The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-05-31 00:22:41

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Keywords: Blockchain

เงนิ ดิจทิ ัล (Cryptocurrency)

สกลุ เงินดจิ ิทลั ซ่ึงมมี ลู คา่ เหมอื นกบั ธนบตั รในสกลุ เงินประเทศตา่ ง ๆ และ
ถูกใช้เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนแบบดิจิทัล โดยการแลกเปลี่ยนรูปแบบ
ดจิ ิทลั ไดเ้ ร่มิ ขนึ้ เมอ่ื ปี ค.ศ. 2009 ซึง่ Blockchain Application ในกลมุ่ เงนิ
ดิจิทัลได้ถูกพัฒนาข้ึนเพื่อใช้ในธุรกิจการให้บรกิ ารทางการเงินท้ังการโอนและ
การจา่ ยเงนิ ยกตวั อย่างเชน่ Bitcoin และ Ripple

บรกิ ารพิสูจนท์ ราบ (Proof of Services)

การบรกิ ารพสิ จู นท์ ราบ คอื การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ในการ
บรรจขุ ้อมูลแบบอตั โนมตั ิ ยกตวั อย่างเชน่ การเกบ็ ข้อมลู เอกลกั ษณ์ (Identity)
กรรมสิทธ์ิ (Ownership) และสมาชิกภาพ (Membership) ซงึ่ ส่วนใหญ่
Application ดังกล่าวมักจะถูกน�ำไปประยุกต์ใช้โดยหน่วยงานภาครัฐ
ซ่งึ ทำ� หนา้ ทเ่ี กยี่ วกบั การบริการประชาชน ยกตวั อยา่ งเชน่ MIT Digital Currency
Initiative ได้ร่วมมือกับหลายภาคส่วนรวมไปถึงภาครัฐเพ่ือสร้างโครงการ
น�ำร่องเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยี Blockchain ในการออกใบสูติบัตร
ใบมรณะบัตร ใบอนุญาตประกอบธุรกิจ ชือ่ สถานประกอบการ รวมไปถึง
วุฒิการศึกษา ซง่ึ ในหลาย ๆ โครงการได้มีการพัฒนาจนเป็นรูปธรรม และ
ได้มีการน�ำไปใช้จริงแล้ว ยกตัวอย่างเช่น บริการยืนยันเอกลักษณ์ (Identity
Based Service) โดย BitNation มีจุดมุ่งหมายเพ่ือกระจายการอ�ำนาจ
การก�ำกับดูแลในระดับโลก ได้ท�ำการพัฒนา A World Citizenship ID
บน Blockchain Protocol (Umeh, 2016)

บทน�ำ 51

นอกจากน้ียังมี Proof of Service อีกประเภทหน่ึงหรือที่รู้จักกันในช่ือ
Proof of Existence คือการพิสูจน์การมีอยู่จรงิ ของเอกสารต่างๆ โดยหลักการ
คอื การเกบ็ ขอ้ มลู โดยสรปุ ของเอกสารทส่ี ามารถยนื ยนั การมอี ยจู่ รงิ ของขอ้ มลู ภายใน
เอกสารตน้ ฉบับได้ หรือที่เรยี กว่า Cryptographic Digest รวมไปถึงเวลาท่ีจดั ส่ง
เอกสารไปยังผู้รับซง่ึ ข้อมลู ดงั กลา่ วจะถูกจัดเกบ็ ลงใน Blockchain ดังนน้ั ผู้ใชง้ าน
มั่นใจได้ว่าเอกสารท่ีได้รับน้ันเป็นเอกสารท่ีถูกต้องและเชอ่ื ถือได้ อีกท้ังไม่จ�ำเป็น
ต้องกังวลเก่ยี วกบั ความเปน็ สว่ นตัวเนอื่ งจากข้อมูลทถ่ี ูกจดั เก็บลงใน Blockchain
เป็นเพียงข้อมูลโดยสรุปของเอกสารท่ีสามารถยืนยันการมีอยู่จริงของข้อมูลภายใน
เอกสารตน้ ฉบับได้ และเวลาท่ีจดั สง่ เอกสารไปยงั ผรู้ ับเท่านน้ั ไมใ่ ช่เอกสารต้นฉบับ

52 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

สญั ญาอัจฉรยิ ะ (Smart Contract)

สญั ญาอจั ฉริยะ คอื โปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ส่ี ามารถดำ� เนนิ การตามขอ้ ตกลง
โดยอัตโนมัติทันทีที่เกิดเหตุการณ์ตามเงื่อนไขในสัญญาซ่งึ ได้มีการระบุถึง
เงอื่ นไข หรือเหตกุ ารณด์ งั กล่าวไว้ล่วงหน้าแลว้ โดยไมต่ ้องมีคนกลาง นนั่ คือ
หลกั การสำ� คญั ของสญั ญาอจั ฉริยะ ซึ่งไดถ้ กู คดิ คน้ ขนึ้ ในปี 1994 โดย Nick Szabo
(Crosby, Pattanayak, Verma, & Kalyanaraman, 2016) ยกตัวอย่างเช่น
การโอนเงนิ จ่ายค่าลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์อัตโนมัติ ทันทีที่จ�ำนวนผู้ใช้ถึงระดับท่ี
ตกลงกบั เจา้ ของลขิ สทิ ธิ์ซอฟตแ์ วรไ์ วล้ ว่ งหนา้ การโอนเงนิ จา่ ยคา่ โฆษณาบนเวบ็ ไซต์
โดยอัตโนมัติ ทันทีที่จ�ำนวนคนดูถึงระดับที่ตกลงกับเจ้าของเว็บไว้ล่วงหน้า
การโอนคูปองส่วนลดราคาสินค้ามาให้ลูกค้าอัตโนมัติ ทันทีที่ถึงวันที่ใช้คูปอง
น้ันได้ หรอื แม้แต่การโอนเงนิ จ่ายคา่ บทความ ทันทแี ละทุกคร้งั ท่จี �ำนวนผอู้ า่ น
บทความถึงระดับที่ตกลงกับนักเขยี นไว้ล่วงหน้า ตราบใดที่คู่สัญญาทุกฝ่าย
ตกลงกนั ได้ เมอ่ื นนั้ สญั ญาอจั ฉรยิ ะ หรือ Smart Contract กจ็ ะถกู โปรแกรมและ
บรหิ ารจัดการอัตโนมัตดิ ้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์บนเทคโนโลยี Blockchain
ซง่ึ ในปัจจบุ นั บริษัท Ethereum และ Codius ได้เปิดใช้งาน Smart Contract
บนพื้นฐานของเทคโนโลยี Blockchain โดย The Ethereum Project
เป็นหนึ่งตัวอย่างของการท�ำ Smart Contract เต็มรูปแบบซึง่ อยู่ในรูปแบบ
ของ Public Blockchain สว่ นตวั อย่างอื่น ๆ นั้นเป็นการท�ำ Smart Contract
ในรปู แบบของ Private หรือ Permissioned Blockchain ซง่ึ จะทำ� การตดิ ตอ่
เฉพาะ Node ทรี่ จู้ กั และเชื่อถอื ไดเ้ ทา่ นน้ั เพอื่ เพมิ่ ความปลอดภยั การนำ� สญั ญา
อจั ฉริยะ หรือ Smart Contract มาใช้งานน้นั สามารถช่วยแกป้ ัญหาความไม่ไว้
วางใจกนั ระหวา่ งคสู่ ญั ญา การฉอ้ โกง และการบดิ เบอื นสญั ญา อกี ทงั้ ยงั สามารถ
ช่วยแก้ปัญหาการตีความเน้ือหาในสัญญา ซึง่ มักจะเป็นข้อพิพาทระหว่าง
คู่สญั ญาเสมอ ๆ เนือ่ งจากคสู่ ญั ญาทัง้ สองฝ่ายต่างตีความสญั ญาคนละแบบ

บทน�ำ 53

ทั้งน้ีในการประยุกต์ใช้งาน Smart Contract ร่วมกับกระบวนการต่าง ๆ
ทเี่ กยี่ วขอ้ ง จำ� เปน็ ตอ้ งทราบจดุ เดน่ และขอ้ จำ� กดั ของ Smart Contract ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
เพื่อให้สามารถน�ำ Smart Contract ไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม โดยจุดเด่น
ของ Smart Contract ประกอบไปดว้ ย

ความปลอดภัย (Security) เน่ืองจาก Smart Contract ทถี่ ูกพัฒนา
โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain น้ันจะถูกกระจายไปยังสมาชิกอ่ืน ๆ
ที่อย่ใู นเครอื ขา่ ย จึงม่นั ใจไดว้ า่ Smart Contract ดงั กลา่ วจะไม่สญู หาย
หรือถกู เปลยี่ นแปลงเงือ่ นไขการทำ� งานโดยไม่ได้รบั อนุญาต

ความเป็นอัตโนมัติ (Automation) เนื่องจาก Smart Contract
จะด�ำเนินการตามข้อตกลงโดยอัตโนมัติทันทีเม่ือเกิดเหตุการณ์
ตามเงือ่ นไขในสัญญา ซึ่งได้มีการระบุไว้ล่วงหน้าแล้ว โดยไม่ต้อง
มคี นกลางมาเกยี่ วข้อง

ความเป็นมาตรฐาน (Standardization) เนื่องจาก การน�ำ Smart
Contract มาใชง้ านในระบบใด ๆ นน้ั หมายความว่าระบบนนั้ จะตอ้ ง
ทำ� งานภายใตเ้ งื่อนไข หรอื ขอ้ ตกลงตา่ งทเ่ี ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ทงั้ ระบบ
ตามท่ีได้กำ� หนดไว้ใน Smart Contract

54 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ดังนน้ั จากจุดเด่นของ Smart Contract ดงั ไดก้ ล่าวมาแล้วขา้ งตน้ ลักษณะงาน
ท่เี หมาะสมสำ� หรบั การนำ� Smart Contract ไปประยุกต์ใช้ ประกอบไปด้วย

งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู ทไี่ มต่ อ้ งการใหแ้ กไ้ ขได้ หรอื สามารเปลยี่ นแปลง
เพม่ิ เตมิ ได้จากผู้ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตเท่าน้นั ยกตัวอยา่ งเช่น การเกบ็ ข้อมูล
ส�ำหรับใชย้ ืนยนั บคุ คล การเก็บขอ้ มูลสินทรัพยท์ ่มี มี ูลคา่ ต่าง ๆ

บทน�ำ 55

งานท่ีต้องการให้ธุรกรรมสามารถด�ำเนินการได้อย่างอัตโนมัติตาม
เงอื่ นไขท่ีก�ำหนด โดยปราศจากตัวกลางในการควบคุม หรอื ก�ำหนด
การตัดสินใจ ยกตวั อย่างเช่น งานเกย่ี วกบั การแลกเปลยี่ นสนิ ทรัพย์

งานท่ีจ�ำเป็นต้องเก็บประวัติการท�ำธุรกรรมท่ีเก่ียวข้อง เพื่อใช้ใน
การสืบข้อมูลย้อนกลับ หรือตรวจสอบความถูกต้อง ยกตัวอย่างเช่น
งานเก็บประวัติการรักษาทางการแพทย์ งานเก็บประวัติข้อมูล
การถ่ายโอนสินทรัพย์ทีม่ มี ลู ค่า

งานทตี่ อ้ งการลดคา่ ใชจ้ า่ ยกรณมี ตี วั กลางรว่ มในการบริหารจดั การระบบ
ซ่ึงสามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั หลายหนว่ ยงานทม่ี กี ารใชบ้ คุ ลากร หรือสาขา
ของสำ� นกั งานในการดำ� เนินงานเป็นจ�ำนวนมาก

ถงึ แม้SmartContractจะมจี ดุ เดน่
และความเหมาะสมกับการน�ำไปใช้
ในงานประเภทตา่ ง ๆ ดงั ได้กลา่ วมา
แล้วข้างต้น แต่อย่างไรก็ดีหากมี
การนำ� Smart Contract ไปใชง้ าน
กย็ งั จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งพจิ ารณาขอ้ จำ� กดั
ดงั ต่อไปนรี้ ว่ มดว้ ย

ความผิดพลาดท่ีเกิดจากมนุษย์ (Human Error) เน่ืองจากการสร้าง
Smart Contract คอื การเขยี นโปรแกรม และกำ� หนดขนั้ ตอนการทำ� งาน
ดงั นนั้ หากมกี ารทดสอบไมเ่ พยี งพอ Smart Contract ทส่ี รา้ งข้ึนสามารถ
ท�ำงานผดิ พลาดได้ โดยความผิดพลาดทเี่ กิดข้ึนอาจสร้างความเสยี หาย
และสง่ ผลกระทบในวงกว้าง

56 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ความยากต่อการเปล่ียนแปลง (Immutable) หรือปรับปรุงเวอร์ชัน
ของ Smart Contract เนอื่ งจาก Smart Contract และขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ได้ท�ำการลงทะเบียน และมีการเชอื่ มต่อกับระบบที่เก่ียวข้องเรียบร้อย
แล้ว ดังนั้นหากมีการเปล่ียนแปลง Smart Contract ส่งผลให้ต้องมี
การเปลีย่ นแปลงการเชื่อมตอ่ กบั ระบบทเี่ กย่ี วขอ้ งใหมท่ ้งั หมด

ความเชื่อม่ัน (Confidence) เนื่องจากในปัจจุบันยังขาดการรับรอง
ด้านกฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการธุรกรรมผา่ น Smart Contract

คา่ ใชจ้ า่ ย (Cost) เนอ่ื งจากการพฒั นา Smart Contract และสว่ นเชื่อมตอ่
กับระบบอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง จ�ำเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีประสบการณ์สูง
ในการด�ำเนินการดังกล่าว ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการส�ำหรับ
กระบวนการดังกล่าวสูงขึ้นตามไปดว้ ย

บทนำ� 57

ระบบ/บรกิ ารอัตโนมตั ิ
(Decentralized Autonomous Systems/Services)

ระบบ/บรกิ ารอตั โนมตั ิ ถกู มองวา่ เปน็ พฒั นาการขน้ั สงู สดุ สำ� หรบั การพฒั นา
Application บนเทคโนโลยี Blockchain คือ การท�ำใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถ
คยุ กนั เองเพอื่ บริหารกจิ การไดเ้ องแบบอตั โนมตั ิ โดยไมต่ อ้ งอาศยั การตดั สนิ ใจ
ของมนุษย์ หรือไม่ต้องมีมนุษย์เข้ามาเก่ียวข้อง ท่ีเรยี กว่า “องค์กรอัตโนมัติ
กระจายศูนย์ (Decentralized Autonomous Organization: DAO)
โดยการแปลงสัญญาและข้อตกลงทั้งหมดขององค์กรหรืออะไรก็ตาม
ใหอ้ ยู่ในรปู แบบของ “สญั ญาอจั ฉริยะ (Smart Contracts)” แต่อยา่ งไรก็ดี
สัญญาอัจฉริยะ (Smart Contracts) ก็เป็นเพียงแค่ชุดคำ� สง่ั ทางคอมพวิ เตอร์
เทา่ นั้น ซึง่ ในทางปฏิบัติไม่ได้มีศกั ยภาพใด ๆ ทจ่ี ะท�ำหน้าท่ีในการผลิตสินค้า
เขยี นโคด้ หรอื กวาดถนน ดงั นนั้ การทอ่ี งคก์ รอตั โนมตั กิ ระจายศนู ย์ (Decentralized
Autonomous Organization: DAO) จะเกิดผลสัมฤทธ์ใิ นเชิงปฏิบัติได้น้ัน

58 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

จึงจ�ำเปน็ ตอ้ งมี “ผรู้ บั เหมา (Contractor)” โดย DAO จะเปิดให้ใครกไ็ ด้สง่
“ข้อเสนอ” (Proposal) ท่ีจะพัฒนา/ผลิตสินค้าหรอื บรกิ ารเข้ามา ข้อเสนอ
เหลา่ นี้ตอ้ งอยู่ในรปู ของสญั ญาอจั ฉริยะ (Smart Contract) แนบด้วยขอ้ เสนอ
ในรูปภาษาธรรมดา จากน้ันข้อเสนอต่าง ๆ จะถูกตรวจสอบว่าขัดแย้งกับ
ผลประโยชนข์ อง DAO หรอื ไม่ และมคี ุณสมบัติครบตามท่ี DAO ระบหุ รอื ไม่
จากนน้ั ขอ้ เสนอของผรู้ บั เหมาทผ่ี า่ นการพจิ ารณาจะถกู เตมิ เขา้ ไปในรายชือ่ บญั ชี
ทม่ี สี ทิ ธิไดร้ บั เงินจาก DAO ทงั้ นอ้ี งคก์ รอตั โนมตั กิ ระจายศนู ย์ (Decentralized
Autonomous Organization: DAO) เป็นส่ิงทส่ี ามารถเกดิ ข้ึนได้ โดยเฉพาะ
เมื่อเป็นการพัฒนาควบคู่กันไประหว่างเทคโนโลยี Blockchain และปัญญา
ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) (สฤณี อาชวานันทกุล (2016))

บทนำ� 59

02

การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยี
Blockchain

เพือ่ งานบริการภาครฐั
กรณีศกึ ษาตา่ งประเทศ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain
เพ่อื งานบรกิ ารภาครฐั กรณศี ึกษาตา่ งประเทศ

ปัจจุบันการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในงานบรกิ ารภาครัฐมีแนวโน้ม
สงู ขึน้ อยา่ งมาก โดยพบวา่ มมี ากกวา่ 30 ประเทศทว่ั โลก ยกตวั อยา่ งเชน่ เอสโตเนยี
แคนาดา อังกฤษ บราซลิ จีน และอินเดีย เรมิ่ มีการศึกษา ทดลอง รวมไปถึง
การพัฒนา จนน�ำไปสู่การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ส�ำหรับงานบริการ
ภาครฐั อยา่ งเปน็ รปู ธรรมดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 14 (โดยรายละเอยี ดการนำ� เทคโนโลยี
Blockchain มาใช้ในงานบริการภาครัฐแยกตามประเทศ ดังปรากฎในเอกสาร
แนบทา้ ยที่ 1)

เพ่อื งานกบารรปกิ ราะรยภุกาตคร์ใชัฐ้เทกครณโนีศโึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 61

62

Finland Estonia
Sweden

BLOCKCHAIN Canada Denmark Russia
for GOVERNMENT SERVICES Illinois
New York UK Luxembourg Ukrain UAE China
India
Delaware Switzerland Georgia Japan
South Korea
Nasdaq STuenneisgiaa,l Malta Dubai Hong Kong Taiwan
Singapore Cambodia
HHS, FDA Kenya, Nigeria,
Texas Uganda, Indonesia

Ghana Tanzania

Peru
Brazil

South Africa

Australia

Digital Currency/Payment Health Care
Land Registration Voting (Proxy)
Voting (Elections) Corporate Registration
Identity Management Taxation
Supply Chain Traceability Entitlements Management

รปู ภาพที่ 14: การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain สำ� หรับงานบริการภาครัฐของประเทศต่าง ๆ
ทมี่ า: ปรบั ปรุงจาก (Deloitte, 2018)

ซง่ึ มีความสอดคล้องกบั รายงานผลการส�ำรวจความคิดเหน็ ของ CIO ส่วนใหญ่
ดังแสดงในรูปภาพที่ 15 พบว่าความเห็นของ CIO ส่วนใหญ่ตระหนักและให้
ความส�ำคัญกับการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในงานบริการภาครัฐ
เปน็ อยา่ งมาก โดยพบวา่ 22% ของหนว่ ยงานภาครฐั ไดม้ กี ารวางแผนทง้ั ในระยะสนั้
และระยะยาวในการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้งาน รวมถึงมีความสนใจ
ในการน�ำเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้งาน และอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้
สงู ถึง 42%

On the Radar but No Action Plan
In Short-Term Planning/
Actively Experimenting
In Medium or Long-Term Planning
No Interest
Have Already interested and Deployed

รปู ภาพที่ 15: ผลการสำ� รวจความคาดหวงั ในการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในภาครฐั
ท่ีมา: ปรบั ปรงุ จาก (Holgate, 2018)

ท้ังนี้วัตถุประสงค์ของการน�ำ
เทคโนโลยี Blockchain มาใชส้ ำ� หรบั
งานบริการภาครัฐในต่างประเทศ
เป็นไปเพอ่ื วัตถปุ ระสงค์ดงั ตอ่ ไปน้ี

เพ่ืองานกบารรปิกราะรยภุกาตครใ์ ชฐั ้เทกครณโนีศโึกลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 63

วัตถปุ ระสงคข์ องการนำ� เทคโนโลยี Blockchain
มาใชส้ ำ� หรับงานบริการภาครัฐ

1

การให้ความชว่ ยเหลอื
และการบริการประชาชน
Social Welfare

ในการเขา้ ถงึ สวสั ดกิ าร และบริการตา่ ง ๆ การจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารภาครฐั ตา่ ง ๆ โดย
ของภาครฐั ดว้ ยคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี ประชาชนจะได้รับเงนิ โดยตรงผ่านทาง
Blockchain สามารถชว่ ยปรบั ปรงุ คณุ ภาพ Digital Wallet ของพวกเขา ซึ่งชว่ ยลด
ระบบการลงทะเบียน (Registration ค่าธรรมเนียมธนาคาร และลดโอกาส
System) เพอื่ แจกจา่ ยสวสั ดกิ ารภาครฐั ในการทจุ ริตจากหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ลงได้
ให้กับประชาชนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ท�ำให้เกิดความโปร่งใส และสามารถ
มากยงิ่ ข้ึน อกี ทง้ั การทำ� งานรว่ มกบั ระบบ ตรวจสอบการใช้จ่ายเงนิ ของภาครฐั ได้
พสิ ูจนต์ ัวตน (Identity Management)
บนเทคโนโลยี Blockchain สามารถชว่ ย
ลดขั้นตอน และการใช้ส�ำเนาเอกสารใน
การพิสูจน์ตัวตนได้ ท�ำให้ประชาชนได้
รบั ความสะดวกและรวดเรว็ ในการไดร้ บั
บริการ ยกตวั อย่างเชน่ ประเทศองั กฤษ
ไดน้ ำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ใน

64 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

2 การเพ่ิมประสิทธภิ าพ
ในการบรหิ ารงานภาครฐั
e-Government

การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ นการบริหารงานภาครัฐ หรอื
ทร่ี จู้ กั กนั ในช่ือระบบ e-Government ซึ่งเปน็ แนวคดิ ทรี่ ฐั บาลทว่ั โลก
ก�ำลังให้ความส�ำคัญอยู่ในขณะน้ี สามารถช่วยให้เกิดการพัฒนา
รฐั บาลดจิ ทิ ลั ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมตอ่ ไปในอนาคต ซงึ่ จะเปน็ ประโยชน์
ท้ังภาครัฐ และภาคประชาสังคม ในการชว่ ยลดตน้ ทุน ความยุ่งยาก
ซับซ้อน และช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้าถึง
บริการภาครัฐ อีกท้ังยังท�ำให้เกิดกระบวนการท่ีน่าเชอ่ื ถือส�ำหรับ
การแบ่งปันข้อมูลภาครัฐ รวมถึงการพัฒนากระบวนการตรวจสอบ
ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู ภาครฐั ทำ� ใหเ้ กดิ ความโปรง่ ใสตรวจสอบได้
ลดการทจุ ริตคอรร์ ัปชนั

เพอ่ื งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชัฐ้เทกครณโนศี โึกลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 65

ยกตวั อยา่ งเชน่ ประเทศเอสโตเนยี ซงึ่ โดยเร่มิ จากระบบภาษอี อนไลน์ (e-Tax
ไดช้ อื่ วา่ มรี ะบบ e-Government ทดี่ ที ส่ี ดุ Board) และระบบบรกิ ารจอดรถผ่าน
ในโลก อกี ทงั้ ยงั เปน็ ประเทศแรก ๆ ทไี่ ด้ ออนไลน์ (e-Parking) จนกระท่ังในปี
น�ำเทคโนโลยี Blockchain และบริการ ค.ศ. 2001 เรมิ่ ท�ำโครงการ X-Road
ดิจิทัลมาใช้ในการบรหิ ารประเทศแบบ หรือทางเชื่อมขอ้ มลู ภาครัฐ โดยทำ� การ
เตม็ ตวั เพอื่ นำ� ประเทศไปสสู่ ังคมดจิ ิทลั เชือ่ มข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ
โดยการบรกิ ารภาครัฐเกือบทุกประเภท ในประเทศเอสโตเนียเข้าด้วยกัน และ
อยบู่ นระบบออนไลนท์ มี่ ชี ่ือวา่ e-Estonia พฒั นาระบบดงั กลา่ วเรือ่ ยมาจน X-Road
ซ่งึ ประกอบไปด้วย e-Service ตา่ ง ๆ กลายเปน็ กระดูกสนั หลงั ส�ำคัญของงาน
มากมาย เชน่ e-Residency, e-Court, บริการภาครฐั ของประเทศเอสโตเนยี
Electronic Land Register, Electronic
Health Care Record และ i-Voting
ประเทศเอสโตเนยี มกี ารลงทนุ ดา้ นระบบ
e-Government มาต้ังแต่ปี ค.ศ. 2000

66 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

3 การสรา้ งความโปรง่ ใส
Transparency

ในยุคปัจจุบันรัฐบาลของหลายประเทศ ถกู นำ� มาใชเ้ พอื่ สรา้ งความโปรง่ ใสใหก้ บั
ท่ัวโลกก�ำลังก้าวเข้าสู่การเป็นรัฐบาล การด�ำเนินงานของภาครัฐอีกด้วย
ดิจทิ ัล โดยการน�ำเทคโนโลยีและ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศญี่ปุ่น ได้น�ำ
นวัตกรรมมาใช้ในการบรหิ ารประเทศ เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ส�ำหรับ
กนั มากขน้ึ จากการเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ ว การแลกเปลี่ยนข้อมูลในกระบวนงาน
น�ำมาซ่งึ ความคาดหวังจากประชาชน จัดซือ้ จัดจ้างของภาครัฐ เพ่ือสร้าง
ที่ตอ้ งการไดร้ ับการบริการทด่ี ขี น้ึ ทงั้ ใน ความปลอดภัยในการแชร์ข้อมูลภาครัฐ
เรอ่ื งของความสะดวกรวดเร็ว รวมถึง รวมถึงเป็นการสร้างความโปร่งใส
ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินภาครัฐได้
ดงั นนั้ นอกจากเทคโนโลยี Blockchain (Chase, 2017)
จะสามารถเขา้ มาชว่ ยในเรื่องของการเพม่ิ
ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารงานภาครัฐ
และการให้ความช่วยเหลือและการให้
บริการประชาชน ในการเขา้ ถงึ สวสั ดกิ าร
และบริการของภาครัฐดังได้กล่าวมา
แล้วนัน้ เทคโนโลยี Blockchain ยังได้

เพอ่ื งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชฐั เ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 67

4

การรักษาความมน่ั คง
National Security

ปัจจุบนั ภยั คุกคามทางไซเบอร์ ถือได้วา่
เป็นภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ที่สร้าง
ผลกระทบต่อความม่ันคงของประเทศ
และหน่ึงในเป้าหมายของการถูกโจมตี
กค็ อื ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานทสี่ ำ� คญั ของ
ประเทศ แตด่ ว้ ยคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี
Blockchain ที่ยากต่อการถูกโจมตโี ดย
แฮกเกอร์

68 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

จึงท�ำให้รัฐบาลหลายประเทศสนใจ
ท�ำการศึกษาการน�ำเทคโนโลยีดังกล่าว
มาใชเ้ พอื่ การรกั ษาความปลอดภยั ระบบ
โครงสรา้ งพืน้ ฐานที่สำ� คญั ของประเทศ

ยกตัวอย่างเช่น ประเทศอังกฤษได้มี สร้างความมั่นคงปลอดภัย และความ
การพฒั นาโครงการ Blockchain-Based นา่ เช่อื ถอื ให้กับระบบโครงสร้างพื้นฐาน
Cybersecurity Services for Critical ทส่ี ำ� คญั ของประเทศยกตวั อยา่ งเชน่ ระบบ
British โดยน�ำเทคโนโลยี Blockchain ปอ้ งกนั น้�ำท่วม ระบบควบคุมพลังงาน
มาใช้ในการป้องกันระบบโครงสร้าง นิวเคลียร์ รวมถึงระบบการจ่ายกระแส
พนื้ ฐานสำ� คญั ของประเทศ เพอื่ ประโยชน์ ไฟฟา้ เป็นตน้
ใ น ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ช า ติ

เพอื่ งานกบารรปิกราะรยภกุาตคร์ใชฐั ้เทกครณโนศี โึกลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 69

ประโยชนข์ องการน�ำเทคโนโลยี Blockchain
มาใช้ในงานบรกิ ารภาครฐั

ประโยชนข์ องการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้
ในงานบริการภาครฐั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เพอ่ื การจดั เกบ็
ขอ้ มลู นน้ั สามารถสรา้ ง

1

ความโปรง่ ใส
Transparency

โดยการน�ำเทคโนโลยี Blockchain กม็ กี ฎหมายในทำ� นองนด้ี ว้ ยเช่นกนั แต่
มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลภาครัฐ เป็น อยา่ งไรกด็ ี ถงึ แมจ้ ะมกี ฎหมายดงั กลา่ ว
การเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชน มีสิทธเิ ป็น แต่การบังคับใช้กฎหมายก็ยังไม่ค่อยมี
เจ้าของข้อมูลของตนเองอย่างแท้จรงิ ประสิทธภิ าพมากนัก ซ่ึงโดยส่วนใหญ่
รวมไปถึงโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล
ภาครฐั ตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ยข้ึน ยกตวั อยา่ งเชน่
ประเทศสหรัฐอเมรกิ าได้มีกฎหมาย
เสรภี าพดา้ นข้อมูลข่าวสาร (Freedom
of Information Act: FOIA) โดยกำ� หนด
ให้หน่วยงานภาครัฐจะต้องเปิดเผย
ข้อมูลภาครัฐให้กับประชาชนตามที่มี
การร้องขอโดยไม่รีรอ รวมไปถึงยุโรป

70 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ขอ้ มลู ทถ่ี กู รอ้ งขอนนั้ ยงั ตอ้ งใชเ้ จา้ หนา้ ท่ี สามารถท�ำให้เกิดความโปร่งใส และ
รฐั ในการพจิ ารณาวา่ ข้อมูลดังกล่าวควร เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย
เปิดเผยหรอื ไม่ รวมถึงการท�ำให้ข้อมูล “เสรีภาพดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร (FOIA)” โดย
ดังกล่าวอยู่ในรูปแบบท่ีเหมาะสมต่อ มีข้อแม้ว่าการเปิดให้ประชาชนสามารถ
การเปิดเผย ดังนั้นเมื่อมีการร้องขอ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ภารฐั ไดน้ นั้ จะตอ้ งไมล่ ะเมดิ
ให้เปิดเผยข้อมูลตามกฎหมาย FOIA ความเป็นส่วนตัว หรอื ไม่ละเมิดข้อมูล
จึงท�ำให้เกิดความล่าช้าขึ้น ทั้งน้ีการน�ำ ส่วนบุคคล โดยจะต้องมีการออกแบบ
เทคโนโลยี Blockchain มาใช้เพ่ือให้ ระบบที่ดีเพื่อให้ม่ันใจว่ามีการปกปิด
ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ภาครฐั ได้ ตัวตน หรือข้อมูลต้องไม่สามารถระบุ
ตวั ตนได้ (Anonymous) อกี ทง้ั ยังช่วย
ลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐในการที่จะต้อง
บนั ทกึ และจัดเก็บขอ้ มูลหลาย ๆ ครั้ง
ส�ำหรับแต่ละหน่วยงาน โดยข้อมูล
ดังกล่าวสามารถถูกบันทึกอัตโนมัติ
โดยใช้ฟอร์มที่มีการออกแบบไว้ ซงึ่
แบบฟอร์มดังกล่าวจะต้องมีการปกปิด
หรอื ซ่อนข้อมูลท่ีมีความอ่อนไหวเอาไว้
ซ่ึงในปี ค.ศ.2016 รฐั บาลประเทศองั กฤษ

เพื่องานกบารรปิกราะรยภุกาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 71

ไดจ้ ดั ทำ� รายงานขึน้ มาฉบบั หนง่ึ เกย่ี วกบั 2
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ น
การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ภาครฐั ยกตวั อยา่ งเชน่
ข้อมูลเก่ียวกับเงินบ�ำนาญ (State
Pensions) ข้อมูลความช่วยเหลือจาก
ต่างประเทศ (Foreign Aid) ข้อมูล
ค่าใช้จ่ายท่ัวไปของรัฐบาล (General
Government Expenditure) โดย
หน่วยงานภาครัฐสามารถเขียนข้อมูล
เกย่ี วกบั การใชจ้ า่ ยตา่ ง ๆ ลงบน Ledger
และ Ledger ดงั กลา่ วสามารถถกู กระจาย
ไปยังทุกคนได้ ซึง่ จะช่วยให้เกิดความ
โปร่งใสและความรับผิดชอบเน่ืองจาก
การหลอกลวง หรือการปลอมแปลงใด ๆ
จะถูกตรวจสอบโดยประชาชนได้

การปอ้ งกนั การปลอมแปลง
Tamper-Proof

การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้
ในการจัดเก็บข้อมูลภาครัฐสามารถ
ชว่ ยสรา้ งความมน่ั ใจ และความนา่ เชอ่ื ถอื
ใหก้ บั ขอ้ มลู หรอื เอกสารทถี่ กู บนั ทกึ เขา้ สู่
ระบบ Blockchain แล้วจะไม่สามารถ
ถกู เปลยี่ นแปลงหรอื แกไ้ ขได้ ดงั นนั้ ถงึ แม้
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ น

72 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

การจัดเก็บข้อมูลภาครัฐจะสามารถช่วย
สร้างความโปร่งใส โดยการเปิดโอกาส
ให้ประชาชนมีสิทธเิ ป็นเจ้าของข้อมูล
ของตนเองอย่างแท้จรงิ รวมไปถึง
โอกาสในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ภาครฐั ตา่ ง ๆ
ได้ง่ายขนึ้ แต่อย่างไรก็ดีการจะน�ำ
เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ส�ำหรับ
การจัดเก็บข้อมูลภาครัฐนั้น นอกจาก
เร่ืองของการสร้างความโปร่งใส และ
ความปลอดภยั ของขอ้ มลู แลว้ ยงั จำ� เปน็
ต้องค�ำนึงถึงเรื่องของต้นทุน รวมถึง
คา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั การบรหิ ารจดั การ ควบคู่
ไปกับเรอ่ื งของความปลอดภัยร่วมด้วย
ในการตัดสินใจ

เพื่องานกบารรปิกราะรยภุกาตครใ์ ชฐั เ้ ทกครณโนีศโกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 73

ข้อจำ� กดั ของการนำ� เทคโนโลยี Blockchain
มาใช้ในงานบริการภาครัฐ

ถึงแม้เทคโนโลยี Blockchain จะมีประโยชน์ในเร่ืองของความปลอดภัยสูง
และยากต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหากน�ำมาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลภาครัฐ แต่ก็มี
ขอ้ ควรระวงั หากจะนำ� เทคโนโลยดี งั กลา่ วมาใชใ้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ภาครฐั ดงั ตอ่ ไปน้ี

1 สิทธิส่วนบุคคล
The Right to Privacy

การทขี่ อ้ มลู ใด ๆ เมอื่ ถกู บนั ทกึ เขา้ สรู่ ะบบ
Blockchain แลว้ จะไม่สามารถลบออก
หรือแก้ไขได้ จึงอาจเป็นข้อจ�ำกัดของ
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชง้ าน
เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร จั ด เ ก็ บ ข ้ อ มู ล ภ า ค รั ฐ
(Government Record Keeping)
ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกบั สทิ ธิในความเปน็ สว่ นตวั
(The Right to Privacy) โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งเม่อื EU ไดม้ ีการออกกฎหมาย
The General Data Protection
Regulation: GDPR ว่าด้วยเรอื่ ง
สิทธิในการเป็นเจ้าของข้อมูล โดย
ประชาชนมีสิทธิร้องขอให้ลบข้อมูล
ของตนเองออกจากระบบใด ๆ ได้
(Right to be Forgotten) ดงั นนั้ การทไ่ี ม่

74 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

สามารถลบข้อมูลท่ีถูกบันทึกเข้าสู่ระบบ ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง แต่หากน�ำไป
Blockchain ไปแล้วนั้น อาจจะเป็นได้ จัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะ
ทงั้ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี โดยขอ้ ดคี อื เหมาะแก่ ในยุโรปที่มีการใช้กฎหมาย GDPR
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain ไปใชใ้ น ว่าด้วยเรือ่ งของสิทธใิ นการร้องขอให้
เรอื่ งของการจัดเก็บข้อมูล (Record ลบข้อมูลของตนเองออกจากระบบได้
Keeping) ส�ำหรับข้อมูลที่ต้องการ (Right to be Forgotten) จงึ อาจเป็น
ความถูกตอ้ งสงู และไมต่ ้องการใหเ้ กิด ประเด็นท่ีตอ้ งพิจารณาต่อไป
การเปลี่ยนแปลงแก้ไข เช่น ข้อมูลการ

2

ลิขสทิ ธิ์
Copyright

การน�ำเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ใน ผกู้ ระทำ� ผดิ เนอื่ งจากหลกั การปกปดิ ตวั ตน
การจดั เกบ็ ขอ้ มลู อาจจะมองได้ 2 มมุ คอื (Anonymous) ยกตวั อยา่ งเชน่ ในยโุ รป
ในมุมของเจ้าของลิขสิทธ์ิ และผู้ละเมิด และสหรฐั อเมรกิ า ISP (Internet Service
ลิขสิทธ์ิ ซ่งึ หากมีการเผยแพร่ข้อมูลท่ี Provider) ส่วนใหญ่ พบกับปัญหา
ละเมิดลิขสิทธิเ์ ข้าสู่ระบบ Blockchain การน�ำเข้าข้อมูลท่ีมีการละเมิดลิขสิทธิ์
แล้วจะไม่สามารถลบออกจากระบบได้ โดยผู้ใช้งานของตน ดังน้ันจึงได้มีการ
ดังนั้นจึงต้องมีความระมัดระวังใน ออกกฎหมายขนึ้ มา 2 ฉบบั เพอื่ คมุ้ ครอง
การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ ISP ดังน้ี
เพ่ือจัดเก็บข้อมูลท่ีมีลิขสิทธิ์ นอกจาก
ป ร ะ เ ด็ น ดั ง ก ล ่ า ว แ ล ้ ว ห า ก มี ก า ร
เผยแพร่ข้อมูลที่มีการละเมิดลิขสิทธิ์
เข้าสู่ระบบ Blockchain แล้วจะท�ำให้
เจ้าของลิขสิทธ์ิยากต่อการตรวจสอบ

เพื่องานกบารรปกิ ราะรยภุกาตครใ์ ชัฐเ้ ทกครณโนศี โึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 75

The Digital Millennium Copyright Act (DMCA)
The Online Copyright Infringement Liability Limitation Act

ซง่ึ เปน็ เคร่อื งมอื สำ� คญั ในการขบั เคลอ่ื น
เกย่ี วกบั การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ โดยกฎหมาย
DMCA ได้ปกป้องสิทธขิ์ อง ISP และ
Webhost ตา่ ง ๆ ไว้ โดยมกี ารแจง้ เตอื น
เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ หากมีการ
ตรวจพบ ISP สามารถที่จะลบหรอื
ระงับการเข้าถึงข้อมูล หรอื สิ่งอื่นใดที่
ได้รับการยืนยันว่ามีการละเมิดลิขสิทธ์ิ
จงึ เป็นประเดน็ ทตี่ ้องมีความระมดั ระวงั
ในการน�ำเทคโนโลยี Blockchain
ม า ใ ช ้ เ พื่ อ จั ด เ ก็ บ ข ้ อ มู ล ท่ี มี ลิ ข สิ ท ธ์ิ
เนื่องจากหากมีการเผยแพร่ข้อมูลที่
ละเมิดลิขสิทธ์เิ ข้าสู่ระบบ Blockchain
จะไม่สามารถลบออกจากระบบได้
รวมถึงความยากต่อการตรวจสอบ
ผู้กระท�ำผิดเน่ืองจากหลักการปกปิด
ตวั ตน (Anonymous) หากมกี ารเผยแพร่
ข้อมูลที่มีการละเมิดลิขสิทธ์ิเข้าสู่ระบบ
Blockchain

76 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

3 การเซ็นเซอรข์ อ้ มูล
Censorship

ประเดน็ เกยี่ วกบั การเซน็ เซอรข์ ้อมูล โดยเฉพาะหน่วยงานภาครฐั ท่ที ำ�
หนา้ ที่ก�ำกบั ดแู ลเรอ่ื งต่าง ๆ รวมถงึ การกระทำ� ผิดกฎหมาย จะท�ำให้
ตรวจสอบได้ยากข้นึ หากข้อมูลดังกล่าวถูกจัดเก็บโดยใช้เทคโนโลยี
Blockchain ซึง่ อาจมผี ลกระทบตอ่ หน่วยงานดา้ นความม่นั คง

เพอ่ื งานกบารรปกิ ราะรยภุกาตครใ์ ชัฐเ้ ทกครณโนีศโกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 77

จ า ก ข ้ อ จ� ำ กั ด ดั ง ก ล ่ า ว ข ้ า ง ต ้ น นอกจากเรอ่ื ง Hardware แลว้ ยงั จำ� เปน็
หน่วยงานภาครัฐของต่างประเทศ ต้องมีการให้ผลตอบแทนกับ Miner
ส่วนใหญ่จงึ น�ำ Private Blockchain ในการท�ำการตรวจสอบ (Validation)
มาใช้ส�ำหรับการเก็บข้อมูล (Record เพือ่ ใหร้ ะบบ Blockchain น้นั สามารถ
Keeping) ของหนว่ ยงานภาครฐั มากกวา่ ดำ� เนนิ การตอ่ ไปได้ อกี ทงั้ ในการดำ� เนนิ
Public Blockchain อกี ทงั้ ดว้ ยขอ้ จำ� กดั การของระบบ Blockchain โดยเฉพาะ
ของ Public Blockchain ท่ีจ�ำเป็น อย่างย่ิง Public Blockchain จ�ำเป็น
ตอ้ งใช้ Node จ�ำนวนมากเพ่ือทำ� หนา้ ที่ ตอ้ งใชพ้ ลงั งานอยา่ งมหาศาลเทยี บเทา่
เป็น Miner ในการช่วย Validate กับการใช้พลังงานในเมืองท่ีมีประชากร
Transaction จึงท�ำให้การประมาณ 1.5 แสน ถึง 10 ล้านคน ขน้ึ อยู่กับ
ก า ร ต ้ น ทุ น ที่ แ ท ้ จ ริง ใ น ก า ร ล ง ทุ น ประสิทธิภาพของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
โดยเฉพาะด้าน Hardware น้ันเป็นไป และกระบวนการในการทำ� Consensus
ได้ยาก แต่อย่างไรก็ดีค่าใช้จ่ายในการ รวมถงึ การกระจาย Ledger แต่อย่างไร
Maintenance Blockchain โดยเฉพาะ กด็ หี ากจะมกี ารนำ� Private Blockchain
อยา่ งยง่ิ PublicBlockchainเชน่ Bitcoin มาใชใ้ นงานบรกิ ารภาครฐั นนั้ หากสามารถ
ถือได้ว่ามีต้นทุนสูง เม่ือเทียบกับระบบ ควบคมุ ขนาดของเครอื ขา่ ย Blockchain
แบบรวมศูนย์ (Centralized System) ไม่ให้ใหญ่เท่า Public Blockchain
ท่ีลงทุนเพียงแค่เคร่อื งเซริ ์ฟเวอร์ และ กจ็ ะสามารถชว่ ยลดตน้ ทนุ ดงั กลา่ วลงได้
เคร่ืองแบ็กอัพหรอื เครอื่ งส�ำรองข้อมูล ถึงกระน้ันต้นทุนของการบรหิ ารจัดการ
เท่าน้ัน แต่ใน Public Blockchain และการลงทนุ ในเทคโนโลยี Blockchain
ก็ยังมีมูลค่าสูงกว่าระบบแบบรวมศูนย์
(Centralized System) ท่ีใชใ้ นปจั จุบนั
อยู่ดี นอกจากน้ีการปรับเปล่ียนข้อมูล
ที่ เ ค ย จั ด เ ก็ บ อ ยู ่ บ น ร ะ บ บ เ ดิ ม ขึ้น สู ่
ระบบ Blockchain ยังต้องมีขนาดที่
เพียงพอเพื่อรองรับจ�ำนวนประชากร
ท้ังหมดได้ ซ่งึ อาจจะต้องใช้เงนิ ลงทุน

78 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

จ�ำนวนมหาศาล ถึงแม้จะปรับมาใช้ แง่ของการลงทุนและค่าใช้จ่ายในการ
Private Blockchain ที่อาจมีความ บรหิ ารจัดการระบบจัดเก็บข้อมูลแบบ
นา่ เช่ือถือนอ้ ยกว่าแลว้ กต็ าม รวมศูนย์ (Centralized Database)
อาจมีความสมเหตุสมผลมากกว่าใน
ดงั นนั้ การจะนำ� เทคโนโลยีBlockchain การจัดเกบ็ ขอ้ มูลภาครัฐ แต่อย่างไรก็ดี
มาใช้เพอ่ื จัดเกบ็ ข้อมูลภาครัฐ นอกจาก หากพิจารณาในแง่ของความปลอดภัย
เร่ืองของการลงทุนท่ีสูงแล้ว อาจยัง การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้
ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ประเดน็ เกย่ี วกบั ความยาก ส�ำหรับการจัดเก็บข้อมูลภาครัฐอาจมี
ต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลเม่ือถูก ความเหมาะสมมากกวา่ ดงั นนั้ การจะนำ�
จัดเก็บเข้าสู่ระบบ Blockchain แล้ว เทคโนโลยี Blockchain มาใชส้ ำ� หรบั การ
โดยขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสมกบั การจดั เกบ็ โดย จดั เกบ็ ขอ้ มลู ภาครฐั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งคำ� นงึ
เทคโนโลยี Blockchain จงึ ไม่ควรเปน็ ถึงเรอื่ งของต้นทุน รวมถึงค่าใช้จ่าย
ข้อมูลท่ีต้องมีการเปล่ียนแปลงแก้ไข ส�ำหรับการบรหิ ารจัดการ ควบคู่ไปกับ
บ่อย ๆ แต่เหมาะกับข้อมูลที่ต้องการ เรอื่ งของความปลอดภยั รว่ มดว้ ยในการ
ความปลอดภัยสูง ซ่งึ หากพิจารณาใน ตดั สนิ ใจ

เพ่ืองานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชัฐเ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 79

รปู แบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain
เพื่องานบรกิ ารภาครฐั

แนวคิดของรัฐบาลดิจทิ ัล คือ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนาการบริหาร
จัดการภาครัฐ รวมถึงการให้บรกิ ารประชาชนที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ดีการด�ำเนิน
การดังกล่าวนั้นจะต้องมีความม่ันคงปลอดภัย โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
ดงั นน้ั ดว้ ยคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี Blockchain สามารถตอบสนองความตอ้ งการ
ดังกล่าวได้ ด้วยหลักการท�ำงานแบบ Distributed Ledger Technology และ
Cryptography จึงทำ� ใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ ขอ้ มลู ทไี่ ดถ้ กู จดั เกบ็ ดว้ ยเทคโนโลยี Blockchain
นน้ั มคี วามมนั่ คงปลอดภยั ไมส่ ามารถเปลยี่ นแปลงแกไ้ ขได้ ดงั นน้ั หนว่ ยงานภาครฐั
ของหลาย ๆ ประเทศจงึ ได้หนั มาให้ความสนใจศกึ ษาถงึ หลกั การ และแนวทางการ
ประยกุ ตใ์ ช้ จนนำ� ไปสกู่ ารนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชส้ ำ� หรบั งานบรกิ ารภาครฐั
อยา่ งเป็นรปู ธรรมกันมากขน้ึ ดงั แสดงในตารางท่ี 2

80 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ตารางท่ี 2: ตารางแสดงการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี Blockchain สำ� หรับงานบริการภาครฐั ในต่างประเทศ

Countries

Blockchain Applications Estonia
Government Data Record United State
Management China
India
Asset Register Dubai: United
(Land Registry, Arab Emirates
Vehicle Registry) Taiwan
Sweden
e-Voting Australia
Gana
Medical Record Georgia
(e-Health) Japan
Digital Certificate Luxembourg
(Birth Record, Malta
Education Certificate) Norway
Switzerland
Identity Management Ukraine
Republic of
Individual Identity Georgia
(e-Identity, Citizen I Finland
dentification, eID) Singapore
Peru
Transaction Traceability
     
Supply Chain 
for Traceability  
(Food Safety, 
Pharmaceutical)  
Tax Compliance
เพื่องานกบารรปิกราะรยภกุาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนีศโกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn and Custom for    
Fraud Traceability
  


81

จากขอ้ มลู ในตารางที่ 2 เปน็ การสรปุ ตวั อยา่ งเพยี งบางสว่ นของการนำ� เทคโนโลยี
Blockchain มาใช้ในงานบรกิ ารภาครฐั ของประเทศต่าง ๆ ซึง่ เมื่อท�ำการจดั กลุม่
จะสามารถจำ� แนกออกเปน็ 3 กลุ่มด้วยกันดังแสดงในรปู ภาพท่ี 16

การติดตามธรุ กรรม

(The Transaction
Traceability)

Government
Blockchain

การบร�หารจดั การ การพส� ูจนตัวตน
การจัดเกบ็ ขอŒ มูล
(Identity
(Data Record Management)
Management)

รปู ภาพท่ี 16: การจดั กลุม่ การน�ำเทคโนโลยี Blockchain
มาใชก้ ับงานบริการภาครัฐ

การพสิ จู นต์ ัวตน Identity Management

การยืนยันตัวบุคคลหรือการพิสูจน์ตัวตน (Identity Management) นั้น
เป็นกระบวนการที่มีความเก่ียวข้องกับชีวิตประจ�ำวันในหลาย ๆ ด้านด้วยกัน
ไมว่ า่ จะเปน็ การทำ� ธรุ กรรมกบั ทางธนาคาร การเขา้ รบั บรกิ าร และสวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ
ของภาครฐั รวมไปถงึ การดำ� เนนิ การทางธรุ กจิ ตา่ ง ๆ ซงึ่ ลว้ นแลว้ แตต่ อ้ งมคี วาม
เกี่ยวข้องกับการยืนยันตัวบุคคลหรือการพิสูจน์ตัวตนท้ังส้ิน ยิ่งในยุคปัจจุบัน
ทีเ่ ปน็ ยคุ ของเทคโนโลยดี ้วยแล้วน้ัน การยนื ยนั ตัวบุคคลหรือการพิสูจนต์ ัวตน
น้ันย่ิงมีความส�ำคัญมากยิ่งข้นึ การยืนยันตัวบุคคลหรอื การพิสูจน์ตัวตนใน
ปจั จบุ นั สว่ นใหญย่ งั เปน็ การใชร้ หสั ผา่ น (Password-Based Systems) เปน็ หลกั
อีกทั้งยังเป็นระบบที่ต้องอาศัยคนกลางคอยท�ำหน้าท่ีในการบรหิ ารจัดการ

82 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ข้อมูลดังกล่าว โดยท�ำการจัดเก็บข้อมูลไว้ท่ีศูนย์กลาง ซึ่งระบบดังกล่าวมี
ความเส่ียงต่อการถูกโจมตีเข้าระบบเพ่ือจารกรรมข้อมูลส่วนบุคคล (Identity
Theft) และนำ� ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปขายใหก้ บั อาชญากรเพอื่ สวมรอยเปน็ บคุ คลนนั้ ๆ
หรือน�ำขอ้ มลู ดังกลา่ วไปใช้เพอื่ กระท�ำความผิดอื่นใดได้ แตด่ ว้ ยคณุ สมบัตกิ าร
ทำ� งานของเทคโนโลยี Blockchain ซง่ึ เปน็ ระบบแบบกระจายศนู ย์ (Distributed
Computing) และมกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบ Shared Database ซึ่งถอื วา่ เปน็ รปู แบบ
การบนั ทกึ ขอ้ มลู ทร่ี บั ประกนั ความปลอดภยั วา่ ขอ้ มลู ทถี่ กู บนั ทกึ ไปกอ่ นหนา้ นน้ั
ไมส่ ามารถทีจ่ ะเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขได้ โดยทกุ ๆ ผใู้ ช้งานจะไดเ้ หน็ ข้อมูล
ชุดเดียวกันท้ังหมด จึงท�ำให้เกิดความสะดวกในการตรวจสอบ และบริหาร
จัดการการยืนยันตัวบุคคลหรือการพิสูจน์ อีกทั้งยังมีความปลอดภัยและ
มปี ระสทิ ธิภาพอกี ดว้ ย

การท�ำงานของระบบยืนยันหรอื พิสูจน์ตัวตนบนเทคโนโลยี Blockchain
ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 17 ใชห้ ลกั การ “Self-Sovereign Identity” คอื การทป่ี ระชาชน
หรือองค์กรสามารถท่ีจะสร้างและจัดเก็บข้อมูลประจ�ำตัวของตนไว้บนอุปกรณ์
ของตนเองได้ โดยไมต่ อ้ งมคี นกลางมาทำ� หนา้ ทใี่ นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วอกี ตอ่ ไป
ทำ� ให้เกิดประสทิ ธภิ าพในการตรวจสอบส�ำหรับผทู้ ี่ตอ้ งการใช้ข้อมูลดงั กล่าว อกี ท้ัง
ยงั สามารถชว่ ยลดการใชก้ ระดาษลงไดโ้ ดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งถา่ ยเอกสารหลกั ฐานสำ� คญั
เพื่อใช้ในการยืนยันตัวบุคคล ยกตัวอย่างเช่น บัตรประชาชน สำ� เนาทะเบียนบ้าน
สูติบัตร หรือเอกสารสำ� คัญทางราชการอีกตอ่ ไป

เพ่ืองานกบารรปกิ ราะรยภกุาตคร์ใชัฐเ้ ทกครณโนีศโึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 83

AUTHENTICATION TAMPERPROOF DIGITAL IDENTITY USER CENTRIC INTERFACE

Strong Two-factor Cryptography Blockchain Government
authentication App store
Information is encrypted Data is timestamped, hashed,
2bniod gmeenterircastion and saved on device digitaly signed and added to e-signature e-ID card
PIN code the blockchain e-voting e-cabinet
Public key e-services e-law
ETnruvsirtoendmEexnetc(uTtEioEn) e-police e-welfare
Private key Valid transaction
are encoded,…
Tamperproof crypto engine
Personal Data and data is
preserved on
Encrypted data container P2P network

SELF-SOVEREIGN Privacy Engine Third party 1
IDENTITY MANAGEMENT Third party 2
Earnedsuhsaerredagwreitehsthwirhdicphairdtieenstity attributes

Name
Age
Certifications

รูปภาพที่ 17: ระบบยนื ยันและพิสจู นต์ ัวตนบนเทคโนโลยี Blockchain
ทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก (Parker, 2017)

กรณศี ึกษาท่ี 1
ระบบพสิ ูจน์และยืนยันตวั ตนอิเลก็ ทรอนิกส์
Citizen Identification
รฐั อลิ ลนิ อยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา

รัฐอิลลินอยส์แห่งประเทศสหรัฐ
อเมรกิ าไดน้ ำ� ระบบ Identity Management
บนเทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ นการ
เกบ็ สตู บิ ตั รของเดก็ ทารกแรกเกดิ (Birth
Registration) รวมถึงระบบพิสูจน์และ
ยืนยันตัวตนอิเล็กทรอนิกส์ (Citizen
Identification) โดยทางรฐั บาลไดท้ ำ� งาน
ร่วมกับบริษัทสตาร์ทอัพ Evernym
โดยแพทย์และผู้ปกครองของเด็กทารก
เกิดใหม่สามารถลงทะเบียนสูติบัตรบน

84 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ระบบ Blockchain ซง่ึ ถูกออกแบบมา กรณีศึกษาท่ี 2
เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือในการเก็บข้อมูล ระบบการยืนยันตัวตนผปู้ ระสบภยั
ของประชาชนในระยะยาว ท�ำให้รัฐบาล Refugees Identity Management
สามารถท่ีจะตรวจสอบข้อมูลเก่ียวกับ องค์การสหประชาชาติ
การเกิดของประชาชน รวมไปถึงข้อมูล (The United Nation: UN)
ทางชวี ภาพ (Biometric) อนื่ ๆ ได้ เชน่
กรุ๊ปเลือด ลายนิ้วมือ เสียง ม่านตา นอกจากนร้ี ะบบIdentityManagement
และดีเอ็นเอ โดยข้อมูลดังกล่าวจะถูก บนเทคโนโลยี Blockchain ยังได้
เข้ารหัสพร้อมท้ังใช้ลายเซ็นดิจทิ ัล ถูกน�ำไปใช้เพ่ือสนับสนุนภารกิจของ
(Digital Signature) เซ็นก�ำกับและ UN ซง่ึ เป็นการร่วมมือระหว่างบรษิ ัท
หลังจากนั้นข้อมูลก็จะถูกเก็บไว้ใน Accenture และ Microsoft ในการ
Distributed Ledger ที่สามารถเขา้ ถงึ สร้างระบบการยืนยันตัวตนโดยใช้วิธี
ได้เฉพาะผู้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น ตรวจสอบขอ้ มลู ทางชวี ภาพ (Biometric)
ซงึ่ จะช่วยเพิ่มความน่าเชอ่ื ถือให้กับ ผา่ นลายนว้ิ มอื และมา่ นตาโดยUNไดเ้ รมิ่
ระบบพิสูจน์ตัวตน และป้องกันการ ใช้งานระบบดังกับผู้อพยพในเอเชีย
โจรกรรมเอกลักษณ์บุคคล (Identity 29ประเทศจำ� นวน1.3ลา้ นคนและจะขยาย
Theft) ได้ โดยโครงการดงั กลา่ วจะเร่มิ ตน้ เปน็ 7 ลา้ นคนในปี ค.ศ. 2020 รวมไปถงึ
จากการเก็บข้อมูลเด็กทารกแรกเกิด โครงการอาหารโลก (World Food
และเก็บข้อมูลท้ังหมดของประชาชน Program: WFP) แห่งสหประชาชาติ
ในล�ำดับถัดมา การน�ำระบบ Identity ยังได้นำ� ระบบ Identity Management
Management บนเทคโนโลยี Blockchain บนเทคโนโลยี Blockchain ไปใชใ้ นการ
มาใช้ในการเก็บสูติบัตรของเด็กทารก ยนื ยนั ตวั ตนของผอู้ พยพ หรือผปู้ ระสบภยั
แรกเกิด (Birth Registration) น้ัน เพอื่ รบั คปู องแทนเงินสดสำ� หรบั ชว่ ยเหลอื
เป็นเพยี งหนง่ึ ในหลาย ๆ โครงการของ ผอู้ พยพ หรอื ประสบภัย โดยผู้รับคูปอง
รัฐบาลรัฐอิลลินอยส์ที่ต้องการพัฒนา สามารถทจ่ี ะสแกนมา่ นตาของผใู้ ชค้ ปู อง
ระบบเทคโนโลยี Blockchain เพ่ือน�ำ ท�ำให้ทางเจ้าของร้านที่เข้าร่วมรายการ
มาใช้ในชวี ติ ประจ�ำวันของประชาชน สามารถแจกจ่ายอาหารให้กับทาง
ใหม้ ากขนึ้ ผู้อพยพ ทั้งนี้การยกเลิกเงนิ สดแล้ว

เพ่อื งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนีศโกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 85

หันมาใช้เทคโนโลยีดังกล่าวในการ
เยียวยาผู้อพยพหรอื ผู้ประสบภัยน้ัน
จะช่วยอุดรอยร่ัวทางด้านการแจกจ่าย
อาหาร และท�ำให้อาหารเหล่านั้นถึงมือ
ผู้ประสบภัยไดอ้ ยา่ งครบถ้วน

การบริหารจัดการการจดั เกบ็ ขอ้ มลู Data Record Management

หัวใจของการบรหิ ารจัดการข้อมูลภาครัฐ คือ การบรหิ ารจัดการความ
นา่ เชือ่ ถอื ของขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บคุ คล องคก์ ร สนิ ทรพั ย์ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ของภาครัฐ นอกจากนี้ในการบริหารจัดการข้อมูลเหล่าน้ี ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล
การเกดิ การตาย สถานภาพการสมรส การออกใบอนญุ าตเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ ธรุ กจิ
และการโอนสนิ ทรพั ยต์ า่ ง ๆ รวมถงึ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ประวตั อิ าชญากรรม เปน็ ตน้
ล้วนแล้วแต่มีต้นทุน และความยุ่งยากในการบรหิ ารจัดการรวมถึงการน�ำไป
ใชง้ านทงั้ สน้ิ อกี ทง้ั ขอ้ มลู บางอยา่ งยงั ไมถ่ กู จดั เกบ็ อยใู่ นรปู แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ซ่ึงโดยสว่ นใหญ่มักจะอยูใ่ นรูปแบบของแบบฟอรม์ บนกระดาษ หากประชาชน
ต้องการเปล่ียนแปลงหรอื แก้ไขข้อมูลก็จ�ำเป็นต้องไปด�ำเนินการด้วยตนเอง
ณ สถานทรี่ าชการทเ่ี กยี่ วขอ้ งนน้ั ๆ แตด่ ว้ ยคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี Blockchain
ทใ่ี ชห้ ลกั การของ Distributed Ledger Technology (DLT) และ Cryptography
ซึง่ ช่วยให้การเข้าถึง และการเข้าใช้ข้อมูลภาครัฐ รวมถึงการบรหิ ารจัดการ
ความปลอดภยั และความนา่ เชือ่ ถอื ของขอ้ มลู ภาครฐั ทำ� ไดง้ า่ ยขึ้น ดงั นน้ั รฐั บาล
ในหลายประเทศจงึ มกี ารนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู
ภาครัฐรวมถึงข้อมูลการลงทะเบียนเอกสารสำ� คัญที่ออกโดยหน่วยงานภาครัฐ
ยกตัวอย่าง เชน่

86 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ขอ้ มูลการลงคะแนนเสยี งเลอื กตง้ั (e-Voting)
ข้อมูลประวัตกิ ารศกึ ษา (Educational Record)
ข้อมลู ประวัตกิ ารเกดิ (Birth Record)
ข้อมลู ประวัติการรักษาพยาบาล (Medical Record)
ข้อมูลการลงทะเบยี นสนิ ทรพั ยต์ ่าง ๆ (Asset Register)

กรณศี ึกษาที่ 1
การขอจดทะเบยี นท่ีดนิ
Land Registry ประเทศอนิ เดีย

ประเทศอนิ เดยี ไดม้ กี ารนำ� เทคโนโลยี จงึ ไดน้ ำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้
Blockchain มาใชใ้ นการขอจดทะเบยี น ในการขอจดทะเบียน/โอนกรรมสิทธ์ิ
ท่ีดิน (Land Registration) โดยท่ีดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินทรัพย์ที่มีสภาพ
ถอื เปน็ สนิ ทรพั ยท์ มี่ มี ลู คา่ สงู ซึ่งบอ่ ยครง้ั คลอ่ งตำ่� ยกตวั อยา่ งเชน่ ทด่ี นิ ซึง่ ชว่ ยลด
มักเป็นสาเหตุของการเกิดกรณีพิพาท กระบวนการทางด้านเอกสารได้ อีกท้ัง
ปัญหาอาชญากรรม และการฉ้อโกง ยงั ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการทำ�
ดงั นน้ั การคมุ้ ครองสทิ ธเิ หนอื ทดี่ นิ และ ธรุ กรรมตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั อสงั หาริมทรพั ย์
การถอื ครองกรรมสทิ ธ์ทิ ด่ี นิ สำ� หรบั ผซู้ อ้ื
จงึ เป็นเรอื่ งส�ำคัญเนื่องจากประเด็น
ดงั กล่าวถอื วา่ เป็นปจั จยั พืน้ ฐานที่สง่ ผล
กระทบต่อความเช่ือมั่นด้านการลงทุน
และการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ซ่งึ ปญั หา
กรณีพิพาทเรอ่ื งท่ีดินมักเป็นปัญหา
ที่เกิดขนึ้ กับประเทศก�ำลังพัฒนาเป็น
ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะประเทศอินเดีย

เพอื่ งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตคร์ใชัฐเ้ ทกครณโนีศโึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 87

กรณีศึกษาท่ี 2 Blockchain สัญชาติเอสโตเนีย ในการ
การจัดเกบ็ และส่งตอ่ ขอ้ มูล น�ำระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์
ประวตั กิ ารรักษาพยาบาลของผ้ปู ่วย (Electronic Health Records: EHR)
นครรฐั ดไู บ ประเทศสหรัฐ บนเทคโนโลยี Blockchain มาใช้
อาหรับเอมเิ รตส์ ซ่ึงการใชง้ านระบบดงั กลา่ วชว่ ยใหข้ อ้ มลู
มีความถูกต้องปลอดภัย และเช่อื ถือ
น ค ร รั ฐ ดู ไ บ ไ ด ้ น� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ได้ตลอดกระบวนการที่เกิดขนึ้ ระหว่าง
Blockchain มาใช้ในการจัดเก็บและ ผใู้ หบ้ ริการดา้ นสขุ ภาพและผปู้ ว่ ย ทำ� ให้
ส่งต่อข้อมูลประวัติการรักษาพยาบาล มั่นใจได้ถึงความถูกต้องของข้อมูล
ของผู้ป่วยเพ่ือให้ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ได้รบั สำ� หรับผูป้ ่วยท่มี าปรกึ ษาแพทย์
กับกระบวนการรักษาพยาบาลสามารถ ของ NMC Healthcare กส็ ามารถไดร้ ับ
เข้าถึงข้อมูลได้อย่างปลอดภัย โดย การบรกิ ารอยา่ งต่อเน่ืองไม่ขาดตอน
นครรัฐดูไบซึ่งเป็นหุ้นส่วนกับ NMC
Healthcare ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ นอกจากนี้การเร่ิมต้นโครงการ
(UnitedArabEmirates:UAE)ไดม้ องเหน็ ดงั กลา่ วของ NMC Healthcare สามารถ
ถึงความส�ำคัญดังกล่าว จงึ ได้ร่วมมือ ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการทำ� งานโดย
กับบรษิ ัท Guardtime ซ่ึงเป็นบรษิ ัท การสรา้ งกระบวนการทมี่ คี วามปลอดภยั
ผู้พัฒนาโซลูชันต่าง ๆ บนเทคโนโลยี ในการบันทึก จัดเก็บ และได้รับข้อมูล
ประวัติการรักษาของคนไข้ นอกจาก
การเพิ่มประสิทธภิ าพของกระบวนการ
จดั เกบ็ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วแลว้ นนั้ กระบวนการ
ท�ำงานท่ีมีประสิทธภิ าพยังสามารถช่วย
เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการกำ� หนดแผนการ
และตารางนัดหมายของคนไข้ อีกทั้ง
ยังง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของ
ทั้งคนไข้และบุคลากรทางการแพทย์
อีกด้วย ซงึ่ ปัจจุบันประวัติการรักษา
คนไขต้ า่ ง ๆ นน้ั มกั จะอยใู่ นรปู แบบของ

88 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

กระดาษเปน็ หลกั เชน่ ผลการตรวจเลอื ด Computing เพ่ือสร้างกลไกความ
ผล X-Ray และอนื่ ๆ อกี ทง้ั โรงพยาบาล น่าเชือ่ ถือส�ำหรับการแชร์ข้อมูลเวช
สว่ นใหญก่ ไ็ มไ่ ดม้ กี ารแชรข์ อ้ มลู ดงั กลา่ ว ร ะ เ บี ย น ข อ ง ผู ้ ป ่ ว ย ร ะ ห ว ่ า ง ห น ่ ว ย
ร่วมกัน ดังนั้นการน�ำเทคโนโลยี งานให้บรกิ ารด้านสุขภาพ ซึ่งข้อมูล
Blockchain มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เวชระเบียนของผู้ป่วยน้ันถือเป็นข้อมูล
ประวตั กิ ารรกั ษาของคนไขท้ ำ� ใหส้ ามารถ ทม่ี คี วามละเอยี ดออ่ น นอกจากนก้ี ารนำ�
แชรข์ อ้ มลู ดงั กลา่ วระหวา่ งโรงพยาบาลได้ เทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้งานนั้นจะช่วย
อีกท้ังยังสามารถเช่ือม่ันได้ถึงความ ให้คนไข้สามารถเข้ารับการรักษาได้
ถูกต้อง และปลอดภัยของข้อมูล ด้วย ในทกุ ๆคลนิ กิ และโรงพยาบาลโดยคนไข้
เทคโนโลยี Blockchain ที่มีรูปแบบ สามารถมนั่ ใจไดว้ า่ ทกุ ๆ สถานพยาบาล
ของการบันทึกข้อมูลที่รับประกันความ นนั้ จะมขี อ้ มลู ประวตั กิ ารรกั ษาของคนไข้
ปลอดภัยว่าข้อมูลที่ถูกบันทึกไปก่อน รายนน้ั ๆ แลว้ ถงึ แมจ้ ะไมเ่ คยไดร้ บั การ
หน้านั้นไม่สามารถท่ีจะเปลี่ยนแปลง รักษาในสถานพยาบาลดังกล่าวมาก่อน
หรือแก้ไข โดยทกุ ๆ ผู้ใช้งานจะได้เห็น ซ่ึงในกรณเี รง่ ดว่ นฉกุ เฉนิ ขอ้ มลู ดงั กลา่ ว
ขอ้ มลู ชดุ เดยี วกนั ทงั้ หมด การทำ� งานของ จะมปี ระโยชนต์ อ่ การรกั ษาของคนไขเ้ ปน็
Blockchain ใชห้ ลกั การ Cryptography อย่างมาก และอาจสามารถช่วยรักษา
และความสามารถของ Distributed ชีวิตของคนไขเ้ อาไวไ้ ด้

เพ่ืองานกบารรปิกราะรยภกุาตครใ์ ชฐั ้เทกครณโนีศโึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 89

กรณีศึกษาท่ี 3:
การออกใบ Certificate ให้กับเพชร นครรฐั ดูไบ
ประเทศสหรฐั อาหรับเอมิเรตส์

น ค ร รั ฐ ดู ไ บ ไ ด ้ น� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ขอ้ ขดั แยง้ เกยี่ วกบั เพชร โดยกระบวนการ
Blockchain มาใช้ในการออกใบ คมิ เบอรล์ ยี ์ คอื การใหร้ ฐั บาลของแตล่ ะ
Certificate ใหก้ บั เพชร โดย The Dubai ประเทศรับรองว่า เพชรส่งออกได้มา
Multi Commodities Centre ได้น�ำ จากเหมอื งและธรุ กจิ ทถี่ กู กฎหมาย และ
เทคโนโลยี Blockchain เข้ามาใช้ใน ผู้ประกอบการที่มีใบรับรองเท่าน้ัน
การออกใบ Certificate ให้กับเพชร จงึ จะสามารถนำ� เพชรเขา้ สตู่ ลาดโลกได้
หรอื ที่รู้จักกันในชื่อ “Kimberley เน่ืองจากใบรับรองนี้จะมีรายละเอียด
Certificates5” เพ่ือเป็นการลดปัญหา ของทุกขั้นตอนในการผลิตเพชร ตั้งแต่

90 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ออกจากเหมืองถึงผู้ค้าปลีก ประเทศ ประเภททองค�ำ เพชร พลอยสีต่าง ๆ
ท่ีตกลงร่วมใน Kimberley Process และโลหะมีค่าประเภททองค�ำขาว
จะไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหค้ า้ ขายกบั ประเทศ พลั ลาเดยี ม เงนิ เปน็ สนิ คา้ ทมี่ กี ารสง่ ออก
อ่ืนท่ีไม่ใช่สมาชกิ จงึ เป็นที่เชื่อกันว่า และนำ� เขา้ จากทวีปตา่ ง ๆ โดยมนี ครรฐั
โครงการน้ีมีส่วนช่วยลดการร่ัวไหลของ ดไู บเปน็ ศูนยก์ ลาง ดังน้ัน The Dubai
เพชรแหง่ ความขดั แยง้ เขา้ สตู่ ลาดอญั มณี Multi Commodities Centre จงึ ได้
โลกไดอ้ ยา่ งมาก น�ำเทคโนโลยี Blockchain เข้ามาใช้
ในการออก “Kimberley Certificates”
ท้ังนี้นครรัฐดูไบได้ช่อื ว่าเป็น “City เพื่อเป็นการลดปัญหาการข้อขัดแย้ง
of Gold” หรอื เมืองแหง่ ทองค�ำ ดังน้ัน เกยี่ วกบั เพชร อกี ทงั้ ยงั สามารถตรวจสอบ
การสง่ เสรมิ การคา้ ขาย การส่งออกและ รายละเอียดของทุกข้ันตอนในการผลิต
น�ำเข้าทองค�ำรวมไปถึงอัญมณีอื่น ๆ เพชร ตั้งแต่ออกจากเหมืองถึงผู้ค้า
จงึ เป็นเรอ่ื งส�ำคัญจนกระทั่งต้องต้ัง ปลกี ได้
เขตธรุ กจิ เสรีเพอื่ การนโี้ ดยเฉพาะ สนิ คา้

5 Kimberley Certificates คอื การรับรองเพชรตามกระบวนการคมิ เบอรล์ ียเ์ พอ่ื ปอ้ งกันไม่ให้
เพชรแหง่ ความขดั แยง้ (Conflict Diamond) หรอื ทรี่ จู้ กั กนั ในชอื่ เพชรสเี ลอื ด (Blood Diamond)
ซ่งึ เปน็ เพชรทไี่ ดจ้ ากเหมอื งในพน้ื ทท่ี ถี่ กู ควบคมุ โดยกลมุ่ กบฏในประเทศเซยี รร์ า ลโี อน ซ่งึ ตอ่ ตา้ น
รัฐบาลท่ีได้รับการยอมรับจากนานาชาติ กลุ่มกบฏขายเพชรน้ีเพ่ือได้เงินเป็นทุนซ้ืออาวุธและ
เสรมิ สรา้ งให้กองทพั แขง็ แกรง่ ย่งิ ขนึ้

เพื่องานกบารรปิกราะรยภุกาตครใ์ ชัฐ้เทกครณโนีศโกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 91

กรณีศึกษาท่ี 4
การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
i-Voting ประเทศเอสโตเนีย

ประเทศเอสโตเนียได้น�ำเทคโนโลยี ประทบั เวลา (Time Stamp) และขอ้ มูล
Blockchain มาใช้กับการลงคะแนน ดงั กลา่ วจะถกู จดั เกบ็ บนระบบBlockchain
เสียงเลือกต้ัง หรือท่ีรู้จักกันในชือ่ เพื่อท�ำหน้าท่ีพิสูจน์การมีอยู่จรงิ ของ
i-Voting นนั่ เอง โดยประเทศเอสโตเนยี บัตรลงคะแนนนั้น ๆ หรอื ที่เรียกว่า
มีการใช้ระบบการลงคะแนนแบบดิจทิ ัล Proof of Existence คอื การพิสจู นก์ าร
(Digital Voting) ตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 2005 มอี ยู่จริงของเอกสารตา่ ง ๆ
และอนญุ าตใหม้ กี ารลงคะแนนเสยี งผา่ น
ระบบออนไลนใ์ นปี ค.ศ. 2007 ตอ่ มาในปี ประโยชน์ของการน�ำเทคโนโลยี
ค.ศ. 2015 จึงได้มีการน�ำระบบการลง Blockchain มาใชก้ บั การลงคะแนนเสยี ง
คะแนนเสียงท่ีท�ำงานอยู่บนเทคโนโลยี เป็นอีกทางเลือกในการแก้ปัญหาการ
Blockchain โดยหลักการพื้นฐานของ ทุจรติ การเลือกตั้ง จากการลงคะแนน
ระบบ i-Voting ก็คือบัตรประชาชน ด้วยกระดาษซ่งึ มีช่องโหว่มากมายที่จะ
ในรูปแบบดิจทิ ัล (Digital ID Card) ทำ� ใหเ้ กดิ การทจุ ริต แตก่ ารใชเ้ ทคโนโลยี
ซ่งึ ประชาชนทกุ คนในประเทศเอสโตเนยี Blockchain ในการลงคะแนนเสียง
จะต้องมี โดยในบัตรประชาชนจะ สามารถชว่ ยลดโอกาสในการทจุ รติ ลงได้
บรรจุข้อมูลที่ใช้ส�ำหรับยืนยันตัวบุคคล ท�ำให้การเลือกต้ังมีความเป็นธรรม
โดยขอ้ มลู ดงั กล่าวจะถกู เขา้ รหัสไว้ เพ่ือ มากขึน้ โดยอย่างยิ่งในการนับคะแนน
ใช้ในการท�ำธุรกรรมออนไลน์ต่าง ๆ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถทำ� การทจุ รติ ในการ
รวมไปถงึ การลงคะแนนเสยี งผา่ นระบบ เลือกตั้งได้โดยไม่ท้ิงร่องรอยไว้ภายใต้
i-Voting ซง่ึ เทคโนโลยี Blockchain
จะถูกน�ำมาใช้ในขั้นตอนของการน�ำส่ง
บตั รลงคะแนน โดยทกุ ๆ บตั รลงคะแนน
หลงั จากไดร้ บั การตรวจความถกู ตอ้ งตาม
กระบวนการต่าง ๆ แล้ว จะตอ้ งมกี าร

92 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ระบบ Blockchain อีกท้ังยังช่วยท�ำให้การเลือกตั้งมีความสะดวกมากขนึ้ และ
สามารถเข้าถึงผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงได้มากขนึ้ จึงเป็นการส่งเสรมิ กระบวนการ
ประชาธปิ ไตยอีกทางหนึ่ง นอกจากน้ีในแง่ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว
ของข้อมูล เทคโนโลยี Blockchain สามารถออกแบบการเขา้ รหสั เพือ่ ปกปิดตัวตน
รักษาความเป็นส่วนตัวและข้อมูลการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้อีกด้วย ดังนั้น
เทคโนโลยี Blockchain จึงกลายเป็นเทคโนโลยสี ำ� คญั ทจี่ ะท�ำให้เกดิ ความโปรง่ ใส
ในการลงคะแนนเสยี งไดม้ ากข้ึน

การตดิ ตามธุรกรรม Transaction Traceability

การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้กับการตรวจสอบติดตามธุรกรรม
แบบย้อนกลบั ทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Transaction Traceability)
ซ่งึ สามารถช่วยในเรอื่ งเก่ียวกับการบรหิ ารจัดการข้อมูลให้กับสมาชิกท่ีมี
ความเก่ียวข้องทั้งห่วงโซ่อุปทาน เพื่อให้เกิดความโปร่งใส (Transparency)
ความเปน็ กลาง (Neutrality) ความนา่ เชอ่ื ถอื (Reliability) และความมัน่ คง
ปลอดภยั ของข้อมลู (Security) โดยการกระจายขอ้ มลู ทีม่ คี วามน่าเชอื่ ถอื และ
ตรวจสอบไดใ้ หก้ บั ทกุ คนทม่ี คี วามเกยี่ วขอ้ งทงั้ หว่ งโซอ่ ปุ ทาน ซึง่ แตเ่ ดมิ จะตอ้ ง
อาศยั คนกลางทไ่ี ดร้ บั ความเชื่อถอื จากทกุ ฝา่ ย คอยเปน็ คนบริหารจดั การขอ้ มลู
ดงั กลา่ ว โดยระบบการบริหารจดั การขอ้ มลู แบบรวมศนู ย์ (Centralized System)
ดังกล่าวนั้นง่ายต่อการถูกปลอมแปลงและทุจริตโดยเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบ
หากมกี ารตดิ สนิ บนเจา้ หนา้ ทดี่ งั กลา่ ว เนอื่ งจากใหอ้ ำ� นาจคนกลางในการบรหิ าร
จัดการข้อมูล รวมถึงการถูกเจาะระบบ (Hacking) ซง่ึ จะท�ำให้ข้อมูลใน
ระบบไม่สามารถเชอื่ ถือได้อีกต่อไป ดังนั้นในปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐ
ในหลาย ๆ ประเทศจึงไดใ้ หค้ วามสนใจและน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้
กับการตรวจสอบติดตามธุรกรรมแบบย้อนกลับทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply
Chain Transaction Traceability) ในหลาย ๆ กรณีด้วยกนั

เพ่ืองานกบารรปิกราะรยภุกาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 93

กรณีศกึ ษาท่ี 1 บวกกับวิวัฒนาการของ IoT (Internet
Food Safety Traceability of Things) และเทคโนโลยี Blockchain
ประเทศจนี ท�ำให้สามารถตรวจสอบความปลอดภัย
ของอาหารได้ตั้งแต่กระบวนการผลิต
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ จนไปถงึ มอื ผบู้ รโิ ภคได้ อกี ทงั้ ยงั สามารถ
กับการตรวจสอบความปลอดภัยของ ท�ำการตรวจสอบได้แบบ Real Time
อาหารทงั้ หว่ งโซอ่ ปุ ทาน (Food Supply และเป็นไปตามมาตรฐาน HACCP6
Chain Traceability System) โดย (Hazard Analysis and Critical Control
ในยคุ ปจั จบุ นั ความปลอดภยั ดา้ นอาหาร Points) ยกตัวอย่างเช่น การปนเปื้อน
(Food Safety) ก�ำลังเป็นประเด็นท่ี สารพิษในนมผง อันเนื่องมาจากระบบ
ได้รับความสนใจทั้งในแวดวงวชิ าการ แบบรวมศูนย์ (Centralized System)
ภาคธรุ กจิ รวมไปถงึ ภาครัฐ โดยเฉพาะ ทเ่ี ออื้ ใหเ้ กดิ การทจุ รติ (Corruption) และ
อย่างยิ่งความปลอดภัยด้านอาหาร การถูกโจมตีโดยแฮกเกอร์ (Hacking)
ถูกจัดอยู่ในแผนเป้าหมายการพัฒนา
อยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Development
Goal: SDG) ซ่ึงถูกพฒั นาโดยองคก์ าร
สหประชาชาติ (The United Nation)
ดังนั้นในทุก ๆ ภาคส่วนจึงได้มีความ
พยายามในการคิดค้น และพัฒนา
นวตั กรรมเพอ่ื ตรวจสอบความปลอดภยั
ของอาหาร (Food Safety Traceability)

6 ระบบ HACCP คือ การวิเคราะห์อันตราย และจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม หรอื ระบบ HACCP
คือ ระบบการจัดการคุณภาพด้านความปลอดภัย ซง่ึ ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิตให้ได้
อาหารทป่ี ราศจากอันตรายจากเชือ้ จุลินทรยี ์ สารเคมี และสง่ิ แปลกปลอมต่าง ๆ โดยถือเปน็
มาตรฐานสากลตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการโครงการมาตรฐานอาหาร FAO/ WHO
(Codex Alimentarius Commission) ที่ประเทศต่าง ๆ สามารถน�ำไปเป็นแนวทาง
ในการประยุกต์ใช้เพื่อสร้างความม่ันใจในอุตสาหกรรมอาหารทั้งโดยผู้ผลิต และผู้บริโภค
ซ่ึงถกู กำ� หนดโดย NASA ในปี 1960s

94 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

กรณีศกึ ษาท่ี 2
Pharmaceutical Supply Chain
Traceability ประเทศอินเดยี

ประเทศอินเดียได้น�ำเทคโนโลยี เมอื่ มกี ารปลอมแปลงยา เนอื่ งจากขอ้ มลู
Blockchain มาใช้ในการท�ำ Supply ไดร้ บั การพสิ จู นท์ ราบตามเอกสารตา่ ง ๆ
Chain Traceability ในอตุ สาหกรรมยา จงึ ท�ำให้สามารถระบุที่มาของยาแต่ละ
ในการติดตามค้นหายารักษาโรค ซง่ึ ชนดิ วา่ มาจากโรงงานใด และเปน็ ไปตาม
ท�ำให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานยา ที่ระบุเอาไว้หรือไม่น่ันเอง เพ่ือป้องกัน
(Pharmaceutical Supply Chain) สามารถ การปลอมแปลงข้อมูล ท�ำให้เกิดความ
เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึน้ และแจ้งเตือน โปรง่ ใสและเชอ่ื ถือได้

เพ่อื งานกบารรปกิ ราะรยภุกาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนีศโกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 95

กรณีศกึ ษาที่ 3:
Industrial Hemp Supply Chain
Traceability รัฐโคโลราโด
แหง่ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

รัฐโคโลราโดแห่งประเทศสหรัฐ Blockchain มาใช้ในอุตสาหกรรม
อเมรกิ าได้ร่วมมือกบั The Institute of กัญชาน้ันช่วยให้รัฐโคโลราโดสามารถ
Cannabis Research at Colorado State บงั คบั ใชก้ ฎหมาย และการจดั เกบ็ รายได้
University - Pueblo (Institute) ในการ จากการท�ำอุตสาหกรรมกัญชาได้อย่าง
พัฒนาระบบตรวจสอบเส้นทางการ มีประสิทธิภาพยง่ิ ขน้ึ รวมไปถงึ สามารถ
ซอ้ื ขายกญั ชารวมไปถงึ ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู ช่วยตรวจสอบการกระท�ำความผิด
ตา่ ง ๆ ในอตุ สาหกรรมกญั ชา (Industrial อันเนื่องมาจากการซอ้ื ขายกัญชาท่ี
Hemp) ต้ังแต่ผู้ผลิตไปจนถึงผู้ซอ้ื และ ผิดกฎหมายจากผู้ท่ีไม่ได้รับอนุญาต
ผู้ขาย โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain นอกจากน้ีรัฐโคโลราโดได้มีการออก
รวมไปถงึ การออกใบอนญุ าตในการดำ� เนนิ กฎหมายท่ีส�ำคัญว่าด้วยเรื่องการน�ำ
ธุรกิจเก่ียวกับกัญชา ทั้งนี้การซอ้ื ขาย เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในการ
กัญชาจะต้องเป็นการซ้อื ขายจากผู้ที่ได้ ตรวจสอบการกระท�ำความผิดเก่ียวกับ
รบั ใบอนญุ าตในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ เกย่ี วกบั อตุ สาหกรรมกญั ชา รวมไปถงึ ผลติ ภณั ฑ์
กัญชาเท่านั้น ซ่งึ การน�ำเทคโนโลยี ต่าง ๆ ท่ีมีส่วนผสมของกัญชาตั้งแต่
กระบวนการผลิตไปจนถึงกระบวนการ
ซ้ือขาย

96 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

กรณศี ึกษาที่ 4: ของระบบดังกล่าวคือ การติดตาม
Tax Compliance for ธุรกรรมการซือ้ ขาย ตั้งแต่โรงงานผลิต
EU-Cross Broader Trade ไปจนถงึ ผซู้ ้อื โดยมน่ั ใจไดว้ า่ ทกุ ๆธรุ กรรม
to Prevent Fraud and Detection จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงและแก้ไขได้
สหภาพยุโรป รวมไปถงึ เอกสารใบวางบลิ หรือใบแจง้ หน้ี
(European Union: EU) (Invoice) ซึ่งถือเป็นหลักฐานส�ำคัญ
ในการขอท�ำ Tax Refund เม่ือมีการ
น อ ก จ า ก ก า ร น� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ซอ้ื ขายหรอื นำ� เขา้ สนิ คา้ ระหวา่ งประเทศ
Blockchain เขา้ มาใชใ้ นการตรวจสอบ สมาชิก EU ดว้ ยกนั ดงั นนั้ ดว้ ยคณุ สมบตั ิ
ย้อนกลับของการท�ำธุรกรรมต่าง ๆ ของเทคโนโลยี Blockchain ในเร่ือง
แลว้ ยงั ไดม้ กี ารประยกุ ตใ์ ชก้ ารตรวจสอบ ของความยากต่อการเปลี่ยนแปลง
ย้อนกลับของการท�ำธุรกรรมในเรื่อง (Immutability) จงึ ได้ถกู นำ� มาใช้ในการ
ของภาษี ยกตวั อยา่ งเชน่ สหภาพยุโรป ตรวจสอบย้อนกลับของการท�ำธุรกรรม
(European Union: EU) ไดน้ ำ� เทคโนโลยี เพ่อื ปอ้ งกันการทุจริตในรูปแบบตา่ ง ๆ
Blockchain มาใชใ้ นการตรวจสอบเรือ่ ง
ระบบภาษี ในการท�ำ Tax Refund
ส�ำหรับการค้าขายระหว่างประเทศ
สมาชิกEUดว้ ยกนั (TaxCompliancefor
EU-Cross Broader Trade to Prevent
Fraud and Detection) โดยสาระสำ� คญั

เพือ่ งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชัฐเ้ ทกครณโนีศโึกลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 97

กรณศี ึกษาท่ี 5: รับส่งหนังสือให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
Letter of Guarantee การสอบถามสถานะการออกหนังสือ
on Blockchain : e-LG การตรวจสอบความถูกต้องของหนังสือ
on Blockchain ประเทศไทย อีกท้ังมีต้นทุนในการจัดเก็บเอกสาร
เนื่องจากเป็นหนังสือส�ำคัญท่ีต้องท�ำ
การน�ำเทคโนโลยี Blockchain การจัดเก็บไปตลอดอายุสัญญาเพ่ือใช้
มาใช้ในการออกหนังสือค้�ำประกัน ในกรณีมีการฟ้องร้อง โดยเฉพาะ
(Letter of Guarantee) หรอื ตวั ยอ่ LG หน่วยงานรัฐและองค์กรขนาดใหญ่
โดยปัจจุบันธนาคารมีหน้าที่ให้บรกิ าร ที่ มี ก า ร ท� ำ สั ญ ญ า เ ป ็ น จ� ำ น ว น ม า ก
ออกหนังสือค�้ำประกันให้แก่บริษัท ต้องมีการสร้างห้องจัดเก็บเอกสาร
ลกู คา้ ทปี่ ระสงคจ์ ะยน่ื ประมลู งาน หรือ ซง่ึ การค้นหานน้ั ใช้เวลานานจากจำ� นวน
ติดต่อท�ำสัญญากับหน่วยงานราชการ ปริมาณ ส่งผลให้มีต้นทุนทั้งในด้าน
หรอื บรษิ ัทผู้รับผลประโยชน์ โดยน�ำ การลงทนุ และการดแู ลรกั ษา
หนงั สอื คำ�้ ประกนั ของธนาคารไปวางเปน็
ประกันแทนการวางหลักประกันแทน Traditional LG
หลกั ทรพั ยอ์ นื่ ๆ เชน่ เงินสด พนั ธบตั ร
ที่ดิน เพ่ือใช้เป็นหลักประกันในการค้า 3-7 Days
ประกนั สญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง เพอ่ื รบั รองวา่
หากคู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไข Ask for a Guarantee
ในสัญญา ธนาคารจะเป็นผู้รับผิดชอบ
ตามสญั ญาคำ�้ ประกนั 1

โดยในการขอออกหนงั สอื คำ�้ ประกนั APPLICANT 4
แบบกระดาษรูปแบบเดิม มีระยะเวลา
ท่ีใช้ในการออกหนังสือค�้ำประกันตั้งแต่ and Deliver
ยน่ื ขอหนงั สอื คำ้� ประกนั ไปยงั การตรวจสอบ
จากผรู้ บั ผลประโยชนจ์ ะใชเ้ วลาประมาณ 2 3 PLGickup BENEFICIARY
3-7 วนั โดยเวลาสว่ นใหญจ่ ะใชไ้ ปกบั การ
RLGequest ACLGsoknffiormr 5
6
CLGonfirm

Issue LG (paper)

รปู ภาพที่ 18: ภาพขั้นตอน
และกระบวนการของการขอออกหนังสอื

ค�ำ้ ประกันแบบกระดาษรปู แบบเดมิ

98 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

จากปัญหาดังกล่าว บริษัท บีซไี อ (ประเทศไทย) หรือ BCI ที่เกิดจาก
ความรว่ มมอื ของธนาคาร รฐั วิสาหกจิ และองคก์ รธรุ กจิ ชนั้ นำ� หลายแหง่ ภายใต้
โครงการ Thailand Blockchain Community Initiative ภายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ล
ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย ไดเ้ ปดิ ใหบ้ ริการหนงั สอื คำ้� ประกนั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ผ่านระบบบล็อกเชน (Letter of Guarantee on Blockchain : e-LG
on Blockchain) โดยได้เร่มิ ให้บรกิ ารจริงต้ังเเต่เดือนมิถุนายน 2562
ท่ีผ่านมา ซงึ่ ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหา (Pain point) ให้กับผู้ใช้งาน
ทเ่ี กีย่ วขอ้ งทุกส่วน ดงั น้ี

1. ช่วยลดระยะเวลาในการออกหนงั สอื ค�้ำประกัน

2. ใช้งานผ่านอิเล็กทรอนิกส์ 100% ท�ำให้ลดการใช้กระดาษ
และต้นทุนในการจัดเกบ็ เอกสาร

3. เพิ่มความหน้าเชือ่ ถือของเอกสาร และลดกระบวนการตรวจสอบ

4. สรา้ งมาตรฐานเดียวของหนังสอื ค�ำ้ ประกนั กับทกุ ธนาคาร

5. ลดขนั้ ตอนการกรอกขอ้ มลู จากกระดาษเขา้ ระบบ และความผดิ พลาด
ทอี่ าจเกดิ จากมนษุ ย์

6. สามารถคน้ หาเอกสารไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว

รปู ภาพท่ี 19: ภาพการเปดิ ตัว บีซีไอ ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย

เพอ่ื งานกบารรปิกราะรยภุกาตคร์ใชัฐ้เทกครณโนศี โกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 99

ด้วยเทคโนโลยี Blockchain จะชว่ ยลดระยะเวลาในการออกหนังสอื ค�ำ้ ประกัน
เหลอื เพยี ง ไมเ่ กนิ 1 วนั ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ จะถกู จดั เกบ็ ไวบ้ นคลาวดโ์ ดยสามารถบริหาร
และกำ� หนดสทิ ธิการเขา้ ถงึ ได้ ทำ� ใหข้ อ้ มลู ถกู จดั เกบ็ อยา่ งปลอดภยั บนระบบ ชว่ ยลด
ขน้ั ตอนการนำ� สง่ เอกสารกระดาษ และชว่ ยลดเวลาในการตรวจสอบทมี่ าของเอกสาร
เพราะผู้ใหบ้ รกิ ารสามารถมน่ั ใจได้ว่าเอกสารดังกล่าวออกจากธนาคารจริง

LG on BLOCKCHAIN

Less than a day

APPLICANT 1 Ask for a Guarantee

2RequeLsGt BENEFICIARY

4

Inquire LG

3

sIsusbume iat nLdG

รูปที่ 20: ภาพข้นั ตอนและกระบวนการของการขอออกหนังสือค�้ำประกนั อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ผา่ นระบบบลอ็ กเชน

ภายใต้การก�ำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย บริการ e-LG on
Blockchain ดังกล่าวได้ผ่านมาตรฐานในระดับเดียวกับกับภาคธนาคาร
เช่น มีการบรหิ ารจัดการช่องโหว่และการทดสอบเจาะระบบ (Vulnerability
Management and Penetration Testing) ทดสอบประสทิ ธิภาพ (performance
test) มีการทดสอบใน Regulatory Sandbox ภายใต้การก�ำกับดูแล
ของธนาคารแห่งประเทศไทย เพ่ือใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารมน่ั ใจได้วา่ ระบบมกี ารดแู ล
รักษาความปลอดภัยของระบบงานและข้อมูล มีความถูกต้องเชือ่ ถือได้
สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง มีการรักษาความปลอดภัยด้านไซเบอร์
และมีการักษาความลับและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า
โดยมกี ำ� หนดการออกจาก Regulatory Sandbox ภายในต้นปี พ.ศ.2564 น้ี

100 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES


Click to View FlipBook Version