
ส่วนประกอบของประโยค ประโยคทกุ ชนิดบทโลกใบนขี้ องภำษำไทยจะมีองคป์ ระกอบอยู่ ๒ ส่วน คอื
๒.๑.๑ ภำคประธำน
ประธำน+ขยำยประธำน
๒.๑.๒ ภำคแสดง
กริยำ+ขยำยกริยำ
กรรม+ขยำยกรรม
ตัวอย่ำง
ประโยค ประธำน ขยำย กรยิ ำ ขยำยกริยำ กรรม ขยำยกรรม
ประธำน
ป่ขู องผมทำนไขต่ ม้ สุก ปู่ ของผม ทำน ตอนเชำ้ ไข่ต้ม สกุ
ตอนเช้ำ
ดำวตื่นแต่เชำ้ ทกุ วนั ดำว ตน่ื แต่เช้ำทกุ วัน
๑๒
๒.๒ ประโยคความเดียว
ประโยคความเดียว หรือ เอกรรถประโยค คือ ประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงเรื่องเดียว มีภาคประธานภาค
เดยี ว ภาคแสดงเดียว มีกริยาสาคัญเพียงตัวเดยี ว และมีกรรมหรือไม่มกี รรมมารองรับก็ หลกั สังเกตคอื ประธำน ๑ ตัว
กริยำ ๑ ตัว กรรม (ถำ้ มี) เชน่
ภำคประธำน ภำคแสดง
ขยำยกริยำ กรรม
ประโยค ประธำน ขยำย กรยิ ำ ขยำย
ประธำน บิน กรรม
นกบนิ นก
เดก็ ยมิ เด็ก ยิม้
พอ่ ปลูกต้นไม้ พ่อ ปลูก ต้นไม้
นอ้ งหัวเรำะ น้อง หัวเรำะ
พอ่ ถอนหญ้ำ พ่อ ถอน หญำ้
นกสเี ขยี วบนิ สูง นก สีเขยี ว บิน สงู
ฉนั กินมะม่วง ฉนั กิน มะม่วง
ครสู อนนักเรียน ครู สอน นกั เรยี น
๑๓
ภำคประธำน ภำคแสดง
บทขยำย กรรม
ประโยค ประธำน บทขยำย กรยิ ำ กริยำ บทขยำย
ประธำน สวย กรรม
ดอกกุหลำบแดง ดอกกหุ ลำบ --
สวย แดง -
วิชยั
วิชัยเป็น - เป็น นำยอำเภอ - -
นำยอำเภอ ครู
พ่อ - สอน - หนังสือ -
ครูสอนหนงั สือ ควำมสำเรจ็ - ปลกู - ต้นไม้ -
พ่อปลูกต้นไม้ ของลกู เป็น ควำมหวัง -
แมลง ของพอ่
ควำมสำเรจ็ ของลูก แม่
เปน็ ควำมหวังของ
พอ่ แม่ ปกี แขง็ กระพอื เร็วมำก - -
แมลงปกี แขง็ ปีก
กระพอื ปีกเรว็ มำก
เด็กข้ำงบ้ำนร้องไห้ เด็ก ขำ้ งบำ้ น ร้องไห้ ดังลน่ั --
ดังลน่ั คน สวย อุม้ - แมว อว้ น
เสือ ตัวใหญ่ นอนหลับ - --
คนสวยอุ้มแมว
อว้ น
เสอื ตวั ใหญน่ อน
หลบั
๒.๓ ประโยคความเดยี วทซี่ บั ซอ้ น
ประโยคควำมเดียวจะมขี อ้ ควำมอยูเ่ พียงข้อควำมเดยี ว บำงทีภำคประธำนและภำคแสดงของประโยคก็
อำจจะมีส่วนขยำยที่เป็นกลุ่มคำยืดยำวซับซ้อน หรือต้องบรรจุถ้อยคำลงไว้จำนวนมำกอันเป็นผลให้ประโยค
ควำมเดยี วกลำยเป็นประโยคซับซ้อนไปได้ ดังต่อไปนี้
๒.๓.๑ ประโยคควำมเดียวทซ่ี ับซอ้ นในภำคประธำน
๒.๓.๑.๑ ตวั ประธำนมีสว่ นขยำยเป็นกลุม่ คำท่มี คี ำบพุ บทนำหนำ้
ตวั อยา่ ง พขี่ องเพ่อื นของพี่ฉันเหน็ มำกบั ตำของเขำ
บ้ำนที่อยขู่ ้ำงโกดงั เกบ็ ศพของวดั นันประกำศขำยรำคำถูก
ศำลำทพี่ ักขำ้ งถนนไปบำ้ นของเธอถกู พำยพุ ัดพงั เมอื่ คืนน้ี
๒.๓.๑.๒ ประธำนเป็นกลุม่ คำที่นำหน้ำด้วยคำว่ำ กำร , ควำม
ตวั อยา่ ง กำรรู้จกั เอำใจเขำมำใส่ใจเรำเป็นคณุ ธรรมอย่ำงหนงึ่
ขอ้ ควำมที่พิมพ์ตัวหนำ คือ ภำคประธำนของประโยค ประธำนเป็นกลุ่มคำท่ียืดยำว มี การ หรือ
ความ นำหนำ้ ทำใหป้ ระโยคซบั ซ้อนข้นึ
๑๔
๒.๓.๑.๓ ประธำนมสี ว่ นขยำยเป็นคำและกล่มุ คำปนกนั ไป
ตัวอยา่ ง เก้ำอ้โี ยกตัวเกำ่ ในหอ้ งสมดุ แหง่ นีมีอำยุกวำ่ ๑๐๐ ปี
งำนวรรณกรรมเรื่องควำมนำ่ จะเป็นของปรำบดำหยนุ่ ไดร้ ับรำงวลั ซไี รต์
คำที่พิมพ์ตัวหนำมีท้ังท่ีเป็นคำและกลุ่มคำที่มีบุพบทนำหน้ำหำกนำส่วนขยำยเหล่ำนี้ออกไป ก็ยังเป็น
ประโยคควำมเดยี วอยู่
๓.๓.๒ ประโยคควำมเดียวทซ่ี บั ซอ้ นในภำคแสดง
๓.๓.๒.๑ ตัวแสดงเปน็ กลุม่ คำหลำยๆคำ
ตัวอย่าง ทุกคนพยำยำมจ้องมองดวู ัตถุประหลำดช้นิ น้นั
เด็ก ๆ กระโดดโลดเตน้ ลงไปว่ำยนำในทะเล
๓.๓.๒.๒ ตัวแสดงมสี ่วนขยำยอยหู่ ลำยแหง่ คอื มีสว่ นขยำยทงั้ กริยำและกรรม
ตัวอย่าง เมื่อวำนนีฉันเห็นรุ้งกินน้ำตัวใหญ่อย่ำงถนัดชัดเจนจำกแสงอำทิตย์ยำม
บ่ำย
(“ตัวใหญ่” ขยำยกรรม “รุ้งกนิ นำ้ ” “อย่ำงถนัดชัดเจนจำกแสงอำทิตย์ยำมบ่ำย”,“เมอื่ วันน้ี” ขยำย
กรยิ ำ “เหน็ ” )
๓.๓.๒.๓ ตัวแสดงมสี ว่ นขยำยต่อเนื่องกนั หลำยทอด
ตัวอยา่ ง ลงุ อภิรักษ์ค่อยๆพรวนดนิ ในแปลงผกั อย่ำงระมัดระวัง
(“คอ่ ย ๆ” ขยำยกรยิ ำ “พรวนดิน” , “ในแปลงผกั ” ขยำยกริยำ “พรวนดิน” , “อยำ่ งระมดั ระวัง”
ขยำยกรยิ ำ “พรวนดิน)
๒.๔ ประโยคความรวม
ประโยคควำมรวม หรือ อเนกรรถประโยค คือ ประโยคที่มีใจควำมสำคัญอยู่ตั้งแต่สองใจควำมข้ึนไป
นั่นคือประกอบด้วยภำคแสดงหรือภำคกริยำท่ีมีมำกกว่ำหนึง่ ส่วน โดยทุกประโยคย่อยมนี ้ำหนักใจควำมสำคัญ
ที่เท่ำเทียมกัน ประโยคควำมรวมยงั อำจแบ่งยอ่ ยไดต้ ำมลักษณะเนอื้ ควำมได้เปน็ ๔ ประเภท คือ
ประโยค ประโยคควำมเดยี ว คำสันธำน ประโยคควำมเดยี ว
๑. ประโยคคล้อยตำมกนั (และ, เม่ือ,กับ, แล้ว ...ก็, แลว้ ...จงึ , ครน้ั ...จึง,พอ...ก็)
เกง่ ทำงำนบ้ำนและร้องเพลง เกง่ ทำงำนบ้ำน และ เกง่ ร้องเพลง
อำหำรและยำเป็นสิง่ จำเป็น อำหำรเปน็ สิ่งจำเปน็ และ ยำเปน็ ส่งิ จำเป็นสำหรบั
สำหรบั มนุษย์ สำหรับมนษุ ย์ มนษุ ย์
คณุ พ่อและคุณแม่ไปทำงำน คุณพ่อไปทำงำน และ คุณแม่ไปทำงำน
พอคุณครูพดู จบเขำก็ลกุ ขึ้น คณุ ครูพดู จบ พอ...ก็ เขำลกุ ขึน้
๒. ประโยคขดั แยง้ (แต่, แตว่ ่ำ, ถงึ ...ก,็ กวำ่ ..ก็)
๑๕
ฉันอยำกซื้อของแตไ่ ม่มีเงนิ ฉันอยำกซื้อของ แต่ ฉนั ไมม่ ีเงิน
สม้ ปอยชอบแมวแตไ่ มช่ อบ ส้มปอยชอบแมว แต่ ส้มปอยไมช่ อบสุนัข
สนุ ัข
กวำ่ จะรูค้ วำมจริงเขำก็หนีไป ....รูค้ วำมจรงิ กว่ำ...ก็ เขำหนีไปแล้ว
แลว้
ฉนั ไปแตเ่ ขำไมไ่ ป ฉนั ไป แต่ เขำไม่ไป
พี่ไปโรงเรยี นแตน่ ้องไปดูหนัง พ่ีไปโรงเรียน แต่ นอ้ งไปดูหนัง
๓. ประโยคบอกให้เลือก (หรอื , หรอื ไม่, มฉิ ะน้ัน..ก็, หรือไม่ก็)
คณุ อยำกเป็นหมอหรืออยำก คุณอยำกเป็นหมอ หรอื คุณอยำกเป็นทนำยควำม
เป็นทนำยควำม
เธอจะทำนผลไมห้ รอื ขนม เธอจะทำนผลไม้ หรือ เธอขนมหวำน
หวำน
ไม่เธอก็ฉนั ต้องไปทำงำน เธอต้องไปทำงำน ไม่.....ก็ ฉนั ตอ้ งไปทำงำน
วรี ะดำเปน็ คนกรุงเทพ ฯ หรือ วรี ะดำเปน็ คนกรุงเทพ ฯ หรือ วรี ะดำเป็นคนระยอง
เปน็ คนระยอง
๔. ประโยคทีเ่ ป็นเหตุเปน็ ผลแกก่ นั (จงึ , ฉะนัน้ , เพรำะ...จึง, ดงั น้นั , เพรำะฉะนนั้ )
เขำขยนั จงึ สอบได้ เขำขยัน จงึ เขำสอบได้
ฉันเป็นหวดั เพรำะโดนฝน ฉันเป็นหวัด เพรำะ ฉันโดนฝน
หนังสือเล่มนแ้ี พง เพรำะฉะน้ัน หนังสอื เล่มนี้แพง เพรำะฉะน้นั เขำหวงมนั มำก
เขำจึงหวงมันมำก ...จึง...
เพรำะเขำต้งั ใจเรียนเขำจึงสอบ เขำตงั้ ใจเรียน เพรำะ…จึง เขำสอบผ่ำน
ผำ่ น
๒.๕ ประโยคความรวมทซ่ี บั ซ้อน
กำรสังเกตหลักประโยคควำมรวมท่ีซับซ้อนย่ิงขึ้น เรำควรแยกประโยคควำมรวมออกเป็นประโยค
ควำมเดียวเสียก่อน โดยอำศัยสันธำนหรือตัวเช่ือมเป็นตัวกำหนด ต่อจำกนั้นจึงแยกส่วนต่ำง ๆ ของประโยค
ควำมเดียวนัน้ ๆ อกี ทหี น่ึง กำรสงั เกตประโยคที่ซับซอ้ นเหลำ่ น้ี เรำควรคอ่ ย ๆ ทำไปทีละข้นั จำกขั้นหยำบไปสู่
ขัน้ ละเอยี ดตำมลำดบั ดังจะแสดงใหเ้ หน็ ดงั น้ี
๒.๕.๑ ประโยคควำมรวมซ่ึงส่วนประกอบเป็นประโยคควำมเดียวท่ีซับซ้อนตังต่ี ๒ ประโยคขึนไป
ตัวอย่ำง กำรเพำะกล้วยไม้ขำยเป็นงำนอดิเรกท่ีได้ใช้เวลำว่ำงให้เป็นประโยชน์ใน
ขณะเดยี วกันยงั เป็นกำรเพิ่มรำยไดใ้ ห้กับครอบครวั ด้วย
๑๖
แยกประโยคลงในตำรำงไดด้ งั นี
ประโยคควำมเดียว ตัวเช่ือม ประโยคควำมเดยี ว
กำรเพำะกล้วยไมข้ ำยเป็นงำนอดเิ รก ในขณะเดยี วกนั (กำรเพำะกลว้ ยไม)้ เปน็ กำรเพิ่มรำยได้
ที่ได้ใชเ้ วลำวำ่ งให้เปน็ ประโยชน์ ให้กบั ควำมครัวด้วย
๒.๕.๒ ประโยคควำมรวมซ่งึ มีส่วนประกอบเปน็ ประโยคควำมรวมตงั แต่ ๒ ประโยคขนึ ไป
ตัวอยำ่ ง พรพิมลทำกำรบ้ำนและร้องเพลงเบำ ๆ แตน่ รสิ รำนง่ั วำดรูปและส่งเสียงดงั ลนั่
แยกประโยคลงในตำรำงไดด้ งั นี
ประโยคควำมรวม ตัวเชอื่ ม ประโยคควำมรวม
แต่
พรพมิ ลทำกำรบ้ำนและร้องเพลงเบำๆ นริสรำน่ังวำดรูปและสง่ เสยี งดงั ล่นั
ประโยควำม ตัวเช่อื ม ประโยค ประโยค ตัวเชอ่ื ม ประโยคควำม
เดยี ว ควำมเดียว
ควำมเดยี ว เดยี ว
พรพิมลทำ และ (พรพิมล) นรสิ รำนัง่ และ (นรสิ รำ)
วำดรปู สง่ เสียงดังลั่น
กำรบำ้ น ร้องเพลง
เบำๆ
๑๗
๒.๕.๓ ประโยคควำมรวมซง่ึ มสี ว่ นประกอบเปน็ ประโยคควำมซ้อนตังแต่ ๒ ประโยคขึนไป
ตัวอย่ำง วศินพูดยืดยำวจนคนฟังเบื่อ แต่เรำก็ทนฟังเขำพูดไปจนจบ เพรำะเกรงใจ
ประธำนในท่ปี ระชมุ
แยกประโยคลงในตำรำงไดด้ งั นี
ประโยคควำมซ้อน ตวั เช่ือม ประโยคควำมซอ้ น
วศนิ พดู ยดื ยำวจนคนฟังเบ่ือ แต.่ .........ก็ เรำทนฟังเขำพูดไปจนจบเพรำะเกรงใจประธำนในท่ี
ประชุม
ประโยควำม ตัวเชอื่ ม ประโยค
หลกั ยอ่ ย ประโยคควำมซ้อน ตวั เชื่อม
ประโยค ประโยค ประโยคย่อย
หลกั ย่อย
วศนิ พดู ยืดยำว จน คนฟังเบื่อ เรำทนฟัง เขำพดู ไป เพรำะ (เรำ) เกรงใจ
จนจบ ประธำนในท่ี
(นำมำน-ุ ประชมุ
ประโยค)
๒.๖ ประโยคความซ้อน
ประโยคควำมซ้อน หรือ สังกรประโยค หมำยถึง ประโยคท่ีรวมประโยคควำมเดียว ๑ ประโยคเป็น
ประโยคหลัก แล้วมีประโยคควำมเดียวอื่นมำเสริม มีข้อสังเกตคือ ประโยคหลัก (มุขยประโยค) กับ ประโยค
ยอ่ ย (อนปุ ระโยค) เชน่
ประโยค ประโยคหลกั ตัวเชือ่ ม ประโยคย่อย
(มขุ ยประโยค) (อนปุ ระโยค)
ฉนั รกั เพ่ือนที่มนี ิสัย ฉนั รักเพื่อน ที่ มีนสิ ัยเรยี บร้อย
เรียบรอ้ ย (แทนคำว่ำ"เพื่อน")
พ่อแม่ทำงำนหนักเพื่อ พอ่ แม่ทำงำนหนัก ลกู จะมีอนำคตสดใส
ลกู จะมีอนำคตสดใส เพ่ือ (ทำงำนหนักเพ่ืออะไร)
เขำบอกให้ เขำบอก (ขยำยวิเศษณ์"หนัก")
ฉนั ลุกขึ้นยืนทนั ที ฉนั ลุกข้นึ ยนื ทันที
ให้ (ขยำยกรยิ ำ"บอก"
คนขำดมำรยำทเป็นคน คนขำดมำรยำท บอกว่ำอย่ำงไร)
น่ำรงั เกยี จ ฉนั ไม่ไดบ้ อกเธอ เป็น
คนน่ำรงั เกยี จ
ฉันไม่ได้บอกเธอวำ่ เขำ
เป็นคนฉลำดมำก ว่ำ เขำเปน็ คนฉลำดมำก
๑๘
ครบู อกใหน้ กั เรียนแสดง ครูบอก ให้ นักเรียนแสดงควำม
ควำมเคำรพ เคำรพ
(ขยำยกิรยิ ำ"บอก" บอก
วำ่ อย่ำงไร)
> ประโยคย่อยที่ทำหน้ำท่ีเปน็ บทขยำยประธำน สงั เกต (จะมปี ระพันธสรรพนำม ที่ ซ่งึ อัน ผู้ )
> ประโยคย่อยที่ทำหน้ำทีข่ ยำยคำกริยำ สังเกต (คำเชื่อม >>> เพ่อื เม่ือ จน เพรำะ รำวกับ ระหว่ำง
ที)่
๒.๖.๑ ข้อสังเกตประโยคควำมซ้อน
๒.๖.๑.๑ ถ้ำมีอนุประโยคทำหน้ำที่เป็นนำมหรือมีคำ "ว่ำ" อยู่ในประโยค เรียกว่ำ นำมำนุ
ประโยค
๒.๖.๑.๒ ถำ้ อนปุ ระโยคมคี ำวำ่ "ท"่ี "ซง่ึ " "อัน" อยหู่ น้ำประโยค เรียกวำ่ คณุ ำนปุ ระโยค
๒.๖.๑.๓ ถ้ำอนปุ ระโยคมีคำว่ำ "เมื่อ" "เพรำะ" "แมว้ ่ำ" อยู่หน้ำประโยค เรียกว่ำ วิเศษณำนุ
ประโยค
๒.๗ ประโยคความซ้อนทซี่ ับซอ้ น
ประโยคควำมซอ้ นที่ซับซอ้ นยิ่งข้ึนอำจมคี วำมซับซ้อนเพ่ิมขนึ้ ในกรณตี ่อไปนี้
๒.๗.๑ ประโยคหลกั หรอื ประโยคย่อยมีควำมซบั ซ้อนเพรำะมีคำหรือกลุ่มคำมำขยำยยดื ยำว
ตวั อยำ่ ง สรศกั ดิ์ท่มุ ก้อนหนิ ก้อนโตอยำ่ งสุดแรงเกิดเข้ำไปในพุ่มไม้ท่ีขโมยซอ่ นอยู่
แยกประโยคลงในตำรำงได้ดงั นี
ประโยคควำมซ้อน ตวั เช่ือม ประโยคควำมซ้อน
สรศกั ดิ์ทุ่มกอ้ นหนิ ก้อนโตอย่ำงสุดแรงเกดิ เขำ้ ไป ขโมยซ่อนอยู่
ในพมุ่ ไม้
ท่ี
ภำคประธำน ภำคแสดง ภำคประธำน ภำคแสดง
สรศกั ด์ิ ทุ่มก้อนหินก้อนโตอยำ่ ง (พุ่มไม้) มีขโมยซอ่ นอยู่
สุดแรงเกดิ เข้ำไปในพุ่ม
ไม้
๑๙
๒.๗.๒ ประโยคความซอ้ นมีสว่ นประกอบเปน็ ประโยคความรวม
ตวั อย่ำง สมใจมักจะเลำ่ เรอ่ื งสมศรีทีม่ กั ใส่ควำมคนอน่ื แต่ใคร ๆ ก็ไมเ่ ช่อื ใหฉ้ นั ฟงั บอ่ ย ๆ
ประโยคควำมซ้อน แยกประโยคลงในตำรำงไดด้ งั นี
ประโยคย่อย (ประโยคควำมรวมท่ีซบั ซ้อนอยู่)
สมใจมกั จะเล่ำเร่ือง...ให้ฉนั ฟังบอ่ ย ๆ สมศรที ม่ี ักใส่ควำมคนอ่ืนแตใ่ คร ๆ ก็ไม่เช่อื
ประโยคควำมเดียว ตวั เชอ่ื ม ประโยคควำมเดียว
สมศรีมักใสค่ วำมคนอ่นื แต่.....ก็ ใคร ๆ .................ไม่เชื่อ
๒.๗.๓ ประโยคความซอ้ นมีสว่ นประกอบเปน็ ประโยคความซอ้ น ซ้อนอยู่อกี ชน้ั หนง่ึ
ตัวอย่ำง สมพงษเ์ ล่ำวำ่ มำลเี สนอขำยสินค้ำใหเ้ ขำโดยไม่ถำมเขำสักคำวำ่ เขำต้องกำรสนิ คำ้
นั้นหรอื ไม่
แยกประโยคลงในตำรำงได้ดังนี
ประโยคหลกั (เปน็ ประโยคควำมซ้อน) ตวั เชอ่ื ม ประโยคย่อย (เปน็ ประโยคควำมซ้อน)
สมพงษ์เล่ำว่ำมำลีเสนอขำยสินคำ้ ให้เขำ (มำล)ี ไม่ถม่ เขำสกั คำวำ่ เขำต้องกำรสินค้ำ
ประโยคหลกั ตวั เชือ่ ม ประโยคยอ่ ย โดย หรอื ไม่
ประโยคหลกั ตัวเชื่อม ประโยคย่อย
สมพงษเ์ ลำ่ ว่ำ มำลเี สนอขำย (มำลี) ไมถ่ ำม ว่ำ เขำตอ้ งกำร
สนิ คำ้ เขำ เขำสักคำ สนิ คำ้ นัน้
หรอื ไม่
๒๐
๓. กำรจดั กำรเรยี นรู้ เร่ือง วิเครำะหร์ ะดบั ภำษำ
ระดับภาษา หมายถึง รูปแบบการใช้ภาษาที่มีลักษณะความเป็นทางการมากน้อยแตกต่างกันไป ใช้แสดง
ระดับการส่ือสารตามดุลพินิจของผู้ส่งสารว่า ในบริบทการสอ่ื สารนั้นสมควรใช้ภาษาท่ีมีความเป็นทางการมาก
น้อยเพียงใด ดังนั้น นักเรียนจึงควรเรียนรู้และรู้จักวิเคราะห์จาแนกระดับของภาษา เพ่ือท่ีสามารถใช้ภาษาใน
การสื่อสารได้ถูกตอ้ งกบั ระดบั ของบุคคล
๓.๑ ความหมายของระดบั ภาษา
ระดับของภำษำ หมำยถึง ควำมลดหลั่นของถ้อยคำและกำรเรียบเรียงถ้อยคำที่ใช้โดยพิจำรณำตำม
โอกำส หรือ กำลเทศะ ควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงบุคคลท่ีเป็นผู้ส่ือสำร และตำมเน้ือหำท่ีสื่อสำรกำรศึกษำเร่ือง
ระดับของภำษำเป็นสิ่งสำคัญเพรำะทำให้บุคคลแต่ละกลุ่มเข้ำใจภำษำของกันและกัน ไม่เกิดปัญหำด้ำน
กำรสื่อสำร และควำมสัมพนั ธ์ ระหวำ่ งบุคคล รวมทัง้ ยงั ทำให้ผู้ศกึ ษำได้เข้ำใจถึงลักษณะเฉพำะและวิวฒั นำกำร
ของภำษำไทยอีกด้วยกำรศึกษำเรื่องระดับภำษำอำจพิจำรณำได้หลำยวิธีตำมหลักเกณฑ์ต่ำง ๆ เช่น พิจำรณำ
ตำมฐำนะของบุคคล ตำมเน้ือหำ และตำมกำลเทศะที่สื่อสำรในที่น้ีจะกล่ำวถึงกำรพิจำรณำระดับภำษำ
ตำมกำลเทศะ / โอกำส ในกำรใชภ้ ำษำ เพ่อื ให้ผ้ใู ชภ้ ำษำสำมำรถเลือกใช้ภำษำ ในสถำนกำรณ์ ตำ่ ง ๆ ไดอ้ ยำ่ ง
เหมำะสม
๓.๒ ระดบั ของภำษำ
๓.๒.๑ ภำษำระดับทำงกำร
ภำษำระดับทำงกำร หรืออำจเรียกว่ำ ภำษำแบบแผน เป็นภำษำท่ีใช้ในสถำนกำรณ์ ท่ีเป็น
ทำงกำรหรือเป็นพิธีกำร ผูส้ ่งสำรมักเป็นบุคคลสำคัญ บุคคลระดับสูงในวงวิชำกำรหรือสังคม ผู้รับสำรอำจเป็น
บุคคลในวงกำรเดียวกันหรือประชำชนโดยทั่วไปก็ได้ ซึ่งผู้รับสำรจะเป็นเพียงผูร้ ับรู้ ไม่จำเป็นต้องมีกำรโต้ตอบ
ภำษำระดับนี้จะใช้ในกำรติดต่อธุรกิจ กำรงำน กำรเสนอข่ำว หนังสือรำชกำร เอกสำรรำชกำร งำนเขียนทำง
วชิ ำกำร กำรแสดงปำฐกถำ เช่น
ถ้ำท่ำนท้ังหลำยเห็นว่ำถึงเวลำแล้ว ท่ำนต้องเตรียมตัวท่ีจะเสียสละ คือ สละควำมมักใหญ่ ใฝ่สูง
ส่วนตัว ควำมริษยำโกรธแค้นส่วนตัวเสียให้สิ้น แล้วรวมกันตัดแต่งดวงจิตซ่ึงเป็นอันหน่ึง อันเดียวกันข้ึนเป็น
ของพลีทบ่ี ูชำแห่งควำมรักชำติ ให้สมควรทเี่ รำทงั้ หลำยไดช้ ื่อว่ำเป็นคนไทย อนั เป็นนำมซ่งึ ให้ควำมภมู ิใจแก่เรำ
ทัง้ หลำย
ลัทธิเอำอยำ่ ง : อศั วพำหุ
๒๑
นอกจำกน้ีภำษำระดับทำงกำรยังนำไปใช้ในสถำนกำรณ์ที่เป็นพิธีกำรต่ำงๆ เช่น คำกล่ำวบวงสรวง
คำกล่ำวในงำนพิธสี ำคัญ เช่น
ขอพระบรมเดชำนุภำพมหึมำแห่งสมเด็จพระบูรพมหำกษัตริยำธิรำชเจ้ำจงคุ้มครอง ประเทศชำติและ
ประชำชนชำวไทยใหผ้ ำ่ นพ้นอุปทั ว์พบิ ตั ิภัยทัง้ ปวง อรริ ำชศัตรภู ำยนอกอย่ำลว่ ง เข้ำทำอนั ตรำยได้ ศัตรหู ม่พู ำล
ภำยในให้วอดวำยพ่ำยแพ้ภัยตัว บันดำลควำมสุขมั่นคงให้บังเกิดทั่ว ภูมิมณฑล บันดำลควำมร่มเย็นแก่
อเนกนกิ รชนครบคำมเขตขอบ
รำชำทิสดี : ภำวำส บุนนำค
จำกตัวอย่ำง ภำษำระดับทำงกำรเป็นภำษำท่ีใช้ถ้อยคำตำมแบบแผนของภำษำเขียน มีควำมเคร่งครัด
เรื่องไวยำกรณ์และควำมสมบูรณ์ของประโยค
๓.๒.๒ ภำษำระดับกง่ึ ทำงกำร
ภำษำก่ิงทำงกำร หรือ ภำษำก่ึงแบบแผน เป็นภำษำที่ใช้สำหรับ กำรสนทนำพูดคุยกันใน
ชีวิตประจำวันหรือในโอกำสท่ีไม่เป็นทำงกำรกับบุคคลท่ีไม่คุ้นเคย เช่น เพ่ือน รู้จัก เพื่อนท่ีทำงำนหรือ
บุคคลท่ีสนิทสนมกันพอควร แต่มีผู้อื่นท่ีอำวุโสกว่ำร่วมสนทนำอยู่ด้วย ดังน้ันกำรสนทนำจึงต้องคำนึงถึง
ควำมสุภำพ ระมัดระวังกำรใช้ถ้อยคำหรือสำนวน ควรให้เกียรติผู้ท่ีร่วมสนทนำ สำหรับเนื้อหำสำระท่ีนำมำ
สนทนำ เช่นกำรปรึกษำเรื่องงำน กำรเขียนจดหมำยถึงเพ่ือน กำรรำยงำนข่ำว กำรเสนอบทควำม
ในหนังสือพิมพ์ เชน่
เด็กรุ่นผมถ้ำไปโรงเรียนถูกครูเฆ่ียน รู้ถึงหูพ่อแม่ต้องเจอไม้เรียวอีกรอบ โทษฐำนไปทำเกเร ขำยหน้ำ
พ่อแม่ ภำษำขำไพ่เรียกว่ำโดนสองเด้ง แต่เด็กรุ่นน้ีถูกครูเฆี่ยน พ่อแม่เอำเร่ืองกับครูให้เห็นดำเห็นแดงไปข้ำง
เลย
ระหว่ำงคนสองร่นุ ตำมประสำกำรต์ ูนนิสต์ : ชัย รำชวตั ร
๓.๓.๓ ภาษาระดบั ไมเ่ ปน็ ทางการ
เป็นภำษำท่ีใช้พูดสนทนำกันในชีวิตประจำวัน ระหว่ำงบุคคลท่ีมีควำมสนิทสนมคุ้นเคยกัน
เช่นในกลุ่มเพ่ือน บุคคลในครอบครัว ซ่ึงสถำนที่ เหมำะสมสำหรับกำรสนทนำด้วยภำษำระดับไม่เป็นทำงกำร
หรืออำจเรียกว่ำภำษำระดับกันเอง เป็น สถำนที่ส่วนตัว ภำษำระดับไม่เป็นทำงกำรอำจฟังดูแล้วไม่สุภำพ
ปะปนไปด้วยคำคะนอง คำหยำบ คำภำษำถ่ิน คำภำษำต่ำงประเทศ ภำษำในระดับน้ีเหมำะสมท่ีจะใช้สำหรับ
กำรพูดในชีวิตประจำวัน บุคคลที่คุ้นเคยกันและอำจใช้ในภำษำเขียนในรูปแบบของนิทำน เรื่องสั้น นวนิยำย
เพ่ือสร้ำงบรรยำกำศและควำมสมจริงให้แกต่ ัวละครภำยในเร่ือง เช่น
๒๒
“แกเอำวัวออกไป..เอำออกไปไอ้พวกฉบิ หำย..ลูกกูกำลังจะตำยให้กูไปซ้อื ยำก่อน” นำงร้องเสียงหลงรีบ
เอำมือยดึ รำวสะพำนไวอ้ ยำ่ งหมนิ่ เหม่ “นีจ่ ะแกลง้ กูไปทำไม...อย่ำแกว่งสะพำน..ว้ำยๆ บอกว่ำอย่ำแกวง่ ๆ” นำง
โวยวำยไม่ได้ ศัพท์ “น่นี ำง นำงอยำ่ ด้ินให้มนั มำกนกั ชี นำ้ ยำงหกหมดแล้วเหน็ ม้ัย..โอย กูจะบ้ำตำย..มำเจอ ดี ๆ
ทงั้ น้นั ” คนขำยนำ้ ยำงตะโกนข้ำมมำอีกฟำกหนึ่ง ดเู หมือนเขำจะทนไมไ่ ด้อีกต่อไปแลว้
ไพฑรู ย์ ธญั ญำ
ระดับภำษำ โอกำสและสถำนที่ ลกั ษณะภำษำที่ใช้
1. พิธีกำร มีลักษณะพธิ รี ีตอง ภำษำไพเรำะ
2. ทำงกำร กำรเปดิ ประชมุ กล่ำวรำยงำน กำรกล่ำว สละสลวย
สนุ ทรพจน์ กำรกล่ำวต้อนรับ กำรกล่ำวอวยพร ภำษำทำงกำร ถอ้ ยคำตรงไปตรงมำ
3. กึ่งทำงกำร มีศัพท์เทคนิค หรอื ศัพท์วชิ ำกำรบำ้ ง
4. ไม่เป็นทำงกำร กำรอภปิ รำยหรือกำรประชมุ รำยงำนวิชำกำร
ประกำรทำงกำร จดหมำยรำชกำร ใชภ้ ำษำเขียน แตม่ ภี ำษำเขียนแยก
5. กนั เอง จดหมำยกจิ ธุระ อยบู่ ้ำง
ใชภ้ ำษำพูดและสภุ ำพ กำรสนทนำ
กำรประชุมกลุม่ ย่อย กำรอภิปรำย กำรเสวนำ โต้ตอบไมเ่ กนิ 5 คน ในสถำนที่ไม่ใช่
กำรบรรยำยในห้องเรยี น สว่ นตัว
ใชภ้ ำษำพูด อำจมคี ำหยำบ
บทควำมแสดงควำมคิดเห็นในนิตยสำรหรือ ภำษำถิ่น คำสแลง ใช้ในวงจำกัด
หนังสือพิมพ์ รำยกำรสำระบันเทิงทำงโทรทัศน์
กำรปรกึ ษำหำรือกนั
กำรสนทนำเรือ่ งส่วนตวั กำรทักทำยระหวำ่ ง
เพ่อื นสนทิ
๒๓
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒
พัฒนาการอ่าน
๑. การจดั กำรเรยี นรู้ เรือ่ ง กำรอ่ำนออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว คือ การอ่านหนังสือโดยการที่ผู้อ่านเปล่งเสียงออกมาดัง ๆ ในขณะ
ที่อ่าน โดยมีจุดมุ่งหมายท่ีแตกต่างกัน ผู้อ่านต้องคานึงการอ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี การใช้น้าเสียงและลีลา
ในการอา่ นใหส้ อดคลอ้ งเหมาะสมกบั เรื่อง นกั เรียนควรฝกึ ฝน เพ่ือการสอ่ื สารไปยังผูฟ้ งั ได้อยา่ งชดั เจน
การอ่านออกเสียงร้อยกรอง คือ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ ในรูปแบบการอ่านแบบ
ธรรมดาและการอ่านแบบทานองเสนาะ เพื่อสื่อเน้ือหาและอารมณ์ความรู้สึกท่ีปรากฏไปสู่ผู้รับสารด้วย
ท่วงทานองที่แตกต่างกัน และสามารถท่องจาพร้อมกันบอกคุณค่าของบทอาขยานได้ ผู้เรียนควรฝึกฝนและ
เรียนรู้แนวทางการอ่านบทร้อยกรองเบื้องต้น เพื่อสื่อเน้ือหาและอารมณ์ท่ีลึกซ้ึงไปสู่ผู้รับสารให้มีอารมณ์ท่ี
คล้อยตามผ้พู ูดหรือผอู้ า่ นได้
๑.๑ ควำมหมำยของกำรอ่ำน
กำรอ่ำน หมำยถึง กระบวนกำรรับรู้และเข้ำใจสำรที่เป็นลำยลักษณ์อักษร และแปลสัญลักษณ์
เหล่ำนั้นเป็นควำมรู้ควำมเข้ำใจ โดยอำศัยทักษะกำรอ่ำนและกระบวนกำรคิด ประสบกำรณ์และควำมรู้ของ
ผู้อ่ำน และเม่ืออ่ำนจบแล้ว ผู้อ่ำนสำมำรถแสดงควำมคิดเห็นท่ีมีต่อเรื่องท่ีอ่ำน ทั้งในลักษณะที่เห็นด้วยหรือ
ขัดแย้ง ซ่ึงในกำรอ่ำนแต่ละคร้ังนอกจำกผอู้ ่ำนจะได้รับเรอ่ื งรำวสำระที่ผู้เขียนต้องกำรสื่อแลว้ ผ้อู ่ำนยังสำมำรถ
รับรู้ทรรศนะ เจตนำ อำรมณ์และควำมรู้สึกที่ผู้เขียนถ่ำยทอดมำ ซ่ึงกำรอำ่ นในแต่ละครั้งผู้อ่ำนจะได้รับในส่วน
ทเ่ี ปน็ เน้อื หำสำระ คอื ขอ้ เท็จจริง และสว่ นท่ีเปน็ อำรมณ์ควำมรสู้ ึกหรือทรรศนะของผู้เขียน
๑.๒. ระดบั ของกำรอำ่ น
กำรอำ่ นแบ่งออกเป็น ๒ ระดบั คอื
๑.๒.๑ อ่ำนได้ เป็นกำรอ่ำนทั่วไปท่สี ำมำรถแปลควำมหมำยได้ รับรู้ตัวอกั ษร
๑.๒.๒ อ่ำนเป็น เป็นกำรอ่ำนท่ีสำมำรถจับใจควำมสำคัญของเร่ืองท่ีอ่ำนได้ เข้ำใจแนวของเร่ือง
ควำมหมำยแฝง หรือควำมหมำยท่ีต้องเกิดจำกกำรตีควำมจึงจะเข้ำใจ รวมท้ังสำมำรถประเมินค่ำจำกเรื่อง
ทอี่ ำ่ นได้ ซึง่ ขนึ้ อย่กู บั ควำมรแู้ ละประสบกำรณ์ของผู้อ่ำนแต่ละคน
๑.๓ จดุ ประสงค์ของกำรอำ่ น
๑.๓.๑ อ่ำนเพื่อกำรเขยี น คือกำรอำ่ นเพือ่ นำควำมรมู้ ำใช้ในกำรเขียน
๑.๓.๒ อำ่ นเพอื่ หำคำตอบ คอื กำรอำ่ นเพ่อื ต้องกำรหำคำตอบสำหรบั ประเด็นคำถำมหน่งึ ๆ จำกแหล่ง
คน้ ควำ้ และเอกสำรประเภทต่ำง ๆ เพิม่ พูนควำมรู้ใหแ้ กต่ นเอง
๑.๓.๓ อำ่ นเพือ่ ปฏิบัติตำม คือกำรอำ่ นเพ่ือทำตำมคำแนะนำในขอ้ ควำมหรือหนงั สือท่ีอ่ำน
๑.๓.๔ อ่ำนเพ่ือหำควำมรู้หรอื สะสมควำมรู้ คือกำรอ่ำนเพอ่ื เพ่ิมพูนประสบกำรณ์ ควำมรู้
๑.๓.๕ อ่ำนเพ่ือควำมบันเทิง คือกำรอ่ำนตำมควำมพอใจของผู้อ่ำนเพ่ือควำมเพลิดเพลินและผ่อน
คลำย
๑.๓.๖ อ่ำนเพื่อรู้ข่ำวสำร คือกำรอ่ำนเพ่ือศึกษำ รับรู้ควำมเป็นไปของโลก และพัฒนำควำมรู้ของ
ตนเอง
๒๔
๑.๓.๗ อ่ำนเพ่ือแก้ปัญหำ คอื กำรอ่ำนเพอื่ หำคำตอบ หรือแนวทำงกำรแก้ปัญหำเรือ่ งใดเรื่องหนง่ึ
๑.๔ ประเภทของกำรอำ่ น
กำรอ่ำนแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังน้ี
๑.๔.๑ กำรอำ่ นออกเสียง คือ กำรอ่ำนตวั หนงั สือโดยท่ีผู้อ่ำนเปลง่ เสียงออกมำ เปน็ กำรอำ่ นทต่ี ้องแปล
รูปสญั ลกั ษณห์ รืออักษรให้ออกมำเป็นเสียง
๑.๔.๒ กำรอำ่ นในใจ คอื กำรทำควำมเข้ำใจสญั ลักษณ์ทบี่ ันทกึ ไวเ้ ปน็ ลำยลักษณ์อกั ษร รวมถึงรูปภำพ
และเคร่ืองหมำยต่ำง ๆ ออกมำเป็นควำมหมำย โดยใช้สำยตำทอดออกไปตำมตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ แล้วใช้
กระบวนกำรคิด แปลควำมหมำย ตีควำม เพือ่ รบั สำรนน้ั ๆ
๑.๕ มำรยำทในกำรอ่ำนออกเสียง
๑.๕.๑ กำรใช้น้ำเสียง คือ ควรพิจำรณำกำรใช้น้ำเสียงให้สอดคล้อง เหมำะสมกับเน้ือหำ ไม่ควรดัด
เสียงจนไม่เป็นธรรมชำติ ซ่ึงอำจทำใหผ้ ู้ฟังทำควำมเข้ำใจเน้อื หำไม่ตรงกับเจตนำของผู้อ่ำน รวมถึงกำรดัดเสียง
จนเกนิ งำม กอ็ ำจสร้ำงควำมรำคำญแก่ผู้ฟงั ได้
๑.๕.๒ มีบุคลิกภำพท่ีดี คือ กำรจัดระเบียบท่ำยืน ท่ำนั่งให้เหมำะสม ไม่หลุกหลิก และไม่ควร
ยกรำ่ งขอ้ ควำมมำให้ผฟู้ งั เหน็ หรอื ก้มหน้ำกม้ ตำอ่ำนจนไมส่ นใจผูฟ้ ัง
๑.๕.๓ ควรสงั เกตปฏกิ ริ ยิ ำของผู้ฟัง คือสังเกตว่ำผูฟ้ ังทำควำมเข้ำใจตำมผอู้ ำ่ นทันหรอื ไม่ รวมถงึ สงั เกต
ว่ำผู้ฟังให้ควำมสนใจมำกน้อยเพียงใด แล้วจึงปรับเพ่ิมหรือลดควำมเร็วในกำรอ่ำน ลีลำน้ำเสียงเพื่อดึงให้ผู้ฟัง
เข้ำมำมสี ว่ นร่วมในกำรฟัง
๑.๕.๔ ไม่แสดงอำรมณ์โมโห หงุดหงิด หรือใช้ถ้อยคำไม่สุภำพในกำรว่ำกล่ำวตักเตือนเม่ือเห็นว่ำผู้ฟัง
ไมต่ งั้ ใจหรือพูดคุยเสียงดัง
๑.๖ กำรอำ่ นออกเสยี งร้อยแก้ว
๑.๖.๑ ควำมหมำย
ร้อยแก้ว หมำยถึง ควำมเรียงที่สละสลวยในรูปแบบกำรบรรยำย พรรณนำ เทศนำ สำธก
หรืออุปมำโวหำร รวมถึงบทพูด บทสนทนำ บทสัมภำษณ์ ประกำศหรือข่ำวสำรต่ำง ๆ เป็นกำรอ่ำนโดยไม่มี
กำรบังคบั ฉันทลักษณ์
กำรอ่ำนออกเสียงร้อยแก้ว หมำยถึง กำรอ่ำนหนังสือโดยที่ผู้อ่ำนเปล่งเสียงออกมำในขณะที่
อ่ำน ซ่ึงกำรอ่ำนออกเสียงในแต่ละคร้ังอำจมีจุดมุ่งหมำยอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งหรือหลำยอย่ำงรวมกัน หรือมี
จุดมุ่งหมำยเฉพำะ โดยผู้อ่ำนต้องคำนึงถึงกำรอ่ำนออกเสียงให้ถูกต้องตำมอักขรวิธี กำรใช้น้ำเสียงและลีลำใน
กำรอ่ำนสอดคล้องกับเรอ่ื งท่ีอำ่ น เปน็ กำรอ่ำนโดยไม่มกี ำรบังคับฉันทลกั ษณ์
๑.๖.๒ แนวทำงในกำรฝึกอำ่ นออกเสียงร้อยแกว้
๑.๖.๒.๑ ผู้อ่ำนต้องอ่ำนให้ถูกต้องตำมอักขรวิธี โดยยึดหลักกำรอ่ำนจำกพจนำนุกรมฉบับ
รำชบัณฑิตยสถำน รวมทัง้ คำที่สำมำรถอำ่ นไดต้ ำมควำมนิยม
๑.๖.๒.๒ ผู้อ่ำนต้องมีสมำธิและควำมม่ันใจในกำรอ่ำน ไม่อ่ำนผิด ไม่อ่ำนตก อ่ำนเติม ขณะ
อำ่ นต้องควบคุมสำยตำให้ไล่ไปตำมตัวอักษรทุกตวั ในแต่ละบรรทดั จำกซ้ำยไปขวำด้วยควำมรวดเร็วว่องไวและ
รอบคอบ แล้วยอ้ นสำยตำกลบั ลงไปยังบรรทดั ถัดไปได้อยำ่ งแม่นยำ
๒๕
๑.๖.๒.๓ ผู้อ่ำนควรอ่ำนให้เป็นเสียงปกติ โดยเน้นเสียง หนัก เบำ สูง ต่ำ ซึ่งต้องใช้เน้ือหำ
สำระของเร่ืองที่อ่ำนเป็นหลักว่ำควรอ่ำนหนัก เบำ สูง หรือต่ำ และต้องพิจำรณำเนื้อควำมท่ีอ่ำนด้วยว่ำ
เร่ืองรำวเป็นไปในทำงใด เช่น โกรธ เศร้ำ เสียใจ ต่ืนเต้น เป็นต้น ซ่ึงผู้อ่ำนควรใช้น้ำเสียงให้ถูกต้องกับอำรมณ์
ของเร่ืองท่อี ่ำน
๑.๖.๒.๔ อ่ำนเสียงดังพอเหมำะ ไม่อ่ำนตะโกนหรือเบำจนเกินไป ซ่ึงอำจทำผู้ฟังเกิด
ควำมรำคำญหรือไม่สนใจ
๑.๖.๒.๕ เมื่อจบย่อหน้ำหนึ่งควรผ่อนลมหำยใจ และเม่ือข้ึนย่อหน้ำใหม่ควรเน้นเสียงและ
ทอดเสียงให้ช้ำลงกวำ่ ปกตเิ ล็กน้อยเพ่อื ดงึ ดูดควำมสนใจของผฟู้ งั จำกนน้ั กใ็ ช้เสยี งในระดบั ที่ปกติ
๑.๖.๒.๖ อ่ำนให้ถูกจังหวะวรรคตอน ต้องอ่ำนให้จบคำและได้ใจควำม ถ้ำเป็นคำยำวหรือ
หลำยพยำงค์กไ็ ม่ควรหยุดกลำงคำหรอื ตดั ประโยคจนเสียควำม
๑.๖.๒.๗ ร้จู ักเนน้ คำที่สำคัญและคำท่ีต้องกำรเพอ่ื ใหเ้ กิดจินตภำพตำมท่ีต้องกำร กำรเน้นควร
เน้นเฉพำะคำไมใ่ ช่ทงั้ วรรคหรือท้งั ประโยค
๑.๖.๒.๘ อำ่ นออกเสียงให้ชัดเจน เชน่ ง ร ล คำควบกลำ้ อักษรนำ เปน็ ตน้
๑.๖.๒.๙ เมื่ออ่ำนเคร่ืองหมำยที่มีวรรคตอนกำกับ ควรอ่ำนให้ถูกต้องตำมหลัก เช่น โปรด
เกลำ้ ฯ ตอ้ งอ่ำนวำ่ โปรดเกล้ำโปรดกระหมอ่ ม
๑.๖.๒.๑๐ ควรฝึกลมหำยใจระหวำ่ งออกเสียง เพอื่ เก็บลมให้สำมำรถอำ่ นประโยคยำว ๆ เป็น
บรรทัดไดอ้ ยำ่ งไม่สะดุด อยำ่ ให้ลมหำยใจสัน้ จนเกินไป มีจังหวะหยดุ สั้นและหยดุ ยำว
๑.๖.๓ เคร่อื งหมำยทใ่ี ชก้ ำหนดในกำรฝกึ อ่ำนออกเสยี งร้อยแก้ว
/ เวน้ เล็กนอ้ ยเพ่ือหยุดหำยใจ
// เวน้ เมือ่ จบข้อควำมหลกั หรอื เวน้ ยำวกวำ่ /
_____ แสดงคำทีต่ ้องเน้นเสียงหนัก
... ทอดเสียง
๑.๖.๔ ข้อควรระวังในกำรอ่ำนออกเสยี งรอ้ ยแก้ว
๑.๖.๔.๑ ไมเ่ วน้ วรรคระหวำ่ งประธำน กริยำและกรรม รวมท้งั ไม่เว้นวรรคระหว่ำงคำเชือ่ ม
๑.๖.๔.๒ หำกประธำนเดิมมีคำกรยิ ำหลำยตวั กริยำตัวต่อ ๆ ไปใหเ้ วน้ วรรคไดบ้ ้ำง
๑.๗ การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง
๑.๗.๑ ความหมาย
รอ้ ยกรอง หมายถึง คาประพันธ์ท่ีแต่งโดยมีการบังคับจานวนคา สัมผัส ฉันทลักษณ์ ตามแบบ
แผนของร้อยกรองแต่ละประเภท ได้แก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย เป็นตน้
การอ่านออกเสียงร้อยกรอง หมายถึง การอ่านออกเสียงงานเขียนร้อยกรองประเภทต่าง ๆ
เพื่อสอื่ เนือ้ หาและอารมณ์ความรู้สกึ ทปี่ รากฏไปสู่ผู้รับสารด้วยท่วงทานองที่แตกต่างกนั
การอ่านออกเสียงร้อยกรองแบบทานองเสนาะ หมายถึง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
ประเภทต่าง ๆ ตามทานองลีลาและจังหวะของการประพันธ์ เพื่อให้ผู้อ่าน ผู้ฟังเข้าถึงความงดงามของภาษา
การอ่านทานองเสนาะบทร้อยกรองจะมีความแตกต่างกันตามทานอง ลีลา การทอดเสียง และความสามารถ
ของผอู้ า่ น
๒๖
๑.๗.๒ แนวทางการอ่านบทร้อยกรองแบบทานองเสนาะ
๑.๗.๒.๑ ฝึกแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ท่วงทานอง ลีลา ออกเสียงควบกล้า หรือเสียง ร ล ให้
ชดั เจน ตรงตามเสียงวรรณยกุ ต์ อา่ นใหเ้ ตม็ เสยี งและต่อเน่อื งกนั ไม่ขาดเป็นห้วง ๆ
๑.๗.๒.๒ ฝึกเอ้ือนเสียง โดยลากเสียงช้า ๆ เพื่อให้เข้าจังหวะและไว้หางเสียงให้ไพเราะ และ
เออ้ื นในพยางค์ท่เี ป็นเสยี งสูง แตท่ ัง้ นต้ี อ้ งไม่เออื้ นเสยี งที่คาลหุ เนื่องจากเป็นคาที่มเี สียงสั้นและเบา
๑.๗.๒.๓ ต้องรู้จักอ่านรวบคา หรือพยางค์ที่เกินจากท่ีกาหนดไว้ในฉันทลกั ษณ์ โดยอ่านให้เร็ว
ขึ้นและเสียงให้เบาลงกวา่ ปกตจิ นกวา่ จะถึงคาหรอื ที่พยางค์ทต่ี ้องการจงึ ลงเสียงหนัก
๑.๗.๒.๔ รู้จักใส่อารมณ์ ความรู้สึกลงในบทประพันธ์ท่ีอ่าน ซึ่งหมายความว่า ผู้อ่านต้องทา
ความเข้าใจความหมายที่แทจ้ รงิ ของบทประพนั ธแ์ ละสื่อไปยังผฟู้ งั ใหต้ รงตามเจตนาท่ีแท้จรงิ
๑.๗.๒.๕ พยายามไม่อ่านฉีกคา หรือฉีกความ โดยใส่ใจเฉพาะเป็นตาแหน่งคาสัมผัสแต่
ประการเดียว เพราะหากอ่านฉีกคาหรือฉีกข้อความแลว้ อาจทาให้เนื้อความเสียไปหรือผู้ฟังเข้าใจความหมาย
คลาดเคล่ือนได้
๑.๘ แนวทางการอ่านกลอนสภุ าพ
๑.๘.๑ แผนผังกลอนสุภาพ
วรรคสดับ วรรครับ
วรรครอง วรรคส่ง
สมั ผสั ระหวา่ งบท
คณะ : กลอนหนึ่งบทมี ๔ วรรค หรือ ๒ คากลอน หน่งึ วรรคมี ๗ - ๙ คา
สัมผสั : คาสุดท้ายของวรรคท่ี ๑ และ วรรคท่ี ๓ ส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๓ ของวรรคท่ี ๒ และ วรรคท่ี ๔
โดยอาจอนโุ ลมให้ส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๔และ คาที่๕ ได้ รวมถึงมีการวางระเบยี บบังคบั เสียงวรรณยุกต์ทา้ ยวรรค
โดยท้ายวรรคที่ ๑ เปน็ เสียงวรรณยุกตใ์ ดกไ็ ด้ (ยกเวน้ เสยี งสามญั ) วรรคที่ ๒ เป็นเสยี งวรรณยุกตจ์ ตั วา (อนโุ ลม
ให้เป็นเสียงเอกได้) สว่ นวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ให้ลงทา้ ยวรรคดว้ ยเสยี งสามญั
๒๗
๒. กำรจดั กำรเรยี นรูเ้ ร่อื งกำรวเิ ครำะห์คำท่มี คี วำมหมำยโดยตรงและโดยนยั
คาท่ีมีความหมายโดยตรง คือ คาที่มีความหมายตรงตามตัวอักษรซึ่งเป็นความหมายที่พจนานุกรมกาหนด
เป็นความหมายท่ีใช้ในการส่ือสารทั่วไป ส่วนคาที่มีความหมายโดยนัย คือ คาที่มีความหมายไม่ตรงตาม
ตัวอักษรแต่มีความหมายอื่นแฝงอยู่ นักเรียนจาเป็นท่ีต้องรู้และบอกได้ว่าคาใดเป็นความหมายโดยตรงหรือ
โดยนัย การอ่านวิเคราะห์ความหมายของคาจึงเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับผู้อ่านหรือผู้ฟัง เพราะทาให้เรารับรู้
ความหมายทีแ่ ท้จรงิ ทผี่ ู้สง่ สารต้องการส่ือ
๒.๑ ความหมาย
ความหมายโดยตรง หรือ ความหมายนัยตรง คาที่มีความหมายตรงตัว เช่น ดาว หมายถึง สิ่งท่ีเห็น
เป็นดวงบนทอ้ งฟ้าเวลามดื เก้าอี้ หมายถึง ที่สาหรับนัง่ มีขา เพชรหมายถึงช่ือแก้วที่แข็งทส่ี ุดและมีน้าแวววาว
กว่าพลอยอ่ืน ๆ นกขม้ิน หมายถึง ช่ือนกชนิดหนง่ึ ตัวเท่านกเอี้ยง มีหลายสี กา หมายถึงช่ือนกชนิดหน่ึง ตัวสี
ดา รอ้ ง กา ๆ
ความหมายโดยนัย หรือ ความหมายนัยประหวัด คาท่ีไม่ได้แปลความหมายตรงตัว แต่จะแปล
ความหมายเปรียบเทียบ ซึ่งทุกคนในสังคมเข้าใจความหมายน้ันเป็นอย่างดี อาจใช้ว่า คาที่มีความหมาย
โดยนัย หรอื คาทีม่ ีความโดยอปุ มา
๒.๒ ตวั อย่างความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย
๒.๒.๑ เกา้ อี้
ความหมายโดยตรง คือ นกั เรียนช่วยกันจดั เกา้ อ้ใี นห้องเรยี น
ความหมายโดยนยั คือ ส.ส.กาลังแย่งเกา้ อี้กนั (ตาแหน่ง)
๒.๒.๒ ดาว
ความหมายโดยตรง คือ เราจะเหน็ ดาวชัดเจนในคนื เดือนมืด
ความหมายโดยนัย คือ ภราดรวดีเป็นดาวเด่นในการประกวดเชียร์ลีดเดอร์ (จุดเด่น คนที่มี
ลกั ษณะเด่น
๒.๒.๓ เพชร
ความหมายโดยตรง คือ ผู้หญงิ ชอบเครื่องเพชร
ความหมายโดยนัย คือ ขุนช้างขนุ แผนเป็นเพชรเมด็ งามประดบั วงวรรณกรรมไทย (สง่ิ ที่มี
คณุ ค่า)
๒.๒.๔ กลว้ ย
ความหมายโดยตรง คือ ลิงกาลังกินกล้วย
ความหมายโดยนัย คอื แบบฝึกทักษะเร่ืองนี้ เปน็ เรอื่ งกล้วย ๆ สาหรับฉนั (งา่ ย)
๒.๒.๕ หิน
ความหมายโดยตรง คือ ฉนั เดินสะดดุ หินหกล้ม
ความหมายโดยนัย คอื แบบทดสอบวิชาภาษาไทย หินมาก ฉันทาไม่ไดเ้ ลย (ยาก)
๒๘
๒.๒.๖ เพชร
ความหมายโดยตรง คอื ผู้หญิงชอบเคร่ืองเพชร
ความหมายโดยนัย คอื สนุ ทรภู่เป็นเพชรเม็ดงามประดบั วงวรรณกรรมไทย (ส่ิงท่ีมคี ุณค่า)
๒.๒.๗ เต่า
ความหมายโดยตรง คือ เตา่ เป็นสัตวค์ รง่ึ บกคร่งึ นา้ กินผักและปลาเล็กเป็นอาหาร
ความหมายโดยนยั คือ พนักงานทางานเหมือนเต่า (เชื่องชา้ )
๒.๒.๘ ลิง
ความหมายโดยตรง คอื ลิงอาศัยอยูบ่ นตน้ ไม้ โหนก่งิ ไมไ้ ปมา
ความหมายโดยนยั คือ นักเรียนวิ่งไปวิ่งเป็นลงิ เลย (ส่งิ ทีม่ คี ุณค่า)
๒.๒.๙ ชา้ ง
ความหมายโดยตรง คอื ช้างปา่ โขลงนัน้ ดูรูปรา่ งบกึ บนึ มาก
ความหมายโดยนัย คือ เดก็ คนนน้ั อ้วนเหมอื นช้าง (อว้ น ใหญ่ มกี าลังมาก)
๒.๒.๑๐ นางฟา้
ความหมายโดยตรง คือ นางฟ้าเป็นนางในเทพนยิ ายอยูบ่ นสวรรค์
ความหมายโดยนยั คือ นางฟา้ อยา่ งเธอไมค่ ู่ควรกบั ฉนั (ผู้หญงิ ทีส่ วย สงา่ ร่ารวย)
๒.๒.๑๑ ปลาซิว
ความหมายโดยตรง คือ ปลาซวิ เปน็ สัตว์น้าจดื ขนาดเล็ก อาศัยอยูบ่ นผิวน้า
ความหมายโดยนัย คือ หกล้มแค่น้ีร้องไห้หนัก เป็นปลาซิวมาก (ใจน้อย หวาดระแวง
ไม่กลา้ หาญ)
๒.๒.๑๒ เดก็ เลี้ยงแกะ
ความหมายโดยตรง คือ เดก็ ผชู้ ายคนนนั้ เปน็ เดก็ เล้ียงแกะ ทุกตอนเย็นเขาไล่ต้อนแกะเข้าคอก
ความหมายโดยนยั คือ พดู จาเปน็ เดก็ เล้ยี งแกะ (โกหก คนที่พดู จาเหลวไหล หลอกลวง )
๒.๒.๑๓ แมพ่ ิมพ์
ความหมายโดยตรง คือ การหล่อเทียนพรรษาต้องใช้แม่พิมพ์ขนาดใหญ่ในการหล่อเทียน
เพอ่ื ใหร้ ปู ทรงท่ีสวยงาม
ความหมายโดยนยั คือ แมพ่ ิมพ์ทดี่ ยี ่อมรักลูกศษิ ย์ (ครู อาจารย์)
๒.๒.๑๔ มอื ขวา
ความหมายโดยตรง คอื เขาเขยี นหนงั สือด้วยมอื ขวา
ความหมายโดยนยั คอื เจา้ นายให้มือขวาคนสาคัญดแู ลเร่อื งการผลิตในโรงงาน (คนใกล้ชิดท่ี
ไว้วางใจใหท้ างานแทนได้)
๒.๒.๑๕ จบั มือ
ความหมายโดยตรง คือ ชาวตา่ งชาตเิ วลาพบเจอกันมักจะทักทายกนั ด้วยการจับมือ
ความหมายโดยนยั คือ ชาวบ้านจบั มือกนั พฒั นาชมุ ชน (รว่ มดว้ ยชว่ ยกนั )
๒๙
๓. กำรจัดกำรเรยี นรู้ เร่ือง กำรอำ่ นจบั ใจควำมสำคัญ
การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การหาสาระสาคัญ หรือแก่นของข้อความและความคิดสาคัญหลักของ
ข้อความ หรือเรื่องที่อ่าน เป็นข้อความท่ีคลุมข้อความอ่ืน ๆ ในย่อหน้าหน่ึง ๆ ไว้ทั้งหมด นักเรียนจึงควร
พิจารณาเนื้อหาให้ละเอียด เพ่ือให้เข้าใจสาระสาคัญของเร่ืองราวต่าง ๆ ได้รวดเร็วและทาให้การรับสารมี
ประสทิ ธิภาพมากย่งิ ข้ึน
๓.๑ ความหมายของการอา่ นจับใจความสาคัญ
การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสาคัญหลักของข้อความ
หรือเรื่องที่อ่าน เป็นข้อความที่คลุมข้อความอ่ืน ๆ ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ไว้ทั้งหมด ซ่ึงการอ่านจับใจความสาคัญมี
องคป์ ระกอบ ๒ ส่วน คอื
๓.๑.๑ ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความท่ีสาคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าท่ี
สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอ่ืน ๆ ในย่อหน้านั้นหรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเร่ืองของย่อหน้านั้น
ได้ ถ้าตัดเน้ือความของประโยคอ่ืนออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยว ๆ ได้ โดยไม่ต้องมี
ประโยคอ่ืนประกอบ ซ่งึ ในแต่ละย่อหนา้ จะมปี ระโยคในความสาคัญเพียงประโยคเดยี ว หรืออย่างมากไม่เกิน ๒
ประโยค
๓.๑.๒ ใจความรอง หรือพลความ(พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรือประโยคท่ีขยาย
ความประโยคใจความสาคัญ เป็นใจความสนับสนุนใจความสาคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็นการอธิบายให้
รายละเอียด ให้คาจากัดความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด
ส่วนทมี่ ใิ ช่ใจความสาคัญ และมิใช่ใจความรอง แต่ชว่ ยขยายความใหม้ ากขน้ึ คือ รายละเอียด
๓.๒ หลักการอ่านจบั ใจความสาคญั
มหี ลักการดังต่อไปนี้
๓.๒.๑ ตงั้ จุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน
๓.๒.๒ อ่านเรื่องราวใหเ้ ข้าใจ ประมาณ ๑-๒ รอบ และเกบ็ ใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า
๓.๒.๓ เมอื่ อา่ นจบให้ตง้ั คาถามตนเองว่า เรื่องทอี่ า่ น มใี คร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือไร อยา่ งไร
๓.๒.๔ นาสง่ิ ท่สี รุปได้มาเรยี บเรียงใจความสาคัญใหมด่ ว้ ยสานวนของตนเองเพอ่ื ให้เกดิ ความสละสลวย
๓.๓ วิธีจบั ใจความสาคญั
วิธีการจับใจความมีหลายอย่าง ข้ึนอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างกัน
แสดงความสาคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกยอ่ เป็นส่วนหน่ึงของการอ่านจับใจความสาคญั ท่ีดี แต่ผู้ทีย่ ่อ
ควรย่อด้วยสา นวนภาษาและสานวนของตน เองไม่ควรย่อ ด้วยการ ตัดเอ าข้อความสาคั ญมาเรียงต่อกั น
เพราะอาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้ การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้
๓.๑.๑ การอา่ นจับใจความสาคญั แบบระบตุ าแหนง่
เปน็ การอา่ นข้อความสั้น ๆ เช่น บทความวิชาการ ข่าว ขอ้ ความ เป็นงานเขียนท่ีไม่มเี รื่องราว
ไม่เน้นตัวละคร ที่สามารถพิจารณาใจความสาคัญแบบระบุตาแหน่งได้ โดยสามารถพิจารณาทีละย่อหน้า
หาประโยคใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้าและตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สานวนโวหาร
อุปมาอุปไมย (การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคาถามหรือคาพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยาย
ใจความสาคัญ ซง่ึ ใจความสาคัญของขอ้ ความในแตล่ ะย่อหนา้ จะปรากฏดังน้ี
๓.๑.๑.๑ ประโยคใจความสาคญั อยู่ตอนต้นของย่อหน้า
๓๐
๓.๑.๑.๒ ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนกลางของย่อหน้า
๓.๑.๑.๓ ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า
๓.๑.๑.๔ ประโยคใจความสาคญั อย่ตู อนต้นและตอนทา้ ยของย่อหน้า
๓.๑.๑.๕ ผู้อ่านสรปุ ข้นึ เอง จากการอ่านท้งั ยอ่ หนา้ (ในกรณใี จความสาคัญหรือความคิดสาคัญ
อาจอยรู่ วมในความคิดยอ่ ย ๆ โดยไมม่ คี วามคิดทเี่ ปน็ ประโยคหลัก)
ตวั อยา่ ง
-ใจความสาคญั อยู่ตอนต้นยอ่ หน้า
ความสมบรู ณ์ของชวี ติ มาจากความเขา้ ใจชีวติ เปน็ พ้นื ฐาน คอื เข้าใจธรรมชาติ เขา้ ใจความเป็นมนษุ ย์
และความสัมพันธ์ท่ีเกื้อกูลกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ มีความรัก ความเมตตา
ต่อเพ่อื นมนษุ ย์และธรรมชาตอิ ย่างจริงใจ
-ใจความสาคญั อย่ตู อนทา้ ยย่อหน้า
ความเครยี ดทาใหเ้ พ่ิมฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หวั ใจเต้นเร็ว เส้นเลอื ดบบี ตัว กล้ามเนอ้ื เขม็ง
ตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติเกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง ใจส่ัน แข้งขาอ่อนแรง ความเครียดจึงเป็นตัวการ
ใหแ้ กเ่ รว็
-ใจความสาคญั อยูต่ อนกลางย่อหน้า
โดยท่ัวไปผักท่ขี ายตามท้องตลาดสว่ นใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกาจัดศัตรูพชื หากไม่มคี วามรอบคอบ
ในการใช้ จะทาให้เกิดสารตกค้าง ทาให้มีปญั หาต่อสขุ ภาพ ฉะนน้ั เมอื่ ซอื้ ผกั ไปรับประทานจงึ ควรลา้ งผกั ด้วยน้า
หลาย ๆ คร้ัง เพราะจะช่วยกาจัดสารตกค้างไปได้บ้าง บางคนอาจแช่ผักโดยใช้น้าผสมโซเดียมไบคาร์บอเนต
กไ็ ด้ แตอ่ าจทาใหว้ ิตามินลดลง
-ใจความสาคญั อยทู่ ้ังตอนตน้ และตอนท้ายยอ่ หนา้
การรักษาศีลเพอื่ บังคับตนเองให้มีระเบียบวินัยในการกระทาทกุ สง่ิ ทุกอย่าง เช่น เรามาอยวู่ ัด มานุ่ง
ขาวห่มขาว ไม่ใช่ถือแต่ศีลแปดข้อเท่าน้ัน แต่เราต้องนึกว่าศีลนั้นคือความมีระเบียบ มีวินัย เราเดินอย่างมี
ระเบียบมีวินัย น่ังอย่างมีระเบียบ กินอย่างมรี ะเบียบ ทาอะไรก็ทาอย่างมีระเบียบนั่นเปน็ คนที่มีศีล ถ้าเราไม่มี
ระเบยี บกไ็ มม่ ศี ีล
-ใจความสาคัญไม่ปรากฏในสว่ นใด ตอ้ งสรปุ เอง
การเดิน การว่ายน้า การฝึกโยคะ การออกกาลังกายด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการหายใจลึก ๆ
ล้วนมีสว่ นทาใหส้ ุขภาพแข็งแรง
ใจความสาคญั คอื การทาใหส้ ขุ ภาพแข็งแรงทาได้หลายวิธี
๓.๑.๒ การอา่ นจับใจความสาคญั ดว้ ยหลกั การ 5W1H
หลักการอ่านจับใจความสาคัญด้วยหลักการ 5W1H เป็นการอ่านที่ก่อให้เกิดความคิดที่
ละเอียด จากเหตไุ ปสผู่ ล ตลอดจนการเช่ือมโยงความสัมพันธข์ องเรอ่ื งราวต่าง ๆ ซงึ่ สามารถสรุปใจความสาคัญ
ในรูปแบบงานเขียนท่ีมักจะมีตัวละครเป็นตัวดาเนินเรื่อง เช่น นิทาน นิยาย นวนิยาย และเรื่องส้ัน หรือข่าวมี
บคุ คลมาเกย่ี วขอ้ ง เป็นตน้ ทจี่ ะสามารถสรปุ ใจความสาคัญดว้ ยหลักการ 5W1H ได้ ซง่ึ จะประกอบด้วย
๓๑
๓.๑.๒.๑ Who (ใคร)
๓.๑.๒.๒ What (อะไร)
๓.๑.๒.๓ When (เมือ่ ไร)
๓.๑.๒.๔ Where (ท่ีไหน)
๓.๑.๒.๕ Why (ทำไม)
๓.๑.๒.๖ How (อย่ำงไร)
๓.๑.๒.๑ ตัวอยา่ งการอ่านจบั ใจความสาคญั ด้วยหลกั การ 5W1H
สุนขั ทดี่ รุ า้ ย
The Ferocious dog
ผู้แตง่ : Retelling of a tiaditionai indian story
ครง้ั หนงึ่ มีสุนขั เล็ก ๆ ธรรมดา ๆ ตวั หน่ึง….. ท่ไี ม่ดรุ า้ ยแตก่ ไ็ มส่ งบเสงี่ยมอะไรนัก
วันหน่ึง เจ้าสุนัขตัวนี้เดินเลยเข้าไปในห้องข้างเคียง แล้วก็พบว่าตัวมันหลุดเข้าไป ในห้องโถงที่เต็มไป
ด้วยกระจกเงาเจ้าสุนัขตัวน้อยกวาดสายตามองไปโดยรอบ แล้วก็พบว่ามีสุนัขอีกนับร้อยท่ีกาลังมองมายังมัน
ซง่ึ ทาให้มนั ตกใจกลัวมากทถ่ี กู ล้อมกรอบเชน่ น้ัน จึงทง้ั เหา่ ทัง้ แยกเขี้ยวยงิ ฟันเขา้ ใส่
แต่แล้วมันก็ต้องตกใจยิ่งไปกว่าน้ันเม่ือได้พบว่า เจ้าหมานับร้อยน้ัน ก็ทาแบบเดียวกันใส่มันด้วย…!
ทันใด เจ้าสุนัขตัวน้อยก็ตกอยู่ในท่ามกลางความมุ่งร้ายหมายขวัญของกองทัพสุนัขทีน่ ่ากลัวท่ีสุดในโลก….. มัน
จึงยิ่งเห่ากระชั้นด้วยความอกสั่นขวัญหาย ทั้งยังกระโจนเข้าไปจะกัดสุนัขตัวอื่น…. แต่พอเข้าไปใกล้ก็ต้องถอย
กรูด เพราะสุนัขพวกนั้นพร้อมจะเข้าขย้ามันด้วยเช่นกันเหตุการณ์เช่นน้ีจะต้องดาเนินไปอีกนาน ถ้าเจ้าของไม่
ออกมาตามหามันเสียก่อน ทันทีที่เจ้าสุนัขตัวน้อยเหลือบไปเห็นเจ้าของและได้ยินเสียงเรียกท่ีคุ้นหู มันกระดิก
หางพรอ้ มกับกระโดดขน้ึ -ลงด้วยความดีใจและกเ็ ชน่ เดียวกนั …. เจ้าสุนขั นบั ร้อยในห้องน้ันก็ทาแบบเดียวกบั มัน
ดว้ ย… ซงึ่ ทาให้เจา้ สนุ ัขนอ้ ยครนุ่ คดิ อยู่ในใจวา่ ..บางทใี นโลกใบใหญ่นี้มันอาจไม่ไดน้ ่ากลัวอย่างทีค่ ิดก็เปน็ ได้…
( 100 นิทำน 1 ล้ำนกำลงั ใจ, หน้า ๑๓๘-๑๓๙ )
๓.๑.๒.๒ การจบั ใจความสาคญั โดยใช้หลกั กำร 5W1H
๑) ใชห้ ลัก 5W1H ดังนี
Who (ใคร) : สุนขั ตวั หนงึ่
What (อะไร) : เดนิ เข้ำไปพบกับสุนขั นบั รอ้ ยตัว
When (เมอ่ื ไร) : เมอ่ื มันเดินเข้ำไปในห้องโถงใหญท่ ่ีมกี ระจกรอบด้ำน
Where (ทไี่ หน) : ในห้องโถงใหญ่
Why (ทำไม) : มนั ตกใจเมือ่ เห็นสนุ ขั นับรอ้ ยมองมำยังมนั
How (อย่ำงไร) : มันจึงแยกเข้ยี วและกระโจนเข้าหาสุนัขนับร้อย แต่กลุ่มสนุ ัขเหลา่ น้ัน
ก็กระทาเหมือนท่ีมันทา มันตกใจมาก ไม่นานเจ้าของมันก็เห็นเจ้าของและกระดิกหางพร้อมกับกระโดดขึ้นลง
ด้วยความดใี จ และมันก็พบว่าสุนัขนับร้อยเหล่าน้ันก็ทาเหมือนมัน มันจงึ คดิ วา่ โลกใบใหญ่อาจไม่น่ากลวั อย่างที่
มันคิด
๓๒
๒) การเรยี บเรยี งเนอ้ื ความ
เมื่อได้องค์ประกอบย่อยครบถ้วนแล้ว นาองค์ประกอบ 5W1H มาเรียบเรียงให้เป็น
ความเรยี ง ดังนี้
สุนัขตัวหน่ึง เดินเข้ำไปพบกับสุนัขนับร้อยตัว เม่ือมันเดินเข้ำไปในห้องโถงใหญ่ท่ีมี
กระจกรอบด้ำน มันตกใจเม่ือเหน็ สุนัขนับร้อยมองมำยังมัน มันจึงแยงเข้ยี วและกระโจนเข้าหาสุนัขนับร้อย แต่
กลุ่มสุนัขเหล่านั้นก็กระทาเหมือนท่ีมันทา มันตกใจมาก ไม่นานเจ้ามันก็เห็นเจ้าของและกระดิกหางพร้อมกับ
กระโดดข้ึนลงด้วยความดีใจ และมนั ก็พบว่าสนุ ัขนับร้อยเหลา่ น้ันก็ทาเหมือนมนั มันจงึ คิดว่าโลกใบใหญอ่ าจไม่
นา่ กลัวอยา่ งท่ีมนั คดิ
๔. กำรจดั กำรเรียนรู้ เรื่อง กำรเขียนแผนผงั ควำมคิด
การเขียนกรอบแนวคิดแผนผังความคิด คือ การสรุปความรู้จากการอ่านเรื่องใดเรื่องหน่ึง แล้วสามารถที่
จะเขียนสรุปเป็นผังความรู้ซ่ึงจะช่วยในการจาและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ การเขียนแผนผังความคิด
จงึ มีความสาคัญทีจ่ ะชว่ ยในการเรียนรู้ในการคดิ รวบยอดและการเรียนรู้ที่เปน็ ระบบ
๔.๑ ความหมายของแผนผังความคดิ
แผนผังควำมคิด (Mind Map) หมำยถึง กำรเรียบเรียงข้อมูลควำมคิดองค์ควำมรู้ต่ำง ๆแล้วถ่ำยทอด
ออกมำเป็นกรอบควำมคิด ด้วยภำพสัญลักษณ์ เส้นโยงนำควำมคิดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเดน็ หลักประเด็น
รองและประเด็นย่อยอื่น ๆ ด้วยกำรวำงประเด็นหลักไว้กลำงหนำ้ กระดำษ แล้วลำกเส้นเชอ่ื มประเด็นหลักไปสู่
ประเดน็ รองและประเด็นย่อยอกี ทีหนึง่
๔.๒ ขัน้ ตอนการสร้างแผนผังภาพความคดิ
๔.๒.๑ เขียนประเด็นหลักตรงก่ึงกลางหน้ากระดาษ และเขียนประเด็นรองท่ีสัมพันธ์ประเด็นหลักไป
รอบ ๆ จากนนั้ ให้เขยี นประเด็นย่อยท่สี มั พนั ธ์ประเดน็ รองแตกออกไปรอบ ๆ เร่อื ย ๆ
๔.๒.๒ มีการใช้เส้น สี ภาพหรือสัญลักษณ์ ประกอบตกแต่งเพื่อส่ือความหมายเป็นตัวแทนความคิด
ให้ ชัดเจนมากยงิ่ ขนึ้
๔.๒.๓ เขียนคาสาคัญ (Key Word) บนเส้นและเส้นต้องเช่ือมโยงกัน แตกความคิดของหัวเรอื่ งสาคัญ
แต่ละเร่ืองออกเปน็ กง่ิ ๆ หลายก่ิง โดยเขียนคาหรือ วลบี นเสน้ ที่แตกออกไป
๔.๒.๔ ไม่มีการตีกรอบ ให้คิดได้ตามอิสระมากท่ีสุด ๗. กระดาษที่ใช้ไม่มีเส้น หรือมีลาย ตกแต่ง
Mind Mapping ทเ่ี ขยี นด้วยความสนุกสนานตามใจชอบ
๓๓
๔.๓ รปู แบบของแผนผังความคดิ
๔.๓.๑ แผนภำพควำมคิดแบบรำกไม้ ใช้แสดงกำรเชื่อมโยงข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึงระหว่ำง
ควำมคดิ หลัก ควำมคดิ รอง และควำมคิดย่อยท่ีเกีย่ วข้องสมั พนั ธ์กนั
๓๔
๔.๓.๒ แผนภำพควำมคิดแบบเปรียบเทียบ ใช้ในกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำง ๒ อย่ำงขึ้น
ไปมที ้ังส่วนเหมอื นและส่วนที่แตกต่ำงกัน
๔.๓.๓ แผนภำพควำมคิดแบบใยแมงมุม ใช้ในลักษณะกำรเช่ือมโยงและขยำยแนวคิดท่ีสัมพันธ์กัน
จำกแนวคิดหลกั ไปสูควำมคดิ รองและไปสูควำมคิดย่อย
๓๕
๔.๓.๔ แผนภาพความคิดแบบก้างปลา ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาท้ัง
สาเหตุหลักและสาเหตุย่อยทสี่ ัมพันธก์ ัน (ทาใหม้ ีข้อความใหช้ ัดเจนอีก)
๔.๓.๕ แผนภำพควำมคิดแบบขันบนั ได เป็นกำรเรียงลำดับขอ้ มูลทเี่ รียงไปตำมลำดับข้นั ตอน
๓๖
๕. กำรจัดกำรเรียนรู้เรอ่ื งกำรวเิ ครำะห์ วิจำรณ์และประเมิน บทละครพดู เร่ือง เห็นแกล่ ูก
บทละครพูดเร่ือง เห็นแก่ลูก คือ วรรณคดีพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เนื้อหาสะท้อนให้เห็นถึงความรักและความเสียสละของพ่อที่มีต่อลูก และแฝงด้วยแง่คิดในการดาเนินชีวิตเมื่อ
นักเรียนอ่านแล้วนักเรียนสามารถควรวิเครำะห์ วิจำรณ์และประเมินเร่ืองจากบทละครพูดเร่ือง เห็นแก่ลูกได้
เหมาะสม เพ่ือนาข้อคดิ ที่ไดร้ ับไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
๕.๑ ประวัตผิ ู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ มหาวชิราวุธ) เปน็ พระราช
โอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระราชสมภพ
เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ พระองค์ทรงเป็นอีกหน่ึงพระราชโอรสที่ทรงศึกษาต่อต่างประเทศในด้าน
วิชาพลเรือน และวิชาการทหาร หลังเสด็จเสวยราชย์เป็นมหากษัตริย์องค์ท่ี ๖ แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ทรง
ทานุบารุงบ้านเมืองให้ก้าวหนา้ ทัดเทียมอารยประเทศเช่นเดยี วกบั พระราชบดิ า
ผลงานการประพันธ์ของพระองค์มีหลายประเภท เพราะทรงเช่ียวชาญทางอักษรศาสตร์ จึงเรียกได้
วา่ เป็นอกี หนงึ่ ยุคทองทางวรรณกรรมและวรรณคดี พระราชนพิ นธข์ องพระองค์จึงมีพระนามแฝงมากมาย เช่น
ศรอี ยธุ ยา พระขรรค์เพชร อศั วพาหุ นายแก้วนายขวญั เปน็ ตน้
๕.๒ สาระน่ารู้ เก่ยี วกบั บทละครพูด
ละครพดู (Play) คือ การแสดงทีต่ วั ละครพูดโต้ตอบกันพรอ้ มท่าทาง มีการจัดฉากและเครื่องแต่งกาย
ใหเ้ หมาะสมกบั ท้องเร่ือง แต่ไมม่ ีการใช้ดนตรี การขับร้อง หรือการราประกอบ
ละครพูดเริ่มข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการดัดแปลงเนื้อเร่ืองมา
จากละครรา แต่ยุคทองของละครพูดนั้นอยู่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระองค์ได้รับ
การถวายพระเกียรติว่า “ทรงเป็นผู้ให้กาเนิดละครพูด” เพราะทรงเป็นผู้ก่อต้ัง “ทวีปัญญาสโมสร”
และ “สามัคยาจารย์สโมสร”เพื่อแสดงละครพูดแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก ขณะน้ันใช้ชื่อเรียกว่า
“ละครทวีปัญญา” แต่ต่อมาก็ได้ต้ังช่ือใหมเ่ ป็นหลักฐานว่า “คณะศรีอยธุ ยา” ตามพระนามแฝงของรัชกาลที่ ๖
ท่ีใช้พระราชนิพนธ์บทละครพูด นอกจากการตั้งสโมสรแล้วพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรง
สนับสนนุ ด้านอืน่ ๆ ท้ังพระราชนิพนธ์บทละครข้ึนตลอดจนทรงรว่ มในการแสดงดว้ ยหลายครั้ง
๕.๓ แนวทางในการพิจารณาวรรณกรรม
๕.๓.๑ เน้อื เรื่อง
บทละครพูดเร่อื ง เหน็ แกล่ ูก แสดงถึงความรักของพอ่ ที่มีต่อลูกผ่านพฤตกิ รรมของตัวละครแต่
ละตัว โดยพระยาภักดีนฤนาถ เป็นตัวแทนของบิดาเล้ียงที่ทาหน้าท่ีพ่อด้วยความเต็มใจ ส่วนนายล้า
เป็นตัวแทนของบิดาผใู้ ห้กาเนดิ ซ่ึงสามารถเปล่ียนความเห็นแก่ตัวไปเป็นความเหน็ แก่ลูกได้ในท่สี ุด แนวคิดของ
เรื่องมุ่งทาให้ผู้อ่านเกิดความซาบซึ้งใจว่าไม่มีความรักใดท่ีบริสุทธ์ิเท่ากับความรักตามธรรมชาติระหว่างพ่อ
และลูก
๓๗
๕.๓.๒ ศิลปะการประพันธ์
๕.๓.๑.๑ ใช้ภาษาโบราณ แต่ทาความเข้าใจได้ไม่ยาก เชน่ “ไม่รับประทาน” (ไม่รับประทาน
คือ ไม่เอา)
๕.๓.๑.๒ ใชค้ าพดู ทส่ี ัน้ แต่แฝงรายละเอยี ดเกีย่ วกับตวั ละครไวก้ ระชับ เช่น
พระยาภกั ดี. คา้ อะไร ?
นายลา้ . ฝ่นิ .
๕.๓.๑.๓ ใช้บทสนทนาแสดงบรรยากาศ เหตุการณ์ และอารมณข์ องตวั ละคร เชน่
นายลา้ . ผมไมเ่ อาเงินของคุณ.
พระยาภกั ด.ี ถา้ ยงั ง้นั ก็ไปให้พน้ บ้านฉัน, ไป !
๕.๓.๓. ขอ้ คิด คติคาสอน และความจรรโลงใจ
๕.๓.๓.๑ การทาดีได้ดี ทาช่ัวได้ชว่ั ดงั จะเห็นได้จากผลทุจริตของนายล้าที่ต้องรับโทษจาคุก
เป็นเวลา ๑๐ ปี
๕.๓.๓.๒ ความรักระหวา่ งพอ่ ลกู เปน็ ความรกั บรสิ ุทธ์ิไม่หวงั ผล ดังทีน่ ายล้าล้มเลิกความเห็น
แกต่ วั ของตนเอง เมื่อได้รบั รวู้ า่ แมล่ ออมคี วามภาคภูมใิ จในตัวบดิ าผูใ้ หก้ าเนิดอย่างไร
๕.๓.๓.๓ ความรักบริสุทธิส์ ามารถเผ่อื แผ่ไปถึงบคุ คลอื่นได้ ตัวอย่างเชน่ ความรักของพระยา
ภักดีนฤนาถท่มี ตี อ่ แม่ลออ ทั้ง ๆ ทีไ่ มใ่ ช่เลือดเนื้อเชือ้ ไขของตนเอง
๕.๓.๔ การนาไปใช้ในชีวิตจรงิ
๕.๓.๔.๑ การหลงในอบายและการทากรรมชว่ั ท้งั ปวงลว้ นนามาซึ่งปญั หาครอบครัวและ
ปญั หาสงั คม
๕.๓.๔.๒ การรู้ผิดชอบชัว่ ดีในการกระทาของตนจะช่วยให้ครอบครวั ปกติสขุ ไรซ้ ่ึงปัญหา
๓๘
๖. กำรจัดกำรเรยี นรู้ เรือ่ ง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนำงผเี สือสมุทร และวรรณกรรม
ท้องถิ่นเรอื่ งปลำบ่ทู อง
นิทานคากลอนเรื่องพระอภัยมณี คือ วรรณคดีท่ีได้รับการยกย่องว่าเป็นผลงานดีเด่นเรื่องหน่ึงของสุนทรภู่
เป็นวรรณคดีท่ีมีแนวคิดแปลกใหม่และให้ความรู้ในเร่ืองคติธรรมสอนใจในการดาเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
นักเรียนควรอ่านและศึกษาวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี เพ่ือให้ได้รับรู้เข้าใจเรื่องราวและสามารถท่องบท
อาขยานได้ รวมทั้งวิเคราะห์รสวรรณคดี โวหารการเขียน และภาพพจน์ เพ่ือนาคุณค่าที่ได้จากการอ่านไป
ประยุกต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์กับตนเองต่อไป
วรรณกรรมเร่ือง ปลาบู่ทอง คือ วรรณกรรมท้องถ่ินของภาคกลาง เป็นเรื่องราวที่ผู้คนเล่าสู่กันฟังซึ่งเป็น
การบันทึกวิถีชีวิตของชาวบ้านในท้องถิ่นน้ัน ๆ เม่ือนักเรียนเรียนเรื่องปลาบู่ทองทาให้ผู้ท่ีศึกษาเก่ียวกับ
วรรณกรรมท้องถ่ินมีความเข้าใจ ความเชื่อ คตินิยม จารีตประเพณี ของสังคมท้องถิ่นภาคกลางและเป็นการ
อนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ อีกแขนงหนึ่ง
๖.๑ ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ
๖.๑.๑ ความหมายของวรรณกรรม
วรรณกรรม มีความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษ คือคาว่า Literature หมายถึง วรรณคดี
หรือศิลปะ ที่เปน็ ผลงานอันเกดิ จากการคดิ และจินตนาการ แล้วเรียบเรียง นามาบอกเล่า บนั ทึก ขับร้อง หรือ
สื่อออกมาด้วยกลวิธีต่าง ๆ โดยท่ัวไปแล้ว จะแบ่งวรรณกรรมเป็น ๒ ประเภท คือ วรรณกรรมลายลักษณ์
คอื วรรณกรรมที่บนั ทึกเป็นตัวหนังสือ และวรรณกรรมมุขปาฐะ อนั ได้แก่ วรรณกรรมที่เล่าด้วยปาก ไม่ได้จด
บันทึก ด้วยเหตุนี้ วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกว้าง ถึงประวัติ นิทาน ตานาน เรื่องเล่า ขาขัน เร่ือง
ส้นั นวนิยาย บทเพลง คาคม เป็นต้น
วรรณกรรม เป็นผลงานศิลปะท่ีแสดงออกด้วยการใช้ภาษา เพ่ือการส่ือสารเร่ืองราวให้เข้าใจ
ระหว่างมนุษย์ ภาษาเป็นสิ่งท่ีมนุษย์คิดค้น และสร้างสรรค์ขึ้นเพ่ือใช้สื่อความหมายเรื่องราวต่าง ๆ ภาษาที่
มนุษย์ใช้ในการส่ือสาร ได้แก่ ภาษาพูด โดยการใช้เสียง ภาษาเขียน โดยการใช้ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์
และภาพภาษาท่าทาง โดยการใช้กิริยาท่าทาง หรือประกอบวัสดุอย่างอ่ืน ความงามหรือศิลปะในการใช้ภาษา
ขึ้นอยู่กับ การใช้ภาษาให้ถูกต้อง ชัดเจน และ เหมาะสมกับเวลา โอกาส และบุคคล นอกจากนี้ ภาษาแต่ละ
ภาษายังสามารถปรุงแต่ง ให้เกิดความเหมาะสม ไพเราะ หรือสวยงามได้ นอกจากนี้ ยังมีการบัญญัติคาราชา
ศัพท์คาสุภาพ ข้ึนมาใช้ได้อย่างเหมาะสม แสดงให้เห็นวัฒนธรรมท่ีเป็นเลิศทางการใช้ภาษาที่ควรดารงและ
ยึดถอื ต่อไป ผสู้ ร้างสรรค์งานวรรณกรรม เรยี กวา่ นกั เขียน นักประพนั ธ์ หรือ กวี (Writer or Poet)
วรรณกรรมไทย แบง่ ออกได้ ๒ ชนิด คือ
๑. ร้อยแกว้ เป็นข้อความเรยี งท่ีแสดงเนอ้ื หา เร่อื งราวต่าง ๆ
๒. ร้อยกรอง เป็นข้อความที่มีการใช้คาท่ีสัมผัส คล้องจอง ทาให้สัมผัสได้ถึงความงามของภาษาไทย
ร้อยกรองมหี ลายแบบ คอื โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่าย
๓๙
๖.๑.๒ ความหมายของวรรณคดี
วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทาง
วรรณศิลป์ การใช้คาว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดข้ึนในพระราชกฤษฎีกาต้ังวรรณคดีสโมสร
ในสมัยรัชกาลที่ ๖ วรรณคดีจึงเป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทาให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์
สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาท่ีไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะ สามารถ
ยกระดบั จิตใจใหส้ ูงขน้ึ รวู้ า่ อะไรควรหรอื ไมค่ วร
วรรณคดีแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท
๑. วรรณคดีมุขปาฐะ
คือ วรรณคดี แบบที่เล่ากันมาปากต่อปาก ไม่ได้บันทึกไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เพลงพื้นบ้าน นิทาน
ชาวบา้ น บทรอ้ งเลน่
๒. วรรณคดีราชสานัก หรือ วรรณคดีลายลักษณ์ เช่น ไตรภูมิพระร่วง พระอภัยมณี อิเหนา ลิลิต
ตะเลงพ่าย
งานเขียนในสมัยใดสมยั หนึ่ง งานประพนั ธ์ท่ีได้รับการยกย่องจากนักวิจารณ์ และผู้อา่ นทั่วไป สาหรับ
ในภาษาไทย วรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในหนังสือพระราชกฤษฎีกาต้ังวรรณคดีสโมสร วันท่ี ๒๓ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยมีความหมายคือ หนังสือท่ีได้รับยกย่องว่าแต่งดี นัน้ คือมีการใช้ภาษาอย่างดี มีศิลปะการแต่ง
ท่ียอดเยี่ยมท้ังด้านศิลปะการใช้คา ศิลปะการใช้โวหารและถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และภาษานั้นให้
ความหมายชัดเจน ทาให้เกิดการโน้มนา้ วอารมณ์ผู้อ่านให้คล้องตามไปด้วย กล่าวง่าย ๆ คือ เมื่อผู้อ่าน ๆ แล้ว
ทาให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง ต่ืนเต้นด่ืมด่า หนังสือเล่มใดอ่านแล้วมีอารมณ์เฉย ๆ ไม่ซาบซ้ึงตรึงใจและทาให้น่า
เบื่อถอื ว่าไม่ใชว่ รรณคดี หนังสือท่ีทาใหเ้ กดิ ความรู้สึกด่ืมด่าดังกล่าวนีจ้ ะต้องเป็นความรู้สึกฝ่ายสูง คอื ทาให้เกิด
อารมณ์ความนกึ คดิ ในทางทด่ี ีงาม ไม่ชักจูงในทางที่ไมด่ ี
๖.๑.๓ ความหมายของวรรณกรรมท้องถิ่น
วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง วรรณกรรมท่ีแต่งข้ึน หรือเผยแพร่ อยู่ในท้องถิ่นต่าง ๆ ของไทย
ซึ่งมีท้ังที่ถ่ายทอดด้วยปาก คือ เล่าหรือขับร้องเป็นเพลง เรียกว่า "วรรณกรรมมุขปาฐะ" และท่ีถ่ายทอดเป็น
ตวั หนงั สือ เรียกวา่ "วรรณกรรมลายลักษณ"์ ซง่ึ แตง่ เป็นรปู แบบรอ้ ยแกว้ หรอื ร้อยกรอง ผู้แต่งสว่ นใหญ่เป็นคน
ในท้องถ่ิน เขียนหรือเล่า เพ่ือส่ือเรื่องราวความคิด ความรู้สึกกับคนในท้องถิ่น ถ้อยคาภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษา
ท้องถิ่น โดยทั่วไป แบ่งวรรณคดีท้องถิ่นออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ตามถ้อยคาภาษาท่ีใช้เป็น ๔ กลุ่ม กล่าวคือ
วรรณกรรมภาคกลางใช้ภาษาไทยกลาง วรรณกรรมล้านนาใช้ภาษาถิ่นเหนือ วรรณกรรมอีสานใช้ภาษาอีสาน
และวรรณกรรมภาคใตก้ ็ใช้ภาษาถิ่นใต้ หากเป็นวรรณกรรมลายลกั ษณ์ ที่เขียนข้ึนในสมยั ก่อน ก็มักใช้ตัวอักษร
ทใี่ ช้ในทอ้ งถ่นิ ดว้ ย
๔๐
๖.๒ วรรณกรรมท้องถิน่ เรื่อง ปลาบูท่ อง
๖.๒.๑ ลักษณะของวรรณกรรมท้องถนิ่
๖.๒.๑.๑ ชาวบ้านเป็นผู้สร้างข้ึนมาเพ่ือใช้ในท้องถิ่นของตนทั้งท่ีเป็นผู้ใช้และผู้รักษา
วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ
๖.๒.๑.๒ ชาวบ้านหรือพระภิกษุเป็นผู้สร้างวรรณกรรมท้องถิ่นข้ึนมาเพราะมีใจรักไม่ได้สร้าง
ขึ้นมาเพอื่ ถวายพระมหากษัตริยเ์ หมือนกับวรรณคดีทั่วไป
๖.๒.๑.๓ ใชภ้ าษาท่เี รียบง่าย ภาษาทีใ่ ชก้ ็จะเป็นภาษาในแตล่ ะท้องถิ่น
๖.๒.๑.๔ เนื้อหาบางส่วนมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสร้างความบันเทิงใจแต่เน้นเร่ืองคติธรรมคาสอน
ขอ้ คิดในการดาเนนิ ชวี ติ
๖.๒.๑.๕ ไม่ได้มุ่งยอเกียรติพระมหากษัตริย์มากนักแม้ตัวละครเอกจะเป็นพระมหากษัตริย์
กต็ าม
๖.๒.๑.๖ เสนอสภาพสังคมสะท้อนวิถชี ีวิตและวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่นน้ัน ๆ
๖.๒.๑.๗ เสนอค่านิยมแสดงอุดมคติทั่วไปเหมือนวรรณคดีแม้จะยกย่องพระมหากษัตริย์แต่ก็
ไมเ่ นน้ มาก
๖.๒.๒ ประเภทของวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ
๖.๒.๒.๑ วรรณกรรมประเภทมุขปาฐะ
วรรณกรรมประเภทมุขปาฐะ หมายถึง เรื่องท่ีเล่าต่อกันมา โดยไม่มีการบันทึกไว้
เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นการถ่ายทอดในลักษณะปากต่อปาก ส่วนมากเป็นนิทานสอนลูกหลานและนิทาน
ขาขันให้ความบันเทิงผ่อนคลายความเครียดจากการทางานเป็นสาคัญ แต่แฝงไปด้วยคติธรรม วรรณกรรม
ประเภทมขุ ปาฐะ ประกอบด้วย ปริศนาคาทาย คาผญา (สานวนภาษิต) คาสอน เพลงกล่อมเด็ก เพลงพ้นื บา้ น
๖.๒.๒.๒ วรรณกรรมประเภทลายลักษณ์
วรรณกรรมประเภทลายลักษณ์หมายถึง วรรณกรรมที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็น
ภาษาเขียน แบ่งออกเป็น ๗ ประเภท ได้แก่ วรรณกรรมศาสนา วรรณกรรมเก่ียวกับประเพณี วรรณกรรม
เกยี่ วกับประวัตแิ ละตานาน วรรณกรรมคาสอน วรรณกรรมท่ีแสดงถึงอารมณ์และความรัก วรรณกรรมเกย่ี วกับ
ความเช่อื และพธิ กี รรม วรรณกรรมนิทาน
๖.๒.๓ บทบาทของวรรณกรรมทอ้ งถิน่
๖.๒.๓.๑ ให้ความบันเทิง วรรณกรรมท้องถ่ินมบี ทบาทสาคญั ในการให้ความบันเทิงแก่บุคคล
ในสงั คมดังจะเหน็ ไดจ้ ากการเล่านทิ านพื้นบา้ นของภาคตา่ ง ๆ
๖.๒.๓.๒ สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีท้องถ่ิน ซึ่งเป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถ่ินประเภท
ตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็นเพลงกลอ่ มเดก็ เพลงอีแซว หรือนิทาน เปน็ ตน้
๖.๒.๓.๓ เป็นสื่อกลางระหว่างวัดกับประชาชน เนื่องด้วยในท้องถิ่นของไทยมีวัดเป็น
ศูนย์กลางในการสร้างและเผยแพร่ อนรุ ักษว์ รรณกรรมท้องถ่ิน
๖.๒.๓.๔ ควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม เน่ืองจากวรรณกรรมท้องถ่ินส่วนใหญ่เน้ือหา
เก่ียวกับพุทธศาสนาดังนั้นจึงใช้คาสอนคตินิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นจึงมีส่วนสาคัญในการควบคุม
ความประพฤตขิ องคนในสงั คม
๔๑
๖.๒.๔ ประโยชน์จากการศึกษาวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ
๖.๒.๔.๑ ทาให้ผู้ท่ีศึกษาเก่ียวกับวรรณกรรมท้องถิ่นมีความเข้าใจ ความเช่ือ คตินิยม จารีต
ประเพณี ฯลฯ ของสังคมท้องถิน่
๖.๒.๔.๒ ทาใหท้ ราบคาทใี่ ช้ในท้องถนิ่ ต่าง ๆ วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์
๖.๒.๔.๓ การศึกษาวรรณกรรมท้องถ่ินในสถาบันการศึกษาเป็นวิธีการหน่ึงในการอนุรักษ์
ศิลปวฒั นธรรมท้องถนิ่
๖.๒.๔.๔ ทาให้ผู้ศกึ ษาวรรณกรรมท้องถ่นิ เกดิ ความภาคภูมิใจในทอ้ งถิ่นของตนเอง
๖.๒.๔๕ การศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมท่ีดีงามของไทยไม่ให้สูญ
หายไปก่อนอนั เวลาสมควร
๖.๒.๕ ประวตั ิเรือ่ ง ปลาบ่ทู อง
ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพ้ืนบ้านทางภาคกลางของไทย ท่ีเล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว,
ร้อยกรอง มีเน้ือหาเก่ียวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละคร
โทรทัศน์มาแล้วหลายคร้ัง โดยเช่ือว่ามีท่มี าจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึก
ดาบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทานอง
คลา้ ยกนั น้ี แตเ่ รยี กช่อื ต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนทิ านพ้ืนบา้ นของยุโรป คือ ซนิ เดอเรลลา
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปลาบู่ทองได้รับการข้ึนทะเบียนให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ
ไทย โดยกระทรวงวัฒนธรรม
๖.๓ วรรณคดเี รอื่ ง พระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณีหนนี างผเี สื้อสมุทร
๖.๓.๑ ประวตั ิผแู้ ต่ง
พระสุนทรโวหำร นำมเดิม ภู่ หรือท่ีเรียกกันทั่วไปว่ำ สุนทรภู่ (26 มิถุนำยน พ.ศ. 2329 -
พ.ศ. 2398) เป็นอำลักษณ์ชำวไทยท่ีมีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย
เกิดหลังจำกต้ังกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ำรับรำชกำรเป็นอำลักษณ์รำชสำนักในรัชสมัย
พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย เมื่อส้ินรัชกำลได้ออกบวชเป็นเวลำร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ำรับ
รำชกำรอีกครั้งในปลำยรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำเจ้ำอยู่หัว โดยเป็นอำลักษณ์ในสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จุฑำมณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกำลท่ี 4 ได้เล่ือนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหำร เจ้ำกรมอำลักษณ์
ฝำ่ ยพระรำชวังบวร ซงึ่ เป็นตำแหน่งรำชกำรสุดทำ้ ยก่อนสิ้นชีวติ
สุนทรภู่เป็นกวีที่มีควำมชำนำญทำงด้ำนกลอน ได้สร้ำงขนบกำรประพันธ์กลอนนิทำนและ
กลอนนิรำศข้นึ ใหม่จนกลำยเป็นทนี่ ิยมอย่ำงกวำ้ งขวำงสืบเน่ืองมำจนกระท่ังถึงปัจจุบนั ผลงำนที่มีช่ือเสียงของ
สุนทรภู่มีมำกมำยหลำยเร่ือง เช่น นิรำศภูเขำทอง นิรำศสุพรรณ เพลงยำวถวำยโอวำท กำพย์พระไชย
สุริยำ และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพำะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจำกวรรณคดีสโมสรว่ำเป็นยอด
ของวรรณคดีประเภทกลอนนิทำน และเป็นผลงำนที่แสดงถึงทักษะ ควำมรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่ำงมำก
ทีส่ ุด งำนประพันธ์หลำยชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรกำรเรียนกำรสอนนับแต่อดีตมำ
จนถึงปจั จุบนั เชน่ กำพย์พระไชยสรุ ิยำ นิรำศพระบำท และอีกหลำย ๆ เรอ่ื ง
ปี พ.ศ. 2529 ในโอกำสครบรอบ 200 ปชี ำตกำล สนุ ทรภไู่ ดร้ บั ยกย่องจำกองคก์ ำรยูเนสโก
ให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกด้ำนงำนวรรณกรรม ผลงำนของสุนทรภู่ยังเป็นที่นิยมในสังคมไทยอย่ำงต่อเนื่อง
ตลอดมำไม่ขำดสำย และมีกำรนำไปดัดแปลงเป็นส่ือต่ำง ๆ เช่น หนังสือกำร์ตูน ภำพยนตร์ เพลง รวมถึงละคร
มีกำรก่อสร้ำงอนุสำวรีย์สุนทรภู่ไว้ที่ตำบลกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง บ้ำนเกิดของบิดำของสุนทรภู่และ
๔๒
เป็นที่กำเนิดผลงำนนิรำศเร่ืองแรกของท่ำนคือ นิรำศเมืองแกลง นอกจำกน้ียังมีอนุสำวรีย์แห่งอื่น ๆ อีก เช่น
ที่วัดศรีสุดำรำม ท่ีจังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดนครปฐม วันเกิดของสุนทรภู่คือวันที่ 26 มิถุนำยนของทุกปี
ถือเป็น วันสุนทรภู่ ซึ่งเป็นวันสำคัญด้ำนวรรณกรรมของไทย มีกำรจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติคุณและส่งเสริม
ศลิ ปะกำรประพนั ธบ์ ทกวจี ำกองคก์ รตำ่ ง ๆ โดยท่ัวไป
๖.๓.๒ ประวัติวรรณคดีเร่อื ง พระอภยั มณี
พระอภยั มณี เปน็ วรรณคดีช้นิ เย่ยี มเร่ืองหน่ึงของไทย ผลงำนช้ินเอกของพระสุนทรโวหำร หรือ
สุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทำนคำกลอนท่ีมีควำมยำวมำกถึง 94 เล่มสมุด
ไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีควำมยำวกว่ำหนึ่งพันสองร้อยหน้ำ ระยะเวลำในกำรประพันธ์ไม่มีกำรระบุ
ไว้อย่ำงแน่ชัด แต่คำดว่ำสุนทรภู่เร่ิมประพันธ์รำวปี พ.ศ. 2364–2366 และแต่ง ๆ หยุด ๆ ไปตลอดเป็น
ระยะ ส้ินสุดกำรประพันธ์รำว พ.ศ. 2388 รวมเวลำมำกกว่ำ 20 ปี พระอภัยมณี จัดได้วำ่ เป็นผลงำนช้นิ เอก
ของสนุ ทรภู่ และเปน็ ท่ีรจู้ กั กว้ำงขวำงมำตั้งแตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบัน เน่อื งจำกเค้ำโครงเร่ืองของพระอภัยมณีแหวก
ประเพณีของวรรณคดีในยคุ เก่ำ มีจินตนำกำรล้ำยคุ อยมู่ ำกมำย และมีตัวละครจำกหลำกหลำยชนชำติ แสดงให้
เห็นถงึ วิสยั ทัศน์และควำมเปดิ กว้ำง ควำมเป็นนักคิดยุคใหม่ของผู้ประพนั ธ์เม่ือเปรียบเทียบกับยคุ สมัยเดยี วกัน
ได้เป็นอย่ำงดี นักวิชำกำรจำนวนมำกพำกันศึกษำกลอนนิทำน พระอภัยมณี เพ่ือค้นคว้ำหำแรงบันดำลใจ
เชื่อมโยงแนวคิดของสุนทรภู่กับวรรณกรรมโบรำณ ตลอดจนควำมรู้เกี่ยวกับภูมิศำสตร์ยุคใหม่ของบรรดำนัก
เดินเรือท่ีเข้ำมำสู่ประเทศไทยในยุคกำรค้ำสำเภำ นอกจำกนี้ แนวคิดท่ีสุนทรภู่สอดแทรกไว้ในบทประพันธ์ทำ
ให้ผลงำนชิ้นน้ีโดดเด่นและเป็นท่ีรู้จักมำก เพรำะผู้คนล้วนใช้บทกลอนเหล่ำนั้นเป็นคติสอนใจ เช่น บทกลอน
ในช่วงที่พระฤๅษีสอนสุดสำคร เป็นต้น
๖.๓.๓ ลักษณะคำประพันธ์
คำประพันธ์ในเร่ือง พระอภัยมณี เป็นกลอนสุภำพทั้งหมด ด้วยเป็นควำมถนัดอย่ำงพิเศษของ
กวีผู้น้ี ภำษำท่ีใช้มีควำมเรียบง่ำยตำมแบบฉบับของสุนทรภู่ มีสัมผัสในไพเรำะงดงำมโดยตลอด ทำให้เป็นท่ี
นยิ มอำ่ นเรือ่ ยมำจนถึงปจั จุบนั
พระอภัยมณี ตำมฉบับพิมพ์ของหอพระสมุด มีควำมยำวท้ังสิ้น 24,500 คำกลอน คิดเป็น
จำนวนคำตำมวจวี ิภำคได้ 392,000 คำ แต่หำกนับตำมควำมยำวฉบบั เต็ม (ซง่ึ รวมส่วนท่ีสุนทรภู่แต่งเพ่มิ ตำม
รับสั่งของกรมหมื่นอัปสรสุดำเทพ) จะมีควำมยำวถึง 48,686 คำกลอน นับเป็นหนังสือกลอนขนำดมหึมำ
และเป็นมหำกำพย์คำกลอนท่ียำวมำกท่ีสุดในโลกเรื่องหนึ่งท่ีประพันธ์โดยกวีท่ำนเดียว ในส่วนของกำรดำเนิน
เน้ือเร่ือง พระอภัยมณี มีโครงเรื่องย่อย ๆ แทรกไปตลอดทำงคือจำกเหตุกำรณ์หนึ่งนำไปสู่เหตุและผลอีก
เหตุกำรณ์หน่ึง ซึ่งเป็นลักษณะงำนเขียนที่สำมำรถเขียนไปได้เรื่อย ๆ อย่ำงไรก็ดีอำจนับเหตุกำรณ์สำคัญหรือ
ไคลแมกซ์ของเร่ืองได้ ในตอนทัพลังกำกับทัพพระอภัยมณีรบกันจนถึงขั้นเด็ดขำด ต้องแหลกลำญกันไปข้ำงใด
ขำ้ งหน่ึง แต่สุนทรภู่ก็สำมำรถคลคี่ ลำยไคลแมกซ์นีไ้ ดอ้ ย่ำงสวยงำม
๔๓
๗. กำรจดั กำรเรียนรู้ เรือ่ ง วิเครำะห์โวหำรกำรเขียน
๗.๑ บรรยำยโวหำร
บรรยำยโวหำร คอื โวหำรท่ใี ช้เล่ำเร่ือง หรอื อธบิ ำยเร่ืองรำวต่ำง ๆ ตำมลำดับเหตุกำรณ์ กำรเขียน
บรรยำยโวหำร จะมุ่งควำมชัดเจน เขียน ตรงไปตรงมำ รวบรดั กล่ำวถึงแตส่ ำระสำคัญไมจ่ ำเป็นตอ้ งมีพลควำม
หรือควำมปลีกย่อยเสริม ในกำรเขียนทั่ว ๆ ไปมักใชบ้ รรยำยโวหำร เพรำะเหมำะในกำรติดตอ่ สื่อสำรเนอื่ งจำก
สำนวนประเภทน้ีมุ่งสำระเขียนอย่ำง สั้น ๆ ได้ควำมชัดเจนงำนเขียนที่ควรใช้บรรยำยโวหำร ได้แก่ กำรเขียน
อธิบำยประเภทต่ำง ๆ เช่น เขียนรำยงำนวิทยำนิพนธ์ ตำรำ บทควำม กำรเขียนเพื่อเล่ำเรื่อง เช่น บันทึก
จดหมำยเหตุ กำรเขียนเพ่อื แสดงควำมคิดเหน็ ประเภทบทควำมเชงิ วิจำรณ์ขำ่ ว
๗.๑.๑ หลกั กำรเขยี นบรรยำยโวหำร
๗.๑.๑.1 เรื่องท่ีเขียนต้องเป็นเร่ืองจริง ผู้เขียนควรมีควำมรู้เก่ียวกับเรื่องท่ีจะเขียนเป็น
อย่ำงดี โดยอำจรู้มำจำกประสบกำรณ์ หรอื กำรคน้ ควำ้ ก็ได้
๗.๑.๑.2 เลือกเขียนเฉพำะสำระสำคัญ ไม่เน้นรำยละเอียด แต่เขียนตรงไปตรงมำไม่
อ้อมคอ้ ม
๗.๑.๑.3 ใช้ภำษำให้เข้ำใจง่ำย หำกต้องกำรจะกล่ำวให้ชัดอำจใช้อุปมำโวหำรและสำธก
โวหำรเขำ้ ชว่ ยได้บำ้ ง แต่ตอ้ งไมม่ ำกจนส่วน ท่ีเป็นสำระสำคญั กลำยเป็นส่วนด้อยไป
๗.๑.๑.4 เรียบเรียงควำมคดิ ใหต้ ่อเนอ่ื ง และสัมพนั ธ์กัน
๗.๑.๒. ตวั อย่ำงบรรยำยโวหำร
๗.๑.๒.๑ “ … ทุก ครั้งท่ีพ่อไปเมืองนอก พ่อหำโอกำสไปดูสถำนท่ีน่ำสนใจและดูควำม
เปลี่ยนแปลง ควำมก้ำวหน้ำของชำติต่ำงๆอยู่เสมอ และพ่อจะกลับมำเล่ำให้ฟังอย่ำงมีระบบและละเอียดลออ
พร้องท้งั ของฝำกท่ีน่ำ สนใจ ครั้งหน่ึงพ่อซ้ือตุ๊กตำมำฝำกจุ๊ เป็นตุ๊กตำประหลำด เพรำะมันหลับตำและลืมตำได้
สวยจนเรำแทบไมน่ ่ำจับ แต่จด๊ี สนใจมำก จนอยำกรือ้ ออกมำดวู ่ำมกี ลไกอะไรท่ีทำใหม้ นั หลบั ตำได้… ”
(จำกเรอื่ ง “ พอ่ เลำ่ ” ของ จำรณุ ี สูตะบุตร)
๗.๑.๒.๒ “มิ้ม คือ ผ้ึงชนิดเล็ก รังของม้ิมโตขนำดจำนข้ำว ชอบจับอยู่ตำมกอไผ่และป่ำ
ละเมำะรก ๆ คอนท่ีม้ิมจับจะไม่โตเกินนิ้วมือมันจะพอกน้ำหวำนไว้รอบคอน ใต้คอนทำรังต่อย้อยลงมำสำหรับ
เป็นที่เกิดของตัวอ่อน ม้ิมจับหุ้มรังจนแน่นมองไม่เห็นรังสีเหลืองข้ำงใน ปกติมันจะเกำะกันนิ่งเงียบเหมือนไม่มี
ชีวิตมองเห็นเป็นสีดำเล่ือม แต่ถ้ำมีอะไรไปรบกวน มิ้มจะไหวตัวย้ัวเย้ีย บ้ำงเตรียมออกจำกรังเพ่ือต่อสู้และ
ปอ้ งกนั ….”
(จำกเรือ่ งส้นั ชนบท : นิมิต ภูมถิ ำวร)
๗.๑.๒.๓ “มำจะกล่ำวบทไป ถงึ สี่องค์ทรงธรรม์นำถำ
เปน็ หนอ่ เนอ้ื เชอื้ วงศ์เทวำ ปิตุเรศมำรดำเดียวกนั
รงุ่ เรืองฤทธำศกั ดำเดช ไดด้ ำรงนคเรศเขตขณั ฑ์
พระเชษฐำครองกรุงกเุ รปัน ถดั น้ันครองดำหำธำนี….”
(จำกเร่ือง อิเหนำ)