๙๔
๔.๕.๕ งานเขียนประเภทจดหมาย ใหร้ ะบุว่าเป็นจดหมายของใคร ถึงใคร ช่อื เรอื่ ง วนั เดือน ปี
รูปแบบ
ย่อจดหมายของ.....(ผู้เขียน).......ถึง......( ผู้รับ).......เรื่อง.......(ช่ือเรื่อง)........ วัน เดือน ปี ..........
ความวา่
..........................ใจความ……………………………………………………………………………………………………………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ตัวอย่าง
ยอ่ จดหมายของ นายแพทย์ประเวศ วะสี ถึง บรรณาธิการหนงั สอื พิมพ์มตชิ น เรอื่ ง การดารงชีวติ ตาม
แนวพระราชดารัสเศรษฐกจิ พอเพยี ง วันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ความว่า
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ทรงมีพระอัฉริยภาพและทรงห่วงใยพสกนิกร.............
๔.๕.๖ หนังสือราชการ ให้ระบุว่า เป็นหนังสือราชการของใคร ถึงใคร ช่ือเรื่อง เลขท่ีหนังสือ วัน
เดอื น ปี
รปู แบบ
ย่อหนงั สือราชการของ.........(ผู้เขยี น).......ถงึ ......( ผรู้ ับ)......เรือ่ ง.......(ช่อื เรอื่ ง)........
เลขที.่ .....(เลขทห่ี นังสอื )...... วนั เดอื น ปี ............. ความวา่
............................ใจความ……………………………………………………………………………………………………………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ตัวอยา่ ง
ย่อหนังสือราชการของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ถึง มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกยี รติ เร่อื ง ขอเชิญ
สมั มนาเรือ่ ง “แนวโน้มการพัฒนามหาวทิ ยาลัยในอีก ๒๐ ปีขา้ งหน้า” เลขที่ ศธ ๒๕๕๑/๒๓๔ ลงวนั ที่ ๑๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ความว่า
จากการพฒั นาทางด้านการศกึ ษาเพอ่ื ก้าวเข้าสคู่ วามเป็นสากล..............
๙๕
๔.๖ ตวั อย่างย่อความนิทาน
เร่ือง พ่อคา้ สองคน
พ่อค้าคนหน่ึง มีความจาเป็นต้องเดินทางไปค้าขายยังแดนไกล เขามีความเป็นห่วงในทรัพย์สินและ
บา้ นเรือนของเขาเป็นอันมาก แต่ก็จาเป็นท่ีจะต้องไป เขามีเพื่อนบ้านเรือนเคียงอยู่คนหนึ่งซ่ึงได้คบกันมาเป็น
เวลานาน เพราะมีฐานะเป็นพ่อค้าเช่นเดียวกันกับเขาในคร้ังนี้ เนอื่ งจากเขาจะเดินทางเป็นเวลานานมากจึงคิด
ว่าควรจะฝากของมีค่าของเขาไว้เสียกบั เพ่ือนบ้านเพ่ือจะได้เป็นท่ีปลอดภัยจากการถกู ขโมย คิดดังนั้นแล้วเขา
ก็นาเงนิ แท่งหนกั ถึงหนึ่งรอ้ ยกโิ ลกรัม บรรจุใส่ถุงผ้าอย่างดนี าไปฝากเพ่ือนบา้ นตามทค่ี ิดไว้ แลว้ ก็ออกเดินทาง
ไปคา้ ขายตามความตงั้ ใจเดิม
หลังจากวันเดินทางหนึ่งเดือนพอดี พ่อค้าผู้น้ันก็ได้กลับมาถึงบ้านเดิม เขารีบตรงไปหาเพื่อนบ้าน
และออกปากขอเงินแท่งท่ีเขาไดฝ้ ากไว้ เพื่อนบ้านเขาร้องว่า “เงินทองเพื่อนนะหรอื ? อนิจจา.... เราเสยี ใจ
จริง ๆ ไม่รู้ว่าจะทาอย่างไรกันดี หนูมันกินเสียจนหมดแล้วซี เราดุด่าว่าคนของเรามากมาย เพราะไม่ค่อย
ระวังรักษาทรัพย์สินที่เพ่ือนนามาฝากไว้ แต่กน็ ่ันแหละอะไรจะเกิดขึ้นกบั ใครก็ได้ทุกเวลาไม่ใช่หรือ? ” พ่อค้า
ผู้นั้นแม้จะรู้สึกประหลาดใจเต็มทีแต่ก็ทาเป็นซ่ือ เชื่อถือในเรื่องโกหกที่เขารับฟังจากเพื่อนบ้าน แต่ในใจของ
เขาน้ันครนุ่ คดิ หาอบุ ายท่ีจะนาเงนิ แทง่ ท้งั หมดของเขาคืนมาให้ได้
หลายวันต่อมาพอ่ ค้าผ้นู น้ั บังเอิญไดพ้ บกับบุตรชายอายปุ ระมาณ ๑๐ ขวบ ของเพ่อื นบา้ นซ่ึงโกงเงิน
ของเขาไป จงึ ได้พาตัวเดก็ ไปซ่อนไว้ท่บี ้านของเขาเองโดยไม่มีใครรู้เห็น แลว้ ตัวเขาเองกอ็ อกไปเชิญเพ่ือนบ้าน
คนนั้นให้ไปรับประทานอาหารเยน็ รว่ มกบั เขา แต่ชายพอ่ ค้าพ่อของเด็กรีบบอกว่า “ขอโทษดว้ ยเถิด ขอใหฉ้ ัน
ได้ขอโทษในการท่ตี ้องปฏิเสธความใจดขี องเพื่อนในคร้ังนสี้ ักครั้งเถิด” ชายเพื่อนบา้ นกลา่ วด้วยน้าตานองหน้า
สว่ นพอ่ ค้าแกลง้ ทาหน้าฉงนอย่างไม่เข้าใจ ชายเพอ่ื นบ้านจงึ เล่าให้ฟงั ตอ่ ไปวา่ “ฉนั เห็นจะหมดความสุขไปช่ัว
ชวี ิตน้ีเสียแล้ว ฉนั มีลูกเพียงคนเดยี วเทา่ น้ันเอง ฉันรักเขาย่ิงกว่าตัวฉันเองเสียอีก แต่ว่าโธ่เอ๋ย! อนิจจา... ฉัน
คงไม่เห็นหนา้ เขาอกี แล้ว เขาหายไปไม่รู้ว่าใครมาลักพาเขาไปเสยี แล้ว” กล่าวจบเพอื่ นบา้ นของพ่อค้ากป็ ลอ่ ย
โฮออกมาอีกโดยไมล่ ะอายเลยแมส้ ักนดิ เมอ่ื เห็นดังนั้นพ่อคา้ จงึ เอย่ ขึ้นวา่
“ก็เร่ืองน่ีแหละที่เราชวนเพื่อนมากินอาหารเย็นด้วยกัน เพื่อจะได้ปรึกษากันว่าจะทาอย่างไรดี
เพราะเม่ือวานน้ีตอนตะวันตกดิน เราได้เหน็ นกเค้าแมวตัวหน่ึงถลาลงมาโฉบเอาลูกชายของท่านบินหายไปใน
อากาศ เราช่วยเขาไว้ไม่ทัน เพราะมนั มืดมองไม่เหน็ ถนัดวา่ นกตัวน้ันมนั พาลูกชายของเพ่ือนบินไปทางไหน
?”
ชายผู้เป็นพ่อของเด็กท่ีหายไปพูดข้ึนว่า “เพื่อนจะให้เราเชื่อได้อย่างไรกัน? นกเค้าแมวตัวเล็กนิด
เดียวเท่าน้ันเองจะสามารถโฉบเอาลูกของเราซ่ึงมีน้าหนักมากมายอย่างนั้นไปในอากาศได้อย่างไรกัน? เพ่ือน
เอาเร่ืองอะไรมาเล่าให้เราฟังกันนี่? ความจริงแล้วลูกเราน่าจะเป็นฝ่ายท่ีจับนกเค้าแมวตัวนั้นมาขังไว้มากกว่า
ท่ีจะถูกมันโฉบแล้วพาหายไปในอากาศอย่างท่ีเพ่ือนบอกให้ฟัง” ชายพ่อค้าตอบว่า “อันนี้เราก็ไม่รู้จะบอก
เพ่ือนอย่างไรดี แต่มันก็เป็นอย่างน้ันจริงๆ เพราะเราก็ได้เห็นมากับตาของเราเอง แต่ก็รู้สึกว่าไม่น่าสงสัย
อะไรเพราะมันน่าจะเป็นไปได้ที่นกเค้าแมวตัวเล็ก ๆ โฉบเอาลูกของเพ่ือนไปได้ เพราะหนูตัวเล็ก ๆ ก็ยัง
สามารถกินเงินแท่งซ่ึงมีน้าหนักตั้งร้อยกิโลไปได้อย่างสบาย ๆ น่ีนา” พ่อของเด็กเริ่มเข้าใจว่าเร่ืองราวเป็น
อยา่ งไร จงึ ได้รีบวง่ิ กลับไปท่ีบา้ นนาเอาเงนิ แทง่ ทงั้ หมดมาคนื ให้พอ่ คา้ ไป แล้วเขาก็รับตัวลกู ชายคนื ไป
“นทิ านเร่อื งนีส้ อนใหร้ ู้วา่ อบุ ายของเราอาจทาลายตวั เราเองไดเ้ ช่นเดยี วกัน”
(คัดจากนิทานอีสป รวบรวมโดย วิณณา หน้า ๗๖ – ๘๐)
๙๖
๔.๖.๑ สรปุ ใจความสาคัญ
๔.๖.๑.๑ ใช้หลัก 5W1H ดังนี้
๑) Who (ใคร) : พอ่ ค้ำ
2) What (อะไร) : เขำไดฝ้ ำกเงินแท่งไวก้ บั เพื่อนบ้ำน
๓) When (เม่ือไร) : เมอ่ื เขำต้องออกเดนิ ทำงไปค้ำขำย
4) Where (ทไี่ หน) : ทตี่ ำ่ งแดน
๕) Why (ทำไม) : เขำได้ฝำกเงินแทง่ ไวก้ ับเพือ่ นบำ้ น แล้วเมื่อเขำกลบั มำ เขำไปหำเพื่อน
บ้ำนเพือ่ จะขอเงินแทง่ ทีฝ่ ำกเอำไวค้ ืน แต่เพ่ือนบำ้ นกลับบอกวำ่ หนูได้กินเงินแทง่ ไปแลว้ พอ่ ค้ำจงึ ใช้อบุ ำยเพื่อ
แก้แคน้ เพื่อนบ้ำนกลับ
๖) How (อย่ำงไร) : โดยการนาตวั ลกู ชายของเพ่ือนบ้านไปซ่อนเอาไว้แลว้ ชวนเพื่อนบ้าน
มากนิ ขา้ วเย็นทบ่ี ้าน เพ่ือนบ้านร้องไห้ครา่ ครวญหาลูกชาย แล้วเขากบ็ อกกับเพื่อนว่านกเคา้ แมวจบั ตัวลูกชาย
เขาไป เพื่อนบ้านไม่เช่ือคาพูดของเขา เขาจงึ บอกวา่ กเ็ หมือนกับทหี่ นตู วั เลก็ กัดกินทองแท่งของเขานนั่ เอง
เพื่อนบ้านเข้าใจจุดประสงค์ของพ่อค้า แล้วกลบั บ้านเพ่ือนาเงนิ แท่งมาให้เขา และเขาก็ได้ปล่อยตวั ลกู ชาย
เพ่อื นบ้านไป
๔.๖.๒ การเรียบเรียงเน้ือความ
เมอื่ ได้องค์ประกอบย่อยครบถ้วนแล้ว นาองคป์ ระกอบ 5W1H มาเรียบเรยี งให้เป็นความเรียง
ดังน้ี
พ่อค้าคนหน่ึง เขำได้ฝำกเงินแท่งไว้กับเพ่ือนบ้ำนเมื่อเขำต้องออกเดินทำงไปค้ำขำยท่ีต่างแดน
เมอ่ื เขำกลบั มำเขำไปหำเพื่อนบ้ำนเพื่อจะขอเงินแท่งท่ีฝำกเอำไว้คืน แต่เพ่ือนบำ้ นกลับบอกว่ำหนไู ดก้ ินเงนิ แท่ง
ไปแล้ว พ่อค้ำจึงใช้อบุ ำยเพือ่ แก้แค้นเพื่อนบ้ำนกลบั โดยการนาตวั ลูกชายของเพื่อนบา้ นไปซ่อนเอาไวแ้ ล้วชวน
เพื่อนบ้านมากินข้าวเยน็ ท่ีบ้าน เพื่อนบ้านร้องไห้คร่าครวญหาลูกชาย แล้วเขาก็บอกกับเพ่ือนว่านกเค้าแมวจับ
ตัวลูกชายเขาไป เพ่ือนบ้านไม่เช่ือคาพูดของเขา เขาจึงบอกว่าก็เหมือนกับท่ีหนูตัวเล็กกัดกินทองแท่งของเขา
น่ันเอง เพ่ือนบ้านเข้าใจจุดประสงค์ของพ่อค้า แล้วกลับบ้านเพื่อนาเงินแท่งมาให้เขา และเขาก็ได้ปล่อยตัวลูก
ชายเพ่ือนบ้านไป
๔.๖.๓ ยอ่ ความ
ในขัน้ ตอนน้ีผูเ้ ขียนจะตอ้ งพิจารณาข้อความเพื่อปรับสานวนการเขยี นให้สละสลวยและเปน็
สานวนของตวั เอง เชน่
พ่อค้าคนหนงึ่ เขำไดฝ้ ำกเงนิ แทง่ ไว้กบั เพอื่ นบ้ำนเมอ่ื เขำต้องออกเดนิ ทำงไปค้ำขำยที่ตา่ งแดน
เมื่อเขำกลับมำ เขำไปหำเพื่อนบ้ำนเพื่อจะขอเงินแท่งที่ฝำกเอำไว้คืน แต่เพ่ือนบ้ำนกลับบอกว่ำหนูได้กินเงิน
แท่งไปแล้ว พ่อค้ำจึงใช้อุบำยเพ่ือแก้แค้นเพื่อนบ้ำนกลับ โดยการนาตัวลูกชายของเพื่อนบ้านไปซ่อนเอาไว้
แลว้ ชวนเพ่ือนบ้านมากนิ ข้าวเย็นทบ่ี ้าน เพอ่ื นบา้ นร้องไหค้ ร่าครวญหาลูกชาย แลว้ เขาก็บอกกบั เพอื่ นวา่ นกเค้า
แมวจับตัวลูกชายเขาไป เพื่อนบ้านไม่เชื่อคาพูดของเขา เขาจึงบอกว่าก็เหมือนกับท่ีหนูตัวเล็กกัดกินทองแท่ง
ของเขานนั่ เอง เพื่อนบา้ นเข้าใจจุดประสงค์ของพ่อค้า แล้วกลับบา้ นเพื่อนาเงนิ แท่งมาใหเ้ ขา และเขาก็ได้ปลอ่ ย
ตัวลกู ชายเพ่ือนบา้ นไป
๙๗
๔.๖.๔ ตวั อย่างการย่อความนิทาน
ยอ่ นิทาน เรอื่ งพ่อค้าสองคน ของอีสป จากหนังสอื นิทานอีสป รวบรวมโดยวิณณา หน้า
๗๖- ๘๐ ความว่า
พ่อค้าคนหนึ่งได้ฝำกเงินแท่งไว้กับเพ่ือนบ้ำนเม่ือต้องเดินทำงไปค้ำขำยที่ต่างแดน เม่ือ
กลับมำเขำไปหำเพื่อนบ้ำนเพื่อจะขอเงินแท่งท่ีฝำกเอำไว้คืน แต่เพ่ือนบ้ำนบอกว่ำหนูได้กินเงินแท่งไปแล้ว
พ่อค้ำจึงใช้อุบำยเพ่ือแก้แค้นเพ่ือนบ้ำนกลับ โดยการนาตัวลูกชายของเพื่อนบ้านไปซ่อนเอาไว้ เพื่อนบ้าน
รอ้ งไห้คร่าครวญหาลกู ชาย แล้วเขาก็บอกกบั เพ่ือนวา่ นกเคา้ แมวจับตัวลกู ชายไป เพื่อนบ้านไม่เชือ่ คาพูด เขาจึง
บอกว่าก็เหมือนกับหนูตัวเล็กกัดกินทองแท่งของเขา เพื่อนบ้านเข้าใจจุดประสงค์ของพ่อค้า จึงนาเงินแท่งมา
คืนและได้ปลอ่ ยตวั ลกู ชายเพอื่ นบา้ นไป
๖.๗ ตัวอยา่ งนทิ านท่ีรว่ มกันอภปิ ราย
เรื่องที่ 52
สนุ ัขท่ีดรุ ้าย
The Ferocious dog
ผู้แตง่ : Retelling of a tiaditionai indian story
ครั้งหนึ่ง มีสนุ ัขเล็ก ๆ ธรรมดา ๆ ตัวหนง่ึ ….. ทีไ่ ม่ดรุ ้ายแต่ก็ไม่สงบเสงยี่ มอะไรนัก
วนั หน่ึง เจ้าสุนัขตัวนเี้ ดินเลยเขา้ ไปในห้องข้างเคยี ง แล้วก็พบวา่ ตัวมนั หลดุ เขา้ ไป ในห้องโถงท่ีเตม็ ไป
ด้วยกระจกเงา
เจ้าสุนขั ตัวน้อยกวาดสายตามองไปโดยรอบ แลว้ ก็พบว่ามสี นุ ขั อีกนับรอ้ ยที่กาลังมองมายังมัน ซ่งึ ทา
ให้มันตกใจกลัวมากทถี่ ูกล้อมกรอบเช่นนนั้ จึงทั้งเห่าท้ังแยกเขยี้ วยงิ ฟนั เขา้ ใส่
แต่แลว้ มนั ก็ต้องตกใจย่งิ ไปกว่านั้นเมอื่ ไดพ้ บวา่ เจ้าหมานับร้อยนั้น ก็ทาแบบเดยี วกันใสม่ ันด้วย…!
ทันใด เจ้าสุนขั ตวั น้อยกต็ กอยู่ในทา่ มกลางความมงุ่ รา้ ยหมายขวญั ของกองทัพสนุ ัขท่นี ่ากลัวทสี่ ดุ ใน
โลก….. มันจงึ ยิง่ เหา่ กระชัน้ ด้วยความอกส่ันขวัญหาย ทง้ั ยังกระโจนเขา้ ไปจะกัดสุนัขตวั อนื่ …. แตพ่ อเข้าไปใกล้
กต็ อ้ งถอยกรูด เพราะสนุ ัขพวกน้นั พร้อมจะเข้าขยา้ มันดว้ ยเชน่ กนั
เหตกุ ารณเ์ ช่นนจี้ ะตอ้ งดาเนินไปอีกนาน ถ้าเจา้ ของไม่ออกมาตามหามันเสยี ก่อน ทันทที ี่เจ้าสุนขั ตัว
นอ้ ยเหลอื บไปเห็นเจ้าของและไดย้ ินเสียงเรยี กท่ีคุน้ หู มันกระดิกหางพร้อมกบั กระโดดข้ึน-ลงด้วยความดใี จ
และกเ็ ช่นเดียวกัน…. เจ้าสนุ ขั นบั ร้อยในห้องนั้นก็ทาแบบเดียวกับมันดว้ ย… ซ่งึ ทาใหเ้ จ้าสุนขั น้อย
ครนุ่ คดิ อยู่ในใจวา่ ..
บางทีในโลกใบใหญ่นมี้ ันอาจไมไ่ ด้น่ากลัวอยา่ งที่คดิ ก็เป็นได้…
( 100 นิทำน 1 ล้ำนกำลงั ใจ, หนา้ ๑๓๘-๑๓๙ )
๙๘
๔.๖.๑ การจบั ใจความสาคญั โดยใชห้ ลัก 5W1H
๔.๖.๑.๑ ใชห้ ลัก 5W1H ดงั น้ี
๑) Who (ใคร) : สนุ ขั ตัวหน่ึง
2) What (อะไร) : เดินเขำ้ ไปพบกับสุนขั นับร้อยตัว
๓) When (เม่ือไร) : เมอ่ื มันเดนิ เขำ้ ไปในห้องโถงใหญ่ทีม่ ีกระจกรอบดำ้ น
4) Where (ท่ีไหน) : ในห้องโถงใหญ่
๕) Why (ทำไม) : มนั ตกใจเมื่อเห็นสุนขั นบั รอ้ ยมองมำยังมนั
๖) How (อย่ำงไร) : มันจึงแยงเขี้ยวและกระโจนเข้าหาสุนัขนับร้อย แต่กลุ่มสุนัข
เหล่านั้นก็กระทาเหมือนทีม่ ันทา มันตกใจมาก ไม่นานเจ้ามันก็เหน็ เจ้าของและกระดกิ หางพร้อมกบั กระโดดขึ้น
ลงด้วยความดีใจ และมันก็พบว่าสุนัขนับร้อยเหล่านั้นก็ทาเหมือนมัน มันจึงคิดว่าโลกใบใหญ่อาจไม่น่ากลัว
อยา่ งทม่ี ันคดิ
๔.๖.๒ การเรยี บเรียงเนอื้ ความ
เมื่อได้องค์ประกอบย่อยครบถ้วนแล้ว นาองค์ประกอบ 5W1H มาเรียบเรียงให้เป็นความเรียง
ดังนี้
สนุ ัขตัวหนึ่ง เดินเข้ำไปพบกับสุนัขนับร้อยตัว เม่ือมันเดินเข้ำไปในห้องโถงใหญ่ที่มีกระจกรอบ
ด้ำน มันตกใจเมื่อเห็นสุนัขนับร้อยมองมำยังมัน มันจึงแยงเข้ียวและกระโจนเข้าหาสุนัขนับร้อย แต่กลุ่มสุนัข
เหล่านั้นก็กระทาเหมอื นท่มี ันทา มันตกใจมาก ไม่นานเจ้ามันก็เห็นเจ้าของและกระดิกหางพร้อมกับกระโดดข้ึน
ลงด้วยความดีใจ และมันก็พบว่าสุนัขนับร้อยเหล่านั้นก็ทาเหมือนมัน มันจึงคิดว่าโลกใบใหญ่อาจไม่น่ากลัว
อยา่ งที่มันคิด
๔.๖.๓ ย่อความ
ในขนั้ ตอนนผี้ ูเ้ ขยี นจะตอ้ งพจิ ารณาข้อความเพ่ือปรับสานวนการเขียนใหส้ ละสลวยและเป็น
สานวนของตวั เอง เชน่
สนุ ัขตัวหนึ่ง มันเดินเข้าไปในห้องโถงที่มีกระจกรอบด้าน มันตกใจมากที่ได้พบกับสุนัขนับร้อย
ตัว มันจึงแยงเข้ียวและกระโจนเข้าหา แต่สุนัขนับร้อยก็ทาแบบเดียวกัน จึงทาให้มันตกใจมาก เมื่อมันเห็น
เจ้าของเข้ามา มันจึงแสดงอาการดีใจด้วยการกระดิกหางและกระโดดขึ้นลง มันเห็นว่าสุนัขนับร้อยก็ทาแบบ
เดียวกัน มนั จงึ คดิ ว่าโลกทกี่ วา้ งใหญอ่ าจไม่น่ากลวั อย่างท่คี ดิ
๔.๖.๔ ตัวอย่างการย่อความ
ย่อนิทาน เร่ืองสุนัขท่ีดุร้าย ของ Retelling of a tiaditionai indian story จากหนังสือ
นิทาน100 นิทำน 1 ลำ้ นกำลังใจ หนา้ ๑๓๘-๑๓๙ ความวา่
สุนขั ตัวหน่ึง มนั เดินเข้าไปในหอ้ งโถงท่มี กี ระจกรอบด้าน มนั ตกใจมากทีไ่ ดพ้ บกบั สุนขั นับร้อย
ตัว มันจึงแยงเข้ียวและกระโจนเข้าหา แต่สุนัขนับร้อยก็ทาแบบเดียวกัน จึงทาให้มันตกใจมาก เม่ือมันเห็น
เจ้าของเข้ามา มันจึงแสดงอาการดีใจด้วยการกระดิกหางและกระโดดขึ้นลง มันเห็นว่าสุนัขนับร้อยก็ทาแบบ
เดียวกันมนั จงึ คิดวา่ โลกทีก่ ว้างใหญอ่ าจไม่นา่ กลัวอย่างทค่ี ิด
๙๙
๕. การจัดการเรยี นการสอน เรื่อง การเขยี นจดหมายกิจธุระ
จดหมายกิจธุระ เป็นเคร่ืองมือสื่อสารระหว่างผู้รับสารและผู้ส่งสารในเร่ืองกิจธุระ การเขียนจึงต้องมี
รูปแบบท่ีเฉพาะต่างจากจดหมายส่วนตัว การใช้ถ้อยคา สานวนภาษา จะต้องเป็นภาษาแบบแผน กะทัดรัด
ชัดเจน ตรงตามจุดประสงค์ นักเรียนจึงควรเรียนรู้เร่ืองการเขียนจดหมายกิจธุระ เพื่อให้สามารถเขียนสื่อสาร
กับผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
๕.๑ หลักการเขยี นจดหมายกิจธุระ
๕.๑.๑ พิมพ์หรอื เขียนใหถ้ ูกต้องตามรูปแบบของจดหมายแตล่ ะประเภท
๕.๑.๒ ใชถ้ ้อยคาสานวนภาษาทช่ี ดั เจน กระชับ รดั กุม ใชค้ าสุภาพและไมใ่ ช้ภาษาพูดในการเขยี น
๕.๑.๓ พมิ พ์หรือเขยี นด้วยรายมือที่อ่านงา่ ย เรยี บรอ้ ย สะอาดตา
๕.๑.๔ สะกดคาใหถ้ ูกต้องตามหลกั ภาษา ถูกต้องตามระดับภาษา กาลเทศะ และบคุ คล
๕.๑.๕ ใช้คานา (คาขึ้นต้น) สรระนาม คาลงท้ายท่ีเหมาะสมกับฐานนะของบุคคลและเหมาะสมกับ
ความสมั พนั ธ์ระหว่างผเู้ ขียนกบั ผรู้ ับ
๕.๒ ประเภทของจดหมายกิจธรุ ะ
จดหมาย มี ๔ ประเภท คือ จดหมายสว่ นตวั จดหมายธุรกจิ จดหมายกจิ ธรุ ะ และจดหมายราชการ
๕.๒.๑ จดหมายสว่ นตัว
จดหมายส่วนตัว เป็นจดหมายท่ีเขียนเพอ่ื สอื่ สารโดยท่วั ๆ ไป ระหว่างเพอ่ื น ญาติ คนรจู้ กั การ
เขียนจดหมายส่วนตัวนี้ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัว รูปแบบยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ภาษาท่ใี ชส้ ามารถใชภ้ าษาต้ังแตร่ ะดับสนทนา จนถึงระดับกึ่งทางการ แต่ไม่ควรใช้ระดับ
กันเอง จุดมุ่งหมายของการเขยี นจดหมายส่วนตัว เช่น เล่าเรื่องราวเหตุการณ์ตา่ งๆ ท่ีนา่ สนใจ แสดงความยินดี
หรอื เสียใจ ใหข้ ้อคดิ แนะนา สงั่ สอน ลาครู-อาจารย์ ขอบคุณ นดั หมาย เป็นต้น
๕.๒.๒ จดหมายธุรกิจ
จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายติดต่อระหว่างบริษัทและห้างร้านต่างๆ ทั้งท่ีเป็นนิติบุคคลหรือ
เอกชน เพื่อดาเนินการทางธุรกิจด้านต่างๆ ทั้งที่เป็นเร่ืองส่วนตัวหรือธุรกิจระหว่างองค์กร การเขียนจดหมาย
ประเภทนี้ต้องใช้ภาษาทางการ มีระเบียบกฎเกณฑ์ท่ีแน่นอน มีลักษณะจดหมายกึ่งราชการหรือจดหมาย
ราชการ จุดหมายของการเขียนจดหมายธุรกิจ เช่น โฆษณาขายสินค้าหรือบริการ สอบถามและตอบ
แบบสอบถาม สัง่ ซอ้ื สนิ ค้า สมัครงาน แจ้งหน้ี ติดต่อธรุ กิจ เปน็ ตน้
๕.๒.๓ จดหมายกิจธุระ
จดหมายกิจธุระ เป็นจดหมายท่ีเขียนถึงกันเพื่อแจ้งรายละเอียดถึงกิจอันพึงกระทาร่วมกัน
เนื้อหาของจดหมายประเภทน้ีจะเก่ียวกับการนัดหมาย ขอความอนุเคราะห์ เชิญชวน จดหมายขอบคุณ ใช้
ภาษาเปน็ ทางการ มี ๒ รูปแบบ คอื
๕.๒.๓.๑ จดหมายกิจธุระเต็มรูปแบบ ใช้ในการเขียนที่เป็นทางการ เหมือนหนังสือราชการ
ภายนอก แต่มีการดดั แปลงให้เหมาะสมกับหน่วยงานของตน และใชภ้ าษาท่ีเปน็ ทางการ
๑๐๐
๕.๒.๓.๒ จดหมายกิจธุระไม่เต็มรูปแบบ ใช้ในการเขียนจดหมายกิจธุระส่วนตัว ใช้รูปแบบ
เหมอื นจดหมายสว่ นตวั สง่ิ ท่ตี า่ งจากจดหมายสว่ นตวั คือ วตั ถุประสงค์และใช้ภาษากึง่ ทางการหรอื ทางการ
๕.๓ องค์ประกอบของจดหมายกิจธุระ
๕.๓.๑ หัวจดหมายกิจธุระ หมายถึง ส่วนที่เป็นชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่เป็นต้นสังกัดของผู้ออก
จดหมาย จะข้นึ ตน้ ดว้ ยชอื่ หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบและทอี่ ยู่ อยดู่ า้ นขวามอื
๕.๓.๒ ลาดับที่ของจดหมาย ใช้คาว่า ที่ ตามด้วยเลขบอกลาดับที่ของจดหมาย และปี พ.ศ. มี
เครอื่ งหมาย / (อ่านว่า ทบั ) ค่นั กลาง เชน่ ที่ ศธ ๒๔/๒๕๕๗ อยู่ด้านซา้ ยมอื
๕.๓.๓ วัน เดือน ปี เร่ิมเขียนจากกลางกระดาษไปทางขวา ไม่ต้องเขียนคาว่า วันที่ เดือน และปี เช่น
๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๗
๕.๓.๔ เร่ือง เป็นข้อความสรุปสาระสาคัญของจดหมายฉบับนั้น ใช้ประโยคสั้น กะทัดรัด บอก
วตั ถุประสงคท์ อ่ี อกจดหมาย เช่น ขอขอบคณุ ขอความอนุเคราะห์ เป็นตน้
๕.๓.๕ คาขึ้นต้น ใช้คาว่า เรยี น ขึน้ ตน้ จดหมายเสมอ ตามดว้ ยช่อื และนามสกุล หรอื ตามดว้ ยตาแหน่ง
ของผูร้ ับจดหมายกไ็ ด้ เช่น เรียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ รักการเรียน, เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนสตรี
ศึกษา เป็นต้น
๕.๓.๖ สิ่งที่ส่งมาด้วย ระบุเอกสารหรือสิ่งที่ส่งมาพร้อมกับจดหมายฉบับน้ัน เช่น เอกสาร
ประกอบการประชมุ กาหนดการ แบบตอบรับเข้าร่วมประชุม รายละเอียดโครงการ หนังสือ แผน่ ซดี ี ฯลฯ
๕.๓.๗ ขอ้ ความ ขอ้ ความซอ่ื เปน็ เน้ือหาหลักของจดหมาย ต้องมี ๒ ย่อหนา้ เปน็ อย่างน้อย
๕.๓.๗.๑ ย่อหน้าที่ ๑ บอกสาเหตุขอการเขียนจดหมาย กรณีเป็นจดหมายติดต่อฉบับแรกให้
ขึ้นต้นด้วยคาว่า “ด้วย เนื่องด้วย เน่ืองจาก” กรณีเป็นจดหมายที่มีมาถึง หรือจดหมายติดตามเรื่อง ต้อง
เทา้ ความทเี่ คยตดิ ตอ่ กันไว้ โดยใชค้ าวา่ “ตามท”่ี ขนึ้ ตน้ เร่ือง และใช้คาว่า “นั้น” ลงทา้ ย
๕.๓.๗.๒ ย่อหน้าท่ี ๒ บอกวัตถุประสงค์ของการเขียนจดหมาย จะต้องขึ้นต้นด้วยคาว่า “จึง
เรียนมาเพ่อื ...”
๕.๓.๘ คาลงทา้ ย ใช้คาว่า ขอแสดงความนบั ถอื อยู่ตรงกับวนั ท่ี
๕.๓.๙ ลายมือช่ือ (ลายเซน็ ) ต้องเปน็ ลายมือชื่อจรงิ ของผลู้ งชอื่ ไมใ่ ชต้ รายางพมิ พ์
๕.๓.๑๐ ช่ือเตม็ ของผูเ้ ขยี นจดหมาย พิมพ์อยใู่ นวงเลบ็ ตอ้ งมคี านาหน้าชือ่ เสมอ
๕.๓.๑๑ ตาแหน่งของผู้เขยี นจดหมาย จะต้องพิมพ์กากบั ต่อท้ายเสมอ หากเปน็ จดหมายที่
ออกในนามของชมรมหรือชุมนุมในสถานศึกษา ต้องมีการลงลายมือช่ือของอาจารย์ที่ปรึกษาชมรมหรือชุมนุม
กากับท้ายจดหมายด้วยทุกคร้งั
๕.๓.๑๒ หมายเลยโทรศัพท์ของหน่วยงานหรือผู้ออกจดหมาย พิมพ์ไว้เป็นลาดับสุดท้าย ชิดขอบ
จดหมายดา้ นซา้ ย หากมหี มายเลขโทรสาร และทอ่ี ย่ไู ปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนิกสก์ ็ให้ระบุไว้ดว้ ย
๑๐๑
๕.๔ ลักษณะของการเขยี นจดหมายกจิ ธุระท่ดี ี
๕.๔.๑ ความชดั เจน ตอ้ งพมิ พ์ ไมเ่ ขยี นด้วยลายมอื ใช้กระดาษขนาด A4 ไมม่ ีเส้น และไม่มีตราใดๆ
๕.๔.๒ ความสมบูรณ์ ระบุความประสงค์และรายละเอียด เช่น วัน เวลา สถานท่ี ไว้อย่างครบถ้วน
ละเอยี ด
๕.๔.๓ ความกะทดั รัด ใช้ภาษาท่ีกระชับ รัดกมุ ได้ใจความชดั เจน และใชภ้ าษาระดบั ทางการ
๕.๔.๔ ความถูกต้อง ก่อนส่งจดหมายต้อทบทวนเน้ือหาสาระของจดหมายว่าถูกตอ้ ง เช่น ชื่อและตาแหน่ง
ของผรู้ ับจดหมาย วนั เวลา สถานท่นี ดั หมาย เพราะถา้ ผิดพลาดอาจเกิดความเสียหายข้นึ ได้
๕.๔.๕ ความสุภาพ ใช้ภาษาที่สุภาพ รวมถึงกระดาษท่ีใช้ต้องสะอาด เรียบร้อย การพิมพ์จดหมายและจ่า
หน้าซองจดหมายถกู ตอ้ งตามรปู แบบ
๕.๔.๖ จดหมายราชการ หรือหนังสือราชการ
จดหมายราชการหรอื หนงั สือราชการ คอื เอกสารทีเ่ ป็นหลักฐานทางราชการทใ่ี ช้ตดิ ต่อกัน ระหว่าง
ส่วนราชการด้วยกัน หรอื ส่วนราชการมีไปถึงหนว่ ยงานภายนอกที่มิใชห่ น่วยงานราชการ อาจเป็นตวั บุคคลก็ได้
หวั กระดาษทีใ่ ชจ้ ะมีตราครฑุ
๑๐๒
๕.๕ ตัวอยา่ งการเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ
ตัวอย่างจดหมายขอความอนุเคราะห์
ท่ี ๑๑/๒๕๔๙ ชมรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
เรือ่ ง ขอพันธกุ์ ล้าไม้ยนื ต้น โรงเรียนนครสวรรค์
๑๗๓ ถนนมาตุลี อ.เมือง
จ. นครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
๑๐ ตลุ าคม ๒๕๔๙
เรียน หวั หน้าศูนยเ์ พาะพนั ธ์ุกลา้ ไม้ จงั หวดั นครสวรรค์
ส่งิ ทีส่ ง่ มาด้วย โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว
เนือ่ งดว้ ยชมรมอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โรงเรยี นนครสวรรค์ จะจดั กจิ กรรมปลกู ป่า
เฉลิมพระเกียรติในโอกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ขึ้นในวันท่ี ๒๓
ตุลาคม ๒๕๔๙ ณ บรเิ วณสวนปา่ แม่วงก์ จังหวดั นครสวรรค์ โดยมีนกั เรยี นเข้าร่วมโครงการนจ้ี านวน ๒๐๐
คน โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เยาวชนเห็นความสาคัญของป่าไม้ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติและรู้จักใช้
เวลาวา่ งบาเพ็ญประโยชนใ์ หแ้ ก่สงั คม ดงั รายละเอยี ดของโครงการทแ่ี นบมาพร้อมน้ี
การปลูกป่าครั้งน้ีต้องใช้พันธ์ุกล้าไม้เป็นจานวนมาก ซึ่งส่วนหน่ึงทางชมรมได้เพาะข้ึนเอง แต่ก็ยังไม่
เพียงพอ ฉะน้ันทางชมรมจึงใคร่ขอความอนุเคราะห์พันธุ์กล้าไม้ยืนต้นจากศูนย์เพาะกล้วยไม้เพ่ือนาไปใช้ปลูก
ป่าในคร้ังนี้ และถ้าท่านอนุเคราะห์ ทางชมรมจะส่งผู้แทนมารับตามวันและเวลาท่ีทางศูนย์ฯสะดวก ซึ่งจะได้
ติดต่อกับทา่ นทางโทรศัพทใ์ นภายหลัง
จงึ เรยี นมาเพ่ือขอความอนุเคราะห์ และขอขอบคุณอย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี
ขอแสดงความนบั ถือ
อนุรกั ษ์ ตน้ ไมง้ าม
(นายอนรุ ักษ์ ตน้ ไม้งาม)
ประธานชมรมอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
พนา รักษ์ไพร
(นายพนา รักษ์ไพร)
อาจารย์ทป่ี รึกษาชมรมฯ
ชมรมอนรุ ักษธ์ รรมชาติ ๐-๕๖๒๒-๒๗๑๑
๑๐๓
ตวั อย่างจดหมายเชิญวทิ ยากร
ที่ ๗/๒๕๔๙ ชมรมภาษาไทย โรงเรียนนครสวรรค์
๑๗๓ ถนนมาตุลี อ.เมือง
จ. นครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
๑ มิถนุ ายน ๒๕๔๙
เรือ่ ง ขอเชิญเปน็ กรรมการตัดสนิ การอ่านทานองเสนาะ
เรยี น อาจารย์สุวนีย์ พระแก้ว
สงิ่ ท่ีสง่ มาด้วย กาหนดการจดั งาน “วนั สนุ ทรภู่” ประจาปี พ.ศ. ๒๕๔๙
ด้วยในโอกาส “วนั สนุ ทรภู่” ประจาปี พ.ศ. ๒๕๔๙ น้ี ทางชมรมภาษาไทย โรงเรียนนครสวรรค์จะจัด
กิจกรรมส่งเสริมภาษาไทยให้แก่นักเรียน ได้แก่ การอ่านทานองเสนาะ การแต่งคาประพันธ์ และการตอบ
ปัญหาวิชาการ ในวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๙ ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุมของโรงเรียน ดัง
รายละเอียด ที่แนบมาน้ี ชมรมภาษาไทยพิจารณาเห็นว่าท่านเป็นผู้หน่ึงที่มีความเช่ียวชาญในการอ่าน
ทานองเสนาะ
จึงเรียนมาเพื่อขอเชิญท่านเป็นกรรมการตัดสินการอ่านทานองเสนาะร่ วมกับอาจารย์ของหมวดวิชา
ภาษาไทยของโรงเรียน ตามกาหนดการท่ีแนบ ชมรมภาษาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คงจะได้รับความอนุเคราะห์
จากท่าน จงึ ขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนับถือ
สมชาย รกั การอา่ น
(สมชาย รกั การอา่ น)
อนุรกั ษ์ นิยมไทย
(นายอนรุ ักษ์ นิยมไทย)
อาจารย์ทป่ี รึกษาชมรมภาษาไทย
ชมรมภาษาไทย โทร. ๐-๕๖๒๒-๒๗๑๑
๑๐๔
ตวั อย่างจดหมายขอบคุณ
ท่ี ๑๒/๒๕๔๙ ชมรมอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
โรงเรยี นนครสวรรค์
๑๗๓ ถนนมาตลุ ี อ.เมือง
จ. นครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๙
เรอื่ ง ขอขอบคุณ
เรยี น หัวหน้าศนู ยเ์ พาะพนั ธ์กล้าไม้ จังหวัดนครสวรรค์
ตามทีช่ มรมอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ โรงเรยี นนครสวรรค์ ได้จัดกิจกรรมปลูกป่าเฉลมิ พระเกียรตใิ น
โอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวทรงครองราชยส์ ิริสมบัติครบ ๖๐ ปี ขนึ้ เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๔๙ ณ
บริเวณสวนป่าแม่วงก์ อาเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ทางศูนย์เพาะกล้ากล้วยไม้ จังหวัดนครสวรรค์ได้
อนุเคราะห์พันธ์ุกล้วยไม้ยืนต้นให้แก่ทางชมรมฯ เป็นจานวนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐ ต้น ทางชมรมฯ ได้นาพันธ์ุกล้าไม้
ทั้งหมดไปปลูกยงั สถานทีด่ งั กลา่ ว สมดังประสงคข์ องท่านแล้ว ซ่ึงทางชมรมฯหวงั เปน็ อย่างยงิ่ วา่ ต้นไม้เหลา่ นคี้ ง
จะช่วยสร้างความชุ่มชื้น และความอุดมสมบูรณ์แก่ธรรมชาติอย่างแน่นอน ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ
ขอขอบพระคุณท่านเป็นอย่างย่ิงท่ีได้กรุณามอบพันธุ์กล้าไม้ให้แก่ทางชมรมฯ และหวังว่าคงจะได้รับความ
อนเุ คราะหจ์ ากทา่ นอกี ในโอกาสตอ่ ไป
ขอแสดงความนับถือ
อนรุ ักษ์ ต้นไม้งาม
(นายอนุรกั ษ์ ตน้ ไม้งาม)
พนา รักษ์ไพร
(นายพนา รกั ษ์ไพร)
อาจารย์ทปี่ รึกษาชมรมฯ
ชมรมอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ ๐-๕๖๒๒-๒๗๑๑
๑๐๕
๖. การจัดการเรียนการสอน เร่ือง การเขียนอธิบาย ช้ีแจง โต้แย้ง แสดงความคิดเห็นอย่างมี
เหตมุ ผี ล
การเขียนอธิบาย คือ การเขียนเพื่อช้ีแจง อธิบายวิธีใช้ วิธีทา ข้ันตอนการทา เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจและ
สามารถปฏิบัติตามได้ นักเรียนจึงควรรู้แนวทางและวิธีการเขียนอธิบายท่ีถูกต้องและเหมาะสมเพื่อสามารถ
ถ่ายทอดความร้ขู องตนเองโดยการเขยี นอธิบายชแี้ จงใหผ้ ู้อ่านเข้าใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๖.๑ การเขียนอธบิ าย
กำรเขียนอธิบำย คือ กำรเขียนให้ผู้อ่ำนได้รับควำมรู้และควำมเข้ำใจเรื่องรำวอย่ำงชัดเจนและถูกต้อง
กำรเขียนอธิบำยจะต้องใหข้ อ้ มูลทเ่ี ป็นข้อเท็จจริงและเขยี นอธิบำยขยำยควำมขอ้ มูลนั้นเพ่อื ให้ผ้อู ำ่ นเข้ำใจอย่ำง
แจม่ แจ้งชดั เจน
๖.๑.๑ หลักกำรเขียนอธบิ ำย
กำรเขยี นอธบิ ำยท่ีดคี วรมีหลกั กำรเขยี น ดงั น้ี
๖.๑.๑.๑ กำหนดวัตถุประสงค์ในกำรเขียนให้ชัดเจนว่ำ ต้องกำรเขียนอธิบำยเร่ืองอะไร และมี
วัตถุประสงค์ในกำรเขยี นอย่ำงไร เพื่อจะได้เลือกวิธีเขยี นอธบิ ำยได้อยำ่ งเหมำะสม
๖.๑.๑.๒ เตรียมเนื้อเร่ืองหรือข้อมูล โดยศึกษำค้นคว้ำจำกหนังสือหรือสื่ออ่ืน ๆ เช่น หนังสือ
คมู่ ือ ตำรำ นติ ยสำร วำรสำร วิทยุ โทรทศั น์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นตน้
๖.๑.๑.๓ กำหนดโครงเร่ืองท่ีจะเขียน เพ่ือเรียบเรียงควำมคิดและข้อมูลให้มีควำมต่อเนื่องและ
น่ำสนใจ
๖.๑.๑.๔ เลอื กวิธกี ำรอธิบำยให้เหมำะสมสอดคล้องกับเรื่อง ในบำงคร้ังอำจจะต้องใช้วิธีอธิบำย
มำกกว่ำ ๑ วิธใี นกำรเขยี นอธบิ ำยก็ได้
๖.๑.๑.๕ ควรใช้ภำษำท่ีเข้ำใจง่ำย กระชับ รัดกุม และตรงไปตรงมำ เพ่ือให้ผู้อ่ำนเข้ำใจเร่ืองได้
อยำ่ งชัดเจนท่ีสุด
๖.๑.๒ ข้อควรระมัดระวังในกำรเขยี นอธิบำย
กำรเขียนอธิบำยเป็นกำรเขียนที่ค่อนข้ำงจะละเอียดและประณีตพิถีพิถันเรื่องหน่ึง ซ่ึงนอกจำก
กำรให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง โดยกำรอธิบำยเพ่ือให้เข้ำใจแจ่มแจ้งดังกล่ำวข้ำงต้นแล้ว ผู้เขียนยังต้อง
ระมัดระวังในเรื่องอื่น ๆ ที่อำจจะเขียนแล้วทำให้เข้ำใจผิดได้ อำทิ กำรเว้นวรรคตอน หำกเว้นวรรคตอนผิด
ควำมหมำยก็จะผิดไป ซ่ึงอำจจะทำให้ผู้อ่ำนเข้ำใจผิด และกำรจัดรูปแบบในกำรเขียนให้เข้ำใจง่ำยก็มีอิทธิพล
ตอ่ กำรเขยี นอธบิ ำยเช่นเดียวกนั
๖.๑.๓ วิธกี ำรเขียนอธิบำย
กำรเขยี นอธบิ ำยมีวิธกี ำรตำ่ ง ๆ ดังนี้
๖.๑.๓.๑ กำรอธิบำยตำมลำดับข้ัน คือ กำรเขียนอธิบำยท่ีแสดงขั้นตอนไปตำมลำดับกำรเขียน
อธิบำยวิธีนี้มักใช้กับกำรอธิบำยกระบวนกำร กิจกรรม หรือกำรเปล่ียนแปลงที่มีข้ันตอน เช่น วิธีทำอำหำร
กำรทดลองทำงวทิ ยำศำสตร์ กำรออกกำยบริหำร และกำรเจรญิ เติบโตของพชื เป็นต้น
๖.๑.๓.๒ กำรอธิบำยด้วยกำรให้คำจำกัดควำม คือ กำรเขียนอธิบำยควำมหมำยของส่ิงใดสิ่ง
หนึ่ง เพ่ือให้เกิดควำมเข้ำใจตรงกัน กำรให้คำจำกัดควำมประกอบด้วยข้อควำมท่ีต้องกำรคำอธิบำย และ
กำรอธิบำย เชน่
๑๐๖
คำว่ำ “คำรำโอเกะ” เป็นภำษำญ่ีปุ่นเกิดขึ้นใหม่ โดยนำคำว่ำ “คำรำ” (Kara) ซ่ึงแปลว่ำ “ว่ำง
เปลำ่ ” มำผสมกับคำยมื จำกภำษำอังกฤษว่ำ “โอเกะ” รวมควำมกนั แลว้ มีควำมหมำยถงึ เพลงทีม่ ีแต่เสยี งดนตรี ไม่มี
เสียงนกั รอ้ ง แต่มีเน้ือรอ้ งปรำกฏเล่ือนไปตำมส่วนล่ำงของจอ เพือ่ ให้คนท่ีชอบร้องเพลงได้ร้องไปตำมทำนองและได้ดู
ภำพสวย ๆ ทอี่ ำจจะเกยี่ วข้องหรอื ไม่เกี่ยวขอ้ งกับเพลงนัน้ ๆ กไ็ ด้
๖.๑.๓.๓ กำรอธบิ ำยดว้ ยกำรให้รำยละเอียด คือ กำรเขยี นอธิบำยท่ีจะแสดงรำยละเอียดหรอื ให้
ขอ้ มลู ต่ำง ๆ เกย่ี วกบั เร่อื งนน้ั ๆ เปน็ ต้นว่ำ กำรอธิบำยลักษณะทำงกำยภำพ เช่น
ช้ำงเผอื ก ช้ำงสำคญั หรือช้ำงสีประหลำดน้ัน ตำมตำรำท่ำนกำหนดไว้ ๗ ประกำร คือ มตี ำ
ขำว มีเพดำนขำว มเี ล็บขำว มีพ้ืนหลงั เป็นสขี ำว หรือสีหมอ้ ใหม่ มีขนขำว มีขนหำงขำว และ มีอัณฑโกศ
ขำวหรอื สหี ม้อใหม่
๖.๑.๓.๔ กำรอธิบำยด้วยกำรยกตัวอย่ำง คือ กำรเขียนอธิบำยที่มีกำรยกตัวอย่ำงประกอบเร่ือง
เพ่ือชว่ ยใหผ้ ู้อำ่ นเข้ำใจเรอ่ื งไดง้ ่ำยและชัดเจนยงิ่ ขึน้ เชน่
ผักสดท่คี ุณแมบ่ ำ้ นจะเลือกมำทำสลดั นั้น หำได้ไม่ยำกเลยท้ังจำกตลำดสดใกลบ้ ้ำนหรอื แม้กระท่ัง
ในซูเปอรม์ ำรเ์ กต็ กม็ ผี ักมำกมำยให้คุณแมบ่ ้ำนได้เลือกสรรตำมชอบใจ ไม่ว่ำจะเปน็ ผกั ไทย ๆ อย่ำงแตงกวำ มะเขอื
เทศ หอมหัวใหญ่ กะหลำ่ ปลี และผักกำดหอม หรือผกั ของฝรัง่ อย่ำงแครอท แชลำรี่ ผกั กำดแกว้ กะหลำ่ ปลี
สมี ่วง แรดิช และบีทรูท เปน็ ต้น
๖.๑.๓.๕ กำรอธิบำยด้วยกำรเปรียบเทียบ คือ กำรเขียนอธิบำยท่ีช้ีให้เห็นถึงควำมเหมือนและ
ควำมแตกต่ำงของสง่ิ ทีผ่ ู้เขียนนำมำเปรยี บเทยี บกัน เชน่
หำกเรำมีควำมพยำยำมต่อสู้กับอปุ สรรคตำ่ ง ๆ ย่อมจะประสบควำมสำเร็จในชีวติ เหมือนกับกำรพำย
เรืออยู่กลำงลำคลอง ไม่นำนผลแห่งควำมพยำยำมน้ันก็ย่อมจะถึงฝ่ังฝันได้ไม่ยำก สิ่งสำคัญคือ ควำมต้ังใจจริง
และไมย่ อ่ ท้อเสียตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้
๑๐๗
๖.๒ กำรเขยี นชแี จง
กำรเขยี นชี้แจง คอื เป็นกำรเน้น ขยำยควำม และให้รำยละเอยี ด กำรเขียนชี้แจงมกั มีสำเหตุ หรือประเด็น
เฉพำะอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเกิดขึ้น เช่น กำรเขียนช้ีแจงเพื่อป้องกันกำรเข้ำใจผิด กำรเขียนชี้แจงเพื่อไม่ให้เกิด
ควำมเสียหำย เชน่ คำช้ีแจงในกำรสอบ
ตัวอย่ำง
“ตำมท่ีคณะกรรมกำรของชมรมรักษ์ภำษำลงมติว่ำ ควรจัดเก็บเงินค่ำสมัครเข้ำเป็นสมำชิกของชมรมซ่ึง
เป็นเงินจำนวน ๕๐.๐๐ บำท ต่อผู้สมัคร ๑ คน และได้ประกำศให้ทรำบโดยทั่วไปแล้วนั้น บัดน้ีทำง
คณะกรรมกำรได้ประชุมเพื่อแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองน้ีอีกครั้ง และได้มีกรรมกำรเกินกว่ำคร่ึงลง
ควำมเห็นว่ำเงินจำนวน ๕๐.๐๐ บำทนัน้ เป็นจำนวนเงินทมี่ ำกเกนิ ควำมจำเป็น ดังนน้ั คณะกรรมกำรของชมรม
จึงลงมติใหม่ว่ำ ควรจะลดจำนวนเงินค่ำสมัครเข้ำเป็นสมำชิกชมรมรักษ์ภำษำลง ซ่ึงทำงคณะกรรมกำรได้
พิจำรณำแล้วเห็นว่ำควรลดจำนวนเงินลงจำนวน ๒๐.๐๐ บำท ดังนั้น จำนวนเงินที่ต้องเก็บเป็นค่ำสมัครเข้ำ
เป็นสมำชิกชมรมรักษภ์ ำษำ คอื ๓๐.๐๐ บำท”
ตวั อยำ่ ง
คำชแี จง
1. ขอ้ สอบทั้งหมดมี จำนวน ……… ขอ้ รวม ……. คะแนน ใชเ้ วลำ............ ช่ัวโมง……...นำที
2. ให้เขยี นชอื่ -นำมสกลุ ห้องสอบ เลขทนี่ ั่งสอบ บนกระดำษคำตอบให้สมบรู ณ์
3. ให้ใช้ปำกกำสนี ้ำเงินทำเครื่องหมำย X ลงในกระดำษคำตอบให้เต็มช่อง
4. หำ้ มนำข้อสอบและกระดำษคำตอบออกนอกหอ้ งสอบ
5. หำ้ มนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละเครื่องมอื ส่ือสำรทุกชนดิ เข้ำห้องสอบ
6. เขำ้ ห้องสอบสำยเกนิ กวำ่ 30 นำที ให้ลงทะเบยี นสอบใหม่ มีคำ่ ธรรมเนียมกำรสอน รำยวชิ ำละ
200 บำท
๖.๓ กำรเขยี นโต้แยง้
กำรเขียนโต้แย้ง เป็นกำรเขียนแสดงควำมคิดเห็นลักษณะหน่ึง โดยมุ่งที่จะโต้แย้งข้อเท็จจริงหรือ
เหตุกำรณ์ที่เกิดข้ึน ตลอดจนโตแ้ ย้งควำมคดิ เห็นของผู้อื่นด้วยควำมคิดเห็นในทำงสร้ำงสรรค์ เพ่ือส่อื ใหผ้ ู้อื่นได้
ทรำบวำ่ ผ้เู ขียนมคี วำมคดิ เห็นอยำ่ งไร
กำรเขียนโต้แย้งมักปรำกฏในรูปของบทควำมตำมสื่อส่ิงพิมพ์ต่ำง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วำรสำร นิตยสำร
เป็นต้น ซึ่งกำรเขียนโต้แย้ง หรือกำรเขียนแสดงควำมคิดเห็นเชิงโต้แย้งมีหลักกำรโดยท่ัวไปเช่นเดียวกับ
กำรเขียนแสดงควำมคิดเห็น คือจะต้องประกอบด้วยข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริง และกำรแสดงควำมคิดเห็นแต่
เนื่องจำกกำรเขียนโต้แย้งเป็นกำรแสดงควำมคิดเห็นที่ไม่เห็นด้วย เป็นกำรแสดงทรรศนะท่ีแตกต่ำงกันของแต่
ละฝ่ำย ซ่ึงเป็นสิ่งปกติธรรมดำท่ีจะสำมำรถพบเห็นได้ในทุกวงกำร และเกิดขึ้นได้ตลอดเวลำในชีวิตประจำวัน
และทุกระดับในสังคม
๑๐๘
๖.๓.๑ วิธกี ำรเขียนโตแ้ ยง้
วิธีกำรเขียนโต้แย้งทำได้โดยทำควำมเข้ำใจในหลักกำรทั่วไปของกำรเขียนเชิงโต้แย้งเสียก่อนว่ำ
กำรเขียนโต้แย้งประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและกำรแสดงควำมคิดเห็นจำกน้ัน จึงดำเนินกำรตำมวิธี
ดังน้ี
๖.๓.๑.๑ ตั้งประเด็นท่ีจะเขียนโต้แยง้ วำ่ จะโตแ้ ย้งในประเด็นใด เช่น ประเดน็ ทเ่ี กี่ยวกับ นโยบำย
วธิ กี ำร ขอ้ เท็จจรงิ คุณค่ำ เป็นต้น
๖.๓.๑.๒ ระบุหรอื ช้ใี หเ้ ห็นจดุ ด้อยและควำมผดิ พลำดของสงิ่ หรือเรอื่ งทจ่ี ะโต้แย้ง
๖.๓.๑.๓ หำเหตผุ ลและข้อสนบั สนนุ ควำมคดิ ของตน
๖.๓.๑.๔ เรียบเรียงให้เป็นภำษำของตนเองท่ีเข้ำใจง่ำย กระชับ รัดกุม และใช้คำท่ีมีพลังใน
กำรกระตุ้นใหเ้ กิดควำมคดิ เห็นคลอ้ ยตำม
๖.๓.๒ ขอ้ พึงระวงั ในกำรเขยี นโต้แยง้
ในกำรเขยี นโต้แย้งมีข้อพงึ ระวงั ดงั น้ี
๖.๓.๒.๑ ควรเขยี นโตแ้ ยง้ ดว้ ยเหตุผล ไม่ใชอ้ ำรมณ์
๖.๓.๒.๒ กำรเขียนโต้แย้งควรเขยี นเชิงสร้ำงสรรค์ ไมใ่ ชท่ ำลำย หรือเปน็ เรอื่ งเพ้อฝนั ทเ่ี ป็นไปไม่ได้
๖.๓.๒.๓ กำรเขียนไมค่ วรเขยี นใหเ้ กดิ ควำมแตกแยก หรือขัดแย้งรุนแรง ลุกลำมบำนปลำยหรือ
กระทบกระเทอื น
๖.๓.๓ มำรยำทในกำรเขยี นโตแ้ ย้ง
มำรยำทในกำรเขียนโต้แยง้ มีดงั นี้
๖.๓.๓.๑ จะต้องมีควำมเท่ียงธรรม จรงิ ใจ ไม่เสแสรง้ หรือมีเจตนำอ่นื เคลือบแคลง
๖.๓.๓.๒ ไมใ่ ชข้ ้อมูลที่บิดเบอื น หรืออ้ำงองิ ข้อมูลที่ปรำศจำกหลักฐำนควำมเป็นจริง อนั จะทำให้
ผอู้ ื่นเสียหำยหรอื ทำใหเ้ กดิ กำรเข้ำใจผิด
๖.๓.๒.๓ ใช้ภำษำที่สภุ ำพ ไม่เขยี นส่อเสยี ด หรือดหู มน่ิ ผอู้ ื่น
๖.๓.๔ ตัวอยำ่ งกำรเขยี นโตแ้ ย้ง
ทำดไี ด้ดมี ีท่ีไหน ทำช่ัวไดด้ ีมถี มไป
สุภำษิตท่ีว่ำ “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” เห็นจะใช้ไม่ได้เสียแล้วกับสังคมในยุคปัจจุบันเพรำะสังคมไทย
เปล่ียนแปลงอยำ่ งรวดเรว็ ผู้คนในสังคมตำ่ งกแ็ ยง่ แข่งขนั และดูเหมือนวำ่ ผลกรรมแห่งควำมดีก็เดินทำงมำถึงช้ำ
จนเกินรอ ดูตัวอย่ำงครอบครัวของมัคทำยก เพ่ือนบ้ำนของข้ำพเจ้ำ พ่อบ้ำนเป็นคนธรรมะธรรมโม แม่บ้ำนก็
เป็นแม่ศรีเรอื น ส่วนลูก ๆ กเ็ ป็นคนดี ต้งั ใจเรียนและช่วยพ่อแม่ทำงำนบ้ำน แต่สุดท้ำยถึงทำงที่รำชกำรเวนคืน
ท่ดี นิ เพ่อื ตัดถนน ครอบครวั ก็ต้องย้ำยไปอำศัยอยู่ทว่ี ดั ถ้ำมัคทำยกรู้จักโกงกนิ เงินวัดบ้ำงแม้เลก็ ๆ น้อย ๆ หรือ
ครำวท่ีใครทำบุญก็ยักยอกไว้บ้ำง มัคทำยกคงจะมีเงินเก็บและหำที่ทำงขยับขยำยท่ีอยู่ใหม่ได้ไม่ยำกนัก ผิดกับ
บ้ำนตรงกันข้ำมอีกฝ่ังถนน ครอบครัวน้ีทุจริตทุกทำง ถึงครำวเลือกตั้งก็เป็นหัวคะแนนซ้ือเสียง โดยเฉพำะ
ตอนนี้เพิ่งกลับมำจำกเท่ียวต่ำงประเทศ เพรำะมีเงินร่ำรวยจำกกำรค้ำยำเสพติด เวลำไปไหนมำไหนก็มีแต่คน
นับหน้ำถือตำเนื่องจำกทำบุญเอำหน้ำ บริจำคให้วัดและหน่วยงำนรำชกำรครั้งละหลำยแสนแต่กระน้ัน
ครอบครวั น้ีก็อยกู่ นั อย่ำงสุขสบำยตลอดมำ
๑๐๙
ถึงจะมีกรณีตัวอย่ำงดังกล่ำวข้ำงต้นให้เห็นก็ตำม ข้ำพเจ้ำก็ยังเชื่อว่ำสักวันหนึ่งผลของกรรมดีท่ี
ครอบครัวมัคทำยกได้กระทำไว้จะตอบสนองมำอย่ำงแน่นอน แม้ว่ำจะไม่ปรำกฏในรูปของทรัพย์สินเงินทอง
ส่วนครอบครัวท่ีทุจริตจะต้องได้รับผลของกรรมชั่วตอบสนองเช่นกัน เพรำะสรรพส่ิงในโลกย่อมเป็นไปตำม
กรรมดังคำสอนของสมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ แม้กระท่ังภำพชีวิตของคนท่ีสะท้อนในนวนิยำยก็สอดคล้อง
กับหลักธรรมดังกล่ำวเช่นกันคือไม่มีใครหนีพ้นผลกรรมที่ตนได้กระทำไว้ ตัวเอกท่ีเป็นคนดีแม้ต้องเผชิญ
อุปสรรคมำกมำย แต่สุดท้ำยก็สุขสมหวัง ในขณะท่ีผู้ร้ำยซ่ึงได้เปรียบและสุขสมหวังมำโดยตลอด ก็ต้องรับ
กรรมช่ัวของตนในทำ้ ยที่สุด ดงั นัน้ ทกุ คนจงึ พึงยดึ ม่นั ในกำรทำควำมดี ดงั โคลงบทที่ว่ำ
“ใดใดในโลกล้วน อนจิ จัง
คงแตบ่ ำปบุญยัง เท่ียงแท้
คอื เงำตดิ ตวั ตรัง ตรงึ แนน่
คงแต่บำปบุญแล้ว ก่อเกอื้ รักษำ”
๗. การจัดการเรียนการสอน เรื่อง การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง
อย่างมีเหตผุ ล
การเขียนแสดงความคิดและโต้แย้ง คือ การเขียนที่ประกอบด้วยข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริง ท่ีต้องอาศัย
การวิเคราะห์ข้อมูล กับการแสดงความคิดเห็นต่อเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ความคิดเห็นควรจะมีเหตุผลและเป็นไป
ในทางสร้างสรรค์ ผู้รับสารเร่ืองเดียวกันไม่จาเป็นต้องมีความคิดเห็นเหมือนกัน เป็นการมองต่างมุมและเป็น
ความคิดเห็นเฉพาะบุคคล แต่ตอ้ งโต้แย้งอย่างมีเหตุผล นักเรียนจึงควรเรียนรู้เรื่องการเขียนแสดงความคดิ เห็น
และโตแ้ ย้งอยา่ งมีเหตผุ ล เพ่ือท่ีจะนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
๗.๑ การเขยี นวิเคราะหว์ จิ ารณ์
เป็นกระบวนการเขียนที่ผู้เขียนนาเสนอสารผ่านการพิจารณา แยกแยะข้อมูล แล้ววิเคราะห์ข้อดี
ขอ้ เสยี จดุ เด่น จุดด้อย แลว้ นาไปประเมนิ คา่ เพอ่ื นาไปใชใ้ นชวี ติ จริงได้
๗.๑.๑ หลกั การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์
๗.๑.๑.๑ ศกึ ษาเรอื่ งอยา่ งละเอียดอย่างถอ่ งแท้
๗.๑.๑.๒ วิเคราะห์แยกแยะเน้ือหาเปน็ สว่ น ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไร มีความสมั พันธ์กนั หรือไม่
๗.๑.๑.๓ วิเคราะห์เนื้อหาแล้วประเมินค่าว่ามีข้อดี ข้อเสีย จุดเด่น จุดด้อย หรือข้อบกพร่อง
อยา่ งไร
๗.๑.๑.๔ วิจารณ์ข้อมูลท่ีวิเคราะห์แล้วไปประเมินค่าให้เห็นว่ามีคุณค่าหรือมีข้อบกพร่อง
อย่างไร
๗.๑.๑.๕ วจิ ารณใ์ นทางสรา้ งสรรคแ์ ละเปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น
๗.๑.๑.๖ เรียบเรียงความคิดท่ีวิเคราะห์วิจารณ์เป็นบทพูด ใช้คาที่มีความหมายกระชับตรง
ประเด็น
๑๑๐
๗.๒ การเขยี นแสดงความคดิ เห็น
เป็นการเขียนท่ีประกอบด้วยข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริง กับการแสดงความคิดเห็นต่อเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง
ความคิดเห็นควรจะมีเหตุผลและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ ผู้รับสารเรื่องเดียวกันไม่จาเป็นต้องมีความคิดเห็น
เหมือนกัน เป็นการมองต่างมุม และเป็นความคิดเห็นเฉพาะบุคคล
๗.๒.๑ หลักการการเขยี นแสดงความคดิ เห็น
๗.๒.๑.๑ การเลือกเร่ือง ผู้เขียนควรเลือกเร่ืองท่ีเป็นที่สนใจของสังคมหรือเป็นเร่ืองท่ีทันสมัย
อาจเกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปะ วทิ ยาศาสตร์ หรอื ขา่ วเหตกุ ารณ์ประจาวนั
ท้งั น้ีผู้เขียนต้องมคี วามร้แู ละเขา้ ใจเร่อื งที่ตนจะแสดงความคดิ เห็นเป็นอย่างดี เพื่อทจี่ ะแสดงความคิดเห็นอย่าง
ลกึ ซ้ึง
๗.๒.๑.๒ การให้ขอ้ เท็จจริง ขอ้ มลู ที่เลือกมานน้ั จะต้องมีรายละเอียดต่าง ๆ เช่น ทีม่ าของเรื่อง
ความสาคัญ และเหตุการณ์เป็นต้น ดังนั้นจึงควรจะต้องศึกษาเร่ืองท่ีจะเขียนอย่างละเอียด จับใจความสาคัญ
ของเร่ืองให้ได้ และศึกษาเร่ืองท่ีเก่ียวข้องจากแหล่งความรู้อ่ืน ๆ ประกอบ จากน้ันจึงพิจารณาข้อเด่นข้อด้อย
พรอ้ มท้ังยกเหตผุ ลประกอบขอ้ คดิ เหน็
๗.๒.๑.๓ การแสดงความคดิ เหน็ ผเู้ ขยี นอาจแสดงความคดิ เห็นตอ่ เร่ืองได้ ๔ ลกั ษณะดังน้ี คือ
๑) การแสดงความคิดเห็นเพื่อตั้งข้อสังเกต เช่น การเติบโตของธุรกิจอินเทอร์เน็ต
ความนิยมรับประทานอาหารเสริมสขุ ภาพ
๒) การแสดงความคิดเห็นเพ่ือสนับสนุนข้อเท็จจริง เช่น หัวข้อเร่ืองการจัดระเบียบ
สังคมของรอ้ ยตารวจเอกปุระชัย เป่ียมสมบูรณ์ การปราบปรามยาเสพตดิ ขัน้ เดด็ ขาดของรฐั บาล
๓) การแสดงความคิดเห็นเพ่ือโต้แย้งข้อเท็จจริง เช่น หัวข้อเรื่อง การกินยาลด
ความอว้ นของวัยรุ่น การเปดิ เสรีการค้านา้ เมาของภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น
๔) การแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื ประเมนิ ค่า เชน่ หวั ข้อเร่ืองการวจิ ารณ์เรอ่ื งสน้ั ที่ได้รับ
รางวลั วรรณกรรมสรา้ งสรรค์ยอดเยย่ี มแห่งอาเซียนหรือรางวลั ซีไรต์
๗.๒.๑.๔ การเรยี บเรียง มลี าดบั ข้นั ตอนดังน้ี
๑) การต้ังช่ือ ควรต้ังชื่อเรื่องให้เร้าความสนใจผู้อ่าน และสอดคล้องกับเนื้อหาที่จะ
เขยี น เพราะชอื่ เรื่องเปน็ ส่วนที่ผอู้ า่ นจะต้องอา่ นเปน็ อันดบั แรก และเปน็ การบอกขอบเขตของเร่ืองดว้ ย
๒) การเปดิ เรอ่ื ง ใชห้ ลักการเขียนเช่นเดยี วกันกบั คานา และควรเปิดเร่ืองใหน้ า่ สนใจ
ชวนให้ผอู้ า่ นติดตามเรอ่ื งตอ่ ไป
๓) การลาดับ ควรลาดับเร่ืองให้มีความต่อเน่ืองสอดคล้องกันต้ังแต่ต้นจนจบ
ไม่เขียนวกไปวนมา เพราะผู้อ่านอาจเกิดความสับสนจนไม่สามารถแยกแยะได้ว่า ส่วนใดเป็นข้อเท็จจริ ง
และสว่ นใดเป็นการแสดงความคิดเห็น
๔) การปิดเร่ือง ใช้หลักการเช่นเดียวกับการเขียนสรุป และควรปิดเร่ืองให้ผู้อ่าน
ประทบั ใจ
๑๑๑
๗.๒.๑.๕ การใช้ภาษา ควรใช้ภาษาอย่างสละสลวย ชัดเจน ไม่เย่ินเย้อ มีการใช้สานวนโวหาร
อย่างเหมาะสมกับเร่ือง นอกจากน้ัน ยังต้องใช้ถ้อยคาท่ีสื่อความหมายได้ตรงตามอารมณ์ และความรู้สึกของ
ผู้เขียน ท้ังน้ี ควรเขียนอย่างเป็นกลาง และหลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยคาท่ีแสดงอารมณ์รุนแรง ซ่ึงอาจก่อให้เกิด
ความขัดแย้งอยา่ งรุนแรงภายหลัง
๗.๓ การเขยี นโต้แยง้
เป็นการเขียนแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึ่ง โดยมุ่งที่จะโต้แย้งข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น
ตลอดจนโต้แยง้ ความคิดเหน็ ของผู้อื่นดว้ ยความคดิ เห็นในทางสร้างสรรค์ ดว้ ยเหตุผล ข้อมูล สถิติ และการอ้าง
ความคดิ เห็นของผรู้ ู้ มาสนับสนุนความคดิ เห็นของตน เพื่อคดั ค้านความคิดของอกี ฝา่ ยหนง่ึ ดงั น้ัน การฝกึ เขียน
โต้แย้งจึงเป็นการฝกึ ทกั ษะการคิดอย่างมีเหตผุ ล คิดรอบคอบ ละเอียดถถ่ี ้วน
๗.๓.๑ หลักการเขียนโต้แยง้
๗.๓.๑.๑ กาหนดหัวขอ้ และขอบเขตของการโตแ้ ยง้ เพือ่ จะไดไ้ มห่ ลงประเดน็ ท่จี ะโตแ้ ยง้
๗.๓.๑.๒ แบ่งเน้ือหาออกเปน็ ประเดน็ เพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความสับสน
๗.๓.๑.๓ ผูโ้ ต้แย้งต้องมพี ้ืนความรู้ดีพอเกย่ี วกบั หัวขอ้ ทีน่ ามาโตแ้ ยง้
๗.๓.๑.๔ เรียบเรยี งและนาเสนอข้อโตแ้ ย้งได้อย่างละเอยี ดชัดเจน
๗.๓.๑.๕ แบ่งกระบวนการโตแ้ ย้งออกเป็น ๔ ขน้ั ตอน คือ การต้ังประเดน็ การนิยามคาที่อยใู่ น
ประเด็นของการโต้แย้ง การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน การช้ีให้เห็นจุดอ่อนและ
ข้อผิดพลาดของความคดิ เหน็ ฝ่ายตรงขา้ ม
๘. การจดั การเรียนการสอน เรอื่ ง การเขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้
การเขียนรายงาน คอื การนาเสนอผลการศึกษาคน้ คว้าทางวิชาการประเดน็ ใดประเด็นหนง่ึ แล้วเรียบเรียง
เนื้อหาทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ มาจากแหลง่ ความร้ตู ่าง ๆ ให้สมั พันธ์กันอยา่ งเป็นระบบเพื่อใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจถูกตอ้ งชดั เจน
การเขียนรายงานเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงผู้เขียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงองค์ประกอบและข้ันตอนในการเขียน
รายงานเป็นอย่างดีจึงจะเขียนรายงานได้อย่างถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ เพ่ือให้สามารถเขียนรายงานจาก
การศึกษาค้นคว้าได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ีเพื่อทาให้งานเขียนของนักเรียนมีความน่าเชื่อถือ
มากยิง่ ขึ้น
๘.๑ ความหมายของรายงาน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายของคาว่า “รายงาน” เป็นคานาม
แปลว่า เร่ืองราวท่ีไปศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเสนอท่ีประชุม ครูอาจารย์ หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น ถ้าเป็น
คากริยา แปลวา่ บอกเรื่องของการงาน เชน่ รายงานให้ผ้บู ังคบั บญั ชาทราบ
๑๑๒
๘.๒ ประเภทของรายงาน
โดยทวั่ ไปรายงานแบง่ ออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ
๘.๒.๑ รายงานท่ัวไป
รายงานที่เสนอข้อเท็จจริงในเร่ืองต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับองค์การ สถาบัน หรือข้อคิดเห็นของบุคคล
ความเคล่ือนไหวของเหตุการณ์ สถานการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงซ่ึงได้ดาเนินการไปแล้ว หรือกาลังดาเนนิ การอยู่
หรอื จะดาเนนิ การตอ่ ไป เพือ่ ใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งทราบ ได้แก่
๘.๒.๑.๑ รายงานทางราชการ เชน่
๑) รายงานแสดงผลงาน เป็นรายงานซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่รายงานผล
การปฏิบัติงานตอ่ ผูบ้ ังคับบัญชา ผูร้ ่วมงานหรอื ผูส้ นใจทราบ
๒) ข้อเขียนที่เป็นคากล่าวรายงานในพิธีเปิด – ปิด การอบรมสัมมนา การแข่งขัน
กีฬา การประกวด ฯลฯ เป็นการรายงานให้ทราบถึงความเป็นมาของงาน การดาเนินงาน ผู้ร่วมงาน กาหนด
ระยะเวลาของงาน และลงทา้ ยด้วยการเชิญประธานในพธิ กี ลา่ วเปดิ หรอื ปิดงาน
๘.๒.๑.๒ รายงานการประชมุ
เป็นการบันทึกเร่ืองราวต่าง ๆ ที่องค์ประชุมกล่าวถึงต้ังแต่เริ่มประชุมจนสิ้นสุด
การประชุม และต้องนารายงานนี้เสนอให้ท่ีประชุมรับรองในการประชุมครั้งต่อไป รายงานการประชุมเป็น
เอกสารทใี่ ช้อ้างองิ ไดจ้ งึ ตอ้ งใชภ้ าษาเปน็ ทางการ กระชับ รดั กุม และชัดเจน
๘.๒.๑.๓ รายงานข่าว คือ การรายงานโดยใช้วิธีเขียนหรือพูด เพ่ือรายงานเร่ืองราวหรือ
เหตุการณท์ เี่ กดิ ข้ึน ผ้รู ายงาน ไดแ้ ก่ นักหนงั สือพิมพ์ นกั จดั รายการวิทยุ ผปู้ ระกาศข่าวทางโทรทศั น์ ฯลฯ
๘.๒.๑.๔ รายงานเหตุการณ์ เป็นรายงานซึ่งเจ้าพนักงานผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบเป็นผู้รายงาน
เพื่อบอกเรื่องราวเหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นอยู่ หรือเกิดขึ้นในขณะนั้น เสนอต่อผู้บังคับบัญชา
หรือผู้เกี่ยวข้องทราบ ได้แก่ รายงานการอยู่เวรรักษาการณ์ รายงานอุบัติเหตุรถชนกัน รายงานเกิดเหตุเพลิง
ไหม้ เป็นต้น ซึ่งส่วนมากจะเป็นการเขียนรายงานอย่างสั้น เป็นการเขียนท่ีเน้นข้อเท็จจริง และความถูกต้อง
ของข้อมูล ภาษาที่ใช้ควรเปน็ ภาษาทางการ หรือถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ กะทัดรัด ชัดเจน ตรงประเด็น และ
คงเส้นคงวา
๘.๒.๒ รายงานทางวิชาการ
เป็นการรายงานผลของการศึกษาค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึง มุ่งเสนอผลที่ได้ตาม
ความเป็นจริงซ่ึงต้องทาตามข้ันตอน มีระบบมีระเบียบแบบแผนท่ีเป็นสากล โดยมีหลักฐานและการอ้างอิง
ประกอบ แล้วเขียนหรอื พิมพใ์ หถ้ ูกตอ้ งตามรปู แบบท่ีสถาบนั นน้ั ๆ กาหนด และถือวา่ รายงานเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
การประเมินผลการเรียนการสอนของวชิ านั้น ๆ ดว้ ย
๑๑๓
๘.๒.๒.๑ วัตถปุ ระสงคห์ รือความสาคัญของรายงานทางวิชาการ
รายงานมคี วามสาคญั ต่อผ้ศู ึกษา ดังตอ่ ไปน้ี
๑) สง่ เสริมสนับสนุนใหผ้ ู้เรียนร้จู ักวิธีการศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ในเรอ่ื ง
ทีส่ นใจได้อย่างกวา้ งขวางลกึ ซ้งึ
๒) ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และเกิดทักษะ รู้วิธีการค้นคว้ารวบรวม
ข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มลู นัน้ ๆ ไดอ้ ย่างถูกวิธี
๓) ช่วยฝกึ ทกั ษะทางด้านการอ่าน โดยอา่ นได้เรว็ อ่านแล้วสามารถจับใจความของ
เรือ่ งทีอ่ า่ นได้ สามารถสรปุ ได้ วิเคราะห์ได้ และจดบันทึกได้
๔) ช่วยฝึกทักษะทางด้านการเขียน สามารถสื่อความหมายโดยการเขียนได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ รู้ขัน้ ตอน รู้รูปแบบของการเขียนรายงาน แล้วนาเอาหลักการและแบบแผนในการเขียนรายงาน
ไปปรับใชใ้ นการเขียนรายงานทางวิชาการอ่นื ๆ ได้ เช่น ภาคนิพนธ์ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ ตารา เป็นต้น
๕) ช่วยฝึกทักษะทางด้านการคิด คอื สามารถคดิ วิเคราะหเ์ รื่องราวต่าง ๆ ได้ โดยใช้
วิจารณญาณของตนเอง แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลโดยมีหลักฐานอ้างอิง แล้วรวบรวมเรียบเรียงข้อมูล
ความคดิ ท่ีได้ใหเ้ ปน็ เร่ืองราวได้อยา่ งมีข้นั ตอน มีระบบเปน็ ระเบียบ
๖) สามารถเขียนรายงานประกอบการเรยี นได้อย่างถูกต้องตามแบบแผน และเป็น
พน้ื ฐานในการศกึ ษาชัน้ สูงต่อไป
๗) ใชเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในการประเมินผลของแต่ละวิชา
๘.๒.๒.๒ ประเภทของรายงานทางวชิ าการ
การศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลน้ันอาจเป็นการค้นคว้าจาก หนังสือ เอกสาร
การสารวจ การทดลอง การสังเกต การสัมภาษณ์ วิธีใดวิธีหนึ่งหรืออาจใช้หลายวิธีประกอบกันก็ได้
ในสถาบันการศึกษาน้ันการเขียนรายงานถือเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมการเรียนการสอนโดยผู้สอนอาจเป็นผู้
กาหนดหัวข้อเร่ืองที่จะทารายงานให้ หรือให้ผู้เรียนเป็นผู้เลือกหัวข้อเร่ืองเอง การทารายงานอาจทาเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ข้ึนอยู่กับขอบเขตของเรื่อง และระยะเวลาในการทา รายงานทางวิชาการอาจ
แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ไดด้ ังน้ี
๑) รายงาน (Report) คือรายงานท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลซึ่งส่วน
ใหญ่แล้วจะเป็นการรวบรวมข้อมูลจากหนังสือและเอกสารต่างๆเป็นกิจกรรมประกอบการเรียนการสอน
ท่ผี ู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า เพ่อื ให้มีความรู้เพ่มิ เติมจากเนื้อหาทเ่ี รียนในห้องเรียน และใชเ้ ป็น
ส่วนหน่ึงในการประเมินผลของแต่ละรายวิชา ในหนึ่งรายวิชาอาจมีผู้รายงานได้หลายเรื่อง การนาเสนออาจ
เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรหรอื รายงานปากเปลา่ กไ็ ด้ แล้วแต่ผสู้ อนกาหนด
๒) ภาคนิพนธ์หรือรายงานประจาภาค (Term Paper) มีลักษณะเช่นเดียวกับ
รายงาน เพียงแต่เรื่องที่ใช้ทาภาคนิพนธ์จะมีขอบเขตกว้างและลึกซ้ึงกว่า ใช้เวลาค้นคว้ามากกว่า
ความยาวของเนื้อหามากกว่า ดังนั้นผู้เรียนจึงมักจะได้รับมอบหมายให้ทาเพียงเร่ืองเดียวในแต่ละรายวิชาต่อ
ภาคการศึกษา
๑๑๔
๕) ปริญญานิพนธ์ เป็นรายงานผลการวิจัยอันเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตาม
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เรียกว่า “วิทยานิพนธ์” (Thesis) และตามหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต
เรียกว่า “ดุษฎีนิพนธ์” (Dissertation) หัวข้อที่จะทาปริญญานิพนธ์จะต้องมีคุณลักษณะเข้มงวด ทั้งในด้าน
คณุ ภาพและปริมาณจะต้องเป็นหัวข้อท่ีแสดงถึงความคิดริเริ่มและมีขอบเขตกว้างขวางลึกซง้ึ ศึกษาตามลาดับ
ขน้ั ตอนของการทาวิจยั อยา่ งมีระเบยี บแบบแผน ประกอบด้วยขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อเสนอแนะ
๘.๒.๒.๓ ลกั ษณะสาคัญของรายงานทางวิชาการ
๑) เน้ือหาสาระถูกต้องตรงความเป็นจริงเชิงวิชาการ แบ่งเป็นบทหรอื ตอน เป็นไป
โดยลาดบั อยา่ งต่อเนอ่ื งสัมพนั ธ์กันตลอดทงั้ เล่ม
๒) มีรูปแบบการเขียนหรือพิมพ์ส่วนประกอบถูกต้อง และครบถ้วนตามขอ้ กาหนด
ของรายงานแตล่ ะประเภท
๓) มีการอ้างอิง คือการบอกแหล่งท่ีมาของข้อมูลไว้อย่างชัดเจน เพ่ือให้เนื้อหา
มีความน่าเช่ือถือและผู้อ่านสามารถค้นคว้าเพ่ิมเติม หรือตรวจสอบได้ และมีรูปแบบการอ้างอิงเป็นระบบ
เดยี วกันตลอดท้ังเล่ม
๔) ภาษาท่ีใช้ต้องเป็นภาษาทางการ คือเป็นภาษาที่มีลักษณะถูกต้องตามระเบียบ
แบบแผนของภาษา สื่อความหมายตรงไปตรงมา ส้ันกะทัดรัด เข้าใจง่ายโดยไม่ต้องแปลอีกครั้ง ได้ใจความ
ครบถ้วน เพราะการเขียนรายงานทางวิชาการเป็นงานเขียนที่เน้นความรู้ ข้อเท็จจริง ผู้เขียนจึงควรคานึงถึง
หลกั เกณฑ์การใช้ภาษาดงั ต่อไปน้ี
๘.๒.๒.๔ ขอ้ ควรระวงั การใชค้ าในรายงาน
การใช้ภาษาท่ีถูกต้องเป็นทางการน้ัน จะช่วยให้งานเขียนมีความน่าเช่ือถือ
และเป็นที่ยอมรับของผู้อ่าน ดังนั้น เม่ือเขียนแล้วควรอ่านทบทวนและพิจารณา ตรวจทานแก้ไขให้รอบคอบ
ด้วยเพอื่ ให้แน่ใจว่าเป็นงานเขียนท่ีมคี ุณภาพ
๑) ไม่ใช้คาในภาษาพูดหรือภาษาปาก ภาษาตลาด ภาษาคะนอง ภาษาสแลง
เพราะเป็นภาษาที่ไม่สุภาพ ซ่ึงส่วนมากแล้วจะใช้สนทนาท่ัวไปในชีวิตประจาวัน ในหมู่คนท่ีรู้จักคุ้นเคยสนิท
สนมกันเท่านั้น และนิยมพูดกันในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเท่าน้ัน มักเข้าใจกันเฉพาะกลุ่ม เช่น กลุ่มวัยรุ่น
หรือกลุม่ คนบางอาชพี เช่น คาวา่ กิน หมู ๆ เกา๋ ตึม อึ๋ม อนิ เอาว์ เชง้ กะเด๊ะ โบ๊ะ จ๊าบ เจ๋ง เป็นตน้
๒) คาในภาษาถิ่น หรือภาษาเฉพาะท้องถ่ินเฉพาะกลุ่ม หากจาเป็นต้องใช้
ควรมีคาอธบิ ายกากบั ไว้ด้วย อาจใช้วิธีวงเล็บกากับ หรอื ทาเชงิ อรรถอธบิ ายความหมายไว้ก็ได้ เช่น คาวา่
ลาแต๊ ร่อยจังหู แซบอีหลี มว่ นขนาด ออ้ ลอ้ ขอสูมาเตอ๊ ะ
๓) เลือกใช้คาให้ตรงตามความหมายที่ต้องการจะส่ือ ไม่ใช่คาที่มีความหมาย
กากวม คาที่มีความหมายคลุมเครือไม่ชัดเจน คาท่ีมีความหมายได้หลายนัย ซ่ึงอาจทาให้ผู้อ่านเข้าใจ
ไม่ตรงตามทีต่ ้องการจะสือ่ เชน่ คาวา่ ฉนั ต้องไปผ่าตดั ใบพลูปนู อนได้ พเ่ี ขาชอบโดดร่มเสมอ
๔) เลือกใช้คาท่ีสามารถเข้าใจได้ง่ายโดยไม่ต้องแปลความอีกคร้ัง เช่น
คาว่า วิสยั ทศั น์ กระบวนทศั น์
๕) งดใช้คาฟุ่มเฟือยไม่สื่อความหมาย เพราะการเขียนเชิงวิชาการต้องใช้ภาษา
ท่ีสั้นตรงไปตรงมา เช่น ห้ามไม่ให้รับประทานอาหารก่อนถึงเวลา ควรเขียนเป็น ห้ามรับประทานอาหารก่อน
๑๑๕
ถึงเวลา คนทุกคนเกิดมาต้องการความสุขกันทุกคน ควรเขียนเป็น ทุกคนเกิดมาต้องการความสุข ในอดีตท่ี
ผ่านมาสมบัติเป็นคนดีคนหนึ่ง ควรเขียนเป็น ในอดีตสมบัติเป็นคนดี คณะกรรมการได้ทาการตรวจสอบ
เรยี บรอ้ ยแลว้ ควรเขียนเป็น คณะกรรมการตรวจสอบแล้ว
๖) ไม่ใช้คาย่อในภาษาเขียน เพราะอาจทาให้ผู้อ่านเข้าใจผิด หรือเกิด
ความสับสนได้ เพราะส่วนมากแล้วคาย่อจะเป็นคาทใ่ี ช้กนั เฉพาะวงการ จงึ ควรเขยี นคาเตม็ แต่ถา้ จาเป็นตอ้ งใช้
คายอ่ ตา่ ง ๆ ให้วงเล็บคาเตม็ ไวด้ ้วย เชน่ ตร. ใหเ้ ขยี นเป็น ตารวจ ผอ. ใหเ้ ขยี นเป็น ผู้อานวยการ
๗) ไม่ใช้เครื่องหมายแทนคาพูดเพราะไม่เป็นท่ีนิยมในภาษาเขียน เช่น % ควร
เขยี นเปน็ รอ้ ยละ (ยกเวน้ ในตาราง) ? ควรเขยี นเป็น อะไร \ ควรเขยี นเป็น เพราะฉะนัน้
๘) ในการเขยี นศัพทท์ างวิชาการควรเลือกใชศ้ ัพทบ์ ญั ญตั ิของราชบัณฑิตยสถาน
เล่มใหม่ล่าสุด เช่น คาว่า คลินิก ให้เขียนเป็น คลินิก ไอศกรีม ให้เขียนเป็น ไอศกรีม กะทัดรัด ให้เขียน
เป็น กะทัดรดั
๙) เลขหลกั เกนิ รอ้ ยต้องใส่เครื่องหมายจุลภาคกากับ เชน่ 9,925,579
๑๐) ไม่ใช้ภาษาสื่อมวลชน ภาษาในวงการโฆษณา หรือภาษาในหนังสือพิมพ์
เพราะภาษาเหล่านั้นมุ่งใช้คาที่เร้าความสนใจ สะดุดตาผู้อ่าน จะไม่คานึงถึงแบบแผนในการเขียน เช่น กีฬา
ลกู หนงั คาพูดใหญโ่ ต ความรู้สึกแห้งสบาย
๑๑) ไม่ใช้คาเชื่อมหรือคาซ้ากันบ่อย ๆ เพราะจะทาให้รายงานไม่น่าอ่าน
ควรหาคาหรอื สานวนอื่นใช้แทนจะช่วยใหข้ อ้ เขียนได้ใจความสละสลวย เช่น คาวา่ ก็ และ แลว้ หรอื ฯลฯ
๑๒) คา ทับศัพท์ ที่ใช้ กัน มานาน และป รา กฏ ในพ จนานุก รม ฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถานแลว้ จะถอื เป็นคาไทยให้เขียนเปน็ ภาษาไทยโดยไมต่ ้องกากบั ภาษาเดิม เชน่ เซลล์ เอกซเรย์
แคลคูลสั เอนทรานซ์ คอมพิวเตอร์ ฟตุ บอล อินเทอร์เนต็
๑๓) ถ้าเป็นคาใหม่ ศัพทบ์ ัญญัติ ศัพท์วิชาการท่ีเขยี นทับศัพท์ ในการเขียนครั้ง
แรกให้กากับภาษาเดมิ ไว้ด้วย และไม่ตอ้ งกากับอีกเม่ือเขียนคร้ังต่อไป เช่น เอนจิเนียร์ (Engineer) ยูเรเนยี ม
(Uranium)
๑๔) ไม่ใช้คาในภาษาต่างประเทศท่ีมีคาในภาษาไทยใช้แทนได้ควรใช้คาใน
ภาษาไทย เช่น คาว่า เปดิ แอร์ ควรเขยี นว่า เปดิ เครือ่ งปรับอากาศ สไลด์ ควรเขียนว่า ภาพน่ิง
๑๕) การเขียนประโยค การเขียนประโยคในรายงานทางวชิ าการ ควรเขยี นเป็น
ประโยคสั้นๆ กะทัดรัด มีความหมายชัดเจนตรงตามที่ต้องการจะสื่อ ลักษณะของประโยคที่ดีคือจะต้องมี
ความสละสลวย และได้ในความชดั เจน ดังน้นั ประโยคทเ่ี ขียนจะต้องสมบูรณ์ แสดงรายละเอียดต่าง ๆอย่าง
เป็นระเบียบถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และหลักการเขียนท่ีดี กล่าวคือต้องมีประธาน กริยา กรรม และ/
หรือส่วนขยาย นามาเรียงลาดับกันให้ได้ความชัดเจน กระชับ และได้ความต่อเน่ืองเป็นลาดับกันต้ังแต่ต้น
จนจบ
๑๖) การเขียนย่อหน้า เป็นข้อความหรือกลุ่มประโยคท่ีแสดงให้เห็นถึงสาระ
แนวคดิ หรือใจความสาคัญเรอื่ งใดเรื่องหนึ่งเพียงเรื่องเดียว ย่อหน้าจะประกอบด้วยประโยค ที่เป็นสาระสาคัญ
หรือประโยคหลัก และมีประโยคขยายอื่น ๆ การเขียนย่อหน้าจะชว่ ยแสดงความสัมพันธข์ องเร่ือง และช่วยให้
ผู้อ่านจับประเด็นได้ว่า ผู้เขียนรายงานจะนาเสนอเนื้อหาอย่างไร นอกจากน้ันความสาคัญอีกประการหน่ึงของ
๑๑๖
ย่อหน้า คือทาให้ผู้อ่านได้พักสายตา ย่อหน้าท่ีดีน้ัน ควรมีความสมบูรณ์ กล่าวคือควรเขียนให้มีเน้ือหาสาระ
ชัดเจน ไม่นอกเรื่อง และเขียนให้มีความเป็นเอกภาพ คือมีความคิดหรือประเด็นสาคัญเพียงประการเดียว
และมีข้อความขยายที่เป็นเรอ่ื งเดียวกัน และนอกจากน้ันเม่อื เขยี นย่อหน้าควรเรียบเรยี งขอ้ ความให้สัมพันธ์กัน
ไม่กระโดดข้ามไปข้ามมาท้ังภายในย่อหน้าเดียวกัน และระหว่างย่อหน้ากับย่อหน้า ผู้เขียนรายงานจะเริ่มข้ึน
ย่อหน้าใหม่เมื่อจะกล่าวถึงความคิด หรือสาระสาคัญอื่น ๆ ต่อไป หรือเมื่อต้องการยกตัวอย่าง และเม่อื ผู้เขียน
ต้องการแสดงให้ความแตกต่างของประเด็นท่ีตรงกันข้าม หรือต้องการสรุปความคิด ท่ีกล่าวมาแล้วในย่อหน้า
ก่อน
๑๗) การลาดับย่อหน้า การเรียบเรียงข้อความเนื้อหาให้สัมพันธ์เช่ือมโยงกัน
นอกจากจะต้องคานึงถึงภายในแต่ละย่อหน้าแล้ว ผู้เขียนยังต้องคานึงเสมอว่า ข้อความในยอ่ หน้าคิดกันจะต้อง
มคี วามเชอื่ มโยงสัมพนั ธ์กันเป็นไปตามลาดบั สอดคลอ้ งกับโครงเรือ่ งดว้ ย
๘.๒.๓ องค์ประกอบของรายงาน
ส่วนที่ ๑ ปกหน้าหรอื หนา้ ปก
การเขยี นสะกดคา
เด็กชายรักดี หามจวั่
เลขที่ ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓/๕
รายงานน้เี ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษารายวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๑
โรงเรยี นสงขลาวิทยาคม
ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
หมายเหตุ ช่องว่างระหว่างชื่อเร่ืองกับช่ือ เลขที่ ชั้น ของผู้จัดทารายงาน เทา่ กับช่องว่างระหว่างช่ือ เลขที่ ชั้น
ของผู้ทารายงานกบั ชื่อรายวิชา
๑๑๗
ส่วนที่ ๒ ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่าไม่เขียนอะไรเลย ให้ใช้ขนาดและลักษณะเดียวกับกระดาษเขียน
รายงาน
ส่วนที่ ๓ หนา้ ปกใน เขียนเหมือนกบั ปกหนา้ (สว่ นที่ ๑) ทุกประการ
สว่ นที่ ๔ คานา คือ ข้อตกลงเบอ้ื งตน้ ระหวา่ งผทู้ ารายงานกับผอู้ ่านรายงานนัน้ ถูกตอ้ ง และได้ผลดีย่ิงขึน้
คานา
การเขยี นเป็นทกั ษะทางภาษาที่จาเปน็ สาหรับชวี ิต เพราะเปน็ เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการส่ือสาร หาก
ผู้เขียนสะกดคาไม่ถูกต้อง อาจทาให้การสื่อสารคลาดเคล่ือนได้ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเขียน
สะกดคาให้ถูกตอ้ ง
รายงานฉบับน้ี ประกอบด้วย สาเหตุทท่ี าให้เขยี นสะกดผดิ ข้อสังเกตเกีย่ วกับการเขียนคาทมี่ ัก
เขียนผิด และได้ประมวลคาที่มักเขียนผิดไว้ ตั้งแต่อักษร ก ถึง ฮ และเนื้อหาท้ังหมดในรายงานฉบับนี้
ผูเ้ ขียนไดค้ น้ ควา้ รวบรวมจากหนงั สอื ท่เี ขียนด้วยผูท้ รงคุณวุฒิทางด้านภาษาไทยหลายดา้ นดว้ ยกนั
หวังวา่ รายงานฉบับนี้ จะช่วยให้ผ้อู ่านไดร้ บั ความร้เู รื่องการเขียนสะกดคาเพมิ่ ขนึ้ และสามารถ
นาไปใช้ในการติดต่อสื่อสารได้เป็นอย่างดี
เดก็ ชายรักดี หามจว่ั
ส่วนที่ ๕ สารบญั ประกอบดว้ ยหัวข้อเร่ือง หรือเร่ือง หรือบทท่ปี รากฏอยู่ในรายงาน พรอ้ มระบุเลขหน้าเพื่อ
สะดวกแกผ่ ู้อา่ นจะได้คน้ คว้าเรอื่ งที่อ่านได้รวดเรว็
สารบัญ หน้า
๑
เร่อื ง ๓
บทนา....ความสาคัญของการเขียน ๑๐
สาเหตุทีท่ าให้เขียนสะกดคาผิด ๑๕
ขอ้ สงั เกตเก่ียวกับการเขยี นคาท่ีมกั สะกดผดิ ๒๑
ประมวลคาท่ีมักเขยี นผดิ
บรรณานกุ รม
๑๑๘
ส่วนท่ี ๖ เน้อื หา ประกอบด้วย บทนา เนือ้ หาสาระหรือบทตา่ ง ๆ ในรายงาน และบทสรปุ ทง้ั นที้ ัง้ ๓ สว่ นน้ี
คือ เนือ้ หาในรายงานแบ่งเปน็ กีเ่ รอ่ื ง กบี่ ท แล้วแต่จุดประสงคข์ องผู้เขยี นรายงานเร่ืองน้ัน ๆ
ส่วนท่ี ๗ บรรณานกุ รม คือ รายชอ่ื หนังสอื หรือเอกสารทอี่ ้างอิงขอ้ มลู ในการศกึ ษาค้นคว้าเรอ่ื งนั้น ๆ ซ่ึง
จดั เรยี งไวต้ ามลาดบั ตวั อกั ษรของชอ่ื ผู้แต่ง หรอื หนว่ ยงานท่ีเป็นเจ้าของ
บรรณานกุ รม
ชอื่ ผู้แตง่ ./(ปที พ่ี มิ พ)์ ./ช่ือเรื่อง./ครัง้ ท่พี มิ พ์ (พิมพ์คร้งั ที่ 2 เป็นตน้ ไป)./สถานทพ่ี มิ พ์:/
////////สานักพิมพ.์
ช่ือผู้เขียนบทความ./(ปีพมิ พ)์ ./ช่ือบทความ./ใน/ชอ่ื ผแู้ ตง่ (บรรณาธกิ าร),/ชอ่ื หนงั สอื
////////(คร้งั ทพ่ี ิมพ)์ , เลขหนา้ ท่ปี รากฏบทความจากหนา้ ใดถึงหน้าใด)./สถานที่พมิ พ์:/
////////สานักพมิ พ์.
ชื่อผเู้ ขียนบทความ./(ปพี ิมพ)์ ./ช่อื บทความ./ชอ่ื วารสาร,/ปีที่ (ฉบบั ที)่ ,/เลขหน้าทปี่ รากฏ.
ชอ่ื ผู้เขียนบทความ./(ปี,เดือนที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อนติ ยสาร,/ปีที่ (ฉบับท่ี),/
////////เลขหน้าที่ปรากฏ.
ชื่อผู้เขยี นบทความ./(ปี,เดอื นท่ีพิมพ)์ ./ช่ือบทความ./ชือ่ หนงั สอื พมิ พ์,/ปีท่ี (ฉบบั ท่ี),/
////////เลขหนา้ ทป่ี รากฏ.
ช่ือผูเ้ ขยี นวทิ ยานิพนธ์./(ปพี ิมพ์)./ชื่อวิทยานพิ นธ์./(วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ
//////// หรือวิทยานิพนธ์ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ ,/ช่ือมหาวทิ ยาลยั /สถาบันการศึกษา).
ชอ่ื ผู้เขียน/(ปี,เดอื น วนั ท่)ี ./ชอ่ื เนือ้ หา./[รปู แบบสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนิกส]์ . /Retrieved
//////// from URL หรือเวบ็ ไซตข์ องข้อมูล
๑๑๙
บรรณำนุกรม
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร. (๒๕๕๕). วรรณคดีวิจักษ์. กรุงเทพฯ : สำนกั งำนองค์กำรคำ้ ของสำนักงำน
คณะกรรมกำรสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ำรและสวสั ดิภำพครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ.
กลั ยำณี ถนอมแกว้ . (๒๕๕๐). กลวธิ ีกำรโนม้ นำ้ วใจ. (online). https://www.gotoknow.org,
๒๖ มถิ ุนำยน ๒๕๖๔.
ขวัญตำ โชตวิ นั ตำ. (๒๕๖๔). อิศรญำณภำษิต ชันมัธยมศึกษำปีที่ 3 วชิ ำภำษำไทย. (online).
https://blog.startdee.com, ๓๐ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๔.
จรรญำ จวิ เจริญ. (ม.ป.ป.). ระดบั ภำษำ. (online). https://sites.google.com, ๑๘ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
ณัฐวทิ ย์ พรหมศร. (ม.ป.ป). วิธกี ำรสอนคดั ลำยมือ. (online). https://www.gotoknow.org, ๑๗ กรกฎำคม
๒๕๖๔.
ธงชัย เจนหัตถกำรกิจ. (ม.ป.ป.). ภำษำไทย…วิถีไทย. (online). https://kingkarnk288.wordpress.com,
๑๗ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
นงครำญ เจรญิ พงศ์. (๒๕๕๗). กำรอ่ำนจับใจควำมสำคญั . (online). https://docs.google.com.
๘ มิถนุ ำยน ๒๕๖๔.
นันท์นภัส บำรงุ ผล. (ม.ป.ป.). กำรฟงั และกำรดู. (online). https://sites.google.com, ๒๒ มถิ ุนำยน
๒๕๖๔.
นริ นำม. (ม.ป.ป). Mind Map กำรเขียนแผนผังควำมคิด หรอื แผนท่คี วำมคิด (Mind Map). (online).
https://sites.google.com. ๘ มิถนุ ำยน ๒๕๖๔.
นริ นำม. (ม.ป.ป). กำรใช้ภำษำเพ่อื กำรโนม้ น้ำวใจ. (online). http://www.digitalschool.club,
๒๕ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๔.
นิรนำม. (ม.ป.ป). กำรในโอกำสตำ่ ง ๆ ของสังคม. (online). https://sites.google.com,
๒๕ มถิ ุนำยน ๒๕๖๔.
นิรนำม. (ม.ป.ป). กำรฟงั กำรดู และกำรพูด. (online). https://sites.google.com, ๒๒ มถิ ุนำยน
๒๕๖๔.
บ้ำนจอมยุทธ. (๒๕๕๙). วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ . (online). https://www.baanjomyut.com, ๑๑ มถิ ุนำยน
๒๕๖๔.
บ้ำนจอมยทุ ธ. (ม.ป.ป.). คำภำษำต่ำงประเทศท่ใี ชใ้ นภำษำไทย. (online).
https://www.baanjomyut.com, ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
บำ้ นปลกู ปัญญำ. (๒๕๖๔). กำรเขยี นยอ่ ควำม. (online). https://www.trueplookpanya.com,
๒๒ กรกฎำคม ๒๕๖๔.
บำ้ นปลูกปัญญำ. (๒๕๖๔). กำรเขียนรำยงำน. (online). https://www.trueplookpanya.com, ๒๐
กรกฎำคม ๒๕๖๔.
บำ้ นปลกู ปัญญำ. (๒๕๖๔). กำรเขียนอตั ชวี ประวตั ิหรือชีวประวัติ. (online).
https://www.trueplookpanya.com, ๑๗ กรกฎำคม ๒๕๖๔.
๑๒๐
บ้ำนปลกู ปัญญำ. (๒๕๖๔). กำรพดู ในโอกำสตำ่ ง ๆ . (online).
https://www.trueplookpanya.com, ๒๖ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๔.
บำ้ นปลกู ปญั ญำ. (๒๕๖๔). กำรอำ่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและกำรอำ่ นออกเสียงบทร้อยกรอง. (online).
https://www.trueplookpanya.com, ๓ มิถุนำยน ๒๕๖๔.
บำ้ นปลูกปญั ญำ. (๒๕๖๔). เทคนคิ กำรอ่ำนจบั ใจควำมสำคัญ. (online).
https://www.trueplookpanya.com, ๒๓ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๔.
บ้ำนปลกู ปัญญำ. (๒๕๖๔). บทละครพูด เรอ่ื ง เหน็ แก่ลกู . (online). https://www.trueplookpanya.com,
๑๐ มิถนุ ำยน ๒๕๖๔.
บำ้ นปลูกปญั ญำ. (๒๕๖๔). ประโยคซับซ้อน. (online). https://www.trueplookpanya.com,
๑๘ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
บำ้ นปลูกปัญญำ. (๒๕๖๔). พฒั นำทกั ษะกำรฟังและกำรดู. (online).
https://www.trueplookpanya.com, ๑๐ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๔.
บำ้ นปลูกปัญญำ. (๒๕๖๔). ภำษำไทย ม. 3 เรอื่ ง คำภำษำตำ่ งประเทศในภำษำไทย. (online).
https://www.trueplookpanya.com, ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
บำ้ นปลูกปญั ญำ. (๒๕๖๔). ระดบั ภำษำ. (online). https://www.trueplookpanya.com,
๑๘ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
บุญกวำ้ ง ศรีสทุ โธ. (ม.ป.ป.). หลกั กำรอำ่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ . (online). https://sites.google.com,
๓ มถิ ุนำยน ๒๕๖๔.
พิชญำกร คำไส. (๒๕๕๙). คำภำษำตำ่ งประเทศในภำษำไทย ตอนท่ี ๖ ภำษำอังกฤษ. (online).
https://www.gotoknow.org, ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
พูนศักด์ิ สักกทัตตยิ กุล. (๒๕๕๕). ระดับภำษำ. (online). http://www.thaigoodview.com,
ฟองจนั ทร์ สุขย่งิ และคณะ. (๒๕๕๕). หลักภำษำและกำรใช้ภำษำ ม.๓. กรุงเทพฯ : อักษรเจริ ญทศั น์.
รวงรัตน์ วัฒนเสำวลักษณ์. (๒๕๕๘). รคู้ ำ่ ภำษำไทย ธำรงไว้คู่ไทยเอย. (online).
https://ruangrat.wordpress.com, ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
โรงเรียนเทศบำลประตูล้ี. (๒๕๖๑). ภำษำตำ่ งประเทศทม่ี ีใช้ในภำษำไทย. (online).
https://pratoolee.ac.th, ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
ลกั ษณำ คชำบรรณ. (๒๕๖๔). บทละครเรอ่ื งเห็นแกล่ กู ชันมธั ยมศกึ ษำปีที่ 3 วชิ ำภำษำไทย. (online).
https://blog.startdee.com, ๑๑ มิถนุ ำยน ๒๕๖๔.
วนิดำ พรมเขต. (๒๕๕๙). กำรพัฒนำทกั ษะกำรอ่ำน. เอกสำรประกอบกำรสอน คณะมนุษยศำสตรแ์ ละ
สงั คมศำสตร์ มหำวิทยำลยั รำชภฏั อุดรธำณี.
วริสรำ ไตรวลิ ำวรรณ. (๒๕๕๙). โวหำรกำรเขียน. (online). https://sites.google.com, ๑๒ มิถนุ ำยน
๒๕๖๔.
วชิ ุดำ สุขบุญเสพ. (๒๕๖๒). ควำมหมำยของกำรอ่ำนจับใจควำมสำคัญ. (online).
https://www.gotoknow.org, ๓ มิถุนำยน ๒๕๖๔.
๑๒๑
วทิ ยำ ผวิ งำม. (๒๕๕๓). กำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรอง. (online). https://www.baanjomyut.com,
๓ มิถนุ ำยน ๒๕๖๔.
วภิ ำดำ แสงสว่ำง. (ม.ป.ป.). ภำษำไทย ทำไมตอ้ งระดบั ภำษำ. (online). http://app.eduzones.com,
๑๘ พฤษภำคม ๒๕๖๔.
วิวรรณ ธำรำหริ ัญโชต.ิ (๒๕๕๖). เทคนคิ กำรอำ่ นจับใจควำม. (online).
https://www.bangkokbiznews.com, ๔ มิถุนำยน ๒๕๖๔.
ศริ วิ ิณี แก้วบท. (๒๕๖๔). กำรอำ่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว. (online). https://sites.google.com, ๓ มิถุนำยน
๒๕๖๔.
สหัสวตั ร นำมแลและแสงหนุ่ม บุญมี. (ม.ป.ป). วรรณคดเี รอื่ ง อิศรญำณภำษติ . (online).
https://sites.google.com, ๓๐ มถิ ุนำยน ๒๕๖๔.
สณั หพ์ งษ์ ศรีหะรญั . (๒๕๖๒). ภำพพจน.์ เอกสำรประกอบกำรสอน คณะครศุ ำสตร์ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั
สงขลำ.
สำรำนกุ รมไทยสำหรบั เยำวชน. (ม.ป.ป.). ควำมหมำยของวรรณคดีท้องถน่ิ . (online).
https://www.saranukromthai.or.th, ๑๑ มถิ ุนำยน ๒๕๖๔.
สิริ โสภณ. (๒๕๕๖). กำรเขียนแผนภำพควำมคิด. (online). http://sopon.hatyaiwit.ac.th. ๘ มถิ ุนำยน
๒๕๖๔.
อรุณศรี บงกชโสภิต. (๒๕๕๙). ประโยคซับซ้อน. (online). https://www.slideshare.net, ๑๘ พฤษภำคม
๒๕๖๔.
องั คณำ แนบสำโรง. (ม.ป.ป.). กำรเขียนแผนผงั ควำมคดิ (MIND MAP). (online).
https://kunkrunongkran.wordpress.com, ๓ มถิ ุนำยน ๒๕๖๔.
ฮำดี บิลดเู่ หล็ม. (๒๕๖๒). กำรอ่ำนออกเสียงรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง. (online). http://ww.satriwit3.ac.th,
๘ มิถนุ ำยน ๒๕๖๔.