The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ict.sesaosp, 2022-11-29 03:41:03

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

แนวทางการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนท่ตี ัง้ ครรภ์

3. การส่งเสริม พั ฒนา และป้องกันแก้ไขปัญหา

สอดคล้องกับกลุ่มนักเรยี น 3 กลุ่ม โดยมแี นวทางและรูปแบบของกิจกรรม ดังนี้

3.1 กลุ่มท่ัวไป จะรวมถึงนักเรยี นท้ังหมดทุกคนในโรงเรยี น ที่โรงเรยี นต้องการบรหิ ารจัดการให้มี
การป้องกันปัญหาทางเพศและการต้ังครรภ์ให้เป็นปกติในทุกปีการศึกษา โดยมีแนวทางการจัดกิจกรรม
ส่งเสรมิ และพัฒนานักเรยี น ดังน้ี

3.1.1 ส ร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ เ ชิ ง บ ว ก ร ะ ห ว่ า ง ค รู 3.1.4 เชิญหน่วยงานท่ีมีความช�ำนาญเฉพาะด้าน
แ ล ะ นั ก เ รี ย น ใ น ก า ร ส่ื อ ส า ร เ ร่ื อ ง เ พ ศ อนามัยการเจริญพันธุ์มาให้ความรู้ท่ีทันสมัย
ให้เป็นเร่ืองปกติ สร้างทัศนคติเชิงบวก เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ช่ น ก า ร คุ ม ก� ำ เ นิ ด ก า ร ยุ ติ
ในเร่ืองเพศ ผ่านช่ัวโมงโฮมรูม แนะแนว การต้ังครรภ์ และสนับสนุนหรือมีบริการ
ประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง อุปกรณ์คุมก�ำเนิด ถุงยางอนามัย เคร่ืองมือ
ตรวจการต้ังครรภ์
3.1.2 เนน้ สอนเพศวถิ ศี กึ ษาในชว่ั โมงเรยี นทค่ี รบท้งั
6 มติ ิ ได้แก่ 3.1.5 ป ร ะ ชุ ม ห รื อ จั ด อ บ ร ม ผู้ ป ก ค ร อ ง
ดา้ นการดแู ลบตุ รหลานทเ่ี ปน็ วยั รุน่ เพมิ่ ทกั ษะ
(1) พัฒนาการของมนุษย ์ การส่ือสารเร่ืองเพศกับบุตรหลานอย่างน้อย
(Human Development) ภาคเรียนละ 1 คร้ัง

(2) สัมพันธภาพ (Relationships) 3.1.6 สนับสนุนให้เครือข่ายผู้ปกครองมีความรู้
(3) ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) และเข้าใจเก่ียวกับระบบการดูแลช่วยเหลือ
(4) พฤติกรรมทางเพศ นักเรียน สร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่าย
ผู้ ป ก ค ร อ ง ใ น ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ
(Sexual Behavior) โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทาง
(5) สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) เพศกับนักเรียน
(6) สังคมและวัฒนธรรม
3.1.7 ประชาสัมพันธ์หรือให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง
(Society and Culture) และนักเรียนทุกคนถึงช่องทางการช่วยเหลือ
และรับบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ต่อเน่ืองในทุกระดับช้ัน โดยครูท่ีผ่าน ใ น โ ร ง เ รี ย น ห รื อ ใ น ช่ั ว โ ม ง โ ฮ ม รู ม
การอบรม และครูผู้สอนได้รับการพัฒนา แนะแนว กิจกรรมหน้าเสาธง การประชุม
ใหส้ อนอยา่ งมคี ณุ ภาพสำ� หรบั นกั เรยี นทกุ คน ผปู้ กครองทกุ ระดับช้นั การประชุมผปู้ กครอง
ในช้ันเรียน
3.1.3 พัฒนาทักษะชีวิต โดยการเสริมสร้างทักษะ
ในการจัดการเร่ืองเพศของตนเอง ได้แก่
การรู้จักคุณค่า การตัดสินใจ การส่ือสาร
การยนื ยนั ความตอ้ งการของตนเอง การตอ่ รอง
และขอความชว่ ยเหลอื

บทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 51


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนทีต่ ้งั ครรภ์

3.2 กลุ่มเฝ้าระวัง เม่ือมีการคัดกรองนักเรียนและค้นพบนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมเส่ียงและ
ความเสยี่ งทางเพศแลว้ ครูประจำ� ช้นั หรอื ครูทป่ี รกึ ษาและผรู้ บั ผดิ ชอบ รว่ มมอื กบั ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื
นักเรยี นที่ต้ังครรภ์ จะต้องด�ำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนา และป้องกันแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์
หรอื ความเสยี่ งทางเพศเป็นรายบุคคลหรอื เป็นกลุ่มเฉพาะเพ่ือไม่ให้มปี ัญหาเกิดขึน้ เพ่ิมเติมจากกิจกรรม
ที่โรงเรยี นจัดเป็นปกติในทุกปีการศกึ ษาอยู่แล้ว โดยมแี นวทาง ดังต่อไปนี้

3.2.1 สร้างสัมพันธภาพท่ีใกล้ชิด ไว้วางใจ และ ห รื อ ค รู ท่ี ป รึ ก ษ า ต้ อ ง พู ด คุ ย ส่ ื อ ส า ร กั บ คู่ /
ใหค้ วามเอาใจใสใ่ กล้ชดิ ในระดับท่ีเขม้ ขน้ ข้นึ แฟน เร่อื งการปอ้ งกันการต้ังครรภ์ความเสย่ี ง
ใ น ร ะ ดั บ บุ ค ค ล ห รื อ ตั ว นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ อ ง ต่อการต้ังครรภ์ (กรณีเรียนท่ีเดียวกัน)
เฝ้าระวัง
3.2.5 ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ห รื อ พู ด คุ ย เ พ่ื อ ป ร ะ เ มิ น
3.2.2 ติดตามเย่ียมบ้านอย่างน้อย 2 - 3 คร้ัง/ ความเสย่ี งทางเพศเชน่ ทศั นคตหิ รอื ความเช่อื
ภาคเรยี นส่อื สารพดู คยุ กบั ผปู้ กครองเพ่อื ชว่ ยกนั ต่อการมีเพศสัมพันธ์ การใช้ถุงยางอนามัย
ดูแลใกล้ชิด ความรุนแรงทางเพศ

3.2.3 ให้การช่วยเหลือเพ่ือคล่ีคลายหรือบรรเทา 3.2.6 กรณที ่ีนกั เรยี นสงสยั วา่ จะต้งั ครรภ์หรอื พบวา่
ปั ญ ห า ท่ี อ า จ สั ม พั น ธ์ กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ส่ี ย ง ต้ังครรภ์แล้ว ให้แนะน�ำให้เข้ารับบริการ
หรือความเส่ียงทางเพศ เช่น สร้างกิจกรรม ตรวจครรภ์จากโรงพยาบาล หรือประสาน
กลมุ่ สมั พนั ธก์ บั เพ่อื นในโรงเรยี นเปน็ ผนู้ ำ� กลมุ่ ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
การใช้เวลาว่างท่ีเป็นประโยชน์ พัฒนาหรือ โดยทันทีเพ่ือเข้าสู่ระบบการดูแลช่วยเหลือ
ส่งเสริมทักษะหรือความสนใจพิเศษ เช่น
ดนตรี กีฬา จิตอาสาในชุมชน วาดภาพ ฯลฯ 3.2.7 หากพบปัญหาเกิดข้ึนกับนักเรียนในรูปแบบ
สนับสนุนการมีรายได้เสริมระหว่างเรียน อ่ืน ๆ เช่น ถูกละเมิดทางเพศ คุกคามทางเพศ
ท่ีปลอดภัยมากข้ึน ทุนการศึกษา เป็นต้น ขายบริการ เก่ียวข้องกับการใช้ความรุนแรง
รูปแบบต่าง ๆ ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3.2.4 แนะนำ� ขอ้ มลู แหลง่ บรกิ ารดา้ นสขุ ภาวะทางเพศ ท� ำ ผิ ด ก ฎ ห ม า ย เ ก่ี ย ว กั บ เ ร่ื อ ง เ พ ศ
อ น า มั ย ก า ร เ จ ริ ญ พั น ธุ์ ค ว า ม รุ น แ ร ง ออนไลน์ เช่น คลิปโป๊ ภาพลามก ฯลฯ
ทางเพศ หรืออ่ืน ๆ ท่ีสอดคล้องกับสภาพ ครูท่ีปรึกษาหรือครูประจ�ำช้ันต้องประสาน
ปั ญ ห า ห รื อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล กั บ ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น
แ ล ะ ใ ห้ ข้ อ มู ล ห รื อ ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี เ น้ น เ ร่ ื อ ง ท่ีต้ังครรภ์ ครูแนะแนว หรือนักจิตวิทยา
วิธีการคุมก�ำเนิด การต้ังครรภ์และการยุติ โรงเรยี นประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
การต้งั ครรภ์ ผลกระทบจากการมเี พศสมั พนั ธ์ เ พ่ ื อ ห า ท า ง แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
โรคติดต่อ การพร้อมของการเป็นพ่อแม่ ผ่ า น ก ล ไ ก ข อ ง ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ
การเลย้ี งดเู ดก็ ทารก ฯลฯรวมถึงครูประจ�ำช้ัน นักเรียนของโรงเรียนต่อไป

52 บ ทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนทต่ี ้งั ครรภ์

3.3 นักเรียนท่ีต้ังครรภ์หรือมีผลกระทบจากเร่ืองเพศ การรับทราบว่า มีนักเรียนมีปัญหาหรือ
ก�ำลังได้รบั ผลกระทบจากเร่อื งเพศอยู่ในโรงเรยี น อาจมไี ด้จากหลายช่องทางท้ังจากภายในโรงเรยี น คือ
ข้อมูลจากระบบการคัดกรองของครูประจ�ำช้ันหรอื ครูที่ปรกึ ษา การพบเห็นเหตุการณ์เกิดข้ึนกับนักเรยี น
ตัวนักเรยี นหรอื ผปู้ กครองทปี่ ระสบปัญหาหรอื นักเรยี นในโรงเรยี นเป็นผแู้ จ้งใหก้ ับครูคนใดคนหนึ่งรบั ทราบ
และจากภายนอกโรงเรยี น การส่งต่อข้อมูลจากหน่วยงานและเครือข่ายท่ีให้บริการสาธารณสุขในพ้ืนท่ี
คนในชมุ ชน ขา่ วสารผา่ นระบบออนไลน์ เปน็ ตน้ ถอื วา่ มคี วามตอ้ งการทเี่ รง่ ดว่ นและโรงเรยี นจะตอ้ งดำ� เนนิ การ
ดูแลช่วยเหลือหรอื แก้ไขปัญหาทันที โรงเรยี นมแี นวทางการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา ดังนี้

3.3.1 กรณีถูกละเมิดทางเพศ โดยนักเรียนเป็น 3.3.2 กรณีนักเรียนเป็นผู้กระท�ำผิดเก่ียวกับกรณี
ผู้ถูกกระท�ำ เช่น ถูกข่มขืน ถูกบังคับให้มี ทางเพศหรอื เขา้ ขา่ ยการกระทำ� ผดิ ตามกฎหมาย
เพศสัมพันธ์ ถูกบังคับใช้ประโยชน์ทางเพศ เชน่ คกุ คาม ขม่ ขู่ บังคับ ตบตี ท�ำร้ายเพราะ
เช่น ถ่ายรูปหรือคลิปโป๊ ลามก และเผยแพร่ หึ ง ห ว ง ก ร ร โ ช ก ท รั พ ย์ ป ร ะ จ า น ห รื อ
ออนไลน์ ถูกข่มขู่คุกคามหรือท�ำร้ายร่างกาย เจตนาท�ำให้ผู้อ่ืนเสียหาย อับอายด้วยเร่ือง
เพราะหงึ หวง ขายบรกิ ารทางเพศ หรอื อ่ืน ๆ ทางเพศ และผู้ถูกกระท�ำอาจเป็นนักเรียน
ท่ี เป็นภั ยและความไม่ปลอดภั ยส�ำหรับ คนอ่ืนในโรงเรียนหรือคนอ่ืน มีเพศสัมพันธ์
นักเรียน ให้ใช้แนวทางการด�ำเนินงาน ในโรงเรียน บันทึกหรือส่งต่อหรือเผยแพร่
ตามคู่มือแนวทางการให้ความคุ้มครองและ คลปิ โปล๊ ามกชกั ชวนเพ่อื นใหข้ ายบรกิ ารทางเพศ
ช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาซ่ึงถูกล่วงละเมิด ครูทป่ี รกึ ษาหรอื ครูประจำ� ชน้ั ตอ้ งประสานกบั
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2564) ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น
ท่ีต้ังครรภ์ ผู้บริหารหรือนักจิตวิทยาโรงเรียน
ป ร ะ จ� ำ ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า
เพ่ือด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
โดยรว่ มกับทีมสหวิชาชพี อยา่ งเป็นข้ันตอน

3.3.3 กรณีนักเรียนท่ี ต้ั งครรภ์ เม่ือพบปัญหา
การต้ังครรภ์ของนักเรียน โรงเรยี นมีแนวทาง
การช่วยเหลือแก้ไขปัญหา ฟ้ ืนฟู นักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์ ดังน้ี

(1) ผพู้ บปญั หานกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ใหแ้ จ้งต่อ
ครู ผู้ให้ก ารดูแ ล ช่วยเหลื อ นั กเรี ยน
ท่ีต้ังครรภ์ เพ่อื ด�ำเนนิ การต่อและแจ้งให้
ผู้บริหารให้รับทราบ

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์ 53


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นท่ตี งั้ ครรภ์

(2) ครู ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน พักช่วงต้ังครรภ์ หรือเรียนเองท่ีบ้าน)
ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ มี ห น้ า ท่ี เ ป็ น ตั ว ห ลั ก ใ น ก า ร จ ะ ป ร ะ ส า น แ จ้ ง กั บ ฝ่ า ย วิ ช า ก า ร ห รื อ
ดำ� เนนิ กระบวนการดูแลช่วยเหลือแก้ไข ทีมประสานเพ่ือจัดเตรียมรูปแบบและ
ปัญหานักเรียนท่ีต้ังครรภ์ โดยประสาน วิธกี ารสอนใหส้ อดคล้องกัน
ความร่วมมือกับฝ่ายต่าง ๆ ท่ีมีหน้าท่ี
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือการท�ำงาน (4) การให้การปรึกษา โดยครูผู้ให้การดูแล
ตามท่ีครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ จ ะ ใ ช้
ทต่ี ง้ั ครรภเ์ สนอ ซง่ึ ครผู ใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื ก ร ะ บ ว น ก า ร ป รึ ก ษ า กั บ นั ก เ รี ย น
นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ จ ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ทต่ี ง้ั ครรภต์ ง้ั แตร่ วู้ า่ ตง้ั ครรภ์–ตง้ั ครรภต์ อ่
ความต้องการช่วยเหลือจากนักเรียน หรือยุติการต้ังครรภ์ – หรือคลอด -
ทต่ี ง้ั ครรภห์ รอื ผปู้ กครองทใ่ี หก้ ารยนิ ยอมแลว้ ร ะ ห ว่ า ง เ ล้ี ย ง ดู ท า ร ก ห รื อ ห ลั ง ย ก ใ ห้
ม า เ พ่ือวา งแผนร่วม กั บฝ่า ยต่ าง ๆ บุ ค ค ล อ่ื น ช่ ว ง ฟ้ ื น ฟู ส ภ า พ จิ ต ใ จ
ในเร่อื งรูปแบบการเรยี นต่อ การต้ังครรภ์ หลังเผชิญเหตุการณ์ท้ังหมด เป็นระยะ
การคลอด การเล้ียงดูทารกหลังคลอด เ พ่ ื อ ห า ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ห รื อ
และความช่วยเหลือต่าง ๆ เพ่ือให้มี ค้นหาปัญหาจากนกั เรียน
ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น โ ร ง เ รี ย น ท่ี เ อ้ ื อ ต่ อ
การเรียนร่วมของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ (5) การสง่ ต่อ โดยครูผ้ใู หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือ
นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ แ ล ะ ที ม ป ร ะ ส า น
(3) การจัดท�ำแผนเรียนรู้รายบุคคล เม่ือครู จะด�ำเนินการเพ่ือให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์
ผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ์ ไดร้ บั บรกิ ารชว่ ยเหลอื ทค่ี รอบคลมุ ทกุ ดา้ น
ได้พูดคุยและนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ตัดสินใจ ตามความต้องการ ท้ังด้านการเรียน
เลือกรูปแบบการเรียน (มาเรียนร่วม สขุ ภาพการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่นื การชว่ ยเหลอื
ปกติ - แบบ on site on line หรือหยุด ด้านเศรษฐกิจ สวัสดิการ การช่วยเหลือ
ต่าง ๆ
54 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนท่ตี ้งั ครรภ์

(6) ครู ผู้ให้การดูแลช่วยเหลื อนักเรียน • การเตรียมอุปกรณ์ ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ
ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ จ ะ ด� ำ เ นิ น ก า ร ห รื อ ติ ด ต า ม แม่หลังคลอด เช่น ตู้เย็นเพ่ือเก็บ
ก ร ะ บ ว น ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น น้�ำนม ห้องให้นมลูก
ท่ีต้ังครรภ์ให้ได้รับการปรึกษา ติดตาม
ดแู ล ต้ังแตร่ ูว้ า่ ต้ังครรภ์ ระหวา่ งต้ังครรภ์ (2) การจัดการบรรยากาศการอยู่ร่วมกัน
หลังคลอด/ยุติการต้ังครรภ์ รวมท้ัง ในโรงเรยี นการมเี พ่อื นตง้ั ครรภม์ าเรยี นรว่ ม
การฟ้ ืนฟูเพ่ือให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ จ ะ ต้ อ ง จั ด เ ต รี ย ม ห รื อ ว า ง แ ผ น
ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว แ ล ะ ใ ช้ ชี วิ ต ร่ ว ม กั บ การด�ำเนินการในเร่ืองต่อไปน้ี
ผู้อ่ืนในโรงเรียนได้อย่างปกติ
• การแตง่ กาย สำ� หรบั นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์
3.3.4 การจัดบริการและการอ�ำนวยความสะดวก ก า ร ใ ช้ ชุ ด นั ก เ รี ย น จ ะ ไ ม่ ส ะ ด ว ก
ให้แก่นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ ในกรณีท่ีนักเรียน จึงต้องอนุโลมหรืออนุญาตให้แต่งตัว
ท่ี ต้ั งค ร ร ภ์ มีค วา ม ปร ะ สงค์ จะ เข้า เรีย น แบบสขุ ภาพและสะดวกตอ่ การต้ังครรภ์
ในช้นั เรยี นปกติ ซ่งึ มชี ว่ งเวลาท่ีต้ังครรภ์ และ และเคล่ือนไหว
ชว่ งเวลาหลงั คลอดบตุ ร โรงเรยี นควรจดั บรกิ าร
สถานท่ีท่ีเหมาะสมกับนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ • การส่ือสารและสร้างทัศนคติเชิงบวก
ท้ังน้ี ควรค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมท่ีจะเป็น การมาเรยี นรว่ มของนกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์
เง่ือนไขต่อการใช้ชีวิตท้ังด้านกายภาพและ อ า จ เ กิ ด บ ร ร ย า ก า ศ ข อ ง ก า ร ส ง สั ย
สั ง ค ม ร อ บ ตั ว อั น จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ นั ก เ รี ย น ซบุ ซบิ หรอื มคี วามเหน็ แยง้ ครปู ระจำ� ชน้ั /
ท่ีต้ังครรภ์ ถือเปน็ บทบาทหนา้ ท่ีของผบู้ รหิ าร ครูท่ีปรึกษาควรส่ือสารกับนักเรียน
ทมี นำ� ทมี ประสาน และทมี ทำ� ทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ าน คนอ่ืนด้วยท่าทีท่ีเป็นเชิงบวก และ
ในขอบขา่ ยหนา้ ทร่ี บั ความผดิ ชอบ (ตารางท่ี 1 สร้างความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ และ
ขอบข่ายการปฏิบัติงานของผู้ท่ีเก่ียวข้อง ช่วยเหลือกัน
ในการปอ้ งกนั และชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ)์
โดยมแี นวทางการจัดการ ดังน้ี • การเช่อื มต่อกับฝา่ ยต่าง ๆ ในโรงเรยี น
ได้แก่ ฝ่ายวิชาการ ครูผู้สอนวิชาอ่ืน
(1) การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ฝา่ ยอาคารสถานท่ีเพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจ
โรงเรยี นควรพจิ ารณาการจดั สภาพแวดลอ้ ม และสนบั สนนุ ใหเ้ กิดการดแู ลนกั เรยี น
ดังต่อไปน้ี ท่ีต้ังครรภ์อย่างเป็นระบบ

• การจัดสภาพหอ้ งเรยี น ปรบั ปรุงแก้ไข (3) การส่อื สารกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษา
เพ่อื ใหเ้ อ้อื ตอ่ การทำ� กจิ กรรมของนกั เรยี น ข้ั น พ้ ื น ฐ า น แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ย ผู้ ป ก ค ร อ ง
ทต่ี ้งั ครรภ์ เชน่ เกา้ อ้ี โตะ้ อาคารเรยี น เช่น พระราชบัญญัติการป้องกันและ
ทห่ี า่ งไกล หอ้ งเรยี นอยใู่ นชน้ั ทต่ี อ้ งเดนิ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ ใ น วั ย รุ่ น
ข้ึนสูงหรือไม่ ห้องน้�ำท่ีเป็นชักโครก พ.ศ. 2559 หรือความต้องการเรียนต่อ
ทางเดนิ ระหวา่ งอาคาร โรงอาหาร ของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์

บทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 55


แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นที่ตง้ั ครรภ์

4. การส่งต่อ

4 .1การสง่ ตอ่ ภายใน ก ารดแู ลชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองนกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภห์ รอื ไดร้ บั ผลกระทบจากเร่อื งเพศ
ภายในโรงเรียนมีผู้ประสานงานหลักหรือครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ด�ำเนินการร่วมกับ
ครูแนะแนว ครูพยาบาล และนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาต้นสังกัดในพ้ืนท่ี
ในกรณีท่ีไม่ซับซ้อนหรือผู้ท่ีเก่ียวข้องประเมินว่าสามารถจัดการได้ในระดับเบ้ืองต้น ในกรณีท่ีซับซ้อนจะต้อง
ส่งต่อหน่วยงานเฉพาะทาง

4.2 การส่งต่อหน่วยงานภายนอก โดยท่ัวไปหากสภาพปัญหาและความต้องการของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์
ไม่ซับซ้อน โรงเรียนโดยผู้ประสานงานหลักหรือครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์สามารถประสาน
กับหนว่ ยงานเฉพาะทางโดยตรง แต่หากพบปญั หาท่ีซบั ซอ้ นก็สามารถประสานทีมสหวิชาชพี (สำ� นกั งานพฒั นา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) - นักสังคมสงเคราะห์หรือนักจิตวิทยา โรงพยาบาลชุมชน
พยาบาลจิตเวช ต�ำรวจ อัยการ) ซ่ึงเป็นกลไกการท�ำงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
เพ่ือจัดประชุมและหาแนวทางช่วยเหลืออย่างเป็นข้ันตอน

4.2.1 เกณฑก์ ารสง่ ตอ่ หนว่ ยงานภายนอกพจิ ารณาจาก ห รื อ ย ก บุ ต ร บุ ญ ธ ร ร ม ( ป ร ะ ส า น
พมจ.) มีความจ�ำเป็นด้านเศรษฐกิจ
(1) กรณีท่ีนักเรียนต้องการยุติการต้ังครรภ์ (ทมี สหวชิ าชพี ทอ้ งถนิ่ )ตอ้ งการดำ� เนนิ การ
ต้ อ ง ส่ ง ต่ อ โ ร ง พ ย า บ า ล เ พ่ ื อ ใ ห้ เ ข้ า รั บ เก่ียวกับคดีความ (ทีมสหวิชาชพี จังหวัด
การประเมนิ การตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม และเขา้ สู่ ตำ� รวจ)
กระบวนการให้การปรึกษาอย่างเป็น
ระบบและการปรึกษาจากผู้เช่ียวชาญ 4.2.2 หน่วยงานหรือแหล่งบริการช่วยเหลือกรณี
เฉพาะทางโดยทันที ต้ังครรภ์ไมพ่ ร้อม

(2) เม่ือให้การปรึกษาเบ้ืองต้นแล้วพบว่า (1) ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (สพป.
มปี จั จยั อ่นื รว่ มดว้ ย เชน่ ถกู ใชค้ วามรุนแรง ห รื อ ส พ ม . ) : ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด
ถูกล่วงละเมิด ข่มขืน ล่อลวง เก่ียวข้อง ในระดับพ้ืนท่ี มีบทบาทในการส่งเสริม
กบั การใชส้ ารเสพตดิ การคา้ บรกิ ารทางเพศ สนับสนุน และพัฒนาครูและโรงเรียน
ให้สามารถจัดการเรียนการสอนเพศวิถี
(3) ผลการประเมินนักเรียนท่ี ต้ั งครรภ์ ศกึ ษา และใหก้ ารปรกึ ษา ดแู ลชว่ ยเหลือ
ด้านสุขภาพกาย จิต อารมณ์ พบว่า ร ว ม ถึ ง ส่ ง ต่ อ นั ก เ รี ย น ท่ี เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า
ต้ องได้ รับการดูแลจากผู้เช่ียวชาญ เร่ืองเพศ การต้ังครรภ์ของนักเรียน
เ ฉ พ า ะ ท า ง เ ช่ น นั ก จิ ต วิ ท ย า เ ด็ ก โดยมศี กึ ษานเิ ทศก์ นกั จิตวิทยาโรงเรยี น
แพทย์บำ� บดั เฉพาะทาง ประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
นั ก วิ ช า ก า ร ท่ี ท� ำ ห น้ า ท่ี ส นั บ ส นุ น
(4) การประเมินสภาพความต้องการจ�ำเป็น การท�ำงานของโรงเรียนในสังกัด
ของนักเรียนท่ีต้ังครรภ์และครอบครัว
เช่น ต้องการไปพักอาศัยท่ีอ่ืนช่ัวคราว

56 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ (4) ท้องถิ่น เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบล
เทศบาล : มบี ทบาทในการดแู ล ชว่ ยเหลอื
(2) ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง ด้านสวัสดิการสังคม การด�ำรงชีวิต และ
ของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) : มีบทบาท ความเป็นอยู่ของนักเรียนและครอบครวั
ในการฝึกอบรมอาชีพหรือจัดหางานให้ ทเ่ี ผชญิ ปญั หารวมถงึ การออกเทศบญั ญตั ิ
กับวัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์ และหาครอบครัว ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเร่ือง
ทดแทนให้กับวัยรุ่นท่ีไม่สามารถเล้ียงดู เพศ
บุตรได้เอง ในด้านการป้องกันมีภารกิจ
สร้างแกนน�ำระดับจังหวัดและอ�ำเภอ (5) ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือ
ใ น ก า ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง ปั ญ ห า ก า ร ต้ั ง ค ร ร ภ์ เด็กนักเรียน ส�ำนักงานคณะกรรมการ
ในวัยรุ่น รวมถึงสนับสนุนหน่วยงาน การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ฉก.ชน.สพฐ.)
ของรัฐและเอกชนให้ความช่วยเหลือ มีบทบาทในการสนับสนุน ส่งเสริม
แกว่ ยั รนุ่ ทต่ี ง้ั ครรภแ์ ละครอบครวั นอกจากน้ี แ ล ะ พั ฒ น า ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ
พมจ. ยังมีบทบาทในการช่วยเหลือและ นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ นักจิตวิทยาโรงเรียน
สนบั สนนุ ความเปน็ อยู่ จัดสรรสวัสดิการ ประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ใ ห้ กั บ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ท่ี อ ยู่ ใ น ภ า ว ะ นักวิชาการ ครูและโรงเรียนให้สามารถ
ยากล�ำบาก ขับเคล่ื อนการด� ำเนินงานคุ้มครอง
ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์
(3) โรงพยาบาลชุมชนหรือสถานบริการ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ 02 288 5795
สาธารณสุขในพ้ืนท่ี : มีบทบาทในการ
ให้ข้อมูลและความรู้ในการป้องกั น (6) ศูนย์คุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน
ท่ีถูกต้องและครบถ้วน ให้การปรึกษา นักศึกษาท่ีถูกละเมิด สังกัดกระทรวง
และบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ท่ีได้ ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ( ศ ค พ . ) มี บ ท บ า ท
มาตรฐาน มีระบบส่งต่อไปยังสวัสดิการ ในการป้องกัน ปราบปราม คุ้มครอง
สังคม และโรงพยาบาลในบางจังหวัด และชว่ ยเหลือนกั เรยี นนกั ศกึ ษาในสงั กัด
จะมจี ิตแพทยเ์ ด็กและวัยรุน่ ประจ�ำการอยู่ ตามกระบวนการข้ันตอนและมาตรการ
ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์ ท่ีก�ำหนด หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ
ส ถ า บั น สุ ข ภ า พ จิ ต เ ด็ ก แ ล ะ วั ย รุ่ น สายด่วน 1579 หรือ 02 007 0001
ราชนครินทร์ (https://camri.go.th/
DatabasePsychiatrist/)

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์ 57


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์

แผนผังที่ 2

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการป้องกัน
ดูแล ช่วยเหลือ คุ้มครอง กรณีการตั้งครรภ์ในโรงเรียน

1. รู้จักนักเรียน มีข้อมูล นร.รอบด้าน
2. เข้าสู่ระบบคัดกรอง

กลุ่มท่ัวไป 3 สร้างทัศนคติเชิงบวก Home Room อบรมเชิงปฏิบัติการ/
เร่ืองเพศ ค่าย/ สอนเพศวิถีทักษะชีวิต

ร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายนอก
/ประชุม ผู้ปกครอง

กลุ่มเฝ้าระวัง 4 เพิ่ มความเข้มข้นใน เยี่ยมบ้าน ให้ค�ำปรึกษา สื่อสาร
การสร้างสัมพั นธภาพที่ดี ทางบวก ให้บริการดูด้านสุขภาวะ
ในการให้ความช่วยเหลือ ให้ความรู้ทางกฎหมาย สิทธิเด็ก

จัดให้มี YC

กลุ่มต้ังครรภ์ 5 ส่งต่อ เรยี นระหว่าง เลือกรูปแบบ
CM ดูแล ต้ังครรภ์ การเรยี น

ยุติการเรยี น

หมายเหตุ
1. ข้อมูลย้อนกลับเพ่ือปรบั ปรุง/พัฒนา
2.ประสานการท�ำงาน
3 ตัวอย่างกิจกรรม

58 บ ทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนที่ต้ังครรภ์

เครอื ข่ายเพ่ือน เข้าสู่ระบบการ รายงานและติดตาม
ผู้ปกครอง ประเมินระบบดูแล ต่อเน่ือง

ปกติ

Case Conference ช่วยเหลือ ประเมิน
ส่งต่อภายใน ในมิติต่างๆ

ติดตามดูแลรอคลอด รายงาน และติดตาม
ต่อเน่ือง

ประสานหน่วยงาน ส่งต่อภายนอก การป้องกันหลังคลอด
ท่ีเกี่ยวข้อง ดูแลต่อเน่ือง
แนะน�ำแนวทาง/
รูปแบบการเรยี น เรียนต่อ
หลังคลอด

บทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 59


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนท่ตี ั้งครรภ์

การนิยามศัพท์เฉพาะ

ความหมายของค�ำที่เกี่ยวข้อง อ้างอิงตามแผนยุทธศาสตรก์ ารป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุน่ ระดับชาติ พ.ศ. 2560 - 2569

เพศวิถีศึกษา

หมายถึง กระบวนการเรยี นรูใ้ นเร่อื งเพศท่ีครอบคลมุ ถึงพฒั นาการในแต่ละ
ชว่ งวยั การมสี มั พนั ธภาพกบั ผอู้ ่นื การพฒั นาทกั ษะสว่ นบคุ คล พฤติกรรมทางเพศ
สุขภาวะทางเพศ และมิติทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีส่งผลกระทบต่อเร่ืองเพศ
รวมท้ังสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เก่ียวกับอนามัยการเจริญพันธุ์
ท่ีให้ความส�ำคัญกับความหลากหลายและความเสมอภาคทางเพศ

สุขภาวะทางเพศ

หมายถึง การมีชีวิตด้านเพศท่ีดี ท้ังด้านกายใจสังคมและจิตวิญญาณ
มีขีดความสามารถ ท่ีจะจัดการกับภาวะเปราะบางความเส่ียงและปัญหา
ท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองเพศ

ทักษะชีวิต

หมายถึง ความสามารถอันประกอบ ด้วย ความรู้ เจตคติ และทักษะ
ในอนั ทจ่ี ะจดั การปญั หารอบตวั ในสภาพสงั คมปจั จบุ นั และเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั
การปรบั ตวั ในอนาคต ไมว่ า่ จะเปน็ เร่อื งสารเสพตดิ บทบาทหญงิ ชาย ชวี ติ ครอบครวั
สุขภาพ อิทธิพลส่ือ สิ่งแวดล้อม จริยธรรมและปัญหาสังคม

ทัศนคติเชิงบวกเร่ืองเพศ

หมายถึง การมีความ เข้าใจว่าเร่ืองเพศเป็นเร่ืองปกติเป็นองค์ประกอบ
หน่ึงของชีวิตการมีความรู้ท่ีเท่าทันและมีทักษะท่ีถูกต้องท่ีจะท�ำให้ด�ำเนินชีวิต
ทางเพศได้อย่างมีความปลอดภัย

การปรึกษาทางเลือก

หมายถึง การปรึกษาท่ีเสริมพลังหญิงวัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์ให้สามารถ
ตัดสินทางเลือกท่ีสอดคล้องกับปัญหาและเง่ือนไขชีวิตของตนเอง

ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์

หมายถึง ครูท่ีนักเรียนท่ีต้ังครรภ์มีความไว้วางใจ และอยากให้ท�ำหน้าท่ี
ดแู ลชว่ ยเหลือ และประสานความรว่ มมอื กับทกุ ฝา่ ยเพ่อื ใหน้ กั เรยี นผา่ นพน้ ปญั หา
ไปได้

60 บ ทท่ี 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนตั้งครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนท่ตี ัง้ ครรภ์

ให้โอกาสผู้พลาดแพ้ได้แก้ไข
ได้ก้าวย่างต่อไปมิไร้ค่า

แม้มีครรภ์ก็เป็นคนควรพัฒนา
ให้ได้รับการศึกษาเหมือนทุกคน

...สันติสุข สันติศาสนสุข...

บทที่ 3 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน : นักเรียนต้ังครรภ์ 61


4

การดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนที่ตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ีตัง้ ครรภ์

เมือ่ พบวา่ มนี ักเรียนตัง้ ครรภ์
ในโรงเรียน บคุ คลทีเ่ กย่ี วข้อง
ทัง้ ผู้ปกครอง ผูบ้ รหิ าร ครู
ตลอดจนเพื่ อนนักเรียน
อาจเกิดความตระหนกและ
รสู้ ึกเป็นทุกขไ์ มส่ บายใจ
กบั ส่ิงท่เี กิดขึน้

โดยเฉพาะตัวนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ย่อมจะเกิดความทุกข์
ใจมากกว่าผูใ้ ด รูส้ กึ โดดเด่ียว จมอยูใ่ นความทกุ ขท์ ่ีเกิดจาก
ความกลัวท่ีถาโถมในใจ กลัวคนอ่ืนจะรู้ กลัวไมไ่ ด้เรียนต่อ
กลัวเสียอนาคต กลัวพ่อแม่ผู้ปกครองจะเสียใจ กลัวการ
ถูกประณาม กลัวเพ่ือน ๆ ไม่ยอมรับ กลัวการถูกท้ิง ฯลฯ
ความกลัวเหล่าน้ีมักน�ำไปสู่ความไม่ไว้วางใจว่าจะมีใคร
พร้อมท่ีจะให้ความช่วยเหลืออย่างเข้าใจ นักเรียนบางคน
จึงเลือกท่ีจะไม่บอกใคร และหาทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง
โดยการแสวงหาบุคคล หรือแหล่งช่วยเหลือต่าง ๆ จาก
ปา้ ยประกาศท่ีพบเหน็ ในท่ีต่าง ๆ จากค�ำบอกต่อท่ีได้ยนิ มา
จากอิ นเทอร์เน็ต หรือพูดคุยกั บคนท่ี ต้ั งครรภ์ ท่ี ตนไม่รู้จั ก
ทางส่อื social ตา่ ง ๆ ซง่ึ อาจไดข้ อ้ มลู ทน่ี ำ� ไปสกู่ ารตดั สนิ ใจยตุ ิ
การต้ังครรภ์ท่ีไมป่ ลอดภัย และด้วยความไมเ่ ช่ือใจ กลัวคน
ท่ีรู้เร่ืองน�ำไปพูดต่อ ๆ กันท�ำให้เร่ืองบานปลายเสียหาย
ยง่ิ ขน้ึ นกั เรยี นบางคนจงึ อาจเลอื กบอกกบั คนทต่ี นไวใ้ จเทา่ นน้ั
เช่น เพ่ือน ครูท่ีสนิทในโรงเรียน หรือคนในครอบครัว
คนรู้จักท่ีพูดคุยได้ และต่างก็ช่วยกันปิดเร่ือง ให้การดแู ล
ช่วยเหลืออย่างดีท่ีสุดตามสภาพท่ีตนสามารถ ซ่ึงอาจท�ำให้
นักเรียนเสียโอกาสท่ีจะได้รับการดูแลช่วยเหลือจากบุคคล
ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้าน หรือแหล่งบริการอ่ืน ๆ ท่ีเป็นมิตร
และปลอดภัย สญู เสยี เวลาไปกับการหาทางออกด้วยตนเอง
ท่ีอาจจะไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ และลดทอนพลังท่ีจะ
ด�ำเนนิ ชวี ิตต่อไปอยา่ งมคี ุณภาพ

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์ 63


แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตงั้ ครรภ์

การต้งั ครรภใ์ นวยั เรยี นนน้ั นบั เปน็ ภาวะวกิ ฤติ ทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาถอื วา่ เปน็ ผทู้ ช่ี ว่ ยใหน้ กั เรยี น
ของชวี ิตเพราะนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์จะได้รบั แรงกดดัน ได้มองเห็นแสงสว่างในท่ามกลางความมืดของชีวิต
ท้ังจากภายในและภายนอกเน่ืองจากเป็นสิ่งท่ีขัดต่อ ใหเ้ หน็ เสน้ ทางทส่ี ามารถดำ� เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
ค่านิยมเร่ืองเพศของสังคมไทยมาต้ังแต่อดีตจน ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้
ปัจจุบัน ผู้คนรอบข้างไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว การปรึกษาจึงควรได้เพ่ิมพูนทักษะบางประการ
เพ่ือนบ้าน ครู และเพ่ือน ๆ ย่อมรับรู้ด้วยความรู้สึก ท่ีเอ้ือต่อการท�ำหน้าท่ีน้ี
ตำ� หนติ เิ ตยี นวา่ เปน็ การกระทำ� ทไ่ี มเ่ หมาะสมแมอ้ าจจะ
ปนด้วยความห่วงใยของแต่ละคนก็ตาม ส่วนตัวของ ในท่ีน้ีทักษะการส่ือสารเพ่ือการปรึกษา
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์เองก็ย่ิงเป็นทุกข์ด้วยความรู้สึก (Counseling Communication Skill) เป็นทักษะ
ผิดต่อครอบครัว รู้สึกว่าตนเองท�ำผิดพลาดเกินกว่า ก า ร ส่ ื อ ส า ร ท่ี มี พ ลั ง ข อ ง ก า ร ส ร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ
จะแก้ไขได้ เป็นลูกท่ีไม่ดี ท�ำให้พ่อแม่ผิดหวังเสียใจ ให้การชว่ ยเหลอื ดำ� เนนิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดแี ละราบร่นื ทำ� ให้
กลวั ความลบั ถกู เปดิ เผย กลวั การดถู กู กลวั เสยี อนาคต นกั เรยี นเกดิ ความไวว้ างใจและมคี วามพรอ้ มในการเลา่
รูส้ กึ วา่ ตนเองไมม่ คี ณุ คา่ สญู เสยี ความมน่ั ใจในตนเอง หรอื ระบายรายละเอยี ดความเปน็ มาของปญั หาการคดิ
หาทางออกให้กับตนเองไม่ได้ น�ำไปสู่การขาดสติ การตัดสนิ ใจท�ำให้ครูผใู้ หก้ ารดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
ขาดการไตรต่ รองและอาจเลอื กวธิ กี ารแกไ้ ขทผ่ี ดิ พลาดได้ ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษารับรู้และเข้าใจนักเรียน
แม้บทบาทของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ี ได้อย่างแท้จริง ท�ำให้จัดกระบวนการเพ่ือดูแล
ต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา (Case Manager) จะเป็น ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์
ผทู้ ่ที ำ� หนา้ ท่หี ลกั ในการดแู ลชว่ ยเหลอื โดยการสำ� รวจ ไดผ้ า่ นพน้ ปญั หาไปไดด้ ว้ ยวธิ ที เ่ี หมาะสมและปลอดภยั
ปัญหาและความต้องการของนักเรียน ร่วมวางแผน และในส่วนบทบาทของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ
กับนักเรียนหรือผู้ปกครอง และประเมินผลแนวทาง นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา กับการปรึกษา
การแก้ไขปัญหา รวมท้ังการประสานกับหน่วยงาน ในเอกสารน้ีขอนำ� เสนอใน 3 หัวขอ้ คือ
หรือบุคคลในหลากหลายสาขาเพ่ือมาช่วยเหลือ
และการจัดการกรณีท่ีมีนักเรียนต้ังครรภ์ในโรงเรียน 1. เจตคติของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ
ให้สามารถเติบโต เรียนรู้ท่ีจะด�ำเนินชีวิตต่อไปได้ นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา
อยา่ งมคี ณุ ภาพก็ตาม แต่ปัญหาท่ีเกิดกับนกั เรียนน้ัน
เปน็ ปญั หาทร่ี ะดบั จติ ใจทม่ี คี วามละเอยี ดออ่ น มภี าวะ 2. ค ว า ม รู้ แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ทั ก ษ ะ
สับสน กดดัน เป็นวิกฤติระดับสูงของชีวิต ดังน้ัน การส่ือสารเพ่ือให้การปรึกษา
ก า ร ท� ำ ห น้ า ท่ี ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น
3. การประสานงานเพ่ือการดูแลช่วยเหลือ
มรี ายละเอียดของแต่ละหวั ขอ้ ดังต่อไปน้ี

64 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นทตี่ งั้ ครรภ์

1. เจตคติของครู
ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ที่ตั้งครรภ์/ ผู้ให้การปรึกษา

เจตคตติ อ่ การต้งั ครรภข์ องนกั เรยี นเปน็ ปจั จยั นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ย่อมได้รับผลกระทบต่อ
ท่ี ส� ำ คั ญ เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ใ น ก า ร ท� ำ ห น้ า ท่ี ข อ ง ค รู ผู้ ใ ห้ จิตใจ อารมณแ์ ละสงั คมเปน็ อยา่ งมาก เกิดความวิตก
การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา กังวล ลังเล อับอาย และรูส้ กึ ว่าตนเองด้อยค่า ไมเ่ ป็น
เพราะเจตคติเป็นความนึกคิด สภาพความรู้สึก ทย่ี อมรบั ของครอบครวั และสงั คมภาวะจติ ใจทถ่ี กู กดดนั
ทางดา้ นจติ ใจและทา่ ทกี ารแสดงออกของครผู ใู้ หก้ ารดแู ล มีความบอบช้�ำอย่างมากน้ี อาจท�ำให้นักเรียน
ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ท่ีมีต่อนักเรียน เจตคติ ตัดสินใจแก้ไขปัญหาด้วยวิธีท่ีผิดพลาดได้ แต่ถ้า
ท่ี ดี จ ะ เ ป็ น แ ร ง เ ส ริ ม ห รื อ เ ป็ น ตั ว ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ค รู ผู้ ใ ห้ ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้
การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา การปรกึ ษามที ัศนะและมมุ มองท่ีพรอ้ มจะเขา้ ใจและ
มีความต้ังใจ มีความพร้อม มีความอดทนและมีใจ ยินดีท่ีจะดูแลช่วยเหลือ ก็จะเอ้ือให้นักเรียนผ่านพ้น
ทเ่ี มตตากรุณาทจ่ี ะชว่ ยเหลอื นกั เรยี นใหผ้ า่ นพน้ วกิ ฤติ วิกฤติของชีวิตน้ีไปได้ ดังน้ันก่อนให้การปรึกษา
ของชวี ิตน้ีได้ ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคใด ๆ ก็ตาม ถ้าครู และช่วยเหลือ ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาตอ้ งจดั ใจโดยการปรบั ทศั นะ
การปรึกษามีทัศนะและมุมมองในทางลบ ไม่เปิดใจ ของตนเองกอ่ น ในทน่ี ข้ี อนำ� เสนอใน 3 ประเดน็ ดงั น้ี
รบั กับนกั เรยี น อาจส่อื สารออกมาเปน็ ค�ำพดู หรอื ทา่ ที
ท่ี ท� ำ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ เ กิ ด ค ว า ม ไ ม่ ส บ า ย ใ จ 1.1 ทุกเรื่องราวเกิดขึ้นได้เสมอ
ขาดความไว้วางใจท่ีจะเขา้ มาพดู คยุ ครูผใู้ หก้ ารดแู ล
ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ถ้าครู ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
จงึ ควรเตรยี มใจของตนเองใหพ้ รอ้ มกอ่ นทจ่ี ดั การสง่ิ ใด ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาตระหนักและรับรู้ภาวะ
โดยการยอมรับส่ิงท่ีเกิดข้ึน รับรู้ตามความเป็นจริง จิตใจของนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์ว่ามคี วามทกุ ขท์ ่ีท่วมท้น
ไ ม่ ตั ด สิ น นั ก เ รี ย น ต า ม ค่ า นิ ย ม ท่ี ต น ยึ ด ถื อ จากเหตกุ ารณน์ ้ีอยา่ งไรบา้ งจะชว่ ยใหเ้ ข้าใจนกั เรยี น
เพราะความจริงตรงหน้า คือ นักเรียนคนหน่ึงก�ำลัง ย่ิงข้ึน โดยเร่ิมแรกเม่ือนักเรียนรับรู้ว่ าตนเอง
เผชญิ กับปญั หาซ่งึ เป็นวิกฤติคร้ังใหญข่ องชีวิต ต้ังครรภ์ นกั เรยี นสว่ นมากจะรู้สึกตกใจ มีภาวะวุ่นวายใจ

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 65


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้ังครรภ์

สบั สน หดหู่ เศรา้ หมองไมร่ ูจ้ ะหาทางออกใหก้ บั ตนเอง และมน่ั คง เพราะการตง้ั ครรภเ์ ปน็ เพยี งปญั หาอยา่ งหนง่ึ
อย่างไร มีความกลัวความกังวลกับชีวิตของตนเอง ใ น ชี วิ ต เ ท่ า น้ั น ห า ก ผ่ า น ปั ญ ห า น้ี ไ ป ไ ด้ ชี วิ ต ก็ ยั ง มี
ในอนาคตท่ีต้องเปล่ียนไปในทางร้าย ในทางไม่ดี ศักยภาพ มีอนาคตและมีโอกาสอีกมากมายตามมา
เช่น พ่อแม่ต้องเสียใจร้องไห้ ต้องถูกพ่อแม่ญาติ การแก้ไขปัญหาดังกล่าวก็เป็นไปได้ตามเหตุและ
พ่ีน้องด่าว่า ต้องออกจากโรงเรียน ต้องถูกเพ่ือน ปจั จัยแวดล้อมต่าง ๆ โดยให้นักเรียนมีส่วนตัดสินใจ
มองในแง่ลบ ชีวิตต้องเปล่ียนไปในทางร้าย ดังน้ัน ไม่ใช้การช้ีน�ำของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สง่ิ ทน่ี กั เรยี นตอ้ งระวงั ตวั มากทส่ี ดุ กค็ อื ไมแ่ พรง่ พราย ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา หรือแม้แต่การเลือกยุติ
ให้ใครรู้ ต้องปิดเป็นความลับ ผู้ใหญ่จะล่วงรู้ไม่ได้ การต้ังครรภ์ก็เป็นไปตามเหตุและภาวะแวดล้อมท่ี
เด็ดขาดถ้าผู้ใหญ่รับรู้ ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ ครูก็ตาม เหมาะกบั เง่อื นไขชวี ติ ของนกั เรยี นในสถานการณน์ น้ั ๆ
ต้องกลายเป็นเร่ืองใหญ่แน่นอน เพราะการต้ังครรภ์
หมายถึง การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนอันเป็นส่ิงท่ี ความเขา้ ใจความจรงิ และปจั จยั ตา่ งๆทม่ี สี ว่ น
ไม่มีใครยอมรับ ครรภ์ท่ีโตข้ึนจะกลายเป็นหลักฐาน ในการเกดิ ปญั หาดงั กลา่ วมาเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ทจ่ี ะชว่ ยใหค้ รู
ทน่ี า่ อบั อาย สง่ิ ทต่ี ามมา คอื การถกู ดา่ ถกู วา่ ถกู ตดั สนิ ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ /
อาจรวมไปถึงการถูกลงโทษ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาเขา้ ใจตนเองใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะรบั รูเ้ ร่อื งราว
ตามความเปน็ จรงิ และพรอ้ มใหก้ ารชว่ ยเหลอื ตอ่ ไป
ผู้ใหญ่ท่ีเป็นพ่อ แม่ และครูจ�ำนวนไม่น้อย
รู้สึกตกใจ คาดไม่ถึง ผิดหวัง เสียใจ อยากลงโทษ 1.2 คุณค่าของใจเมตตากรุณา
ลกู หลานหรอื ลกู ศษิ ยท์ ท่ี ำ� ใหอ้ บั อายขายหนา้ ทท่ี ำ� ลาย
ช่อื เสยี งของครอบครวั วงศ์ตระกูล โรงเรยี น สถาบนั นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ ทุ ก ค น ไ ม่ ใ ช่ ค น ไ ม่ ดี
ด้วยการต้ังครรภ์ในวัยเรยี น ภาวะจิตใจท่ีขุน่ มวั เชน่ น้ี แต่อาจเกิดจากความอ่อนด้อยในชีวิต การขาด
จะมาปิดบังการรับรู้ความทุกข์ความไม่สบายใจของ ความรูท้ ถ่ี กู ตอ้ งเร่อื งเพศ สงั คมทห่ี ลอ่ หลอมและสง่ เสรมิ
นักเรียน การไม่รับรู้จะท�ำให้มีปฏิกิริยาตอบโต้ เร่อื งเพศทไ่ี มเ่ หมาะสม ตลอดจนการขาดการดแู ลทด่ี จี าก
มองวา่ นกั เรยี นเปน็ ตวั ปญั หาแสดงความไมพ่ อใจเสยี ใจ ครอบครวั ทกุ สาเหตยุ อ่ มสง่ ผลต่อพฤติกรรมทางเพศ
รังเกียจ เพิกเฉย ฯลฯ หรือไม่ก็อาจจะให้ค�ำแนะน�ำ ของนกั เรยี น การตำ� หนขิ องผใู้ หญร่ อบตวั จงึ ไมส่ ง่ ผลดี
หาแนวทางออกจากฐานคดิ และประสบการณข์ องตน ต่อนักเรียนและไม่ช่วยแก้ปัญหาแต่อย่างใด เพราะ
มากกว่าจะค�ำนึงตัวนักเรียนเปน็ ท่ีต้ัง สิ่งท่ีนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ทุกคนเผชิญอยู่ในขณะน้ัน
คือ ตกอยูใ่ นภาวะ “ใจท่ีเป็นทุกข”์ ด้วยความรูส้ กึ ผดิ
เพ่ือจัดการกับใจท่ีขุ่นมัว อคติ ท่ีจะมาปิดบัง ความรู้สึกกลัว รู้สึกไม่ม่ันคง ความวิตกกังวลสูง
การรับรู้ความทุกข์ของนักเรียน และเป็นก�ำแพงก้ัน คิดมาก หาทางออกของปัญหาไม่ได้ ส่ิงท่ีนักเรียน
ในการดแู ลชว่ ยเหลอื ครผู ใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ทต่ี ง้ั ครรภต์ อ้ งการคอื ใครสกั คนทเ่ี ขา้ ใจเปน็ ทพ่ี ง่ึ พาได้
ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาควรกลับมาพิจารณา และพร้อมช่วยเหลือ ถ้าผู้ใหญ่ พ่อ แม่ ครู เข้าใจ
ให้เข้าใจความเป็นจริงของชีวิตว่า “ทุกเร่ืองราว ความจริงท่ีเกิดข้ึนอย่างมีสติและพร้อมให้ความ
เกิดข้ึนได้เสมอ” และสิ่งท่ีก�ำลังเกิดข้ึนกับนักเรียน ชว่ ยเหลอื ไมต่ ำ� หนหิ รอื ประณาม แตพ่ รอ้ มทจ่ี ะโอบอมุ้
ท่ีต้ังครรภ์ในวัยเรียนก็เป็นส่งิ ท่ีเกิดข้ึนได้ด้วยเช่นกัน ความทุกข์ใจของนักเรียนอย่างเต็มก�ำลัง ตลอดจน
จะด้วยสาเหตใุ ดหรอื เพราะอะไรไมใ่ ชป่ ระเด็นสำ� คัญ แสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันต้ังใจอยากช่วยเหลือให้
ไปกว่าเม่ือเกิดข้ึนแล้ว นักเรียนควรได้รับการดูแล หลุดพ้นจากปัญหา ช่วยหาทางออกและพาก้าวเดิน
ช่วยเหลือและเยียวยาจิตใจให้กลับมาใช้ชีวิตได้ ต่อไปได้สูอ่ นาคตอยา่ งมเี ป้าหมาย
อย่างปกติพร้อมท่ีจะก้าวเดินต่อไปอย่างเข้มแข็ง

66 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นที่ต้ังครรภ์

เม่อื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภร์ บั รถู้ งึ ความรกั ความเมตตากรณุ าความเอาใจใส่
อยา่ งจริงจังของผ้ใู หญร่ อบตัว ได้แก่ พอ่ แม่ และครูจิตใจท่ีทกุ ข์หมน่ หมอง
ของเขาจะถูกรับรู้และถูกโอบอุ้มด้วยความรักความเข้าใจ ท่ีเมตตาอยาก
ช่วยเหลือเก้ือกูล โดยไม่มีการต�ำหนิ ด่าว่า หรือลงโทษ และความจริงใจ
ท่ีจะช่วยเหลือของผู้ใหญ่ จะท�ำให้นักเรียนออกจากความทุกข์ มองเห็น
การยอมรับของผู้คน ท�ำให้รู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า ยังมีส่วนท่ีดี ท�ำให้
สามารถใชพ้ ลงั ความสามารถของตนมาคลค่ี ลายปญั หาทเ่ี กดิ ไดม้ ากขน้ึ และ
มีความเช่ือม่ันเพิ่มข้ึนว่าแม้จะอยู่ในสถานการณ์ท่ีเลวร้ายย่�ำแย่อย่างไร
กย็ งั จะสามารถเลอื กทางเดนิ ทค่ี ดิ วา่ ดที ส่ี ดุ ในสถานการณข์ ณะนน้ั ได้ กอ่ ใหเ้ กดิ
ความพยายาม ความอดทน ความมุง่ ม่ันท่ีจะผา่ นพน้ ปัญหาน้นั ไปได้ ดังน้นั
สายสัมพันธ์ท่ีเอ้ือเฟ้ ือเก้ือกูลท่ีเกิดจาก “ใจเมตตากรุณา” ของผู้ใหญ่ พ่อ
แม่ ครู จะเป็นก�ำลังใจให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์สามารถฝ่าฟันปัญหาอุปสรรค
ท่ีเกิดข้ึนกับชีวิตได้

1.3 การส่ือภาษาที่อ่อนโยน/การสื่อสารเชิงบวก

ก า ร ส่ื อ ส า ร ด้ ว ย ภ า ษ า เ ป็ น ช่ อ ง ท า ง ท่ี ท� ำ ใ ห้ ผู้ ค น รั บ รู้ แ ล ะ
เกิดการเปล่ียนแปลงความคิด ความเขา้ ใจและสง่ ผลต่อการแสดงพฤติกรรม
เม่ือคนเราเกิดทุกข์ การพูดคุยด้วยเจตนาท่ีดี และการใช้ถ้อยค�ำท่ีไพเราะ
ออ่ นหวาน พดู ดว้ ยความจรงิ ใจ ไมพ่ ดู หยาบคายกา้ วรา้ ว สอ่ เสยี ดประชดประชนั
พดู ในสง่ิ ท่ีเปน็ ประโยชนเ์ หมาะกับกาลเทศะ เปน็ การพดู คยุ เพ่อื ใหผ้ ทู้ ่ีตกอยู่
ในความทุกข์ได้มีโอกาสทบทวนเรียบเรียงเร่ืองราวเพ่ือเรียนรู้ส่ิงท่ีตนเอง
ประสบอยูต่ ามความเปน็ จรงิ นำ� ไปสกู่ ารค้นหาวิธกี าร แนวทาง และทางออก
ท่ีเหมาะสมกับตนเอง ตลอดจนค้นพบเป้าหมายของการด�ำเนินชีวิตต่อไป
ดังน้นั การพดู คยุ สนทนาในบรรยากาศท่ีมไี มตรี บรรยากาศของการท่ีผใู้ หญ่
พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ไมไ่ ด้เปน็ คนส่ังการแต่พรอ้ มจะรบั ฟงั เปน็ การพดู คยุ ท่ีให้
อสิ ระอยา่ งเตม็ ทใ่ี นการแสดงความคดิ เหน็ บอกเลา่ ความรูส้ กึ และสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
ท้ังเร่ืองราวและสิ่งท่ีอยู่ในใจ ไม่ด่วนสรุ ป ไม่ด่วนตัดสิน ต้ังค�ำถาม
ดว้ ยความสภุ าพและสรา้ งสรรคเ์ พ่อื ใหน้ กั เรยี นไดใ้ ครค่ รวญ จนเกดิ การเรยี นรู้
รว่ มกัน ไมโ่ จมตีกัน จับผดิ ซ่งึ จะนำ� ไปสกู่ ารค้นพบแนวทางหรอื วิธกี ารแก้ไข
ปัญหาท่ีถูกต้อง เหมาะสมและเป็นไปได้ ดังน้ัน ในการช่วยเหลือนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์จึงจ�ำเป็นต้องใช้ “การส่ือสารด้วยภาษาท่ีอ่อนโยน” ท้ังภาษาพูด
และภาษากายทแ่ี สดงออกอยา่ งจรงิ ใจ เพ่อื ชว่ ยเยยี วยาจติ ใจในเบ้อื งตน้ และ
นำ� ไปสกู่ ารชว่ ยใหน้ กั เรยี นใหเ้ ขา้ ใจความตอ้ งการของตนจนสามารถตดั สนิ ใจ
เลือกแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และมีความม่ันคง
ในการฝา่ ฟนั อุปสรรคต่าง ๆ ของชวี ิตได้

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์ 67


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ตี ้ังครรภ์

2. ความรู้และความเข้าใจ
ในทักษะการส่ือสาร
เพื่ อการให้การปรึกษา

2.1 ความหมายและความส�ำคัญของ (1) ต้ังครรภ์ต่อ เล้ียงลูกเอง และลาออกจาก
การให้การปรึกษา โรงเรียน

การใหก้ ารปรกึ ษา หมายถึง กระบวนการท่ีมี (2) ต้ังครรภ์ต่อ เม่ือคลอดลูกแล้วให้คน
ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ในครอบครัวเล้ียง และกลับมาเรียนต่อ
ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า กั บ ผู้ รั บ ก า ร ป รึ ก ษ า
โดยครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ (3) ตง้ั ครรภต์ อ่ เม่อื คลอดลกู แลว้ ยกใหค้ นอ่นื
ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาใหค้ วามชว่ ยเหลอื ปญั หาทางดา้ นจติ ใจ และกลับมาเรียนต่อ
ของผรู้ บั การปรกึ ษา โดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การ/แนวคดิ
ทฤษฎีทางจิตวิทยามาเอ้ืออ�ำนวยใหผ้ ู้รับการปรกึ ษา (4) ยุติการต้ังครรภ์แล้วเรียนต่อ
ได้ตระหนักในประสบการณ์ของตนผ่านการสนทนา (5) ยุติการต้ังครรภ์และลาออก
ระหวา่ งครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ตี ้งั ครรภ/์
ผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา โดยให้ผู้รับ ทางเลอื กในทกุ ทางทก่ี ลา่ วมามคี วามละเอยี ดออ่ น
การปรึกษาได้ส�ำรวจตนเองอย่างรอบด้านเพ่ือให้ เ พ ร า ะ มี ค ว า ม เ ส่ี ย ง ต่ อ ส ภ า พ จิ ต ใ จ แ ล ะ
รูจ้ ัก เขา้ ใจ และการยอมรบั ตนเองในสง่ิ ท่ีเป็นปญั หา สภาพรา่ งกายของนกั เรยี น อีกท้ังต้องท�ำความเขา้ ใจ
ตามความเปน็ จรงิ ไดม้ ากขน้ึ และสามารถแสวงหาแนวทาง กับครอบครวั ดังน้นั การใหก้ ารปรกึ ษาจึงไมใ่ ชก่ ารใช้
และตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ความคดิ หรอื ประสบการณข์ องครผู ใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื
และผา่ นพ้นอุปสรรคชว่ งวิกฤติของชวี ิตไปได้ นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาเป็นตัวต้ั ง
ซ่ึงจะไม่ช่วยให้นักเรียนแก้ไขข้อขัดแย้งในจิตใจ
การให้การปรึกษาในท่ีน้ีเป็นการปรึกษา ลงได้ และบางคร้งั อาจจะเกิดปญั หาในความสมั พนั ธ์
เพ่ือหาทางเลือก (Options counseling) หมายถึง ของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/
การปรกึ ษาทช่ี ว่ ยใหน้ กั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภส์ ามารถตดั สนิ ใจ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาและนกั เรยี นดว้ ย ดงั ทจ่ี ะไดย้ นิ ประโยค
ในทางเลือกท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับเง่ือนไขในชีวิต ค�ำพดู ของนกั เรยี นท่ีมาปรกึ ษาว่า
ของนักเรียน โดยมีการให้การปรึกษาอย่างถูกต้อง
เหมาะสม ส�ำหรับกรณีการต้ังครรภ์ของนักเรียน
อาจมที างเลือกของการจัดการปญั หาท่ีอาจเปน็ ไปได้
5 ทาง คือ

68 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีตงั้ ครรภ์

“ไปคุยกับครูแล้วกลับมารู้สึกไม่สบายใจ”
“วิธีที่ครูแนะน�ำเราไม่เห็นด้วยเราท�ำไม่ได้” หรือ
“ครูบอกให้เราต้องบอกพ่ อแม่เราไม่อยากบอก”
หรือประโยคค�ำพู ดของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์/

ผู้ให้การปรึกษาที่ว่า
“ฉันบอกเด็กไปแล้ว ก็ไม่ท�ำตาม ฉันก็ช่วยเหลืออะไรไม่ได้”
“ค�ำแนะน�ำต่าง ๆ ก็บอกไปหมดแล้วไม่ท�ำก็ไม่รู้จะว่าอย่างไร”

จะเห็นว่าประโยคท่ีกล่าวมาข้างต้นล้วนแสดงถึง (4) เพ่ือให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์และครอบครัว
สัมพันธภาพท่ีแยกออกจากกัน ท้ัง ๆ ท่ีในเบ้ืองต้น ตลอดจนบุ คคลแวดล้ อมเกิ ดความ
ท้งั สองฝา่ ยมคี วามสมั พนั ธท์ ด่ี ี มคี วามพรอ้ มและยนิ ดี เข้าใจในปัญหาท่ีเกิดข้ึน ตระหนักถึง
ท่ี จะช่วยเหลื อ แต่ ปลายทางของการสนทนา ค ว า ม ส� ำ คั ญ ข อ ง ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ
กลับไมเ่ ป็นประโยชนส์ มความต้ังใจ เพ่ือช่วยให้นักเรียนผ่านพ้นปัญหาไปได้

2.2 จุดมุ่งหมายการให้การปรึกษา 2.3 บทบาทของครูผู้ให้การดูแล
เพ่ื อหาทางเลือกของนักเรียน ช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์/
ท่ีตั้งครรภ์ ผใู้ หก้ ารปรึกษาเพื่อหาทางเลือก
ของนักเรียนที่ตั้งครรภ์
( 1 ) เ พ่ื อ ช่ ว ย ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์
ลดความรสู้ กึ ดา้ นลบทเ่ี กดิ จากการตง้ั ครรภ์ (1) ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ด้ ว ย ค ว า ม เ อ า ใ จ ใ ส่
มีความไว้วางใจและพร้อมท่ีจะพูดคุย
บอกเล่าปัญหา เพ่ือหาวิธีการจัดการ ค ว า ม เ ห็ น อ ก เ ห็ น ใ จ แ ล ะ ใ ห้ ข้ อ มู ล
และให้สามารถหาทางเลือกท่ีเหมาะสม
กับตนเองได้ เพ่ือให้เกิดทางเลือกท่ีหลากหลาย

( 2 ) เ พ่ื อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ มี ข้ อ มู ล (2) เอ้อื ใหน้ กั เรยี นตง้ั ครรภเ์ ขา้ ใจถงึ ทางเลอื ก
ข้อเท็จจริง จุดแข็ง และการช่วยเหลือ ท่ีเป็นไปได้ของตน สามารถให้ข้อมูล
จากบุคคลและหนว่ ยงานตา่ งๆ ตลอดจน
รบั ทราบผลกระทบทจ่ี ะตามมาของแตล่ ะ เก่ียวกับตัวเลือกแต่ละตัวได้อย่างถูก
ทางเลอื กเพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจ
ต้อง ชัดเจน
(3) เพ่อื ใหน้ กั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภส์ ามารถตดั สนิ ใจ
เลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมกับตนเอง (3) มี ค ว า ม เ ป็ น ก ล า ง ไ ม่ช้ี น� ำ ไ ม่ตั ด สิ น
และรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของตน
ตามความคิดเห็นของครูผู้ให้การดูแล

ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้
การปรึกษา

(4) ช่วยให้นักเรียนท่ี ต้ั งครรภ์ สามารถ
ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมกับตนเอง

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 69


2.4 กระบวนการและทกั ษะการส่ือสาร แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนทีต่ ัง้ ครรภ์
เพ่ื อการให้การปรึกษาเพ่ื อหา
ทางเลือก ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/
ผู้ให้การปรึกษาพึงปฏิบัติเพ่ือเอ้ือต่อการช่วยเหลือ
การให้การปรึกษาจะเก่ียวข้องกับสิ่งส�ำคัญ ดังต่อไปน้ี
3 ประการคือ ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา ผู้รับการปรึกษา และ • ก ารแ ส ดง ความพร้อ ม แ ล ะคว ามยิ น ดี
กระบวนการให้การปรึกษา โดยกระบวนการให้การ ในการได้ช่วยเหลือ
ปรึกษากรณีนักเรียนต้ังครรภ์ท่ีจะน�ำเสนอในท่ีน้ี
เป็นการใหก้ ารปรึกษาแบบหาทางเลือก มลี ักษณะ 5 • การต้อนรับอย่างจริงใจ และอบอุ่น
ประการคือ • การแสดงท่าทีเป็นมิตร
• ส่อื ความตง้ั ใจและใสใ่ จทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื
(1) เป็นการส่ือสารสองทาง • แสดงความสนใจอย่างจริงใจ
(2) มุ่งเน้นสัมพันธภาพท่ีดีและเจตคติท่ีดี • แสดงความไวต่อการรับรู้ความรู้สึก
(3) เน้นเร่ืองราวท่ีปรากฏข้ึนในปัจจุบัน • สังเกตสิ่งท่ีผู้รับการปรึกษา แสดงออก
(4) มหี ลกั การและทกั ษะทช่ี ดั เจนเปน็ รูปธรรม
(5) ไม่มี ค� ำต อบท่ีตายตัวหรือค�ำตอบท่ี ท้ังค�ำพูดและกิริยาท่าทาง
• สังเกตสิ่งท่ีเป็นอุปสรรคท� ำให้ผู้รับการ
ส�ำเรจ็ รูปกระบวนการให้การปรกึ ษา
ปรกึ ษาไมพ่ รอ้ มท่ีจะเล่าเร่อื งราวของตนเอง
ประกอบดว้ ย 5 ขน้ั ตอน คอื (1) ขน้ั เรม่ิ ตน้ การ ทั ก ษ ะ ท่ี ใ ช้ ใ น ข้ั น ต อ น เ ร่ิ ม ต้ น ก า ร ใ ห้
ใหก้ ารปรกึ ษา (2) ข้ันการส�ำรวจและประเมินปัญหา การปรึกษา ประกอบด้วย
(3)ขน้ั หาทางเลอื กและแกไ้ ขปญั หา(4)ขน้ั สรา้ งเปา้ หมาย
และค�ำม่ันสัญญา (5) ข้ันยุติการปรึกษา โดยมี (1.1) การเริ่มต้นการให้การปรึกษา (Opening
รายละเอียดและทักษะในแต่ละข้ันตอน ดังต่อไปน้ี the counseling ) หมายถึง การเริ่มต้น
การสนทนา เพ่ือน�ำผู้รับการปรึกษาไปสู่
(1) ข้ันเริ่มต้นการให้การปรึกษา กระบวนการให้การปรึกษาในข้ันตอนต่อไป
ในระยะเร่ิมต้นการให้การปรึกษา ครูผู้ให้
เปน็ ขน้ั ตอนทส่ี ำ� คญั เน่อื งจากเปน็ การเรมิ่ ตน้ การดูแลช่วยเหลื อนักเรียนท่ี ต้ังครรภ์ /
พบปะสนทนา จึงเริ่มด้วยการสร้างสัมพันธภาพ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา ตอ้ งเอ้อื อำ� นวยใหก้ ารสนทนา
ท่ีดีระหว่างครู ผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด�ำเนินไปในบรรยากาศท่ีอบอุ่น ปลอดภัย
ทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาและผรู้ บั การปรกึ ษาเพ่อื ลด เป็นมิตร มีสถานท่ีน่ังและเช้ือเชิญให้ผู้รับ
ความตงึ เครยี ด สรา้ งความรสู้ กึ ผอ่ นคลาย ความไวว้ างใจ การปรกึ ษาน่งั อยา่ งผอ่ นคลาย อาจจะเรมิ่ ต้น
รู้สึกอบอุ่นใจมากข้ึน ซ่ึงช่วยให้ผู้รับการปรึกษา สนทนาด้ วยการสวั สดี ทั กทาย ต้ อนรับ
แสดงความรูส้ กึ ของตวั เองได้ ตง้ั ใจทจ่ี ะใหค้ วามรว่ มมอื ด้วยท่าทีท่ีอบอุ่น เป็นมิตร ยิ้มแย้มแจ่มใส
รวมท้ังเข้าใจกระบวนการให้การปรึกษา เน่ืองจาก แนะน�ำช่ือตนเองและให้ผู้รับการปรึกษา
ก า ร ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ท่ี ต้ อ ง ก า ร แนะน�ำตนเอง เรียกช่ือผู้รับการปรึกษา
การมสี ว่ นรว่ ม (participation) ของผู้รับการปรึกษา ใหถ้ กู ตอ้ งเรม่ิ ทกั ทายชวนสนทนาดว้ ยเร่อื งกลางๆ
สมั พนั ธภาพท่ีดีจึงเป็นสิ่งจ�ำเปน็ ในข้ันตอนน้ี ห รื อ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ท่ั ว ไ ป ใ ช้ เ ว ล า ไ ม่ ม า ก นั ก
เพ่ือให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความสบายใจ
ลดความต่นื เตน้ และความอดึ อดั รูส้ กึ ผอ่ นคลาย

70 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นที่ต้งั ครรภ์ การใสใ่ จแสดงออกได้ท้ังภาษาพดู และภาษา
ท่าทาง ดังน้ี
แสดงการต้อนรับด้วยบรรยากาศท่ีอบอุ่น • การแสดงออกด้วยภาษาพูด (Verbal
ทำ� ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาสามารถเรม่ิ เลา่ เร่อื งราว
ความไม่สบายใจได้โดยไม่รู้สึกล�ำบากใจ expression):มคี วามตอ่ เน่อื งในเร่อื งเดยี วกนั
ข อ ง ก า ร ส น ท น า แ ส ด ง ถึ ง ก า ร รั บ รู้
(1.2) ทักษะการใส่ใจ (Attending) หมายถึง แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ทั ศ น ค ติ คุ ณ ค่ า
พฤติกรรมหรือการแสดงออกด้วยภาษาพูด ความหมายและแนวคดิ ของผรู้ บั การปรกึ ษา
หรอื ภาษาทา่ ทางของครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื รวมท้ังการใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย เป็นตัว
นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ส ะ ท้ อ น ถึ ง ก า ร ใ ส่ ใ จ ท่ี ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล
ท่ี ส ะ ท้ อ น ใ ห้ ผู้ รั บ ก า ร ป รึ ก ษ า รั บ รู้ ว่ า ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา
ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้ังครรภ/์ มตี ่อผรู้ บั การปรกึ ษา การตอบรบั ภายหลัง
ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาพรอ้ มเตม็ ใจและกระตอื รอื รน้ ทจ่ี ะ ผู้รับการปรึกษาพูดจบ เช่น “ค่ะ” หรือ
ให้การช่วยเหลือผู้รับการปรึกษา พฤติกรรม “ครับ”
การใส่ใจ ได้แก่ การแสดงความสนใจ สบตา • การแสดงออกด้วยภาษาท่าทาง (Non-
เรียกช่ือถูกต้อง ไม่ท�ำอย่างอ่ืนในระหว่าง verbal expression) : พฤติกรรมต่าง ๆ
การให้การปรึกษา เช่น รับโทรศัพท์ หรือ ท่ี ไ ม่ ใ ช่ ค� ำ พู ด ข อ ง ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย
กวาดสายตาไปรอบ ๆ ขีดเขียนข้อความ เหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา
ในกระดาษ เพ่ือเป็นการแสดงให้ผู้รับ ท่ี ส่ ื อ ใ ห้ ผู้ รั บ ก า ร ป รึ ก ษ า รั บ รู้ ถึ ง ค ว า ม คิ ด
การปรกึ ษารบั รูถ้ ึงความสำ� คัญและใหเ้ กียรติ ความรูส้ กึ และทศั นคตทิ ม่ี ตี อ่ ผรู้ บั การปรกึ ษา
และการเป็นท่ี ยอมรับ อี กท้ั งการใส่ใจ เช่น การสบตา พยักหน้า จับมือ อาจมี
มีผลให้ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ความหมายต่อความรู้สึกนึกคิดมากกว่า
ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาเข้าใจสิ่งท่ีผู้รับ ภาษาพดู
การปรกึ ษาพดู ถงึ รวมท้งั เขา้ ใจวา่ เพราะอะไร
ผู้รับการปรึกษาจึงพูดเช่นน้ัน การแสดง

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์ 71


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นทตี่ ัง้ ครรภ์

ตัวอย่างค�ำพู ดท่ีใช้ในการเริ่มต้นการปรึกษาด้วยการใส่ใจ

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด ผลท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียน

1. ภาษาพูด 1.สวัสดีค่ะ เข้ามาน่ังข้างในก่อนค่ะ นักเรียนเร่ิมรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย

2.สวัสดีค่ะครูช่ือ................... เรียกครูว่า สบายใจข้ึน รับรู้ว่ามีบุคคลท่ีพร้อม

ครูอ้อได้นะคะ หนูช่ืออะไรคะ เข้าใจให้การช่วยเหลือ มีความพร้อม

3.ให้ครูเรียกช่ือเล่นหนูส้ัน ๆ ว่ายังไงดีคะ ท่ีจะพูดคุยเร่ืองราวต่าง ๆ ได้มากข้ึน

4. ครูยินดีท่ีหนูมาพบครูในวันน้ี

5.ครูเป็นครูท่ีดูแลเร่ืองราวท่ีเก่ียวข้องกับ

ส่ิงท่ีหนูก�ำลังเผชิญอยู่

6.ครูได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียนให้มา

ดูแลหนูโดยตรงนะคะ และครูก็ยินดีท่ีจะ

ได้พูดคุยกับหนู

2. ภาษาท่าทาง แสดงท่าทางท่ีแฝงด้วยความรู้สึกเมตตา นกั เรยี นรสู้ กึ ผอ่ นคลายลดความตงึ เครยี ด
ย้ิมต้อนรับ สบตา รับไหว้อย่างอบอุ่น
ขยับเก้าอ้ีให้น่ัง ฯลฯ

ตัวอย่างการสนทนา ในช่วงเร่ิมต้นการปรึกษา
ด้วยการใส่ใจโดยใช้ภาษาพู ดและภาษาท่าทาง

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ (ใช้ภาษาท่าทาง หน้าตายิ้มแย้ม สบตา ขยับเก้าอ้ี เชิญให้น่ัง)
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน สวัสดีค่ะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ สวัสดีค่ะ ครูช่ือ.................................. เรียกส้ัน ๆ ว่าครูอ้อ

ผู้ให้การปรึกษา ก็ได้นะคะ หนูช่ืออะไรคะ

นักเรียน หนูช่ือสิริอนงค์ค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ จ้ะสิริอนงค์นะคะ ให้ครูเรียกช่ือเล่นหรือเรียกช่ือส้ัน ๆ

ผู้ให้การปรึกษา ว่าไงคะ

72 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ีตั้งครรภ์

ตัวอย่างการสนทนา ในช่วงเร่ิมต้นการปรึกษา
ด้วยการใส่ใจโดยใช้ภาษาพู ดและภาษาท่าทาง

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน เรียกว่า “ เล็ก” ก็ได้ค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูยินดีท่ีได้เจอเล็กนะ วันน้ีเรามาคุยกัน
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ครูท่ีปรึกษาของหนูเค้าให้หนูมาคุยกับครูค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูยินดีจะช่วยเหลืออย่างเต็มท่ีค่ะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ..........................

(2) ข้ันการส�ำรวจและการประเมิน สถานการณ์ชีวิตของผู้รับการปรึกษามากข้ึน
เ พ่ ื อ ใ ห้ โ อ ก า ส ผู้ รั บ ก า ร ป รึ ก ษ า ไ ด้ บ อ ก ถึ ง
เป็นข้ันตอนท่ีท�ำความเข้าใจปัญหาโดย ความรูส้ กึ และเร่อื งราวต่าง ๆ ท่ีท�ำใหย้ ุง่ ยากใจ
ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้ หรอื รบกวนใจรวมทง้ั ใหโ้ อกาสผรู้ บั การปรกึ ษา
การปรกึ ษาจะใชท้ กั ษะตา่ งๆเพ่อื เอ้อื ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษา ไดใ้ ชเ้ วลาในการคดิ ทบทวนและทำ� ความเขา้ ใจ
ได้ส�ำรวจและค้นหาปัญหาท่ีแท้จริง สาเหตุของ ปั ญ ห า แ ล ะ ส า เ ห ตุ ข อ ง ต น เ อ ง ทั ก ษ ะ
ปัญหา และผลกระทบท่ีเกิดข้ึน อีกท้ังให้ผู้รับการ การถามเพ่ือการให้การปรึกษามี 2 แบบ คือ
ปรกึ ษาไดร้ ูค้ วามตอ้ งการในการแกไ้ ขปญั หาท่แี ทจ้ รงิ ค�ำถามแบบเปิด (Open-ended Questions)
ของตน และสรา้ งความหวงั และความมน่ั ใจในการแกไ้ ข : เ ป็ น ก า ร ถ า ม ท่ี ใ ห้ อิ ส ร ะ ใ น ก า ร ต อ บ
ปญั หา ในขน้ั ตอนนอ้ี าจต้องใชเ้ วลามากและใชท้ ักษะ เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้เรียบเรียงความคิด
การให้การปรึกษาท่ี หลากหลาย เพราะผู้รับ ความรูส้ กึ รวมท้ังสามารถระบายความขนุ่ ขอ้ ง
การปรกึ ษาสว่ นใหญจ่ ะมคี วามสบั สนทางอารมณ์หรอื หมองใจต่าง ๆ สามารถพูดได้อย่างเต็มท่ีและ
มกี ารรบั รูท้ ่ีบดิ เบอื นไปจากความเปน็ จรงิ เชน่ มอี คติ สะดวกใจท่ีจะพูด ค�ำตอบท่ีได้จะเป็นเร่ือง
เข้าข้างตนเอง หรือใช้กลไกป้องกันตนเองสูง ท่ีมีความส�ำคัญต่อผู้รับการปรึกษา ข้อมูล
หลังจากการสนทนาก็จะมีการประเมินสภาพปัญหา ท่ีได้จากค�ำถามเปิดจะมากกว่าการใช้ค�ำถาม
อยา่ งรอบด้าน ตลอดจนความต้องการรว่ มกันทักษะ ปิด ค�ำถามเปิดมักจะถามด้วยค�ำว่า “อะไร”
ท่ีใช้ในข้ันการส�ำรวจและการประเมิน ข้ันตอนน้ี “อย่างไร” “เพราะอะไร” เป็นต้น ค�ำถาม
มที ักษะการใหก้ ารปรกึ ษาท่ีจ�ำเปน็ เบ้อื งต้น ดังน้ี ลั ก ษ ณ ะ น้ี ท� ำ ใ ห้ ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ
นกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาได้ทบทวน
(2.1) ทั ก ษ ะ ก า ร ถ า ม ( Q u e s t i o n i n g S k i l l ) ครนุ่ คดิ ถงึ ความคดิ ความรสู้ กึ และทศั นคตติ า่ งๆ
เปน็ การถามเพ่อื ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาได้เล่าถึง ของผู้รับการปรึกษาท่ีท�ำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ
ความรู้สึกและเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนกับตนเอง ได้ชดั เจนข้ึน ตัวอยา่ งค�ำถามเปดิ เชน่
สิ่งท่ีรบกวนจิตใจ สิ่งท่ีต้องการปรึกษา
โดยทั กษะการถามน้ีมีจุ ดมุ่งหมายเพ่ือ บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 73
ให้ได้ข้อมูล และในการเข้าใจถึงปัญหา


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นทต่ี งั้ ครรภ์

ลักษณะ ตัวอย่างค�ำถาม ผลที่เกิดข้ึนกับนักเรียน
ค�ำถามเปิด
1. วั นน้ีหนูเป็นอย่างไรบ้าง หนูมีอะไร เป็นค�ำถามท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียน

ไม่สบายใจอยากเล่าให้ครูฟังไหม เล่าได้ ได้เรียบเรียงความคิด ความเข้าใจ

เลยนะ ทั ศ น ค ติ ต่ อ เ ร่ื อ ง ร า ว ท่ี เ กิ ด ข้ึ น

2. เร่ืองท่ีมาพบครูวันน้ี มีเร่ืองอะไร เป็นโอกาสได้ทบทวน ได้ชัดเจนกับ

3. หนคู ิดอยา่ งไรท่ีครูท่ีปรกึ ษาใหม้ าคยุ กับครู สงิ่ ท่ีเกิดข้นึ กับตนเอง ครูผใู้ หก้ ารดแู ล

4. หนูคิดอย่างไรบ้างเก่ียวกับผลตรวจ ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ /

การต้ังครรภ์ ผู้ให้การปรึกษาได้รับรู้เร่ืองราวของ

5. ตอนน้ีหนูตรวจแล้วพบว่าท้อง แล้วหนู ผู้มาปรึกษามากข้ึน

ต้ังใจจะท�ำอย่างไรกับชีวิตตอนน้ี

6.หนูคิดอย่างไร ท่ีหนูบอกว่าไม่อยากให้

พ่อแม่รู้

7 . ห ลั ง จ า ก คุ ย กั บ แ ฟ น เ ร่ื อ ง ท่ี ห นู ท้ อ ง

แฟนเขาว่ายังไงบ้าง

ตัวอย่างการสนทนา การใช้ค�ำถามแบบเปิด

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูคิดอย่างไรท่ีครูท่ีปรึกษาให้มาคุยกับครู
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ค รู เ ค้ า บ อ ก ว่ า ปั ญ ห า ข อ ง ห นู มี ค รู ค น เ ดี ย ว ท่ี จ ะ ช่ ว ย ห นู ไ ด้
หนูเลยมาหาครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ จ้ะ ๆ ๆ ครูก็ยินดีท่ีจะคุยกับเล็กนะ ท่ีหนูบอกว่าปัญหา

ผู้ให้การปรึกษา ของหนู ปัญหาน้ันคืออะไรคะ

นักเรียน คือ... หนูไปหาหมอแล้วหมอว่าหนูท้องจริง ๆ ค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูคิดอย่างไรเม่ือหมอบอกว่าหนูท้องจริง ๆ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หนูกลัวค่ะ หนูไม่รู้จะท�ำยังไงดี มันมืดแปดด้านไปหมด
ครูคะหนูไม่รู้ว่าตอนน้ี ต้องท�ำยังไงบ้าง เพ่ือนเค้าบอกว่า
ไปเอาออกเลยเค้ามีท่ีท่ีแนะน�ำ

74 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนทต่ี ้งั ครรภ์

ตัวอย่างการสนทนา การใช้ค�ำถามแบบเปิด

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูมองยังไงบ้างท่ีเพ่ือนแนะน�ำอย่างน้ัน
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หนูกลัวค่ะ มันจะเป็นอันตรายไหมคะ รู้สึกแย่มาก ๆ ๆ เลย
ท�ำไมต้องเกิดข้ึนกับหนู ถ้าพ่อแม่รู้เค้าเอาหนูตายเลย
เค้าคงเสียใจมากค่ะ ครูคะครูคิดว่าหนูควรท�ำอย่างไรดี...
แต่ใจหน่ึงก็คิดว่า อาจเป็นทางออกท่ีท�ำให้ปัญหายุติได้

ค�ำถามแบบปิด (Closed-ended Questions) : เป็นค�ำถามท่ีต้องการค�ำตอบเฉพาะเจาะจง เช่น ใช่/
ไม่ใช่ มีลักษณะคล้ายกับการสอบสวน หรือซักถาม ซ่ึงค�ำตอบท่ีได้ส่วนมากจะเป็นค�ำตอบส้ัน ๆ มีประโยชน์
ช่วยให้ทราบข้อเท็จจริงในแต่ละประเด็นได้เร็วข้ึน แต่เป็นเพียงข้อมูลท่ีเฉพาะเจาะจงเท่าน้ัน ไม่สามารถ
เข้าใจถึงความคิด ความรู้สึก หรือทัศนคติของผู้รับการปรึกษาได้ ตัวอย่างการใช้ค�ำถามปิด เช่น

ลักษณะ ตัวอย่างค�ำถาม ผลที่เกิดข้ึนกับนักเรียน
ค�ำถามเปิด
1. หนูตรวจครรภ์เองหรือเปล่า ผู้รับการปรึกษาไม่ยุ่งยากนักใน
2. หนูได้ไปหาหมอไหม การตอบเพียงตอบส้ัน ๆ ในเร่ืองท่ี
3. แฟนหนูรู้แล้วหรือยังว่าหนูท้อง ถูกถาม
4. หนูจะบอกพ่อแม่ไหม
5. ตอนน้ีหนูท้องก่ีเดือนแล้ว

โดยท่ัวไปแล้ว ในการให้การปรึกษาควรใช้ค�ำถามแบบเปิดมากท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ เพ่ือให้โอกาสผู้รับ
การปรึกษาได้ส�ำรวจถึงความรู้สึก ความคิด ทัศนคติของตนได้อย่างกว้างขวาง นอกจากน้ี ค�ำถามเปิด
ยังท�ำให้ผู้รับการปรึกษาได้มีโอกาสส�ำรวจความคิดของตน การสนทนาให้ความสนใจท่ีเร่ืองราวของตน
ไมร่ ูส้ กึ รำ� คาญ สว่ นค�ำถามแบบปดิ ควรใชต้ ามความจ�ำเปน็ เม่ือต้องการทราบค�ำตอบเฉพาะ เน่ืองจากค�ำถาม
แบบปดิ ไมค่ ่อยเอ้ือให้เกิดการเปิดเผยตนเอง ได้ข้อมลู นอ้ ย และมกั ได้ค�ำตอบเพยี ง “ใช”่ หรือ “ไมใ่ ช”่ เท่าน้นั

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 75


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนท่ีตงั้ ครรภ์

หลักการถามในการให้การปรึกษา การฟังอย่างต้ั งใจ (Listening)
เป็นการฟังอันอ่อนโยน ติดตามเร่ืองราวได้
• เพ่ือส�ำรวจปัญหา ไม่เน้นการวินิจฉัยปัญหา โดยการใส่ใจ มีสติมิใช่แค่ได้ยินผ่านเฉย ๆ
• ใช้ค�ำถามแบบเปิดมากกว่าค�ำถามแบบปิด (Hearing) ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
• ไม่ถามมากจนเกินไป ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น ผู้
• เปน็ การถามท่ียดึ ผรู้ บั การปรกึ ษาเปน็ ศนู ยก์ ลาง ฟังท่ีชัดเจน ฟังจากค�ำพูด จากน้�ำเสียง
จากทา่ ทางจากกริ ยิ าของผรู้ บั การปรกึ ษาอยา่ ง
ละเอียดถ่ีถ้วน ฟังด้วยใจใสสะอาด เปิดใจ
ข้อควรระวงั กว้าง ปราศจากอคติ ฟังโดยไม่ตัดสินหรือ
ตอบโต้ ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
(1) ในการถามค�ำถาม ไม่ควรถามเพราะ ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ต้ อ ง ช� ำ ร ะ ใ จ
ความอยากรูใ้ นเร่อื งราวของผรู้ บั การปรกึ ษาจนเกนิ ไป ให้สะอาด กระจ่าง เพ่ือต้อนรับโลกของผู้รับ
การปรึกษาเข้าสู่การรับรู้ของตน การฟัง
(2) คำ� ถามท่ขี น้ึ ตน้ วา่ “ทำ� ไม” หรอื “มปี ญั หา อยา่ งต้ังใจ ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
อะไร ” เปน็ ค�ำถามท่ีควรหลีกเล่ียงเน่อื งจากจะท�ำให้ ทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาตอ้ งละทง้ิ อคติคา่ นยิ ม
ผรู้ บั การปรกึ ษาเกิดความรูส้ กึ ว่า ตัวผรู้ บั การปรกึ ษา ความเช่อื ของตนเพ่อื ใหก้ ารรบั รูร้ ายละเอียด
น้ันมีความผิด หรือก�ำลังถูกต�ำหนิ และสง่ ผลกระทบ ข อ ง สิ่ ง ท่ี ผู้ รั บ ก า ร ป รึ ก ษ า ก� ำ ลั ง บ อ ก เ ล่ า
กับสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้และผู้รับการปรึกษา อยา่ งลกึ ซง้ึ และชดั เจน การฟงั อยา่ งใหช้ วี ติ จติ ใจ
ท้ายท่ีสุดค�ำตอบท่ีได้มักเป็นค�ำตอบท่ีต้องน�ำเหตุผล ท้ังหมดแก่ผู้รับการปรึกษาจะสามารถได้ยิน
ต่าง ๆ มาอธบิ าย ซ่งึ อาจจะท�ำใหไ้ ด้ขอ้ มลู บดิ เบอื นได้ ค�ำพูด ความในใจท่ีไม่ได้กล่าวออกมาได้
ชดั เจนลกึ ซง้ึ ขน้ึ ท้ังเน้อื หาและความรูส้ กึ ท่สี ่อื
(2.2) ทักษะการฟังอยา่ งใสใ่ จ (Active Listening) ออกมา เป็นการฟังท่ีชว่ ยใหผ้ รู้ บั การปรึกษา
เป็นทักษะท่ีส�ำคัญมากในอันดับแรก ๆ ไ ด้ บ ร ร เ ท า ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ด แ ล ะ ค ว า ม ทุ ก ข์
การฟงั อยา่ งต้งั ใจเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการสงั เกตภาษา ทรมานใจจากปญั หาของเขาได้
ท่าทาง น้�ำเสียงของผู้รับการปรึกษาและ
ใสใ่ จกับเร่อื งราวท่ีผรู้ บั การปรกึ ษากำ� ลังบอก
พ ย า ย า ม ฟั ง ร า ย ล ะ เ อี ย ด ท่ี เ ล่ า อ ย่ า ง
ตอ่ เน่อื งจนรบั รูไ้ ดว้ า่ ผรู้ บั การปรกึ ษาตอ้ งการ
บอกอะไร ซ่ึงจะท� ำให้ครู ผู้ให้การดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา
สามารถตอบสนองหรือส่ือสารได้ชัดเจน
ข้ึนและสอดคล้องกับสิ่งท่ีผู้รับการปรึกษา
ต้องการจะบอก การฟังท่ีมีประสิทธิภาพ
จะช่วยให้การให้การปรึกษาด�ำเนินไปด้วย
ความเขา้ ใจปญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ และประสบการณ์
ของผรู้ ับการปรึกษาได้อยา่ งถกู ต้อง

76 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นท่ตี งั้ ครรภ์

ตัวอย่างการฟงั อย่างใส่ใจ

บุคคล ประโยคสนทนา การรับฟงั ท่ีชัดเจน
นักเรียน
หนูจะท�ำอย่างไรดีคะครู ถ้าพ่อแม่รู้ ฟังเน้ือหา : นักเรียนกลัวพ่อแม่จะรู้
หนูตายแน่ค่ะ พ่อหนูดุมาก แม่คง ว่าตนเองต้ังครรภ์ และกลัวพ่อแม่และ
เสียใจมาก หนูเป็นลูกสาวคนโตท่ีพ่อ น้อง ๆ จะรู้สึกไม่ดีกับตนเอง
รักมาก น้อง ๆ คงอายท่ีมีพ่ีอย่างหนู

ฟังความรูส้ กึ : นกั เรียนรูส้ กึ ไมส่ บายใจ
และเป็นกังวลกับความรู้สึกของพ่อแม่

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือ เท่าท่ีฟังมาหนูก�ำลังไม่สบายใจเพราะ ก า ร ต อ บ ส น อ ง : โ ด ย ก า ร พู ด ถึ ง

นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ กลัวว่าจะท�ำใหพ้ อ่ แมแ่ ละนอ้ ง ๆ เสยี ใจ ความรู้สึกของนักเรียน ท�ำให้นักเรียน

ผู้ให้การปรึกษา จากการกระท�ำของหนู หนูห่วงทุกคน รับรู้ว่าครูเข้าใจในส่ิงนักเรียนต้องการ

ในบ้านเลยนะคะ จะบอกและเกิ ดความไว้ วางใจครู

ผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ง้ั ครรภ์

/ผู้ให้การปรึกษามากข้ึน

นักเรียน หนูไม่ได้เล่าให้ใครฟังหรอกค่ะ หนูกลัว ฟังเน้ือหา : มีคนรู้เร่ืองการต้ังครรภ์

มีคนรู้เร่ืองของหนูแค่ 2 - 3 คน ก็มี อยู่ 3 คนฟัง

เ พ่ื อ น ส นิ ท แ ล ะ แ ฟ น ห นู น อ ก น้ั น ความรูส้ ึก : นักเรียนมีความกังวล และ
ยังไม่มีใครรู้หรอกค่ะ และตอนน้ีก็มีครู อยากให้เก็บเป็นความลับ
อีกคน

ครูผู้ให้การดูแลช่วเหลือ ค รู ข อ บ คุ ณ น ะ ค ะ ท่ี เ ล่ า ใ ห้ ค รู ฟั ง การตอบสนอง : ให้คุณค่ากับนักเรียน
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ เร่อื งของหนคู รูกค็ ดิ วา่ มคี วามสำ� คญั มาก ท�ำให้นักเรียนมีความม่ันใจมากข้ึน
ผู้ให้การปรึกษา กับชีวิตหนู ครูก็จะเก็บเป็นความลับค่ะ ว่าเขาจะได้รับการช่วยเหลือและรู้สึก

ปลอดภัย

นักเรียน ถ้าเอาเค้าออกก็เท่ากับฆ่าลูกตัวเอง ฟังเน้ือหา : ถ้าท�ำแท้งมีความเข้าใจว่า

เค้าคงโกรธและเกลียดหนูมาก เค้ายัง ลูกจะรู้สึกโกรธเกลียด

ไม่รู้อะไรเลยหนูก็จะท�ำร้ายเค้าแล้ว ฟังความรูส้ ึก : รู้สึกผิดและไม่ม่ันใจ

(เสียงส่ันเครือ) ท่ีจะท�ำแท้ง

ครูผู้ให้การดูแลช่วเหลือ ฟังดูหนูรักลูกนะคะ และรู้สึกผิดต่อเขา การตอบสนอง : ให้นักเรียนมองเห็น
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ ความรู้สึกของตนเองให้ชัดข้ึน
ผู้ให้การปรึกษา

บทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์ 77


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นทตี่ ัง้ ครรภ์

ตัวอย่างการสนทนาท่ีแสดงถึงการรับฟงั อย่างใส่ใจ

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน หนูไม่ได้เล่าให้ใครฟังหรอกค่ะ หนูกลัว มีคนรู้เร่ืองของหนู
แค่ 2 - 3 คน กม็ เี พ่อื นสนทิ และแฟนหนู และตอนนก้ี ม็ คี รูอกี คน
นอกน้ันยังไม่มีใครรู้หรอกค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูขอบคุณนะคะท่ีเล่าให้ครูฟัง เร่ืองของหนูครูก็คิดว่า

ผู้ให้การปรึกษา มีความส�ำคัญมากกับชีวิตหนู ครูก็เก็บเป็นความลับค่ะ

นักเรียน ค่ะครู แต่หนูก็รู้สึกแย่มาก ๆ ๆ เลยค่ะ หนูรู้สึกว่าท�ำผิดจริง ๆ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูรู้สึกตัวเองท�ำผิด
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ผิดมาก ๆ ๆ เลย ท�ำผิดกับพ่อกับแม่ แม่รู้คงรู้สึกแย่
แม่เค้ารักหนูมากค่ะครู หนูสงสารแม่

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูรู้สึกผิดกับแม่มาก ๆ ฟังท่ีหนูบอกแม่เค้ารักหนูมาก

ผู้ให้การปรึกษา แล้วหนูคิดว่าจะท�ำอย่างไรดีเพ่ือให้ไม่รู้สึกผิดกับแม่

มากไปกว่าน้ี

นักเรียน ………..

(2.3) ทักษะการสรุปความ (Summering) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลหรือส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในระหว่าง
การใหก้ ารปรกึ ษา เพ่อื การสรุปประเดน็ สำ� คญั จากสง่ิ ทพ่ี ดู คยุ แลว้ นำ� มาเรยี บเรยี งใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ท้งั ผใู้ ห้
และผู้รับการปรึกษา โดยเป็นค�ำพูดส้ัน ๆ ท่ีครอบคลุมใจความส�ำคัญท้ังหมด การสรุปความแบ่งเป็น
3 วิธี การสรุปเน้อื หา การสรุปความรูส้ กึ และการสรุปกระบวนการใหก้ ารปรกึ ษา การสรุปความจะชว่ ยให้
ผ้ใู ห้และผูร้ บั การปรึกษาเขา้ ใจตรงกันในประเด็นปัญหา สาเหตุ และความต้องการ รวมท้ังยังท�ำใหผ้ ้รู บั
การปรกึ ษาไดเ้ หน็ ภาพรวมเก่ยี วกบั ตนเองไดช้ ดั เจนขน้ึ และทา้ ยท่สี ดุ การสรุปความยงั เปน็ การย้ำ� ประเดน็
ส�ำคัญ ๆ ซ่ึงจะส่งผลต่อกระบวนการคิดของผู้รับการปรึกษาการสรุปความ จะช่วยให้ข้อความท่ียาว ๆ
น้นั ส้นั ลง โดยการนำ� มาแต่เน้อื หาและความรูส้ กึ สำ� คัญ ๆท่ีผรู้ บั การปรกึ ษาแสดงออกมา ซ่งึ จะท�ำใหเ้ หน็
ทิศทางและประเด็นของปญั หาหรอื กระบวนการปรึกษาชดั เจนข้ึน

การสรุปความสามารถท�ำในระยะต่าง ๆ ของกระบวนการให้การปรึกษา โดยต้ังแต่เร่ิมการให้
การปรกึ ษา เม่อื เปน็ การใหก้ ารปรกึ ษาในคร้งั ท่ีสองเปน็ ต้นไป เพ่อื เปน็ การทบทวนเร่อื งราวท่ีผา่ นมาก่อน
นำ� เขา้ สกู่ ารให้การปรึกษาต่อไป และในระหว่างการให้การปรึกษา การสรุปความเปน็ ระยะ ๆ ก็สามารถ
ชว่ ยกำ� หนดทศิ ทางเพ่อื ไมใ่ หห้ ลงทาง และทา้ ยทส่ี ดุ เม่อื จะจบการใหก้ ารปรกึ ษาในแตล่ ะครงั้ การสรุปความ
จะชว่ ยทบทวนส่งิ ท่ีเกิดข้ึนและก�ำหนดทิศทางการใหก้ ารปรกึ ษาท่ีจะด�ำเนนิ การในคร้ังต่อไป

78 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนที่ต้งั ครรภ์

ตัวอย่างการฟงั อย่างใส่ใจ

บุคคล ประโยคค�ำพู ด เน้ือหาและการสรุปความ

นักเรียน หนูจะท�ำอย่างไรดีคะครู เพ่ือนในห้อง เน้ือหา : นักเรียนพูดหลากหลาย
กับครูคนอ่ืนคงเกลียดหนู โรงเรียน ป ร ะ เ ด็ น มี ค ว า ม รู้ สึ ก ก ลั ว กั ง ว ล
คงไมใ่ หเ้ รยี นตอ่ หนอู ยากเรยี นตอ่ ใหจ้ บ ไม่ม่ันใจในสิ่งท่ีจะต้องเผชิญในโอกาส
ม.ต้น ถ้าท้องหนูโตข้ึน หนูคงไม่กล้ามา ข้างหน้า
โรงเรียน หนูอายจริง ๆ ค่ะ พ่อแม่หนู
อยากให้หนูลาออกแล้วกลับไปอยู่บ้าน
นอก เพราะเขาอายเพ่ือนบ้าน แต่หนู
ไม่อยากไปค่ะ หนูกลัวถ้าต้องลาออก
หนไู มเ่ คยไปอยบู่ า้ นญาตทิ บ่ี า้ นนอกเลย
หนูกลัวค่ะ

ครูผู้ให้การดูแลช่วเหลือ ตอนน้ีมีหลายอย่างในใจหนูนะคะ การสรุปความ : เป็นการเรียบเรียง
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ ท้ังหมดคือความกลัว ไหนจะกลัวเพ่ือน ความคิดความรูส้ กึ ของนกั เรยี น เพ่อื ให้
ผู้ให้การปรึกษา และครูรังเกียจ ท่ีส�ำคัญคือกลัวไม่ได้ เขาได้เข้าใจและชัดเจนในสิ่งท่ีเกิดข้ึน
เรียนต่อ จากท่ีหนูเล่ามา แสดงว่าพ่อ กับตัวเอง
แมห่ นรู ูแ้ ล้วนะคะ และท่านอยากใหห้ นู
เลิกเรียนย้ายไปคลอดลูกท่ีต่างจังหวัด
ส่วนตัวหนูไม่ต้องการแบบน้ันนะคะ

นักเรียน หนูคิดอะไรไม่ออกเลยค่ะครู หนูสับสน เน้ือหา : นักเรียนมีความรู้สึกกลัว
ไปหมด หนูรู้สึกว่าท�ำไมต้องเป็นเรา สับสน ไม่เห็นทางออกท่ีจะคล่ีคลาย
หนูไม่เคยคิดว่าเร่ืองน้ีมันจะเกิดข้ึนกับ ปัญหาได้
หนู หนูไม่เคยคิดจริง ๆ หนูต้องท�ำยังไง
ต่อคะ ไหนจะพ่อแม่ ไหนจะเร่ืองเรียน
หนูอยากหายจากโลกน้ีไปเลย

ครูผู้ให้การดูแลช่วเหลือ ห นู ก ลั ว แ ล ะ สั บ ส น กั บ ส่ิ ง ท่ี ก� ำ ลั ง การสรุปความ : เป็นการเรียบเรียง
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/
ผู้ให้การปรึกษา เกิ ดข้ึนกั บชีวิ ต และตอนน้ีรู้สึกว่ า ค ว า ม คิ ด ค ว า ม รู้ สึ ก ข อ ง นั ก เ รี ย น

ไม่เห็นทางออกของปัญหา เ พ่ื อ ใ ห้ เ ข า ไ ด้ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ชั ด เ จ น

ในส่ิงท่ีเกิดข้ึนกับตัวเอง

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 79


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นที่ตงั้ ครรภ์

ตัวอย่างการสนทนาท่ีแสดงการสรุปความ

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน หนูคิดอะไรไม่ออกเลยค่ะครู หนูสับสนไปหมด หนูรู้สึกว่า
ท�ำไมต้องเป็นเรา หนูไม่เคยคิดว่าเร่ืองน้ีมันจะเกิดข้ึนกับหนู
หนูไม่เคยคิดจริง ๆ หนูต้องท�ำยังไงต่อคะ ไหนจะพ่อแม่
ไหนจะเร่ืองเรียน หนูอยากหายจากโลกน้ีไปเลย

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูกลัวและสับสนกับส่ิงท่ีก�ำลังเกิดข้ึนกับชีวิต และตอนน้ี

ผู้ให้การปรึกษา รู้สึกว่าไม่เห็นทางออกของปัญหา

นักเรียน ค่ะครู ชีวิตตอนน้ีมันแย่มากเลย

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูรู้สึกแย่นะคะ ในความคิดของหนู ๆ คิดว่าประเด็นใด

ผู้ให้การปรึกษา ท่ีน่าจะเอามาคิดก่อนเป็นล�ำดับต้น ๆ

นักเรียน หนูคิดว่าหนูอยากเอาออกค่ะ เก็บไว้แล้วจะเป็นยังไงต่อคะ
ไหนหนูต้องเรียนอีก หนูอยู่ไม่ได้หรอกค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ค่ะ ประเด็นแรก ๆ หนูอยากเอาเด็กออก
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ค่ะ แต่...............................

(3) ขั้นหาทางเลือกและแก้ไขปัญหา

เพ่ือให้ผู้รับการปรึกษารู้ความต้องการ ผู้ให้การปรึกษาต้องไม่ช้ีน�ำหรือหว่านล้อมให้ผู้รับการ
ของตนเองและตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีจะจัดการ ปรึกษาเลือกในทางเลือกท่ีครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ
กับปัญหาของตน ครูผใู้ หก้ ารดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น นกั เรียนท่ีต้ังครรภ์/ผใู้ หก้ ารปรึกษาคิดว่าดี
ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาจะต้องให้ก�ำลังใจ เพ่ือท่ี
จะให้ผู้รับการปรึกษาสามารถท่ีจะยอมรับผลท่ีอาจ ทักษะที่ใช้ในขั้นหาทางเลือก
ทำ� ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาเสยี ใจหรอื เจบ็ ปวด ในการเลอื ก และแก้ไขปัญหา
ท า ง เ ลื อ ก น้ี เ พ ร า ะ แ ต่ ล ะ ท า ง เ ลื อ ก อ า จ มี ท้ั ง ข้ อ ดี
และข้อด้อย ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน (3.1) ทักษะการหาทางเลือก ประเด็นการหาทาง
ทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาตอ้ งเช่อื มน่ั ในศกั ยภาพของ เลือกควรท่ีจะเป็นปัจจุบัน เน่ืองจากส่ิงต่าง ๆ
ผู้มาปรึกษาเพราะเป็นผู้ท่ีมีความชัดเจนในเร่ืองราว ห รื อ ปั ญ ห า ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ใ น ปั จ จุ บั น น้ั น ผู้ รั บ
ท่ีเกิดข้นึ มากท่ีสดุ เขาต้องเปน็ ผตู้ ัดสนิ ใจหาทางออก การปรึกษาสามารถท่ีจะแก้ไขได้ ในขณะ
ท่ี เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ข อ ง ท่ี เ ห ตุ ก า ร ณ์ ใ น อ ดี ต แ ล ะ อ น า ค ต ผู้ รั บ
ตนเอง ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ การปรึกษาไม่สามารถกลับไปเปล่ียนแปลง

80 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีตัง้ ครรภ์ เลือกวิธีการใด ๆ ก็ตาม ครู ผู้ให้การดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา
หรือจะก�ำหนดได้ และเพ่ือพิจารณาจาก ควรค�ำนึงถึง
ความเป็นไปได้ของแผนหรือทางเลือกท่ีม ี • ทางเลือกท่ีหลากหลาย
ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น • ข้อดี - ข้อด้อยของแต่ละทางเลือก
ท่ีตง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาอาจจะเปดิ ประเดน็ • การตัดสนิ ใจเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมและ
เพ่อื ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาคิดถึงขอ้ ดีและขอ้ เสยี
ของแต่ละทางเลือก วิธีการท่ีจะบรรลุ เป็นไปได้ สามารถท�ำได้จริง
ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ท่ี ก� ำ ห น ด ไ ด้ ร ว ม ท้ั ง
อาจจะช่วยหาข้อมูลท่ีจ�ำเป็นและข้อเสนอ
แนะสำ� หรบั ผรู้ บั การปรกึ ษากอ่ นการตดั สนิ ใจ

ตัวอย่างการสนทนาเพ่ื อการหาทางเลือก 1

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เท่าท่ีคุยกันมาดูเหมือนว่าหนูอยากเก็บลูกเอาไว้ และอยาก

ผู้ให้การปรึกษา จะเรียนต่อด้วย

นักเรียน ค่ะครู หนูต้องท�ำยังไงบ้างคะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ถ้าท้องหนูโตข้ึนแล้วหนูต้องมาโรงเรียน หนูมองยังไงคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หนไู มอ่ ยากมาเดนิ ในโรงเรยี น แตถ่ า้ เรยี นท่ีบา้ น ท�ำรายงาน
สง่ หนกู พ็ อไหวคะ่ โรงเรยี นเค้าจะใหห้ นเู รยี นท่ีบา้ นไหมคะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ดูเหมือนหนูพร้อมท่ีจะเรียนท่ีบ้านนะคะ แล้วคุณพ่อคุณแม่

ผู้ให้การปรึกษา คิดยังไง

นักเรียน แม่เค้าก็ยอมรับได้ค่ะ เค้าก็พูดกับหนูเหมือนท่ีได้คุยกับครู
นะคะ ว่าเค้ายินดีจะเล้ียงตัวเล็ก แต่เค้าอยากให้หนูได้เรียน
ให้จบ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ จ้ะก็เป็นทางเลือกท่ีดีนะคะ ครูขอเอาเร่ืองการเรียนของหนู

ผู้ให้การปรึกษา ไปหารอื กบั ทา่ น ผอ.นะคะ แตใ่ หส้ บายใจได้ เพราะทา่ นกเ็ ปน็

ครูของหนูคนหน่ึงท่านพร้อมท่ีจะช่วยเหลือ

นักเรียน ขอบพระคุณค่ะครู

บทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 81


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นท่ีตั้งครรภ์

ตัวอย่างการสนทนาเพ่ื อการหาทางเลือก 2

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน หนูจะท�ำอย่างไรดีคะครู หนูอยากเรียนต่อให้จบ ม.ต้น พ่อแม่
หนอู ยากใหห้ นลู าออกแล้วกลับไปอยูบ่ า้ นนอก เพราะเขาอาย
เพ่ือนบ้าน แต่หนูไม่อยากไปค่ะ หนูกลัว
ถ้าต้องลาออก หนูไม่เคยไปอยู่บ้านญาติท่ีบ้านนอกเลย
หนูกลัวค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ แสดงว่าพอ่ แมห่ นรู ูเ้ ร่อื งนะคะ ครูฟงั ดตู อนนห้ี นมู ี 2 ทางเลือก

ผู้ให้การปรึกษา คือ ลาออกจากโรงเรียนแล้วกลับไปอยู่บ้านนอก และอยู่ท่ีน่ี

แล้วเรียนต่อ

นักเรียน ค่ะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ในท้ังสองทางน้ีครูดูเหมือนว่าจะเก่ียวข้องกับทางบ้าน คือ

ผู้ให้การปรึกษา พ่อ แม่ และทางโรงเรียนคือ ผู้บริหารสถานศึกษา ถ้าครู

จะขอพบพอ่ แมข่ องหนู พรอ้ มกบั ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาเพ่อื พดู

คุยและหาทางออกในการแก้ปัญหาน้ีด้วยกัน พอจะเป็นไป

ได้ไหมคะ

นักเรียน มันจะกลายเป็นเร่ืองใหญ่ไหมคะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูเช่อื วา่ ถา้ ทกุ ฝา่ ยไดพ้ บ ไดค้ ยุ กนั ทกุ คนรกั หนู จะไดช้ ว่ ยกนั

ผู้ให้การปรึกษา หาทางออกท่ีเหมาะส�ำหรับหนูและช่วยให้หนูก้าวผ่าน

เร่ืองราวเหล่าน้ีไปได้

นักเรียน ได้ค่ะครู หนูจะไปบอกพ่อกับแม่มาคุยท่ีโรงเรียน
หนูจะบอกว่าครูเชิญได้ไหมคะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ดีค่ะ ๆ ๆ มานัดวันกันนะคะ
ผู้ให้การปรึกษา

82 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ีต้ังครรภ์

(3.2) ทักษะการใหก้ �ำลังใจ (Reassurance)
ทักษะการให้ก�ำลังใจ เป็นการสนับสนุนให้ผู้รับการปรึกษาม่ันใจในความคิดและความรู้สึกของตัวผู้รับ

การปรกึ ษาเอง การใหก้ ำ� ลงั ใจจะชว่ ยลดความวติ กกงั วลซง่ึ จะชว่ ยทำ� ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษารูส้ กึ ถงึ การยอมรบั
และการเข้าใจของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาท่ีมีต่อตนเอง ซ่ึงจะมี
ผลเอ้ืออ�ำนวยการเปิดเผยความรู้สึกและความคิดของตนเอง การให้ก�ำลังใจน้ันถูกมองว่าเป็นการให้
การประคบั ประคอง (Palliative) เพ่อื ใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษาสามารถไดค้ น้ หาศกั ยภาพในตนเองหรอื แกไ้ ขปญั หา
การให้ก�ำลังใจอาจท�ำให้ผู้รับการปรึกษารู้สึกว่า ปัญหาไม่ใช่เร่ืองแปลกแต่เกิดข้ึนกับทุก ๆ ชีวิตมิใช่
ความผดิ ปกติใด ๆ แต่อยา่ งไรก็ตาม การใหก้ �ำลังใจน้นั ควรหลีกเล่ียงการใหก้ �ำลังใจกับสง่ิ ท่ีเราไมส่ ามารถ
จะท�ำนายผลได้หรอื ให้ความหวังท่ีไมแ่ นน่ อน ตัวอยา่ งเชน่

“ฉันรู้ว่าเธอจะต้องสอบได้ทุนแน่นอน”
“ทุกสิ่งทุกอย่างจะเรียบร้อย”

การให้ก�ำลังใจท่ีไม่อยู่บนพ้ืนฐานความเป็นจริงอาจสร้างความไม่แน่ใจในตัวครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาได้ การให้ก�ำลังใจอาจจะแสดงในรูปของการรับรู้ถึงส่ิงท่ีผู้รับ
การปรกึ ษาพดู ออกมา เชน่ การพยกั หนา้ การยม้ิ รบั การพดู ตอบรบั สน้ั ๆ เชน่ ครบั คะ่ อมื ฯลฯ ทกั ษะตา่ ง ๆ
เหล่านจ้ี ะเอ้ืออ�ำนวยใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษามเี ปา้ หมายในการแก้ปญั หา สำ� รวจวิธกี ารแก้ปญั หา วางแผนการ
แก้ปัญหาด้วยตนเอง และเกิดก�ำลังใจในการแก้ปญั หา

ตัวอย่างการให้ก�ำลังใจ

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน ห นู ไ ม่ แ น่ ใ จ ว่ า ห นู จ ะ ท� ำ ไ ด้ อ ย่ า ง ท่ี ต้ั ง ใ จ ไ ว้ เ ล ย ค่ ะ ค รู
หนูไม่แน่ใจจริง ๆ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูรู้ว่าหนูกลัว แต่ครูก็เช่ือในตัวหนูนะคะ จากท่ีเราคุยกันมา

ผู้ให้การปรึกษา ครูเช่ือว่าหนูจะเข้มแข็งและผ่านไปได้ด้วยดี เท่าท่ีผ่านมา

พ่อแม่และโรงเรียนพร้อมท่ีจะให้โอกาสหนูนะคะ ขอเพียง

ห นู เ ข้ ม แ ข็ ง มี อ ะ ไ ร ค รู ก็ พ ร้ อ ม ท่ี จ ะ รั บ ฟั ง ช่ ว ย เ ห ลื อ

ไม่ทอดท้ิงหนูนะคะ

บทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 83


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นที่ตงั้ ครรภ์

(3.3) ทักษะการใหข้ อ้ มลู และค�ำแนะน�ำ โดยไม่ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวหรือความเช่ือ
(Information giving and advice giving) ทางด้านศาสนาของตนเองในขอ้ มูลน้ัน

การให้ข้อมูลเป็นการติดต่อส่ือสารทางวาจา การให้ค�ำแนะน�ำเป็นการให้ข้อมูล
เพ่อื ใหข้ อ้ มลู ทจ่ี ำ� เปน็ แกผ่ รู้ บั การปรกึ ษาในการ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาในการนำ� ไปปฏบิ ตั ิ
เข้าใจปัญหา และใช้ประกอบการตัดสินใจ หรือตัดสินใจตามความเหมาะสมของผู้รับ
การให้ข้อมูลเป็นเพียงการบอกข้อมูลโดย การปรกึ ษาแต่ละคน ท่ีมคี วามคิดเหน็ จ�ำเปน็
ไม่มีการโน้มน้าว หรือใส่ข้อคิดเห็นส่วน สงิ่ ทค่ี วรปฏบิ ตั ซิ ง่ึ มคี วามจำ� เปน็ และเหมาะสม
ตั ว ข อ ง ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น การให้ข้อมูลและค�ำแนะน�ำจะเป็นเพียงให้
ทต่ี ง้ั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา ในกรณขี องนกั เรยี น ข้อมูลท่ีจ�ำเป็นหรือแนวทางท่ีคิดว่าควรจะ
ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ค ว ร ใ ห้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตามการตัดสินใจเลือก
ทช่ี ดั เจนตามจรงิ ครอบคลมุ ตามทางเลอื กตา่ งๆ ท า ง เ ดิ น ห รื อ วิ ธี ก า ร ด� ำ เ นิ น ชี วิ ต เ ป็ น เ ร่ ื อ ง
ท่ีนักเรียนก�ำลังพิจารณาเพ่ือการตัดสินใจ ของผู้รับการปรึกษาเท่าน้ัน

ตัวอย่างทักษะการให้ข้อมูลและค�ำแนะน�ำ

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน ถา้ หนตู อ้ งหยดุ มาโรงเรยี น แตเ่ รยี นออนไลนท์ บ่ี า้ นแทนในระหวา่ งทท่ี อ้ งแก่
หนูจะต้องท�ำอย่างไรบ้างคะครู ท่ีบ้านหนูไม่มีเงินให้หนูเติมเน็ตมาก ๆ
แน่เลย

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ถ้าถึงเวลาน้ัน ครูจะช่วยประสานครูผู้สอนทุกรายวิชาให้ส่งใบความรู้

ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา ใบงาน ท่ีเปน็ แบบเอกสารใหห้ นทู างไปรษณยี น์ ะคะ หรอื ถ้าหนมู คี นท่ีบา้ น

สะดวกมารบั ท่ีโรงเรยี นก็จะชว่ ยประสานเร่อื งวันเวลาใหน้ ะ อยา่ เพง่ิ กังวล

โรงเรียนตกลงพร้อมให้ความช่วยเหลือหนู เพราะหนูตัดสินใจเลือก

ท่ีจะเรียนต่อนะคะ

84 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นทต่ี ้งั ครรภ์

(3.4) ทักษะการคาดคะเนผลทจี่ ะเกิดขึน้ สับสน เป็นต้น หรือผลต่อร่างกาย เวลา เงิน
ทรพั ย์สิน ฯลฯ
เป็นการชวนให้ผู้รับการปรึกษาคิดหรือ
มองเห็นผลของทางเลือกและการปฏิบัติ ในการคาดคะเนผลท่ีจะเกิดข้ึน ครูผู้ให้การ
ตามแผนท่ีเขาเป็นผู้เลือกท้ังในทางท่ีดีและ ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ /
ไม่ดี ซ่ึงผลท่ีตามมาเป็นได้ท้ังสถานการณ์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษา
ประสบการณ์ และความรูส้ กึ ท่ีเกิดข้นึ ภายใน คิดถึงข้อดีและข้อด้อยของทางเลือกและ
จิตใจของผู้รับการปรึกษา รวมท้ังเหตุการณ์ การปฏิบัติตามแผนการในทางเลือกนั้น ๆ
ท่ีอาจเกิดข้นึ ภายนอกจิตใจ นอกจากน้ี ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า อ า จ จ ะ ต้ อ ง
ผลท่ีตามมาอาจจะเป็นไปได้ท้ังทางบวก ตรวจสอบวา่ ผรู้ บั การปรกึ ษาเขา้ ใจสถานการณ์
และทางลบ รวมท้ังอาจจะเกิดข้ึนในรูปของ ได้อย่างถูกต้องด้วยการทวนซ้�ำหรือสะท้อน
อารมณ์ความรูส้ กึ เชน่ รูส้ กึ ด/ี ไมด่ ีปลอดโปรง่ / ความรู้สึก

ตัวอย่างทักษะการคาดคะเนผลที่จะเกิดข้ึน

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน หนูเลือกท่ีจะเก็บลูกไว้และเรียนต่อให้จบ ม.3 ค่ะครู หนูอยากเป็น
นักบัญชีค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ค่ะ ถ้าหนูเลือกแบบน้ี ข้อดีก็คือ หนูจะมีโอกาสได้เรียนจนจบ และได้ท�ำ

ท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา อาชีพอย่างท่ีต้ังใจ แต่อาจมีข้อเสียคือ หนูต้องอดทนกับภาวะร่างกาย

ท่ีเปล่ียนแปลงเม่ือท้องเร่ิมโตข้ึนเร่ือย ๆ และอารมณ์ท่ีอาจแปรปรวน

ไปตามภาวะต่าง ๆ ของคนท้อง หนูอาจต้องเหน่ือยกว่าปกตินะคะ และ

เร่อื งรูปแบบการเรยี นท่ีอาจจะต้องเรยี นออนไลนท์ ่ีบา้ น แทนการมาเรยี น

ท่ีโรงเรียน

4) ข้ันการสร้างเป้าหมายและค�ำมั่นสัญญา

ในกระบวนการข้างต้นจะเห็นได้ว่า ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา
ได้ช่วยให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ได้รู้จักเข้าใจและยอมรับตนเองในสถานการณ์ท่ีเกิดข้นึ ได้ใคร่ครวญพิจารณาและ
วางแผนในการปรับปรุงแก้ไขตามทางเลือกท่ีได้ตัดสินใจแล้ว แต่ด้วยในช่วงรุ่นวัยน้ีมีการเปล่ียนแปลงมากมาย
หลายด้าน มักเกิดความวุ่นวายสับสนได้ง่าย ครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษา
ต้องตระหนักถึงความส�ำคัญในช่วงน้ี โดยอาจใช้วิธีก�ำหนดให้นักเรียนได้เลือกเป้าหมายท่ีชัดเจนของตนเอง
ให้ค�ำม่ันสัญญาในสิ่งท่ีต้ังใจ และสร้างความเข้มแข็งทางใจ โดยมีรายละเอียดดังน้ี

บทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์ 85


(4.1) การเลือกเป้าหมายทชี่ ัดเจน แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นท่ตี ง้ั ครรภ์

เป้าหมายชีวิตเป็นสิ่งท่ีบุคคลให้ความส�ำคัญ แน่นอน ปฏิบัติได้ และรู้จักการวางแผน
และปรารถนาจะใหเ้ กิดขน้ึ ในอนาคตโดยเปน็ การปฏบิ ตั ติ ามลำ� ดบั กอ่ นหลงั มกี ารประเมนิ ผล
แรงจงู ใจใหต้ นเองมพี ลงั ทท่ี ำ� ใหช้ วี ติ ดำ� เนนิ ไป การปฏิบัติอยา่ งต่อเน่อื ง มกี ารพดู คุยรว่ มกัน
ก า ร มี เ ป้ า ห ม า ย ชี วิ ต ท่ี ชั ด เ จ น จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ระหว่างครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
บุ ค ค ล เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ม อ ง เ ห็ น ตั ว เ อ ง ไ ด้ ชั ด ว่ า ท่ีต้ังครรภ์/ผูใ้ หก้ ารปรกึ ษา ว่ามีเป้าหมายใด
สิ่งใดเป็นข้อท่ีดี ส่ิงใดเป็นข้อท่ีบกพร่อง ท่ีถูกต้อง เหมาะสมและมีความเป็นไปได้
ต้องปรับปรุ งเพ่ือให้เป้าหมายบรรลุผล ไม่ใช่ความเพ้อฝัน พร้อมท่ีจะลงมือท�ำ
ส�ำเร็จ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และ แ ล ะ ป รั บ เ ป ล่ี ย น ต น เ อ ง ใ น ท า ง ท่ี ดี แ ล ะ
สามารถพิจารณาทางเลือกและการตัดสินใจ เป็นประโยชน์กับชีวิต ก่อให้เกิดการยอมรับ
ของตนตามสภาพความเปน็ จรงิ มคี วามชดั เจน และเห็นคุณค่าในตน ต่อไป

ตัวอย่างการสนทนา

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เท่าท่ีคุยกันมาท้ังหนูและพ่อแม่ เหมือนกับว่าหนูตัดสินใจ

ผู้ให้การปรึกษา ท่ีจะเก็บลูกเอาไว้

นักเรียน ค่ะ ก็คิดอย่างง้ันค่ะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูคิดว่าการเลือกของหนูคร้ังน้ีมันมีผลกับชีวิตของหนูยังไง
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ก็...มันก็กลัว กังวลค่ะครู แต่มันก็คงเป็นทางท่ีดีท่ีสุดท่ีคิดได้
ตอนน้ี

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ จ้ะ ครูเข้าใจนะ แต่ชีวิตเราก็คงต้องเดินต่อไป และการเดินต่อ

ผู้ให้การปรึกษา คร้ังน้ีครูว่ามันต้องมีเป้าหมายท่ีชัด ๆ แล้วนะ เพ่ือเรา

จะได้รู้ว่าเราต้องท�ำอะไร อย่างไร นะคะ เป้าหมายชัด ๆ

ของหนูตอนน้ีคืออะไร

นักเรียน หนูตัดสินใจเก็บลูกไว้

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ การเก็บลูกไว้ หนูคิดว่าหนูต้องท�ำอะไรบ้างคะ
ผู้ให้การปรึกษา

86 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนท่ีตงั้ ครรภ์

การส่ือสาร ตัวอย่างการสนทนา

นักเรียน ตัวอย่างค�ำพู ด

ก็ . . . ดู แ ล ตั ว เ อ ง ดี ๆ อ ยู่ บ้ า น ช่ ว ย แ ม่ ท� ำ ง า น บ้ า น
จะได้ไม่คิดมาก

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ มีอะไรนอกจากน้ีอีกไหมคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน เร่อื งเรยี นก็คงคลอดแล้วก็ค่อยไปเรยี น ท�ำเร่อื งพกั การเรยี นไว้
อยา่ งทค่ี ยุ กนั แตเ่ วลาอยทู่ บ่ี า้ นนานๆมนั ตอ้ งทำ� อะไรบา้ งคะครู
หนูก็คงเบ่ือมาก ๆ เลย

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เท่าท่ีฟังมาหนูว่าจะดูแลตัวเองดี ๆ และช่วยงานท่ีบ้าน

ผู้ให้การปรึกษา ดูแลตัวเองดี ๆ จะต้องท�ำยังไงนะ

นักเรียน หนูว่า กินอาหารท่ีดี ๆ มีประโยชน์ พักให้พอ แม่บอกว่า
แม่จะช่วยหนูเร่ืองอาหารการกิน คงต้องพ่ึงแม่มากเลย

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เทา่ ทค่ี รูเจอแมข่ องหนเู คา้ เปน็ แมท่ ร่ี กั และเขา้ ใจลกู มากเลยนะ

ผู้ให้การปรึกษา หนูว่าจะช่วยงานบ้านเค้าด้วย หนูจะท�ำได้แค่ไหน

นักเรียน หนูต้องท�ำให้ได้ค่ะครู แม่รักหนู หนูเข้าใจแล้วว่าอะไร
ท่ีท�ำให้เค้าเหน่ือยน้อยลงหนูก็จะท�ำ หนูท�ำให้เค้าเสียใจ
มามากแล้ว

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ จ้ะ หนูมีเป้าหมายชัด ๆ ท่ีท�ำได้ด้วยตัวเองเลย 2 อย่างนะ

ผู้ให้การปรึกษา ดูแลตัวเองเร่ืองการกินอยู่และช่วยงานท่ีบ้าน

นักเรียน คะ่ ครู หนจู ะตง้ั ใจคะ่ ขอบคณุ ครูมากเลยนะคะทด่ี แู ลหนมู าตลอด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ค่ะ ครูเช่ือว่าหนูจะท�ำได้ตามท่ีหนูต้ังใจ ครูให้ก�ำลังใจนะ
ผู้ให้การปรึกษา

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์ 87


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นท่ตี ง้ั ครรภ์

(4.2) การใหค้ �ำม่ันสญั ญา

การให้ค�ำม่ันสัญญาเป็นการแสดงการยืนยันถึงความมุ่งม่ันต้ังใจท่ีจะลงมือปฏิบัติ การท�ำสัญญา
เ ป็ น ข้ อ ต ก ล ง ร ะ ห ว่ า ง ค รู ผู้ ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ค ร ร ภ์ / ผู้ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า แ ล ะ นั ก เ รี ย น
ผู้มาปรึกษา เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตามท่ีได้ตัดสินใจเลือกและวางเป้าหมายเอาไว้
และในการใหค้ �ำม่ันสัญญาจะระบุถึงการเสรมิ แรงเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม

ตัวอย่างการสนทนา

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ถ้าหนูท�ำได้ตามท่ีหนูต้ังใจ หนูจะรู้ว่าตัวเองเข้มแข็งอดทน

ผู้ให้การปรึกษา และถ้าหนูต้ังใจท�ำอะไรจริง ๆ ละก็ หนูก็ท�ำได้นะ

นักเรียน ค่ะหนูก็อยากให้เป็นอย่างน้ัน หนูคงรู้สึกดีกับตัวเองมาก

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูว่าถ้าได้ท�ำอย่างท่ีต้ังใจ มันจะท�ำให้หนูรู้สึกดีและรู้สึกว่า

ผู้ให้การปรึกษา มีคุณค่ากับชีวิตหนูมากเลยนะ

นักเรียน ค่ะครู เร่ืองท่ีเกิดท�ำให้หนูรู้สึกว่าตัวเองท�ำไม่ดี หนูคงหา
คุณค่าของตัวเองไม่เจอ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ปัญหาท่ีหนูก�ำลังเผชิญเป็นเพียงเร่ืองราวหน่ึงในชีวิตท่ี

ผู้ให้การปรึกษา เข้ามานะคะ ชีวิตหนูยังมีอีกหลายส่วนท่ีหนูท�ำได้ดีและ

ถ้าหนูผ่านเร่ืองน้ีไปได้มันก็จะมีอนาคตดี ๆ รอหนูอยู่

และมันจะเป็นเคร่ืองแสดงว่าหนูเข้มแข็งและไม่ย่อท้อ

ต่อเร่ืองร้าย ๆ ท่ีเข้ามา น่ีไงคะคุณค่าของหนู ดังน้ัน หนูต้อง

เห็นคุณค่าในตัวเองก่อน อย่ารอให้คนอ่ืน มาบอก เราท�ำได้

คุณค่าในตัวเองมันก็เกิดข้ึนนะคะ

นักเรียน แต่ถ้าหนูท�ำไม่ได้ล่ะคะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูคิดว่าอะไรบ้างท่ีจะเป็นเง่ือนไขท่ีท�ำให้หนูท�ำไม่ได้ และ

ผู้ให้การปรึกษา หนูคิดว่าจะขจัดเง่ือนไขน้ันได้อย่างไรคะเพ่ือท่ีว่าหนูจะได้

ไปให้ถึงเป้าหมาย

นักเรียน ขอบคุณค่ะครู

88 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทีต่ ัง้ ครรภ์

(4.3) การสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางใจ

การสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางใจหรอื พลงั สขุ ภาพจติ เปน็ ความสามารถทางอารมณแ์ ละจิตใจในการปรบั ตัว
และฟ้ นื ตัวกลับสภู่ าวะปกติภายหลังท่ีพบกับเหตกุ ารณว์ ิกฤติท่ีก่อใหเ้ กิดความยากล�ำบากในชวี ิตอันเปน็
คุณสมบัติหน่ึงท่ีช่วยให้บุคคลผ่านพ้นปัญหาอุปสรรคและด�ำเนินชีวิตได้อย่างเป็นสุข ยิ่งกว่าน้ันผู้ท่ี
มพี ลังสขุ ภาพจิตจ�ำนวนมากยงั สามารถใชว้ ิกฤติเปน็ โอกาส ยกระดับความคิด จิตใจ และการด�ำเนนิ ชวี ิต
ไปในทางทด่ี ขี น้ึ หลงั จากเหตกุ ารณว์ กิ ฤตนิ น้ั ผา่ นพน้ ไปซง่ึ ในทน่ี ข้ี อเสนอแนวทางในการสรา้ งความเขม้ แขง็
ทางใจของนักเรยี นท่ีต้ังครรภ์ด้วย “พลังอึด ฮึด สู้” ตามแนวทางของกรมสขุ ภาพจิต ดังน้ี

พลังอึด ความหมาย เพ่ิ มพลังโดย
การทนต่อแรงกดดัน ปรับอารมณ์
ปรับความคิด
พลังฮึด การมีความหวังและก�ำลังใจ เพิ่มความหวัง
เปิดมุมมองจิตใจให้กว้าง
พลังสู้ การสู้เอาชนะอุปสรรค ปรับพฤติกรรม
ด�ำเนินการอย่างมีเป้าหมายชีวิต

บทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 89


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีตง้ั ครรภ์

ตัวอย่างการสร้างความเข้มแข็งทางใจ “พลังอึด”
(ปรับอารมณ์ ปรับความคิด)

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ตอนน้ีหนูเป็นยังไงบ้างคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หลังจากวันน้ีไป ชีวิตหนูไม่รู้จะต้องเจออะไรอีก หนูยอมรับ
ค่ะว่า แม้จะตัดสินใจท่ีจะเก็บลูกไว้แล้วก็ต้ังใจไว้แล้วว่า
ต้องท�ำอะไรบ้าง แต่มันก็ยังเศร้า ๆ เหงา ๆ อย่างบอกไม่ถูก
หนูไม่แน่ใจตัวเองว่าจะอยู่อย่างเป็นสุขได้อย่างไรค่ะครู

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูเข้าใจนะ หนูก�ำลังพยายามเข้มแข็งท่ีจะเดินหน้าต่อไป

ผู้ให้การปรึกษา แต่ลึก ๆ หนูก็แอบท้อ เหมือนไม่มีแรงจะก้าว

ครูเข้าใจจริง ๆ ......

นักเรียน ค่ะ มันเป็นอย่างน้ันจริง ๆ ค่ะ หนูจะท�ำยังไงดีคะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ท่ีหนรู ูส้ ึกเศรา้ ท้อแท้ หมดแรง มนั มปี ระโยชน์กับหนไู หมคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ไม่เลยค่ะ มันกลับท�ำให้หนูหมดแรงมากข้ึน ๆ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ แลว้ หนจู ะใหค้ วามรูส้ กึ อยา่ งนน้ั อยกู่ บั หนตู อ่ ไปอีกนานไหมคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หนูก�ำลังพยายามค่ะ หนูก็รู้นะคะว่ามันไม่มีประโยชน์อะไร
ท่ีจะหมกมุ่นครุ่นคิดอยู่กับเร่ืองท่ีเกิดข้ึน แล้วก็กลับไปแก้ไข
อะไรไม่ได้

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ น่ันสิคะ เม่ือมันกลับไปแก้ไขอะไรไม่ได้ ส่ิงท่ีหนูน่าจะท�ำ

ผู้ให้การปรึกษา คืออะไรคะ

นักเรียน หนตู ้องยอมรับ และเผชญิ กับความจรงิ ท่ีเกิดข้ึน เพราะยงั ไง
มันก็เกิดข้ึนแล้ว หนูคงย้อนกลับไปไม่ได้

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เม่ือหนูคิดได้อย่างน้ี ตอนน้ีหนูรู้สึกอย่างไรคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน มันเบาข้ึนค่ะ แต่หนูชอบกลับไปคิดวนเวียนอีกค่ะครู

90 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทีต่ ง้ั ครรภ์

ตัวอย่างการสร้างความเข้มแข็งทางใจ “พลังอึด”
(ปรับอารมณ์ ปรับความคิด)

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูจะคิดวนเวียนเร่ืองท่ีท�ำให้ไม่สบายใจเวลาไหนคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน เวลาหนูอยู่คนเดียวค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ แล้วตอนท่ีหนูไม่คิดวนเวียนเร่ืองน้ี ลืมเร่ืองน้ีไปได้คือ

ผู้ให้การปรึกษา ตอนไหนคะ

นักเรียน ตอนท่ีหนูมีงานต้องท�ำ หรือตอนท่ีหนูอยู่กับคนอ่ืน ๆ ค่ะ
หนูก็จะคิดเร่ืองอ่ืน ไม่คิดเร่ืองท่ีท�ำให้ทุกข์ค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนพู บใชไ่ หมคะว่า ถ้าหนมู ีสิง่ ท่ีต้องท�ำ หรอื มคี นอยูด่ ้วยหนู

ผู้ให้การปรึกษา ก็จะไมจ่ มอยูก่ ับเร่ืองท่ีท�ำใหท้ ุกข์ ไมห่ มกมนุ่ อยูก่ ับมนั แต่จะ

ท�ำส่ิงอ่ืน ๆ แทน ถึงตอนน้ีหนพู อจะได้ค�ำตอบไหมคะ

นักเรียน คะ่ ครู หนเู ขา้ ใจแลว้ วา่ หนตู อ้ งไมว่ า่ ง ไมอ่ ยเู่ ฉย ๆ ไมอ่ ยคู่ นเดยี ว
หนูต้องอยู่ให้ได้ เร่ืองมันเกิดข้ึนแล้ว ยอมรับมัน แก้ไขไป
ไม่หมกมุ่นอยู่กับมันจนไม่มีแรงเดินหน้าต่อ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ค่ะ แรก ๆ หนูอาจต้องหากิจกรรมท�ำ หรือหาคนมาพูดคุย

ผู้ให้การปรึกษา ด้วยเพ่อื ใหห้ นไู มค่ ดิ หมกมนุ่ แตน่ านไปครูเช่อื วา่ หนจู ะคอ่ ย ๆ

เข้มแข็งข้ึน

นักเรียน ค่ะครู หนูต้องอยู่ให้ได้ หนูต้องยอมรับมัน แก้ไขไป
ไม่หมกมุ่นอยู่กับมันจนไม่มีแรงเดินหน้าต่อ และถ้าหนูเหงา
หนูโทรปรึกษาครูได้ไหมคะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ยินดีค่ะ
ผู้ให้การปรึกษา

บทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 91


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนทีต่ ัง้ ครรภ์

ตัวอย่างการสร้างความเข้มแข็งทางใจ “พลังอึด”
(เพ่ิ มความหวัง เปิดมุมมองจิตใจให้กว้าง)

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ดีแล้วหละ....ท่ีส�ำคัญหนูต้องไม่ลืมนะคะว่า หนูยังมีพ่อ แม่

ผู้ให้การปรึกษา ครู และเพ่ือน ๆ ท่ีเข้าใจและคอยเป็นก�ำลังใจให้หนูอยู่ตลอด

หนูไม่ได้เผชิญปัญหาอยู่โดยล�ำพังนะคะ

นักเรียน จริงด้วย....ถ้าไม่เกิดเร่ืองน้ี หนูจะไม่รู้เลยว่าชีวิตหนูก็ยังมี
คนท่ีเข้าใจและคอยห่วงใย คนใกล้ตัวหนูท้ังน้ันเลยค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ คนเหล่าน้ัน ไม่ใช่แค่เข้าใจและห่วงใยหนูเท่าน้ันนะคะ

ผู้ให้การปรึกษา แต่ทุกคนยังรอคอยให้หนูเข้มแข็ง กลับมาใช้พลังให้เต็มท่ี

กลับมาเรียน และท�ำในสิ่งท่ีหนูต้ังใจไว้ต่อไป

นักเรียน เพียงหนูเท่าน้ันใช่ไหมคะ ท่ีจะท�ำให้พ่อ แม่ ครู และเพ่ือน
ไม่ผิดหวังเหมือนท่ีผ่านมา

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ทุกคนหวังว่าหนูจะผา่ นชว่ งเวลาน้ไี ปได้ และเต็มท่ีกับ

ผู้ให้การปรึกษา การเดนิ หนา้ ตอ่ อยา่ งมพี ลงั ความสขุ สำ� เรจ็ ของหนู เปน็ ความสขุ

ของพอ่ แม่ ครูและเพ่ือน ๆ ด้วยค่ะ

นักเรียน ค่ะครู หนูจะใช้ชีวิตเดินหน้าต่อไป เพ่ือ พ่อ แม่ ครู และ
เพ่ือน ๆ ไม่ใช่แค่ตัวหนูคนเดียว

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ดีจังค่ะ หากทุกคนได้ยิน คงดีใจไม่ต่างจากครู
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หนูเองก็จะคอยบอกตัวเองไว้เสมอค่ะ

92 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนท่ีตงั้ ครรภ์

ตัวอย่างการสร้างความเข้มแข็งทางใจ “พลังอึด”
(ปรับพฤติกรรม ด�ำเนินการอย่างมีเป้าหมายชีวิต)

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ แล้ว....หนูคิดว่า หนูควรต้องลงมือท�ำอะไรต่อจากน้ีบ้าง

ผู้ให้การปรึกษา ท่ีเป็นรูปธรรม

นักเรียน น่ันสิคะ ท่ีผ่านมาหนูชอบแต่คิด หยุดอยู่แค่ต้ังใจ ไม่เคย
ลงมือท�ำอะไรจริงจังอย่างมีเป้าหมายเลยค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ถา้ งน้ั .....เราลองมาดกู นั ไหมวา่ อะไรคอื เปา้ หมายในชวี ติ ของหนู
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน ดีค่ะ ขอบคุณมากเลยค่ะครู ถ้าหนูมีเป้าหมายชีวิตชัด ๆ
หนูคงไม่ท�ำอะไรผิดพลาดเช่นน้ี

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ อยา่ เสยี เวลาโทษตัวเองเลยค่ะ หนมู องไปขา้ งหนา้ นะ

ผู้ให้การปรึกษา ว่าอะไรคือเป้าหมายในชวี ิตของหนู

นักเรียน หนอู ยากเรยี นใหจ้ บปรญิ ญาตรี มงี านทำ� มเี งนิ เลย้ี งดพู อ่ แมค่ ะ่

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เป้าหมายน้ี หนูจะไปถึงได้ยังไงคะ
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน หนูต้องจบ ม.6 แล้วเรียนต่อมหาวิทยาลัยในคณะท่ีหนู
อยากเรียน

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ตอนน้ีหนูเหลือเวลาอีกเท่าไรคะถึงจะจบ ม.6
ผู้ให้การปรึกษา

นักเรียน อีกปีเดียวค่ะ ตอนน้ีหนูอยู่ช้ัน ม.5 แล้วค่ะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูท�ำได้ไหมคะ เรียนอีกปีเดียว ก็จะเข้ามหาวิทยาลัย

ผู้ให้การปรึกษา ได้แล้ว

นักเรียน ต้องท�ำให้ได้ค่ะ.... ไม่ง้ันฝันของหนูไม่มีวันจะเป็นจริงได้เลย

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ ครูเอาใจช่วยนะคะ ท่ีหนูจะดูแลตัวเองขณะท้องไปด้วย

ผู้ให้การปรึกษา และก็วางแผนเร่ืองการเรียนต่อให้จบ ม.6 ไปด้วย เพ่ือจะได้

เข้ามหาวิทยาลัยตามท่ีหนูต้ังใจ และเม่ือนึกท้อระหว่างทาง

เม่ือใด ให้นึกถึงเป้าหมายชีวิตของหนูไว้นะคะ

นักเรียน ค่ะครู.......... ขอบคุณมากนะคะ

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 93


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทตี่ ้งั ครรภ์

(5) ขั้นยุติการให้การปรึกษา

การใหก้ ารปรกึ ษาน้นั เปน็ การส่อื สารระหว่าง พัฒนาจนเกิดความม่ันใจท่ีจะเลือกและตัดสินใจ
บุคคล 2 คน ท่ีมเี ปา้ หมายเพ่อื การชว่ ยเหลือแบง่ เบา ปฏิบัติได้อย่างชัดเจน ความวุ่นวายภายในใจลดลง
ภาระหรอื แรงกดดันภายในจิตใจ รวมท้ังชว่ ยเพมิ่ เติม หรือหมดไป การเห็นคุณค่าในตนเองมากข้นึ เป็นต้น
หรอื สรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพของบุคคล ดังน้นั เม่อื บุคคล
ทง้ั 2คนบรรลเุ ปา้ หมายการใหก้ ารปรกึ ษากจ็ ะสน้ิ สดุ ลง ในการยุติการให้การปรึกษานอกจากจะ
ซ่งึ บางคร้งั การสนิ้ สดุ ของกระบวนการใหก้ ารปรกึ ษา ตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหาได้แล้ว ผู้รับการ
ก็อาจเกิดจากสาเหตุอ่ืน ๆ ได้ เช่น ผู้รับการปรึกษา ปรึกษาต้องพร้อมรับผิดชอบผลท่ีเกิดข้ึนจากการ
ตอ้ งการยตุ หิ รอื อาจตอ้ งการการชว่ ยเหลอื อ่นื เปน็ ตน้ ตั ด สิ น ใ จ ข อ ง ต น แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ว่ า ห า ก ไ ม่ เ ป็ น ไ ป ดั ง
ท่ีคิดไว้ย่อมสามารถเปล่ียนแปลงได้เสมอเพราะ
การให้การปรึกษาอาจด�ำเนินและยุติได้ ในอนาคตอาจมปี จั จยั หรอื อปุ สรรคใดๆเกดิ ขน้ึ มาอกี ได้
ภ า ย ใ น ค ร้ั ง เ ดี ย ว ห รื อ อ า จ จ ะ ด� ำ เ นิ น ไ ป จ น ถึ ง แตถ่ า้ ผรู้ บั การปรกึ ษามเี ปา้ หมายทม่ี น่ั คงในการแกป้ ญั หา
ช่วงระยะเวลาหน่ึง จนมีสัญญาณท่ีแสดงว่าการให้ แ ล ะ มี ค� ำ ม่ั น สั ญ ญ า กั บ ต น เ อ ง ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ
การปรกึ ษามาถึงจุดท่ีสามารถยุติการใหก้ ารปรกึ ษาได้ ตนตามแนวทางท่ีเลือก ก็จะท�ำให้ผู้รับการปรึกษา
เช่น ผู้รับการปรึกษาค้นหาวิธีการแก้ปัญหาและ พร้อมท่ีจะรับกับเหตุการณ์ในอนาคต

ตัวอย่างการยุติระหว่างการให้การปรึกษา

การสื่อสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน ครูขา....หนยู งั ไมอ่ ยากใหใ้ ครรูเ้ ร่อื งของหนคู ะ่ ตอนนม้ี แี ตแ่ ปม๋
เ พ่ื อ น ส นิ ท ค น เ ดี ย ว ใ น ห้ อ ง ท่ี รู้ แ ล ะ แ ป๋ ม สั ญ ญ า ว่ า
จะไมเ่ ล่าใหใ้ ครฟงั หนขู อคิดก่อนได้ไหมคะ และหนกู ็อยากคยุ
กับแฟนก่อนว่า เขาจะท�ำอย่างไร

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ วันน้ีเราคุยกันมาพอสมควรแล้วนะคะ สรุปว่า หนูยังไม่ยินดี

ผู้ให้การปรึกษา ให้ครูแจ้งพ่อแม่และโรงเรียนนะคะ หนูขอเวลาไปคิดก่อน

และระหว่างน้ีหนูจะขอคุยกับแฟนก่อนว่าจะท�ำอย่างไร

ถ้ า ง้ั น ค รู ข อ นั ด ห ม า ย คุ ย กั บ ห นู ค ร้ั ง ต่ อ ไ ป ใ น วั น พุ ธ

ตอนเลิกเรียนดีไหมคะ หนูจะได้มีเวลา คิดทบทวน 3 วัน

และเหตุการณ์น้ีก็จะได้ไม่ยืดเย้ือเกินไป

94 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


แนวทางการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนท่ตี ั้งครรภ์

ตัวอย่างการยุติเม่ือสิ้นสุดการให้การปรึกษา

การส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ด

นักเรียน ครูคะหนูตัดสินใจแล้วค่ะว่าจะเอาลูกไว้เพราะพ่อแม่หนูยินดี
เล้ียงให้ และพ่อแม่แฟนก็เห็นดีด้วย ส่วนตัวหนูกับแฟนเรา
จะเรียนต่อกันค่ะ แฟนหนูเขาจะเรียนสายอาชีพ สาขา
ชา่ งซอ่ มเคร่อื งยนต์ เขาอยากออกมาท�ำงานเรว็ สว่ นหนตู อนน้ี
ขอแค่เรียนให้จบ ม.3 ก่อน แล้วค่อยคิด เพราะหนูคง
ต้ อ ง ช่ ว ย แ ม่ ดู แ ล ลู ก แ ต่ ต อ น ท่ี ห นู ค ล อ ด จ ะ ต ร ง กั บ
ช่วงสอบปลายภาค หนูจะท�ำยังไงคะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ เอาละ จากท่ีเราคุยกันมาหลายคร้ังแล้ว จนหนูพบทางเลือก

ผู้ให้การปรึกษา นะคะ หนูตัดสินใจท่ีจะเรียนต่อจนจบ ม.3 แล้วค่อยคิดต่อ

วา่ จะเรยี นอะไรหรอื หยดุ เรยี น สว่ นตอนนห้ี นจู ะเรยี นออนไลน์

ไปจนถึงช่วงสอบปลายภาคนะคะ ซ่ึงครูได้ประสานกับ

ทางโรงเรียนและคุณครูในรายวิชาต่าง ๆ ให้แล้ว

ส่วนตอนสอบหนูคงต้องรอให้คลอดเรียบร้อยแล้วค่อยมาขอ

สอบในภายหลัง ซ่งึ ก็ยงั มีเวลาในชว่ งปดิ เทอม สำ� หรบั เทอม 2

เราคอ่ ยมาดคู วามพรอ้ มของหนกู นั อกี ทดี ไี หมคะวา่ จะมาเรยี น

ด้วยวิธีไหน ดังน้ัน ตอนน้ีหนูพยายามดูแลสุขภาพนะคะ

เพ่ือตัวหนูเองและลูก ส่วนเร่ืองเรียนเด๋ียวครูขอเวลาประชุม

ครูผู้สอนเพ่ือให้ได้รายละเอียดท่ีชัดเจนอีกครั้ง น่าจะเป็น

วันพรุ่งน้ี แล้วครูจะนัดหมายหนูเพ่ือพาหนูไปพบคุณครู

ในทุกรายวิชานะคะ

นักเรียน ครูคะหนยู งั กงั วลวา่ ถา้ คณุ ครูคนอ่นื เขา้ ไมย่ อมชว่ ยจะท�ำไงคะ

ครูผใู้ หก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์/ หนูกลัวนะคะครูเข้าใจค่ะ แต่เร่ืองน้ีมันยังไม่เกิดนะคะ

ผู้ให้การปรึกษา อยา่ เพงิ่ กลัวคะ่ เทา่ ท่ีเราไดพ้ ดู คยุ กันมาหนกู ็จะเหน็ วา่ ทกุ ๆ คน

พร้อมให้โอกาสหนนู ะคะ แต่ถ้ามันเปน็ อยา่ งท่ีหนกู ลัวจรงิ ๆ

เราก็ต้องยอมรับมันนะแล้วมาหาทางแก้กันต่อไป ครูยัง

ไม่ท้ิงหนูนะคะ เราจะเดินไปด้วยกันนะ เพราะถ้าหนูเลือก

ทางน้ีแล้ว การเรียนต่อด้วย ท้องด้วย เล้ียงลูกด้วย

ย่อมต้องเจออุปสรรคอีกมาก หนูพร้อมจะเจอใช่ไหมคะ

นักเรียน ค่ะครู อย่าท้ิงหนูนะคะ หนูจะพยายามอดทนและผ่านมัน
ไปให้ได้ เพราะหนูยังเป็นความหวังของพ่อกับแม่
หนูจะอดทนเพ่ืออนาคตของหนูค่ะ

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ 95


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนที่ต้งั ครรภ์

3. ครูผู้ให้การดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์/
ผู้ให้การปรึกษา กับการประสานงาน

การปรกึ ษาในกรณนี กั เรยี นตง้ั ครรภเ์ ปน็ การชว่ ยใหผ้ รู้ บั การปรกึ ษา
ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ต น เ อ ง แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ปั ญ ห า ท่ี เ กิ ด ข้ึ น จ น ส า ม า ร ถ ตั ด สิ น ใ จ
หาทางออกได้บนข้อมูลท่ีถูกต้องและความพร้อมของตนเอง อีกท้ัง
สามารถปรับเปล่ียนความคิด ทัศนคติท่ีมีต่อตนเองให้เป็นไปในทิศทาง
ท่ีดี ไม่ต�ำหนิ รู้สึกผิดและโทษตัวเอง จนสามารถประพฤติปฏิบัติ
ในแนวทางท่ีเป็นประโยชน์กับตนเองได้ แต่การจัดการกับปัญหา
การตง้ั ครรภข์ องนกั เรยี นเปน็ สถานการณท์ ซ่ี บั ซอ้ นไมไ่ ดต้ ง้ั อยบู่ นพ้นื ฐาน
เฉพาะตัวนักเรียนท่ีมารับการปรึกษาเพียงคนเดียว แต่ยังรวมไปถึง
บุคคลในครอบครัว เพ่ือน เพ่ือนบ้าน คนรู้จัก ครู ผู้บริหารในโรงเรียน
และทีมสหวิชาชีพด้วย การตัดสินใจของนักเรียนจึงมีการเก่ียวโยง
กับบุคคลดังกล่าวข้างต้นด้วย ดังน้ัน งานส�ำคัญประการหน่ึงของครูผู้ให้
การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ้งั ครรภ/์ ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา คอื การประสานกบั
บุ ค ค ล ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง โ ด ย ต้ อ ง ผ่ า น ก า ร รั บ รู้ แ ล ะ เ ห็ น ช อ บ จ า ก นั ก เ รี ย น
ผู้รับการปรึกษาก่อน บทบาทการเป็นผู้ประสานของครูผู้ให้การดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรึกษาต้องวางตัวเป็นกลาง
ไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง เอ้ือให้แต่ละฝ่ายรับรู้เร่ืองราวให้กระจ่างชัด
ตามความเปน็ จรงิ เขา้ ใจความตอ้ งการของแตล่ ะฝา่ ยและใหโ้ อกาสทกุ ฝา่ ย
แสดงออกท้ังความคิดและความรู้สึกได้อย่างอิสระ แต่ทุกอย่างควรยุติ
ท่ีข้อเท็จจริงท่ีเป็นไปได้ ไม่ใช้อารมณ์ในการแก้ปัญหา

96 บ ทที่ 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นที่ตั้งครรภ์

รูปแบบการประสานความช่วยเหลือนักเรียนท่ีตั้งครรภ์ มีดังนี้

3.1 การประสานกับครอบครวั

1. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้สมาชิกในครอบครวั รับรูป้ ัญหาท่ีเกิดขึ้นและจัดการ
กับความรู้สึกและอารมณ์ด้านลบท่ีเกิดข้ึน

2. เพ่ือให้สมาชิกในครอบครัวได้พูดคุยกันบนข้อเท็จจริงและ
เหตุผลมากกว่าการใช้อารมณ์ ยอมรับฟังซ่ึงกันและกัน

3. เพ่ือให้สมาชิกในครอบครัวได้ช่วยเหลือกัน เป็นส่วนหน่ึง
ในการร่วมกันหาทางออกในการจัดการกับปัญหา

4. เพ่ือให้ได้ข้อสรุปและแนวทางแก้ปัญหาร่วมกันของคน
ในครอบครัวท่ีเป็นไปได้

2. บทบาทของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ 1. เป็นส่ือกลางในการประสานระหว่างนักเรียนกับครอบครัว
นักเรยี นท่ีต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรกึ ษา 2. จั ดบรรยากาศให้คนในครอบครัวได้ มีการสนทนา

แลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นปัญหา
3. เอ้ืออ�ำนวยให้คนในครอบครัวส่ือสารความคิดความรู้สึก

ของตน และรับฟังซ่ึงกันและกัน ยอมรับปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ก้าวผ่านอารมณ์และความรู้สึกทางลบได้ จนสามารถ
ใช้เหตุผลและข้อเท็จจริงมาจัดการปัญหาและหาทางออก
ร่วมกัน โดยใช้ทักษะและกระบวนการการปรึกษา

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์ 97


แนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนทตี่ ง้ั ครรภ์

ช่วงการส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ดที่ใช้
ช่วงเรมิ่ ต้น
การประสาน ตัวอย่างค�ำพู ด

ช่วงรว่ มกันหาทางออก > “ครูขอคุยกับคุณแม่เร่ืองของน้อง..................... คุณแม่พอจะทราบ
และความช่วยเหลือ เร่ืองราวของน้องหรือเปล่าคะ”

ช่วงท้ายของ > “ช่วงน้ีน้อง........................... อยู่ท่ีโรงเรียนดูเงียบ ๆ คุณพ่อได้สังเกตน้อง
การประสาน ตอนอยู่ท่ีบ้านเป็นอย่างไรบ้าง”

> “ครูได้คุยกับน้อง.........................ท่ีโรงเรียน น้องเค้าเห็นว่าคุณพ่อ
คณุ แมม่ คี วามสำ� คญั กบั ชวี ติ ของเคา้ มาก ครูเลยขอพบคณุ พอ่ คณุ แมน่ ะคะ”

> “ในเร่ืองท่ีเกิดข้ึนครูได้คุยกับน้อง.................... ครูพบว่าลูกของคุณแม่
มีเหตุผลท่ีมีความชัดเจน อยากให้คุณแม่ได้ฟังน้อง............ หน่อยค่ะ”

>“ยงั ไง ๆ นอ้ ง..................... ก็เปน็ ลกู สาวของคณุ พอ่ ครูคิดว่าการหาทางออก
เก่ียวกับเร่ืองน้ีน่าจะได้มีการมาพูดคุยร่วมกัน”

> “คุณแม่มีความคิดเห็นอย่างไรกับเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนกับลูกของคุณแม่”
> “ครูรับรู้ว่าคุณพ่อก�ำลังโกรธมาก ครูเข้าใจและเห็นใจมาก ๆ ค่ะ”

> “ในสถานการณข์ ณะน้ีเปน็ สิง่ ท่ีเกิดข้ึนแล้ว เรามารว่ มกันหารอื หาทางออก
ท่ีเหมาะท่ีควร คุณพ่อคิดยังไงคะ”

> “แนวทางท่ีคุณแม่น�ำเสนอน้ี คุณแม่ลองมาฟังความเห็นของน้อง............
................ ว่าเขาคิดอย่างไร”

> “จากการท่ีได้รับฟังความคิดเห็นของแม่ หนูรู้สึกอย่างไรบ้าง”

> “คุณพ่อคุณแม่ได้ฟังน้อง............... พูด อยากจะบอกอะไรบ้างคะ”

> “เม่ือแม่รู้เร่ือง และโกรธโมโหหนูมาก หนูจะท�ำยังไงได้บ้าง”

> “ความคิดเห็นของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน อยากให้หนูรับฟังคุณพ่อ
ชัด ๆ นะคะ ครูรับรู้ว่าท่านพูดด้วยความรักและเป็นห่วงมาก”

> “วันน้ีได้ข้อสรุปว่าน้อง................จะขอลาพักการศึกษาจนกว่าจะคลอด
แล้วคุณพ่อคุณแม่จะดูแล ส่วนทางครูก็จะช่วยด�ำเนินการท่ีเก่ียวข้อง
กับทางโรงเรียน”

> “ครูรู้สึกขอบคุณท่ีได้มาคุยกันวันน้ีท�ำให้ทุกคนได้มองเห็นแนวทางแก้ไข
ปัญหา และได้หาทางออกร่วมกัน”

> “ครูยินดีนะคะถ้าในระหว่างน้ีจะให้ครูมาคุยหรือประสานกับใครบ้าง
เพ่ือจะให้แนวทางท่ีตัดสินใจได้บรรลุวัตถุประสงค์”

98 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


แนวทางการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนทตี่ ัง้ ครรภ์

3.2 การประสานกับผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรในโรงเรยี นทเี่ กยี่ วข้อง

1. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ท�ำความเขา้ ใจกับผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง
ในการหาแนวทางช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์

2. เพ่ือให้เกิ ดการเรียนรู้ร่วมกั นของบุ คลากรทุกฝ่าย
ในโรงเรียนและมีแนวปฏิบัติในการให้การดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนท่ีต้ังครรภ์ให้เหมาะตามแต่ละกรณี

3. เพ่ือให้ทุกฝ่ายในโรงเรียนมีส่วนในการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี นท้ังด้านการเรยี น สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิต เศรษฐกิจ
การจัดการด้านกายภาพท่ีเอ้ือต่อการต้ังครรภ์ ฯลฯ

2. บทบาทของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ 1 . เ ป็ น ส่ื อ ก ล า ง ป ร ะ ส า น ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ พ่ื อ ร่ ว ม กั น ใ ห้
นักเรยี นที่ต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรกึ ษา ความช่วยเหลือแก่นักเรียนท่ีต้ังครรภ์กับผู้บริหาร ครู
และบุคลากรในโรงเรียนท่ีเก่ียวข้อง

2. น�ำเสนอข้อมูล สถานการณ์การต้ังครรภ์ของโรงเรียนและ
ร่วมกันหาแนวทางในการป้องกันปัญหา

3. จัดบรรยากาศให้มีการสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็น
เก่ียวกับประเด็นปัญหา และร่วมมือกันช่วยเหลือแก้ไข
ปัญหา

4. แจ้งให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องรับรู้ถึง
ความส�ำเร็จในการร่วมมือกันช่วยเหลือนักเรียนเม่ือสิ้นสุด
การดูแลช่วยเหลือ

ช่วงการส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ดที่ใช้

ช่วงเรม่ิ ต้น ตัวอย่างค�ำพู ด
การประสาน
> “ตอนน้ีในโรงเรียนของเรามีเด็กท่ีต้ังครรภ์ ท่านผู้อ�ำนวยการมีมุมมอง
อย่างไรบ้างคะ”

> “เราจะท�ำความเข้าใจกับครูในเร่ืองการต้ังครรภ์ของเด็กอย่างไร”
> “โรงเรียนของเราจะมีแนวทางหรือวิธีการอย่างไรบ้างในการรับมือ

กับปัญหาน้ี”

บทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ต้ังครรภ์ 99


แนวทางการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นที่ตัง้ ครรภ์

ช่วงการส่ือสาร ตัวอย่างค�ำพู ดที่ใช้
ช่วงรว่ มกันหาทางออก
และความช่วยเหลือ ตัวอย่างค�ำพู ด

ช่วงท้ายของ > “ครูมีความคิดเห็นอย่างไรท่ีลูกศิษย์เราต้ังครรภ์”
การประสาน >“เม่ือลูกศิษย์ในห้องต้ังครรภ์ครูคิดว่าเราท่ีเป็นครูจะช่วยอะไรเขาได้บ้าง”
>“เด็กขอเรียนท่ีบ้านและท�ำรายงานส่งจนกว่าเขาจะคลอดในรายวิชา

ของครูจะด�ำเนินอย่างไรได้บ้าง”
> “นักเรียนท่ีห้องของคุณครู ได้คุยกับเด็กและพ่อแม่ ตกลงเขาจะลาออก

นะคะ และย้ายไปอยู่ท่ีต่างจังหวัดค่ะ”
> “ลูกศิษย์ท่ีเราได้ช่วยกัน เขาขอเรียนต่อค่ะ แต่เรียนท่ีบ้าน ตอนน้ี

ได้ประสานผู้สอนเรียบร้อย พ่อแม่เขาก็เห็นดีด้วยค่ะ”
> “ลูกศิษย์ท่ีเราได้ช่วยกันดูแล ตอนน้ีแจ่มใสข้ึน เขาจะกลับมาเรียน เขาได้

ลูกชายค่ะ ตอนน้ีให้คุณยายเล้ียง”

3.3 การประสานกับบุคคล/ผเู้ ชย่ี วชาญ จากหน่วยงาน/หน่วยบรกิ ารภายนอกเพ่อื การสง่ ต่อ

1. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้นักเรียนต้ังครรภ์ได้รับข้อมูลท่ีถูกต้องและได้รับ
ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ป ล อ ด ภั ย จ า ก ผู้ ท่ี
มีความรู้ มีทักษะ เช่ียวชาญเฉพาะทาง

2. เพ่ือให้นักเรียนท่ีต้ังครรภ์รับรู้และเช่ือม่ันว่ามีบุคคลและ
ผู้เช่ียวชาญ จากหน่วยงานและหน่วยบริการต่าง ๆ
ท่ีพร้อมจะให้การดูแลช่วยเหลือ

2. บทบาทของครูผู้ให้การดูแลช่วยเหลือ 1. เป็นส่ือกลางประสานงานระหว่างนักเรียน ผู้ปกครอง

นักเรยี นที่ต้ังครรภ์/ผู้ให้การปรกึ ษา กบั บคุ คล/ผเู้ ชย่ี วชาญจากหนว่ ยงาน/หนว่ ยบรกิ ารภายนอก

ท่ีเก่ียวขอ้ ง ในการใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่ีต้ังครรภ์

2. ประสานขอข้อมูลเพ่ิมเติม ขอความช่วยเหลือและส่งต่อ

กรณีท่ีมีความจ�ำเป็น

3. อ�ำนวยความสะดวกให้นักเรียนไปพบบุคคล/ผู้เช่ียวชาญ

จ า ก ห น่ ว ย ง า น / ห น่ ว ย บ ริ ก า ร ภ า ย น อ ก ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง

ด้วยความสบายใจ

4. แจ้งผลในการร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือนักเรียนและ

แสดงความขอบคุณต่อบุคคลและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

100 บ ทท่ี 4 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีต้ังครรภ์


Click to View FlipBook Version