The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-05-31 00:22:41

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Keywords: Blockchain

ไมต่ อ้ งอาศัยตวั กลาง
สามารถตรวจสอบ (Auditability) การบันทึกรายการธรุ กรรม (จากการ
ใหบ้ ริการ) ภายในเครือขา่ ย Blockchain ได้ เมอ่ื เขยี นแลว้ จะไมส่ ามารถ
เปล่ียนแปลงหรอื ลบได้
มี Access Control การกำ� หนดกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ในการอนญุ าตหรือปฏเิ สธ
เชน่ รายการการรอ้ งขอตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในระบบวา่ จะอนญุ าตหรอื ปฏเิ สธ
เช่น สิทธ์ิการเข้าใช้ทะเบียนข้อมูล การอ่าน การเขียน การแชร์ข้อมูล
ของกลไกการดำ� เนนิ ทางธรุ กจิ ทเี่ กยี่ วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผใู้ ชบ้ รกิ าร
กบั หนว่ ยงานหรอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน
การดำ� รงอยขู่ องหลกั ฐาน (Proof of Existence) สามารถพสิ จู นค์ วามเปน็
เจา้ ของจากหลกั ฐานทไ่ี ดร้ บั การทำ� ธุรกรรม

ผูร้ บั บรกิ าร (ประชาชน หน่วยงานภาครฐั )
ประชาชนผยู้ น่ื คำ� ขอไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งจดั เตรียมหลกั ฐานดา้ นเอกสารตา่ ง ๆ
ที่มกี ารเกบ็ อย่รู ะบบงานทะเบยี น ๆ ของหนว่ ยงานภาครัฐ
ไม่ตอ้ งรบั รองสำ� เนาเอกสารช่วยลดโอกาสในการทุจริต
หนว่ ยงานภาครฐั แตล่ ะแหง่ ดำ� เนนิ การตามกระบวนการภายในของตนเอง
หากมีหน่วยงานรัฐหนึ่งเปลี่ยนแปลงกระบวนการหรืออุปกรณ์ภายใน
หน่วยงานจะไม่มผี ลกระทบหน่วยงานอ่ืน ๆ เนื่องจาก Node แยกกัน
เปน็ อสิ ระ
ไม่มีข้อก�ำหนดเก่ยี วกบั การเชอ่ื มต่อโดยตรง เนือ่ งจากได้รบั การรบั รอง
โดยพื้นฐานโปรโตคอลการแจกจ่ายของโปรโตคอล Blockchain และ
APIs แบบมาตรฐาน
ไมส่ ามารถเปลีย่ นแปลงขอ้ มูล

แนวคิดและหลักการประยุกภตาใ์คชร้เฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 151

กรณีศึกษาการจัดทำ� ระบบตน้ แบบ e-Referral
โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain

การพฒั นาระบบตน้ แบบ e-Referral สขุ ภาพหนว่ ยงานวจิ ยั และหนว่ ยงานอน่ื ๆ
โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain เกดิ จาก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดในการพัฒนาระบบเชอื่ มโยง ให้สามารถเชอ่ื มโยงและแลกเปลี่ยน
และแลกเปล่ียนข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ ข้อมูลระหว่างกันได้แบบเรยี ลไทม์
(NationalHealthInformationExchange ภายใต้มาตรฐานข้อมูลสุขภาพเดียวกัน
Platform) ทีเ่ ชือ่ มต่อทุกหนว่ ยงานดา้ น อีกท้ังยังจะต้องคำ� นึงถงึ ความปลอดภยั
Healthcare เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น และความเป็นส่วนตัวของข้อมูลผู้ป่วย
โรงพยาบาล คลินิก หน่วยงานประกัน เปน็ ส�ำคัญ

152 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

โดยแนวคิดดังกล่าวอ้างอิงและ

สอดคล้องกับรายงานการวิเคราะห์

ยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

สุขภาพ (eHealth) จัดท�ำโดยศูนย์

เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ก็คือการพัฒนาระบบการแลกเปลี่ยน
ประจำ� ปี 2558 ในกลยทุ ธท์ ่ี 2: วา่ ดว้ ยการ และส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานบรกิ าร
พฒั นาคลงั ขอ้ มลู สขุ ภาพ โดยมเี ปา้ หมาย ทุกระดับจะต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ส่วนหนึ่งเพื่อต้องการให้ผู้ป่วยที่ต้อง ทางการแพทย์เพื่อการส่งต่อผู้ป่วย
สง่ ต่อไปรับการรักษายงั สถานบรกิ ารอ่นื (Medical Record Exchange) ทั้งแบบ
จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยทั่วไปและเร่งด่วน เพ่ือให้ผู้ป่วย
โดยสถานบรกิ ารต้นทางมีข้อมูลด้าน สามารถไปรับบรกิ ารจากสถานบรกิ าร
การแพทย์และสุขภาพรายบุคคลเพ่ือ ใดก็ได้

การก�ำกับติดตาม เฝ้าระวัง และดูแล ร ว ม ถึ ง ร า ย ง า น ก า ร วิเ ค ร า ะ ห ์
ปัญหาสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นท่ี ยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
รบั ผดิ ชอบ ดงั นนั้ สว่ นหนง่ึ ของมาตรการ สุขภาพ (eHealth) จัดท�ำโดยศูนย์
เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีได้วางไว้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ประจำ� ปี 2560-2569 ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3:

ว่าด้วยการสร้างมาตรฐานของระบบ

ข้อมูลสุขภาพ การบูรณาการข้อมูล

สารสนเทศ และการเช่ือมโยงแลก

เปล่ียนข้อมูลที่มีประสิทธภิ าพ โดย

เฉพาะในกลยุทธ์ที่ 1: ว่าด้วยการสร้าง

มาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพท่ีสามารถ

แนวคดิ และหลกั การประยกุ ภตาใ์คชร้เฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 153

รกั ษาผปู้ ่วย การสง่ ต่อผปู้ ่วย การเขา้ ถึง
ข ้ อ มู ล ด ้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น
การเบกิ จ่ายประกันสุขภาพ การปอ้ งกัน
โรคระบาด ไปจนถงึ การตดั สนิ ใจวางแผน
แ ล ะ พั ฒ น า น โ ย บ า ย ด ้ า น สุ ข ภ า พ
แลกเปล่ียนและเชือ่ มโยง (Standards โดยเฉพาะในเร่อื งการส่งต่อผู้ป่วย
and Interoperability) กันได้อย่าง (Patient Referral) การขาดประสทิ ธิภาพ
มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงยุทธศาสตร์ ในการแลกเปลีย่ นข้อมูลสขุ ภาพระหว่าง
ท่ี 4: ว่าด้วยการขับเคลื่อนและพัฒนา โรงพยาบาลได้สร้างปัญหาตามมา
นวัตกรรมระบบบริการและโปรแกรม มากมาย ทงั้ กบั แพทยท์ ไี่ มส่ ามารถเขา้ ถงึ
ประยกุ ตด์ า้ น eHealth ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ข้อมูลทั้งหมดของผู้ป่วยได้ก่อนรับการ
ต่อระบบบรกิ ารสุขภาพ (Healthcare สง่ ตอ่ ทงั้ กบั ผปู้ ว่ ย และโรงพยาบาลหรือ
Service Delivery) และประชาชน คลนิ กิ ทม่ี คี วามไมส่ ะดวกในการเบกิ จา่ ย
โดยสนับสนุนให้มีโครงการต้นแบบท่ี รวมไปถึงหน่วยงานประกันสุขภาพท่ี
ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเป็นกลไกในการ ไม่สามารถติดตามและตรวจสอบการ
ขบั เคลอื่ น eHealth ทีม่ ีประสิทธิภาพ ส่งต่อเพ่ือน�ำไปปรับปรุงนโยบายและ
กฎระเบยี บใหด้ ยี ิ่งข้ึนได้
ป ร ะ ก อ บ กั บ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ก า ร
ปฏิบัติงานในระบบบรกิ ารสุขภาพให้มี ปัญหาหลักในปัจจุบันของระบบ
ประสิทธภิ าพจ�ำเป็นต้องอาศัยการแลก ขอ้ มลู สขุ ภาพของประเทศซง่ึ เปน็ อปุ สรรค
เปลยี่ นขอ้ มลู สขุ ภาพ (Health Information ต่อการแลกเปล่ียนข้อมูลสุขภาพเกิด
Exchange) ท่ีสะดวกรวดเร็วและ จากการท�ำงานเก็บข้อมูลซ้�ำซ้อนของ
ปลอดภัย ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการตรวจ บุคลากรด้านสาธารณสุข การไม่มี

154 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

มาตรฐานของขอ้ มลู การไมม่ รี ะบบกลาง ดังนั้นด้วยเหตุผลดังกล่าวไปแล้ว
แลกเปล่ียนข้อมูลของประเทศ ปัญหา ข้างต้น ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
ความปลอดภัยทางไซเบอร์ของการ องค์การมหาชน (สพร.) จงึ ไดร้ ว่ มมอื กับ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข้ามองค์กร ปัญหา ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เกณฑ์การก�ำกับดูแลที่ไม่ชัดเจน เขต 13 กรงุ เทพมหานคร ในการพัฒนา
ซ่งึ ปัญหานี้ไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบกับ ระบบตน้ แบบ e-Referral บนเทคโนโลยี
หน่วยงานผู้ให้บรกิ ารทางสาธารณสุข Blockchain โดยมีวัตถุประสงค์
เท่านั้น ตัวประชาชนเจ้าของข้อมูลเอง เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้ในการน�ำ
ก็ไม่สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ เทคโนโลยี Blockchain มาใช้เพื่อ
ขอ้ มูลสุขภาพของตนเองได้อีกดว้ ย โดย ต่อยอดนวัตกรรมการบริการของหน่วย
ปัญหาการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ งานภาครัฐ รวมถึงผลกระทบต่าง ๆ
ดงั กลา่ วสามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยเทคโนโลยี ที่ เ กิ ด ข้ึน จ า ก ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี
Blockchain ซงึ่ เป็นเทคโนโลยีที่มี Blockchain จนน�ำไปสู่การยกระดับ
ศกั ยภาพสำ� หรบั การเชอ่ื มโยงแลกเปลย่ี น ภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจทิ ัล ท่ีมี
ข้อมูลระหว่างระบบ (Interoperability) การบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตั้งแต่
ท่ีมีประสิทธภิ าพ ข้อมูลมีความถูกต้อง การเช่อื มโยงข้อมลู การบริการ ไปจนถงึ
โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้ ซ่ึงสามารถ การดำ� เนินงานได้
เป็นจุดเริม่ ต้นของการแก้ไขปัญหาด้าน
ขอ้ มูลสขุ ภาพของประเทศได้

แนวคิดและหลักการประยกุ ภตา์ใคชร้เฐัทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 155

ภาพรวมสถาปัตยกรรมระบบตน้ แบบ e-Referral บนเทคโนโลยี Blockchain

ภาพรวมของระบบตน้ แบบe-ReferralบนเทคโนโลยีBlockchainประกอบไปดว้ ย
Blockchain Node จำ� นวน 4 Node เพอื่ แทน Node ของโรงพยาบาลปฐมภมู ิ
โรงพยาบาลทตุ ยิ ภมู ิ โรงพยาบาลตตยิ ภมู ิ และผบู้ รหิ ารระบบ ดงั แสดงในรปู ภาพที่ 26

Virtual Hospital #1 V Node V Node eRefer Portal Patient
(รพ.ตติยภมู ิ) + HIS With document Dashboard & Report
Virtual Hospital #2 storage Using web-based eRefer
(รพ.ทุตยิ ภมู )ิ + HIS with NHSO's document
HYPERLEDGER storage

V Node Virtual NHSO Virtual Hospital #3
With document V Node (รพ.ปฐมภูม)ิ + no HIS
storage With document
storage

รปู ภาพท่ี 31: ภาพรวมสถาปัตยกรรมระบบต้นแบบ e-Referral
บนเทคโนโลยี Blockchain

156 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

การออกแบบระบบต้นแบบดังกล่าว รวมถึงการเชือ่ มต่อกับระบบฐานข้อมูล
จะไม่เชอื่ มต่อกับระบบบรหิ ารข้อมูล สทิ ธิประกนั สขุ ภาพทไ่ี ดส้ มมตขิ น้ึ ดว้ ยทงั้ นี้
โรงพยาบาล (Hospital Information ในการจัดท�ำระบบต้นแบบ e-Referral
System: HIS) โดยตรง แต่จะเช่ือมต่อ ไดค้ ำ� นงึ ถงึ สทิ ธใิ นการเปน็ เจา้ ของขอ้ มลู
กับฐานข้อมูลเสมือน เพ่ือจ�ำลอง ของผปู้ ว่ ยเปน็ สำ� คญั ดงั นนั้ ขอ้ มลู ทถ่ี กู ใช้
สถานการณก์ ารเชื่อมตอ่ ผา่ น Database ในการทดสอบระบบตน้ แบบ e-Referral
View ทโ่ี รงพยาบาลสรา้ งข้นึ ไวบ้ นระบบ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูล
Cloudสว่ นตวั สำ� หรบั งานระบบแลกเปลยี่ น โรงพยาบาล จงึ เป็นข้อมูลสมมติเพื่อใช้
ข้อมูลสุขภาพโดยเฉพาะ (ซง่ึ ปัจจุบัน ในการทดสอบระบบตน้ แบบ e-Referral
ตดิ ตง้ั อยบู่ นระบบ G-Cloud ของ สพร.) เทา่ น้นั

แนวคดิ และหลักการประยุกภตา์ใคชร้เัฐทคภโานยโใลตย้บี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 157

ทง้ั นใี้ นการจดั ทำ� ระบบตน้ แบบ e-Referral บนเทคโนโลยี Blockchain ไดเ้ ลอื ก
โครงสร้างฐานข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพเพ่ือการส่งต่อผู้ป่วย OPD,
IPD และ AE/ER ส�ำหรับหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เขตพน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานคร หรอื ทรี่ จู้ กั กนั ในชื่อระบบ 13 แฟม้ มาเปน็ มาตรฐานขอ้ มลู
สขุ ภาพในโครงการน้ี โดยมาตรฐานขอ้ มลู ดงั กล่าวประกอบไปดว้ ยข้อมูลดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ มูลผู้ป่วย (PID- Patient Identification)
ข้อมูลบุคคลอา้ งองิ (NK1- Contact Person)
ข้อมูลการแพ้ (AL1- Patient Allergy)
ขอ้ มลู การสง่ ต่อ (RF1- Referral Information)
ข้อมลู การวนิ จิ ฉัยโรค (DG1- Diagnosis)
ขอ้ มลู อาการเจ็บป่วย (Vital Signs)
ข้อมลู การเข้ามารับการรักษา (PV1- Patient Visit)
ข้อมูลทำ� หตั ถการและผา่ ตดั (PR1- Procedure)
ขอ้ มลู ผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ
(OBL- Observation LAB Result)
ข้อมูลผลตรวจจากภาพถา่ ยทางการแพทย์
(OXB- Observation X-Ray Result)
ขอ้ มูลยาและเวชภัณฑ์
(RXO- Pharmacy/ Treatment Order)
ขอ้ มลู ผใู้ หบ้ รกิ าร (PRD- Provider Data)
ขอ้ มลู การนัดหมายตอ่ เนื่อง
(APP- Appointment Information)

158 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

โดยเลือกใช้ Hyperledger Fabric
เวอรช์ นั 1.0 ซึ่งเปน็ Open Source ในการ
พัฒนาระบบต้นแบบดังกล่าว โดย
Hyperledger Fabric คอื Blockchain
Platform ซ่งึ ถกู พฒั นาข้นึ ภายใตโ้ ครงการ
Hyperledger ของ Linux Foundation
และเปน็ เทคโนโลยี Blockchain ประเภท
Private หรือ Permissioned Blockchain
ที่มีสถาปัตยกรรมแบบ Modular และ การตรวจสอบตา่ ง ๆ ซึง่ ใช้ Chaincode
สามารถเขยี น Smart Contract เพอื่ ให้ เปน็ เคร่อื งมอื ในการจดั ทำ� SmartContract
ทำ� งานตามเงื่อนไขได้ โดยบรรจขุ น้ั ตอน ทง้ั นใ้ี นการพฒั นาระบบตน้ แบบดงั กลา่ ว
การตรวจสอบต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ได้น�ำเอา Business Logic มาเป็น
การเรยี กดูข้อมูลผู้ป่วย ประวัติการ เง่อื นไขในการสรา้ ง Smart Contract และ
รักษา การนัดหมาย รวมถึงข้อมูลท่ี Deploy ลง Hyperledger Fabric ผา่ น
จ�ำเป็นส�ำหรับการส่งต่อผู้ป่วยของโรง Composer และสรา้ ง API ด้วย REST
พยาบาลที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ Smart Sever ของ Composer เพ่ือเป็นส่วน
Contract ในการควบคุมข้ันตอน ตดิ ตอ่ กบั ระบบ ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 27

Frontend API Server SReErSveTr Hyperledger Composter CHAINCODE
ChSaeirnvcicoede
PIN code GGCeteretHaHHotooessp,sppUitiaipttlaadBllaLytiesI,Dt , Refer, Hyperledger Fabric 1.0 CoSreticaunrneer
RLRuibnerataicmryte/ GGCeteretHaHoPtoesap,stipUietaipntladtBlaLytiesID,t , Approve,
HTML Reject, MEMBERSHIP BLOCKCHAIN TRANSACTIONS RSeegciustrrey
GRReefteeRjerR,eceAftefpDerpreOrforedvr,eer,
CSS Defer MeSmerbveicreshsip Blockchain Services
LGoGgeeintt,HPGaoSetsyitepsPnittaetatmHlieRinsettpoVorieyrw,t , Registration
Request Profile, MaIndaegnetimtyent CMonasneangseurs DiLsterdibguetred
Approve Request,
Auditability PrPot2oPcol SLteodrgagere
Clear Profile,
Reject request Event Stream

Services

รปู ภาพท่ี 32: รายละเอยี ดการออกแบบระบบตน้ แบบ e-Referral
บนเทคโนโลยี Blockchain

แนวคดิ และหลักการประยกุ ภตา์ใคชรเ้ ัฐทคภโานยโใลตย้บี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 159

ทั้งน้ี REST Server ของ Hyperledger Composer จะสร้าง REST API
ขน้ึ มาใหอ้ ตั โนมตั จิ าก Composer Model ซ่งึ API ของระบบตน้ แบบ e-Referral บน
REST Sever ประกอบไปดว้ ย 8 API ดังต่อไปน้ี

Refer: ใชเ้ พอื่ เรม่ิ การขอสง่ ต่อผูป้ ่วย

Approve: รบั การสง่ ต่อผูป้ ่วย

Reject: ปฎเิ สธการสง่ ตอ่ ผู้ปว่ ย

CancelReject: ยกเลกิ การปฎิเสธการส่งตอ่

Defer: ขอเลือ่ นเวลาสง่ ตอ่

RequestProfile: ขอดขู อ้ มลู ผู้ปว่ ย

ApproveRequest: ผู้ป่วยเจา้ ของขอ้ มลู อนุญาตให้ดขู ้อมูลของตนเอง

ClearProfile: ปิดการเขา้ ถงึ ข้อมูลเมื่อหมดเวลาท่ีอนุญาตใหเ้ ขา้ ดขู อ้ มลู

160 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

แตเ่ นอ่ื งจากAPIบนRESTServerที่ Hospital: API เกยี่ วกบั โรงพยาบาล
ถกู สรา้ งโดยอตั โนมตั จิ าก Hyperledger End point: /v1/api/hospital
Composer น้ันเป็น API ท้ังหมด Method: POST Create Hospital
ของระบบดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น PUT Update Hospital
ซ่งึ หลายตัวเป็น API ที่ไม่ต้องการเปิด GET Get Hospital List
ให้ระบบภายนอกเรยี กใช้ หรือมี Data GET Get Hospital By ID
Format ทเ่ี ขา้ ใจยากส�ำหรบั ผู้ทไี่ มม่ ีสว่ น DEL Delete Hospital
เกยี่ วข้องกบั ระบบ Blockchain ดงั นน้ั Patient: API เกยี่ วกบั ผปู้ ว่ ย
การพัฒนาระบบต้นแบบ e-Referral End point: /v1/api/patient
ด้วยเทคโนโลยี Blockchain จึงสร้าง Method: POST Create Patient
API Server ข้นึ มาเป็น Middle Tier PUT Update Patient
โดยทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ จดุ เชอ่ื มตอ่ API สำ� หรบั GET Get Patient List
การเรียกใชง้ าน ซึง่ ประกอบไปดว้ ย 5 API GET Get Patient By ID
ดังต่อไปน้ี DEL Delete Patient

แนวคิดและหลักการประยกุ ภตาใ์คชร้เัฐทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 161

Transaction: API Esenldecptopiantti:en/vt/1/api/queries/
เกย่ี วกบั การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ย Method: GET Select Patient
End point: /v1/api/transaction/refer GET Select Refer Order
Method: GET Get Refer GET Select Refer Order copy
POST Refer Other
POST Approve Method: POST Login
GET Get Refer Order GET Get Refer Incoming List
POST Cancel Reject GET Get Refer Outgoing List
POST Reject POST Hospital Refer
POST Defer GET Get Patient View

162 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ในส่วนสุดท้ายของการออกแบบ
ระบบตน้ แบบ e-Referral คอื การพฒั นา
สว่ นของ Front End เพือ่ ใช้โต้ตอบกบั
ผูใ้ ชง้ าน โดยการพัฒนาในส่วนดงั กล่าว
ใช้ ReactJS เป็น Framework และ
Cascading Style Sheet หรือ CSS
ในการจัดรูปแบบการแสดงผลของ
เอกสาร HTML

โดยในล�ำดับถัดไปเป็นการแสดง
ตัวอย่างเพียงบางส่วนของ ขั้นตอน
การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล
โดยใชเ้ ทคโนโลยีTErnuvsirtoendmEexenctu(TtiEoEn) Blockchain ดงั แสดง
ในรปู ภาพที่ 28

1. refer to Hospital C Referral 4. noretiffeyrpraaltient
Hospital A 5. accept/reject
Refer

2. get patient Hospital C
historic data

3.GotPatientdata HosCpitoalllBect

Hospital B

รปู ภาพท่ี 33: แผนภาพแสดงขัน้ ตอนการสง่ ตอ่ ผ้ปู ว่ ยระหว่างโรงพยาบาล

แนวคดิ และหลกั การประยุกภตา์ใคชรเ้ ฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 163

การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยระหวา่ งโรงพยาบาล โรงพยาบาลทุติยภูมิ (โรงพยาบาล C)
ซง่ึ ในกรณีน้ีจะเกิดขน้ึ จากการประเมิน ระบบ e-Referal จะทำ� การสง่ รายการขอ
ของแพทยจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งสง่ ตอ่ การรกั ษาโดย สง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยซ่งึ ถกู เขา้ รหสั ดว้ ย Public Key
ส่งให้เจ้าหน้าท่ีของโรงพยาบาลปฐมภูมิ พรอ้ ม Smart Contract วา่ ดว้ ยขอ้ กำ� หนด
(โรงพยาบาล A) เป็นผู้คีย์ข้อมูลการ ต่าง ๆ เก่ยี วกบั การส่งต่อผู้ป่วย ไปยงั
ส่งต่อผู้ป่วยให้โรงพยาบาลท่ีมีความ Node อืน่ ๆ บนเครือข่าย Blockchain
พร้อมมากกว่า เร่ิมจากเจ้าหน้าท่ีของ ของระบบ e-Referral และในกรณีท่ี
โรงพยาบาล A เขา้ ใชร้ ะบบ e-Referral โรงพยาบาล C ตอบรบั การสง่ ตอ่ เพอื่ รบั
จาก Username Password ของ เข้าเป็นผปู้ ว่ ยของโรงพยาบาล C ดังนัน้
โรงพยาบาล A เพื่อเข้าสู่หน้าจอการ โรงพยาบาล C จะสามารถเรยี กดปู ระวตั ิ
ด�ำเนินงานซงึ่ เทียบได้กับ Wallet ของ การรกั ษาพยาบาลของผปู้ ว่ ยทเ่ี คยเขา้ รบั
Blockchain และไดร้ บั Public Key และ การรกั ษาพยาบาลจากโรงพยาบาลอนื่ ๆ
Private Key เพือ่ ใชส้ �ำหรบั การเข้ารหัส ทอ่ี ยใู่ นเครอื ขา่ ย Blockchain ของระบบ
รายการธุรกรรม โดยรายการธุรกรรม e-Referral ได้จากข้อก�ำหนดที่เขียน
ดังกล่าว คือ การขอส่งต่อผู้ป่วย เม่ือ ไว้ใน Smart Contract ว่าด้วยเรือ่ ง
เจ้าหน้าท่ีของโรงพยาบาล A กดปุ่ม ข้อกำ� หนดในการสง่ ต่อผปู้ ว่ ย
เพื่อส่งรายการขอส่งต่อผู้ป่วยไปยัง

164 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ในลำ� ดบั ถดั ไปเปน็ การแสดงตวั อยา่ ง
หนา้ จอการทำ� งานเพยี งบางสว่ นของระบบ
e-Referral

ตวั อยา่ งที่ 1 การบรหิ ารสทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ และใชง้ านขอ้ มลู ผปู้ ว่ ย โดยใช้ Smart Contract

โรงพยาบาลตนŒ ทางสามารถส‹งต‹อผŒูป†วยผ‹านหนŒาจอระบบ e-Referral

รปู ภาพท่ี 34: ตัวอยา่ งการเขียนโปรแกรมของการบริหารสิทธใิ นการเขา้ ถงึ
และใช้งานข้อมูลผู้ปว่ ย โดยใช้ Smart Contract

แนวคิดและหลกั การประยุกภตา์ใคชรเ้ ฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 165

ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างหน้าจอการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลปฐมภูมิ
โรงพยาบาลทตุ ิยภมู ิ และโรงพยาบาลตตยิ ภมู ิ

โรงพยาบาลตนŒ ทางสามารถสง‹ ตอ‹ ผูปŒ †วยผา‹ นหนาŒ จอระบบ e-Referral

รูปภาพที่ 35: โรงพยาบาลต้นทางสามารถส่งตอ่ ผปู้ ว่ ยผ่านหน้าจอระบบ e-Referral

166 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

โรงพยาบาลปลายทางสามารถส‹งคำขอสง‹ ตอ‹ ผŒูป†วยผา‹ นหนาŒ จอระบบ e-Referral

รปู ภาพท่ี 36: โรงพยาบาลปลายทางสามารถสง่ คำ� ขอสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยผา่ นหนา้ จอระบบ e-Referral

โรงพยาบาลปลายทางสามารถเขŒาดูขอŒ มลู ผปŒู †วยในระบบ 13 แฟ‡มไดŒ

รปู ภาพที่ 37: โรงพยาบาลปลายทางสามารถเขา้ ดขู อ้ มลู ผปู้ ว่ ยในระบบ 13 แฟม้ ได้ 167

แนวคดิ และหลกั การประยกุ ภตา์ใคชร้เฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย

โรงพยาบาลปลายทางสามารถตอบรับ ปฏิเสธ หรอ� ขอเลอ่ื นเวลาการส‹งต‹อผปŒู †วยไดŒ

รปู ภาพที่ 38: โรงพยาบาลปลายทางสามารถตอบรับ ปฏิเสธ
หรอื ขอเลือ่ นเวลาการสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยได้

โรงพยาบาลปลายทางสามารถตอบรบั ปฏิเสธ หรอ� ขอเล่ือนเวลาการส‹งตอ‹ ผŒปู ว† ยไดŒ

รปู ภาพที่ 39: ตวั อย่าง Log การส่งตอ่ ผปู้ ่วยของระบบ e-Referral

168 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ตัวอยา่ งท่ี 2 ตัวอย่างหนา้ จอแสดงรายงาน

หนาŒ จอ Dashboard แสดงรายงานตา‹ ง ๆ ของระบบ e-Referral

รปู ภาพที่ 40: หนา้ จอ Dashboard แสดงรายงานต่าง ๆ ของระบบ e-Referral

หนาŒ จอสำหรบั การ Performance Monitoring , Report และ Throughput ใน Component ตา‹ ง ๆ
ของระบบ Hyperledger Blockchain

รปู ภาพที่ 41: หน้าจอส�ำหรบั การ Performance Monitoring , Report และ Throughput
ใน Component ต่าง ๆ ของระบบ Hyperledger Blockchain

แนวคดิ และหลักการประยุกภตา์ใคชร้เัฐทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 169

ทั้งนี้ผลจากการศึกษาการพัฒนาระบบต้นแบบ e-Referral พบว่าปัจจัย
ความสำ� เรจ็ ในการพฒั นาตอ่ ยอดระบบตน้ แบบ e-Referral เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารยกระดบั
การให้บรกิ ารประชาชน ประกอบด้วย

1 การกำ� หนดมาตรฐานขอ้ มลู สขุ ภาพ
Health Data Standard

การก�ำหนดมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ
(Health Data Standard) เน่ืองจาก
ระบบสขุ ภาพของไทยไดร้ บั การพฒั นาขึ้น
จากหลายหนว่ ยงาน จึงมคี วามแตกตา่ ง
และหลากหลาย โดยแตล่ ะระบบจะมกี าร
ออกแบบฐานข้อมูลท่ีมีลักษณะเฉพาะ
ของตนเอง จงึ ท�ำให้มีความแตกต่าง
และหลากหลายของโครงสร้าง ดังนั้น
จงึ จ�ำเป็นต้องมีการออกแบบมาตรฐาน
ข้อมูลสุขภาพขนึ้ มา เพื่อให้สามารถ
แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และใชป้ ระโยชนจ์ ากการวิเคราะหข์ อ้ มลู ได้

170 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

2 หลักประกันสุขภาพ ดังนั้นหากสามารถ
เชื่อมโยงระบบ e-Referral เข้ากับ

การประสานความรว่ มมอื ฐานข้อมูลของระบบเหล่านี้ได้ จะช่วย
Cooperation ลดความผิดพลาดจากการกรอกข้อมูล
การท�ำงานท่ีซ�้ำซ้อน รวมถึงต้นทุนใน

การประสานความรว่ มมอื (Cooperation) การท�ำงาน และเพิ่มประสิทธภิ าพในการ
ระหว่างหนว่ ยงานดา้ นสาธารณสุขทั้งใน เชื่อมโยงและแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ได้ อกี ทง้ั
ภาครัฐและภาคเอกชน ในการเช่อื มต่อ ยังสามารถท�ำให้เกิดการใช้ประโยชน์
กบั ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู โรงพยาบาล จากข้อมูลทางการแพทย์ในการสร้าง
(Hospital Information System: HIS) นวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรม
ยกตัวอย่างเช่น HosXP, HosOS, การแพทยต์ อ่ ไปในอนาคตได้

Trackcare รวมถงึ การเชอ่ื มตอ่ กบั ระบบ

แนวคิดและหลกั การประยกุ ภตา์ใคชร้เัฐทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 171

3 โครงสร้างพื้นฐานด้านไอที
IT Infrastructure

โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นไอที (IT Infrastructure)
โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางไอทเี ปน็ อกี ปจั จยั ทสี่ ง่ ผล
ให้การน�ำระบบ e-Referral บนเทคโนโลยี
Blockchain มาใช้งานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
โดยโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเกี่ยวข้องสามารถ
จำ� แนกออกไดเ้ ปน็ 3 กลมุ่ ดว้ ยกนั ดงั ตอ่ ไปนี้

สว่ นตอ่ เช่อื มกบั ระบบไอที
ของโรงพยาบาล
Hospital Interface

เนอื่ งจากระบบ e-Referral ต้องอ้างองิ

ข้อมูลจากฐานข้อมูลต่าง ๆ ของ

โรงพยาบาล ดงั นน้ั สว่ นตอ่ เชอื่ มกบั ระบบ

อปุ กรณจ์ ดั เกบ็ ขอ้ มลู ไอทีของโรงพยาบาลจึงเป็นโครงสร้าง
Storage พ้ืนฐานหลักท่ีส�ำคัญ เพ่ือให้ระบบ

เป็นอุปกรณ์พื้นฐานท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ ส า ม า ร ถ แ ล ก เ ป ล่ี ย น ข ้ อ มู ล ไ ด ้ แ บ บ
เทคโนโลยี Blockchain โดยทำ� หนา้ ทใ่ี น Real-Time และมคี วามถกู ตอ้ ง

การเก็บขอ้ มลู รว่ มกัน รวมถงึ เก็บขอ้ มูล

ท่มี ีมูลค่า ยกตัวอย่างเชน่ ข้อมลู สุขภาพ

ประวตั กิ ารเขา้ รบั การตรวจรกั ษา

172 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ระบบการสื่อสาร

เนื่องจากผู้เข้าร่วมหรอื สมาชิกในระบบ

Blockchain จ�ำเป็นต้องมีการเชอื่ มต่อ

ส่ือสารถึงกันตลอด ดังน้ันระบบการ เน่ืองจากเทคโนโลยี Blockchain
สื่อสารจงึ เป็นโครงสร้างท่ีส�ำคัญเพ่ือ มีลักษณะเป็นโครงสร้างแบบกระจาย
ให้เกิดการส่ือสารกันภายในเครือข่าย (Distributed Architecture) ดังนั้น
ยกตัวอย่างเช่น การส่งข้อมูลสถานะ หน่วยงานหรอื สมาชกิ ที่เข้ามาร่วม
ทั่วไป การยืนยันตัวตนผู้เข้าร่วมระบบ ภายในเครอื ขา่ ย จำ� เปน็ ตอ้ งเตรียมความ
ไปจนถึงข้อมูลการถ่ายโอนสินทรัพย์ท่ีมี พร้อมของอุปกรณ์ ทั้งฝั่งองค์กรเอง
มูลคา่ ภายในเครือขา่ ย
และระบบการสื่อสาร เพื่อให้ระบบโดย

รวมสามารถด�ำเนินการต่อไปได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ

แนวคดิ และหลักการประยุกภตาใ์คชร้เัฐทคภโานยโใลตย้บี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 173

4 การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทเ่ี ก่ยี วข้อง
Human Resource Management

กำ� ลงั คนและศกั ยภาพของบคุ ลากรดา้ น
สาธารณสขุ ทง้ั ในสว่ นของภาครฐั และภาค
เอกชน เป็นอีกปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อ
ความส�ำเร็จของการประยุกต์ระบบ
e-Referral บนเทคโนโลยี Blockchain
โดยสามารถจ�ำแนกกลุ่มของบุคลากรที่
เกี่ยวข้องตามการด�ำเนินงานออกเป็น
4 กลุ่ม ดงั ตอ่ ไปน้ี

ผดู้ ูแลระบบ
System Administrators

ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ในอตุ สาหกรรม มหี นา้ ทใ่ี นการดแู ลระบบ กจิ กรรมภายใน
สาธารณสขุ ระบบ การสื่อสารของระบบให้สามารถ
ดำ� เนนิ การไดป้ กติรวมทงั้ ทำ� หนา้ ทใ่ี นการนำ�

มีหน้าที่ในการวางแผนยุทธศาสตร์เพ่ือ ระบบขึ้นใชง้ าน(Deployment)การตอ่ เช่อื ม

รองรบั การใชง้ านเทคโนโลยี วางนโยบาย และการปรับตั้งค่า (Configuration)

และกฎระเบยี บตา่ ง ๆ ในการดำ� เนนิ การ ระบบของหนว่ ยงานใหเ้ ชอื่ มตอ่ กบั ระบบ

สั่งการ มอบหมายงาน และประเมิน e-Referral ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ

ผลการท�ำงานแก่ผู้ทเี่ กยี่ วข้อง

174 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

เจา้ หน้าทตี่ รวจสอบ
Auditors

มหี น้าที่ในการตรวจสอบการทำ� งานของ

เจ้าหนา้ ท่ีปฏิบตั ิการ ระบบ ว่ามีความถูกต้องเหมาะสมตาม
System Operators
ขอ้ ตกลงทก่ี �ำหนดหรอื ไม่ เรม่ิ ตัง้ แต่การ
ตรวจสอบธรุ กรรมทีเ่ กดิ ขึน้ ภายในระบบ

มหี นา้ ทใี่ นการดแู ล ตรวจสอบการทำ� งาน สิทธิการเข้าถึงของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง
(Monitoring) เพอ่ื ใหก้ ารเชื่อมตอ่ ระหวา่ ง ทง้ั หมด รวมถงึ ตรวจสอบความเทยี่ งตรง
ระบบ e-Referral และ Application (Integrity) ของธุรกรรมท่ีเกิดขึน้ และ
ท่ีเก่ียวข้องสามารถท�ำงานได้อย่างปกติ บัญชีที่จัดเก็บ เพื่อให้สอดคล้องกับ
และตอ่ เน่ือง กฎระเบียบท่มี กี ารกำ� หนดข้นึ

แนวคิดและหลกั การประยกุ ภตา์ใคชร้เฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 175

เอกสารแนบทา้ ย 1

ตารางสรปุ ตัวอยา่ งการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain
ส�ำหรบั งานบริการภาครัฐในตา่ งประเทศ

ประเทศ โครงการ สถานะ อ้างองิ
ประเทศไทย บรกิ ารหนังสอื ค�ำ้ ประกนั โครงการ https://www.
ประเทศ อิเล็กทรอนกิ สห์ รอื e-LG ผ่าน โดยใชง้ านจรงิ cgd.go.th,
ออสเตรเลยี เทคโนโลยีบล็อกเชน แลว้ ตั้งแตป่ ี https://www.
ค.ศ.2019 bci.network
ประเทศจนี
วฒุ ิสมาชกิ ประเทศออสเตรเลียไดม้ ี ประกาศในปี (Martinovic,
การจดั ตง้ั คณะท�ำ งานขน้ึ เพอ่ื ท�ำ หนา้ ท่ี 2017 Kello, &
ขบั เคลอ่ื นการน�ำ เทคโนโลยี Blockchain Sluganovic,
มาใชใ้ นประเทศออสเตรเลยี ทง้ั ภาครฐั 2017)
และภาคเอกชน

ตลาดหลกั ทรพั ยอ์ อสเตรเลยี (ASX) ประกาศในปี (Martinovic
ไดป้ ระกาศจะน�ำ เทคโนโลยี Blockchain 2017 และเริม่ et al., 2017)
มาใช้เพื่อแทนท่รี ะบบการหกั บญั ชี ใช้จรงิ ในปี
และการช�ำ ระบัญชปี ัจจุบนั ซ่ึงก็คอื 2018
ระบบ CHESS (The Clearing House
Electronic Sub- Register System)

ระบบบรหิ ารจดั การกองทนุ ประกนั สงั คม ประกาศในปี (Martinovic
โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain 2016 et al., 2017)
(Social Security Funds Management
System)

การประเมินมลู คา่ สนิ เช่ือที่อยอู่ าศยั ประกาศในปี (Martinovic
โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain 2016 et al., 2017)
(Mortgage Valuations on
Blockchain)

ระบบการบรหิ ารจดั การสนิ ทรัพย์ ประสบความ (Martinovic
โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain ส�ำ เรจ็ ในการ et al., 2017)
(Blockchain-Based Asset Custody ใช้งาน โดยใช้
System (PSBC)) งานจริงตัง้ แต่ปี
2016

เอกสารแนบทา้ ย 177

ประเทศ โครงการ สถานะ อ้างอิง
นครรฐั ดไู บ โครงการ (Buterin,
ประเทศสหรฐั Mccaleb,
อาหรบั เอมเิ รต การพัฒนาโครงการเมืองนวัตกรรม ประกาศในปี Shen, & Bai,
ด้านพลงั งาน (The Smart City 2016 2018)
Project of Energy Innovation)
โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain รวมกบั (Sundararajan,
เทคโนโลยดี า้ นอน่ื ๆ ยกตวั อยา่ งเชน่ 2018)
Cloud Computing, Big Data, IoT
และ AI ขนึ้ ท่เี มือง Hangzhou (Mao, Wang,
Hao, & Li,
ระบบการจัดเกบ็ ภาษี (Intelligent Tax ประกาศในปี 2018)
System) โดยท�ำ งานร่วมกบั ระบบ 2018 (Martinovic
ใบแจ้งหนี้อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic et al., 2017)
Invoice System) ซึง่ ท�ำ งานอยบู่ น (Martinovic
เทคโนโลยี Blockchain เพื่อปอ้ งกนั et al., 2017)
การหลกี เลยี่ งภาษี โดยใชเ้ อกสาร (Martinovic
ใบแจง้ หน้ปี ลอม et al., 2017)
(Kong, 2018)
ระบบการตรวจสอบความปลอดภยั ประกาศในปี
ของอาหารทงั้ ห่วงโซ่อปุ ทาน (Food 2016
Supply Chain Traceability System)
โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain

ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู และเอกสาร อย่รู ะหว่าง
ภาครฐั (Government Documents ด�ำ เนินการ
Management System)

หนังสอื เดินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ประกาศในปี
(Digital Passport) โดยใชเ้ ทคโนโลยี 2017
Blockchain

ระบบขอ้ มูลการขนส่งสนิ คา้ แบบ ประกาศในปี
เรียลไทม์ (Real-time Shipment 2017
Information System)

ระบบจดั เกบ็ และส่งตอ่ ข้อมลู ประกาศในปี
ประวตั กิ ารรักษาพยาบาลของผ้ปู ่วย 2017
(Electronic Health Record
System: EHRs)

178 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ประเทศ โครงการ สถานะ อา้ งอิง
ประเทศ โครงการ
เอสโตเนยี
ระบบการออกใบรับรองเพชร ประกาศในปี (Ngo, 2017)
(Diamond Certificate) โดย The Dubai 2017
Multi Commodities Centre ได้น�ำ
เทคโนโลยี Blockchain เข้ามาใช้ใน
การออกใบ Certificate ให้กบั เพชร
หรือทร่ี ้จู กั กนั ในชอ่ื “Kimberley
Certificates”

การจดทะเบียนถอื ครองกรรมสทิ ธิ์ ประกาศในปี (Journo,
ทดี่ ิน (Land Title Registry) ภายใต้ 2017 2018)
ชือ่ โครงการ “Dubai Real-Estate
Blockchain”

eID (electronic ID management ใช้งานจริง (Shen, 2016)
system) แล้ว ปจั จุบนั
อยรู่ ะหวา่ ง
การอพั เกรด
เวอร์ชนั

ระบบบรหิ ารจดั การข้อมูลสุขภาพ ใชง้ านจรงิ แลว้ (Basu, 2018)
หรือ e-Health (Medical Information ปจั จบุ นั อยู่
Management System) ระหวา่ งการ
อพั เกรดเวอรช์ นั

ระบบเอกลักษณ์ดิจทิ ลั ขา้ มชาติ หรอื ใชง้ านจรงิ แล้ว (Sullivan
e-Residency (A First-of-a-Kind ตัง้ แตป่ ี 2015 & Burger,
A Transnational Digital Identity) 2017)

ระบบศาลดจิ ิทัล (Digital Court ใช้งานจริงแล้ว (Jun, 2018)
System: e-Court) โดยใช้เทคโนโลยี ตง้ั แต่ปี 2015
KSI Blockchain มาชว่ ยในเรอ่ื งของ
การป้องกันการปลอมแปลงเอกสาร
หรือทเ่ี รียกว่าระบบ e-File

ระบบ Document Registries ตา่ ง ๆ ใชง้ านจรงิ แลว้ (Martinovic
เช่น Business Registry, Property ต้งั แตป่ ี 2015 et al., 2017)
Registry, Succession Registry
และ Healthcare Registry

เอกสารแนบทา้ ย 179

ประเทศ โครงการ สถานะ อา้ งองิ
โครงการ (Electronic
Voting
ระบบการลงคะแนนเสียงเลือกตงั้ ใช้งานจรงิ แล้ว Committee,
(i-Voting) โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ต้ังแต่ปี 2015 2016)
(Martinovic
ประเทศฝรั่งเศส ระบบการการซอื้ ขายหลักทรพั ย์ ประกาศในปี et al., 2017)
ทไี่ ม่เปน็ หลกั ทรพั ยจ์ ดทะเบียน 2017 (Aitken,
2016)
ประเทศกานา การจดทะเบียนถือครองกรรมสิทธ์ิ อยูร่ ะหวา่ ง (Jardine,
ท่ดี ิน (Land Title Registry) โดย ดำ�เนินการ 2018)
NGO “Bitland”
(Higgins,
ประเทศจอรเ์ จีย การจดทะเบยี นถือครองกรรมสทิ ธ์ิ อยรู่ ะหวา่ ง 2016)
ทีด่ นิ (Land Title Registry) ด�ำ เนนิ การ (Jun, 2018)

ประเทศฮอนดรู สั การจดทะเบียนถอื ครองกรรมสทิ ธิ์ ประกาศในปี (Jun, 2018)
ที่ดิน (Land Title Registry) 2015
แต่โครงการ (Jun, 2018)
ล้มเหลว

ประเทศรัสเซีย ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู และเอกสาร ประกาศในปี
ภาครัฐ (Government Documents 2016
Management System)

ระบบบรหิ ารจดั การข้อมลู สขุ ภาพ ประกาศในปี
หรือ e-Health (Medical Information 2017
Management System)

ประเทศสิงคโปร์ ระบบการช�ำ ระเงนิ ระหว่างธนาคาร ประกาศในปี
ข้ามพรมแดน (Cross-Border 2016 และอยู่
Interbank Payments) ระหว่างการทำ�
Proof-of-
Concept

ระบบการออกตราสาร การช�ำ ระและ อยู่ระหว่าง
แลกเปล่ียนเงนิ ตราและหลักทรพั ย์ ดำ�เนินการ
ระหว่างธนาคาร และทดลองใชง้ าน
เงินสกลุ แหง่ ชาตใิ นรูปแบบ
Cryptocurrency

180 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ประเทศ โครงการ สถานะ อ้างอิง
ประเทศสวีเดน โครงการ (Verhulst &
ประเทศสวิต Young, 2018)
เซอรแ์ ลนด์ ระบบการจดทะเบียนถอื ครอง อยรู่ ะหวา่ งการ
ประเทศยูเครน กรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ (Land Title Registry) ทดสอบระบบ (Jun, 2018)
โดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain และ ในปี 2017 (Verhulst &
ประเทศอังกฤษ Smart Contract Young, 2018)

ระบบการช�ำ ระคา่ ธรรมเนยี มโดยใช้ ใชง้ านจริงแลว้ (Abouzeid,
เงนิ สกลุ ดิจทิ ลั เชน่ Bitcoin ต้งั แตป่ ี 2016 2016)
(Ngo, 2016)
ระบบการจัดเก็บอตั ลักษณ์ทางดจิ ทิ ลั ประกาศในปี
(Digital Identity) โดยใชห้ ลักการ 2017 (Graglia
ของ Self-Sovereign Identity & Mellon,
บนเทคโนโลยี Blockchain 2018)
(Hebblethwaite,
ระบบลงคะแนนเสยี งเลือกตั้ง e-Vox ประกาศในปี 2017)
(Ethereum Blockchain-Based 2016
Election Platform) (Jun, 2018)
(Jun, 2018)
ระบบการประมลู แบบดิจิทลั โดยใช้ ประกาศในปี
เทคโนโลยี Blockchain 2016
(Blockchain-Based Auction
System)

การจดทะเบียนถอื ครองกรรมสทิ ธิ์ ประกาศในปี
ทีด่ นิ (Land Title Registry) 2017

ระบบการจ่ายสวสั ดกิ ารภาครฐั โดยใช้ ประกาศในปี
เทคโนโลยี Blockchain 2016 และ
ประสบความ
ส�ำ เรจ็ ในการ
ทดสอบการใช้
งานระบบ

ระบบการบริการภาครฐั ตา่ ง ๆ ใช้งานจริง
โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain ตัง้ แต่ปี 2016

ระบบการช�ำ ระเงนิ ระหว่างธนาคาร ประกาศในปี
โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain 2017

เอกสารแนบท้าย 181

ประเทศ โครงการ สถานะ อ้างอิง
ประเทศ โครงการ
สหรัฐอเมริกา
ระบบการแลกเปล่ียนข้อมูล ประกาศในปี (Jun, 2018)
ประเทศไต้หวัน ดา้ นสุขภาพ 2016 และ
ประเทศญี่ปุ่น อย่รู ะหวา่ ง
ประเทศ การทดสอบ
ยบิ รอลตาร์ ระบบซึ่งเปน็
โครงการน�ำ รอ่ ง

อนุญาตให้สามารถท�ำ การซือ้ ขายหนุ้ ประกาศในปี (Jun, 2018)
Bitcoin 2015

อนญุ าตให้ Blockchain Smart ประกาศเปน็ (De, 2018)
Contract มีผลบงั คับใช้ไดท้ าง กฎหมายแหง่
กฎหมาย รัฐอรโิ ซนา และ
มผี ลบังคับใช้
ในปี 2017

อนุญาตให้ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ประกาศเป็น (Jun, 2018)
กบั ตลาดหลักทรพั ยใ์ นการซื้อขายหนุ้ กฎหมายแห่ง
และจดั เก็บขอ้ มูลธรุ กรรมต่าง ๆ ได้ รัฐเดลาแวร์
และถกู ตอ้ งตามกฎหมาย และมีผลบงั คับ
ใช้ในปี 2017

ระบบ Identity Management ประกาศในปี (Verhulst &
บนเทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ น 2017 Young, 2018)
การเกบ็ สตู บิ ตั รของเดก็ ทารกแรกเกดิ
(Birth Registration) ของรฐั อลิ ลนิ อยส์

ระบบการพิสจู น์และยืนยันตวั ตนทาง อยรู่ ะหวา่ ง (Rueter,
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Citizen Identification) การพฒั นา 2018)

อนญุ าตให้ Bitcoin และ ประกาศในปี
Cryptocurrency สามารถใชช้ �ำ ระหนี้ 2016
ไดต้ ามกฎหมาย

อนุญาตให้ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ประกาศในปี (Khatri, 2018)
กบั ตลาดหลักทรพั ยใ์ นการซ้อื ขายหุน้ 2017
และจัดเก็บขอ้ มูลธุรกรรมตา่ ง ๆ ได้
และถกู ตอ้ งตามกฎหมาย

182 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ประเทศ โครงการ สถานะ อา้ งองิ
ประเทศบราซิล การจดทะเบียนถือครองกรรมสทิ ธิ์ โครงการ (Graglia
ท่ีดิน (Land Title Registry) ประกาศในปี & Mellon,
2016 2018)
ประเทศ ระบบการลงคะแนนเสยี งเลอื กตัง้ (Verhulst &
เซียรร์ าลีโอน โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain ประกาศในปี Young, 2018)
2018 และอยู่
ประเทศอนิ เดีย การจดทะเบยี นถือครองกรรมสิทธ์ิ ระหว่างการทำ� (Graglia
ที่ดิน (Land Title Registry) Proof-of- & Mellon,
Concept 2018)
ประกาศในปี
2017

เอกสารแนบทา้ ย 183

บรรณานกุ รม

Abouzeid, N. (2016). Ukraine Government Plans to Trial Ethereum
Blockchain-Based Election Platform. Retrieved from https://
bitcoinmagazine.com/articles/ukraine-government-plans-to-
trial-ethereum-blockchain-based-election-platform-
1455641691/

Aitken, R. (2016). Bitland’s African Blockchain Initiative Putting Land
on The Ledger. Retrieved from https://www.forbes.com/
sites/rogeraitken/2016/04/05/bitlands-african-blockchain-
initiative-putting-land-on-the-ledger/#2f7b8c007537

Baran, P. (1964). On distributed communications: I. Introduction to
distributed communications networks. Retrieved from

Basu, M. (2018). Estonia Using Blockchain to Secure Health Records:
Blockchain’s Public Sector Use Goes Beyond Payments.
Retrieved from https://govinsider.asia/innovation/estonia-
using-blockchain-to-secure-health-records/

Belinky, M., Rennick, E., & Veitch, A. (2015). The Fintech 2.0 Paper:
Rebooting Financial Services. In: Santander InnoVentures.

Breene, K. (2016). The 10 Countries Best Prepared for the New
Digital Economy. Retrieved from https://www.weforum.org/
agenda/2016/07/countries-best-prepared-for-the-new-digital-
economy/

184 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

Buterin, V. (2014). A next-generation smart contract and decentralized
application platform. white paper.

Buterin, V., Mccaleb, J., Shen, B., & Bai, S. (2018). Wanxiang Smart
City Global Blockchain Challenge. Retrieved from http://
www.wblockchain.com/global/index_en.html

Chase, K. (2017). Japan Plans Blockchain Test for Government
Procurement Process. Retrieved from https://dcebrief.com/
japan-plans-blockchain-test-for-government-procurement-
process/

Cheng, S., Daub, M., Domeyer, A., & Lundqvist, M. (2017). Using
Blockchain to Improve Data Management in The Public
Sector. Retrieved from https://www.mckinsey.com/business-
functions/digital-mckinsey/our-insights/using-blockchain-to-
improve-data-management-in-the-public-sector

Crosby, M., Pattanayak, P., Verma, S., & Kalyanaraman, V. (2016).
Blockchain Technology: Beyond Bitcoin. Applied Innovation,
2, 6-10.

De, N. (2018). Arizona’s Governor Signs Latest Blockchain Bill Into Law.
Retrieved from https://www.coindesk.com/arizonas-governor-
signs-latest-blockchain-bill-into-law

Deloitte. (2018). Blockchain in Public Sector: Transforming Government
Services through Exponential Technologies. In (pp. 1-28).
India: Deloitte Tohmatsu Limited.

เอกสารแนบทา้ ย 185

Electronic Voting Committee. (2016). General Framework of Electronic
Voting and Implementation Thereof at National Elections
in Estonia. Tallin Univrsity of Technology, 1-21.

Futter, D., Hale, A., Elverston, N., & Waters, T. (2017). Blockchain
101: An introductory Guide to Blockchain. Retrieved from
https://www.ashurst.com/en/news-and-insights/insights/
blockchain-101/

Graglia, J. M., & Mellon, C. (2018). Blockchain and Property in 2018:
At The End of The Beginning. Paper presented at the 2018
World Bank Conference on Land and Poverty Washington
DC.

Hebblethwaite, C. (2017). GovCoin Aims to Disrupt UK Welfare System.
Retrieved from https://www.blockchaintechnology-news.
com/2017/11/28/govcoin-aims-disrupt-uk-welfare-system/

Higgins, S. (2016). The Russian Government is Testing Blockchain for
Document Storage. Retrieved from https://www.coindesk.
com/the-russian-government-is-testing-blockchain-for-
document-storage

Holgate, R. (2018). Blockchain for Government State of Washington.
Retrieved from

Jamsrandorj, U. (2017). Decentralized Access Control Using Blockchain
(Master Degree), University of Saskatchewan Saskatoon,

186 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

Jardine, B. (2018). Georgia Stakes Place on Wild Frontier of Blockchain
Governance. Retrieved from https://eurasianet.org/georgia-
stakes-place-on-wild-frontier-of-blockchain-governance

Journo, A. H. (2018). Dubai Developments will be Built on Blockchain.
Retrieved from https://digit.fyi/dubai-blockchain/

Jun, M. (2018). Blockchain Government-A Next form of Infrastructure
for The Twenty-First Century. Journal of Open Innovation:
Tecnology, Market, and Complexity, 4(7), 1-12. doi:http://dx.
doi.org/10.1186/s40852-018-0086-3

Khatri, Y. (2018). Gibraltar Stock Exchange Wins License for Blockchain
Subsidiary. Retrieved from https://www.coindesk.com/gibraltar-
stock-exchange-wins-license-for-blockchain-subsidiary

Kohut, I. (2018). How Companies Can Leverage Private Blockchains
toImprove Efficiency and Streamline Business Processes.
Retrieved from https://perfectial.com/blog/leveraging-
private-blockchains/

Kong, J. (2018). Blockchain UAE: Global Healthcare Implications.
Retrieved from http://www.milliman.com/insight/2018/
Blockchain-UAE-Global-healthcare-implications/

Krawiec, R., Housman, D., White, M., Filipova, M., Quarre, F., Barr, D., . . .
Tsai, L. (2016). Blockchain: Opportunities for Health Care.
In (pp. 1-16): Deloitte Development LLC.

เอกสารแนบทา้ ย 187

Mao, D., Wang, F., Hao, Z., & Li, H. (2018). Credit Evaluation System
Based on Blockchain for Multiple Stakeholders in the
Food Supply Chain. International Journal of Environmental
Research and Public Health, 15, 1627-1647. doi:http://dx.doi.
org/10.3390/ijerph15081627

Marchionni, P. (2018). Next Generation Government Service Bus:
The Blockchain Landscape. SSRN, 1-42. doi:http://dx.doi.
org/10.2139ssrn.3141749

Martinovic, I., Kello, L., & Sluganovic, I. (2017). Blockchains for
Governmental Services: Design Principles, Applications,
and Case Studies. Center for Technology and Global
Affairs, 1(7), 1-16.

Morris, N. (2018). ISO Blockchain Standards Planned for 2021.
Retrieved from https://www.ledgerinsights.com/iso-
blockchain-standards/

Nakamoto, S. (2008). Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System.

Ngo, D. (2016). Feature Interview: Lasha Antadze on Ukraine’s
Blockchain-Powered State Property Auction System.
Retrieved from https://btcmanager.com/feature-interview-
state-property-auction-system/

Ngo, D. (2017). Dubai’s Global Blockchain Council Combats “Conflict
Diamonds” Trading. Retrieved from https://bitcoinmagazine.
com/articles/dubais-global-blockchain-council-combats-
conflict-diamonds-trading/

188 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

Nuuneoi. (2016). Blockchain for Geek. Retrieved from https://nuuneoi.
com/blog/blog.php?read_id=901

Parker, L. (2017). Procivis sets out to replace government services
with blockchain alternatives. Retrieved from https://
bravenewcoin.com/insights/procivis-sets-out-to-replace-
government-services-with-blockchain-alternatives

Rueter, T. (2018). New Distributed Ledger Digital ID Project Faces a Test
in Taiwan. Retrieved from https://www.secureidnews.com/
news-item/new-distributed-ledger-digital-id-project-faces-
a-test-in-taiwan/

Serrano, O. L. (2017). Is Blockchain Really Immutable? Retrieved
fromhttps://www.bbva.com/en/blockchain-really-immutable/

Shen, J. (2016). e-Estonia: The power and Potential of Digital Identity.
Retrieved from https://blogs.thomsonreuters.com/answerson/
e-estonia-power-potential-digital-identity/

Sullivan, C., & Burger, E. (2017). e-Residency and Blockchain.
Computer Law & Security Review, 33(4), 470-481.
doi:http://dx.doi.org/10.1016/j.clsr.2017.03.016

Sundararajan, S. (2018). Chinese City to Use Blockchain In Fight
Against Tax Evasion. Retrieved from https://www.coindesk.
com/tencent-partners-with-city-authority-to-combat-tax-
evasion-with-blockchain

เอกสารแนบท้าย 189

Umeh, J. (2016). Blockchain Double Bubble or Double Trouble?
ITNOW, 58(1), 58-61. doi:http://dx.doi.org/10.1093/itnow/
bww026

Veedvil. (2017). ทำ�ความเข้าใจเทคโนโลยี Blockchain จุดเปล่ียน
ของหลายอุตสาหกรรม. Retrieved from http://
www.veedvil.com/news/blockchain/

Verhulst, S. G., & Young, A. (2018). Blockchange: Blockchain
Technologies for Social Change. GovLab, 1-98.

Yaga, D., Mell, P., Roby, N., & Scarfone, K. (2018a). Blockchain Technology
Overview. National Institute of Standards and Technology (NIST),
8202, 1-68. doi:https://doi.org/10.6028/NIST.IR.8202

Yaga, D., Mell, P., Roby, N., & Scarfone, K. (2018b). Blockchain technology
overview. Draft NISTIR, 8202.

Yermack, D. (2017). Corporate governance and blockchains. Review
of Finance, 21(1), 7-31.

Zheng, Z., Xie, S., Dai, H.-N., & Wang, H. (2016). Blockchain challenges
and opportunities: A survey. International Journal of Web
and Grid Services, 1, 1-25.

ส�ำ นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน). (2560). (ร่าง) แผนพัฒนา
รฐั บาลดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564. ประเทศไทย

อาชวานนั ทกลุ , ส. (2016). จาก “สญั ญาอจั ฉรยิ ะ” สู่ “องคก์ รอตั โนมตั กิ ระจายศนู ย”์
(decentralized autonomous organization – DAO).
Retrieved from http://thaipublica.org/2016/09/decentralized-
autonomous-orgs/

190 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES



อาคารบางกอกไทยทาวเวอร 108 ถนนรางนำ้
แขวงถนนพญาไท เขตราชเทว� กรงุ เทพฯ 10400
โทรศพั ท : (+66) 0 2612 6000
โทรสาร : (+66) 0 2612 6011 , (+66) 0 2612 6012
Contact Center : (+66) 0 2612 6060
อเี มล : [email protected]

ดาวนโหลด e-Magazine ฟร�

eThcios b-oforikeinsdplryinsteodyuisnikngs


Click to View FlipBook Version