The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ict.sesaosp, 2022-11-29 03:41:03

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

เอกสารแนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์ฉบับน้ีจัดทาข้ึน
โดยความร่วมมือของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มูลนิธิแพธทูเฮลท์ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่าย ทงั้ จากภาครัฐและเอกชน
ที่เก่ียวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น เพ่ือให้
โรงเรียนและสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน
ป้องกัน และให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ในวัยเรียนให้ได้รับ
การศึกษาด้วยรูปแบบที่เหมาะสมและต่อเน่ืองจนจบการศึกษา รวมทง้ั ช่วยส่งต่อ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ใหไ้ ด้รับบริการอนามยั การเจริญพันธ์แุ ละสวัสดิการสังคม
เพอ่ื ให้มีคุณภาพชวี ติ ทดี่ ขี ึ้น

แนวทางการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนที่ต้ังครรภ์

สารบัญ 12
13
1บทท่ี 14
15
ความเป็นมา

แนวคิดในการด�ำเนินงาน

สถานการณ์ปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยเรียน

สาเหตุและปัจจัยท่ีท�ำให้เกิดการต้ังครรภ์ของนักเรียน

สถิติและข้อมูลการต้ังครรภ์ของนักเรียน

2บทท่ี

นโยบายและเป้าหมาย เหตุผลและความจ�ำเป็น 21
ในการด�ำเนินงาน ในการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมาย

นโยบายในการด�ำเนินงาน 25
เป้าหมายในการด�ำเนินงาน 27
แนวทางการด�ำเนินงานส�ำหรับเขตพื้นที่การศึกษา 28
แนวทางการด�ำเนินงานส�ำหรับโรงเรียน 30

3บทที่
ระบบการดูแลช่วยเหลือ หลักการและแนวคิดในการดูแลช่วย 38
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ เหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 42
บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์

4บทที่ กระบวนการและขั้นตอนในการด�ำเนินงาน 47
- การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 47
- การคัดกรองและการจัดกลุ่มนักเรียน 49
- การส่งเสริม พัฒนา การป้องกันแก้ไข 51
และการให้ ความช่วยเหลือ 56
- การส่งต่อ

การดูแลช่วยเหลือ เจตคติของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์/ 65
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ผู้ให้การปรึกษา

ความรู้และความเข้าใจในทักษะการส่ือสาร 68
เพื่อการให้การปรึกษา

ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ 96
ผู้ให้การปรึกษา กับการประสานงาน

5บทท่ี
แนวทางการจัดการ บทบาทหน้าที่ของผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา 107
เรียนรู้ส�ำหรับ ให้แก่นักเรียนที่ต้ังครรภ์ 109
แนวทางการจัดท�ำแผนการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 111
นักเรียนต้ังครรภ์ (Guidelines for creating lesson plan for pregnant students)

รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนท่ีต้ังครรภ์

ภาคผนวก 117
บรรณานุกรม 138
140
คณะท�ำงาน

สารบัญแผนผัง

แผนผังท่ี 1 แนวปฏิบัติในการช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ได้เรียน 33
ต่อจนจบการศึกษาและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี

แผนผังที่ 2 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการป้องกัน ดูแล ช่วยเหลือ
คุ้มครอง กรณีการตั้งครรภ์ในโรงเรียน 58

แผนผังที่ 3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนที่ตั้งครรภ์ 115

แผนผังท่ี 4 การจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 116

สารบัญตาราง 16

ตารางท่ี 1 ข้อมูลการเฝ้าระวังการต้ังครรภ์ของแม่วัยรุ่น
พ.ศ. 2563กรมอนามัย

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนทีต่ ง้ั ครรภ์

ถ้าทุกมือเอื้อมไปให้ถึงศิษย์
ชุบชีวิตผิดพลาดอาจพลิกผัน

ได้ลุกขึ้นเรียนรู้อยู่เท่าทัน
น้�ำใจครูส�ำคัญเสมอมา
รักเมตตาห่วงใยให้โอกาส
แต้มเติมวาดดีงามความมีค่า
ในดวงจิตศิษย์ทุกคนคงพัฒนา
จนเข้มแข็งแกร่งกล้าสง่างาม

...สันติสุข สันติศาสนสุข...

1บทท่ี

ความเป็นมา

แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนทีต่ ั้งครรภ์

การจัดการเรียนรูใ้ หน้ กั เรียน

มีคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์

มสี มรรถนะและทักษะ

ความสามารถตาม

เจตนารมณข์ องหลกั สูตร

แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

พุ ทธศกั ราช 2551

ไดต้ ามเป้าประสงค์นัน้ จะต้องอาศัยการปกป้องคุ้มครองและการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี นทกุ คนอยา่ งรอบด้าน ท้ังในด้านสขุ ภาพ สวัสดิภาพ
ชวี ิตความเปน็ อยู่ รวมท้ังการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ จากทกุ ภาคสว่ น
เพ่ือให้นักเรียนทุกคนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษา
อย่างเท่าเทียม ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานจึงให้ความส�ำคัญกับนักเรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มนักเรียนท่ี ประสบปัญหาการต้ังครรภ์ ไม่พร้อม
เปน็ กล่มุ เปา้ หมายสำ� คัญอีกกล่มุ เปา้ หมายหน่งึ ท่ีสำ� นกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มงุ่ ใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา
และจัดบริการทางการศึกษาอย่างเหมาะสมเช่นเดียวกับ
นกั เรยี นในกลมุ่ เปา้ หมายอ่นื ๆไมม่ นี กั เรยี นคนใดมคี วามสขุ
จ า ก ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ใ น ข ณ ะ ท่ี ต น เ อ ง ยั ง เ ป็ น นั ก เ รี ย น
การต้ังครรภ์ไม่พร้อมหรือการเป็นพ่อแม่วัยใสคือชีวิต
ท่ีก้าวพลาด อันเป็นผลของช่วงวัยท่ีฮอร์โมนเพศก�ำลัง
เจรญิ เติบโตอยา่ งรวดเรว็ ท่ีรูจ้ ักกันโดยท่ัวไปว่าภาวะความเปน็
หนุ่มสาว การเปล่ียนแปลงทางร่างกายส่งผลต่อจิตใจ
อารมณ์ และสติปัญญา นักเรียนช่วงวัยรุ่นต้ังแต่ระดับ
ประถมศกึ ษาไปจนถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายเปน็ ชว่ งวยั

ท่ีก�ำลังอยากรู้อยากลองต้องการการยอมรับจากเพ่ือน
จึ ง มั ก ถู ก ชั ก จู ง ไ ด้ ง่ า ย ป ร ะ ก อ บ กั บ ก า ร ข า ด ทั ก ษ ะ
ในการยบั ย้งั ช่งั ใจ ขาดความตระหนกั รูใ้ นคณุ ค่าของตนเอง
ขาดทกั ษะชวี ติ และขาดความสามารถในการจดั การกบั อารมณ์
และความเครียด ก็ยิ่งส่งผลให้มีพฤติกรรมเส่ียงโดยเฉพาะ
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

บทท่ี 1 ความเป็นมา 11

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนที่ตง้ั ครรภ์

สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานและหนว่ ยงาน
ในสังกดั ไดด้ ำ� เนนิ การพัฒนาโรงเรยี นทกุ แหง่ ใหม้ รี ะบบการดแู ล
ช่วยเหลือนักเรียนมาอย่างต่อเน่ือง อีกท้ังยังได้สร้างกลไก
ในการปกป้องคุ้มครองนักเรียนทุกคน โดยให้โรงเรียนได้ใช้
เป็นเครื่องมือและแนวทางในการด�ำเนินงานควบคู่ไปกับการจัด
การเรยี นรทู้ มี่ งุ่ พัฒนาส่งเสรมิ ศกั ยภาพ ทกั ษะความสามารถตาม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรภายใต้บรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมท่ีอบอุ่นปลอดภัย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าโรงเรียน
จะมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และมีกระบวนการปกป้อง
คุ้มครองนักเรียนทม่ี ปี ระสิทธิภาพในระดับหน่งึ แต่ก็ยังไม่เพียงพอ
ที่จะปกป้ องคุ้มครองและให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ที่ประสบปัญหาได้ในทุกสภาพและลักษณะธรรมชาติของแต่ละ
กรณีปัญหา โดยเฉพาะอย่างย่งิ กับกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นท่ปี ระสบ
ปั ญ ห า ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ไ ม่ พ ร้ อ ม แ ล ะ เ ป็ น ส า เ ห ตุ ส� ำ คั ญ อี ก
ประการหน่ึงท่ีส่งผลให้นักเรียนบางส่วนไม่สามารถอยู่ในระบบ
การศึกษาได้ตลอดหลักสูตร จนน�ำไปสู่ความสูญเปล่าทาง
การศึกษาเน่ืองจากการออกกลางคันในทุกปีการศึกษา

จากสถานการณ์ปัญหาดั งได้ กล่ าวไว้ ข้างต้ น ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานและหนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน
ท่ีเก่ียวข้องจึงได้ประสานทรัพยากร องค์ความรู้ และพลังความร่วมมือ
ในการก�ำหนดนโยบายและแนวทางในการป้องกัน แก้ไข และให้
ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีประสบปัญหาการต้ังครรภ์ให้ได้รับการศึกษา
ขน้ั พ้นื ฐานจนจบหลกั สตู รควบคไู่ ปกบั การพฒั นาทกั ษะชวี ติ การใหบ้ รกิ าร
ด้านสุขภาพอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคม
อย่างเหมาะสม

12 บ ทท่ี 1 ความเป็นมา

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ตี ัง้ ครรภ์

วัยรุ่นเป็นช่วงเวลาท่ีดีท่ีสุดช่วงหน่ึงของ ท่ีล้วนแต่เป็นอุปสรรคให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ต้อง
ชี วิ ต เ พ ร า ะ เ ป็ น ช่ ว ง เ ว ล า ท่ี ยั ง ไ ม่ มี ปั ญ ห า แ ล ะ ปรับตั วและมีโอกาสค่ อนข้างน้อยท่ี จะส�ำเร็จ
ภาระหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบเหมอื นผใู้ หญ่ สมรรถนะ การศึกษาได้เหมือนนักเรียนปกติท่ัวไป
ของร่างกายมีความพร้อมสามารถใช้อวัยวะทุกส่วน
อย่างเต็มท่ี มีจิตใจแจ่มใสร่าเริงเบิกบานพร้อมท่ีจะ ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ข อ ง วั ย รุ่ น อ า ยุ 1 0 - 1 4 ปี
สนุกสนานกับเร่ืองราวต่าง ๆ ได้โดยง่าย สามารถ ในระยะ 10 ปีท่ีผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขระบุว่า
เรียนรู้เร่ืองรอบตัวได้อย่างรวดเร็ว สมองสามารถ มีการต้ังครรภ์มากกว่า 23,000 ราย โดยมีการ
ท่ีจะแสดงออกถึงความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ วัยรุ่น ส�ำรวจกลุ่มวัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์และคลอดบุตร ช่วงปี
ทุ ก ค น มั ก มี พ ร ส ว ร ร ค์ แ ล ะ พ ลั ง จิ น ต น า ก า ร 2552 – 2562 พบว่า ในปี 2555 มีวัยรุ่นคลอดบุตร
มาแต่ก�ำเนดิ มศี กั ยภาพท่ีจะสรรค์สรา้ งประโยชนส์ ขุ มากท่ีสุดถึง 3,710 ราย เฉล่ีย 10 รายต่อวัน และ
ใหแ้ ก่ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ น้อยท่ีสุดในปี 2562 จ�ำนวน 2,180 คน เฉล่ีย 5
แตเ่ น่อื งจากวยั รุน่ แตล่ ะคนมตี น้ ทนุ ชวี ติ ทแ่ี ตกตา่ งกนั รายต่อวัน นอกจากน้ี ส�ำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
บ า ง ค น ใ ช้ ชี วิ ต อ ยู่ ใ น สั ง ค ม แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ยังระบุว่า มีจ�ำนวนแม่วัยใสช่วงอายุ 10 - 17 ปี
ท่ีไม่สร้างสรรค์จึงชักน�ำให้การด�ำเนินชีวิตเป็นไป คลอดทารกเฉล่ียจ�ำนวน 173 รายต่อวัน ในปี 2555
อย่างยากล�ำบาก วัยรุ่นหลายคนก้าวพลาดจึงต้อง และ 81 รายต่อวัน ในปี 2562 และจากการศึกษา
ใช้ความพยายามอย่างหนักกว่าจะประสบความ วิเคราะห์ยังพบว่า ก่อนต้ังครรภ์แม่วัยรุ่นส่วนใหญ่
ส�ำเร็จในชีวิต ปัจจุบันปัญหาการต้ังครรภ์ของวัยรุ่น ยังเป็นนักเรียนท่ีก�ำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนถึงร้อย
ขณะท่ียังเป็นนักเรียนเป็นประเด็นท่ีสังคมก�ำลังให้ ละ 48.5 โดยหยุดเรียนหรือลาออกจากโรงเรียนหลัง
ความสนใจเน่อื งจากสง่ ผลกระทบตอ่ ตวั นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์ การต้ังครรภ์ถึงรอ้ ยละ 43.7 และหลังจากคลอดทารก
และมีปัญหาต่าง ๆ ในหลายมิติ ได้แก่ การใช้ชีวิต สว่ นใหญต่ อ้ งเลย้ี งดลู กู อยกู่ บั บา้ น ซง่ึ มเี พยี งรอ้ ยละ 23
ในโรงเรียนการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรด้าน ท่ีกล้าเข้าเรียนในโรงเรียน แม่วัยรุ่นท่ีเป็นนักเรียน
อนามัยการเจริญพันธุ์ ด้านสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละ 100 ต้ังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ สาเหตุ
การมงี านท�ำและรายได้ ด้านทัศนคติและค่านยิ มของ สว่ นใหญเ่ กดิ จากการมเี พศสมั พนั ธโ์ ดยไมไ่ ดต้ ัง้ ใจและ
คนในสังคม ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี รวมท้ัง ไม่รู้จักวิธีคุมก�ำเนิด ส่วนใหญ่เรียนรู้เร่ืองเพศ
ข้อก�ำหนดในตัวบทกฎหมายต่าง ๆ และปัญหาอ่ืน ๆ ดว้ ยตนเองและกลมุ่ เพ่อื น เรยี นรูจ้ ากส่อื ตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ ถงึ
ได้ง่าย ท้ังน้ี มีงานวิจัยจ�ำนวนมากรายงานตรงกันว่า

บทท่ี 1 ความเป็นมา 13

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นที่ตัง้ ครรภ์
วัยรุ่นชายหญิงอยู่ด้วยกันเป็นคู่ในหอพักระหว่างท่ีออกจากบ้านไปเรียนหนังสือ มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนโดย
ผู้ปกครองไม่ทราบ ขาดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการต้ังครรภ์และทักษะพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็นต่อการเล้ียงทารก
แม่วัยรุ่นหลายรายยังไม่มีวุฒิภาวะเพียงพอต่อการเป็นแม่จึงน�ำไปสู่การท�ำร้ายทารก ท�ำร้ายตัวเองหรือไม่ก็
ท�ำแท้งแบบผิดกฎหมายในหลายกรณี การต้ังครรภ์ในวัยเรียนเป็นการต้ังครรภ์แบบไม่พึงประสงค์ จึงมัก
น�ำไปสู่สถานการณ์ปัญหาสังคมตามมาในหลายรูปแบบ อาทิ การท�ำแท้งด้วยวิธีการต่าง ๆ ด้วยตนเอง หรือใช้
บริการแบบผิดกฎหมาย การน�ำทารกไปทิ้ง การก่ออาชญากรรมต่อทารกและอ่ืน ๆ ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นเร่ือง
ท่ีน่าเศร้าสลดใจท่ียังพบเห็นในสังคมไทยอยู่เสมอ

สถานการณ์การตั้งครรภ์ไม่พร้อมแม้จะมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง
แต่ก็เป็นสถานการณ์ท่ีส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของวัยรุ่นอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
จำ� เปน็ ทที่ กุ ภาคส่วนตอ้ งรว่ มมอื กนั เพ่ือการปอ้ งกนั แกไ้ ขมใิ หเ้ ปน็ ปญั หาทซ่ี กุ ซอ่ น
อยใู่ นครอบครัว สถาบันการศึกษา ชุมชน และสังคม เหตุและปัจจัยทที่ ำ� ใหว้ ยั รนุ่
วยั เรยี นตงั้ ครรภใ์ นเวลาทยี่ งั ไมเ่ หมาะควร ส่วนมากเกิดจาก

1. การขาดความรู้ ความเข้าใจ และได้รับข้อมูลท่ีไม่ถูกต้องเก่ียวกับเร่ืองเพศ
การมีเพศสัมพันธ์ อนามัยการเจรญิ พันธุ์และวิธกี ารปอ้ งกันการต้ังครรภ์

2. การมเี พศสัมพันธโ์ ดยไมใ่ ชอ้ ุปกรณค์ ุมก�ำเนิด
3. วัฒนธรรมความเช่ือและทัศนคติบางอย่างเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้เพศศึกษา

การคุมก�ำเนดิ และบรกิ ารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
4. ทัศนคติและพฤติกรรมเชิงลบของผู้ปกครอง ครู และผู้ให้บริการเป็นอุปสรรค

ต่อการเขา้ ถึงด้านสขุ ภาพอนามยั ด้านสงั คมสงเคราะห์ ด้านการส่อื สารกับวัยรุน่ และ
การขอความชว่ ยเหลือต่าง ๆ

14 บ ทท่ี 1 ความเป็นมา

แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นที่ตง้ั ครรภ์

แมว้ ่าพระราชบญั ญตั ิการปอ้ งกันและแก้ไข ปรากฏให้เห็นอย่างต่อเน่ือง โดยข้อมูลจากรายงาน
ปญั หาการต้งั ครรภใ์ นวยั รุน่ พ.ศ. 2559 ออกประกาศ การเฝ้าระวังการต้ังครรภ์ของแม่วัยรุ่น พ.ศ. 2563
ใช้และกระทรวงศึกษาธิการยังได้ออกประกาศ ทก่ี รมอนามยั ทำ� การสำ� รวจจากแมว่ ยั รนุ่ ทม่ี ารบั บรกิ าร
กระทรวงโดยได้ก�ำหนดประเภทของสถานศึกษา ต ร ว จ ห ลั ง ค ล อ ด ท้ั ง ห ม ด โ ด ย ยิ น ย อ ม ต อ บ
และการด�ำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกัน แบบสอบถามด้วยความสมัครใจ (ระหว่างวันท่ี 1
และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 เมษายน ถึง 31 พฤษภาคม 2563 ในหน่วยบริการ
ทย่ี ้ำ� ในขอ้ 7 วา่ สถานศกึ ษาทม่ี นี กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา 105 แห่ง 34 จังหวัด ) จ�ำนวน 1,078 ราย อายุ
ซ่งึ ต้ังครรภ์อยูใ่ นสถานศกึ ษาต้องไมใ่ หน้ กั เรยี นหรอื เฉล่ีย 17 ปี เร่ืองสถานะการศึกษาและอาชีพ พบว่า
นักศึกษาน้ันออกจากสถานศึกษาดังกล่าว เว้นแต่ ก่อนต้ังครรภ์มีสถานะเปน็ นกั เรียน นักศกึ ษา ร้อยละ
เป็นการย้ายสถานศึกษา รวมถึงการท�ำข้อตกลง 33.3 โดยแม่วัยรุ่นท่ีเรียนในระบบการศึกษาขณะ
รว่ มกัน (MOU) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวง ต้ังครรภ์ต้องหยุดเรยี นหรอื ลาออก ร้อยละ 45.8 และ
สาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนาสังคมและ หลังจากคลอดบุตร ส่วนใหญ่อยู่บ้านเพ่ือเล้ียงดูบุตร
ความม่ันคงของมนุษย์ เพ่ือช่วยเหลือนักเรียน ร้อยละ 48.6 และกลับมาเรียนในโรงเรียนเดิมเพียง
ท่ีต้ังครรภ์ให้ได้เรียนต่อ แต่สถานการณ์นักเรียน ร้อยละ 29.3 ดังข้อมูลการเฝ้าระวังการต้ังครรภ์ของ
ท่ีต้ังครรภ์และต้องออกจากระบบการศึกษายังคง แมว่ ัยรุน่ พ.ศ. 2563 ของกรมอนามัย

บทที่ 1 ความเป็นมา 15

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทีต่ ัง้ ครรภ์

เรยี นในระบบ เรยี นนอกระบบ

สถานะการศกึ ษา จ�ำนวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ

ขณะต้ังครรภ์ n = 297 n = 57
ยังเรียนในโรงเรียนเดิม 102 34.3

ย้ายโรงเรียน 3 1.0

เรียนนอกระบบการศึกษา 8 2.7 45 78.9

พักการศึกษาช่ัวคราว 23 7.8 3 5.3

หยุดเรียน/ลาออก 136 45.8 7 12.3

จบการศึกษา (ไม่ศึกษาต่อ) 25 8.4 2 3.5

หลังคลอด n = 290 n = 57

ยังเรียนในโรงเรียน 85 29.3

ย้ายโรงเรียน 9 3.1

เรียนนอกระบบการศึกษา 35 12.1 26 45.6

อยู่บ้านเพ่ือเล้ียงลูก 141 48.6 25 43.9

ท�ำงาน 20 6.9 6 10.5

ตารางที่ 1 ข้อมูลการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ของแม่วัยรุ่น พ.ศ. 2563 กรมอนามัย

ข้อมูลข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ต้องเผชิญสถานการณ์ท้าทายกับการเรียนให้จบ
หลักสูตร ท้ังระหว่างท่ีต้ังครรภ์และเม่ือคลอดแล้ว โดยระหว่างต้ังครรภ์อาจต้องพบกับความไม่เข้าใจของ
คนรอบขา้ งท้งั จากครอบครวั โรงเรยี นและเพ่อื นความเปลย่ี นแปลงของสรรี ะภาวะดา้ นจติ ใจความวติ กกงั วลตา่ งๆ
ในขณะท่ีหลังคลอดแล้ว นักเรียนจ�ำนวนหน่ึงอาจต้องลาออกหรือหยุดเรียนเพ่ือเล้ียงลูกเน่ืองจากครอบครัว
ไม่มีใครดูแลเด็กท่ีเกิดมา ในขณะท่ีอีกจ�ำนวนหน่ึงต้องลาออกมาท�ำงานหารายได้ เน่ืองจากครอบครัวมีฐานะ
ยากจน ซ่ึงสถานการณ์ข้างต้นไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิม
เติมและพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ท่ีว่า “การจัดการศึกษา
ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ท่ีรัฐต้องจัดให้
อยา่ งทว่ั ถงึ มคี ณุ ภาพและไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย” อ าจกลา่ วไดว้ า่ การทแ่ี มว่ ยั รุน่ คนหนง่ึ จะสามารถเลย้ี งดบู ตุ รใหม้ คี ณุ ภาพ
ชีวิตท่ีดีจะต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ เช่น สวัสดิการทางสังคมหลังคลอด เงินอุดหนุนการเล้ียงบุตร สถานท่ี
รับเล้ียงเด็กแรกเกิด การได้รับการคุมก�ำเนิดเพ่ือการป้องกันการท้องซ้�ำ การสนับสนุนโอกาสทางการศึกษา
ฯลฯ เพ่ือช่วยให้แม่วัยรุ่นสามารถกลับมาเรียนได้ตามปกติ อย่างไรก็ตาม “โรงเรียน” ถือเป็นส่วนส�ำคัญ
ในการส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นดีข้ึนได้ ด้วยการมีนโยบายด้านการเรียนการสอนท่ีสอดคล้อง
ต่อวิถีของวัยรุ่นหลังคลอด เช่น การจัดรูปแบบการเรียนรู้และแผนการเรียนรู้รายบุคคล การช่วยเหลือ

16 บ ทที่ 1 ความเป็นมา

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทตี่ ้งั ครรภ์ วิธีนับ เช่น นับจาก on site online หรือ
การแปลงผลงานเป็นช่ัวโมงเรียน) ท�ำให้
ดา้ นการปรบั ตวั การใชช้ วี ติ ในโรงเรยี น การจดั สง่ิ แวดลอ้ ม ครูฝา่ ยวชิ าการกงั วลเร่อื งนบั เวลาเรยี นเพราะ
ทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้และการประสานกบั หนว่ ยงานอ่นื ๆ นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ส่วนใหญ่จะให้ท�ำงาน
เ พ่ื อ ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ทบ่ี า้ นและนำ� มาสง่ หรอื ใชว้ ธิ สี อนทางออนไลน์
ความเปน็ อยตู่ ามความจำ� เปน็ รายบคุ คล อยา่ งไรกต็ าม เปน็ ตน้
จากการส�ำรวจข้อมูลและสัมภาษณ์เชิงลึกนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์และครอบครวั รวมถึงผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 3. ลั ก ษ ณ ะ ท า ง สั ง ค ม ท่ี เ ป ล่ี ย น ไ ป แ ล ะ
และคณะครูท่ีเก่ียวข้อง 10 กรณี โดยมูลนิธิแพธทูเฮลท์ ความคล่ีคลายของกฎหมาย ครูอาจต้องปรบั
พบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่ยังไม่ทราบรายละเอียด วิธีคิดเร่ืองการมีนักเรียนท่ีต้ังครรภ์เรียนอยู่
พระราชบญั ญตั กิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภ์ ในโรงเรียนจะเป็นตัวอย่างท่ีไม่เหมาะสม
ใ น วั ย รุ่ น แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง บ า ง ก ร ณี ให้กับนักเรียนคนอ่ืน เป็นการช่วยสนับสนุน
เม่อื ทราบวา่ นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภก์ จ็ ะใหอ้ อกจากการเรยี น ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี ดี
แต่เม่ือพบว่ามีกฎหมายคุ้มครอง จึงให้เรียนต่อ และเรียนจนจบการศึกษาตามความต้ังใจ
แต่ไม่ได้จัดระบบท่ีเอ้ืออ�ำนวยให้นักเรียนได้เรียนต่อ เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ท่ีใช้ประกอบอาชีพ
อย่างมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยพบสถานการณ์ท้าท้าย ในอนาคต ซ่ึงเท่ากับได้ช่วยให้เด็กท่ีเกิดมา
ในการชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้งั ครรภ์ท่ีเกิดข้นึ ท้ังในเชงิ เปน็ ประชากรท่ีมคี ณุ ภาพด้วย
กฎหมาย นโยบาย และทัศนคติของบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง
กับเร่อื งดังกล่าว ดังน้ี 4. มุมมองเร่ืองการลงทุนกับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
ซ่ึงมีจ�ำนวนน้อยเทียบกับทรัพยากรท่ีมีอยู่
1. โรงเรยี นยงั มรี ะเบยี บและแนวปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มต่ รงกนั อย่างจ�ำกัด โดยครูอาจต้องปรับมุมมอง
เก่ียวกับสถานะในการรับนักเรียน โดยระบุ ตอ่ เร่อื งนว้ี า่ นกั เรยี นทกุ คนเปน็ ทรพั ยากรมนษุ ย์
สถานะว่าจะต้อง “โสด” ซ่งึ เปน็ ระเบยี บท่ีใช้ ท่ีมีคุณค่าในการพัฒนาประเทศ และการ
ส�ำหรับการรับนักเรียนเข้าศึกษาใหม่ แต่ถูก ลงทุนกับมนุษย์เป็นส่ิงท่ีคุ้มค่าเสมอ ท้ังน้ี
ตีความครอบคลุมใช้กับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ หากพิจารณาแนวโน้มโครงสร้างประชากร
ซง่ึ เรยี นอยใู่ นโรงเรยี นทำ� ใหร้ สู้ กึ วา่ การอนญุ าต ท่ีจะมีผู้สูงอายุมากข้นึ และเด็กแรกเกิดลดลง
ให้เด็กท้องได้เรียนต่อในโรงเรียนเดิม คือ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื วยั รุน่ ทต่ี ้งั ครรภจ์ งึ สำ� คญั
การทำ� ผดิ ระเบยี บทง้ั น้ีบางโรงเรยี นไดอ้ อกระเบยี บ ต่อการสร้างความเข้มแข็งให้กับประชากร
เร่อื ง “โสด” ใชค้ รอบคลมุ กบั นกั เรยี นคนอ่นื ๆ ทเ่ี กดิ ใหมแ่ ละวางรากฐานใหก้ บั วยั รนุ่ ทจ่ี ะเขา้ สู่
ไมไ่ ดใ้ ชแ้ ตเ่ พยี งการรบั นกั เรยี นใหมเ่ ทา่ นน้ั ตลาดแรงงานในอนาคตได้อย่างมีคุณภาพ
(ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา
2. ความเข้าใจเก่ียวกับข้อมูลเวลาของการวัด การต้ังครรภ์ในวัยรุน่ ระดับชาติ พ.ศ. 2560 -
ประเมนิ ผล โดยเฉพาะเร่อื ง “เวลาเรยี นทต่ี อ้ ง 2569) ประกอบกับเคร่อื งมอื และเทคโนโลยี
ไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 80” (หลักสูตรแกนกลาง ปัจจุบันท่ีเอ้ือให้การเรียนการสอนสะดวก
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระบุ มากข้ึน เช่น โปรแกรมการสอนออนไลน์
การตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชาระดับ โ ป ร แ ก ร ม / แ อ พ ลิ เ ค ช่ั น ส น ท น า แ ล ะ ส่ ง
มัธยมศึกษาว่า นักเรียนต้องมีเวลาเรียน ไฟล์งาน ก็ชว่ ยลดภาระเร่อื งจ�ำนวนบุคลากร
ตลอดภาคเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ80ของเวลาเรยี น และเวลาในการสอนใหก้ ับนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์
ทง้ั หมดในรายวชิ านน้ั ๆ โดยไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด
บทที่ 1 ความเป็นมา 17

แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นท่ีตั้งครรภ์

5. มุมมองเร่ืองความผิดพลาดเร่ืองเพศกับ ท้ังน้ี ครูอาจจจะต้องปรับเปล่ียนมุมมองว่า
โอกาสท่ีไม่ควรได้รับทัดเทียมกับคนอ่ืน เช่น เร่ืองเพศสัมพันธ์สามารถเกิดข้ึนได้ในวัยรุ่น และ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ไม่ควรได้รับโอกาสเรียน ไม่มีนักเรียนคนใดต้ังใจต้ั งครรภ์ โดยไม่พร้อม
ในระบบเหมอื นเพ่อื นแตค่ วรไปเรยี นการศกึ ษา แต่ด้วยบริบททางสังคมท่ีไม่เปิดโอกาสนักเรียน
นอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย หรือ ไดเ้ รยี นรแู้ ละฝกึ ทกั ษะในการเขา้ ถงึ บรกิ ารความชว่ ยเหลอื
ย้ายไปเรียนท่ีอ่ืน ซ่ึงมุมมองข้อน้ีส่งผลต่อ เม่ือเกิดปัญหา ในฐานะผู้ใหญ่จึงควรให้โอกาสใน
การตีความกฎหมายท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียน ความผิดพลาดน้ันโดยยึดการตัดสินใจของนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์ได้เรียนต่อ โดยเจตนารมณ์ของ ท่ีต้ังครรภ์ และใช้โอกาสน้ีในการสร้างการเรียนรู้
กฎหมายในการให้ย้ายโรงเรียน คือ ให้ยึด เ ร่ื อ ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ ห้ กั บ
การตัดสินใจของนกั เรยี นเป็นหลัก นักเรียนด้วย

18 บ ทที่ 1 ความเป็นมา

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนทต่ี ้ังครรภ์

วัยรุ่นเป็นความหวัง
คือพลังของสังคม
ฟันฝ่าไฟอารมณ์
อย่าให้ล้มลงกลางทาง
วัยรุ่นผู้ผิดพลาด
เพราะประมาทต่อโลกกว้าง
โอกาสอาจวายวาง
ควรซ่อมสร้างอย่างเข้าใจ

...สันติสุข สันติศาสนสุข...

บทท่ี 1 ความเป็นมา 19

2บทที่
นโยใบนากยาแรลดะเ�ำปเน้าหินมงาานย

แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นทีต่ ั้งครรภ์

เหตุผลและความจ�ำเป็น

ในการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมาย

จากขอ้ มลู เชิงสถติ ิและ
สถานการณ์ที่เป็นปัญหา
ดังกล่าวไว้ในบทท่ีผา่ นมา

จึงเป็นเหตุผลและความจ�ำเป็นท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งให้
ความชว่ ยเหลือนักเรียนท่ีก้าวพลาดจนต้ังครรภ์ในวัยเรียน
ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาด้วยวิธกี ารหรอื กระบวนการจัดการเรยี น
ท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพความต้องการจ�ำเป็นของ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ท้ังน้ี อาจใช้วิธีการยืดหยุ่นหลักสูตร
และแผนการเรียน วิธีการจัดการเรียนรู้ การนับเวลาเรียน
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวัดและประเมินผล
รวมถึงเกณฑ์การจบหลักสูตรโดยเทียบเคียงกับวิธีการ
จดั การศกึ ษาในสถานการณท์ ไ่ี มเ่ ปน็ ปกติเชน่ ภยั พบิ ตั ิโรคระบาด
และอ่นื ๆ ทน่ี ยิ มใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เคร่อื งมอื ในการจดั บรกิ าร
ทางการศึกษา เพ่ือให้นักเรียนท่ีก�ำลังประสบปัญหาได้
รับการดูแลช่วยเหลือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีโอกาส
ได้ศึกษาต่อได้อย่างเพียงพอต่อการสร้างรากฐานให้กับ
อนาคตของตนเอง

การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียนท่ีประสบปัญหา
การต้ังครรภ์ในวัยเรียน อาจเป็นเร่ืองใหม่ส�ำหรับผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูบางคน จึงเป็นเร่ืองจ�ำเป็นท่ีทุกฝ่าย
จะตอ้ งเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทง้ั ในเชงิ ปอ้ งกนั แกไ้ ขการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
และการสร้างเครือข่ายเพ่ือการแลกเปล่ี ยนเรียนรู้

บทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 21

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนท่ตี ้งั ครรภ์

ตลอดจนการแสวงหาแนวทางและนวั ตกรรม สงิ่ อำ� นวยความสะดวก ส่อื บรกิ าร และความชว่ ยเหลอื
ในการพฒั นารูปแบบการจัดการศกึ ษาใหก้ ับเด็กและ อ่ืนใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
เยาวชนทุกคนซ่ึงมีสภาพปัญหาและความต้องการ ทก่ี ำ� หนดในกระทรวง
จ�ำเป็นท่ีแตกต่างกัน ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการยกระดับ
คุณภาพของทรัพยากรมนุษย์และลดปัญหาสังคม ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ส� ำ ห รั บ บุ ค ค ล ซ่ึ ง มี
ท่ีล้วนแต่จะส่งผลถึงสวัสดิภาพและความม่ันคงของ ความสามารถพเิ ศษ ตอ้ งจดั ดว้ ยรปู แบบทเ่ี หมาะสม
มนษุ ยท์ กุ คน เพราะการปลอ่ ยปละละเลยหรอื ทอดทง้ิ โดยคำ� นงึ ถงึ ความสามารถของบุคคลน้ัน
ใ ห้ เ ด็ ก เ ผ ชิ ญ ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ใ น ชี วิ ต ต า ม ล� ำ พั ง
ยอ่ มไมเ่ ปน็ ผลดตี อ่ ระบบสงั คมเศรษฐกจิ และความสงบ 2. พระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิเด็ก
เรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง ดังน้นั การปอ้ งกัน แก้ไข และ พ.ศ. 2546
การให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์นอกจาก
จะสง่ ผลดตี อ่ นกั เรยี นแตล่ ะคนแลว้ ยงั เปน็ การดำ� เนนิ งาน มาตรา 22 การปฏบิ ตั ติ อ่ เดก็ ไมว่ า่ กรณใี ด
ท่ีเป็นไปตามหลักของกฎหมายและระเบียบปฏิบัติ ใหค้ ำ� นงึ ถงึ ประโยชนส์ งู สดุ ของเดก็ เปน็ สำ� คญั และ
ท่ีมอี ยูใ่ นทกุ ระดับ ดังน้ี ไมใ่ หม้ กี ารเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม

1. พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ การกระทำ� ใดเปน็ ไปเพ่อื ประโยชนส์ งู สดุ
พ.ศ. 2542 ของเดก็ หรอื เปน็ การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม
ต่อเด็กหรอื ไม่ ใหพ้ จิ ารณาตามแนวทางท่ีก�ำหนด
มาตรา 6 การจดั การศกึ ษาตอ้ งเปน็ ไปเพ่อื ในกฎกระทรวง
พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย
จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรู้ และคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรม 3. พระราชบัญญัติการป้องกัน
และวฒั นธรรมในการดำ� รงชวี ติ สามารถอยรู่ ว่ มกบั และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุน่
ผอู้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ พ.ศ. 2559

มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้ มาตรา 5 วยั รุน่ มสี ทิ ธติ ดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับ และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐ การบรกิ ารอนามยั การเจรญิ พนั ธุ์ไดร้ บั การรกั ษาความลบั
ตอ้ งจดั ใหอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ มคี ณุ ภาพและไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย และความเปน็ สว่ นตวั ไดร้ บั การจดั สวสั ดกิ ารสงั คม
อยา่ งเสมอภาคและไมถ่ กู เลอื กปฏบิ ตั ิและไดร้ บั สทิ ธิ
ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ส� ำ ห รั บ บุ ค ค ล ซ่ึ ง มี อ่ืนใดท่ีเปน็ ไปเพ่อื ประโยชนต์ ามพระราชบญั ญตั ิ
ความบกพรอ่ งทางรา่ งกายจติ ใจสตปิ ญั ญาอารมณส์ งั คม นอ้ี ยา่ งถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และเพยี งพอ
การส่อื สารและการเรยี นรูห้ รอื มรี า่ งกายพกิ ารหรอื
ทุพพลภาพหรือบุคคลซ่งึ ไม่สามารถพึงตนเองได้ มาตรา6ใหส้ ถานศกึ ษาดำ� เนนิ การปอ้ งกนั
หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาสต้องจัดให้บุคคล และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รุน่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ดงั กลา่ วมสี ทิ ธแิ ละโอกาสไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
เปน็ พเิ ศษ การศกึ ษาสำ� หรบั คนพกิ าร ในวรรคสอง (1) จดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนเร่อื งเพศวถิ ศี กึ ษา
ใหจ้ ดั ต้งั แตแ่ รกเกิดหรอื พบความพกิ ารโดยไมเ่ สยี
ค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับ ใหเ้ หมาะสมกับชว่ งวัยของนกั เรยี น หรอื

นกั ศกึ ษา

22 บ ทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนทต่ี ง้ั ครรภ์

(2) จดั หาและพฒั นาครผู สู้ อนใหส้ ามารถสอน (ข) ประกาศมบี ตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู
เพศวิถีศึกษาและให้ค�ำปรึกษาในเร่ือง (ค) ป ริ ญ ญ า ต รี ส า ย เ ท ค โ น โ ล ยี ห รื อ
การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการต้งั ครรภ์
ในวยั รุน่ แกน่ กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา สายปฏิบัติการ

(3) จัดให้มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ และ (3) สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในระดับ
คมุ้ ครองนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาซง่ึ ตง้ั ครรภ์ อุดมศึกษา
ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาดว้ ยรปู แบบทเ่ี หมาะสม
และต่อเน่ือง รวมท้ังจัดให้มีระบบการ ข้อ 5 ให้สถานศึกษาตามข้อสองจัดหาและ
สง่ ตอ่ ใหไ้ ดร้ บั บรกิ ารอนามยั การเจรญิ พนั ธุ์ พัฒนาผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถ มีทัศนคติ
และการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมอยา่ งเหมาะสม ท่ีดีและมีทักษะการสอนท่ีเหมาะสม รวมท้ังเข้าใจ
จิตวิทยาการเรียนรู้ของนักเรียนหรือนักศึกษาแต่ละ
ตามก�ำหนดประเภทของสถานศึกษาและ ร ะ ดั บ ท่ี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง
การดำ� เนนิ การของสถานศกึ ษาแตล่ ะประเภทใหเ้ ปน็ ไป สถานศกึ ษานน้ั ท้งั น้ี เพ่อื ใหส้ ามารถสอนเพศวถิ ศี กึ ษา
ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ วิ ธี ก า ร แ ล ะ เ ง่ ื อ น ไ ข ท่ี ก� ำ ห น ด ใ น ทักษะชีวิตและให้ค�ำปรึกษาในเร่ืองการป้องกันและ
กฎกระทรวง แก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นแก่นักเรียนหรือ
นักศึกษา
4. ประกาศกฎกระทรวงก�ำหนดประเภท
ของสถานศกึ ษาและการด�ำเนินการ ในกรณีท่ีสถานศึกษาตามข้อ 2 มีผู้สอน
ของสถานศกึ ษาในการป้องกันและ เพศวิถีศกึ ษา ทกั ษะชวี ิต และใหค้ �ำปรกึ ษาไมเ่ พยี งพอ
แก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุน่ ให้สถานศึกษาน้ันประสานงานกับหน่วยงานของ
พ.ศ. 2561 รัฐหรือหน่วยงานของเอกชนท่ีเก่ียวข้อง หรือผู้ซ่ึง
มคี วามรูค้ วามสามารถในการสอนเพศวถิ ศี กึ ษา ทกั ษะชวี ติ
ขอ้ 2 ใหส้ ถานศกึ ษาแต่ละประเภทดังต่อไปน้ี แ ล ะ ใ ห้ ค� ำ ป รึ ก ษ า ต า ม ว ร ร ค ห น่ึ ง เ พ่ื อ ข อ รั บ
ด�ำเนนิ การป้องกันและแก้ไขปัญหาต้ังครรภ์ในวัยรุน่ การสนับสนุนหรือท�ำหน้าท่ีเป็นผู้สอนเพศวิถีศึกษา
ทักษะชีวิต และให้ค�ำปรึกษาดังกล่าวให้เหมาะสม
( 1 ) ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี มี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า และเพียงพอ
ข้ันพ้ืนฐานในระดับดังต่อไปน้ี
ข้อ 7 สถานศึกษาตามข้อ 2 ท่ีมีนักเรียนหรือ
(ก) ระดบั ปฐมศกึ ษา นักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์อยู่ในสถานศึกษาต้องไม่ให้
(ข) ระดบั มธั ยมศกึ ษา นั ก เ รี ย น ห รื อ นั ก ศึ ก ษ า น้ั น อ อ ก จ า ก ส ถ า น ศึ ก ษ า
ดังกล่าว เว้นแต่เป็นการย้ายสถานศึกษา
(2) สถานศึกษาท่ีจัดการอาชีวศึกษาตาม
หลักสูตรดังต่อไปน้ี ให้สถานศึกษาตามวรรคหน่ึง จัดให้มีระบบ
การดูแล ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือ
(ก) ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี นักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์ให้ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบ
ท่ีเหมาะสมและต่อเน่ือง ดังต่อไปน้ี

บทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 23

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นทีต่ ั้งครรภ์
(1) อนุญาตให้นักเรียนหรือนักศึกษาดังกล่าวหยุดพักการศึกษาในระหว่างการต้ังครรภ์ การคลอด

และหลังคลอดเพ่ือดูแลบุตรตามความเหมาะสมและจัดการเรียนการสอนให้เกิดความยืดหยุ่น
ตามศักยภาพอย่างต่อเน่ือง
(2) จัดให้มีผู้ให้ค�ำปรึกษาตามข้อห้าโดยร่วมมือกับบิดามารดาผู้ปกครองหรือผู้ซ่ึงปกครองดูแล
นกั เรยี นหรือนักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์ในการใหค้ วามชว่ ยเหลือและสร้างความเข้าใจส�ำหรับการอยูร่ ว่ ม
กับสังคม ท้ังน้ีให้สถานศึกษาอ�ำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องให้เหมาะสมกับ
นักเรียนหรือนักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์
เพ่ือประโยชน์ในการจัดระบบตามวรรคสองให้สถานศึกษาจัดให้มีช่องทางหรือวิธีการท่ีหลากหลาย
ในการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนหรือนักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์รวมท้ังประสานงานและร่วมมือกับแพทย์
นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ ผู้เช่ียวชาญด้านกระบวนการยุติธรรม หรือผู้ซ่ึงเก่ียวข้องเพ่ือให้การดูแล
ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือนักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์น้ัน
กฎหมายท่ีเก่ียวข้องแม้ว่าจะมีเจตนารมณ์เพ่ือคุ้มครองเด็ก แต่ในการปฏิบัติมักถูกตีความและน�ำมาใช้
โดยไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ เช่น กรณีการย้ายสถานศึกษาในประกาศกฎกระทรวงถูกน�ำมาใช้กับนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์โดยไม่ยึดการตัดสินใจของนักเรียนว่า ประสงค์จะขอย้ายโรงเรียนด้วยความเต็มใจหรือไม่

24 บ ทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ตี ง้ั ครรภ์

นโยบาย

ในการด�ำเนินงาน

เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา
การตง้ั ครรภใ์ นวยั รนุ่ พ.ศ. 2559 และกฎกระทรวงกำ� หนดประเภทของสถานศกึ ษาและการดำ� เนนิ การ
ของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ื นฐานจึงก�ำหนดแนวทางปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ื นฐานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์นักเรียน ทั้งน้ี
ให้ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของนักเรียน เป็นส�ำคัญ ดังน้ี

1. ด้านการป้องกัน

1.1 กำ� หนดนโยบาย มาตรการ กฎระเบยี บของโรงเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั
พระราชบญั ญตั กิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการต้งั ครรภใ์ นวยั รุน่
พ.ศ. 2559 และกฎกระทรวงกำ� หนดประเภทของสถานศกึ ษาและ
การด�ำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
การตง้ั ครรภใ์ นวยั รุน่ พ.ศ. 2561

1.2 จดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนเพศวถิ ศี กึ ษาและทกั ษะชวี ติ ใหเ้ หมาะสม
กับช่วงวัยของนักเรียนโดยจัดการเรียนรู้ในวิชาสุขศึกษาและ
วชิ าเพมิ่ เตมิ บรู ณาการกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรูอ้ ่นื

1.3 จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้บูรณาการเพศวิถีศึกษาและ
ทกั ษะชวี ติ แกน่ กั เรยี นอยา่ งสม่ำ� เสมอ

1.4 จัดหาและพัฒนาครูให้มีความรู้ มีทัศนคติท่ีดี มีทักษะการสอน
เพศวิถีศกึ ษาท่ีเหมาะสมและมคี วามสามารถในการใหค้ �ำปรกึ ษา
แกน่ กั เรยี น

1.5 จดั ใหม้ กี ารพฒั นาความรู้ สรา้ งความเขา้ ใจ และเสรมิ สรา้ งทศั นคติ
ทด่ี แี กค่ รู บดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื ผซู้ ง่ึ ปกครองดแู ลนกั เรยี นเพ่อื
ใชใ้ นการส่อื สารเร่อื งเพศในวยั รุน่

บทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 25

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ตี ง้ั ครรภ์

1.6 จดั ใหม้ ชี อ่ งทางส่อื สารใหค้ วามรูเ้ ร่อื งสขุ ภาวะ 2.4 จดั ใหม้ คี รูผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษาแกน่ กั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์
ทางเพศแกน่ กั เรยี นดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย โดยรว่ มมอื กบั บดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื ผซู้ ง่ึ
ปกครองดแู ลนกั เรยี นในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
1.7 สร้างเครือข่ายความร่วมมือภายในและ และสร้างความเข้าใจส�ำหรับการอยู่ร่วมกับ
ภายนอกโรงเรียน รวมท้ังสหวิชาชีพเพ่ือ สงั คม
การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รนุ่
2.5 จดั ใหม้ ชี อ่ งทางหรอื วธิ กี ารทห่ี ลากหลายในการ
1.8 จัดให้มีการก�ำกับ ติดตาม และประเมินผล ดแู ลชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองนกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์
การดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และ
สหวชิ าชพี
2. ดา้ นการแกไ้ ขและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
2.6 จัดให้มีระบบการส่งต่อโดยประสานกับ
2.1 โรงเรยี นท่ีมนี กั เรยี นท่ีต้ังครรภ์อยูใ่ นโรงเรยี น สถานบรกิ ารหรอื หนว่ ยงานของรฐั หรอื หนว่ ยงาน
ต้องไม่ให้นักเรียนออกจากโรงเรียน เว้นแต่ เอกชนท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์
เปน็ การยา้ ยโรงเรยี นดว้ ยความสมคั รใจ ไดร้ บั บรกิ ารอนามยั การเจรญิ พนั ธแุ์ ละการจดั
สวสั ดกิ ารสงั คมอยา่ งเหมาะสม
2.2 จดั ใหม้ รี ะบบการดแู ล ชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครอง
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ให้ได้รับการศึกษาด้วยวิธี 2.7 ให้โรงเรียนด�ำเนินการดูแลช่วยเหลือและ
การจัดการเรียนการสอนท่ียืดหยุ่นเหมาะสม คุ้มครองสิทธินักเรียนซ่ึงต้ังครรภ์ด้วยความ
และตอ่ เน่อื งเปน็ รายบคุ คล ระมดั ระวงั รกั ษาความลบั และความเปน็ สว่ นตวั
ของนกั เรยี น
2.3 อ นุ ญ า ต ใ ห้ นั ก เ รี ย น ห ยุ ด พั ก ก า ร ศึ ก ษ า
ในระหวา่ งการตง้ั ครรภ์ การคลอด และหลงั คลอด
เพ่อื ดแู ลบตุ รตามความเหมาะสมกรณนี กั เรยี น
มคี วามประสงค์

26 บ ทที่ 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนท่ีตง้ั ครรภ์

เป้าหมาย

ในการด�ำเนินงาน

นโยบายในการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานใหก้ บั กลมุ่ นกั เรยี นทป่ี ระสบปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั เรยี น
โดยสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กำ� หนดใหส้ อดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั กิ ารปอ้ งกนั
และแกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ พ.ศ. 2559 และกฎกระทรวงกำ� หนดประเภทของสถานศกึ ษาและ
การดำ� เนนิ การของสถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รนุ่ พ.ศ. 2561 โดย
มงุ่ หมายใหโ้ รงเรยี นและส�ำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาทกุ เขตไดใ้ ชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการดำ� เนนิ งาน
ไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยเนน้ ใหค้ วามส�ำคญั กบั เปา้ หมายในการดำ� เนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปนี้

1. นักเรยี นทุกคนได้เรยี นเพศวิถีศกึ ษา

เจตนารมณ์ของเป้าหมายน้ี คือ การส่งเสริมให้นักเรียนทุกคน
มีองค์ความรู้และทักษะในการใช้ชีวิตเร่ืองเพศ สามารถเลือก ตัดสินใจ และ
รบั ผดิ ชอบตอ่ วถิ ที างเพศทต่ี วั เองเลอื ก รวมท้งั มที กั ษะในการขอความชว่ ยเหลอื
เม่ือเกิดปัญหา เข้าใจและไม่ตีตราเพ่ือนท่ีประสบปัญหาเร่ืองเพศ อันจะท�ำให้
โ ร ง เ รี ย น มี ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท่ี ดี แ ล ะ เ อ้ื อ ต่ อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์
ในการเรยี นตอ่ จบจบการศกึ ษา โดยไดก้ ำ� หนดแนวปฏบิ ตั ไิ วท้ ้งั ในระดบั โรงเรยี น
และระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

2. นักเรยี นท่ีต้ังครรภ์ได้รบั การดูแลช่วยเหลือ
อย่างมปี ระสิทธิภาพ

เจตนารมณข์ องเปา้ หมายขอ้ น้ี คอื การดำ� เนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื
นั ก เ รี ย น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ป้ อ ง กั น นั ก เ รี ย น ท่ี มี ค ว า ม เ ส่ี ย ง เ ร่ ื อ ง เ พ ศ
และการต้ังครรภ์และช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์แล้วให้พ้นวิกฤติของชีวิตได้

3. นักเรยี นที่ต้ังครรภ์ต้องได้เรยี นทุกคน

เจตนารมณข์ องเปา้ หมายขอ้ น้ี คือ การท�ำใหน้ กั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ได้เรยี น
จนจบการศกึ ษาโดยโรงเรยี นจะต้องเปน็ ผจู้ ัดสภาพแวดล้อมและเอ้ืออ�ำนวยให้
นกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์สามารถเรยี นจนจบการศกึ ษาได้ พรอ้ มท้ังใหค้ วามชว่ ยเหลือ
ด้านอ่ืน ๆ ตามสภาพปัญหาเพ่ือลดอุปสรรคในการเรียนของนักเรียน

บทที่ 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 27

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นที่ต้งั ครรภ์

แนวทางการด�ำเนินงาน

ส�ำหรับส�ำนักงาน
เขตพ้ื นท่ีการศึกษา

ได้ก�ำหนดเป้าหมาย ต่อไปน้ี

เป้าหมายท่ี 1
นักเรยี นทุกคนต้องได้เรยี นเพศวิถีศกึ ษา

1.1 ก�ำกับ ติดตามการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาให้นักเรียนทุกคน
ได้เรียนอย่างต่อเน่ือง

1.2 สนับสนุนให้มีการพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา
ได้ โดยใชก้ ระบวนการท่ีหลากหลาย เชน่ การสรา้ งชุมชนการเรยี นรู้
ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) กระบวนการ
จัดการความรู้ (Knowledge Management) ฯลฯ

1.3 สนบั สนุนด้านวิทยากร ฐานข้อมลู แหล่งวิทยากร และส่ือการเรียนรู้
เร่ืองเพศวิถีศึกษา ท่ีอ�ำนวยความสะดวกให้โรงเรยี นจัดการเรียนรู้

1.4 นเิ ทศ ก�ำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรูเ้ พศวิถีศกึ ษาของ
โรงเรียน และสามารถเสนอผลของความครอบคลุมของโรงเรียน
ท่ีมีการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา

1.5 จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการน�ำเสนอผลงานและความส�ำเร็จ
(Best Practice) ในการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาของโรงเรียน
แต่ละรูปแบบ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและต่อยอด

28 บ ทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ตี ัง้ ครรภ์

เป้าหมายที่ 2 2.6 จัดให้มีการถอดบทเรียนและประสบการณ์
นักเรยี นต้ังครรภ์ได้รบั การดูแลช่วยเหลือ เพ่ือพัฒนาแนวทางการดูแลช่วยเหลือให้มี
อย่างมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิภาพมากข้ึน

2.1 ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ 2.7 ก�ำกับ ติดตาม และรายงานข้อมูล จ�ำนวน
ในการคุ้มครองสิทธิวัยรุ่นตามพระราชบัญญัติ วิธีการ และผลการช่วยเหลือนักเรียนต้ังครรภ์
การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รุน่ ให้กับ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
พ.ศ. 2559 มาตรา 5 และมาตรา 6 ข้ันพ้ืนฐานทราบ

2.2 ส่งเสริมองค์ความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนา เป้าหมายท่ี 3
ทกั ษะครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นตง้ั ครรภ์ นักเรยี นต้ังครรภ์ต้องได้เรยี นทุกคน
/ ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ใ ห้ ส า ม า ร ถ ดู แ ล แ ล ะ
ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ไ ด้ อ ย่ า ง ร อ บ ด้ า น แ ล ะ ส น อ ง 3.1 ส�ำรวจข้อมูล สอบถาม ติดตามสถานการณ์
ความต้องการของนักเรียนต้ังครรภ์ และความตอ้ งการของนกั เรยี นตง้ั ครรภเ์ กย่ี วกบั
การเรียนในระหว่างการต้ังครรภ์
2.3 ประสานและสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ
หน่วยบริการสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 3.2 ใหแ้ นวทางในการจดั การเรยี นรูส้ ำ� หรบั นกั เรยี น
เพ่อื ชว่ ยเหลือนกั เรยี นต้ังครรภ์ตามการรายงาน ต้ังครรภ์ระหว่างเรียน
จากโรงเรียน
3 . 3 ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ห น่ ว ย บ ริ ก า ร
2.4 ติดตามการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีประสบ สาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพเพ่ือช่วยเหลือ
ปัญหาและประสานให้การสนับสนุนกรณีท่ี นกั เรยี นต้ังครรภ์ตามการรายงานจากโรงเรยี น
โรงเรียนต้องการความช่วยเหลือ
3.4 ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและนักจิตวิทยา
2.5 ม อ บ ห ม า ย นั ก จิ ต วิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ จ� ำ โรงเรียนประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ส า น แ ล ะ ลงพ้ืนท่ีเพ่ือส�ำรวจข้อมูลนักเรียนต้ังครรภ์
ให้การช่วยเหลือโรงเรียนท่ีมีนักเรียนต้ังครรภ์ ตามการรายงานของโรงเรียน เพ่ือหาแนวทาง
อย่างใกล้ชิด การช่วยเหลือตามรายกรณี

บทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 29

แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีตงั้ ครรภ์

แนวทางการด�ำเนินงาน

ส�ำหรับโรงเรียน

ได้ก�ำหนดเป้าหมาย ต่อไปน้ี

เป้าหมายท่ี 1
นักเรยี นทุกคนต้องได้เรยี นเพศวิถีศกึ ษา

1.1 ก�ำหนดให้มกี ารจัดการเรยี นการสอนเพศวิถีศึกษาไว้ในหลักสูตรโรงเรียน
1.2 พัฒนาครูและบุคลากรทุกคนให้มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองเพศวิถีศึกษา
1.3 จัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับช่วงวัย

ของนักเรียนอย่างต่อเน่ือง
1.4 ก�ำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนเพศวิถีศึกษาของครูผู้สอน

อย่างต่อเน่ือง

เป้าหมายที่ 2
นักเรยี นต้ังครรภ์ได้รบั การดูแลช่วยเหลืออย่างมปี ระสิทธิภาพ

2.1 มีระบบฐานข้อมูลเด็กรายบุคคลอย่างครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
2.2 มีระบบคัดกรองนักเรียนท่ีมีโอกาสเส่ียงต่อการต้ังครรภ์
2.3 มรี ะบบการชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ โดยนำ� แนวปฏิบตั ิของสำ� นกั งาน

คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานแต่ละด้านมาปรบั ใชใ้ หส้ อดคล้องกับ
บริบทของโรงเรียน
• ด้านการเรียน เช่น มีแนวทางจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับ

วิถีชีวิตของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
• ด้านสุขภาพ เช่น มีการเช่ือมประสานกับโรงพยาบาล/หน่วยบริการ

สาธารณสุขแลกเปล่ียนข้อมูลเร่ืองสุขภาพของนักเรียน การมีระบบ
ส่งต่อเพ่ือให้นักเรียนต้ังครรภ์ได้รับบริการสุขภาพ

30 บ ทที่ 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนทตี่ ง้ั ครรภ์

• ด้านสวัสดิการ เชน่ ทนุ การศกึ ษา เงินอุดหนนุ เป้าหมายที่ 3
เด็กแรกเกิด เคร่ืองมือคุมก�ำเนิด การให้ นักเรยี นทตี่ ้ังครรภ์ต้องได้เรยี นจบหลักสตู ร
การปรึกษา ฯลฯ ทุกคน

• ก า ร ส ร้ า ง ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า น สั ง ค ม เ ช่ น 3.1 ชแ้ี จงท�ำความเขา้ ใจกับนกั เรยี น ผปู้ กครอง ภาคี
การไมถ่ กู รงั แก(bully)การไมต่ ตี ราการจดั ใหม้ ี เครือข่าย เร่ืองนโยบายการให้นักเรียนต้ังครรภ์
ตู้เย็นเก็บน้�ำนมส�ำหรับเล้ียงลูก ฯลฯ เรียนต่อพร้อมช้ีแจงสิทธิและการช่วยเหลือ
ตามกรอบกฎหมายและนโยบายของโรงเรียน
• การจัดส่ิงแวดล้อมด้านกายภาพในโรงเรียน
ให้เอ้ือต่อการเรียน การใช้ชีวิตของนักเรียน 3.2 ประสานความร่วมมือกับโรงพยาบาลหรือ
ท่ีต้ังครรภ์ เช่น ห้องน้�ำแบบชักโครก ทางเดิน หน่วยบริการสาธารณสุข เพ่ือท�ำงานร่วมกันใน
ห้องเรียนท่ีปลอดภัย การช่วยเหลือนักเรียนต้ังครรภ์

2.4 จดั ใหม้ บี คุ ลากรทำ� หนา้ ทค่ี รผู ใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื 3.3 รายงานส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรณีพบ
นักเรียนต้ังครรภ์ในโรงเรียน นั ก เ รี ย น ต้ั ง ค ร ร ภ์ เ พ่ื อ ห า ท า ง ช่ ว ย เ ห ลื อ
ตามความต้องการของนักเรียน
2.5 มีช่องทางให้นักเรียนติดต่อเพ่ือขอค�ำปรึกษา
หรอื ขอความชว่ ยเหลือกรณเี กิดปญั หาเร่อื งเพศ 3.4 มีแนวทางการจัดการเรียนการสอนส�ำหรับ
และการต้ังครรภ์ท่ีสะดวกและเปน็ ความลับ นักเรียนต้ังครรภ์ได้เลือกตามความเหมาะสม

2.6 ก� ำ กั บ ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ท� ำ ง า น
เร่ืองระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

บทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 31

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นทตี่ งั้ ครรภ์

แผนผังที่ 1

แนวปฏิบัติในการช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
ได้เรียนต่อจนจบการศึกษาและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน (สพฐ.)

การบริหารจัดการและการให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์

เป้าหมายและแนวทางการด�ำเนินงาน

สพท.

เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3

1. ก�ำกับ ติดตามการจัด 1. สรา้ งความตระหนัก 1. ส�ำรวจข้อมูล สอบถาม
การเรียนรู้เพศวิถีศึกษา และความเขา้ ใจ ติดตามสถานการณ์
อย่างต่อเน่ือง ในการคมุ้ ครองสทิ ธวิ ยั รุน่ และความต้องการของ
นักเรียนต้ังครรภ์
2. สนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาครู 2. สง่ เสริมองค์ความรู้
3. สนับสนุนด้านวิทยากร ความเขา้ ใจและพัฒนา 2. ใหแ้ นวทางในการจดั
ทักษะครูผใู้ ห้การดูแล การเรยี นรสู้ ำ� หรบั นกั เรยี น
และส่ือการเรียนรู้ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นต้งั ครรภ์ ตง้ั ครรภ์
เร่ืองเพศวิถีศึกษา
4. นิเทศ ก�ำกับ ติดตาม 3. ประสานและสร้าง 3. ประสานความร่วมมือ
และเสนอผล เครอื ขา่ ยเพ่อื ชว่ ยเหลือ กับหน่วยบริการ
5. จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ นักเรยี นต้ังครรภ์ สาธารณสุขและทีม
ในการน�ำเสนอผลงาน สหวิชาชพี เพ่อื ชว่ ยเหลือ
และความส�ำเร็จ 4. ติดตามการดูแลชว่ ยเหลือ
นกั เรียนท่ีประสบปัญหา 4. สพท. และนักจิตวิทยา
โรงเรียนประจ�ำ สพท.
5. มอบหมายนักจิตวิทยา ลงพ้ืนท่ีเพ่ือส�ำรวจ
โรงเรยี นประจ�ำ สพท. ข้อมูลนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
ประสานและใหก้ าร และหาแนวทาง
ชว่ ยเหลือโรงเรยี น การช่วยเหลือตาม
รายกรณี
6. จัดให้มีการถอดบทเรียน
7. ก�ำกับ ติดตาม และ

รายงานการชว่ ยเหลือ
นกั เรียนต้ังครรภ์
ให้ สพฐ.ทราบ

32 บ ทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีตงั้ ครรภ์

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน (สพฐ.)

การบริหารจัดการและการให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์

เป้าหมายและแนวทางการด�ำเนินงาน

โรงเรียน

เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3

1. กำ� หนดใหม้ กี ารจดั การเรยี น 1. มรี ะบบฐานขอ้ มลู เด็ก 1. ช้ีแจงท�ำความเข้าใจ
การสอนเพศวถิ ศี กึ ษา รายบุคคลท่ีเช่ือมกับ เร่ืองนโยบายการให้
ไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา DMC นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภเ์ รยี นตอ่

2. พัฒนาครูและบุคลากร 2. มีระบบคัดกรองนกั เรียน 2. ประสานความรว่ มมอื กับ
ทุกคนให้มีความรู้ มีโอกาสเส่ยี งต่อ โรงพยาบาล เพ่ือท�ำงาน
ความเขา้ ใจเร่อื งเพศวถิ ศี กึ ษา การต้ังครรภ์ ร่วมกันในการช่วยเหลือ
นักเรียนต้ังครรภ์
3. จดั การเรยี นรูเ้ พศวถิ ศี กึ ษา 3. มีระบบการชว่ ยเหลือ
ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย นกั เรียนท่ีต้ังครรภ์ 3. รายงาน สพท.
เหมาะสมอย่างต่อเน่ือง เพ่ือหาทางช่วยเหลือ
4. จัดใหม้ ีบุคลากรท�ำหน้าท่ี
4. ก�ำกับติดตาม เป็นผใู้ ห้การดแู ลชว่ ยเหลือ 4. มีแนวทางการจัด
การจัดการเรียนการสอน นกั เรียนท่ีต้ังครรภ์ การเรียนการสอนส�ำหรับ
อย่างต่อเน่ือง นักเรียนท่ีต้ังครรภ์
5. มชี อ่ งทางใหน้ กั เรยี น
ติดต่อเพ่ือขอค�ำปรึกษา
หรอื ขอความชว่ ยเหลือ

6. ก�ำกับ ติดตามประเมนิ
ผลการท�ำงาน

บทท่ี 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน 33

แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ตี ั้งครรภ์

ความรักและความรู้
เป็นเพื่อนคู่อยู่เคียงข้าง

คุณธรรมมีน�ำทาง
ย่อมหนุนสร้างเสริมชีวี

อย่ารักอย่างไม่รู้
อาจอดสูสิ้นศักด์ิศรี

เวลายังมากมี
ความโชคดีคอยรอเรา

...สันติสุข สันติศาสนสุข...

34 บ ทที่ 2 นโยบายและเป้าหมายในการด�ำเนินงาน

3บทท่ี
ระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน :
นักเรียนตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนทตี่ งั้ ครรภ์

ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นเป็นกระบวนการ
เพ่ื อการพั ฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลทั้งทางด้านร่างกาย

จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา

โดยมีขอบข่ายการท�ำงานท้ังด้านส่งเสริมพัฒนา ป้องกัน
แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ เ ม่ื อ นั ก เ รี ย น
ประสบปญั หา การด�ำเนนิ งานตามระบบการดแู ลชว่ ยเหลือ
ในแตล่ ะโรงเรยี นจงึ เปน็ กลไกสำ� คญั ทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ใหน้ กั เรยี น
มคี วามเขม้ แขง็ มที ักษะชวี ิต ชว่ ยลดหรอื ปอ้ งกันพฤติกรรม
เส่ียงต่าง ๆ และสามารถก้าวข้ามสถานการณ์ท่ีจะ
สง่ ผลกระทบตอ่ วถิ ชี วี ติ ของนกั เรยี น เร่อื งสาเหตแุ ละปจั จยั ของ
ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากสภาพแวดล้อมรอบตัว เพ่ือน
ครอบครัว ชุมชน รวมท้ังตัวนักเรียนเอง ท้ังน้ี ระบบ
การดูแลช่วยเหลือนักเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีโอกาส
เจรญิ เตบิ โตมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีและไดร้ บั สทิ ธพิ ้นื ฐานในฐานะ
เด็กและเยาวชนท่ีต้องได้รับการปกป้องคุ้มครองตามหลัก
สทิ ธเิ ด็ก และสทิ ธทิ ่ีระบุในพระราชบญั ญตั ิการปอ้ งกันและ
แก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559

36 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทีต่ ัง้ ครรภ์

เน่ืองจากการพัฒนาทางเพศในช่วงวั ย 1) นักเรียนทุกคนได้เรียนเพศวิถีศึกษา 2) นักเรียน
รุ่นเป็นเร่ืองธรรมชาติ และเป็นเร่ืองปกติท่ีอาจ ท่ีต้ังครรภ์ได้รับการดูแล ช่วยเหลือ คุ้มครองอย่างมี
เกดิ ผลกระทบจากการไมเ่ ทา่ ทนั ในเร่อื งเพศของวยั รุน่ ประสทิ ธภิ าพ 3) นกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ได้เรยี นต่อทกุ คน
ส่งผลให้เกิดการต้ังครรภ์ไม่พร้อม ติดเช้ือจาก ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนจึงเป็น
โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ หรอื เผชญิ ปญั หาทางเพศ กลไกหน่ึงท่ีส่งผลให้การด�ำเนินงานบรรลุเป้าหมาย
เช่น การถูกล่วงละเมิด ล่อลวง ถูกใช้ความรุนแรง ดังกล่าว โดยด�ำเนินการอย่างเป็นกระบวนการ
หรือแสวงหาประโยชน์ทางเพศ ซ่ึงปัญหาทาง ตามข้ันตอน ต้ังแต่การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
เพศและผลกระทบจากเร่ืองเพศในรูปแบบต่าง ๆ การคัดกรองนกั เรยี น การสง่ เสรมิ พฒั นานกั เรยี นใหม้ ี
เหล่าน้ี เปน็ ปจั จัยสำ� คัญท่ีสง่ ผลต่อสขุ ภาพและการมี สมรรถนะและทกั ษะชวี ติ โดยจดั การเรยี นรูเ้ พศวถิ ศี กึ ษา
สขุ ภาวะทด่ี ขี องนกั เรยี นทง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคตโดยเฉพาะ ให้กั บนักเรียนทุกคนท้ั งในและนอกห้องเรียน
การตง้ั ครรภต์ ง้ั แตอ่ ายตุ ่ำ� กวา่ 18 ปี ทก่ี ารเจรญิ เตบิ โต สร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับนักเรียนเพ่ือให้สะดวกใจ
ข อ ง ร่ า ง ก า ย ยั ง ไ ม่ เ ต็ ม ท่ี ข า ด วุ ฒิ ภ า ว ะ ในการส่อื สารการปอ้ งกนั ปญั หาทางเพศและการตง้ั ครรภ์
สุ ข ภ า พ จิ ต ไ ม่ ป ก ติ ท่ี มี แ ร ง ก ด ดั น จ า ก ค ร อ บ ค รั ว ให้กับนักเรียนทุกคน โดยมีบริการให้ความช่วยเหลือ
คนรอบข้าง อาจท�ำให้เกิดความวิตกกังวล เครียด การให้การปรึกษา ให้ข้อมูลด้านสุขภาพทางเพศ
ท่ีต้องมีภาระการเล้ียงดูทารกท่ีคลอดออกมา รวมถึง อนามัยการเจริญพันธุ์และส่งต่ อเม่ือต้ องการ
การสูญเสียโอกาสและอนาคต หากไม่ได้เรียนต่อ รับบริการ การช่วยเหลือดูแลกรณีท่ีมีนักเรียน
หรือจบการศึกษาท่ีจะเป็นช่องทางการประกอบ เผชญิ ปญั หาทางเพศหรอื ตง้ั ครรภใ์ หม้ โี อกาสไดเ้ รยี นตอ่
อาชีพ หรือการดูแลตัวเองให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีได้ จนจบหลักสตู รของโรงเรยี น ได้เรยี นรูเ้ พ่อื รบั ผดิ ชอบ
ในอนาคต และดูแลตัวเองโดยการมีส่วนร่วมจากท้ังตัวนักเรียน
ท่ีเผชิญปัญหา ครอบครัว และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง
ดังน้ัน การด�ำเนินงานป้องกันและแก้ไข จากท้ังภายในและนอกโรงเรียน โดยอยู่บนพ้ืนฐาน
ปญั หานกั เรยี นต้ังครรภ์ท่ีมเี ปา้ หมายหลัก 3 ขอ้ ได้แก่ การคุ้มครองสิทธิของเด็กและเยาวชน

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์ 37

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนทีต่ งั้ ครรภ์

หลักการและแนวคิด

ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์

ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร ข อ ง ร ะ บ บ 1. การสรา้ งพลังสุขภาพจิต
การดูแลช่วยเหลือนักเรียน (RQ, Resilience Quotient)
เ พ่ื อ ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ทั้ ง
3 ข้อ ผู้ปฏิบัติงานหรือครู นักเรียนท่ีอยู่ในช่วงพัฒนาการย่างเข้าสู่วัยรุ่น จึงมีปัจจัยท้ัง
ทกุ คนทม่ี หี นา้ ท่ี ควรคำ� นงึ ถงึ ภายในและภายนอกเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความอยากลองท�ำในเร่ือง
หลักคิดส�ำคัญในการปฏิบัติ ท้าทาย หรือมีพฤติกรรมเส่ียง ครูท่ีเป็นผู้ใหญ่ใกล้ตัวนักเรียนเป็นผู้มี
งานสง่ เสรมิ พัฒนา ปอ้ งกนั แกไ้ ข บทบาทส�ำคัญในการช่วยพัฒนาและสร้างสภาพแวดล้อมให้นักเรียน
และดูแลช่วยเหลือนักเรียน เกิดการเรียนรู้จากความสนใจ แรงกระตุ้นให้อยากลองท�ำ หรือลงมือท�ำ
ดังนี้ แล้วเกิดความผิดพลาด เพ่ือให้พวกเขาเกิดทักษะและแรงฮึดท่ีจะดูแล
ตัวเองต่อไปได้ พลังสุขภาพจิต (RQ : Resilience Quotient) หมายถึง
กระบวนการปรับตัวหรือฟ้ ืนตัวเม่ือต้องเผชิญกับภาวะยากล�ำบากหรือ
ภาวะวิกฤตในชีวิต เป็นอีกมิติหน่ึงของความอยู่ดีมีสุขหรือสุขภาวะ
ท่ีดีของคนเรา นอกจากพลังสติปัญญา (IQ : Intellectual Quotient)
ความฉลาดด้านอารมณ์ (EQ : Emotional Quotient) ความฉลาด
ด้านจริยธรรม (MQ : Moral Quotient) การมีพลังสุขภาพจิตหรือ
มีความเข้มแข็งทางจิตใจ เกิดจากการท่ีนักเรียนรู้สึกได้รับการยอมรับ
มีคุณค่า มีความรู้สึกปลอดภัยในสภาพแวดล้อมรอบตัว ได้รับการฝึกฝน
ให้แสดงออก มีส่วนร่วมในการวางแผน ใช้ทักษะในการจัดการตัวเอง
รับรู้เป้าหมายและแรงบันดาลใจของตัวเองท่ีมีอยู่ การพัฒนานักเรียน
ผ่านกระบวนการในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนจึงต้องใช้หลักคิด
ท่ีจะสร้างพลังสุขภาพจิต เพ่ือให้นักเรียนท่ีเผชิญปัญหาเติบโตและ
เรยี นรูผ้ า่ นขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขน้ึ และสง่ ผลตอ่ ชวี ติ ในอนาคต มากกวา่ การใช้
มาตรการลงโทษ หรือผู้ใหญ่ก�ำหนดระเบียบและข้อบังคับให้ท�ำตาม

38 บ ทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นที่ต้ังครรภ์

2. แนวทางการช่วยเหลือแบบรอบด้าน ความเปน็ มนษุ ย์และคมุ้ ครองใหไ้ ดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลอื
หรอื เป็นองค์รวม (holistic approach) ตามสิทธิเด็กข้ันพ้ืนฐาน ซ่งึ ระบุใหร้ ฐั และผูเ้ ก่ียวขอ้ ง
ต้ อ ง ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ ห้ เ ด็ ก ห รื อ นั ก เ รี ย น ไ ด้ รั บ บ ริ ก า ร
กา ร ช่วยเหลื อนักเรียนต้ั งค ร ร ภ์ ซ่ึง เป็น สวัสดิการ และการพัฒนาให้สามารถด�ำรงชีวิตหรือ
เจ้ าของปัญหาต้ องมีส่วนร่วมในกระบวนการ อยรู่ อดและเจรญิ เตบิ โตไดต้ ามมาตรฐานความเปน็ อยู่
ท้ังวิเคราะห์ทางเลือก ตัดสินใจ ในขณะเดียวกัน ท่ีดี มีสิทธิท่ีจะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากภัย
การดแู ลชว่ ยเหลือต้องค�ำนงึ ถึงปจั จัยรอบด้านท่ีมผี ล ต่าง ๆ สิทธิท่ีจะได้รับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ
ต่อวิถีการด�ำรงชีวิตของตัวนักเรียน ท้ังด้านสังคม โ ด ย เ ฉ พ า ะ ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี รั ฐ ต้ อ ง มี ม า ต ร ก า ร
หรือความสัมพันธ์กับคนรอบตัว ภาวะเศรษฐกิจ ให้เด็กมาเรียนอย่างสม่�ำเสมอ มีสิทธิในการศึกษา
รายได้ของครอบครัว เพราะหลายกรณีนักเรียน ภาคบงั คบั หรอื มากกวา่ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั กบั เดก็ ทว่ั ไป
อยูใ่ นครอบครวั มรี ายได้ท่ีจ�ำกัด และการดแู ลสขุ ภาพ และสิทธิในการมีส่วนร่วมโดยเปิดโอกาสให้ได้แสดง
เ น่ ื อ ง จ า ก ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ใ น ช่ ว ง อ า ยุ ยั ง น้ อ ย ต้ อ ง ไ ด้ ความคิดเหน็ การแสดงออก และการเขา้ ถึงหรอื ได้รบั
เขา้ รบั บรกิ ารทง้ั ดา้ นกายจติ ใจอารมณ์หรอื การเขา้ รบั ข้อมูลข่าวสาร หลักการดังกล่าวน้ีสอดคล้องกับ
บ ริ ก า ร อ น า มั ย เ จ ริ ญ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร ดู แ ล ค ร ร ภ์ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
จากสถานบริการสาธารณสุขท่ี เหมาะสม การ การต้งั ครรภใ์ นวยั รุน่ พ.ศ. 2559 ทม่ี งุ่ คมุ้ ครองสทิ ธเิ ดก็
ชว่ ยเหลือด้านกฎหมายในบางรายท่ีถูกล่วงละเมิดหรือ และเยาวชนให้ได้รับสิทธิ คือ
ใช้ประโยชน์ทางเพศ หรือมีความจ�ำเป็นต้องการ
การสงเคราะหส์ วัสดิการ ค้มุ ครองสวัสดิภาพ ท่ีสำ� คัญ 3.1 การตัดสินใจด้วยตัวเอง เป็นสิทธิพ้ืนฐานของ
ทส่ี ดุ คอื การสนบั สนนุ และชว่ ยเหลอื ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษา นักเรียนทุกคน และนักเรียนท่ีต้ังครรภ์จะเป็น
ใ น รู ป แ บ บ ท่ี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร จ� ำ เ ป็ น ผู้ ตั ด สิ น ใ จ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ต่ อ ห รื อ ยุ ติ
ของตัวนักเรียน การศึกษาเป็นสิทธิพ้ืนฐานส�ำคัญ การเลอื กรูปแบบการเรยี น การเลย้ี งดทู ารกทจ่ี ะเกดิ มา
ต่อการเจริญเติบโตของวัยรุ่น ดังน้ัน ระบบการดูแล หรือไม่ การเลือกวิธีการคุมก�ำเนิด โดยได้รับ
ช่วยเหลือนักเรียนในแต่ละโรงเรียนจึงต้องเช่ือมโยง ข้อมูลท่ีรอบด้านเพ่ือตัดสินใจเลือกด้วยตัวเอง
กับหนว่ ยงานภายนอก เพ่อื การสง่ ต่อ ดแู ล ฟ้ นื ฟู หรอื และครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนต้ังครรภ์
ส่งต่อทีมสหวิชาชีพในการดูแลช่วยเหลือส�ำหรับ ผู้ปกครอง หรือผู้เก่ียวข้องในกระบวนการ
บางกรณีท่ีมีความต้องการจ�ำเป็นท่ีซับซ้อน ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ จ ะ ท� ำ ห น้ า ท่ี ช่ ว ย ใ ห้ ข้ อ มู ล
การปรึกษา ค�ำแนะน�ำ ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย
3. การคุ้มครองสิทธินักเรยี นต้ังครรภ์ ระเบียบปฏิบัติ เพ่ือให้นักเรียนต้ังครรภ์หรือ
เผชญิ ปญั หาไดใ้ ครค่ รวญอยา่ งรอบคอบ และเลอื ก
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาของตนเอง และเปน็ ผสู้ นบั สนนุ
ของส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาได้ระบุแนวทาง ช่วยเหลือนักเรียนในการด�ำเนินตามทางเลือก
ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท่ี อ ยู่ บ น พ้ื น ท่ีได้ตัดสินใจ อย่างไรก็ตาม ในกรณีท่ีนักเรียน
ฐานการคุ้มครองสิทธิเด็ก (เด็กคือบุคคลท่ีมีอายุ ต้ังครรภ์ท่ีมีอายุต่�ำกว่า 15 ปี การเลือกตัดสินใจ
ไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์) คือ การมุ่งยึดประโยชน์สูงสุด ของนักเรียนจะต้องมีการอนุญาตหรือยินยอม
ส�ำหรับนักเรียนเป็นส�ำคัญ มีความเคารพในศักดิ์ศรี จากผู้ปกครอง

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์ 39

แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์

3.2 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและความรู้ เป็นสิทธิ อย่างเหมาะสมส�ำหรับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์หรือ
ข อ ง นั ก เ รี ย น ทุ ก ค น ท่ี จ ะ ไ ด้ รั บ บ ริ ก า ร ข้ อ มู ล เผชิญปัญหาทางเพศท่ีมีความจ�ำเป็น รวมถึง
ความรู้ท่ีทันสมัยเป็นปัจจุบัน การศึกษาหรือ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอ้ือ
เรียนรู้เพศวิถีศึกษาท่ีเหมาะสมและเพียงพอ ต่อการใชช้ ีวิตประจ�ำวันของนกั เรียนท่ีต้ังครรภ์
มีความต่อเน่ือง เพ่ือเรียนรู้และพัฒนาตัวเอง ท่ีมาเรียนร่วม
ใ ห้ เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ มี ทั ก ษ ะ ก า ร ดู แ ล ตั ว เ อ ง
ใหป้ ลอดภัย โดยโรงเรยี นต้องจัดการเรยี นรูใ้ หม้ ี 3.5 การปฏิบัติอย่างเสมอภาค การดูแลช่วยเหลือ
รูปแบบหลากหลายท้ังในและนอกห้องเรียน นักเรียนท่ีต้ังครรภ์หรือเผชิญปัญหาทางเพศ
แ น ะ น� ำ แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ใ น ชุ ม ช น ห รื อ อ อ น ไ ล น์ ซ่ึ ง มี ศั ก ด์ิ ศ รี ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ เ ท่ า เ ที ย ม กั บ
ท่ี ปลอดภั ย หรือมีผู้เช่ียวชาญหรือหน่วย คนอ่ืน ๆ ในโรงเรียน จึงไม่ใช่สาเหตุท่ีจะท�ำให้
งานเฉพาะด้านมาจัดกิจกรรม บริการข้อมูล ถูกไล่ออกจากโรงเรียน ถูกประจาน ลงโทษ
เปน็ ครง้ั คราว เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ถูกท�ำให้อับอาย ท�ำให้รู้สึกไร้คุณค่า หรือจ�ำกัด
ของนักเรียน สิทธิด้านต่าง ๆ เช่น การศึกษาต่อ การบริการ
สาธารณสขุ สวสั ดกิ ารสงั คมของนกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์
3.3 การรับบริการอนามัยเจริญพันธุ์ นักเรียน ห รื อ เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า ท า ง เ พ ศ แ ต่ โ ร ง เ รี ย น
ทุกคนมีสิทธิท่ีจะได้รับบริการเก่ียวกับสุขภาพ มีหน้าท่ีสร้างความเข้าใจกับเพ่ือนนักเรียน ครู
เพศสมั พนั ธ์อนามยั การเจรญิ พนั ธุ์การคมุ กำ� เนดิ ชุมชน ให้ตระหนักถึงการคุ้มครองสิทธิเด็ก
ก า ร ยุ ติ ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ก า ร เ ล้ี ย ง ดู ท า ร ก การมคี วามเหน็ อกเหน็ ใจและเขา้ ใจกระบวนการ
โดยโรงเรียนท�ำหนา้ ท่ีหรอื ประสานหนว่ ยงานท่ี ช่วยเหลือนักเรียนท่ีเผชิญปัญหาให้ฟ้ ืนตัวและ
เกย่ี วขอ้ งหรอื จดั บรกิ ารเพ่อื ใหม้ บี รกิ ารทเ่ี ปน็ มติ ร พฒั นาตัวเองต่อไปได้อยา่ งเต็มศักยภาพ
มีการรักษาความลับ มีการคุ้มครองความเป็น
ส่วนตัว ถือเป็นงานป้องกันและบริการของ 3.6 การรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ครู
โรงเรียน ประจ�ำช้ันหรือครูท่ีปรึกษา ครูผู้ให้การดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ครูแนะแนว หรือ
3.4 การรับสวัสดิการสังคม นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ค รู เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ท่ี มี ห น้ า ท่ี จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว
และนักเรียนท่ีเผชิญปัญหาทางเพศ มีสิทธิ ของนกั เรยี นทกุ คน จะตอ้ งไดร้ บั การยนิ ยอมจาก
ท่ีจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเพ่ือให้มีชีวิตรอด ผปู้ กครองและนกั เรยี นในการเก็บขอ้ มลู สขุ ภาพ
ตามมาตรฐานท่ีดีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เช่น การมีเพศสัมพันธ์ การต้ังครรภ์ การคุมก�ำเนิด
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานเปน็ สวัสดิการรูปแบบหน่งึ การยุติการต้ังครรภ์ ความต้องการช่วยเหลือ
ของรัฐ การคุมก�ำเนิดฟรี การตรวจสุขภาพ หรือค�ำปรึกษา หรือพฤติกรรมต่าง ๆ และ
และการเล้ียงดูทารกแรกเกิด การช่วยเหลือ ไม่เปิดเผยข้อมูล ส่งต่อ เผยแพร่โดยท่ีนักเรียน
สงเคราะห์รูปแบบต่าง ๆ เงินทุนสนับสนุน หรือผู้ปกครองไม่ยินยอม รวมถึงการด�ำเนิน
เป็นต้น ซ่ึงโรงเรียนสามารถเช่ือมประสาน กระบวนการดูแลช่วยเหลือ 5 ข้ันตอนจะต้อง
การส่งต่อและช่วยเหลือไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ได้รับการยินยอมจากผู้ปกครองและนักเรียน
ในพ้นื ท่ีใหส้ นบั สนนุ แก้ไขปญั หา และชว่ ยเหลือ ด้วยเช่นกัน

40 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทต่ี ั้งครรภ์

ดังน้ัน ผู้ปฏิบัติงาน คือ ผู้บริหาร ครู กับนักเรียน เปิดใจต่อนักเรียนท่ีเผชิญ
ปัญหาทางเพศ หรือต้ังครรภ์
ผู้ปกครอง และผู้เก่ียวข้องท้ังภายในและ
4. ครูและผเู้ ก่ียวขอ้ งในโรงเรยี นมที ักษะรบั ฟงั
ภายนอกโรงเรยี นจะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ หลกั ปฏบิ ตั งิ าน ความต้องการ และส่ือสารโดยไม่ตัดสิน
ถูกผิด ตีตรา หรือโน้มน้าวชักจูงให้ท�ำตาม
ท่ีครอบคลุมแนวคิดส�ำคัญ ดังน้ี และตัดสนิ ใจตามความคิดเหน็ ของครูเพยี ง
ฝ่ายเดียว
1. ดูแล ช่วยเหลือ คุ้มครองสิทธิและพัฒนา
นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ ห รื อ เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า 5. มีระบบเช่ือมโยงและส่งต่อกับผู้เช่ียวชาญ
ทางเพศใหไ้ ดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ ไดเ้ รยี นตอ่ เฉพาะด้านหรอื หนว่ ยบรกิ ารอ่ืน ๆ นอกจาก
จ น จ บ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า อ ย่ า ง มี โรงเรียน เพ่ือให้ได้รับการช่วยเหลือหรือ
ประสิทธิภาพ และค�ำนึงถึงความต้องการ คุ้มครองอย่างเร่งด่วน ทันต่อเวลาและ
ของนักเรียนเป็นรายบุคคล ความต้องการ

2. จัดระบบการด�ำเนินงานและกระบวนการ 6. จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอ้ือต่อ
ดูแลช่วยเหลือท่ีมีมาตรฐาน สร้างความ การพัฒนาตนเอง เสริมพลังให้นักเรียน
ไว้วางใจ ความรู้สึกปลอดภัย การรักษา มีสมรรถนะและทักษะท้ังในการป้องกัน
ความลับหรือคุ้มครองความเป็นส่วนตัว ปัญหาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง
ของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์หรือเผชิญปัญหา มชี อ่ งทางทส่ี ะดวกตอ่ การเขา้ ถงึ บรกิ ารและ
ทางเพศ และใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการคดิ ความช่วยเหลือเม่ือต้องการด้านอนามัย
วางแผน และตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา การเจริญพนั ธุ์ เพศ และสุขภาพอ่ืน ๆ
ท่ีเกิดข้ึนของตัวเอง

3. ครูและผู้เก่ียวข้องในโรงเรียนมีทัศนคติ
เชิงบวกต่อเร่ืองเพศ การส่ือสารเร่ืองเพศ

บทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 41

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนทต่ี ้งั ครรภ์

บทบาทของผู้เก่ียวข้อง

ในการป้องกันและช่วยเหลือ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์

การด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย 3 ข้อ เป็นภารกิจของผู้บริหารสถานศึกษาและครูทุกคน
ในโรงเรยี น โดยอาศยั การทำ� งานผา่ นโครงสรา้ งและกลไกของระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทม่ี อี ยู่
ในโรงเรยี น ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบการทำ� งาน และกำ� หนดผรู้ บั ผดิ ชอบทส่ี อดคลอ้ งกบั การส่งเสรมิ พัฒนา
ปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หา และดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทกุ คนในโรงเรยี น ใหม้ กี ระบวนการและขน้ั ตอนดำ� เนนิ
งานเปน็ ไปตามแนวปฏบิ ตั ทิ รี่ ะบไุ วใ้ นบทที่ 1 และอาศยั แนวทางการปฏบิ ตั งิ านของระบบการดแู ลชว่ ย
เหลือนักเรียนและแต่ละโรงเรียนสามารถปรับรูปแบบของการท�ำงานได้ตามเงื่อนไขและบริบทของ
โรงเรยี น เชน่ ขนาดของโรงเรยี น จำ� นวนครแู ละบคุ ลากรภายในโรงเรยี น จำ� นวนนกั เรยี น ภาระงาน
หรือต้นทุนการท�ำงานที่มีอยู่ ทั้งน้ี โรงเรียนสามารถตรวจสอบกระบวนการท�ำงานเรื่องการสอน
เพศวถิ ี การจดั กจิ กรรมพัฒนานกั เรยี น การดแู ลชว่ ยเหลอื และนำ� ผลทไ่ี ดม้ าปรบั ปรงุ กระบวนการทำ� งาน
ภายในโรงเรยี น

บทบาทและขอบข่ายหน้าที่ความรับผิดชอบ
ในการด�ำเนินงาน

1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา มขี อบข่ายหน้าที่
ความรบั ผิดชอบ ดังน้ี

1. กำ� หนดใหม้ นี โยบาย ประกาศ หรอื คำ� สง่ั ในระดบั โรงเรยี นในการทำ� งาน
ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ แ ล ะ เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า
ทางเพศ การจัดการเรียนการสอนเพศวิถีศึกษา และป้องกัน
การต้ังครรภ์ในวัยเรียนให้มีความชัดเจน

2. สรา้ งการรบั รูเ้ ร่อื งนอ้ี ยา่ งท่วั ถงึ ใหค้ รูทกุ คนรูบ้ ทบาทหนา้ ทแ่ี ละถอื เปน็
คณะท�ำงาน/ทีมท�ำงานร่วมกับกับครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์

42 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นที่ต้งั ครรภ์

3. เป็นตัวแทนโรงเรียนในการส่ือสาร ประสาน 3. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้สามารถ
แ ล ะ เ ช่ื อ ม ต่ อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ส นั บ ส นุ น ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนางาน
การท�ำงาน หรือช้ีแจงแนวทางการท�ำงาน อย่างต่อเน่ือง มีความเข้มแข็ง
ป้องกันการต้ังครรภ์ในโรงเรียนท้ังภายใน
แ ล ะ ภ า ย น อ ก โ ร ง เ รี ย น กั บ ห น่ ว ย ง า น 4. ให้การแนะน�ำ ปรึกษา แก้ไขปัญหา หรือ
ภาคีในระดับพ้ืนท่ี เช่น คณะกรรมการ ช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงาน และทีมงานมีก�ำลังใจ
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เครือข่ายผู้ปกครอง ในการท�ำงาน
โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ประจ�ำต�ำบล องค์การบริการส่วนต�ำบล วิธกี ารและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน
เทศบาล สำ� นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา เปน็ ตน้
แผนการท�ำงาน/การอบรม/การประชมุ
4. ก�ำกับ ติดตามผลการท�ำงานภายในโรงเรียน
แ ล ะ ห า วิ ธี ก า ร พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บ 3. คณะกรรมการประสานการท�ำงาน
การด�ำเนินงานของโรงเรียนให้บรรลุเป้า (รองผบู้ รหิ ารทรี่ บั ผดิ ชอบหรอื ถกู มอบหมาย
หมายท้ัง 3 ข้อ หรอื ฝ่ายต่าง ๆ ท้ังด้านวิชาการ กจิ กรรม
พฒั นานกั เรยี น และระบบการดแู ล
วิธกี ารและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน ชว่ ยเหลือนักเรยี น ฝา่ ยกิจกรรมนักเรยี น
ครูอนามัย ครูพยาบาล หัวหน้าระดับช้ัน
การประชมุ ชแ้ี จงกฎหมายคมุ้ ครองสทิ ธเิ ดก็ หรอื สายช้ัน และครูผู้ให้การดูแล
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทตี่ ้งั ครรภ)์ มขี อบขา่ ย
ปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 / หน้าท่ีความรบั ผิดชอบ ดังน้ี
ค�ำส่ัง ประกาศตามนโยบาย /บันทึกรายงาน
1. ป ร ะ ส า น ก า ร ท� ำ ง า น ร ะ ห ว่ า ง ที ม น� ำ
2. คณะกรรมการอ�ำนวยการ ได้แก่ ทีมประสาน ทีมท�ำ หรืออ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ
ผบู้ รหิ าร รองผบู้ รหิ ารฝา่ ยตา่ ง ๆ ตวั แทน งานการเรยี นการสอนเพศวิถีศึกษา การดแู ล
ผปู้ กครอง ตวั แทนชุมชน และหนว่ ยงาน ช่วยเหลือกรณีต้ังครรภ์ในโรงเรียน กิจกรรม
ภาคีในพ้ืนที่ มขี อบข่ายหน้าท่ีความ ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ก า ร จั ด
รบั ผิดชอบ ดังนี้ สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นใหเ้ อ้ือต่อนกั เรยี น
ท่ีต้ังครรภ์ท่ีเรียนต่อในโรงเรียนเดิม
1. วางแผนการท�ำงานและบูรณาการงาน
เพ่อื จดั ชว่ั โมงการสอนเพศวถิ ศี กึ ษาทต่ี อ่ เน่อื ง 2. ป ร ะ ส า น กั บ ห น่ ว ย ง า น ท้ั ง ภ า ย ใ น แ ล ะ
ส�ำหรับนักเรียนทุกคน ภายนอก เพ่ือให้มีการส่ือ ชุ ดการสอน
อุปกรณ์ ท่ีจ�ำเป็นในการท�ำงานของครู
2. วางแผนการท�ำงานป้องกันการต้ังครรภ์ ในโรงเรยี น เชน่ สำ� นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
ภายในโรงเรยี นใหม้ คี วามชดั เจนกบั ผรู้ บั ผดิ ชอบ โรงพยาบาล องค์กร NGO ท่ีมีแนวทาง
ทุ ก ฝ่ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ภ า ย น อ ก การท�ำงานเฉพาะด้านมาหนุนเสริม
โรงเรียน ได้ แก่ หน่วยงานท่ี เก่ี ยวข้อง
เพ่อื ใหส้ ง่ ผลตอ่ เปา้ หมายเชงิ นโยบายทง้ั 3 ขอ้ 3. จัดประชุมหรอื กิจกรรมเพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจ
กั บทุกฝ่ายท่ี เก่ี ยวข้องท้ั งด้ านการสอน
การดแู ลชว่ ยเหลอื และกจิ กรรมพฒั นานกั เรยี น
ตามแนวทางท่ีวางไว้

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 43

แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ัง้ ครรภ์

4. ประสานความร่วมมือจากหน่วยงานอ่ืน 3. จัดท�ำรายงานผลและปัญหาการด�ำเนินงาน
เพ่อื การดแู ลชว่ ยเหลอื สง่ ตอ่ และคมุ้ ครองกรณี ให้ผู้เก่ียวข้องรับทราบ เพ่ือหาทาง
ท่ีนักเรียนมีความต้องการจ�ำเป็นเฉพาะด้าน แก้ไข หรือเกิดแนวทาง วิธีการท�ำงาน
หรือต้องการเข้ารับบริการตามกระบวนการ ท่ีมีประสิทธิภาพ
ของทีมสหวิชาชีพ หรือประสานจัด case
c o n fe r e n c e ร่ ว ม กั บ ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล วิธีการและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน
ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
รายงานข้อมูลภาพรวมของนักเรียน
5. ประเมินผลงานตามแผนท่ีวางไว้ สรุปผล ทุกคน/การประชุม/ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
รวบรวมข้อมูลรายงานจากฝ่ายต่ าง ๆ ใ น แ ล ะ น อ ก ห้ อ ง เ รี ย น ข อ ง เ พ ศ วิ ถี ศึ ก ษ า
เพ่อื จดั ทำ� รายงานสรปุ ภาพรวมการดำ� เนนิ งาน ส�ำหรับนักเรียนแต่ละกลุ่ม/ข้อมูลผลลัพธ์
เพ่ือเสนอต่อคณะอ�ำนวยการภายในหรือ ด้านสุขภาวะทางเพศของนักเรียน
ต้นสังกัดเป็นระยะ
4.2 ครูประจ�ำช้ัน หรอื ครูท่ีปรกึ ษา
วิธีการและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน
1. บั น ทึ ก แ ล ะ จั ด เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
การประชุม/รายงานผลการด�ำเนิน นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยการบันทึก
งานแต่ละด้านในแต่ละ ภาคเรียน/ท�ำเนียบ ฐานข้อมูล DMC
รายช่ือหน่วยงานในพ้ืนท่ี /แผนผังการ
ท�ำงานของทีม 2. ด�ำเนนิ การตาม 5 ข้นั ตอนระบบการดแู ล
ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น รู้ จั ก นั ก เ รี ย น
4. คณะด�ำเนินการ มขี อบข่ายหน้าที่ เปน็ รายบคุ คลคดั กรองดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ
ความรบั ผิดชอบ ดังนี้ หรอื พฒั นา การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา
การส่งต่อและเข้าร่วมประชุม Case
4.1 หวั หน้าระดับช้นั /ผรู้ บั ผดิ ชอบงานวิชาการ conference กรณีท่ีนักเรียนมีปัญหา
เร่ืองเพศหรือต้ังครรภ์ไม่พร้อม
1. ก� ำ กั บ ติ ด ต า ม ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ
การเรียนการสอนเพศวิถีศึกษาส�ำหรับ
นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทค่ี ดั กรองและประเมนิ
ความเส่ียงทางเพศ หรือสอดคล้องกับ
รูปแบบการเรียนของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
แ ล ะ นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ท่ี คั ด ก ร อ ง
ไดเ้ รยี นตอ่ ในโรงเรยี นเดมิ จนจบหลกั สตู ร

2. ประชุมครูแต่ละระดับช้ันเพ่ือปรับปรุง
และพัฒนาการท�ำงานดูแลช่วยเหลือ
และรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
เพศวิถีศึกษาเป็นระยะ เพ่ือให้เกิด
ผลลัพธ์ท่ีดีด้านพฤติกรรมทางเพศของ
นักเรียนแต่ละกลุ่ม

44 บ ทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์

แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นที่ตัง้ ครรภ์

3. ตดิ ตามเยย่ี มบา้ นนกั เรยี น และส่อื สารกบั ร่วมกับครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผปู้ กครองตามแนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื ท่ีต้ั งครรภ์ ท่ี ต้ องการความช่วยเหลื อ
นักเรียนท่ีคัดกรองเป็นกลุ่ม ๆ หรือขอความร่วมมือ

4. ประสาน ส่งต่อข้อมูลในมิติต่าง ๆ ของ 4. จัดกิจกรรมแนะแนว สง่ เสรมิ และพฒั นา
นักเรียน และร่วมมือกับครูผู้ให้การดูแล นกั เรยี นตามแนวทางของการสรา้ งเสรมิ
ชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ ในการดแู ล ทักษะชีวิตและพฤติกรรมเส่ียงต่าง ๆ
นั ก เ รี ย น ท่ี เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า ท า ง เ พ ศ ห รื อ
ต้งั ครรภ์ไมพ่ รอ้ มจนกวา่ จะจบการศกึ ษา วิธกี ารและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน

5. ส รุ ป ร ว บ ร ว ม แ ล ะ น� ำ เ ส น อ ข้ อ มู ล รายงานการด�ำเนินงานหรือกิจกรรม
การวิเคราะห์ความต้องการจ�ำเป็นของ พัฒนาครูผู้สอน และนักเรียน/การประชุม
นักเรียนให้กับผู้เก่ียวข้องภายในโรงเรียน การโค้ช การบริการปรึกษา/บันทึกข้อมูล
เ พ่ื อ อ อ ก แ บ บ ก า ร พั ฒ น า ดู แ ล รายบุคคล สถิติการรับบริการด้านต่าง ๆ
ช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคลให้มี ของนักเรียน
ประสิทธิภาพ
4.4 ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
วิธกี ารและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน ที่ต้ังครรภ์

ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลแต่ละช้ัน/ 1. รับผิดชอบดูแล ช่วยเหลือ เยียวยา
ขอ้ มลู การเยย่ี มบา้ นรายบุคคล/บนั ทึกขอ้ มลู นักเรียนท่ีเผชิญปัญหาเร่ืองเพศหรือ
ข อ ง นั ก เ รี ย น ก ลุ่ ม เ ฝ้ า ร ะ วั ง แ ล ะ นั ก เ รี ย น ต้ังครรภ์ไม่พร้อม ต้ังแต่ต้ังครรภ์ - ยุติ
กลุ่มท่ีต้ังครรภ์ การต้ังครรภ์/คลอด - หลังคลอด/หลัง
ยุติการต้ังครรภ์
4.3 ครูแนะแนว และครูพยาบาล
2. ประสานและท�ำงานกับผู้เก่ียวข้องกับ
1. นิเทศ แนะน�ำครู ทุกคนในโรงเรียน ตั ว นั ก เ รี ย น ท่ี เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า เ ร่ ื อ ง เ พ ศ
ด้านการท�ำงานป้องกัน ดูแล ช่วยเหลือ หรือต้ังครรภ์ไม่พร้อม เช่น ผู้ปกครอง
และพัฒนาเด็กและเยาวชนในเชิงบวก เ พ่ื อ น นั ก เ รี ย น ค รู ป ร ะ จ� ำ ช้ั น ห รื อ
ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ครูท่ีปรึกษา ครูแนะแนว นักจิตวิทยา
การรกั ษาความลบั สว่ นตวั ของนกั เรยี น ฯลฯ จ า ก ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า
หรอื การสง่ ตอ่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในพ้นื ท่ี
2. นเิ ทศใหก้ ารปรกึ ษาสนบั สนนุ หรอื รว่ มมอื ตามความตอ้ งการจำ� เปน็ ของนกั เรยี น
กับครูประจ�ำช้นั /ครูท่ีปรกึ ษากรณที ่ีต้อง
ดูแลนักเรียนแต่ละกลุ่มท่ีคัดกรองไว้ 3. บนั ทึก จัดเก็บ รวบรวมขอ้ มลู ของการให้
(กลมุ่ ท่วั ไป–กลมุ่ เฝา้ ระวงั -กลมุ่ ต้งั ครรภ์ ความดูแล ช่วยเหลือ คุ้มครองนักเรียน
หรือได้รับผลกระทบจากเร่ืองเพศ) ท่ีเผชิญปัญหาเร่ืองเพศหรือต้ังครรภ์
ไม่พร้อม เพ่ือใช้ประโยชน์ในการส่งต่อ
3. ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า เ บ้ื อ ง ต้ น ( B a s i c ห รื อ จั ด ป ร ะ ชุ ม ส ห วิ ช า ชี พ ( C a s e
counselling) กับนกั เรยี นท่ีเผชญิ ปญั หา conference) รวมท้ังการรายงานผล
เร่ืองเพศหรือต้ังครรภ์ไม่พร้อม หรือ การด�ำเนินงานให้ผู้เก่ียวข้องทราบ
ยุติการคลอดแล้วเรยี นต่อในโรงเรียนเดิม
4. จดั ประชมุ สหวชิ าชพี (Case conference)

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 45

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นท่ีต้งั ครรภ์

วิธีการและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน 2. เปน็ แกนหลักหรอื ตัวแทนเพ่อื นนกั เรยี น
ใ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล
แบบบันทึกและข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน ช่วยเหลือนักเรียน และกิจกรรมพัฒนา
เ ฉ พ า ะ ร า ย ท่ี รั บ บ ริ ก า ร / ท� ำ เ นี ย บ ร า ย ช่ ื อ โรงเรยี น
ทีมวิชาชีพ หน่วยงาน หรือผู้เช่ียวชาญ
เฉพาะทางด้านสุขภาวะเด็กและเยาวชน 3. ก า ร ส่ื อ ส า ร ห รื อ เ ช่ื อ ม ต่ อ
เพ่อื นนกั เรยี นทต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื กบั
4.5 ครูผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ หรอื ครูอ่ืนใน ครู ผู้ให้ก ารดูแ ล ช่วยเหลื อ นั กเรี ยน
โรงเรยี น ท่ีต้งั ครรภ์ ครูแนะแนว ครูประจ�ำชน้ั หรอื
ครูท่ีปรึกษา ครูพยาบาล เพ่ือให้ได้รับ
1. สนบั สนนุ และใหค้ วามรว่ มมอื ในการดแู ล บรกิ ารหรอื การชว่ ยเหลอื ท่ที นั เหตกุ ารณ์
ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า
แ ล ะ ก า ร มี ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท า ง สั ง ค ม วธิ กี ารและหลกั ฐานอา้ งองิ การปฏิบตั งิ าน
ใ น โ ร ง เ รี ย น ท่ี เ อ้ ื อ ต่ อ ก า ร ใ ห้ ก� ำ ลั ง ใ จ
ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น ก า ร ส� ำ ร ว จ ปั ญ ห า / ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ในเร่อื งเพศวถิ ี การอยรู่ ว่ มกนั ของนกั เรยี น แต่ละระดับช้ัน
ท่ีต้ังครรภ์และเรยี นต่อในโรงเรยี น
5. คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
2. การบูรณาการการสอนท่ีเปน็ การมงุ่ เน้น และเครอื ขา่ ย มขี อบขา่ ยหนา้ ที่
ให้เกิดทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาวะ ความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี
โดยเฉพาะเร่ืองเพศวิถี
1. มตี วั แทนเขา้ รว่ มเปน็ คณะกรรมการอำ� นวยการ
วิธกี ารและหลักฐานอ้างอิงการปฏิบัติงาน (ทีมน�ำ) ให้ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น
และส่ือสารความต้องการของผู้ปกครอง
กจิ กรรมหรอื แผนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ ในการพัฒนาทักษะชีวิตและการป้องกัน
ส�ำหรับนักเรียน การต้ังครรภ์ในวัยรุน่

4.6 แกนน�ำนักเรยี น 2. ส่อื สารความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การดแู ล ชว่ ยเหลอื
ป้ อ ง กั น คุ้ ม ค ร อ ง นั ก เ รี ย น ด้ า น เ พ ศ
1. เ ป็ น แ ก น ห ลั ก ห รื อ ตั ว แ ท น ข อ ง ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไข
เพ่ือนนักเรียนในการรวบรวมและเสนอ ปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
ความคิดเหน็ ความต้องการของนกั เรยี น กบั กลมุ่ ผปู้ กครอง ชมุ ชน
ในภาพรวมตอ่ ผบู้ รหิ ารหรอื คณะกรรมการ
โรงเรียน เพ่ือให้มีการเรียนการสอน 3. สนับสนุนและส่งเสริมการดูแล ช่วยเหลือ
หรือสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการสร้าง ป้องกัน คุ้มครองนักเรียนของโรงเรียน
สขุ ภาวะทางเพศ ความปลอดภยั ทางเพศ เพ่ือให้นักเรียนท่ีเผชิญปัญหาทางเพศหรือ
สำ� หรบั นกั เรยี นทกุ คน ต้ังครรภ์ได้รับโอกาสการพัฒนาตามสิทธิ
ทพ่ี งึ มี ไดเ้ รยี นตอ่ จนจบ และมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี

46 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นที่ตั้งครรภ์

กระบวนการ

และข้ันตอนการด�ำเนินงาน

นักเรียนทุกคนที่อยู่ในโรงเรียนมีโอกาสท่ีจะเกิดปัญหาเร่ืองเพศหรือการต้ังครรภ์
ไมพ่ รอ้ ม เนอื่ งจากการเขา้ สวู่ ยั เจรญิ พันธ์ุ และความไมเ่ ทา่ ทนั ขาดทกั ษะ ไมม่ คี วามรู้ และปจั จยั แวดลอ้ ม
จากครอบครวั ชมุ ชนของนกั เรยี นแตล่ ะคนอาจเปน็ ปจั จยั กระตนุ้ ดงั นน้ั ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื ของ
โรงเรยี นทก่ี ำ� หนดบทบาทหนา้ ทใ่ี หค้ รปู ระจำ� ชน้ั หรอื ครทู ป่ี รกึ ษา เปน็ หลกั และมกี ลไกการดำ� เนนิ งาน
ในกรณีที่มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือก็จะมี “ทีมน�ำ” “ทีมประสาน” “ทีมท�ำ” ที่ครูทุกคนและ
ผเู้ กย่ี วขอ้ งมบี ทบาทหนา้ ทร่ี ว่ มกนั รวมทง้ั ครผู ใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี งั้ ครรภ์ จะมบี ทบาท
การทำ� งานเฉพาะในการดแู ลชว่ ยเหลอื ตดิ ตามเชงิ ลกึ กบั นกั เรยี นทต่ี งั้ ครรภห์ รอื เผชญิ ปญั หาทางเพศ
ภาพรวมการด�ำเนินงานแต่ละขั้นตอนของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน 5 ขั้นตอน
จงึ ตอ้ งมแี นวทางเพื่อใหเ้ หน็ กระบวนการทชี่ ดั เจนในการเรอื่ งการสง่ เสรมิ และพัฒนา ปอ้ งกนั และแกไ้ ข
ดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทกุ คนในเรอื่ งเพศและตง้ั ครรภ์ ดงั น้ี

1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 1.2 ข้อมูลเก่ียวกับครอบครัวหรือผู้ปกครอง
ท้ังด้านเศรษฐกิจ รายได้ สัมพันธภาพของ
ข้ันตอนเรมิ่ ต้นของระบบการดูแลช่วยเหลือ คนในครอบครัว มิติด้านสังคมวัฒนธรรม
นักเรยี นนม้ี คี วามสำ� คัญมาก เพราะครูประจ�ำช้นั หรอื ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ อ า ชี พ ข อ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง
ครูที่ปรึกษาจะต้องมีข้อมูลรายบุคคลของนักเรยี น ก็ถือว่าจ�ำเป็น ข้อมูลสารสนเทศเหล่าน้ี
ที่รับผิดชอบทุกคนในแต่ละช้ัน การรู้จักนักเรียน มีประโยชน์ในการน�ำมาวิเคราะห์เช่ือมโยง
เป็นรายบุคคลต้องมีรายละเอียดหรือสารสนเทศ กับพฤติกรรมทางเพศของนักเรียน หรือ
ควรประกอบด้วยข้อมูลท้ังสองด้าน คือ ในกรณีท่ีต้องการช่วยเหลือหากต้ังครรภ์
ท้ั ง น้ี ค รู ป ร ะ จ� ำ ช้ั น ห รื อ ค รู ท่ี ป รึ ก ษ า จ ะ มี
1.1 ข้อมูลสว่ นตัวของนักเรียน ท้ังด้านประวัติส่วนตัว แนวทางการเก็บและจัดท�ำบันทึกข้อมูล
ผลการเรยี นความชอบความสนใจความสามารถพเิ ศษ ของโรงเรียนอยู่แล้วในฐานข้อมูลระบบ
การมีส่วนร่วมในโรงเรียนในกิจกรรมต่าง ๆ การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ข้อมูลท่ีได้
สุขภาพสว่ นตัว พัฒนาการด้านสงั คม สภาพอารมณ์ มคี วามครอบคลมุ ทง้ั มติ ดิ า้ นรา่ งกาย อารมณ์
สัมพันธภาพกับคนรอบข้าง เพ่ือน พฤติกรรม สังคม จิตใจ สติปัญญา หรือการเรียนรู้ของ
เส่ียงท้ังด้านการใช้สารเสพติด เหล้า บุหร่ี เพศ
ความรุนแรง เกม ฯลฯ

บทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 47

แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นทีต่ ้ังครรภ์

นักเรียนแต่ละคน และควรมีการเก็บข้อมูลท่ีรอบด้านจากท้ังตัวเด็กและผู้ปกครอง โดยการสัมภาษณ์
สอบถาม สังเกตสภาพแวดล้อม และน�ำมาใช้ประโยชน์ในการคัดกรองความเส่ียงทางเพศของนักเรียน
การเก็บขอ้ มลู เปน็ รายบุคคลเพ่อื นำ� มาใชเ้ ปน็ แนวการประเมนิ ความเส่ยี ง ซ่งึ ประยุกต์มาจากแบบประเมนิ
ความเส่ียง HEEADSSS (S) Assesment (องค์ความรู้การด�ำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการ
ส�ำหรับทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น Teen Manager กระทรวงสาธารณสุข และ UNICEF 2559 ) เป็นการ
เก็บข้อมูลนักเรียนเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการพูดคุยหรือซักถามในแต่ละหัวข้อ ดังน้ี

หัวข้อ แนวทางค�ำถาม

พฤติกรรมทางเพศ มีแฟน คนรักหรือไม่ การมีเพศสัมพันธ์ การใช้ถุงยางอนามัย
ครอบครัว บ้าน ชุมชน ส่ิงแวดล้อม การวางแผนป้องกันการต้ังครรภ์ การตรวจโรคติดต่อทางเพศ
การศึกษาและ การวางแผนในอนาคต สัมพันธ์และการรักษา
กิจกรรมยามว่างหรืองานอดิเรก
บา้ นอยูท่ ่ีไหน อยูก่ ับใคร อาชพี ผปู้ กครองคืออะไร สนทิ กับใคร
การใช้สารเสพติด ในบ้าน มีปัญหาปรึกษาใครในบ้าน ความรู้สึกพึงพอใจ
ปัญหาทางอารมณ์ ในการอยู่บ้าน ความกังวลใจกับสภาพแวดล้อมอะไรบ้าง

ความปลอดภัย ผลการเรียนเป็นอย่างไร พอใจกับผลการเรียนหรือไม่
วิชาท่ีชอบ อาชีพท่ีอยากท�ำในอนาคต เพ่ือนสนิทในโรงเรียน
มีหรือไม่ ปัญหาการอยู่ในโรงเรียนมีอะไรบ้าง

ถ้ามีเวลาว่างชอบท�ำอะไรบ้าง ท�ำกับใคร การใช้ส่ือเทคโนโลยี
ถ่ีบ่อยแค่ไหน เว็บไซต์ท่ีเข้าไปบ่อย ๆ คืออะไร ดูหนังโป๊หรือ
แอพพลิเคช่ันส่ือสารท่ีเป็นช่องทางการติดต่อหรือพูดคุย
เก่ียวกับเร่ืองเพศ การหาคู่ เป็นต้น

มีเพ่ือนท่ีใช้สารเสพติด (เหล้า บุหร่ี) หรือไม่ มีคนในครอบครัว
ท่ีใช้สารเสพติด(เหล้า บุหร่ี) หรือไม่ อะไรบ้าง เคยลองใช้บ้าง
หรือไม่ ผลเป็นอย่างไร คิดอย่างไรกับสารเสพติดต่าง ๆ

โดยท่ัวไปเป็นอย่างไร รู้สึกเบ่ือหน่าย เศร้า รู้สึกแย่หรือไม่
มีความคิดอยากมีชีวิตหรือวางแผนหรือลงมือฆ่าตัวตาย
หรือไม่ อย่างไร คะแนนความสุขในชีวิต อะไรท่ีท�ำให้ชีวิต
มีหรือไม่มีความสุข

การซอ้ นท้ายมอเตอรไ์ ซต์ การสวมหมวกนริ ภยั การคาดเขม็ ขดั
การทะเลาะวิวาท ความรู้สึกปลอดภัยเม่ืออยู่โรงเรียน บ้าน
หรือชุมชน

หมายเหตุ : ข้อพึงระวังในการการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพกับนักเรียน

ครูท่ีปรึกษาหรือครูประจ�ำช้ันควรจัดสภาพแวดล้อมท่ีเป็นส่วนตัว ครูชวนพูดคุยด้วยท่าทีท่ีเป็นมิตร ช้ีแจง
ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลให้นักเรียนทราบ และไม่คาดค้ันให้ตอบค�ำถามถ้านักเรียน
ไม่สมัครใจ อึดอัด รวมท้ังไม่ตัดสิน ส่ังสอน ดุด่า ในพฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีนักเรียนสะท้อนหรือตอบค�ำถาม การพูด
คุยเป็นการช่วยให้ครูรู้จักนักเรียนมากข้ึน และท�ำให้เกิดสัมพันธภาพท่ีดี เป็นช่องทางให้เข้าถึงตัวนักเรียนมากข้ึน

48 บ ทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์

แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้งั ครรภ์

2. การคัดกรองและจัดกลุ่มนักเรียน

จากขอ้ มลู สารสนเทศของนกั เรยี นทจี่ ดั เกบ็ มาครทู ปี่ รกึ ษาหรอื ครปู ระจำ� ชน้ั จะตอ้ งวเิ คราะหโ์ อกาสเสยี่ ง
ทางเพศของนักเรยี นแต่ละคน ไม่เฉพาะเพศหญิง เพ่ือระบุขอบเขตของปัญหาหรือความเสี่ยงทางเพศ
และวางแนวทางการดูแล ช่วยเหลือ และคุ้มครองอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับสภาพความต้องการ
หรอื ปัญหาของนักเรยี น โดยมแี นวทางการพิจารณาความเสย่ี งทางเพศ ดังน้ี

“มคี วามเสยี่ ง” นักเรยี นมพี ฤติกรรมข้อใดข้อหนึ่งหรอื มากกว่าหนึ่งข้อต่อไปนี้
มีแฟน มีคนรัก
อยู่เป็นคู่ โดยผู้ปกครองอาจรับรู้ หรือแต่งงาน
พฤติกรรมชู้สาว แยกตัวอยู่กับแฟน ตบตีแย่งแฟนกัน
มีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน
เผยแพร่ข้อมูลเร่ืองเพศทางโซเซียลเน็ตเวิร์ค ส่งต่อภาพโป๊เปลือย คลิปการมีเพศสัมพันธ์
คนในครอบครัวเก่ียวข้องกับการค้าบริการทางเพศ
คบเพ่ือนท่ีอยู่ในกลุ่มขายบริการทางเพศ
พฤติกรรมอ่ืน ๆ (ท่ีอาจเช่ือมโยงกัน) เช่น มีความวิตกกังวล เบ่ือหน่าย ขาดเรียนบ่อย เก็บตัว ความสัมพันธ์
กับคนรอบตัว เพ่ือน ผู้ปกครองไม่ค่อยดี ท�ำงานพิเศษนอกเวลาเรียนท่ีเส่ียงต่อความปลอดภัยหรือ
ถกู ลวนลามสภาพแวดลอ้ มทอ่ี ยอู่ าศยั ไมป่ ลอดภยั หรอื ไมม่ คี นดแู ลใกลช้ ดิ การเรยี นลดลงขาดเรยี นเกย่ี วขอ้ งกบั
การรวมกลุ่ม แข่งรถ ใช้สารเสพติดหรือด่ืมแอลกอฮอล์ ทะเลาะวิวาท เป็นต้น

บทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์ 49

แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนท่ตี ัง้ ครรภ์

มปี ัญหกา”านรักบเรรยี ิหนามรปี จัญัดหากใานรขแ้อใลดะขก้อาหรนใึ่งหต่อ้คไวปานมี้ ช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์

ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ต้ังครรภ์
ถูกล่วงละเมิดทางเพศ หรือถูกใช้ความรุนแรง
ล่วงละเมิดทางเพศผู้อ่ืน หรือละเมิดสิทธิทางเพศผู้อ่ืน
ถูกรังแก หรือเป็นเหย่ือทางเพศออนไลน์ (Sexual cyber bullying)
ขายบริการทางเพศ
ชักชวนเพ่ือนขายบริการทางเพศ
สร้างหรือเผยแพร่คลิป ข้อความ ภาพ ข้อมูลทางเพศ เช่น คลิปมีเพศสัมพันธ์ ภาพโป๊เปลือย

ครูประจ�ำช้ันหรือครูที่ปรึกษาท่ีได้พิ จารณาข้อมูล
นักเรียนเป็นรายบุคคลและความเส่ียงทางเพศ

แล้วก็น�ำมาแยกจัดกลุ่มนักเรียน ดังน้ี

กลุ่มทั่วไป หมายถึง กลุ่มนักเรียนท่ียังไม่พบปัญหา สั ม พั น ธ ภ า พ กั บ ค ร อ บ ค รั ว ห รื อ กั บ เ พ่ื อ น ไ ม่ดี
ห รื อ อ า จ ยั ง เ ข้ า ไ ม่ ถึ ง ส ภ า พ ปั ญ ห า ท า ง เ พ ศ ข อ ง ผลการเรียนตกต่�ำลง ขาดเรียนบ่อย กลับบ้านดึก
นักเรียนกลุ่มน้ี หรือไม่กลับ มีปัญหาทางด้านอารมณ์ สังคม เป็นต้น

กลมุ่ เฝา้ ระวงั หมายถงึ กลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ี“ความเสย่ี ง” กลุ่มต้ังครรภ์หรือมีผลกระทบจากเร่ืองเพศ
มีพฤติกรรมเส่ยี ง มสี ภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือใหเ้ กิด หมายถึง นักเรียนท่ี “มีปัญหา” หรือเกิดผลกระทบ
จากเร่ืองเพศในรู ปแบบใดรู ปแบบหน่ึง ได้ แก่
ความเส่ียงทางเพศ เช่น มีคู่รัก มีแฟน อยู่เป็นคู่/ ต้ังครรภ์ไม่พร้อม ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แ ต่ ง ง า น มี เ พ ศ สั ม พั น ธ์ รู้ สึ ก ว่ า ไ ม่ ป ล อ ด ภั ย ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ถูกรังแก เผยแพร่ภาพลามก
ในบ้านหรือชุมชน มีสมาชิกในครอบครัวท่ีเก่ียวข้อง โป๊เปลือย ละเมิดสิทธิทางเพศผู้อ่ืน เก่ียวข้องกับ
กับการค้าบริการทางเพศหรือการใช้สารเสพติด การขายบริการทางเพศ เป็นต้น

50 บ ทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์


Click to View FlipBook Version