The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ict.sesaosp, 2022-11-29 03:41:03

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ีตั้งครรภ์

ตัวอย่างค�ำพู ดท่ีใช้ (....ตัวอย่างเฉพาะประสานด้านสุขภาพ)

ช่วงการส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ช่วงเรม่ิ ต้น > “ครูมีคุณหมอท่ีเขาเช่ียวชาญในเร่ืองน้ี เขาสามารถให้ข้อมูลได้ครอบคลุม
การประสาน หนูสนใจไปพบเขาไหมคะ”

> “คุณแม่อยากคุยกับคุณหมอท่ีเช่ียวชาญด้านน้ีโดยเฉพาะไหมคะ
ครูสามารถติดต่อให้ได้ค่ะ”

> “คุณพยาบาลท่ีหนูจะไปพูดคุย เขาบอกว่าสามารถคุยตอนเย็น ๆ ท่ีหนู
พร้อมได้จ้ะ”

ช่ ว ง ร่ ว ม กั น ห า ท า ง อ อ ก >“ทางโรงเรียนต้องการทราบข้อมูลว่าทางโรงพยาบาลมีระบบในการดูแล

และความช่วยเหลือ นักเรียนท่ีต้ังครรภ์อย่างไรบ้าง”

> “ทางคุณพยาบาลต้องการให้ทางโรงเรียนร่วมมืออย่างไรท่ีจะเป็น
ประโยชน์กับนักเรียน ทางเราก็ยินดีนะคะ”

> “อยากขอความช่วยเหลือให้คุณพยาบาลแนะน�ำการดูแลตนเองระหว่าง
ต้ังครรภ์ให้กับนักเรียนค่ะ”

> “ทางโรงเรียนมีนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ เราได้คุยกันแล้วท้ังนักเรียนและ
ผู้ปกครองต้องการเอาเด็กออกค่ะ ครูเลยจะขออนุญาตส่งนักเรียนและ
ผู้ปกครองให้มาคุยรายละเอียดกับทางโรงพยาบาลนะคะ”

ช่วงท้ายของ > “นักเรียนท่ีห้องของคุณครู ได้คุยกับเด็กและพ่อแม่ ตกลงเขาจะลาออก
การประสาน นะคะ และย้ายไปอยู่ท่ีต่างจังหวัดค่ะ”

> “ลูกศิษย์ท่ีเราได้ช่วยกัน เขาขอเรียนต่อค่ะ แต่เรียนท่ีบ้าน ตอนน้ี
ได้ประสานผู้สอนเรียบร้อย พ่อแม่เขาก็เห็นดีด้วยค่ะ”

> “ลูกศิษย์ท่ีเราได้ช่วยกันดูแล ตอนน้ีแจ่มใสข้ึน เขาจะกลับมาเรียน เขาได้
ลูกชายค่ะ ตอนน้ีให้คุณยายเล้ียง”

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์ 101


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นที่ต้ังครรภ์

3.4 การประสานกับเพ่ือนนักเรยี น

1. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือสร้างความเข้าใจกับเพ่ือน ๆ ร่วมช้ันเรียน และ
นั ก เ รี ย น ใ น โ ร ง เ รี ย น ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ย อ ม รั บ แ ล ะ ใ ห้ โ อ ก า ส
กับเพ่ือนนักเรียนท่ีต้ังครรภ์

2. เพ่อื ใหเ้ พ่อื นไดช้ ว่ ยเหลอื เพ่อื น และมแี นวทางการปฏบิ ตั ติ น
ท่ีเหมาะสมระหว่างเพ่ือน ๆ กับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์

2. บทบาทของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ 1. เป็นส่ือกลางในการช่วยให้เพ่ือนนักเรียนในห้อง และ

นักเรยี นท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรกึ ษา นักเรียนท้ังโรงเรียนเข้าใจและยอมรับ

2. จัดบรรยากาศเอ้ือใหม้ กี ารสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเหน็

เก่ียวกับบทบาทของเพ่ือนท่ีจะมีส่วนในการช่วยเหลือ

เม่ือเพ่ือนเกิดปัญหา

3. ส่งเสริมให้มีการดูแลช่วยเหลือกัน อยู่ร่วมกันอย่าง

กัลยาณมิตร

102 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์

ช่วงการส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ดที่ใช้
ช่วงเรม่ิ ต้น
การประสาน ตัวอย่างค�ำพู ด

ช่วงรว่ มกันหาทางออก > “ตอนนใ้ี นหอ้ งของเรามเี พ่อื นทก่ี ำ� ลงั ประสบปญั หาพบวา่ กำ� ลงั ต้งั ทอ้ งนะคะ
และความช่วยเหลือ ครูอยากปรึกษาว่าเราจะช่วยเพ่ือนของเราได้อย่างไรบ้าง เพ่ือให้เพ่ือน
ของเราผ่านไปให้ได้”
ช่วงท้ายของ
การประสาน > “เราจะท�ำความเข้าใจกับเพ่ือนนักเรียนคนอ่ืน ๆ อย่างไรดีคะ”

> “นักเรียนมีความคิดเห็นกับเร่ืองน้ีอย่างไรบ้างคะ”
>“ในฐานะเพ่ือนร่วมห้องเรียน นักเรียนจะช่วยเพ่ือนให้เรียนต่อไปจนจบ

ช้ันน้ีได้อย่างไรคะ”
>“เราจะช่วยกันได้อย่างไรบ้างท่ีจะท�ำให้นักเรียนคนอ่ืนเห็นใจ ให้โอกาส

เพ่ือนของเรา โดยไม่ต้ังข้อรังเกียจหรือล้อเลียน ครูขอความคิดเห็นค่ะ”

> “เพ่ือนของเราตอนน้ีตัดสินใจเรียนต่อ แต่ขอเรียนแบบออนไลน์นะคะ
เพราะไม่สะดวกในการเดินทางมาเรียน หากนักเรียนคนใดพร้อมจะให้
ความช่วยเหลือในวิชาใด ๆ บอกครูมานะคะ ครูจะประสานต่อให้ค่ะ”

> “เพ่ือนของเราตอนน้ีใกล้คลอดแล้วนะคะ สุขภาพดีท้ังแม่และลูก เพ่ือน ๆ
ว่างแวะไปเย่ียมนะคะ เพ่ือนเราจะได้มีก�ำลังใจ”

> “เพ่ือนเราคลอดแล้วนะคะ หลานของพวกเราเป็นผู้ชายนะ ครูได้ข่าว
ว่ามีคนไปเย่ียมมาแล้ว ดีจัง เพ่ือนจะได้มีก�ำลังใจ เด่ียวเปิดเทอมสอง
เพ่ือนจะกลับมาเรียนนะคะ ครูหวังว่าพวกเราทุกคนจะยินดีต้อนรับและ
ให้โอกาสเพ่ือนนะคะ ถ้าพวกเราโอเคกับเพ่ือน ปฏิบัติกับเขาเหมือนเดิม
ครูเช่ือว่า เพ่ือนของเราจะมีก�ำลังใจ และเรียนต่อได้จนจบนะคะ”

ท้ังกระบวนการปรึกษาเพ่ือหาทางเลือกและ ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา
การประสานความชว่ ยเหลือกับฝา่ ยต่าง ๆ ท้ังภายใน จึงควรได้รับการฝึกฝนและพัฒนาทักษะการให้
และภายนอกโรงเรียนท่ีได้กล่าวมาข้างต้น นับว่า การปรกึ ษา และทกั ษะในการประสานอยา่ งตอ่ เน่อื ง
เป็นข้ันตอนท่ีส�ำคัญท่ีจะช่วยให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ซ่ึงจะเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการท�ำหน้าท่ีของครู
ผ่านวิกฤติปัญหาน้ีไปให้ได้ไม่ว่านักเรียนจะตัดสินใจ ผู้ให้การดูแลช่วยเหลื อนักเรียนท่ี ต้ั งครรภ์ /
เลือกทางเลือกใดก็ตาม เพราะการดูแลช่วยเหลือ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา เพ่อื นำ� พาลกู ศษิ ยอ์ อกจากปญั หา
นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์ ยอ่ มมาจากความรว่ มมอื ของทกุ คน ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน
ท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียน ดังน้ัน ครู ผู้ให้การดูแล
บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 103


5บทที่
แนวทาง
การจัดการเรียนรู้
ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นทีต่ ้งั ครรภ์ และปญั หาเร่อื งเพศของเดก็ และเยาวชนในสงั คมไทย
มีความซับซ้อน อันมาจากฐานคิดด้านสังคมและ
ครูและโรงเรียน วัฒนธรรมท่ียังคงไม่เปิดโอกาสการเรียนรู้ให้เกิด
ต้องตระหนกั วา่ เดก็ และ ข้ึนตามพัฒนาการของช่วงวัย ขาดการเตรียม
เยาวชนมโี อกาสทจ่ี ะ เ ด็ ก ใ ห้ เ ข้ า สู่ วั ย รุ่ น แ ล ะ รู้ เ ท่ า ทั น อ า ร ม ณ์ เ พ ศ ข อ ง
กา้ วพลาดได้ หรอื ตัวเอง ไมส่ ามารถจัดการตัวเองให้มีความรับผิดชอบ
เผชญิ กับปัญหาทางเพศ และปลอดภัย เพราะปัจจัยด้านทัศนคติของผู้ใหญ่
ในรูปแบบต่าง ๆ ท�ำให้การเรียนรู้เร่ืองเพศของวัยรุ่นยังคงเป็นการ
เนือ่ งจากสภาพแวดลอ้ ม ลองผดิ ลองถกู ดว้ ยตวั เอง และหากเกดิ ความผดิ พลาด
การด�ำรงชีวติ ในปัจจุบัน ก็จะไม่ได้รับการยอมรับจากคนรอบข้าง ดังน้ัน
มีความเปลยี่ นแปลง คนใกล้ชิดต้องมีความเข้าใจต่อพัฒนาการทางเพศ
และตระหนกั วา่ เร่อื งเพศเปน็ เร่อื งปกติของคนทกุ คน
ครูและโรงเรียน

เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการดแู ลชว่ ยเหลอื ใหโ้ อกาส
เ ปิ ด ก ว้ า ง แ ล ะ เ ปิ ด ใ จ ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง วั ย รุ่ น
ซง่ึ ตอ้ งไดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลอื ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาจนจบ
ตามหลักสูตร อีกท้ังมีความเข้มแข็ง มีความพร้อม
ต่อการด�ำรงชีวิต สามารถใช้ชีวิตประจ�ำวันได้อย่าง
ปกติสุข

การจัดการศึกษาส�ำหรับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
ร ว ม ถึ ง ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ส� ำ ห รั บ เ ย า ว ช น
ในโรงเรียน อยู่บนพ้ืนฐานของการคุ้มครองสิทธิเด็ก
และเยาวชนท้ังด้านการศึกษา สุขภาพ สังคมและ
สวัสดิการ การเจริญเติบโตด้านต่าง ๆ

บทท่ี 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์ 105


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ีตง้ั ครรภ์

พระราชบญั ญตั ิการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาส
การต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรา 5 ได้ระบุ ท่ีจะได้รบั การศกึ ษาเสมอภาคเท่าเทียมกันอยา่ งทั่วถึง
ไว้ว่า “วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิ และมีคุณภาพ โดยยึดหลักนักเรียนส�ำคัญท่ีสุด
ไ ด้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ค ว า ม รู้ ” ท่ี ส� ำ คั ญ ดงั นน้ั โรงเรยี นจงึ ตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบการดแู ลชว่ ยเหลอื
ในมาตรา 6 (3) ท่ีระบุว่า “ให้สถานศึกษาจัดให้มี และคุ้มครองนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ให้ได้รับการศึกษา
ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา ด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสมและต่อเน่ือง จนจบหลักสูตร
ท่ีต้ังครรภ์ ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสม การศึกษาภาคบังคับ หรือการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
และต่อเน่ือง” รวมท้ัง กฎกระทรวงศึกษาธิการท่ีได้ โดยโรงเรียนจะต้องยืดหยุ่นในวิธีการจัดการเรียนรู้
ก�ำหนดประเภทของสถานศึกษาและการด�ำเนินการ ส�ำหรับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ โดยอาจจะต้องท�ำแผน
ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า การจัดการเรียนรู้รายบุคคลในลักษณะท่ีมีความ
การต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 โดยเฉพาะ หลากหลาย และจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพ
ในข้อ 7 ท่ีระบุว่า “ให้สถานศึกษาตามวรรคหน่ึง นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ หรือวิธีการอ่ืน ๆ ท่ีสอดคล้องกับ
จัดใหม้ รี ะบบการดแู ลชว่ ยเหลือและค้มุ ครองนกั เรยี นหรอื บริบทของโรงเรียนและสภาพนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
นักศึกษาซ่ึงต้ังครรภ์ให้ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบ
ท่ีเหมาะสมและต่อเน่ือง โดยใน (1) อนุญาตให้
นักเรียนหรือนักศึกษาดังกล่าวหยุดพักการศึกษา
ในระหว่างการต้ังครรภ์ การคลอด และหลังคลอด
เพ่ือดูแลบุตรตามความเหมาะสม และจัดการเรียน
การสอนใหเ้ กดิ ความยดื หยนุ่ ตามศกั ยภาพอยา่ งตอ่ เน่อื ง”
ซ่ึงนายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร ผู้อ�ำนวยการ
ศนู ยน์ โยบายและการจดั การสขุ ภาพคณะแพทยศ์ าสตร์
โ ร ง พ ย า บ า ล ร า ม า ธิ บ ดี ไ ด้ เ ค ย ก ล่ า ว ไ ว้ ว่ า
“เร่ืองเด็กท้องต้องได้เรียนเป็นเร่ืองส�ำคัญ การเรียน
เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง อ น า ค ต ข อ ง ค น ทุ ก ค น ซ่ึ ง ล่ า สุ ด
เม่อื เดอื นตลุ าคม 2561 ทผ่ี า่ นมา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ได้ออกกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
โดยหน่ึงในข้อก�ำหนดส�ำคัญ คือ การประกาศ
ให้ทุกสถาบันการศึกษาใด ๆ ก็แล้วแต่ เม่ือพบว่า
เด็กต้ังครรภ์จะต้องไมใ่ หเ้ ด็กออกจากโรงเรยี น ยกเว้น
จะมกี ารยา้ ยตามความประสงคข์ องนกั เรยี นการใหเ้ ดก็
กลับสู่ระบบการเรียนยังมีประโยชน์ เพราะเคยมี
ผลการศึกษาจากต่างประเทศพบว่า เด็กท่ีอุ้มท้อง
มาเรยี นจะชว่ ยสรา้ งความตระหนกั ใหก้ บั เพ่อื นใหเ้ ขา้ ใจ
และระมัดระวังป้องกันไม่ให้ท้องก่อนวัยอันควรได้”

106 บ ทที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนท่ีตั้งครรภ์

บทบาทหน้าท่ี

ของผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในการจัดการศกึ ษา
ให้แก่นักเรียนท่ีตั้งครรภ์

โรงเรียนในฐานะองค์กรที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาของนักเรียนโดยตรง มีหน้าที่
จดั การเรยี นการสอน และบรกิ ารทางการศกึ ษาใหก้ บั นกั เรยี นทกุ คน ทกุ ระดบั ชน้ั อยา่ งทวั่ ถงึ ดว้ ย
ความเสมอภาค กรณีที่มีนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ระหว่างเรียน ผู้มีบทบาทเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหาร
ครู บุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ในโรงเรียน ผู้ปกครอง ตัวนักเรียนและพ่ อของเด็กในครรภ์
บคุ คลเหลา่ นต้ี อ้ งรบั ทราบและรว่ มมอื กนั แกไ้ ขปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ เพ่ือใหน้ กั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภไ์ ดร้ บั
การชว่ ยเหลอื คมุ้ ครองตามสทิ ธขิ องพระราชบญั ญตั กิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่
พ.ศ. 2559 ภายใตร้ ะบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทไ่ี ดก้ ำ� หนดบทบาทของครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี น
ใหด้ ำ� เนนิ การทงั้ ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน การปอ้ งกนั การตงั้ ครรภข์ องนกั เรยี นกลมุ่ เฝา้ ระวงั
และการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภห์ รอื เผชญิ ปญั หาทางเพศ รวมถงึ การจดั การเรยี นการสอน
ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของนกั เรยี นทต่ี งั้ ครรภ์ ซง่ึ กรณนี้ ี้ บคุ ลากรในโรงเรยี นมบี ทบาทสำ� คญั
ในการเออื้ อำ� นวยและจดั การเรยี นการสอนใหน้ กั เรยี น ดงั น้ี

1. ผู้บริหารสถานศึกษา

1.1 ประชุมช้ีแจงผู้เก่ียวข้องเพ่ือสร้างความเข้าใจและตระหนักถึง
ปัญหาร่วมกัน

1.2 จัดต้ังทีมงาน เช่น ครูประจ�ำช้ันหรือครูท่ีปรึกษา ครูแนะแนว
ครู ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ครู พยาบาล
ครูประจ�ำวิชา ครูท่ีรับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
หัวหน้าระดับ ผู้ปกครองของนักเรียน คณะกรรมการวิชาการ
กรรมการอ�ำนวยการทุกฝ่าย เพ่ือรับทราบกระบวนการท�ำงาน
และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ตามสภาพปัญหาและ
บริบทของโรงเรียน

บทท่ี 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์ 107


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นทตี่ ัง้ ครรภ์

2. ฝ่ายวิชาการ 4. ผู้ปกครองของนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์
จัดท�ำโครงการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน
เป็นรายกรณี โดยคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ 4.1 ใหค้ วามรว่ มมอื ในการแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั ระหวา่ ง
ครูประจ�ำช้ันหรือครูท่ีปรึกษา ครูประจ�ำวิชา บ้านกับโรงเรียนในการดูแลให้ความช่วยเหลือ
ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ อ� ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์
ครูทร่ี บั ผดิ ชอบงานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีพร้อมในการดูแล
หัวหน้าระดับ ผู้ปกครอง และนักเรียน ร่วมกัน ท า ร ก ใ น ร ะ ห ว่ า ง ต้ั ง ค ร ร ภ์ แ ล ะ ห ลั ง ค ล อ ด
วางแผนและพจิ ารณาการจดั รูปแบบวธิ กี ารเรยี น อย่างปลอดภัย และเอ้ืออ�ำนวยให้นักเรียน
การสอน การใช้ส่ือ การวัดและประเมินผล ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ย่ า ง ต่ อ เ น่ ื อ ง
ให้เป็นไปตามสภาพสรีระของนักเรียนอย่าง จนจบหลักสูตร
เหมาะสมและต่อเน่ือง
5. พ่ อของเด็กทารกในครรภ์
3. ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนที่ตั้งครรภ์ : 5.1 ในกรณที พ่ี อ่ ของเดก็ ทารกในครรภอ์ ยใู่ นโรงเรยี น
เดียวกัน ควรต้องให้มีส่วนร่วมรับผิดชอบ
รว่ มกบั ครปู ระจำ� ชนั้ หรอื ครทู ปี่ รกึ ษา ครพู ยาบาล ในระหว่างท่ีนักเรียนต้ังครรภ์ โดยร่วมกันดูแล
หัวหน้าระดับ ครูท่ีรับผิดชอบงานระบบดูแล ถึงสภาพจิตใจ การเสริมแรง การให้ก�ำลังใจ
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น หรอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย รั บ ผิ ด ช อ บ ช่ ว ย เ ห ลื อ ป ร ะ ส า น ง า น ด้ า น
การเรยี นรูก้ บั ครูประจำ� วชิ าในการรบั -สง่ ชนิ้ งาน
3.1 สั ง เ ก ต แ ล ะ ส่ื อ ส า ร กั บ ผู้ ป ก ค ร อ ง เ ก่ี ย ว กั บ /ภาระงาน เป็นพ่ีเล้ียงคอยอธิบายการเรียน
พ ฤ ติ ก ร ร ม สุ ข ภ า พ แ ล ะ ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ข อ ง ร ะ ห ว่ า ง ท่ี นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ ต้ อ ง เ รี ย น รู้
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ในการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ด้วยตนเองท่ีบ้าน ตลอดจนรับผิดชอบเล้ียงดู
ระหว่างต้ังครรภ์ ทารกร่วมกันภายหลังคลอด (ครูผู้ให้การดูแล
ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ ใ ห้ ค� ำ ป รึ ก ษ า
3.2 อ อ ก เ ย่ี ย ม บ้ า น ห รื อ ป ร ะ ส า น ง า น ร ะ ห ว่ า ง เพ่อื ใหส้ ามารถรบั ผดิ ชอบทารกรว่ มกันในฐานะ
ค รู ป ร ะ จ� ำ วิ ช า กั บ นั ก เ รี ย น ใ น ก ร ณี ท่ี นั ก เ รี ย น ความเป็นพ่อแม่) ท้ังน้ี ผู้มีบทบาทเก่ียวข้อง
เรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ท่ีบ้านอย่างต่อเน่ืองจนจบ กับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ต้องท�ำความเข้าใจถึง
ภาคการศึกษา สภาพปญั หาอยา่ งลึกซ้งึ เพ่อื เตรยี มความพรอ้ ม
ในการวางแผนการแกไ้ ขปญั หาการจดั การเรยี นรู้
3.3 บั น ทึ ก ผ ล ส รุ ป ผ ล แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ต า ม ให้มีความหลากหลายอย่างเป็นระบบ นักเรียน
แบบรายงานผลของโรงเรียนส่งถึงหน่วยงาน ท่ีต้ังครรภ์สามารถตัดสนิ ใจเลือกวิธกี าร รูปแบบ
ท่เี ก่ยี วขอ้ งเชน่ ระเบยี นสะสมแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู การเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสมกับตนเองตามความสมคั รใจ
สุขภาพ รายงานผลการเรียน (คะแนนเก็บ ซ่ึงจะช่วยให้การจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่าง
ระหว่างภาค คะแนนปลายภาค ระดับผล มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเป้าหมาย
การเรียน) ฯลฯ ภายใต้ การบริหารจั ดการการด� ำเนินงาน
ให้เป็นไปตามบริบทของโรงเรียนท่ีก�ำหนดไว้
108 บ ทท่ี 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นท่ีตัง้ ครรภ์

แนวทางการจัดท�ำ

แผนการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนท่ีตั้งครรภ์
(Guidelines for creating lesson plan
for pregnant students)

ตามท่ีพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งั ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และ
กฎกระทรวงกำ� หนดประเภทของของสถานศกึ ษาและการดำ� เนนิ การของสถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั
และแกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ พ.ศ.2561 ทรี่ ะบใุ หส้ ถานศกึ ษาตอ้ งจดั ใหน้ กั เรยี นทตี่ งั้ ครรภ์
ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสมต่อเน่ืองและจัดการเรียนการสอนให้เกิดความยืดหยุ่น
ตามศกั ยภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ งนน้ั หากพิจารณาการดำ� เนนิ งานทผี่ า่ นมาของหนว่ ยงานภายใตส้ ังกดั
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจะเหน็ วา่ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ งานเพื่อดแู ลชว่ ยเหลอื ในการจดั ทำ� แผนการเรยี นรสู้ ำ� หรบั
นกั เรยี นทมี่ คี วามตอ้ งการพิเศษมาโดยตลอดเชน่ ในปีพ.ศ.2541กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศนโยบาย
ใหผ้ พู้ ิการทกุ คนทตี่ อ้ งการเรยี นตอ้ งไดเ้ รยี น และไดก้ าํ หนดสาระสําคญั ใหส้ ถานศกึ ษาจดั การประเมนิ
นกั เรยี นโดยพิจารณาจากพัฒนาการของนกั เรยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น
การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบควบคไู่ ปกบั กระบวนการเรยี นการสอน

ดังน้นั ในกรณี “นกั เรยี นต้ังครรภ์” การจัดท�ำ
แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ ร า ย บุ ค ค ล ก็ จ ะ ใ ช้ แ น ว ท า ง
ในการดำ� เนนิ งานในลกั ษณะเดยี วกนั ตามทไ่ี ดก้ ลา่ วมา
ข้างต้น และเพ่ือให้โรงเรียนท่ีมีนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
สามารถจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพนักเรียน
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงได้
จัดท�ำแนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับโรงเรียน
ท่ีมนี กั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ โดยมแี นวทางด�ำเนนิ การ ดังน้ี

บทท่ี 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนตั้งครรภ์ 109


1. วิเคราะห์นักเรียนที่ตั้งครรภ์ แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์

ครูประจำ� ชน้ั หรอื ครูทป่ี รกึ ษา หรอื ครูแนะแนว 3.1 จัดท�ำหน่วยการเรียนรู้ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด
ห รื อ ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ และสาระการเรียนรู้ในรายวิชาแต่ละระดับช้ัน
วิ เ ค ร า ะ ห์ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ เ พ่ ื อ น� ำ ไ ป เ ป็ น แ บ บ ในส่วนท่ีนักเรียนต้องเรียนด้วยตนเอง
และจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์ในด้านต่าง ๆ ดังน้ี 3.2 ก�ำหนดการสอน /โครงการสอน โดยปรับ
ก� ำ ห น ด ก า ร ส อ น / โ ค ร ง ก า ร ส อ น จ า ก เ ดิ ม
1.1 ข้อมูลส่วนตัว ให้เหมาะสมกับนักเรียนในช่วงเวลาต้ังครรภ์
1.2 ความต้องการของนักเรียน ท่ีนกั เรยี นจ�ำเปน็ ต้องเรยี นด้วยตนเองใหม้ คี วาม
1.3 สภาพแวดล้อม ต่อเน่ืองกับโครงการสอนปกติ โดยเฉพาะ
1.4 พิจารณาอายุครรภ์ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/นวัตกรรมการเรียนรู้
1.5 สุขภาพของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ การวัดผล ประเมนิ ผล จ�ำนวนช่วั โมง รวมถึงการ
นบั เวลาเรยี นในแต่ละรายวิชา ซ่งึ ครูประจ�ำวิชา
2. ก�ำหนดมาตรฐาน ตัวช้ีวัด ต้องจัดท�ำและแจ้งนักเรียนอย่างชัดเจนเพ่ือให้
สาระการเรียนรู้เพื่ อจัดการ เข้าใจตรงกัน
เรียนรู้ท่ีเหมาะสมและเอ้ือต่อ
นักเรียนรายบุคคล 3.3 การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ปรบั แผนการเรยี นรู้
จ า ก ป ก ติ ใ ห้ เ อ้ ื อ ต่ อ นั ก เ รี ย น ไ ด้ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง
ครู ประจ� ำวิ ชา คณะกรรมการวิ ชาการ ปลอดภัยในช่วงระยะเวลาท่ีไม่สามารถเรียน
กลุ่มบริหารวิชาการ รว่ มกันก�ำหนดเฉพาะมาตรฐาน ในห้องเรียนปกติได้ (สาระส�ำคัญ จุดประสงค์
ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูท้ น่ี กั เรยี นกำ� ลงั เรยี นอยใู่ น การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ช้นั น้นั ๆ โดยพจิ ารณาสว่ นท่ีจะต้องเรยี นรูใ้ นระหว่าง ยั ง ส า ม า ร ถ ใ ช้ รู ป แ บ บ เ ดิ ม ไ ด้ ส่ ว น ท่ี เ ป็ น
ต้ังครรภ์เพ่ือน�ำไปเป็นข้อมูลในการปรับกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/
การเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมและปลอดภัยอยา่ งมคี ุณภาพ นวัตกรรม การวัดผลและประเมินผล ควรปรับ
ให้เอ้ือต่อสภาพสรีระของนักเรียนท่ีจะสามารถ
3. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ได้ในทุกท่ี ทุกเวลาอย่างปลอดภัย)
รายบุคคล

ครูประจ�ำวิชา ครูประจ�ำช้ันหรือครูท่ีปรึกษา
แ ล ะ นั ก เ รี ย น ค ว ร ก� ำ ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ร่ ว ม กั น
จัดล�ำดับการเรียนรู้วางแผนการวัดผล ประเมินผล
การเรยี นรูแ้ ละการปฏบิ ตั ใิ หช้ ดั เจน พจิ ารณาวธิ กี ารเรยี น
การสอน กิจกรรมของนักเรียนในลักษณะต่าง ๆ
ตลอดจนคัดเลือกส่ือการเรียนการสอนให้เหมาะ
กบั สภาพนกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ์ ซง่ึ สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ ดังน้ี

110 บ ทที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนที่ตงั้ ครรภ์

รูปแบบและวิธี

การจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์

การจดั การเรยี นรสู้ �ำหรบั นกั เรยี นทตี่ ง้ั ครรภส์ ามารถจดั การเรยี นรไู้ ด้ 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ การเรยี น
ในชน้ั เรยี นตามปกตติ ลอดภาคการศกึ ษาหรอื ตลอดปกี ารศกึ ษา การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองหรอื เรยี นทบ่ี า้ น
และพักการเรยี น นกั เรยี นสามารถเลอื กรปู แบบวธิ กี ารเรยี นตามความสมคั รใจ และในแตล่ ะรปู แบบ
กม็ วี ธิ กี ารปฏบิ ตั ติ ามลำ� ดบั ดงั นี้

1. การเรียนในชั้นเรียนตามปกติตลอด
ภาคการศึกษาหรือตลอดปีการศึกษา

1.1 จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรปกติของโรงเรียน ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

1.2 ปรบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และวธิ กี ารวดั ผลและประเมนิ ผลใหเ้ หมาะสม
กับสภาพต้ังครรภ์ของนักเรียน เช่น วิชาท่ีต้องมีภาคปฏิบัติ และ
กิจกรรมพัฒนานักเรียนท่ีเป็นภาคสนาม เป็นต้น

1.3 สรา้ งพ้นื ทป่ี ลอดภยั ในการเรยี นรูอ้ ยา่ งรอบดา้ น (สถานท่ี สง่ิ แวดลอ้ ม
กจิ กรรมทเ่ี หมาะสม การให้ การเสรมิ แรงในการเรยี นรู้ ฯลฯ)

บทท่ี 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์ 111


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นที่ต้งั ครรภ์

ข้อดี 2.1.2) ผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้บริหาร ครูวิชาการ
ครูประจ�ำชน้ั หรอื ครูท่ปี รกึ ษา ครูประจ�ำวชิ า
1) เรียนและท�ำกิจกรรมไปพร้อมกับเพ่ือน ครแู นะแนว ครผู ใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
ตามปกติ ท่ีต้ังครรภ์ ผู้ปกครอง และตัวนกั เรยี น

2) มีเพ่ือน ๆ ให้ความช่วยเหลือ ไม่ว้าเหว่ 2.2 ออกแบบส่ือ/นวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีนักเรียน
3) สิ้นสุดการเรียนทุกรายวิชาไปพร้อมกับ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยครูแต่ละ
รายวิชาออกแบบส่ือ/นวัตกรรมท่ีหลากหลาย
เพ่ือน ๆ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับเน้ือหาวิชาน้ัน ๆ
อาจพิจารณาหรือให้นักเรียนท่ี ต้ั งครรภ์ มี
ข้อจ�ำกัด สว่ นรว่ มในการเลือกใชส้ ่อื ท่ีเหมาะสมกับสภาพ
ตนเอง เชน่ หอ้ งเรยี นจำ� ลอง โครงงาน ชดุ การเรยี นรู้
1) ด้วยสรีระทางกายท่ีเปล่ียนแปลงท�ำให้ แ ผ น ผั ง แ ผ น ภู มิ ส่ื อ ส่ิ ง พิ ม พ์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท
อึดอัดและไม่คล่องตัว คลิปวิดีโอ บทเรียนออนไลน์ ออนแอร์ (On air)
การเรียนรู้ท่ีผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท
2) กิจกรรมการเรียนภาคปฏิบัติต้องระวัง ได้แก่ Zoom, Google Meet เป็นต้น
ทุกอิริยาบถ
2.3 ก�ำหนดมาตรฐาน ตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู ้
3) อาจจะตอ้ งพง่ึ พาเพ่อื นเม่อื ทำ� กจิ กรรมกลมุ่ ครูประจ�ำวิชาทุกรายวิชาต้องส�ำรวจมาตรฐาน
ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูท้ น่ี กั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ์
2. การเรียนรู้ด้วยตนเองหรือ ต้องเรียนด้วยตนเองในระหว่างท่ีไม่สามารถ
เรียนที่บ้าน กรณีที่นักเรียน เรียนในห้องเรียนปกติ เพ่ือน�ำไปเป็นข้อมูล
ไมส่ ามารถเขา้ ชน้ั เรยี นตามปกติ จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ
ได้ตลอดภาคการศึกษา ปลอดภัย
ก็จ�ำเป็นท่ีจะต้องเรียน
ดว้ ยตนเองทบ่ี า้ นมแี นวปฏบิ ตั ิ 2.4 จัดท�ำแผนและวิธีการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
ดังน้ี ครปู ระจำ� วชิ าทำ� แผนการจดั การเรยี นรใู้ นรายวชิ า
ของตนเอง โดยน�ำแผนการเรียนรู้ท่ีใช้สอน
2.1 ช้ีแจงผู้เก่ียวข้องให้ทราบข้อมูล ข้อตกลง และ ในห้องเรียนปกติมาปรับในหัวข้อกิจกรรรม
แนวปฏิบัติร่วมกัน การเรยี นรู้ส่อื /นวตั กรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล
ใหส้ อดคลอ้ งกบั นกั เรยี นตามท่อี อกแบบไวอ้ ยา่ ง
2.1.1) แ จ้ ง ข้ อ มู ล ก า ร เ รี ย น รู้ แ ต่ ล ะ ร า ย วิ ช า ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ส� ำ ห รั บ นั ก เ รี ย น ต้ั ง ค ร ร ภ์
นักเรียนทราบเก่ียวกับก�ำหนดการเรียนรู้ กรณีท่ีต้องมีการรับ - ส่ง ภาระงาน/ช้ินงาน
(เรียนตอน ไหน เม่ือไร อย่างไร) ข้ันตอน ส่ือ/นวัตกรรมหรือเอกสารการเรียนรู้ นักเรียน
การเรียนรู้ (เตรียมตัวอย่างไร ท�ำอย่างไร) สามารถเลือกปฏิบัติได้ ดังน้ี
ขอ้ ตกลงภาระงาน/ชิน้ งาน การนบั เวลาเรยี น
ใหค้ รบตามรายวชิ า การวดั ผลและประเมนิ ผล
ตลอดจนการตัดสินผลการเรียน

112 บ ทที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนที่ตงั้ ครรภ์

2.4.1) นักเรียนรับงานด้วยตนเอง ข้อดี
2.4.2) มอบหมายเพ่ือนมารับงานแทน
2.4.3) ผู้ปกครองมารับงานแทน (1) มีความเป็นอิสระ เป็นส่วนตัวมากข้ึน
2.4.4) ครูวิชาการ ครูประจ�ำช้ัน ครูผู้ให้การดูแล ไม่ต้องเร่งรีบกับการท�ำงานในช้ันเรียน

ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ หรือผู้ประสาน (2) มีเวลาดูแลสุขภาพของตัวเองและ
งานท่ีโรงเรียนแต่งต้ังมอบหมายรวบรวม พักผ่อนได้มากข้ึน
ภาระงาน/ชนิ้ งาน ส่อื /นวัตกรรม ฯลฯ มอบให้
นักเรียนท่ีบ้าน (3) ฝกึ ความรบั ผดิ ชอบและมวี ินยั ในตัวเอง

2.5 นักเรียนเลือกวิธีการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม โดย ข้อจ�ำกัด
ครูประจำ� ชน้ั หรอื ครูประจำ� วชิ าหรอื ครูแนะแนว
หรอื ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์ (1) ข า ด ก า ร ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ เ พ่ื อ น ๆ
ช้ีแจงและสร้างความเข้าใจ ให้ความรู้เก่ียวกับ เน่ืองจากอยู่คนละสถานท่ี
ก า ร เ ลื อ ก วิ ธี ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น
ท่ี จ ะ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ป ล อ ด ภั ย ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า (2) ขาดคู่คิดหรือเพ่ือนส�ำหรับแลกเปล่ียน
ของการต้ังครรภ์ เรียนรู้ระหว่างท�ำกิจกรรม

2.6 การวัดผลและประเมินผล ครูประจ�ำรายวิชา (3) ขาดแ รง จู ง ใจในก ารท� ำกิ จกร ร มท่ี
ทุกรายวิ ชาจะเป็นผู้เก็ บรวบรวมคะแนน ยากล�ำบากเพราะต้องท�ำเพียงล�ำพัง
ระหว่างภาคจากชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกหัด
แบบทดสอบฯลฯ และอ่ืน ๆ ท่ีได้ออกแบบตาม 3. พั กการเรียน
ข้ันตอนของการวัดผล ประเมินผลระหว่างภาค
และปลายภาคตามข้อตกลงในรายวิชาน้ัน ๆ กรณีท่ีนักเรียนต้ังครรภ์มีความประสงค์
แ ล้ ว บั น ทึ ก ไ ว้ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น ต ล อ ด ภ า ค เ รี ย น ข อ พั ก ก า ร เ รี ย น ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์
เพ่ือน�ำไปตัดสินผลการเรียนปลายภาคเรียน สามารถท�ำได้โดยแจ้งให้โรงเรียนทราบและปฏิบัติ
ตามระเบียบการขอพักการเรียน ครูผู้ให้การดูแล
2.7 การตัดสินผลการเรียนให้เป็นไปตามดุลพินิจ ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ครูประจ�ำช้ันหรือ
ของครูประจ�ำวิชา เช่น กรณีสอบปลายภาค ครูท่ีปรึกษา หรือผู้ประสานท่ีโรงเรียนมอบหมาย
สามารถท�ำได้ 2 วิธี ต้องให้ค�ำแนะน�ำ ช้แี จงขอ้ มลู อยา่ งรอบด้านเก่ียวกับ
การกลบั เขา้ เรยี นวา่ จะไมไ่ ดเ้ รยี นกบั เพ่อื นรุน่ เดยี วกนั
2.7.1) ตัดสนิ จากแบบทดสอบหรอื ขอ้ สอบปลายภาค เหมอื นเดิม ต้องเรยี นกับรุน่ นอ้ งและจบพรอ้ มรุน่ นอ้ ง
เหมือนนักเรียนท่ัวไป นักเรียนต้องเตรียมปรับตัว ปรับใจ ให้ยอมรับสภาพ
การเรียนท่ีแท้จริงให้ได้เสียก่อน เพ่ือจะไม่เกิดความ
2.7.2) ตัดสนิ จากภาระงาน/ชน้ิ งาน โครงงานท่ีได้รบั ท้อแท้ ความทุกข์ กังวล เม่ือกลับเข้าเรียน
มอบหมาย ท้ังน้ี ต้องก�ำหนดภาระงาน/
ช้ินงาน โครงงาน ให้มีคุณภาพเทียบเท่ากับ
เคร่ืองมือการสอบปลายภาคของนักเรียน
ปกติ

บทท่ี 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนตั้งครรภ์ 113


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนทต่ี ้ังครรภ์

เม่ือได้รับอนุญาตให้พักการเรียน นักเรียน 3.2 ประเมินความพร้อมและความต้องการของ
ควรต้องติดต่อกับโรงเรียนเป็นระยะ ๆ ผ่านทาง นักเรียนในระหว่างต้ังครรภ์ ครูผู้ให้การดูแล
ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ หรอื ผปู้ ระสานงาน
เพ่ือให้โรงเรียนรับทราบข้อมูลรอบด้านเก่ียวกับ ท่ี ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย จ ะ ติ ด ต า ม ค ว า ม คื บ ห น้ า
ตัวนักเรียนและพร้อมท่ีจะให้การดูแลช่วยเหลือ และประเมินความพร้อมด้านสุขภาวะองค์รวม
จนนักเรียนสามารถกลับเข้าเรียนจนจบการศึกษา (กาย จิต อารมณ์ สังคม ปัญญา) ของนักเรียน
อย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างพักการเรียนนักเรียน และทารกว่าเข้าสู่ภาวะปกติ โดยมีผู้ปกครอง
ต้องปฏิบัติดังน้ี ผู้รับผิดชอบดูแลทารกอย่างปลอดภัย และ
นักเรียนประสงค์กลับเข้าเรียน โรงเรียนก็จะ
3.1 เ ข้ า สู่ ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ด�ำเนินการรับนักเรียนเข้าเรียนในช้ันเรียนปกติ
ของโรงเรียน โดยมีครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ ต่อไป
นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ ห รื อ ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น
ท่ีโรงเรียนแต่งต้ังมอบหมายท�ำหน้าท่ี ดังน้ี 3.3 นกั เรยี นมคี วามพรอ้ มและตอ้ งการกลบั เขา้ เรยี น
เม่ือนักเรียนผ่านช่วงระยะเวลาต้ั งครรภ์
3.1.1 รับผิดชอบติดตามดูแลนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ และคลอดเป็นท่ีเรียบร้อย สภาพร่างกาย จิตใจ
เ ป็ น ร ะ ย ะ ๆ ต ล อ ด ภ า ค เ รี ย น / ต ล อ ด ปี แ ล ะ ปั ญ ญ า พ ร้ อ ม ท่ี จ ะ ก ลั บ เ ข้ า สู่ ห้ อ ง เ รี ย น
การศึกษา ปกตินักเรียนสามารถท�ำเร่ืองขอกลับเข้าเรียน
ในช้ันเรียนปกติตามภาคเรียนท่ีพักการเรียน
3.1.2 ประสานงานขอความร่วมมือจากหน่วยงาน ไปกอ่ นหนา้ นน้ั และสามารถศกึ ษาไดจ้ นจบหลกั สตู ร
องค์กร บุคคลากร (นักจิตวิทยา นักสังคม
สงเคราะห์ในพ้ืนท่ี ) ท่ี เก่ี ยวข้องในการ
สร้างความเข้าใจ ให้ความรู้ดูแลช่วยเหลือ
สุขภาวะองค์รวม และให้ได้เรียนรู้เก่ียวกับ
สุขอนามัยแม่และเด็ก รวมถึงการบริบาล
ทารกหลังคลอดอย่างถูกต้อง ปลอดภัยและ
มีประสิทธิภาพ ฯลฯ

การจบหลักสูตร

โรงเรียนในฐานะผู้รับผิดชอบการจัดการศึกษาจะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วย
การวัดผลและประเมินผลการเรยี นของโรงเรยี นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
ท่ีเป็นข้อก�ำหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ร่วมกับ
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุน่ พ.ศ. 2559

114 บ ทที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นทีต่ ง้ั ครรภ์

แผนผังที่ 3

รูปแบบการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์

รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ส�ำหรับนักเรียนที่ตั้งครรภ์

1. เรียนในช้ันเรียนตามปกติ 3. พั กการเรียน

ตลอดภาคเรยี น ไม่ตลอดภาคเรยี น เข้าสู่ระบบช่วยเหลือ
วัดและประเมินผล 2.เรียนรู้ด้วยตนเอง
ประเมินความพรอ้ มและ
ตัดสินผลการเรยี น วัดและประเมินผล ความต้องการของนักเรยี น
ตัดสินผลการเรยี น
นักเรยี นพรอ้ ม
และต้องการเข้าเรยี น

จบหลักสูตร

บทที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนตั้งครรภ์ 115


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นท่ตี ้งั ครรภ์

แผนผังที่ 4

การจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์

วางแผนการจัดการเรียนการสอนรายวิชา
ศึกษา/วิเคราะห์นักเรียนที่ต้ังครรภ์

ปรับปรุงแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้อง
และเหมาะสมกับนักเรียนที่ตั้งครรภ์
ด�ำเนินการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่ต้ังครรภ์
ประเมิน/สรุปผล/รายงานผลการเรียนการสอน

116 บ ทที่ 5 แนวทางการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียนตั้งครรภ์


ภาคผนวก


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนท่ีตงั้ ครรภ์

1.

กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง

1.1 พระราชบัญญัติ
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
การต้ังครรภ์ในวัยรุ่น
พ.ศ. 2559

1.2 กฎกระทรวงก�ำหนด
ประเภทของสถานบริการ
และการด�ำเนินการของ
สถานบริการในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์
ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561

118 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนทตี่ งั้ ครรภ์

2.

เอกสารการส�ำรวจข้อมูลและ
สัมภาษณ์เชิงลึกนักเรียนที่ตั้งครรภ์

3.

แนวทางการนิเทศการด�ำเนินงาน
เพศวิถีศึกษาสู่คุณภาพนักเรียน

ภาคผนวก 119


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นทีต่ ั้งครรภ์

4.

เอกสารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

5.

คู่มือแนวทางการให้ความคุ้มครอง
และช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษา
ซึ่งถูกล่วงละเมิด

120 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนท่ตี ัง้ ครรภ์

6.

สวัสดิการด้านสังคมส�ำหรับวัยรุ่น
ที่ต้ังครรภ์

6.1 ดา้ นทพ่ี ัก กรณไี มส่ ามารถพักอาศยั กบั ครอบครวั ได้ : บา้ นพักเดก็ และครอบครวั ทกุ จงั หวดั
6.2 ดา้ นเงนิ สนบั สนนุ การเลย้ี งดบู ตุ ร

o เงินสงเคราะหเ์ ด็กภายในครอบครวั กรณคี รอบครวั มฐี านะยากจนมสี ทิ ธไิ ด้รบั การชว่ ยเหลือค่าเล้ียงดู
คา่ พาหนะคา่ การศกึ ษาหรอื คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆสำ� หรบั เดก็ รวมถงึ ทนุ การประกอบอาชพี สำ� หรบั ครอบครวั
เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน โดยแจ้งความประสงค์ได้ท่ี พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัด หรือโทร. 1300
• การช่วยเหลือเงินค่าเล้ียงดูเด็กเดือนละไม่เกิน 2,000 บาท ต่อเด็ก 1 คน
• การช่วยเหลือเป็นสิ่งของ เช่น เคร่ืองอุปโภคบริโภคสําหรับเด็กตามความจําเป็น เดือนละไม่เกิน
500 บาท ต่อเด็ก 1 คน
• กรณีเห็นสมควรให้ความช่วยเหลือครอบครัวใดท่ีให้ความอุปการะเด็กมากกว่า 1 คน ให้พิจารณา
ช่วยเหลือเงินค่าเล้ียงดูเด็กได้ ภายในวงเงินเดือนละไม่เกิน 4,000 บาท และ/หรือช่วยเหลือ
เป็นเคร่ืองอุปโภคบริโภค ภายในวงเงินเดือนละไม่เกิน 1,000 บาท

o เงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด (โครงการ) กรณีครอบครัวท่ีมีรายได้น้อย ให้ต้ังแต่แรกเกิด จนถึงเด็กอายุ
6 ปี เดือนละ 600 บาท โดยติดต่อขอรับเงินอุดหนุนได้ท่ีเทศบาล/องค์การบริหารส่วนต�ำบลในพ้ืนท่ี

o เงินสงเคราะห์บุตร กรณีแม่วัยรุ่นมีสิทธิประกันสังคมย่ืนค�ำขอรับเงินสงเคราะห์บุตรเดือนละ
800 บาท ได้ท่ีส�ำนักงานประกันสังคมในพ้ืนท่ี หรือโทร. 1506

6.3 ดา้ นการรบั เลย้ี งบตุ ร/ยกบตุ รบญุ ธรรม กรณไี มส่ ามารถเลย้ี งดบู ตุ รได้ ประสานกรมกจิ การเดก็
และเยาวชน โทร. 1300

6.4 ดา้ นอาชพี : ขอรบั การฝกึ อาชพี ไดท้ ี่ กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั (กทม.) หรอื ทศี่ นู ยเ์ รยี นรู้
การพั ฒนาสตรีและครอบครัว ส�ำนักงานพั ฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
(กรณตี า่ งจงั หวดั )

ภาคผนวก 121


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทตี่ ั้งครรภ์

7.

ตัวอย่างแบบฟอร์มต่าง ๆ
ส�ำหรับการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียน

ท่ีตั้งครรภ์

122 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีตัง้ ครรภ์

7.1 แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู รายบคุ คลส�ำหรบั นกั เรยี นทต่ี งั้ ครรภ์

ช่ือโรงเรียน........................................................ระดับชั้น........................สังกัด...........................................
เร่ิมใช้แผนวันท่ี.................................................. ส้ินสุดแผนวันท่ี.................................................................

1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป
ช่ือ - นามสกุล นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ไม่พร้อม ด.ญ. / น.ส. .................................................................................
ก�ำลังเรียนระดับช้ัน…….......….…ภาคเรียนท่ี .........................ปีการศึกษา.....................................................
วัน เดือน ปีเกิด วันท่ี..........เดือน......................พ.ศ...............นับถึงวันรับเร่ือง อายุ..............ปี.............เดือน
อายุครรภ์ ( )……………สัปดาห์ / ................เดือน ( ) ยังไม่ทราบ/ไม่แน่ชัด
ปัจจุบัน นักเรียนพักอาศัยอยู่กับ ( ) บิดาและมารดา ( ) บิดา ( ) มารดา ( ) ผู้อ่ืน (ระบุ)................................
ช่ือ - ช่ือสกุลบิดา..........................................................................................................................................
ช่ือ - ช่ือสกุลมารดา........................................................................................................................................
ช่ือ - ช่ือสกุลผู้ปกครอง.........................................................................เก่ียวข้องเป็น...................................
ท่ีอยู่ท่ีติดต่อได้ บ้านเลขท่ี...............ตรอก/ซอย.......................หมู่ท่ี............ช่ือหมู่บ้าน...............................…
ต�ำบล/แขวง..............................อ�ำเภอ/เขต.........................................จังหวัด...................................
รหัสไปรษณีย์................................โทรศัพท์................................... โทรศัพท์เคล่ือนท่ี..................................
โทรสาร.........................................e-mail...................................................................................................

2. ความตอ้ งการของนกั เรยี นภายหลงั ผา่ นกระบวนการใหก้ ารปรกึ ษาแลว้
 ต้ังครรภ์ต่อและเรียนต่อ
 ยุติการต้ังครรภ์และเรียนต่อ
 อ่ืน ๆ........................................................

3. ขอ้ มลู ดา้ นการแพทย์ หรอื ดา้ นสุขภาพ
 กรุ๊ปเลือด (ระบุ) ....................................................................................................................................
 โรคประจ�ำตัว (ระบุ) .............................................................................................................................
 ประวัติการแพ้ยา (ระบุ) ........................................................................................................................
 โรคภูมิแพ้ (ระบุ) ..................................................................................................................................
 ข้อจ�ำกัดอ่ืน ๆ (ระบุ) .............................................................................................................................
 ผลการตรวจทางการแพทย์ (ระบุ) ..........................................................................................................
4. ข้อมูลอ่ืน ๆ ท่ีจ�ำเป็นต่อการดูแลช่วยเหลือ ..........................................................................................

ภาคผนวก 123


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนทตี่ ง้ั ครรภ์

5. ตารางกำ� หนดแนวทางการวางแผนการจดั การเรยี นรสู้ �ำหรบั นกั เรยี นทตี่ งั้ ครรภ์

เรื่อง........../รหัสวิชา....../รายวิชา ระยะเวลา.........ช่ัวโมง ระยะเวลา.........ช่ัวโมง

124 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นที่ตั้งครรภ์

วิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือ / อุปกรณ์การเรียนรู้ เกณฑ์และวิธีประเมินผล ผู้รับผิดชอบ

ภาคผนวก 125


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทต่ี ัง้ ครรภ์

6. ความต้องการด้านสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เทคโนโลยีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก สื่อ บริการ
และความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการเรยี นรู้
สิ่งที่มีอยู่แล้ว/แหล่งที่มา

ที่ รายการ รหัสวิชา ผู้จัดหา วิธีการ

(1) (2) (3) (1) (2) (3)

รวมรายการท่ีขอรับการอุดหนุน .................................................................................. รายการ
รวมจ�ำนวนเงินท่ีขอรับการอุดหนุน .................................................................................. บาท

126 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทีต่ ัง้ ครรภ์

สิ่งท่ีต้องการ/แหล่งท่ีมา

ผู้จัดหา วิธีการ จ�ำนวนเงิน เหตุผลและ ประเมิน
ที่ขออุดหนุน ความจ�ำเป็น

(1) (2) (3) (1) (2) (3)

หมายเหตุ ผู้จัดหา (1) ผู้ปกครอง (2) โรงเรียน (3) สถานพยาบาล/อ่ืน ๆ
วิธกี าร (2) ขอยืม (3) จัดท�ำข้ึน/ผลิตเอง
(1) ขอรับการอุดหนุน

ภาคผนวก 127


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนท่ีตั้งครรภ์

7. คณะกรรมการจดั ทำ� แผน

ช่ือ ต�ำแหน่ง ลายมือช่ือ
7.1 .................................... .................................... .....................................
7.2 .................................... .................................... ....................................
7.3 .................................... .................................... ....................................
7.4 .................................... .................................... ....................................
7.5 .................................... .................................... .....................................

8. ความเหน็ ของบดิ า/มารดา/ผปู้ กครอง หรอื นกั เรยี น
การจัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคลฉบับน้ ี

ข้าพเจ้า  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย

ลงช่ือ......................................................................

(...................................................................)

บิดา/มารดา/ผู้ปกครอง หรือนักเรียน

วันท่ี............เดือน...........................พ.ศ. .................

128 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนทีต่ งั้ ครรภ์

7.2 ตวั อยา่ งกำ� หนดการสอนของนกั เรยี นกลมุ่ ทางเลอื ก
โรงเรยี น...............................ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2/2563
(30 พฤศจกิ ายน 2563 – 26 มนี าคม 2564)

รายชื่อวิชา (พ้ื นฐาน) รายช่ือวิชา (พ้ื นฐาน) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ภาระงาน/ช้ินงาน

วิทยาศาสตร์ 6 - คล่ืน ว 2.3 ม.3/10 - ใบงาน
คณิตศาสตร์ 6 - แสงและการมองเห็น ว 2.3 ม.3/11 - ชุดกิจกรรม
พลานามัย 6 ว 2.3 ม.3/12 - แบบทดสอบ
- ใบงาน
ว 2.3 ม.3/13-21 - ชุดกิจกรรม
- Mind mapping
- ปฏิสัมพันธ์ในระบบ ว 2.3 ม.3/1-4 - ใบงาน
สุริยะและเทคโนโลยี
อวกาศ - แบบฝึกหัด
- ใบงาน
- ระบบสมการเชิงเส้น ค 1.3 ม.3/3 - แบบฝึกหัด
สองตัวแปร - ใบงาน
- แบบฝึกหัด
- การแยกตัวประกอบของ ค 1.2 ม.3/1 - ใบงาน
พหุนามดีกรีสูงกว่าสอง - แบบฝึกหัด
- ใบงาน
- ความคล้าย ค 2.2 ม.3/1 - แบบฝึกหัด
- ใบงาน
- อัตราส่วนตรีโกณมิติ ค 2.2 ม.3/2 - แบบฝึกหัด
- ใบงาน
- วงกลม ค 2.2 ม.3/3
- รายงานเร่ืองแชร์บอล
- ทักษะการเคล่ือนไหว พ 3.1 ม.3/2 - แบบทดสอบ
กิจกรรมพลศึกษา และ
หลักการออกก�ำลังกาย - ใบงาน

- แชร์บอล พ 3.1 ม.3/1
พ 3.1 ม.3/2
พ 3.1 ม.3/3
พ 3.2 ม.3/1-5

- น้�ำใจนักกีฬา พ 3.2 ม.3/1

ภาคผนวก 129


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ตี งั้ ครรภ์

กำ� หนดการสอนของนกั เรยี นกลมุ่ ทางเลอื กโรงเรยี น...............
ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2/2563
(30 พฤศจกิ ายน 2563 – 26 มนี าคม 2564)

รายชื่อวิชา (พ้ื นฐาน) รายชื่อวิชา (พื้ นฐาน) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ภาระงาน/ชิ้นงาน

- องค์ประกอบของงาน ศ 2.1 ม.3/1 - ใบงาน
ศิลปะและดนตรี - ใบงาน

- ร้องเล่นเพลงดนตรี ศ 2.1 ม.3/2

- แต่งเพลงคร้ืนเครงใจ ศ 2.1 ม.3/3 - บทเพลง

- สร้างสรรค์บทเพลง ศ 2.1 ม.3/4 - ใบงาน
- ใบงาน
ศิลปะ 6 (ดนตรี) - แบบทดสอบ

- ความแตกต่างของ ศ 2.1 ม.3/5
บทเพลง ศ 2.1 ม.3/6-7

- ดนตรีสัมพันธ์

- ประวัติศาสตร์ดนตรี ศ 2.2 ม.3/1-2 - ใบงาน
และปัจจัยท่ีท�ำให้งาน
ดนตรีได้รับการยอมรับ - ใบงาน

เศรษฐกิจพอเพียงกับการ ส 3.1 ม.3/2 - ใบงาน
- รายงาน เร่ือง บทบาท
พัฒนาประเทศ ส 3.1 ม.3/3 ของรัฐบาลในการพัฒนา
ประเทศ
บทบาทของรัฐบาล ส 3.2 ม.3/1 - ใบงาน
ในการพัฒนาประเทศ ส 3.2 ม.3/2
ส 3.2 ม.3/4 - ใบงาน
ส 3.2 ม.3/5
- ใบงาน
สังคมศึกษา 6 ก า ร ค้ า แ ล ะ ก า ร ล ง ทุ น ส 3.2 ม.3/6 - รายงาน
ระหว่างประเทศ

การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ส 3.2 ม.3/3
ระหว่างประเทศ

ทวีปอเมริกาเหนือ ส 5.1 ม.3/1
ส 5.1 ม.3/2
ส 5.2 ม.3/1
ส 5.2 ม.3/2
ส 5.2 ม.3/3
ส 5.2 ม.3/4

130 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นท่ตี ้ังครรภ์

กำ� หนดการสอนของนกั เรยี นกลมุ่ ทางเลอื กโรงเรยี น...............
ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2/2563
(30 พฤศจกิ ายน 2563 – 26 มนี าคม 2564)

รายช่ือวิชา (พื้ นฐาน) รายชื่อวิชา (พื้ นฐาน) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ภาระงาน/ชิ้นงาน

ทวีปอเมริกาใต้ ส 5.1 ม.3/1 - ใบงาน
ส 5.1 ม.3/2
สังคมศึกษา 6 (ต่อ) ส 5.2 ม.3/1 - ใบงาน
ส 5.2 ม.3/2 - ใบงาน
ส 5.2 ม.3/3
ส 5.2 ม.3/4

ก า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ส 5.2 ม.3/5
ธ ร ร ม ช า ติ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
ของโลก

- ปัญหาสุขภาพในชุมชน พ 4.1 ม.3/3

สุขศึกษา 6 - พฤติกรรมเสียงท่ีมีผล พ 5.1 ม.3/1 - รายงาน
ต่อสุขภาพ - ใบงาน
- ใบงาน
- การแก้ไขปัญหาการใช้ พ 5.1 ม.3/2 - ใบงาน
ความรุนแรงของเยาวชน พ 5.1 ม.3/3

- การด่ืมแอลกอฮอล์กับ พ 5.1 ม.3/4
การเกิดอุบัติเหตุ

- หลักการช่วยฟ้ ืนคืนชีพ พ 5.1 ม.3/5

- การวางแผนการ พ 4.1 ม.3/4 - ใบงาน
สร้างเสริมสุขภาพ
- ใบงาน
- การพัฒนาสมรรถภาพ พ 4.1 ม.3/5 - ทดสอบรา่ งกายด้วยตัวเอง
ทางกาย - ใบงาน

- An Emergency ต 1.1 ม 3/3-4 - ใบงาน
ต 1.2 ม 3/4-5
ต 1.3 ม 3/2-3 - ใบงาน
- ใบงาน
ภาษาอังกฤษ 6 - Healthy Living ต 2.1 ม 3/2-3
ต 2.2 ม 3/2

- Green Living ต 3.1 ม 3/1

- Telly Addicts ต 4.1 ม 3/1

ภาคผนวก 131


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนทตี่ ง้ั ครรภ์

รายช่ือวิชา (พื้ นฐาน) รายชื่อวิชา (พ้ื นฐาน) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ภาระงาน/ช้ินงาน

- Do you believe it? ต 4.2 ม 3/1 - ใบงาน
- Choices
ภาษาอังกฤษ 6 (ต่อ) ต 4.2 ม 3/1 - ใบงาน

- บทละครพูดเร่ือง ท 1.1 ม.3/4 ม.3/7 - ใบงาน
เห็นแก่ลูก ท 3.1 ม.3/5 - แบบฝึกหัด
ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2
ม.3/3

- พระอภัยมณี ตอน ท 1.1 ม. 3/1 - หนังสือเล่มเล็ก
พระอภัยมณีหนีนาง ท 5.1 ม. 3/1 - รายงาน
ผีเส้ือ ม. 3/2
ม. 3/3
ม. 3/4

ภาษาไทย 6 - พระบรมราโชวาท ท 1.1 ม. 3/3 - ใบงาน
(วรรณคดีและ
วรรณกรรม) ท 2.1 ม. 3/3 - แบบฝึกหัด

ท 4.1 ม. 3/1

ท 5.1 ม. 3/1

ม. 3/2 ม. 3/3

อิศรญาภาษิต ท 1.1 ม. 3/1 - ใบงาน
-บทพากย์เอราวัณ ม. 3/4 - แบบฝึกหัด
ท 2.1 ม. 3/2
ท 5.1 ม. 3/1-4 - ใบงาน
- แบบฝึกหัด
ท 1.1 ม. 3/1
ม. 3/4
ท 5.1 ม. 3/1
ม. 3/2
ม. 3/3 ม. 3/4

132 ภ าคผนวก


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนท่ีต้งั ครรภ์

รายชื่อวิชา (พื้ นฐาน) รายชื่อวิชา (พ้ื นฐาน) มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ภาระงาน/ชิ้นงาน

- เทคโนโลยีเปล่ียนโลก ว. 4.2 ม.3/1 - ใบงาน

วิทยาการค�ำนวณ 3 - เทคโนโลยีแก้ปัญหา ว. 4.2 ม.3/2-4 - ใบงาน
- เทคโนโลยีเพ่ิมมูลค่า ว. 4.2 ม.3/2-3 - ใบงาน

- การสร้างสรรค์ ส 4.3 ม.3/3 - ใบงาน
- แบบฝึกหัด
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
- ใบงาน
ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ - แบบฝึกหัด

- ภูมิภาคของโลก ส 4.2 ม.3/1 - ใบงาน
- แบบฝึกหัด
กับพัฒนาการทาง - รายงาน
ความขัดแย้งและ
ประวัติศาสตร์ 6 ประวัติศาสตร์ ความร่วมมือของโลกใน
คริสต์ศตวรรษท่ี 20
- ความขัดแย้งและ ส 4.2 ม.3/2 ถึงปัจจุบัน
-ถุงจากกระดาษ
ความร่วมมือของโลกใน -ภาชนะจากใบตอง
-ใบงาน
คริสต์ศตวรรษท่ี 20 -แบบฝึกหัด
-ใบงาน
ถึงปัจจุบัน - ร า ย ง า น ก า ร ค้ น ค ว้ า
อาชีพท่ีสนใจ
- บรรจุภัณฑ์ ง 1.1 ม.3/1-3 -กิ่งตอน
-ใบงาน
- องค์กรธุรกิจ ง 1.1 ม.3/1-3

การงานอาชีพและ - การหางานจากส่ือและ ง 1.1 ม.3/1-3
เทคโนโลยี 6 แนวทางการเข้าสู่อาชีพ

- การขยายพันธ์พืช ง 1.1 ม.3/1-3

*หมายเหตุ รายวิชาท่ีก�ำหนดเป็นรายวิชาพ้ืนฐานของโรงเรียน ส่วนรายวิชาเพิ่มเติมของโรงเรียนได้ก�ำหนด
ใช้การบูรณาการกับรายวิชาพ้ืนฐาน ซ่ึงอยู่ในตารางถัดไป

ภาคผนวก 133


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นทีต่ ั้งครรภ์

รายวิชาเพ่ิ มเติมของโรงเรียน................. ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3

รายวิชา บูรณาการ
หน้าที่พลเมือง 6 สังคมศกึ ษา 6
อาเซยี นศกึ ษา 2 สังคมศกึ ษา 6
พลศกึ ษา 6 พลานามัย 6
โครงงานช่าง การงานอาชพี และเทคโนโลยี 6
การปลูกพืชผักสวนครวั ท่ัวไป 1 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 6
สมรรถนะอาชพี 2 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 6

134 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ตี ้งั ครรภ์

ภาคผนวก 135


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทต่ี ้ังครรภ์

7.2 ตวั อยา่ งการจดั ผงั โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้

แผนท่ี 1

ผังโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
รายวิชา เสริมทักษะภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1

กิจกรรมการเรยี นรู้

1. ครูแจ้งวัตถุประสงค์การเรียนรู้
2. ใหน้ กั เรยี นรอ้ งเพลงมาตราตัวสะกด พรอ้ มสนทนาเน้อื หาจากเพลง และใหน้ กั เรยี นสงั เกตค�ำ และ

ขีดเส้นใต้ค�ำท่ีไม่มีตัวสะกดหรือตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราในเน้ือหาเพลง
3. ให้นักเรียนดูบัตรค�ำและอ่านสะกดค�ำตามมาตรา
4. ครูยกตัวอย่างค�ำ 4 - 5 ค�ำใ ให้นักเรียนจ�ำแนกเสียงมาตราตัวสะกดเพ่ือสังเกตว่าค�ำเหล่าน้ันไม่มี

ตัวสะกดหรือมีตัวสะกดในมาตราใด
5. ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าค�ำในมาตราท่ีสอนจากหนังสือแบบเรียน หรือหนังสืออ่ืน ๆ แล้วเขียน

ลงในสมุดของตนเอง ให้ได้มากท่ีสุด
6. จากกิจกรรมท่ีนักเรียนค้นหาค�ำเป็นของตนเองแล้วให้นักเรียนจับคู่กัน และน�ำผลงานของตนเอง

และเพ่ือนมาตรวจสอบร่วมกันว่าควรเพ่ิมเติมให้ถูกต้องสมบูรณ์
7. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่มโดยคละนักเรียน ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันหาค�ำเพิ่มเติมจาก

ท่ีมีอยู่แล้วในผลงาน จับคู่โดยครูก�ำหนด ดังน้ี กลุ่มท่ี 1 เขียนช่ือสัตว์ กลุ่มท่ี 2 เขียนช่ือของใช้
กลุ่มท่ี 3 เขียนช่ือผัก ผลไม้กลุ่มท่ี 4 เขียนช่ือดอกไม้ กลุ่มท่ี 5 เขียนช่ือเครือญาติ
8. ให้ตัวแทนกลุ่ม อ่านค�ำของกลุ่มท่ีบันทึกไว้ ครูและเพ่ือน ๆ ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
9. ให้นักเรียนน�ำค�ำมาตราตัวสะกด ท่ีครูก�ำหนดให้ไปเติมในประโยคง่าย ๆ
10. นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
11. น�ำผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มจัดแสดงไว้ท่ีฝาผนัง หรือหน้าช้ันเรียน

การวัดและประเมินผล วิธวี ัดและประเมินผล

ประเด็น - แบบทดสอบความรู้
- การอ่านและเขียนค�ำท่ีอยู่ในมาตราตัวสะกด - สังเกตการท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตพฤติกรรมการอ่าน การเขียนเคร่ืองมือ
ตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา - แบบทดสอบ
- การจ�ำแนกค�ำตามมาตราตัวสะกดได้ - แบบสังกตพฤติกรรมการอ่าน การเขียน
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการส่ือสาร
- ใฝ่เรียนรู้
- มีความมุ่งม่ันในการท�ำงาน

136 ภ าคผนวก


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นทตี่ ง้ั ครรภ์

เป้าหมายการการจัดการเรยี นรู้ สาระส�ำคัญ

นกั เรยี นสามารถอ่านและเขยี นค�ำท่ีอยูใ่ นมาตรา อ่ า น แ ล ะ เ ขี ย น ค� ำ ท่ี อ ยู่ ใ น ม า ต ร า ตั ว ส ะ ก ด ท่ี ต ร ง
ตัวสะกดท่ีตรงมาตราและไม่ตรงมาตราได้ มาตรา และมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรได้ มีความ
สามารถในการคิด การส่ือสาร ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน
ในการท�ำงาน

หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
ที่ 10 มาตราน่ารู้
เวลา 16 ชั่วโมง มาตราตัวสะกดตรงมาตรา ได้แก่ มาตรา แม่กง แม่กม
แม่กย และแม่เกอวส่วนมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
ได้แก่ มาตรา แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ

สมรรถนะส�ำคัญ

- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการส่ือสาร

ภาระงาน /ชิ้นงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน อ่านค�ำท่ีอยู่ในมาตราตัวสะกดตรง - ใฝ่เรียนรู้
มาตราและไมต่ รงมาตราชน้ิ งาน-เขยี นคำ� ทอ่ี ยใู่ น - มุ่งม่ันในการท�ำงาน
มาตราตัวสะกดตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา

ภาคผนวก 137


บรรณานุกรม


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนทีต่ ง้ั ครรภ์

กรมสุขภาพจิต,กลุ่มท่ีปรึกษา.คู่มือการให้การปรึกษาปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อม. เบญจพร ปัญญายง
(บรรณาธิการ). พิมพ์คร้ังท่ี 1 นนทบุรี: บียอนด์ พับลิสชิ่ง. 2554.

กรองแก้ว ทองประเสริฐ. บทบาทครูในการป้องกันการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น: กรณีศึกษาครูในสถานศึกษา
เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2560.

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. แนะแนว:โครงการยกระดับคุณภาพครูท้ังระบบตาม
นิธินันธ์ โกมล. ประสบการณ์ของชีวิตวัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์ไม่พึงปรารถนาภายหลังการท�ำแท้งแบบผิดกฏหมาย
ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2554.
จีน แบร่ี,การให้การปรึกษา Counseling. กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทย์การพิมพ์, 2549.
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559. (2559, 31 มีนาคม) ราชกิจจา

นุเบกษา.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. (2545, 19

ธันวาคม) ราชกิจจานุเบกษา.
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ, กรม. ประกาศ เร่ืองอัตราและหลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยค่าเล้ียงดูเด็กแก่
ครอบครัวอุปถัมภ์และ/หรือช่วยเหลือเคร่ืองอุปโภคบริโภคแก่เด็กตามความจําเป็น พ.ศ. 2548.
ยูนิเซฟ. รายงานสังเคราะห์การวิเคราะห์สถานการณ์การต้ังครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย.
ราชกิจจานุเบกษา, กฎกระทรวงก�ำหนดประเภทของสถานบริการและการด�ำเนินการของสถานบริการใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2561.
ราชกิจจานุเบกษา, กฎกระทรวงการจัดสวัสดิการสังคมท่ีเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์
ในวัยรุ่น พ.ศ. 2563.
ศิริพร จิรวัฒนกุล,การให้ค�ำปรึกษาทางเลือกส�ำหรับวัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์. วารสารพยาบาล ปีท่ี 31 ฉบับท่ี 2 2559
(หน้า5-16)
สาธารณสุข, กระทรวง.กรมอนามัย. รายงานการเฝ้าระวังการต้ังครรภ์แม่วัยรุ่น พ.ศ. 2563.
เอกสารยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560 - 2569 ตาม
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา การต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559.
ภาษาอังกฤษ
unicef.org/thailand/sites/unicef.org.thailand/files 2558.สืบค้นเม่ือวันท่ี 15 กุมภาพันธฺ2564
Core y, Gerald. Theory and Practice of Counseling and Psychotherapy. 8 ed. CA :Thomson
Brook / Cole 2009
Laurie L,Hornberger. Options Counseling for the Pregnant Adolescent Patient

http://pediatrics.aappublications.org/ by 945218 on December 28, 2017 สืบค้น เม่ือวันท่ี
15 กพ. 2564

บรรณานุกรม 139


รายช่ือคณะจัดท�ำเอกสาร
แนวทางการดูแลช่วยเหลือ

นักเรียนที่ตั้งครรภ์


Click to View FlipBook Version