The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการศึกษาส่วนประกอบต้นไม้ A5 - 05096

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nareeporn Photisard, 2019-11-04 02:18:34

เอกสารประกอบการศึกษาส่วนประกอบต้นไม้ A5 - 05096

เอกสารประกอบการศึกษาส่วนประกอบต้นไม้ A5 - 05096

1

ต้นไม้
เกิดมาได้อยา่ งไรนะ!

ต้นไม้เกิดจากเมล็ดพืชเม็ดเล็ก ๆ ตกอยู่ในดิน เม่ือมีน้าและอุณหภูมิท่ี
พอเหมาะ เมลด็ พืชก็จะคอ่ ยๆ งอกรากและลา้ ต้นออกมา และค่อยๆ โตขึ้นจนกลายเป็นต้นไม้
ใหญ่ในท่ีสดุ

ภาพแสดงสว่ นตา่ ง ๆ ของเอม็ บรโิ อและการเจริญของต้นกลา้

2

บทนา :
อนกุ รมวธิ านพืช (Plant Taxonomy)

อนกุ รมวิธานพชื (Plant Taxonomy)

อนุกรมวิธานพืชหรือการจัดจ้าแนกพวกพืช เป็นวิชาท่ีเกี่ยวกับการจัดพืชออกเป็น
หมวดหมตู่ ่าง ๆ โดยอาศยั ลกั ษณะที่เหมือนและแตกต่างกัน พืชที่มีลักษณะคล้ายกันจึงจัดอยู่
ในกลุม่ เดยี วกนั หรอื กลุ่มทใี่ กลเ้ คียงกัน

การจัดจา้ แนกพวกพชื น้ี ประกอบไปด้วย 3 สว่ นคอื

1. การระบุ (identification) คือ การระบุเป็นการก้าหนดว่าพืชท่ีน้ามา
ศึกษาน้นั เป็นพืชชนดิ ใด เม่ือน้าสว่ นตา่ งๆ ของพืช เช่น ใบ, ดอก, ราก มา
เปรียบเทียบกับพืชท่ีไดม้ ีการศกึ ษาไวแ้ ลว้

2. การต้ังชื่อ (nomenclature) คือ การต้ังช่ือเป็นการให้ช่ือท่ีถูกต้องตา
หลกั เกณฑ์การตงั้ ช่ือพชื หรอื กลุ่มพืชทนี่ ้ามาศกึ ษา

3. การจ้าแนก (classification) คือ ส่วนการจ้าแนกพืชน้ันเป็นการจัด
รวบรวมพชื หรอื กลมุ่ พชื ออกเปน็ ลา้ ดบั ตามท่ีไดม้ กี ารจัดแบง่ ไว้แลว้

การจัดจ้าแนกพชื ตามลักษณะ

1. วสิ ยั พืช (Plant Habit)
2. สว่ นประกอบของพชื (Parts of Plant)

นกั พฤกษศาสตร์

เขาใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ในการ
“จา้ แนก” ต้นไม้นะ ???

3

บทท่ี 1 :
วสิ ยั พืช (Plant Habit)

วสิ ัยพชื (Plant Habit)

ลกั ษณะวสิ ัยของพืช คอื ลักษณะของล้าต้น ล้าต้นส่วนใหญ่เจริญข้ึนสู่อากาศในทิศ
ทางตรงขา้ มกับแรงดึงดูดของโลก ท้าหน้าทีห่ ลักของล้าต้น ได้แก่ สร้างใบ ค้าก่ิงก้านสาขาให้
ใบไดร้ ับแสง เป็นทางลา้ เลยี งน้าและธาตอุ าหารจากใบไปสูส่ ว่ นต่างๆ ของพืช และสร้างอวยั วะ
สืบพันธ์ุ นอกจากน้ลี า้ ต้นยงั ทา้ หนา้ ท่พี เิ ศษอืน่ ๆ เช่น สะสมอาหาร สังเคราะหแ์ สง

ลักษณะวิสัย แบ่งเป็นไม้ล้มลุก (herb) ซ่ึงอาจเป็นมีอายุปีเดียว (annual plant)
สองปี (biennial plant) หรือพืชหลายปี (perennial plant) ก็ได้ ส่วนพืชที่มีเนื้อไม้
(woody plant) ทีล่ า้ ตน้ มกี ลุ่มเนื้อเยื่อท่ีให้ความแข็งแรง อายุการเจริญเติบโตมีช่วงยาวกว่า
ไม้ล้มลุก เช่น ไม้พุ่ม (shrub) ไม้ต้น (tree) ส่วนไม้เถาหรือไม้เล้ือย (climber) มีท้ังแบบ
ลม้ ลกุ และมีเน้อื ไม้

ไม้เถาหรือไม้เลอ้ื ย (Climber)
พืชท่ีมีส่วนของล้าต้น หรืออวัยวะส่วนใด

ส่วนหน่ึงเปล่ียนแปลงไปพันกับหลักหรือต้นไม้อื่นๆ
ไม้เลื้อยไม่มีเน้ือไม้ (herbaceous climber) มีกลุ่ม
เนื้อเย่อื ทใ่ี ห้ความแข็งแรงแก่ลา้ ตน้ น้อย เช่น แตงกวา
แตงโม ต้าลึง ไม้เลื้อยมีเน้ือไม้ (woody climber) มี
กลุม่ เน้ือเย่ือท่ีให้ความแขง็ แรงแก่ล้าต้น เช่น สะบ้าลิง
มะเมอื่ ย

4

ไมล้ ม้ ลุก (Herb)
พืชที่มีขนาดเล็ก ล้าต้นอ่อนมีเน้ือเย่ือท่ีให้

ความแขง็ แรงแกล่ า้ ต้นนอ้ ย อายุการเจริญเติบโตส้ัน
ลา้ ต้นออ่ นนมุ่ ไมล้ ้มลมุ กจะตายเม่ือหมดฤดูของการ
เจริญเติบโต ได้แก่ พืชอายุหนึ่งปี เช่น ดาวกระจาย
ดาวเรอื ง บานช่ืน พืชอายสุ องปเี ชน่ ผกั กาด และพืช
อายหุ ลายปเี ชน่ แพงพวยฝรัง่ พุทธรกั ษา

ไม้พ่มุ (Shrub)

พชื ที่มีการแตกกง่ิ กา้ นสาขาต้ังแต่โคนต้น ล้า
ต้นมีเนื้อไม้แข็ง ท้าให้มีลักษณะเป็นทรงพุ่ม โดยพุ่ม
ไมน้ ม้ี ีขนาดเล็ก หรือขนาดกลาง เช่น โกสน ชบา ชา
ปตั ตาเวยี

ไม้ต้น (Tree)

พชื ทม่ี ีลา้ ตน้ เดีย่ ว เปน็ เนื้อไม้แข็ง และมีการ
แตกกงิ่ ก้านสาขาดา้ นบนของล้าตน้ ซ่งึ มีขนาดเล็กถึง
ขนาดใหญ่ เช่น มะม่วง หูกวาง ประดู่บ้าน มะยม
ชมพู่

เรือนยอด (tree crowns) ลักษณะทรงพุ่มของไม้ต้น ท่ีลักษณะการแตก
กงิ่ ก้านสาขาบนลา้ ต้นเป็นรูปทรงตา่ งๆ เช่น

 เรือนยอดกลม (rounded) เช่น เรือนยอด
ตน้ มะมว่ ง มะขาม

 เรือนยอดรูปทรงกระบอก (columnar,
cylindric) เช่น เรอื นยอดต้นแคนา

5

 เรือนยอดคลา้ ยร่ม (umbellate) เช่น เรือน
ยอดตน้ จามจุรี

 เรือนยอดรปู กรวย (conical) เช่น เรอื นยอด
อโศกอนิ เดีย

 เรือนยอดคล้ายฉัตร (verticillate) เช่น
เรือนยอดต้นสตั ตบรรณ สนฉัตร หกู วาง

 เรือนยอดมีกิ่งห้อยย้อยลงมา (weeping)
เ ช่ น เ รื อ น ย อ ด แ ป ล ง ล้ า ง ข ว ด ห ลิ ว
ยคู าลปิ ตสั

 เรือนยอดแตกไม่เป็นระเบียบ (irregular)
เช่น เรอื นยอดสนทะเล

6

บทที่ 2 :
ราก (Roots)

ราก (Roots)

ราก คืออวัยวะของพืชท่ีเจริญมาจากรากแรกเกิด (radical) ของเอ็มบริโอภายใน
เมล็ด ปกติเจริญลงไปในดนิ ตามทิศทางแรงดึงดูดของโลก รากไมม่ ีขอ้ และปลอ้ ง

รากแก้ว (Tap Root) หรอื รากปฐมภมู ิ (Primary Root)
รากที่เกิดโดยตรงมาจากรากแรกเกิดของ

เอม็ บริโอ เป็นรากขนาดใหญ่ ท้าหน้าท่ีเป็นรากหลัก
ของพืช รากน้ีจะพุ่งตรงลงสู่ดินเรื่อยๆ โคนรากมี
ขนาดใหญ่และจะเรียวเล็กลงทางตอนปลาย ระบบ
รากแก้วจะมีรากแขนงเจริญออกมาจากเนื้อเย่ือ
ช้ันนอกสุดของรากแก้ว ซึ่งเป็นระบบรากของพืช
เมลด็ เปลือยและพืชใบเลยี้ งคสู่ ่วนใหญ่

รากแขนง (Lateral Root) หรือรากทุตยิ ภูมิ (Secondary Root)
รากท่ีเกิดมาจากรากแกว้ มกั งอกเอียงลง ใน

ดนิ หรือเกือบขนานไปกับพื้นดิน ซ่ึงบางคร้ังเรียกว่า
รากฝอย รากฝอยเป็นระบบรากท่ีรากแก้วเจริญได้
ไม่ดหี รือสลายไป แตร่ ากแขนงเจริญได้ดีและมีขนาด
ไล่เลยี่ กัน รากแขนงเกดิ จากบริเวณเดียวกับรากแก้ว
หรือใกล้เคียงบริเวณโคนต้น เกิดเป็นกระจุก ได้แก่
ระบบรากของพืชใบเล้ียงเด่ียวและพืชใบเลี้ยงคู่ท่ี
เปน็ ไม้ล้มลุกบางชนดิ

7

รากพเิ ศษ (Adventitious Root)
รากท่ีไม่ได้เกิดมาจากรากแรกเกิดหรือราก

แขนงของรากแก้ว แต่เกิดมาจากส่วนต่างๆของพืช
รากอาจจะงอกออกจากโคนต้น ข้อ ก่ิง และใบของ
พืช
รากทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปท้าหนา้ ทพ่ี เิ ศษชนิดตา่ งๆ

 รากค้า (Prop Root) รากที่งอกออก
จากบริเวณส่วนโคนของล้าต้นเหนือดิน
และเจริญทแยงลงสู่ดิน ท้าหน้าที่ค้าจุน
ล้าตน้ เพ่ือเพิ่มความแข็งแรงให้แก่ล้าต้น
เช่น รากขา้ วโพด เตย โกงกาง

 รากหายใจ (Pneumatophore Root)
รากทเี่ กิดจากรากทอ่ี ยู่ใต้ดนิ งอกและตงั้ ตรง
ข้ึนมาเหนือดินเพื่อช่วยในการหายใจ พบ
ในพืชชายน้าหรือป่าชายเลน เช่น ล้าพู
โกงกาง แสม

 รากยดึ เกาะ (Climbing Root) รากท่ี
แตกตามข้อหรือล้าตน้ รากทา้ หนา้ ที่ยึด
เกาะ พบในพชื ทีท่ อดเล้อื ยสูงขึ้น เชน่
รากพลดู ่าง พรกิ ไทย ตนี ตกุ๊ แก

8

 รากสะสมอาหาร ( Storage Root) รากท่ี
เก็บสะสมอาหารในรูปเมลด็ แปง้ อาจสะสม
อาหารไว้ที่รากแก้ว รากแขนงหรือราก
พเิ ศษ เช่น ราก แครอท หัวไชเท้า มันเทศ
มันส้าปะหลัง เป็นต้น บางคร้ังรากสะสม
อาหารแตกออกบริเวณโคนต้นเป็นกระจุก
และแต่ละรากมีขนาดใกล้เคียงกัน เช่น
รากกระชาย เรียกว่ารากกลุ่มหรือรากพวง
(fascicled root)

 รากสังเคราะห์แสง (Photosynthetic
Root) รากทเ่ี จรญิ อยูเ่ หนือผวิ ดิน มักอยู่
ในอากาศ เป็นรากที่มีคลอโรฟิลล์ จึงท้า
หน้าที่สังเคราะห์แสงได้ เช่น ราก
กล้วยไม้ รากไทร เป็นตน้

นอกจากน้ี ยังมีรากที่เปล่ียนแปลงไปท้าหน้าที่พิเศษชนิดต่างๆ อีกหลายชนิด เช่น
รากท่ีแทงลงไปบนพืช ที่ถูกเบียน (host) เพื่อดูดสารอาหารจากพืชนั้น เช่น รากกาฝาก
มะม่วง กระโถนฤาษี และรากเปน็ ถุงเล็ก (vesicle) เป็นรากมีลักษณะเป็นกระเปาะเล็ก ช่วย
พยุงใหพ้ ืชลอยน้า เช่น รากแพงพวยนา้ เปน็ ตน้

9

บทที่ 3 :
ลาต้นทเ่ี ปลี่ยนรปู ร่างไป (Modified Stem)

ลาตน้ ทีเ่ ปลีย่ นรปู รา่ งไป (Modified Stem)

ลา้ ต้นทีท่ ้าหนา้ ท่ีอน่ื นอกจากหนา้ ทีห่ ลกั

ล้าตน้ บนดิน (Aerial Stems)

 ล้าต้นคล้ายใบ (Phylloclade) ส่วนของล้า
ตน้ ทแ่ี ผ่แบนคล้ายใบและมีคลอโรฟิลล์ เช่น
สลัดได ตน้ กระถนิ ณรงค์ กระถินเทพา ส่วน
ล้าต้นสังเคราะห์แสง (photosynthetic
stem) เปน็ ล้าตน้ ที่มคี ลอโรฟิลล์สังเคราะห์
แสงได้ เช่นลา้ ตน้ พญาไร้ใบ กระบองเพชร

 มือพัน (Tendrill Stem ) ส่วนของล้าต้น
ท่ีท้าหน้าที่ยึดเกาะ หรือบางส่วนของล้า
ต้นเปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าท่ียึดเกาะ เช่น
ลา้ ต้นองนุ่ กลอย ฟกั ทอง ตา้ ลึง

 ไหล (Stolon หรือ Runner) ล้าต้นท่ี
ทอดเล้ือย มีความยาวของปล้องมาก มักมี
รากงอกออกมาตามข้อและเกิดต้นใหม่ จึง
เป็นล้าต้นที่ช่วยในการขยายพันธุ์ด้วย เช่น
ล้าต้นบั ว ห ล วง ว่ านเศ ร ษ ฐีเรือนใ น
สตรอเบอร์ร่ี ผักบงุ้

10

ลา้ ต้นใต้ดิน (Underground or Subterranean Stems)

 เหง้า (Rhizome) ล้าต้นใต้ดินท่ีทอดนอน
ขนานไปกับผิวดนิ มีขอ้ และปล้องทช่ี ดั เจน มี
เกลด็ ใบ (Scale leaf) คลุมที่ข้อ มีรากและ
ตาเกดิ บรเิ วณข้อเช่น ลา้ ตน้ ขิง ขา่ กลว้ ย

 หั วแบ บ มันฝ ร่ัง
(Tuber) ล้าต้นใต้
ดินที่เกิดจากส่วน
ปลายของก่ิงท่ีอยู่
ใตด้ ินพองออก ท้า

หน้าที่สะสมอาหารจึงมีลักษณะอวบอ้วน มีข้อและปล้อง
ไม่ชัดเจน บริเวณข้อไม่มีใบเกล็ด (scale leaf) ห่อหุ้มตา
และไม่มีราก เช่น มนั ฝรง่ั มันมือเสือ

 หัวแบบเผือก (Corm) ล้าต้นใต้ดินเจริญใน
แนวตั้ง ส่วนมากกลม มีข้อ ปล้องและตา
ชัดเจน แต่ปล้องมีขนาดสั้น อาจมีใบเกล็ด
(scale leaf) ห่อหุ้มตาเช่น ลา้ ต้นเผอื ก แหว้

 หัวแบบหอม (Bulb) ล้าต้นใต้ดินต้ังตรงรูป
สามเหล่ียมขนาดเล็ก ส้ัน ล้าต้นมีก้านใบมา
ห่อหุ้ม ใบสะสมอาหาร เช่น ล้าต้นหอม
กระเทียม วา่ นสี่ทศิ

11

วธิ ีการตรวจวัดตน้ ไม้
1. เลือกตน้ ไม้ ที่เป็นไมต้ ้นท่ตี ้ังอยู่บนพน้ื ระดับเดียวกบั ผสู้ ังเกต และมคี วามสงู มากกว่า 4-5 เมตร
2. การวดั ความสูง

 บันทึกระยะทาง จากผูส้ ังเกตถึงโคนตน้ ไมท้ เี่ ลอื กไว้ ระยะทางน้กี ็คือเส้น AC
 วดั และบนั ทึกความสูงของต้นไมจ้ ากพน้ื ดนิ จนถงึ ระดับสายตาผู้สงั เกต
 มองผ่านหลอดพลาสติกบนไคลโนมิเตอร์ไปยังปลายยอดสุดของต้นไม้ เส้นเชือกที่

ผูกลกู ตุม้ เหล็กไว้จะตกลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลก จะท้าให้เกิดมุมเงย BAC จด
บันทึกคา่ มุมเงยไว้

3. คานวณหาความสงู ของตน้ ไม้

ความสูงของต้นไม้ (เมตร) = (ระยะทาง (เมตร) x คา่ มุม TANGENT ของมมุ เงย BAC) + ความ
สงู ของต้นไม้จากพ้ืนดนิ จนถึงระดบั สายตาของผ้สู ังเกต (เมตร)

สมมติเจา้ หน้าทีย่ นื ที่ระยะ 60 เมตร วัดยอดต้นไม้ได้มุมเงย BAC = 240 จากตารางค่า
มุม Tangent ของ 240 คอื 0.45 ดังนั้นความสูงของต้นไม้เป็น 60 เมตร x 0.45 = 27
เมตร โดยการเพ่ิมความสูงของระดับตาผู้สังเกตอีก 1.5 เมตร ดังน้ันความสูงของต้นไม้
รวมเปน็ 28.5 เมตร

12

ตารางของ Tangents

การวัดขนาดไม้ทร่ี ะดบั เสน้ ผ่าศนู ย์กลางเพียงอก (Diameter at breast height , DBH )
1. ไมต้ ้น (ความสงู มากกว่า 2 เมตรขนึ้ ไป) การหา DBH จะวัดท่ีระดับความสูง 1.30

เมตร จากโคนต้น เน่ืองจากลา้ ตน้ ของต้นไมจ้ ะมีลักษณะเปลาตรง ไม่มปี ัญหาเรื่อง
พูพอน (หรอื กค็ ดิ ไดเ้ ชน่ กันวา่ เปน็ ระดับที่สามารถวัดขนาดโดยที่ตัวผวู้ ัดไม่ตอ้ งเขยง่
หรือยอ่ ตวั ลง)
2. ไม้พุม่ (ความสูง 0.8 – 2 เมตร) การหา DBH จะวดั ทรี่ ะดับความสูง 1.30 เมตร
เชน่ กัน (แต่ต้องเป็นต้นไม้ทมี่ ีระดบั ความสูงมากกว่า 1.30 เมตรข้ึนไปจงึ จะเป็นที่
นิยมในการหาค่า DBH )
3. ไม้ลม้ ลกุ ไม่เปน็ ท่นี ิยมในการหาข้อมลู ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลางล้าต้น

เรียบเรยี งขอ้ มูลจาก : ภาควชิ าชวี วทิ ยาปา่ ไม.้ 2550. นเิ วศวทิ ยาปา่ ไมภ้ าคสนาม.

13

การวดั เสน้ ผ่านศนู ย์กลางของไม้ตน้

การวดั เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของไมต้ ้น วัดที่ระดับความสูง 1.30 เมตร เหนอื พ้ืนดนิ

1. วัดเส้นผ่านศูนย์กลาง เป็นการวัดเส้นรอบวงของต้นไม้ที่ระดับความสูง 1.30 เมตร
เหนอื พื้นดนิ ซง่ึ อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการวดั สามารถใชส้ ายวัดได้ สว่ นการวัดความสูง (H) ของ
ต้นไม้ จะวัดต้งั แต่ระดับพ้ืนดินจนถึงเรือนยอด ถ้าต้นไม้มีการแตกก่ิง/ต้น ต่้ากว่าระยะ
1.30 เมตร ให้วัดทกุ ต้น ท่ีระดบั 1.30 เมตร

2. วิธีการวดั ตน้ ไม้ในแตล่ ะลกั ษณะแตกตา่ งกนั (ดังภาพ)
 ตน้ ไม้ท่ขี นึ้ อยใู่ นที่ราบ ใหว้ ัดเสน้ รอบวงทร่ี ะดับความสงู จากพืน้ 1.30 เมตร (รูปที่ 1)
 ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่บนท่ีลาดเท ให้วัดเส้นรอบวงที่ระดับความสูง 1.30 เมตรจากทาง
ดา้ นบนของพื้นทลี่ าดเท (รปู ท่ี 2)
 ต้นไม้เอียงหรือเอน ให้วัดเส้นรอบวงท่ีระดับความสูง 1.30 เมตร ไปตามมุมเอียง
ของตน้ ไม้นนั้ (รูปท่ี 3)
 ต้นไม้ทีม่ ปี ม ที่ระดบั ความสงู 1.30 เมตร จากพืน้ ดิน วดั เสน้ รอบวงทีเ่ หนอื จุดที่มีปม
และพพู อนข้ึนไป 5 เซนติเมตร (รปู ที่ 4)
 ต้นไม้ที่มีการเจริญเติบ โตแตกเป็นสองก่ิง โดยแตกกิ่งที่ระดับความสูงกว่า 1.30
เมตร ให้วดั เส้นรอบวงที่ระดบั ความสูง 1.30 เมตร ตามปกติ (รูปท่ี 5)
 ต้นไมท้ ่ีมกี ารเจริญเติบ โตแตกเป็นสองกิ่ง โดยแตกก่ิงที่ระดับความสูงต่้ากว่า 1.30
เมตร ให้วดั เสน้ รอบวงที่ระดบั ความสูงจดุ ที่แตกกงิ่ ไปอีก 1 เมตร (รูปท่ี 6)

14

 ถา้ ต้นไม้มีโคนโตหรือรากสูงจากพื้นดินประมาณ 1 เมตร ให้วัดเส้นรอบวงที่ระดับ
ความสงู เหนอื จดุ รากพอนขึน้ ไปอกี 50 เซนติเมตร (รปู ที่ 7)
หมายเหตุ ในการตรวจวัดเสน้ รอบวงของตน้ ไม้ท่มี ลี ักษณะการแตกกิง่ ดังรปู ท่ี 6 ให้
วัดเส้นผ่านศูนย์กลางท่ีระดับ 1.30 เมตร เท่าเดิม โดยวัดให้โอบรอบท้ังสองกิ่ง
(ดงั ภาพ)

15

บทที่ 4 :
ใบ (Leaf)

ใบ (Leaf)

สว่ นประกอบของใบ (Composition of leaf)

ใบหรือใบแท้ (foliage leaf) เป็นใบที่มีคลอโรฟิลล์ ท้าหน้าที่สังเคราะห์
แสง คายน้าและหายใจ ประกอบด้วยส่วนส้าคัญ 2 ส่วนคือ แผ่นใบ (blade หรือ
lamina) และ ก้านใบ (petiole หรือ leaf stalk) นอกจากน้ีพืชบางชนิดอาจมีหูใบ
(stipule) อยู่ขา้ งกา้ นใบ แผ่นใบประกอบด้วยเส้นใบ (vein) ซ่ึงเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อท่อ
ล้าเลียง (vascular tissue) ท้าหน้าที่ล้าเลียงธาตุอาหาร น้า และช่วยให้แผ่นใบคง
รปู อยู่ได้

การเรยี งตวั ของเสน้ ใบ (Leaf Venation)

1. ก า ร เ รี ย ง เ ส้ น ใ บ แ ย ก ส อ ง แ ฉ ก
(Dichotomous Venation) เส้นใบเรียง
ขนานกนั แต่ปลายของเส้นใบแยกออกเป็นคู่
เช่น ใบเฟริ ์น แปะ๊ กว้ ย

2. การเรยี งเสน้ ใบแบขนาน (Paralle Venation) เส้นใบเรียงขนาน
กัน มักพบในพชื ใบเลีย้ งเดีย่ ว

2.1 การเรียงเส้นใบแบบขนานรูปฝ่ามือ
(palmately paralled venation)
เส้นใบเรียงออกจากฐานใบ เรียง
ขนานกันไปถึง

16

2.2 เส้นใบขนานแบบขนนก (pinnately
parallel venation) เส้นใบเรียง
อ อ ก จ า ก เ ส้ น ก ล า ง ใ บ ข น า น กั น ไ ป
จนถึงขอบใบ เช่น เส้นใบกล้วย ใบ
พุทธรักษา

3. เสน้ ใบร่างแห (Netted หรอื Reticulated Venation) การเรียง
เส้นใบท่ีเรียงออกไปทุกทิศทาง โดยมาออกจากเส้นกลางใบตั้งแต่
โคนใบไปจนถึงปลายใบ เส้นใบยอ่ ยเรียงประสานกนั เป็นรา่ งแห

3.1 เส้นใบร่างแหแบบฝ่ามือ (palmately
netted venation) เส้นใบออกมาจาก
จดุ เดียวกนั ที่โคนใบ เช่น ใบมะละกอ,
อบเชย, ฟักทอง

3.2 เ ส้ น ใ บ ร่ า ง แ ห แ บ บ ข น น ก
( pinnately netted venation)
เสน้ ใบแตกจากเสน้ กลางใบออกไปทั้ง
สองขา้ ง เชน่ ใบมะม่วง, ขนุน, ชบา

รปู ร่างใบ (Leaf Shape)

 รูปเข็ม (acicular, needle shaped)
แผ่นใบคล้ายรูปเข็ม มีความยาวมากและ
แคบ

17

 รูปแถบ (linear)แผ่นใบยาวและแคบ ขอบ
ของแผ่นใบทั้งสองข้างเกือบขนานกันตลอด
ความยาวของใบมักจะยาวมากกว่า 4 เท่า
ของความกว้างของใบ

 รปู ขอบขนาน (oblong) แผ่นใบที่มีขอบ
ใบทัง้ สองข้างขนานกัน ปลายทั้งสองด้าน
กลมหรือมน และความยาวประมาณ 2-3
เ ท่ า ข อ ง ค ว า ม ก ว้ า ง ค ล้ า ย รู ป
สีเ่ หลย่ี มผืนผ้า

 รปู รี (elliptic) แผ่นใบมีความกวา้ งมากที่สุด
ตรงกลางแผ่นแล้วค่อยๆเรียวไปทางปลาย
และฐานใบ

 รปู ใบหอก (lanceolate) แผน่ ใบมีฐานใบ
กว้างแลว้ คอ่ ยๆเรียวไปทางปลายใบ

 รูปใบหอกกลับ (oblanceolate) แผ่นใบ
คลา้ ยรูปใบหอกแต่กลบั หวั

 รูปไข่ (ovate) แผ่นใบรูปคล้ายไข่ ซ่ึงมี
สว่ นกว้างที่สดุ ของแผ่นใบคอ่ นมาทางฐาน
ใบแลว้ คอ่ ยๆเรยี วไปทางปลายใบ

 รปู ไข่กลบั (obovate) แผ่นใบมีด้านป้านอยู่
ทางด้านบนฐานใบ แคบและปลายใบกวา้ ง

18

 รูปหัวใจ (cordate) แผ่นใบมีส่วนกว้าง
ใกล้ฐานใบแล้วค่อยเรียวแหลมไปทาง
ปลายใบ กา้ นใบติดตรงฐานใบที่เวา้ เข้าไป

 รปู หัวใจกลับ (obcordate) แผ่นใบคล้ายรูป
หวั ใจแตห่ วั กลบั

 รูปสามเหลยี่ ม (deltoid) แผ่นใบคล้ายรูป
สามเหลี่ยมด้านเท่า โดยด้านหนึ่งของ
สามเหลี่ยมเป็นด้านฐานใบ ขอบใบจะเรียว
ไปทางปลาย ก้านใบติดตรงกลางฐานใบ

 รูปคลา้ ยสามเหลีย่ ม (obdeltoid) แผ่นใบ
คลา้ ยรูปสามเหลี่ยมแต่หัวกลบั

 รูปล่ิม (cuneate) แผ่นใบมีฐานใบแหลม
และกวา้ งออกตรงปลายใบ กา้ นใบติดตรง
ปลายแหลม

 รูปไต (reniform) แผ่นใบรูปร่างคล้ายไต
หรอื เมล็ดถว่ั ก้านใบตดิ อย่ทู ฐี่ านของรอยเว้า

 รปู โล่ (peltate) แผ่นใบรูปกลมคล้ายโล่
กา้ นใบตดิ ตรงกลางด้านทอ้ งใบ

19

 รูปวงกลม (orbicular) หรือเกือบกลม
(rotund) แผ่นใบมลี กั ษณะกลมแบนก้านใบ
ติดตรงกลางของฐานใบ

 รปู ชอ้ น (spathulate, spatulate) แ ผ่ น
ใบมีฐานของแผ่นใบเรียวยาว ปลายแผ่น
ใบมนและกวา้ งกวา่ ดา้ นฐานแผ่นใบ

 รูปเงี่ยงใบหอก (hastate, halberd-
shaped) แผ่นใบคล้ายลูกศร ฐานใบสอง
ขา้ งกางออกท้ามมุ 90 องศากับแกน

 รปู หัวลูกศร (sagittate) แผ่นใบค ล้าย
ลกู ศร ฐานใบเว้าเปน็ พแู ละโคง้ เข้าหาก้าน
ใบ

 รปู จันทรเ์ ส้ียว (lunate) แผ่นใบคล้ายรูป
พระจนั ทร์เสี้ยว

 รปู ไวโอลิน (pandurate) แผน่ ใบท่ีรูปร่าง
คลา้ ยไวโอลิน

 รูปพัด (flabellate) แผ่นใบท่ีรูปร่างคล้าย
พดั เช่นใบแป๊ะก๋วย

 รปู พัด (fan-shaped) แผ่นใบคลา้ ยพดั แต่
หยักลกึ เชน่ ใบปาลม์

20

 รปู ลิ่มแคบ (subulate) แผน่ ใบคล้ายแผ่นใบ
รปู ลม่ิ แต่แคบกว่า

 รูปแฉกแบบนิ้วมือ (palmalifid) แผ่นใบ
ที่หยักคล้ายน้ิวมือ โดยหยักลึกประมาณ
ครง่ึ หนึ่งของระยะจากขอบใบถงึ เส้นกลาง
ใบ

 รูปแฉกลึกแบบน้ิวมือ (palmatisect) แผ่น
ใบหยักคล้ายนิ้วมอื โดยหยักลึกเกือบถึงเส้น
กลางใบ
 รูปหยักแบบขนนก(pinnatifid) แผ่นใบ
หยักคล้ายขนนก โดยหยักลึกประมาณ
คร่ึงหนง่ึ ของระยะจากขอบใบถงึ เส้นกลาง
ใบ

 รูปหยักลึกสุดแบบขนนก (pinnatisect)
แผ่นใบหยักคล้ายขนนก โดยหยักลึกเกือบ
ถึงเส้นกลางใบ

 รปู คลา้ ยสี่เหลี่ยมขา้ วหลามตัด (rhomboid)
แผ่นใบคล้ายรูปไข่แต่ไม่มน มีเหลี่ยมท่ีมุมสี่
มุม

รปู รา่ งปลายใบ (Leaf Apex)

 เรยี วแหลม (acuminate) ปลายใบสอบเข้า
หากนั แล้วยน่ื ยาวออกไปเลก็ นอ้ ย

21

 แหลม (acute) ปลายใบจะค่อยๆเรียวเข้า
บรรจบกนั ลักษณะเป็นมมุ แหลม

 ต่ิงแหลม (apiculate) ปลายใบเรียวเป็นต่ิง
สน้ั

 แหลมเข็ม (aristate) ปลายใบเรียวเป็นต่ิง
แหลมยาวและแข็ง

 ยาวคลา้ ยหาง (caudate)ปลายใบเรียวคอด
เป็นหางยาว

 ม้วน (cirrhose) ปลายใบเรียวเป็นรยางค์
โคง้ และมว้ นงอ

 เวา้ ลกึ (cleft) ปลายใบเว้าเป็นแอง่ ลกึ

 ติ่งแหลมยาว (cuspidate) ปลายขอบใบที่
โคง้ มาแล้วยนื่ ปลายแหลมสั้นๆ

 เว้าตื้น (emarginate) ปลายใบคล้ายเป็น
เส้นตดั แตเ่ ว้าเปน็ แอ่งต้นื

22

 ติ่งหนาม (mucronate) ปลายใบมน แต่
ด้านปลายสดุ จะเป็นต่ิงแหลมและสั้น

 ต่ิงหนามสั้น (mucronulate) ปลายใบโค้ง
มนและเส้นใบยนื่ ออกไป

 ปา้ น, มน (obtuse) ปลายใบโค้งมนแต่สอบ
แคบกวา่ รูปกลม

 เว้าบุ๋ม (retuse) ปลายใบเว้าเข้ามาในแผ่น
ใบเปน็ แอง่ ต้ืนๆ

 กลม (rounded) ปลายใบโค้งกลม กว้าง
กวา่ รูปดา้ นหรือกลม

 หนาม (spinose) ปลายใบเปน็ หนาม

 ตัด (truncate) ปลายใบตดั เป็นเส้นตรงหรือ
เกือบตรง

 ปลายแหว่ง (praemorse) ปลายใบตัด แต่
ไมเ่ รยี บคล้ายรอยแทะ
 ปลายแหลมแข็ง (pungent) ปลายใบเป็น
ตอ่ มที่มีลักษณะแหลมและแข็ง

23

รปู รา่ งฐานใบ (Leaf Base)

 รูปลิ่ม (cuneate) ฐานใบค่อยๆเรียวเข้าสู่
กา้ นใบเป็นรปู ล่ิม

 รูปหุ้มล้าต้น (amplexicaul) ฐานใบโค้งมา
โอบลอ้ มรอบลา้ ตน้

 รปู สอบเรียว (attenuate) ฐานใบเรียวเข้าสู่
ก้านใบเปน็ ครีบยาว

 รูปต่งิ หู (auriculate) ฐานใบโค้งเป็นรปู ตงิ่ หู

 รู ป ฐ า น คู่ เ ชื่ อ ม ร อ บ ข้ อ ( connate
perfoliate) ฐานใบของสองใบมาเชอื่ มกัน

 รูปหัวใจ (cordate) ฐานใบหยักเว้าเป็นรูป
หวั ใจ

 รูปครีบ (decurrent) ฐานใบยาวลงมาตาม
ก้านใบเปน็ ครบี

 รูปเงยี่ งใบหอก (hastate) ฐา น ใบ ท้ั ง ส อ ง
ข้างช้ีออกและมปี ลายแหลม

24

 รูปลิ้น (ligulate) ฐานใบยาวแคบและขอบ
สองใบทั้งสองข้างขนานกัน ระหว่างแผ่นใบ
และกาบใบมลี นิ้ ใบ (ligule)
 รปู เฉียง, เบี้ยว (oblique) ฐา น ใบ ท้ั ง ส อ ง
ขา้ งไมเ่ ทา่ กนั

 รูปปา้ น, มน (obtuse) ฐานใบโค้งแคบ

 รูปโล่ (peltate) ฐานใบที่มีก้านใบติดตรง
กลางแผ่นใบ

 รปู กลม (rounded) ฐานใบโคง้ กลม

 รูปหัวลูกศร (sagittate) ฐานใบที่มีปลาย
แหลมทั้งสองข้างและโค้งเข้าหากันด้านใน
เลก็ นอ้ ย

 รปู ตดั (truncate) ฐานใบท่เี สมอเป็นเสน้ ตัด

ขอบใบ (Leaf Margin)

 ขอบเรียบ (entire) ขอบใบเรียบเป็นเส้น
เดียวกนั ตลอด

25

 หนามแหลม (aculeate, spinose) ขอบใบ
เปน็ หนาม

 ขนครุย (ciliate) ขอบใบเรียบแต่มีขนยาว
ตามขอบใบ

 หยักมน (crenate) ขอบใบหยกั ต้ืนปลายมน

 หยักมนถี่ (crenulate) ขอบใบหยักต้ืน
ปลายมนถ่ี

 ยับย่น (crispate) ขอบใบหยักและใบบิด
ม้วนมากกวา่ หน่ึงระนาบ
 หยักซี่ฟัน (dentate) ขอบใบหยักรูป
สามเหล่ียม ปลายฟันหยักต้ังฉากหรือเกือบ
ตงั้ ฉากกบั ขอบใบ

 หยักซี่ฟันถ่ี (denticulate) ขอบใบหยัก
ละเอยี ดกวา่ ขอบใบหยักซ่ีฟัน

 จักฟันเล่ือย (serrate) ขอบใบหยักฟันเล่ือย
ปลายฟนั แหลมและชไ้ี ปทางปลายใบ

26

 จักฟันเลื่อยถ่ี (serrulate) ขอบใบหยักฟัน
เล่ือยละเอยี ดกวา่ ขอบใบจกั ฟนั เลอ่ื ย

 จักฟนั เล่อื ยซ้อน (double serrate) ขอบใบ
หยักฟันเล่ือย ซึ่งแต่ละซ่ีจะมีหยักย่อยแซม
อีกช้ัน

 หยักไม่เป็นระเบียบ (erose) ขอบใบหยัก
เล็กๆ ไม่เป็นระเบยี บ

 รูปฝ่ามือ (palmate) ขอบใบหยักเว้าคล้าย
นวิ้ มอื

 ขอบใบม้วนลง (revolute) ขอบใบม้วนลง
ทางดา้ นท้องใบ

 คลืน่ (undulate) ขอบใบมีลักษณะเปน็ คลื่น
ขึ้นลง

 พู (lobed) ขอบใบเว้าเป็นพู โดยเว้าเข้า
ประมาณครึ่งหน่ึงของระยะจากขอบใบถึง
กลางใบ

ชนิดของใบ (Leaf Type) 27

 ใบเด่ียว (simple) คือใบที่มีแผ่นใบเพียง
แผ่นเดียวบนก้านใบที่แตกออกจากกิ่งหรือ
ลา้ ตน้

 ใบประกอบ (compound leaf) คือใบท่ีมี
ใบยอ่ ย (leaflet) มากกว่าหนึง่ ใบบนก้านใบ

ชนิดของใบประกอบ แบง่ เปน็

 ใ บ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ นิ้ ว มื อ ( palmately
compound leaf) ใบประกอบท่ีใบย่อย
แตกออกจากปลายของก้านใบมีลักษณะ
แบบนว้ิ มอื เชน่ ใบนุ่น

 ใ บ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ ข น น ก ( pinnately
compound leaf) ใบประกอบท่ีใบย่อย
เรียงออกจากแกนกลาง (rachis) เป็นคู่ตรง
ข้ามหรอื สลับ

 ใ บ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ ข น น ก ป ล า ย ใ บ ค่ี
(odd-pinnately compound leaf,
imparipinnate) ใบประกอบแบบขนนก
ชั้นเดียวทป่ี ลายใบประกอบมใี บย่อยหนึง่ ใบ

 ใบประกอบแบบขนนกปลายใบคู่ (even-
pinnately compound leaf, paripinnate leaf)
ใบประกอบแบบขนนกช้ันเดียวท่ีปลายใบ
ประกอบมีใบยอ่ ยออกเปน็ คู่

28

 ใ บ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ ข น น ก ส อ ง ชั้ น
(bipinnately compound leaf) เช่น ใบ
นนทรี หางนกยูงไทย

 ใ บ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ ข น น ก ส า ม ชั้ น
(tripinnately compound leaf) เช่น ใบ
มะรุม ปีบ

การเรียงของใบ (Leaf Arrangement)

 การเรียงใบแบบสลับ (alternate) การเรียง
ใบกบั ลา้ ต้นแบบสลับและไม่ได้อยู่ในระนาบ
เดียวกัน

 การเรียงใบสลับระนาบเดียว (alternate
distichous) การเรียงใบกับล้าต้นเรียง
ออกเปน็ สองแถว ท้ามุม 180 องศาระหว่างแถว

 การเรียงใบแบบตรงข้าม (opposite) การ
เรียงใบสองใบท่ีออกจากข้อของล้าต้นหรือ
ก่งิ เปน็ คู่ๆท้ามุมประมาณ 180 องศา

 การเรียงใบแบบตรงข้ามสลับตั้งฉาก (opposite
decussate) การเรยี งใบสองใบท่ีออกจากข้อของ
ล้าต้นหรือกิ่งเป็นคู่ๆ และแต่ละคู่เรียงท้ามุม
ประมาณ 90 องศากบั คู่ถดั ไป เช่น เข็ม

29

 การเรียงใบแบบกระจุก (fascicled) การ
เรียงใบแบบเป็นมัด เช่น สนสองใบ สนสาม
ใบ

 การเรียงใบคล้ายแบบกระจุก (clusterd)
การเรยี งใบแนน่ เป็นกล่มุ

 ก า ร เ รี ย ง ใ บ แ บ บ ว ง ร อ บ ( whorl,
verticillate) การเรยี งใบต้ังแต่สามใบข้ึนไป
ในข้อเดยี วกนั เชน่ สตั ตบรรณ ยีโ่ ถ

 การเรียงใ บกระจุกแบบ กุห ลาบซ้ อน
(rosette) การเรียงใบแบบกระจุกท่ีเกิดข้ึน
ใกล้รอยตอ่ ระหว่างล้าต้นและราก

ใบเปล่ยี นแปลงไปท้าหน้าท่พี เิ ศษ (Modified Leaf)
 ใบมือเกาะ (leaf tendrils) ใบ ใบ
ย่ อ ย ห รื อ บ า ง ส่ ว น ข อ ง ใ บ ท่ี
เปลย่ี นแปลงไปท้าหนา้ ท่ียดึ เกาะ เช่น
ใบพวงแสด ใบหวายลงิ

30

 ใบหนาม (spinose leaf) ใบทเี่ ปล่ียนแปลง
ไปเพ่ือท้าหน้าที่ป้องกันอันตรายและลด
การคายน้า เช่น ใบกระบองเพชรท่ีลดรูป
เปน็ หนาม

 ใบกินแมลง (insectivorous leaf)
ใ บ ท่ี เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ไ ป ท้ า ห น้ า ที่ จั บ
แ ม ล ง ห รื อ สั ต ว์ เ ล็ ก ๆ เ พื่ อ น้ า
สารอาหารที่ได้มาใช้ในการด้ารงชีวิต
เชน่ ใบหม้อขา้ วหม้อแกงลิง

 ใบสะสมอาหาร (storage leaf) ใ บ ท่ี
หนาและอวบ ท้าหน้าที่เก็บสะสมอาหาร
หรอื น้า เชน่ ใบกหุ ลาบหนิ หอม กระเทียม

 ใบขยายพันธุ์ (reproductive leaf)
ใ บ ที่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ช่ ว ย ใ น ก า ร
ขยายพันธ์ุ เชน่ ใบคว่า้ ตายหงายเปน็

31

บทที่ 5 :
ดอกไม้ (Flowers)

สว่ นตา่ งๆของดอกไม้ (Parts of Flower)

ฐานรองดอก (Receptacle) เป็นส่วนปลายสุดของก้านดอก โครงสร้างนี้ใหญ่กว่า
ก้านใบ มที ง้ั รปู แบบ เวา้ รปู ถ้วย หรอื โค้งนนู

ก้านดอก (Peduncle) ทา้ หนา้ ท่ีชดู อกให้ติดกบั ก่งิ

กลีบดอก (Petal) เป็นส่วนท่ีอยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้ามา ส่วนมากมีขนาดใหญ่ มี
รูปรา่ งและสีสนั สวยงาม

กลีบเลี้ยง (Sepal) อยู่ชั้นนอกสุด มักมีขนาดเล็ก มีสีเขียว ท้าหน้าที่ห่อหุ้มดอก
เพ่ือปอ้ งกันอนั ตรายแก่ ดอกตมู

รปู รา่ งของดอกแบบต่างๆ (Perianth Forms)

 รูปกงล้อ (rotate, wheel-shaped) กลีบ
ดอกที่มีกลีบหลอดดอกส้ัน และแฉกกลีบ
ดอกแผ่กว้างเรยี งกันคลา้ ยวงล้อ

32

 รูประฆัง (campanulate, bell-shaped
กลีบดอกทม่ี ลี ักษณะคลา้ ยระฆงั

 รูปคนโท, โถ (urceolate, urn-shaped)
กลีบดอกท่ีหลอดกลีบดอกพองรูปไข่และ
แฉกกลีบดอกเปดิ กวา้ งออก เล็กนอ้ ย

 รูปดอกเขม็ (salverform, hypocrateriform)
กลีบดอกท่ีมีหลอดกลีบดอกเป็นหลอดยาว
และแฉกกลบี ดอกแผก่ วา้ ง

 รูปกรวย (funnelform), รูปแตร (infundibular),
รูปล้าโพง (infundibuliform) กลีบดอกท่ี
ปลายหลอดกลีบดอกเปิดกว้างคล้ายกรวย
แตรหรอื ลา้ โพง

 รปู หลอด (tubular) กลีบดอกทีม่ หี ลอดกลีบ
ดอกเปน็ หลอดยาวและแคบ

 รูปลิ้น (ligulate, tongue-shaped) กลีบ
ดอกที่มีหลอดกลีบดอกเป็นหลอดส้ันๆและ
แฉกกลีบดอกแผ่ออกดา้ นเดยี ว

 รูปปากเปิด (bilabiate) กลีบดอกท่ีมีแฉก
กลบี ดอกแยกออกเป็นสองส่วน

 รูปปากปดิ (personate) ก ลี บ ด อ ก ท่ี มี
ลักษณะคล้ายรูปปากเปิด แต่หลอดกลีบ
ดอกกวา้ งกว่า

33

 รูปกระเปาะทรงกระบอก (foxgloveform)
ก ลี บ ด อ ก ที่ มี ห ล อ ด ก ลี บ ด อ ก พ อ ง ค ล้ า ย
กระเปาะรูปทรงกระบอกและแฉกกลีบดอก
แผ่กว้าง

 รูปดอกถ่ัว (papilionaceous) กลีบดอกแต่
ละกลบี มีรปู ร่างแตกต่างกนั ได้แก่ กลีบกลาง
(standard, banner) เป็นกลีบนอกสุดและ
ใหญ่ที่สุดหุ้มกลีบอ่ืนไว้ขณะดอกตูม กลีบคู่
ล่าง (keel) เป็นกลีบอยู่ด้านล่าง รูปร่าง
คล้ายท้องเรือมี 2 กลีบ และกลีบคู่ข้าง
(wing) เป็นกลบี ทีอ่ ยู่ดา้ นข้างของกลีบคู่ล่าง
มี 2 กลบี

เกสรเพศผู้ (Stamen) โดยรวมเรียกว่า วงเกสรเพศผู้ (androecium) ท่ีอยู่ถัดจาก
วงกลีบดอก เกสรเพศผู้ประกอบด้วยอับเรณู (anther) ภายในมีเรณู (pollen) ท่ีสร้างเซลล์
สบื พนั ธ์เุ พศผู้ และก้านเกสรเพศผู้ (filament) ท้าหนา้ ทีช่ อู บั เรณู

การตดิ ของกา้ นเกสรเพศผู้ (anther attachment)

 ติดท่ีฐาน (basifixed, innate) ส่วนปลาย
ของก้านเกสรเพศผู้ตดิ ท่ีฐานของอับเรณู

 ติดที่ด้านหลัง (dorsifixed) ส่วนปลายของ
ก้านเกสรเพศผ้ตู ดิ ตรงกลางด้านหลังของอับ
เรณู

34

 เชื่อมติด (adnate) ก้านเกสรเพศผู้เช่ือมติด
กบั อับเรณู โดยเชื่อมจากฐานอับเรณูไปตาม
ความยาวของอับเรณู เช่น เกสรเพศผู้ของ
บัวสาย

 ตดิ กลาง (versatile) ส่วนปลายสุดของก้าน
เกสรเพศผู้ติดตรงบริเวณกลางของอับเรณู
และอับเรณูหมนุ ได้รอบทศิ

การแตกของอับเรณู (anther dehiscence)

 แตกตามยาว (longitudinal dehiscence)
อับเรณจู ะแตกตามความยาวของอับเรณู

 แตกตามช่อง (poricidal dehiscence) อับ
เรณูเปิดเป็นช่องเล็กๆหรือรูเล็กๆ ที่ปลาย
อบั เรณู

 แตกตามขวาง (transverse dehiscence)
อบั เรณูเปดิ ตามขวางของอบั เรณู

 แ ต ก แ บ บ มี ลิ้ น ปิ ด เ ปิ ด ( valvular
dehiscence) อบั เรณเู ปดิ โดยมลี ้นิ หรอื เปิด

เกสรเพศเมีย (Pistil) โดยรวมเรียกว่า วงเกสรเพศเมีย (gynoecium) อยู่วงในสุด
ของดอก ซ่ึงอาจมีหนึ่งหรือหลายอัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ประกอบด้วย รังไข่ (ovary) เป็น
สว่ นทอี่ ยู่ล่างสดุ ภายในมไี ข่ (ovule) ก้านเกสรเพศเมีย (style) เป็นส่วนท่ีถัดจากรังไข่ขึ้นมา
และยอดเกสรเพศเมีย (stigma) เป็นส่วนที่อยู่ปลายสุดของเกสรเพศเมียท้าหน้าที่รับละออง
เกสรเพศผู้

35

ชนดิ ของรังไข่ (Ovary Position)
 รังไข่เหนอื วงกลบี (superior ovary) รังไข่ที่
อยเู่ หนอื ส่วนอนื่ ๆของดอก หรือผนังรังไข่ไม่
เชื่อมกบั สว่ นอ่นื ๆ ของดอก

 รังไข่ใต้วงกลีบ (inferior ovary) รังไข่ที่อยู่
ใต้ส่วนอ่ืนๆของดอก และผนังรังไข่ติด
รวมอย่กู บั ส่วนอื่นๆ ของดอก
 รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ (half-inferior ovary) รัง
ไขท่ ี่ส่วนหนึ่งฝังอย่ใู นฐานดอก

ออวุล (ovule) โครงสร้างของพืชที่จะเปล่ียนแปลงไปเป็นเมล็ดเม่ือได้รับการ
ปฏิสนธิ ออวุลมีก้านออวุล (funiculous) ท่ียึดออวุลไว้กับผนังรังไข่ด้านใน ซ่ึงก้านออวุลติด
กับผนังรังไข่ ตรงบริเวณพลาเซนตา (placenta) ผนังออวุล (integument) นั้นจะหุ้มไม่มิด
เหลือเปน็ รเู ล็กๆ เรียกวา่ ไมโครไพล์ (micropyle) สา้ หรบั ใหเ้ ซลล์สบื พนั ธุเ์ พศผเู้ ข้าไปผสมกับ
เซลล์สบื พันธุ์เพศเมยี

ชนิดของออวุล (Ovule Type)
เป็นลกั ษณะการติดของออวุลเมอื่ ทา้ มุมสมั พันธ์กบั ก้านออวลุ

36

 ออวุลตั้งตรง (orthotropous ovule, และ
antitropous ovule) ออวุลท่ีตั้งตรง และ
ไมโครไพลอ์ ยดู่ ้านบนตรงข้ามก้านอวุล

 ออวุลคว้่า (anatropous ovule) ออวุลที่มี
ไมโครไพลช์ ล้ี งดา้ นล่างใกล้กับก้านออวลุ

 ออวุลแนวนอน (amphitropous ovule)
ออวุลทมี่ ีไมโครไพลอ์ ยู่ในแนวต้ังฉากกับก้าน
ออวลุ

 ออวุลตะแคง (campylotropous ovule)
ออวุลท่ีไมโครไพล์โค้งต่้าลงมา จนอยู่
ด้านข้างใกลก้ ับฐานออวุล (chalaza)

พลาเซนเตชัน (placentation) การตดิ ของออวุลในรงั ไข่ แบ่งเปน็

 พ ล า เ ซ น ต า แ น ว เ ดี ย ว ( marginal
placentation) การติดของออวุลทาง
ดา้ นข้าง ดา้ นเดียวของผนังรังไข่ และรัง
ไขม่ หี นึ่งคารเ์ พล

 พ ล า เ ซ น ต า ร อ บ แ ก น ร่ ว น ( axile
placentation) การติดของออวุลบน
แกนกลางของรังไข่ที่มีผนังก้ัน รังไข่มี
มากกว่า 1 คารเ์ พล

 พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ (parietal
placentation) การติดของออวุลกับ
ผนังรังไข่ด้านข้าง รังไข่มีมากกว่า 1
คารเ์ พล

37

 พลาเซนตารอบแกน ( free-central
placentation) การติดของออวุลท่ีเกิด
บนแกนกลางไมม่ ีผนังกั้น ภายในรังไข่มี
1 ชอ่ ง

 พ ล า เ ซ น ต า ทั่ ว ผ นั ง ( laminar
placentation) การติดของออวุลรอบ
ผนงั รังไข ่ และผนังกั้น

 พ ล า เ ซ น ต า ท่ี ฐ า น ( basal
placentation) การติดของออวุลท่ี
ดา้ นล่างของผนังรังไข่ พลาเซนตาท่ยี อด
(apical placentation) การติดของ
ออวลุ ทด่ี า้ นบนของผนังรังไข่

ชนิดของดอก (Types of Flower)
ดอกเดย่ี ว (Solitary Flower) ดอกทมี่ ีเพยี งดอกเดียวอยบู่ นกา้ นดอก

ดอกช่อ (Inflorescence Flower) กลุ่มของดอกย่อยที่เกิดบนก้านดอก
เดยี วกัน และดอกย่อยแต่ละดอกอาจมีกา้ นดอกยอ่ ย (pedicel)

38

ลกั ษณะของช่อดอก (Inflorescence Type)

แบบช่อกระจุก (cymose type) ช่อดอกท่ีมีดอกย่อยท่ีเกิดก่อนอยู่ตรง
กลาง หรือปลายชอ่ ดอกการบานของดอกเร่มิ ที่ดอกย่อยบรเิ วณกลางหรือด้านปลาย
บนของชอ่ ดอก มีหลายประเภทไดแ้ ก่ ชอ่ กระจุกด้านเดยี วชนิดเดี่ยว ช่อวงแถวเด่ียว
(ช่อกระจุกด้านเด่ียวชนิดประกอบ) ช่อกระจุกซ้อนเดี่ยว ช่อกระจุกซ้อนเชิง
ประกอบ ช่อกระจกุ ซอ้ นผสม

 ช่อกระจุกด้านเดียวชนิดเด่ียว (simple
monochasium) ช่อดอกท่ีมีดอก 2 ดอก
โดยดอกย่อยท่ีอยู่ปลายสุดบานก่อนดอก
ยอ่ ยทีอ่ ยดู่ า้ นขา้ ง

 ชอ่ วงแถวเดีย่ ว (helicoids cyme) เป็นช่อ
กระจุกด้านเดี่ยวชนิดประกอบ (compound
monochasium) มดี อกยอ่ ยท่ีปลายสุดบาน
ก่อน ดอกย่อยออกด้านเดียวท้าให้ดอกโค้ง
เขา้ หาช่อดอก เช่น ชอ่ ดอกหญ้างวงช้าง

 ช่อวงแถวคู่ (scorpioid cyme) เป็นช่อ
กระจุกด้านเดี่ยวชนิดประกอบ (compound
monochasium) มดี อกยอ่ ยทป่ี ลายสุดบาน
กอ่ น ดอกย่อยออกเป็นแนวซิกแซกท้าให้ช่อ
ดอกโค้งเขา้ หาช่อดอก
 ช่อกระจุกซ้อน (dichasium) ช่อดอกท่ีดอก
ย่อยที่เกิดก่อนอยู่ท่ีปลาย มีดอกย่อยเกิด
สองขา้ งของดอกท่ีปลายช่อ

 ช่อกระจุกซ้อนเดี่ยว (simple dichasium)
ช่อดอกที่มีดอกย่อย 3 ดอก ดอกย่อยตรง
กลางบานก่อนดอกย่อยด้านข้างทั้งสองดอก
เช่น ชอ่ ดอกมะลิลา

39

 ช่อกระจุกซ้อนเชิงประกอบ (compound
dichasium) ช่อดอกท่ีมีหลายช่อกระจุก
ซ้อนเด่ียว เช่น ช่อดอกเข็ม มะลิช่อกระจุก
ซ้อนผสม (pleiochasium) ช่อดอกแบบช่อ
กระจุกซ้อน แต่ทปี่ ลายกา้ นดอกจะมีช่อดอก
แบบชอ่ กระจกุ ซอ้ นประกอบมากกว่าสองชุด
ขึน้ ไป

แบบช่อกระจะ (racemose type) ช่อดอกที่มีดอกย่อยที่เกิดก่อนอยู่
ล่างสุดหรือด้านนอกสดุ ของช่อดอก ดอกทอ่ี ่อนสดุ อยสู่ ่วนปลายหรือใจกลางของช่อ
ดอก การบานของดอกเริ่มท่ีดอกย่อยบริเวณโคนช่อหรือด้านนอกของช่อดอก มี
หลายประเภทไดแ้ ก่ ชอ่ กระจะ ช่อเชิงลด ช่อแบบหางกระรอก ช่อเชิงหล่ัน ช่อเชิง
ลดมีกาบ ช่อซร่ี ม่ ช่อซ่รี ม่ เชิง-ประกอบ ชอ่ กระจกุ แน่น ช่อแยกแขนง

 ช่อกระจะ (raceme) ช่อดอกย่อยท่ีมีก้าน
ดอกยอ่ ยยาวไล่เลยี่ กนั ดอกเกดิ สลบั สองข้าง
ของแกนกลาง ดอกเกิดและบานก่อนอยู่
ดา้ นล่างของชอ่ ดอก เชน่ ชอ่ ดอกกล้วยไม้

 ชอ่ เชิงลด (spike) ช่อดอกที่คล้ายช่อกระจะ
แต่ดอกย่อยไม่มีก้านดอกย่อย เช่นช่อดอก
กระถินณรงค์

 ช่อแบบหางกระรอก (ament, catkin)ช่อ
ดอกท่ีคล้ายช่อเชิงลด แต่ช่อดอกห้อยลง
และมักเป็นดอกเพศเดียว เช่นช่อดอกหาง
กระรอก

40

 ช่อเชิงหลั่น (corymb) ช่อดอกท่ีดอกย่อยมี
ก้านดอกย่อยยาวไม่เท่ากัน ดอกย่อยที่อยู่
ล่างสุดมีก้านดอกย่อยยาวที่สุดแล้วลดหล่ัน
กนั ไปที่ปลายยอด ดอกย่อยมักจะเรียงอยู่ใน
ระนาบเดยี วกันหรอื ใกลเ้ คียงกัน เชน่ ชอ่ ดอก
หางนกยงู ไทย ผกั กาดเขยี ว

 ช่อเชิงลดมีกาบ (spadix) ช่อดอกทคี่ ล้ายช่อ
เชิง ล ด ดอกย่อยเกิดเบี ยดกันอยู่บ น
แกนกลางและมีกาบ (spathe) หุ้มช่อดอก
เชน่ ชอ่ ดอกหนา้ วัว บอนสี

 ช่อซ่ีร่ม (umbel) ช่อดอกที่ก้านดอกย่อย
เจริญออกมาจากปลายก้านช่อดอกท่ีจุด
เดียวกันและมีขนาดไล่เลี่ยกัน คล้ายซ่ีร่ม
เช่นชอ่ ดอกหอม กยุ ช่าย

 ช่อซีร่ ม่ เชิงประกอบ (compound umbel)
ชอ่ ซี่ร่มที่บนก้านย่อยมีการแตกเป็นช่อดอก
ย่อยแบบช่อซี่ร่มย่อย (umbelet) อีก และ
แต่ละช่อดอกย่อยมีใบประดับรองรับ เช่น
ชอ่ ดอกของผักชีลอ้ ม

 ชอ่ กระจกุ แน่น (capitulum, head)ช่อดอก
ทีม่ ีดอกย่อยเรียงบนฐานรองดอกที่พองออก
หรอื แผก่ ว้าง และไม่มีก้านดอกย่อย เช่นช่อ
ดอกทานตะวัน บานไม่รู้โรย ผกากรอง

41

 ชอ่ แยกแขนง (panicle, compound raceme)
ช่อดอกทม่ี ชี อ่ กระจะหลายช่อมาซ้อนกัน

 ช่ อ รู ป ถ้ ว ย ( cyathium) ช่ อ ด อ ก ท่ี
ประกอบดว้ ยดอกเพศเมยี ท่ลี ดรปู เหลือเพียง
เกสรเพศเมยี 1 ดอก และดอกเพศผู้ที่ลดรูป
เหลือเพียงเกสรเพศผู้จ้านวนมาก และมีใบ
ประดับรองรับ เช่น ช่อดอกโป๊ยเซียน
นา้ นมราชสีห์

 ฐานดอกรูปถว้ ย (hypanthium) ช่อดอกท่ี

เกดิ จากฐานรองดอกเจรญิ ขน้ึ เป็นรูปถว้ ย
อาจจะเจริญร่วมกบั กลบี เลย้ี ง

 ช่อฉัตร (verticillate) ช่อดอกที่มีดอกย่อย
เกดิ บริเวณรอบข้อของแกนกลาง คล้ายฉัตร
เปน็ วง เชน่ ช่อดอกกะเพราะ โหระพา

องค์ประกอบอ่นื ๆ ของดอก

 ใบประดับคลา้ ยกลีบดอก (petaloid bract)
ใบประดับท่ีมีสีสันคล้ายกลีบดอก เช่น ใบ
ประดบั ของเฟอ่ื งฟ้า

42

 วงใบประดับ (involucres, involucral
bract, phyllary) ใบประดับที่เปลี่ยนแปลง
ไปมีลกั ษณะคล้ายเกลด็ ปลา หรอื หนาม เช่น
ใบประดบั ของบานช่นื ดาวกระจาย ทานตะวัน

 วงกลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก ( petaloid
calyx) วงกลบี เลีย้ งที่มสี สี นั คล้ายกลีบดอก
เชน่ กลีบเลี้ยงดอกดอนย่า

 กาบหมุ้ ช่อดอก (spathe)ใบประดับขนาด
ใหญ่ที่รองรับช่อดอกและมีสีสันต่างๆ เช่น
กาบหมุ้ ชอ่ ดอกของปลกี ลว้ ย หนา้ วัว

 รว้ิ ประดับ (epicalyx) ใบประดับท่ีลดรูป
เป็นรวิ้ เลก็ ๆ เช่นใบประดับของชบา พู่ระหง

43

บทท่ี 6 :
ผล (Fruits)
ผล (Fruits)
คือ รังไข่ท่ีได้รับการปฏิสนธิ (fertilization) แล้วเจริญเติบโตเต็มที่ อาจมีบางส่วน
ของดอกเจริญมาด้วย เช่น ฐานรองดอก กลีบเล้ียง ภายในมีเมล็ดหรือไม่มีก็ได้ ส้าหรับผลที่
เกิดจากรังไขท่ ี่ไม่ได้รบั การปฏสิ นธิ และไมม่ เี มลด็ เรียกว่า ผลลม (parthenocarpic fruit)
โครงสร้างของผล (Structure of Fruit)
โครงสร้างของผลส่วนมากประกอบด้วย ผนังผล (pericarp) และเมล็ด
(seed) ผนังผล คือส่วนที่เจริญเปล่ียนแปลงมาจากรังไข่ มี 3 ชั้น ได้แก่ ผนังผล
ชน้ั นอก ผนงั ผลชัน้ กลาง

 ผนังผลชน้ั ในผนงั ชั้นใน (Endocarp) ผนังช้ันใน มีท้ังอ่อนนุ่มเช่น ส้ม
และมลี กั ษณะแข็งเชน่ มะมว่ ง มะพร้าว

 ผนงั ชั้นกลาง (Mesocarp) ผนงั ชัน้ นม้ี กั นุ่ม เชน่ มะม่วง มะละกอ ผล
บางชนดิ มีผนงั ชนั้ กลางเปน็ เส้นใยเหนียว เชน่ มะพร้าว ตาล จาก

 ผนงั ชัน้ นอก (Exocarp) ชน้ั ผวิ นอกสดุ ของผล ชน้ั นใี้ นผลบางชนิดมีผิว
ชน้ั นอกบางหรอื อ่อนเชน่ ผลองุ่น ชมพู่ มะม่วง ผลบางชนดิ ผวิ ชั้นนอก
แข็งและเหนียว เช่นมะพร้าว ฟกั ทอง

44
 เมล็ด (Seed) คือออวุลที่ได้รับการปฏิสนธิและเจริญเติบโตเต็มที่

ประกอบด้วย เปลือกเมล็ด มี 2 ช้ัน คือ ช้ันนอก และชั้นใน เอนโด
สเปิร์ม และเอม็ บรโิ อ
ประเภทของผล (Classification of Fruits)
ผลเด่ียว Simple Fruit ชนิดของผลท่ีเกิดจากดอกเดียว เกสรเพศเมียมี
หน่ึงหรือหลายคารเ์ พลทีเ่ ช่อื มติดกัน เช่น ผลแตงโม มะละกอ ส้ม มะมว่ ง

ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit) ชนิดของผลที่เกิดจากดอกเดียวแต่มีหลาย
คาร์เพล และแต่ละคาร์เพลแยกจากกัน ซึ่งแต่ละคาร์เพลน้ีจะเจริญไปเป็นผลย่อย
เชน่ ผลน้อยหนา่ การเวก จ้าปี จา้ ปา สตรอเบอร์ร่ี

ผลรวม (Multiple Fruit) ชนิดของผลที่เกิดจากดอกย่อยหลายๆ ดอกใน
ชอ่ ดอกเดยี วกันเจรญิ เชอื่ มตดิ กนั เปน็ ผลเดยี ว เช่นผลขนนุ สับปะรด ยอ

45
ผลแบบมะเด่อื (syconium) ผลรวมท่ขี า้ งในผลกลวง ซ่ึงเปน็ ผลทเ่ี จริญมา
จากช่อดอกทมี่ ฐี านรองดอกรูปถ้วย (hypanthium) ภายในประกอบด้วยดอกย่อยมี
ขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก และแยกเพศ ภายในช่อดอกมีช่องเปิดขนาดเล็ก
(ostiolum) ให้แมลงขนาดเลก็ เข้าไปชว่ ยการผสมเกสร ไดแ้ ก่ ไทร มะเด่ือ กร่าง

ชนิดของผล (Types of Fruit)
ผลมีเน้ือสด (Fleshy Fruit) คือผลท่ีแก่แล้วมีผนังผลสดไม่แห้ง แบ่ง

ออกเป็น
 ผลเมลด็ เดยี วแขง็ (Drupe) ผลสดทม่ี เี มลด็ เดียว ผนังช้ันกลางเป็น
เนอ้ื หนาออ่ นนุ่ม ผนงั ชัน้ ในแขง็ มาก ไดแ้ กพ่ ทุ รา มะมว่ ง

 ผลแบบมเี นือ้ หลายเมล็ด (Berry) ผลสดท่ีมีเมล็ดหลายเมล็ด เนื้อ
ผลอ่อนนุ่ม ผนังช้ันนอกท่ีเป็นเปลือกมีลักษณะอ่อนนุ่ม
เชน่ เดยี วกัน ไดแ้ ก่มะละกอ มะเขอื เทศ

46

 ผลแบบสม้ (Hesperidium) ผลทผ่ี นังชั้นนอกมีต่อมน้ามันจ้านวน
มาก ผนงั ชน้ั กลางอ่อนนมุ่ คลา้ ยฟองนา้ สีขาว ผนังช้ันในมีลักษณะ
เป็นเยื่อบาง และมีบางส่วนของช้ันนี้แปรรูปเป็นถุงน้าเพ่ือสะสม
น้าตาล และกรดมะนาว ได้แก่ ส้ม มะนาว

 ผลแบบแตง (Pepo) ผลทีเ่ จรญิ มาจากรงั ไข่ใตว้ งกลีบ ผนังช้ันนอก
แข็งและหนา ผนังช้ันกลางและผนังช้ันในหนาอ่อนนุ่ม ได้แก่
แตงโม แตงกวา น้าเต้า

47

ผลแห้ง (Dry Fruit) คือผลท่ีแก่แล้วผนังผลแข็งและแห้ง แบ่งออกเป็น 2
ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ผลแห้งแก่ไม่แตก (dry indehiscent fruit) และผลแห้งแก่
แตก (dry dehiscent fruit)

 ผลแหง้ แกไ่ ม่แตก (Dry Indehiscent Fruit) แบง่ ออกเป็น

o ผลแห้งเมล็ดติดหรือผล
แบบธัญพืช (Caryopsis or
Grain) ผลเด่ียวหนึ่งเมล็ด
เปลือกแข็งและเช่ือมติด
แ น่ น กั บ เ ป ลื อ ก เ ม ล็ ด หุ้ ม
เชน่ ขา้ ว

o ผลเปลอื กแข็งมกี าบรูปถ้วย
( Acorn) ผ ล ค ล้ า ย ผ ล
เปลือกแข็งเมล็ดเดียว แต่มี
ก า บ หุ้ ม ผ ล ( cupule)
ท้ังหมดหรือบางส่วน เช่น
ผลเกาลัด กอ่ ชนิดตา่ งๆ

o ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene) ผลขนาดเล็ก ผนังผลแห้งและ
บาง มี 1 เมลด็ ผนังผลกับเปลือกหุ้มเมล็ดแยกกัน ส่วนมากมี
ฐานรองดอกขนาดใหญ่เช่น บัวหลวง ถ้าผลเกิดจากรังไข่ใต้วง
กลีบ และมขี นทีป่ ลายเมล็ด เรียกว่าผลแห้งเมล็ดล่อนปลายมี
ขน (cypsela) เชน่ ผลของทานตะวัน

48
o ผลเปลือกแห้งเมล็ดเดียว (Nut) ผลที่มีเปลือกแข็งและผิวมัน

เป็นผลท่ีเกิดจากรังไข่ท่ีมีหลายคาร์เพลเชื่อมกันแต่มีเมล็ด
เดียว เชน่ ผลมะพรา้ ว กระจบั มะม่วงหิมพานต์

o ผลแบบปีกเดียว (Samara) ผลที่มีผนังผลชั้นนอกเจริญย่ืน
ออกมาเปน็ ปีก อาจมีปกี เดียวหรือมากกว่า เช่นผลประดู่ ก่วม
หรือผลคล้ายผลปีกเดียว (samaroid) มกี ลีบเล้ยี งเจริญไปเป็น
ปีก เชน่ ผลยางนา เหยี ง พะยอม รกั ใหญ่

o ผลแยกแล้วแตก (Schizocarp) ผลที่เจริญมาจากรังไข่ที่มี
หลายคาร์เพลเช่ือมกัน เม่ือรังไข่เจริญเต็มที่แล้วคาร์เพลจะ
แยกกัน แต่ละคาร์เพลเรียก ซีกผลแบบผักชี (mericarp) ซ่ึง
ภายในมี 1 เมลด็ เชน่ ผลผกั ชี ครอบจักรวาล

49

 ผลแหง้ แกแ่ ตก (Dry Dehiscent Fruit) แบง่ เปน็

o ฝกั แตกแนวเดียว (Follicle) ผลที่เกิด
จากดอกท่ีมีคาร์เพลเดียวหรือหลาย
คาร์เพลท่ีแยกกัน เมื่อผลแก่จะแตก
เพยี งตะเข็บเดียว เชน่ ผลจ้าปี จา้ ปา

o ผลแตกแบบผักกาด (Silique) ผลที่
เกิดจากรังไข่ท่ีมี 2 คาร์เพล เม่ือผล
แก่ผนังผลแตกตามยาวจากด้านล่าง
ไปยังด้านบนแบ่งออกเป็นสองซีก
เ ม ล็ ด ติ ด อ ยู่ แ น ว ก ล า ง ข อ ง ผ ล
(central false septum) เช่นผล
ผักกาดนก ผกั เสย้ี น

o ฝักแบบถั่ว Legume ผลที่เกิดจาก
ดอกท่ีมีคาร์เพลเดียว เมื่อผลแก่จะ
แตกออกตามแนวตะเข็บ 2 ข้างของ
ผล ได้แกผ่ ลของพชื วงศถ์ ั่ว

o ผ ล แ บ บ ฝั ก หั ก ข้ อ ( loment,
lomentum) ผลคล้ายผลแบบถ่ัวแต่
มีรอยคอดรอบฝักเป็นช่วงๆหรือเว้า
เป็นข้อๆ เม่ือผลแก่จะหักบริเวณน้ี
แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เช่นผลไมยราพ
คูน

50

o ผลแบบผักชี (cremocarp) ผลขนาด
เล็กมี 2 เมล็ด เมื่อผลแก่และแตก
ออก เมล็ดจะแยกจากกันโดยมี
คาร์โพฟอร์ (carpophores) เส้น
เล็กๆยดึ ไว้

o ผลแห้งแตก (capsule) ผลที่เกิดจากดอกท่ีรังไข่มีหลายคาร์
เพลเชอ่ื มกนั และเม่ือผลแกจ่ ะแตก แบ่งออกเป็น

 ผลแห้งแตกตามรอยประสาน
(septicidal capsule) ผลแห้ง
แตกตามแนวยาวของผนังคาร์
เพล เช่น ผลกระเชา้ สดี า

 ผลแห้งแตกกลางพู (loculicidal
capsule) ผลแหง้ แตกตรงกลางพู
ของแต่ละช่อง เช่น ผลทุเรียน
ตะแบก

 ผลแห้งแตกเป็นช่อง (poricidal
capsule) ผลแห้งที่เปิดเป็นช่อง
หรอื รใู กลย้ อดผล เชน่ ผลฝ่ิน


Click to View FlipBook Version