The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการศึกษาส่วนประกอบต้นไม้ A5 - 05096

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nareeporn Photisard, 2019-11-04 02:18:34

เอกสารประกอบการศึกษาส่วนประกอบต้นไม้ A5 - 05096

เอกสารประกอบการศึกษาส่วนประกอบต้นไม้ A5 - 05096

51

 ผ ล แ ห้ ง แ ต ก แ บ บ ฝ า เ ปิ ด
(circumscissile capsule, pyxis)
ผลแห้งแล้วแตกตามขวางรอบผล
ลักษ ณะเป็ นฝ าเปิ ด มีเมล็ด
จ้านวนมาก เช่น ผลหงอนไก่

52

บทท่ี 7 :
เมลด็ (seed)

เมลด็ (Seed)

เมล็ด (Seed) คือ ส่วนประกอบของพืชท่ีเจริญมาจากออวุล (ovule) ท่ีได้รับการ
ปฏสิ นธิแลว้ เมลด็ สามารถใช้ในการแพรพ่ นั ธขุ์ องพืชดอก (angiosperm) และพชื เมล็ดเปลือย
(gymnosperm)

ส่วนประกอบเมล็ด เมลด็ มีส่วนประกอบท่ีส้าคัญ ดงั นี้

1. เปลือกเมล็ด (seed coat หรือ Testa) เป็นส่วนประกอบชั้นนอกสุด
ของเมล็ด เปล่ยี นแปลงมาจากผนงั ออวลุ (integument) ส่วนมากมี 2
ชน้ั
1.1 เปลือกเมลด็ ช้นั นอก (testa) เจริญมาจากผนงั ชัน้ นอกของออวุล
(outer integument) จะแข็งหรอื เหนียว ท้าหน้าที่ป้องกันการ
ระเหยของน้า และป้องกันอันตรายต่าง ๆ เช่น แมลง เชื้อโรค
และปอ้ งกนั อันตรายตอ่ สิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น ลมฟ้าอากาศ
เป็นตน้
1.2 เปลอื กเมล็ดชนั้ ใน (tegment) เจรญิ มาจากผนังชั้นในของออวุล
(entegument) ส่วนมาก มีลักษณะเปน็ เย่ือบาง ๆ สีขาว อ่อนนมุ่

เปลือกเมล็ดบางชนดิ อาจเช่ือมติดกันเป็นช้นั เดยี ว เชน่ ถวั่ ชนดิ ตา่ ง ๆ

เปลอื กเมล็ดบางชนิดเปลี่ยนสภาพไปหลายรูปแบบ เช่น เป็นใยสีขาวท้า
ให้เมล็ดปลิวไปตามลมได้ เช่น ฝ้าย หรือผนังชั้นนอกของออวุลของเมล็ดบางชนิด
เปลย่ี นเป็นเน้ือนุ่ม ๆ รับประทานได้ เช่น เงาะ ล้าไย เป็นต้น ซ่ึงเรียกผลชนิดน้ีว่า
ผลแบบมปี ุยหุม้ เมลด็ (aril fruit)

บริเวณเปลือกดา้ นหนึง่ จะพบรอยแผลเปน็ เล็ก ๆ อยู่ เรียกบริเวณนี้ว่า ข้ัว
เมล็ด (hilum) ใกล้ ๆ กันจะพบรูเล็ก ๆ เรียกรูไมโครไพล์ (micropyle) ซ่ึงเป็นรูท่ี
หลอดละอองเรณูงอกเข้าไปเพ่ือให้สเปิร์มเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่และโพลาร์
นวิ เคลยี ส

53

2. เอ็มบริโอ (embryo) เป็นส่วนท่ีจะเจริญไปเป็นต้นพืชเอ็มบริโอเกิด
จากการผสมกันระหว่างเซลล์ไข่และเซลล์สเปิร์ม เอ็มบริโ อ
ประกอบดว้ ยสว่ นประกอบ ดงั นี้
2.1 ใบเลีย้ ง (cotyledon) พืชใบเล้ียงคู่ มีใบเลี้ยงสองใบ ส่วนพืชใบ
เล้ียงเดี่ยวมี ใบเล้ียงหน่ึงใบ ใบเล้ียงของพืชใบเล้ียงเดี่ยว จะมี
ลักษณะเป็นแผ่นขาว ๆ บาง ๆ เรียกว่าใบเล้ียงธัญพืช
(scutellum)
2.2 ตน้ แรกเกดิ (caulicle) ประกอบด้วย 2 ส่วน ดงั น้ี
2.2.1 ต้นอ่อนเหนือใบเล้ียง (epicotyl) ส่วนนี้มีส่วนปลาย
ยอดเรียก ยอดแรกเกิด (plumule) ซ่ึงประกอบด้วย
เน้ือเยื่อเจริญส่วนปลายยอด ( apical shoot
meristem) ซึ่งจะเจรญิ เป็นต้น ใบ และยอดต่อไป
2.2.2 ต้นออ่ นใต้ใบเลี้ยง (hypocoty) เป็นส่วนท่ีจะเจริญเป็น
ต้น ยกเว้นส่วนปลายสุดของต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง
(hypocotyl) ท่ีเรียกว่า รากแรกเกิด (radicle) ซ่ึงเป็น
ส่วนท่ีอยู่ตรงไมโครไพล์ (micropyle) ของเมล็ด และ
ส่วนนี้จะเจริญเติบโตเป็นรากปฐมภูมิ (primary root)
หรือรากแก้ว (tap root) ต่อไป

3. เอนโดสเปิร์ม (endosperm) เป็นเนื้อเยื่อท่ีเจริญมาจากเซลล์เอนโด
สเปิร์มปฐมภูมิ (primary endosperm cell) มีหน้าท่ีสะสมอาหาร
สา้ หรบั เอม็ บริโอที่กา้ ลงั งอกในระยะแรก

เมล็ดพืชที่เอ็มบริโอดูดซับอาหารมาใช้ก่อนท่ีเมล็ดจะแก่จะไม่พบเอ็นโด
สเปิร์มในเมลด็ เช่น ถ่วั บวั ทานตะวนั เป็นต้น พืชพวกน้ีจะงอกเร็วกว่า เมล็ดพืชท่ี
ดดู ซับอาหารท่ีสะสมไวใ้ นเอนโดสเปิร์มไปใชก้ ต็ อ่ เม่ือเมล็ดจะงอก เมลด็ พวกน้จี ะพบ
เอนโดสเปิร์มอยู่ เช่น เมล็ดละหุ่ง เรียกเมล็ดพวกน้ีว่า เมล็ดมีเอนโดสเปิร์ม
(albuminous seed) และเมลด็ ทีไ่ มพ่ บเอนโดสเปริ ม์ เรยี กวา่ เมลด็ ไรเ้ อนโดสเปิร์ม
(exalbuminous seed)

54

อาหารทส่ี ะสมอยภู่ ายในเอ็นโดสเปิรม์ มีดังนี้

1. คารโ์ บไฮเดรต เปน็ สารอาหารสว่ นใหญ่ทอี่ ยู่ในเมล็ดพืช อาจสะสมอยู่
ในรูปแปง้ หรอื น้าตาล ซงึ่ น้าไปสรา้ งเซลลูโลสเปน็ สารทสี่ ร้างผนังเซลล์

2. โปรตนี เมลด็ พืชทุกชนดิ มีโปรตีนสะสมอยู่ แต่มีปริมาณไม่เท่ากัน พืช
น้าไปสรา้ งโพรโทพลาซึม (protoplasm)

3. ไขมัน และน้ามนั มีปรมิ าณมากนอ้ ยแลว้ แตช่ นดิ ของพืช

ชนดิ ของเมล็ด

สามารถจ้าแนกโดยใช้จ้านวนใบเลี้ยงของเอ็มบรโิ อภายในเมล็ดเป็นเกณฑ์
ได้ 2 ชนดิ ดังน้ี

1. เมลด็ พืชใบเลยี้ งคู่ เป็นเมล็ดพชื ทเี่ อ็มบรโิ อทีอ่ ยู่ภายในเมล็ด มีจ้านวน
ใบเล้ียง 2 ใบ แบง่ เปน็ 2 ชนดิ โดยใช้เอนโดสเปิรม์ เปน็ เกณฑ์ คอื
1.1 เมล็ดพืชใบเล้ียงคู่ท่ีไม่มีเอ็นโดสเปิร์ม ( exalbuminous
seed) เป็นเมล็ดที่เปลือกเมล็ดทั้งสองชั้นรวมกันไม่สามารถ
แยกเป็นสองช้ันได้ ด้านหนึ่งของเปลือกเมล็ดเว้าเข้า มีรอย
แผลเป็นเล็ก ๆ ติดอยู่ รอยนเ้ี ปน็ บรเิ วณที่เกิดจากก้านของออวุล
(funiculus) ซ่ึ ง เช่ือ มต่อ ร ะห ว่า ง รัง ไข่กั บออ วุล ท่ี ห ลุ ด
ออกไป เรียกรอยน้ีว่า ขั้วเมล็ด (hilum) ใกล้ ๆ กับขั้วเมล็ดมีรู
เลก็ ๆ ทเ่ี รียกว่า ไมโครไพล์ (micropyle) ซ่ึงรูไมโครไพล์นี้เป็น
ทางให้น้าผ่านเข้าไปภายในเมล็ด และเป็นช่องให้รากแรกเกิด
(radicle) งอกออกมาจากเมล็ดและเจริญเป็นรากของพืช
ต่อไป ด้านตรงข้ามกับด้านน้ีมีขั้วเมล็ด (hilum) อยู่จะมี
ลักษณะเปน็ สนั ซงึ่ เกิดจากก้านออวุล (funiculus) ทาบไปตาม
ออวุล ก่อนท่ีออวุลจะเจริญเป็นเมล็ด เรียกสันน้ีว่าสันขั้ว
(raphe) เมอ่ื ลอกเปลือกเมลด็ ออกจะพบใบเล้ียงขนาดใหญ่สอง
ใบประกบยอดแรกเกดิ (pumule) ไว้ใต้ต้าแหน่งใบเลี้ยงพบต้น
ออ่ นใต้ใบเลย้ี ง (hypotyl) และรากแรกเกดิ (radiele) แต่ไม่พบ

55

เอ็นโดสเปิร์ม (endosperm) เมล็ดพืชชนิดนี้ได้แก่ เมล็ดถั่ว
ชนดิ ต่าง ๆ มะมว่ ง ทานตะวนั เป็นตน้
1.2 เมลด็ ของพืชใบเล้ียงคู่ที่มีเอ็นโดสเปิร์ม (albuminous seed) เป็น
เมล็ดท่เี ปลอื กเมล็ด แยกเป็นเปลือกเมล็ดช้ันนอก (testa) และ
เปลือกเมล็ดชั้นใน (tegment) ได้ชัดเจน ด้านหนึ่งของเมล็ดมี
สั น เ ม ล็ ด ( raphe) ต ล อ ด แ น ว ท่ี ป ล า ย สั น เ ม ล็ ด
(raphe) ด้านล่างของเมล็ดมีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อฟ่าม ๆ อวบ
และแข็ง เรียก (caruncle) ปิดอยู่ มีหน้าที่อุ้มน้าเพ่ือช่วยให้
เมล็ดงอกได้ ด้านนี้จะพบ ข้ัวเมล็ด (hilum) และรูไมโครไพล์
(micropyle) เมือ่ ลอกเปลือกทงั้ สองช้นั ออกจะพบเอนโดสเปิร์ม
มีลักษณะหนาใหญ่ สีขาว มีสองซีกประกบกันอยู่ภายในมีใบ
เล้ียงอยู่ 2 ใบ มีลักษณะแบนและบางมาก เอ็มบริโอส่วนที่
เหลือจะมลี กั ษณะเป็นกอ้ นรูปไข่ โดยเหนือต้าแหน่งใบเล้ียงเป็น
ส่วนของยอดแรกเกิด (plumule) และต้นเหนือใบเลี้ยง
(epicotyl) อยู่ส่วนต้าแหน่งท่ีอยู่ใต้ใบเลี้ยง คือ ต้นใต้ใบเล้ียง
(hypocotyl) และรากแรกเกิด (radicle) ตัวอย่างเมล็ดชนิด
นี้ ได้แก่ เมล็ดละหุ่ง มะค่าแต้ เป็นตน้
2. เมล็ดพชื ใบเล้ยี งเด่ียว เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่ เปลือกเมล็ดจะติดอยู่
แนน่ กับเปลอื กของผล ได้แก่ เมล็ดข้าวโพด ข้าวชนิดต่าง ๆ เป็นต้น แต่บาง
ชนดิ เปลอื กเมล็ดแยกจากเปลอื กของผล ได้แก่ มะพร้าว ตาล

เมลด็ ข้าวโพด

56

ภายในจะมีเอม็ บริโอซึ่งมีใบเล้ียงเด่ียว ใบเลี้ยงมีลักษณะเป็นแผ่น เรียก
(scutellum) รอบใบเล้ียงมีเอนโดสเปิร์ม โดยส่วนเอนโดสเปิร์มที่ติดกับเปลือก
เมลด็ มีสเี หลอื งแกเ่ ปน็ ทสี่ ะสมแปง้ และน้ามัน โดยมีโปรตีนท่ีอยู่ในรูปของผลแอลิว
โรน (aleurone grain) แทรกอยู่ เรียกเอ็นโดสเปิร์มช้ันน้ีว่า ฮอนนี เอนโด
สเปิร์ม (horny endosperm) เอนโดสเปิร์มส่วนที่อยู่ถัดเข้ามาภายในมีสีอ่อน
กว่า มีแป้งสะสมอยู่เป็นส่วนใหญ่ เรียกชั้นนี้ว่า สตาร์ชี เอนโดสเปิร์ม
(starchy endosperm) ส่วนของเอ็มบริโอ นอกจากจะประกอบด้วยใบเลี้ยง
เด่ียวแล้วยังพบยอดแรกเกิด (plumule) ต้นเหนือใบเล้ียง (epicotyl) ต้นใต้ใบ
เ ล้ี ย ง ( hypocotyl) ร า ก แ ร ก เ กิ ด ( radicle) แ ล ะ พ บ เ ย่ื อ หุ้ ม ย อ ด แ ร ก
เกิด เรยี กว่า เนื้อเยื่อยอดแรกเกิด (coleoptile) รวมท้ัง เนื้อเย่ือหุ้มรากแรกเกิด
(coleorhiza) อกี ด้วย

การงอกของเมล็ด (seedgermination)

การงอกของเมลด็ หมายถึง การเจรญิ เตบิ โตของเอ็มบริโอ ซง่ึ อยู่ภายใน
เมล็ดงอกออกจากเมลด็ เปน็ ต้นใหม่ โดยสว่ นประกอบของเมล็ดท่ีโผล่พ้นเมล็ดเป็น
อันดับแรก คือ รากแรกเกิด (radicle) ซึ่งการงอกของเมล็ดนี้มีผลท้าให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงทางสรรี ะและรปู รา่ งภายในเมล็ดดังน้ี

1. การดดู นา้ ของเมล็ด (imbibition) เมื่อเมล็ดท่ีแก่เต็มที่ได้รับความชื้น
จากภายนอกเมล็ดจ้านวนมากพอ เมล็ดจะดูดน้าโดยการดูดอุ้ม
(imbibition) มีผลท้าให้เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนตัวลง เมล็ดพองขยาย
ขนาดและน้าหนกั เพิ่มข้ึน มีผลให้เปลือกเมล็ดแตกออกท้าให้น้าและ
แกส๊ ออกซเิ จนเข้าไปในเมลด็ ได้

2. การเกิดเมแทบอลิซึม เมื่อเมล็ดรับน้าเข้าไปจะกระตุ้นให้มีการสร้าง
เอนไซม์ ภายในเมล็ดพืชจะเกดิ การยอ่ ยสลายสารอาหารท่มี อี ยู่เอนโด
สเปิรม์ หรอื ใบเลีย้ ง ซง่ึ เป็นสารอาหารท่ไี มส่ ามารถละลายน้าได้ให้เป็น
สารอาหารทม่ี อี ณูเลก็ ลงและละลายน้าได้

57

3. การล้าเลียงอาหาร อาหารจากเอนโดสเปริ ์มหรือใบเล้ียงที่ถูกย่อยจน
เป็นโมเลกุลเล็ก ๆ แล้วจะถูกล้าเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของ
เอม็ บริโอ โดยการแพร่

4. การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ เม่ือส่วนต่าง ๆ ของเอ็มบริโอได้รับ
สารอาหาร น้าและแกส๊ ออกซิเจนอยา่ งเพยี งพอ จะเกิดการหายใจท้า
ใหเ้ กดิ พลังงานนา้ ไปใชใ้ นการแบ่งเซลล์ เพ่ิมจ้านวนเซลล์ เพ่ิมขนาด
ของเอ็มบริโอ จนกระท่ังรากอ่อนแทงทะลุเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา
พ้น อันดับแรกและส่วนปลายยอดก็จะแทงเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา
เปน็ อันดับตอ่ ไป

ชนดิ ของการงอกของเมล็ด
จา้ แนกโดยใชต้ ้าแหนง่ ท่ีอยู่ของใบเลี้ยงเด่ียวขณะงอกเป็นเกณฑ์สามารถ

แบง่ ได้ 2 ชนดิ คอื
1. การงอกท่ีใบเลี้ยงอยู่เหนือต้น (epigeal germination) เป็นการ
งอกท่ตี น้ ออ่ นใตใ้ บเลย้ี ง (hypocotyl) มีการยืดตัวเร็วมากถึงเอาใบ
เลยี้ ง (cotyledon) และต้นส่วนเหนือใบเลี้ยง (epicotyl) ออกจาก
เปลือกโผลพ่ น้ เหนือตน้ และเมอื่ ตน้ ส่วนใต้ใบเลี้ยงตั้งตรงมีผลให้ยอด
แรกเกิด (plumule) และต้นอ่อนเหนือใบเล้ียง (epidermis) ยืด

58
ตัว ใบเลี้ยงกางออก เมื่ออาหารในใบเลี้ยงถูกใช้ไปหมดใบเลี้ยงจะ
หลุดล่วงไปในที่สุด พืชท่ีมีการงอกแบบน้ีได้แก่ พืชใบเลี้ยงคู่ เช่น
ละหงุ่ มะขาม ทานตะวัน ถว่ั เขยี ว ถวั่ ดา้ เป็นตน้

2. การงอกท่ีใบเล้ียงอยู่ใต้ดิน (hypogeal germination) เป็นการงอก
ทีต่ น้ อ่อนใต้ใบเลีย้ ง (hypocotyl) เจริญเติบโตและมีการยืดตัวช้า ๆ
จึงมีผลให้ยอดแรกเกิด (plumule) งอกขึ้นบนดินได้ แต่ต้นอ่อนใต้
ใบเล้ียง (hypocotyl) และใบเล้ียง (cotyledon) ยังอยู่ใต้ดิน พืชท่ี
งอกแบบนมี้ ักเปน็ พืชใบเลย้ี งเดี่ยว เช่น ขา้ ว ข้าวโพด มะพร้าว หญ้า
เป็นต้น พืชใบเลี้ยงคู่บางชนิด ได้แก่ พืชพวกถั่วเมล็ดกลม เช่น ถ่ัว
ลันเตา และพืชพวกส้ม

59

60

ส่วนประกอบของต้นไม้

61

ผงั มโนทศั นส์ าระการเรยี นรู้

62

ผงั มโนทศั นส์ าระการเรยี นรู้



63

1. ลักษณะวิสัย (habit) รปู คาศพั
ที่ ลัก
1.
ภาษาองั กฤ
2. prostrate
decumben
3.
mat-formi
4.
spreadin

64

พทน์ า่ รู้

กษณะวสิ ัย (habit) ภาษาไทย
ฤษ

e ลา้ ต้นเลอ้ื ยทอดนอน

ent ลา้ ต้นทอดนอนแลว้ ชูยอดขนึ้

ing ล้าตน้ แผก่ ระจายออกไปทุกทิศทางบนพนื้ ดนิ

ng ล้าตน้ ตัง้ ตรงแล้วกางก่ิงก้านออกตามแนวนอน คล้าย
prostrate

ท่ี รปู ลัก
5. ภาษาองั กฤ
6.
7. erect
cushion pla
8. hemiepiphy

9. scramble

twiner

65

กษณะวิสยั (habit) ภาษาไทย
ฤษ

ลา้ ต้นตง้ั ตรง กิ่งก้านไม่กางออก

ant ล้าต้นของพืชขนาดเล็กท่ีอยู่ชิดกันแน่น แผ่ออกทุก
ทศิ ทาง มกั พบในเขตอัลไพล์หรือเขตหนาว

ล้าต้นองิ อาศัยชว่ งแรก และมีรากหยง่ั ลงพ้ืนดินในช่วง
hyte ต่อมา หรือข้ึนบนดินในช่วงแรก และอิงอาศัยในช่วงต่อมา

เชน่ พืชในสกุลไทร Ficus หลายชนดิ

ไม้พาดเลอื้ ย โดยอาศยั กงิ่ อ่อนหรือตะขอ ล้าต้นมีแตก
er แขนงเป็นเส้นโค้งหลายทิศทาง เช่นพวกกุหลาบเล้ือย หรือ

พชื สกุล Combretum

ไม้พันเลื้อยเพื่อพยุงล้าต้นไปในทิศทางเดียว ส่ิงท่ีพัน
เลอ้ื ยมกั มขี นาดเลก็ เชน่ พืชในวงศ์ Menispermaceae

2. ลักษณะพน้ื ผิว (surfaces)

ลักษณะสิง่ ปกคลมุ หรอื ยื่นออกมาจากพ้นื ผวิ ของส่วนตา่ ง ๆ ของ

ลกั ษณะท่ีมปี ระโยชนใ์ นการใช้จ้าแนกชนดิ

ที่ รปู ลกั ษ
ภาษาองั กฤ

1. scaly

2. pitted
3. bristly

4. prickly

66

งพืช ซึ่งมีหนา้ ทตี่ ่าง ๆ โดยเฉพาะในการปกป้องอันตรายให้แก่พืช และเป็น

ษณะพื้นผิว (surfaces) ภาษาไทย
ฤษ

ผิวที่มีเกล็ดปกคลุม เกล็ดแบบเซลล์เดียวหรือหลาย
เซลล์ มหี ลายรูปแบบ เป็นแผ่น หรือคล้ายขน พบท่ัวไปตาม
เหงา้ หรอื โคนก้านใบของเฟิน

ลักษณะของผิวท่ีเป็นหลุม รู หรือรอยเว้า ขนาดเล็ก
มักพบตามผิวเมลด็

ผิวมีขนแข็ง เช่นตามส่วนต่าง ๆ ของพืชในสกุล
กุหลาบ หรือปลายของเมล็ดหญา้ หรอื เรยี กว่า awn กไ็ ด้

พื้นผิวมีหนามแหลมคม โคนมักหนา ถ้ามีขนาดเล็ก
คล้ายเปน็ ปุม่ แหลม เรยี กวา่ muricate

ท่ี รปู ลกั ษ
5. ภาษาองั กฤ
6.
7. thorny
8.
9. simple ha
10. swollen-based

forked ha

stellate ha

treelike ha

67

ษณะพื้นผิว (surfaces) ภาษาไทย
ฤษ

หนามแหลมยาว แข็ง รูปร่างเรียวแคบ โดยเฉพาะก่ิง
ท่เี ปล่ยี นรปู เป็นหนาม

airs พ้ืนผิวมีขนแบบขนเดี่ยว คือขนที่ไม่แตกแขนงหรือ
แยกเป็นกระจกุ

d hairs ขนท่มี ลี กั ษณะโป่งพองทฐ่ี าน

airs ขนทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ง่าม

airs ขนรูปดาว ที่ออกเปน็ กระจกุ จากโคน มีกา้ นหรอื ไม่มี

airs ขนท่แี ตกแขนงรูปคลา้ ยต้นไม้

ที่ รปู ลักษ
11. ภาษาองั กฤ
12. glandular h
13. hooked ha
14. peltate ha

15. barbed ha

plumose ha

68

ษณะพ้ืนผวิ (surfaces) ภาษาไทย
ฤษ

hairs ขนตอ่ ม มีก้าน

airs ขนรูปตะขอ

airs ขนรูปโล่

airs ขนรปู ตะขอ มเี ง่ียงโค้งออก

airs ขนยาวน่มุ ส่วนมากมีเรียงเป็นแผงคล้ายขนนก เช่นที่
พบตามยอดเกสรเพศเมีย

ที่ รปู ลกั ษ
16. ภาษาอังกฤ
17. velvely ha
18.
19. silkly hair
20.
wooly hai

shaggy ha

sandpapery

69

ษณะพน้ื ผิว (surfaces) ภาษาไทย
ฤษ

airs ขนนมุ่ คล้ายกา้ มะหยี

rs ขนนุ่มลื่น คล้ายไหม

irs ขนแบบขนแกะ มกั พันกนั ยุง่

airs ขนมลี ักษณะหยาบหนาและยงุ่ เหยิงเปน็ กระเซิง

hairs ขนทม่ี ีลกั ษณะสากคลา้ ยกระดาษทราย

ที่ รปู ลักษ
21. ภาษาองั กฤ
22. cobwebby h
23.
24. arachnoid h

translucent

cystolith

70

ษณะพื้นผวิ (surfaces) ภาษาไทย
ฤษ

hairs ขนคล้ายใยแมงมมุ คลา้ ยกบั arachnoid hairs

ลักษณะของขนที่ปกคลุมอวัยวะต่าง ๆ ของพืช ซ่ึง

hairs ลักษณะของขนเป็นเส้นไยสีขาว พันกันยุ่งเป็นแผ่น ถูก
ท้าลายได้ง่าย มีลักษณะคล้ายใยแมงมุม เช่น พืชในวงศ์

Gesneriaceae

dot จุดโปร่งแสง เชน่ พบในใบของพืชวงศ์สม้ (Rutaceae)

h ผ ลึ ก ข อ ง แ ค ล เ ซี ย ม ค า ร์ บ อ เ น ต จ ะ พ บ ใ น เ ซ ล ล์ ท่ี มี
ลักษณะพิเศษ เชน่ ในใบของพืชสกลุ ไทร Ficus

3. ใบ (leaves) รปู ภาษาอังกฤ
ท่ี tufted
1. fascicle
equitant
2.
overlapping s
3.

4.

71

ใบ (leaves) ภาษาไทย
ฤษ

ลกั ษณะของใบทเ่ี ป็นกอ เปน็ กระจุก

e ใบทรี่ วมกนั เป็นกระจกุ แนน่

t ลักษณะของใบทมี่ กี ารเรยี งตวั แบบซอ้ นเหลือมกันเป็น
ชน้ั ๆ เชน่ ในใบของพชื สกุล Iris

scale ใบท่ีมีลกั ษณะเป็นเกลด็ มีการเรียงตัวแบบซ้อนเหลื่อม
กนั

ท่ี รปู ภาษาองั กฤ
5. ligule
6. pulvinus
7.
8. glandular sti
spines

72

ใบ (leaves) ภาษาไทย
ฤษ

ลิ้นใบ คือส่วนของกาบใบที่งอกย่ืนออกตรงรอยต่อ
ระหว่างกาบใบและแผน่ ใบ พบในพืชวงศ์หญ้า และวงศ์กก

s บริเวณโคนก้านใบท่ีมีลักษณะป่องหรือพองออก เช่น
ในต้นคล้าน้า

ipule หูใบทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ต่อม

หูใบทีม่ ีลักษณะเปน็ หนามแหลม

ที่ รปู ภาษาองั กฤ
9. foliar stipu
10. sheathing sti
11. interpetiolar s
12. intrapetiolar s
13. sheathin

73

ใบ (leaves) ภาษาไทย
ฤษ

ule หใู บท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยใบ

ipule หูใบทม่ี ีลักษณะ เป็นแผน่

stipule หูใบอยรู่ ะหว่างกา้ นใบที่ติดกับลา้ ตน้ แบบตรงขา้ ม

stipule หใู บทีอ่ ยู่ภายในซอกใบ

ng หใู บทม่ี ีลกั ษณะเป็นกาบหุ้มล้าตน้

ที่ รปู ภาษาองั กฤ
14. sessile peti

15. petiolate

16. blade run dow
petiole

17. petiole bases
across ste

18. petiole runs dow
stem

74

ใบ (leaves) ภาษาไทย
ฤษ

iole ไมม่ กี า้ นใบ

e มีก้านใบ

wn onto แผ่นใบท่ีมีลักษณะคล้ายรูปช้อน โคนใบสอบเรียว

ปลายใบกวา้ งกว่าโคนใบ

joined ลักษณะที่โคนก้านใบเชื่อมตดิ กันรอบลา้ ตน้
em ลักษณะท่โี คนกา้ นใบเชอื่ มตดิ กับลา้ ตน้

wn onto

ที่ รปู ภาษาอังกฤ
19. clasping petiol

20. sheathing pe
21. Pedate

75

ใบ (leaves) ภาษาไทย
ฤษ

le base ลกั ษณะของฐานกา้ นใบยึดโอบล้าตน้

etiole ก้านใบท่ีมลี กั ษณะห่อหุ้มล้าต้น
ใบทม่ี ลี ักษณะแบบตนี เป็ด เชน่ ใบตน้ ตีนเปด็

4. ช่อดอกและดอก (inflorescences & flowers)

ช่อดอกและดอกนบั วา่ เปน็ ส่วนส้าคญั ของพืชมีลักษณะการติด ช

ลกั ษณะที่ส้าคัญในการจัดจ้าแนกพชื ออกเปน็ หมวดหมู่

ตา้ แหน่งชอ่ ดอก

ที่ ตาแหน่งชอ่ ดอก - ชอ่ ดอ
รปู ภาษาอังกฤ

1. terminal sca

2. ช่อดอก terminal

3. terminal

76
ชนิดของช่อดอก และชนิดของดอกแตกต่างกันตามพืชแต่ละกลุ่ม และเป็น

อกและดอก (inflorescences & flowers)
ฤษ ภาษาไทย

apose ช่อดอกกา้ นโดดอยทู่ ี่ปลาย

l sessile ชอ่ ดอกไมม่ กี ้านอยูท่ ่ีปลาย

l ดอกออกที่ปลายกง่ิ

ที่ ตาแหน่งชอ่ ดอก - ช่อดอ
รปู ภาษาอังกฤ

4. terminal and a

5. axillary to lea
node

6. sessile fascic

7. cauliflorou

8. basal from rh

77

อกและดอก (inflorescences & flowers)
ฤษ ภาษาไทย

axillary ดอกเดย่ี วที่ออกตามซอกใบ

aflets ดอกทอ่ี อกตามซอกใบท่ีหลดุ รว่ งไปแล้ว

cled ดอกทไี่ มม่ กี า้ นชอ่ ดอกออกเป็นกระจุก
us ดอกตามล้าตน้

hizome ดอกออกทีฐ่ านของล้าต้นใต้ดิน (เหง้า)

ชนิดช่อดอก รปู ชนิดช่อดอก - ช่อดอกแ
ที่ ภาษาอังกฤ

1. ray flowe

2. disc flowe

3. syconium

4. cincinnus

78

และดอก (inflorescences & flowers)
ฤษ ภาษาไทย

er ดอกวงนอกของพชื วงศ์ทานตะวนั กลีบดอกมีลักษณะ
เปน็ รูปแถบคล้ายเข็มขัด

er ดอกวงในของพืชวงศ์ทานตะวัน กลีบดอกมีลักษณะ
เชอื่ มกันเป็นหลอด

ดอกแบบมะเดอ่ื ทีด่ อกย่อยอยภู่ ายในฐานดอกที่ขยาย
m ใหญ่ และอวบน้า เรียกว่า fig หรือ synconium ปลายมีมีรู

เปิด

us ช่อดอกวงแถวเด่ียว ช่อดอกแบบกระจุกท่ีมีแกนของ
ชอ่ ดอกมว้ นหรอื ขด

การเรียงของกลีบดอกในตาดอก

ท่ี การเรยี งของกลบี ดอกในตาดอก
รปู ภาษาองั กฤ

1. edge touch

2. edges overla

3. twisted

4. pleated

79

- ชอ่ ดอกและดอก (inflorescences & flowers)
ฤษ ภาษาไทย

hing การเรียงตัวของกลีบดอกจรดกันพอดี

apping การเรยี งตวั ของกลีบดอกซอ้ นเหล่ือมกนั

การเรยี งตัวของกลบี ดอกแบบเรยี งเวียน

d การเรยี งตวั ของกลีบดอกแบบพับจีบ

ชนิดของชอ่ ดอกแบบ Legume

ที่ ชนิดของช่อดอกแบบ Legume
รปู ภาษาองั กฤษ

1. saccate

2. mimosa-type

3. cassia-type

4. pea-type

80

- ช่อดอกและดอก (inflorescences & flowers)
ภาษาไทย

โคนหลอดกลบี ดอกมีลักษณะเหมือนถุง

เป็นช่อกระจุกแน่น ช่อกระจะ หรือช่อเชิงลด ดอกย่อย
ขนาดเล็ก เรียงชิดกันแน่น สมมาตรแบบรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
กลบี ดอก 5 กลบี เชอ่ื ติดกนั ตรงโคนเป็นหลอดสั้นๆ หรือแยกจาก
กนั เกสรตัวผเู้ ปน็ โครงสร้างทีเ่ ด่นของดอก เชน่ ดอกไมยราบ

ดอกเป็นแบบสมมาตรด้านข้าง แต่บางชนิดคล้ายกับเป็น
สมมาตรแบบรัศมี กลีบเลี้ยง 5 กลีบแยกเป็นอิสระ กลีบดอก 5
กลบี เช่น ดอกราชพฤกษ์

ดอกเป็นแบบสมมาตรด้านข้าง กลีบเล้ียง 5 กลีบเช่ือม
ตดิ กันเปน็ หลอด กลีบดอก 5 กลบี แบ่งเปน็ 3 ขนาด กลีบใหญ่อยู่
ด้านบนเรียก กลีบกลาง กลบี ข้าง 1 คู่เรยี ก กลีบคู่ข้าง และกลีบคู่
ล่างเชอ่ื มกนั เปน็ กระโดง เรียกวา่ กลีบคูล่ ่าง เช่น ดอกอัญชัน

สว่ นตา่ ง ๆ ของดอก สว่ นตา่ ง ๆ ของดอก - ช่อด
ที่ รปู ภาษาอังกฤ
1.
throat

2. labellum

3. lip

4. spur

81

ดอกและดอก (inflorescences & flowers)
ฤษ ภาษาไทย

คอหลอดดอก

กลบี ปาก เป็นสว่ นของกลีบดอกท่ีมีขนาดใหญ่และมีสี
m ท่ีแตกต่างจากกลีบดอกส่วนที่เหลือ ใช้เรียกในดอกของ

กลว้ ยไม้

กลีบปาก เปน็ สว่ นของกลบี ดอกท่ีมีขนาดใหญ่และมีสี
ทแ่ี ตกต่างจากกลบี ดอกส่วนทเ่ี หลือ

เดือย เป็นส่วนของกลีบดอกหรือกลีบเล้ียงท่ียืดยาว
ออกไป


Click to View FlipBook Version