The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-05-31 00:22:41

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Blockchain For Government Services การใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ

Keywords: Blockchain

ในปัจจุบันบรกิ ารหนังสือค�้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบบล็อกเชน
ให้กับกลุ่มธนาคารพาณิชย์ และกลุ่มบรษิ ัทเอกชน โดยมีผู้เข้าใช้บรกิ าร
แล้วท้ังสิ้นจ�ำนวน 17 ธนาคาร และมีหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ รวมถึงบรษิ ัท
ขนาดใหญ่ในภาคธรุ กิจเขา้ รว่ มใช้บริการจำ� นวน 10 บรษิ ทั ฯ

Beneficiary Beneficiary
Beneficiary

PRIVATE PRIVATE
NODE NODE WITH CLOUD

Beneficiary PRIVATE NODE for Broker,
please see
Beneficiary COMMON appendix
NODE
BCI Portal BeBnreofkiceiar ry
Beneficiary Beneficiary

Blockchain Network Diagram

รปู ท่ี 21: รปู แสดงโครงสรา้ งไดอะแกรมของเน็ตเวริ ค์ บล็อกเชนและเช่อื มต่อ

เพ่อื งานกบารรปิกราะรยภุกาตครใ์ ชัฐ้เทกครณโนศี โกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 101

ในสว่ นของทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั หนว่ ยงาน มาตรฐานความปลอดภัย ที่ได้รับ
ภาครฐั ปจั จบุ นั ทางBCIไดม้ คี วามรว่ มมอื การยอมรับในระดับสากล ลดการใช้
กับกรมบัญชีกลางซึง่ เป็นศูนย์กลาง กระดาษ ลดการคายก๊าซคาร์บอน
การปฏิบัติงานด้านการจัดซ้ือจัดจ้าง (Carbon Footprint) เพื่อสร้าง
ส�ำหรับภาครัฐและเอกชน พัฒนา ส่ิงแวดล้อมท่ีดี ลดความทับซ้อน
ระบบให้บรกิ ารหนังสือค้�ำประกัน ของการเชอื่ มตอ่ กบั ธนาคารตา่ ง ๆ เดมิ
อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รอื e-LG ผา่ นเทคโนโลยี กรมบัญชีกลางเชื่อมต่อกับธนาคาร
บล็อกเชน ส�ำหรับการจัดซ้อื จัดจ้าง ในรูปแบบ Host2Host ส่งผลให้ต้อง
ภาครฐั บนระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์บนระบบ พัฒนาการเช่ือมต่อไปยังทุกธนาคาร
e-GP ซ่งึ นบั เปน็ ครง้ั แรกของหนว่ ยงาน ก ร ณี มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ กิ ด ข้นึ
ราชการท่ีเปิดให้มีการใช้ e-LG ท�ำให้ เ ช ่ น ก ร ม บั ญ ชีก ล า ง ต ้ อ ง ก า ร แ ก ้ ไ ข
ก า ร ยื่ น ห นั ง สื อ รั บ ร อ ง กั บ ภ า ค รั ฐ ข้อมูลในฟิลด์ โดยต้องท�ำการแก้ไข
มีความสะดวกมากข้ึน สามารถอนุมัติ ทุกการเชื่อมต่อ แต่เมื่ออยู่บนระบบ
รายการได้เร็วสุดภายใน 10 นาที e-LG การเช่อื มต่อเหลือเพียงแค่ระบบ
จากเดิมท่ีต้องใช้เวลากว่า 3-7 วัน เดียวคือเชื่อมกับระบบ Blockchain
ให้บรกิ ารด้านการจัดซอื้ จัดจ้างภาครัฐ ทม่ี ธี นาคารตา่ ง ๆ รว่ มอยแู่ ลว้ ทำ� ใหแ้ กไ้ ข
มีความโปร่งใส เป็นธรรม ภายใต้ เพียงแค่ครั้งเดียวก็สามารถรองรับ
กับทุกธนาคารได้

102 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

รปู ภาพที่ 22: ภาพการเปดิ ตวั บรกิ ารหนงั สอื คำ�้ ประกนั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
บนระบบ e-GP ผา่ นเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน

จากปัจจบุ ันมกี ารใช้หนังสือค้�ำประกนั อยู่ 500,000 ฉบบั ตอ่ ปี มวี งเงนิ
รวมกันกว่า 1.35 ล้านล้านบาท นอกจากบรกิ าร e-LG on Blockchain
น�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในการขับเคลื่อนกลุ่มธุรกิจอื่น ๆ ได้
เช่น การขอหนังสือรับรองสินเช่อื อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อขอจัดล�ำดับชั้น
ผู้ประกอบการงานก่อสร้างกับกรมบัญชีกลาง โดยผู้ประกอบการสามารถ
ส่งเอกสารได้ที่ธนาคารที่ให้บริการ และสามารถรอรับผลการอนุมัติ
ผา่ นทางระบบ e-GP ของกรมบัญชีกลางไดโ้ ดยตรง การขอหนังสอื รับรอง
สินเชอื่ อิเล็กทรอนิกส์จะช่วยลดความผิดพลาดในการตรวจสอบข้อมูล
และออกหนงั สือรับรองได้เรว็ ขนึ้

เพอ่ื งานกบารรปิกราะรยภกุาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนีศโึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 103

นอกจากนี้ได้มีการเปิดตัวโครงการหนังสือรับรองทางการเงินอิเล็กทรอนิกส์
ผ่านระบบบล็อกเชน หรอื Bank Confirmation on Blockchain ท่ีเกิดจาก
ความร่วมมือของหลายหน่วยงาน อาทิ ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน
คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บรษิ ัทผู้สอบบัญชี
และบรษิ ัทช้ันน�ำ เพ่ือช่วยแก้ปัญหาและลดระยะเวลาในการขอหนังสือรับรอง
ทางการเงิน ให้มีประสิทธภิ าพ รวดเร็ว มีความปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ป้องกัน
การปลอมแปลงข้อมูล ซ่งึ เป็นการยกระดับคุณภาพของรายงานทางการเงนิ
และเป็นกลไกท่ีส�ำคัญในการคุ้มครองผู้ลงทุนและเสรมิ สร้างความน่าเชอ่ื ถือ
ของตลาดทุนในประเทศ

104 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ปัจจยั ความส�ำเรจ็ ในการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain
สำ� หรับงานบรกิ ารภาครัฐ

นอกจากการศกึ ษารปู แบบและความเปน็ ไปไดข้ องการนำ� เทคโนโลยี Blockchain
มาใช้ในงานบริการตา่ ง ๆ ของภาครัฐแลว้ แต่การจะผลักดนั ใหโ้ ครงการดงั กล่าว
สามารถบรรลุผลได้อย่างเป็นรูปธรรมจ�ำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบดังแสดง
ในรปู ภาพที่ 18

การจัดตงั้
คณะทาํ งานแห‹งชาติ

(The National
Blockchain Council)

การพฒั นาบคุ ลากร การสรŒางระบบนเิ วศน
ดŒานเทคโนโลยี Blockchain ของเทคโนโลยี Blockchain
(Blockchain Ecosystem)
(Capacity Building)

การกําหนดมาตรฐาน การสราŒ งการกาํ กบั ดูแล
เก่ียวกับเทคโนโลยี การใชงŒ านเทคโนโลยี
Blockchain (Blockchain
Blockchain
Governance)

รูปภาพที่ 23: ปจั จัยความสำ� เร็จในการประยุกต์ใช้ 105
เทคโนโลยี Blockchain ส�ำหรบั งานบรกิ ารภาครัฐ

เพือ่ งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชฐั ้เทกครณโนศี โึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn

การจัดต้งั คณะท�ำงานแหง่ ชาติ The National Blockchain Council

การจดั ตงั้ คณะทำ� งานขึ้นมาเพอ่ื ทำ� หนา้ ทใี่ นการศกึ ษาวจิ ยั ขอ้ ดี ขอ้ เสยี รวมถงึ
การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ (Feasibility Study) และขอ้ จำ� กดั ภายใตบ้ ริบทของ
ประเทศนนั้ ๆ หากมกี ารนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ เนอ่ื งจากการนำ�
เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในงานบริการภาครัฐย่อมส่งผลกระทบต่อการ
เปล่ียนแปลงกระบวนการท�ำงานของหน่วยงานภาครัฐไปจากเดิม ซ่งึ จ�ำเป็น
ตอ้ งมคี ณะทำ� งานในการศกึ ษาวจิ ยั ถงึ ผลกระทบตา่ ง ๆ ทจี่ ะเกดิ ขึ้น รวมถงึ การ
วางแผนรับมือหากมีการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้เพ่ือสนับสนุนงาน
บริการภาครฐั โดยหนงึ่ ในกรณศี กึ ษาทน่ี า่ สนใจคอื รปู แบบการจดั ตง้ั คณะทำ� งาน
แหง่ ชาตขิ องประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ (Netherland) ไดม้ กี ารจดั ตงั้ Dutch National
Blockchain Coalition ซ่ึงถกู จดั ตง้ั โดย The Ministry of Economy Affairs’
Information Technology เป็นการจัดตั้งคณะท�ำงานที่ผสานความร่วมมือ
ในทกุ ภาคสว่ นมากกวา่ 20 หนว่ ยงานทวั่ ประเทศ ทงั้ หนว่ ยงานภาครฐั องคก์ รดา้ น
วิชาการ เชน่ สถาบนั การศกึ ษาและมหาวิทยาลยั รวมถงึ ภาคเอกชนทง้ั จากสถาบนั
การเงิน คมนาคมขนสง่ และโลจิสตกิ ส์ และพลงั งาน โดยการประสานความรว่ มมอื
ดงั กลา่ วมเี ปา้ หมายในการทำ� ใหป้ ระเทศเนเธอรแ์ ลนดข์ ึน้ ไปอยแู่ ถวหนา้ ในการ
เป็นประเทศผู้น�ำทางด้านเทคโนโลยีนวัตกรรม (Innovative Technology)
โดยเฉพาะการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ นการสรา้ ง Digital Identity
ซง่ึ คณะท�ำงานดังกล่าวมีหน้าท่ีในการศึกษาถึงความเป็นไปได้และข้อจ�ำกัด
ผลกระทบดา้ นสงั คม การพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล (Human Capital) รวมถงึ
มาตรการควบคมุ ตา่ ง ๆ เพอ่ื สรา้ งความมน่ั ใจ ความนา่ เชื่อถอื รวมถงึ การรบั รู้
จนนำ� ไปสกู่ ารยอมรบั จากประชาชนในสงั คมถงึ การนำ� เทคโนโลยี Blockchain
ดงั กลา่ วมาใชง้ าน (Krawiec et al., 2016)

106 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ก า ร จั ด ตั้ ง บ ริษั ท ให้เกิดประโยชน์ในวงกว้าง สามารถ
บีซีไอ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ BCI รองรับบรกิ ารที่หลากหลายในอนาคต
ภายใตโ้ ครงการ Thailand Blockchain และช่วยยกระดับความสามารถในการ
Community Initiative ซ่งึ ได้มีการ แข่งขันทางธุรกิจ จากการใช้ประโยชน์
จัดต้ังขึน้ ในปี ค.ศ.2019 โดยเกิดจาก จากโครงสร้างพื้นฐาน (shared
ความร่วมมือของธนาคาร รัฐวิสาหกิจ infrastructure) และเทคโนโลยี
และองค์กรธุรกิจช้ันน�ำ ภายใต้การ Blockchain ร่วมกัน โดยเร่ิมต้น
กำ� กบั ดแู ลของธนาคารแหง่ ประเทศไทย ใ ห ้ บ ริก า ร ห นั ง สื อ ค้� ำ ป ร ะ กั น
โ ด ย มี ธ น า ค า ร ผู ้ ร ่ ว ม ล ง ทุ น ท้ั ง สิ้ น อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบบล็อกเชน
6 ธนาคาร ประกอบดว้ ย ธ.กรงุ ศรีอยธุ ยา, (Letter of Guarantee on Blockchain
ธ.กรุงเทพ, ธ.กสิกรไทย, ธ.กรุงไทย, : e-LG on Blockchain) ถือเป็น
ธ.ไทยพาณิชย์ และ ธ.ทหารไทย อ ง ค ์ ก ร แ ร ก ที่ ไ ด ้ รั บ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ
เพื่อศึกษาเทคโนโลยี Blockchain จากธนาคารพาณิชย์ รัฐวิสาหกิจ
และน�ำมาพัฒนาเป็นบริการท่ีจับต้อง และธุรกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไทย
ได้จรงิ ในภาคการเงินและภาคธุรกิจ ในการก�ำหนดมาตรฐานการใช้งาน
โดยมีเป้าหมาย สร้างความร่วมมือ e-LG on Blockchain
และขยายชุมชน Blockchain ของไทย

เพอื่ งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 107

นอกจากนยี้ งั มปี ระเทศสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตสไ์ ดจ้ ดั ตง้ั The Global Blockchain
Council (GBC) โดยมีนครรัฐดูไบเป็นหนึ่งในสมาชิก ซ่งึ ได้มีการจัดตั้งขน้ึ ในปี
ค.ศ. 2016 ท�ำหนา้ ทีท่ ดสอบและผลกั ดนั โครงการต่าง ๆ เก่ยี วกับการพัฒนาและ
การใชง้ านเทคโนโลยี Blockchain ภายในประเทศสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ เพอื่ ใหเ้ ปน็
ไปตามเปา้ หมายทตี่ อ้ งการผลกั ดนั ใหป้ ระเทศสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตสก์ ลายเปน็ Smart
Future ใหท้ นั ภายในปี ค.ศ. 2020 โดยนครรฐั ดไู บประเทศสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์
(United Arab Emirates) ถือได้ว่าเป็นรัฐบาลที่มีความรอบรู้ด้านเทคโนโลยี
(Tech-Savvy) ในอนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก ซ่ึงประเทศสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ (United Arab
Emirates) ถกู จดั อยใู่ นอนั ดบั ท่ี 2 ของโลก โดย The World Economic Forum 2016
วา่ เปน็ รฐั บาลทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการนำ� ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
รวมไปถงึ การทำ� ธรุ กรรมผา่ นออนไลนต์ า่ ง ๆ เพอื่ ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน (Breene, 2016)
นครรัฐดูไบได้มีการก�ำหนดยุทธศาสตร์ชาติในการเป็นเมืองหลวงของเทคโนโลยี
Blockchain “The Global Capital of Blockchain” ประกอบไปดว้ ยเปา้ หมาย
3 ด้านดว้ ยกนั คือ

108 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งานของภาครฐั (Government Efficiency)
โดยตั้งเป้าหมายในการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ส�ำหรับ
การให้บริการภาครฐั แบบเตม็ รูปแบบทั้งระบบ

การสรา้ งอุตสาหกรรมเทคโนโลยี Blockchain (Industries Creation)
โดยผลกั ดนั และสนบั สนุนให้เกิดการพฒั นา Blockchain Ecosystem
ขึน้ ภายในประเทศ ท้ังภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ รวมถึงบรษิ ัท
สตารท์ อัพต่าง ๆ

การเปน็ ผนู้ ำ� ทางดา้ นเทคโนโลยี Blockchain (International Leadership)
โดยจดั ทำ� โครงการนำ� รอ่ งเกยี่ วกบั การพฒั นา และการใชง้ านเทคโนโลยี
Blockchain ทง้ั ภายในนครรัฐดูไบ และประเทศสหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์
ภายใตก้ ารกำ� กับดแู ลของ The Global Blockchain Council (GBC)
ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย 7 โครงการสำ� คญั ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

โครงการท่ี 1 โครงการที่ 2

การน�ำเทคโนโลยี Blockchain การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้
มาใช้ในการจัดเก็บและส่งต่อข้อมูล ในการออกใบ Certificate ให้กับเพชร
ประวตั กิ ารรกั ษาพยาบาลของผปู้ ว่ ยเพอ่ื โดย The Dubai Multi Commodities
ให้ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับกระบวนการ Centre ไดน้ ำ� เทคโนโลยี Blockchain
รักษาพยาบาลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ เข้ามาใช้ในการออกใบ Certificate
อย่างปลอดภัย ใหก้ บั เพชรหรอื ทรี่ จู้ กั กนั ในชอื่ “Kimberley
Certificates”

เพ่ืองานกบารรปกิ ราะรยภกุาตคร์ใชฐั ้เทกครณโนศี โึกลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 109

โครงการที่ 3 โครงการที่ 6

การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ การน�ำเทคโนโลยี Blockchain
ในการโอนกรรมสทิ ธิ์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มาใช้ในการสร้างโปรแกรมสะสมแต้ม
สนิ ทรพั ยท์ มี่ สี ภาพคลอ่ งตำ�่ ยกตวั อยา่ ง เพอื่ กระตนุ้ การทอ่ งเทยี่ วภายในประเทศ
เชน่ ทดี่ นิ โดยเทคโนโลยี Blockchain สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์
สามารถเขา้ มาชว่ ยลดขนั้ ตอนดา้ นเอกสาร
และเพิ่มประสิทธภิ าพกระบวนการท�ำ โครงการที่ 7
ธรุ กรรมเกยี่ วกบั อสงั หาริมทรพั ย์
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้
โครงการที่ 4 ในการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบ
การน�ำเข้าและส่งออกสินค้าระหว่าง
การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใช้ ประเทศ โดยเฉพาะพิธีการทางเอกสาร
ในกระบวนการพิสูจน์ตัวตน (Identity เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ และความรวดเรว็
Management) เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพ ในการจดั สง่ และชำ� ระเงนิ ระหวา่ งประเทศ
ลดระยะเวลาในการด�ำเนินการทาง
ธุรกรรมต่าง ๆ กบั ภาครัฐ ร ว ม ถึ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริก า
โดยพบว่าในหลายรัฐ ยกตัวอย่างเช่น
โครงการท่ี 5 รฐั นวิ ยอรก์ รฐั เวอรจ์ ิเนยี รฐั ฮาวายรฐั เมน
และรัฐไวโอมิง ต่างก็มีการจัดตั้งคณะ
การน�ำเทคโนโลยี Blockchain ทำ� งานเกยี่ วกบั เทคโนโลยี Blockchain
มาใชใ้ นการทำ� พนิ ยั กรรมดจิ ทิ ลั เพอ่ื โอน ขนึ้ มา โดยคณะท�ำงานดังกล่าวได้ถูก
กรรมสทิ ธ์ทิ รพั ยส์ นิ ตา่ ง ๆ ใหแ้ กท่ ายาท จดั ตงั้ ขน้ึ อย่างเปน็ รูปธรรม และถูกต้อง
ตามกฎหมาย มีอ�ำนาจหน้าท่ีในการ
ศึกษาผลกระทบต่าง ๆ ที่จะเกิดขน้ึ
หากมีการน�ำเทคโนโลยี Blockchain
มาใชส้ �ำหรับงานบรกิ ารในภาครัฐ

110 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

การสรา้ งระบบนิเวศของเทคโนโลยี Blockchain
Blockchain Ecosystem

ในการขบั เคลอ่ื น รวมถงึ การพฒั นาตอ่ ยอดตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยี
Blockchain ให้เกิดขนึ้ ได้อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนนั้นมีความจ�ำเป็น
อย่างย่ิงที่จะต้องสร้างระบบนิเวศของเทคโนโลยี Blockchain ท่ีเอ้ือต่อ
การพัฒนา ยกตัวอย่างเช่น นครรัฐดูไบท่ีได้มีการวางนโยบายของประเทศ
ในการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชใ้ นงานบรกิ ารภาครฐั อยา่ งเตม็ รปู แบบ
อกี ทง้ั ยงั มกี ารผลกั ดนั และสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การพฒั นาระบบนเิ วศทเ่ี ออ้ื อำ� นวย
ต่อการพัฒนาเทคโนโลยี Blockchain ท้ังในภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ
รวมถึงบรษิ ทั สตารท์ อพั ต่าง ๆ

การสร้างการก�ำกับดูแลการใช้งานเทคโนโลยี Blockchain
Blockchain Governance

การประยุกต์ใชง้ านเทคโนโลยี Blockchain โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในภาครัฐ
มกั พบปญั หาในดา้ นความเชอื่ มน่ั และการยอมรบั จากสงั คม ซง่ึ สามารถพบเหน็
ได้จากหลาย ๆ โครงการน�ำร่องเมื่อถูกขยายผลไปสู่การใช้งานจรงิ ในระดับ
ประเทศ ดงั นน้ั ในการขบั เคลอื่ นการใชง้ านเทคโนโลยี Blockchain มคี วามจำ� เปน็
อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งสรา้ งกรอบ หรอื มาตรการในการกำ� กบั ดแู ล โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
ในเรื่องของกฎหมายตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยี Blockchain เพอ่ื ใหเ้ กดิ

เพ่ืองานกบารรปิกราะรยภุกาตคร์ใชฐั ้เทกครณโนีศโึกลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 111

ความสงบเรยี บรอ้ ยในการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชง้ าน ยกตวั อยา่ งเชน่
ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ซ่งึ ถือว่าเป็นอีกประเทศหนึ่งท่ีให้ความส�ำคัญกับ
การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในงานบริการภาครัฐ นอกจากการให้
ความสำ� คญั ในเร่ืองของการนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาใชง้ านแลว้ ประเทศ
สหรฐั อเมรกิ ายงั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การออกกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยี
Blockchain ท้ังในระดับรัฐ (State Action) และรัฐบาลกลาง (Federal
Action) โดยการออกกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยี Blockchain ของ
ประเทศสหรัฐอเมรกิ าน้ัน สามารถจ�ำแนกได้เปน็ 5 กลุ่มดว้ ยกันดังตอ่ ไปน้ี

กฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังคณะกรรมการ / คณะท�ำงานเพ่ือศึกษาข้อดี
ขอ้ เสยี ขอ้ จำ� กดั รวมถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องการนำ� เทคโนโลยี Blockchain
มาใช้งาน ยกตวั อยา่ งเชน่ รฐั นวิ ยอรก์ รฐั เวอร์จเิ นีย รฐั ฮาวาย รัฐเมน
รฐั ไวโอมิง และรฐั เวอรม์ อนต์

112 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

กฎหมายว่าด้วยการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยี
Blockchain ยกตวั อยา่ งเชน่ รฐั แคลฟิ อเนยี ร์ รฐั เดลาแวร์ รฐั อลิ ลนิ อยส์
รัฐเทนเนสซี และรัฐเนวาดา
กฎหมายว่าด้วยการจัดเก็บข้อมูลภาครัฐในรูปแบบดิจทิ ัล โดยใช้
เทคโนโลยี Blockchain ยกตัวอยา่ งเชน่ รฐั แคลิฟอเนยี ร์ รฐั โคโรราโด
รัฐแมรแิ ลนด์ รัฐมิชิแกน รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐนิวยอร์ก รัฐโอไฮโอ
รฐั แอริโซนา และรัฐอลิ ลนิ อยส์
กฎหมายว่าด้วยเงนิ สกุลดิจทิ ัล (Digital Currency) ยกตัวอย่างเช่น
รัฐคอนเนตทคิ ัต รฐั มิชิแกน รฐั เนแบรสกา และรัฐเวอร์มอนต์
กฎหมายวา่ ดว้ ยเร่อื งสญั ญาอจั ฉริยะ (Smart Contract) ยกตวั อยา่ งเชน่
รฐั คอนเนตทคิ ตั รฐั ฟลอริดารัฐเนแบรสกา รัฐนิวยอรก์ และรัฐโอไฮโอ

การกำ� หนดมาตรฐานเก่ยี วกับเทคโนโลยี Blockchain

ถึงแม้เทคโนโลยี Blockchain จะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาเปล่ียนแปลง
รปู แบบการจดั การขอ้ มลู และขนั้ ตอนการทำ� ธรุ กรรมใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขนึ้
ด้วยลักษณะเด่นคือการจัดเก็บข้อมูลที่มีการกระจายตัวไปยังผู้ท่ีอยู่ในระบบ
ทุกคน (Nodes) แทนท่ีการใชต้ วั กลาง และเม่ือมีขอ้ มลู ใหม่ก็จะอปั เดตพร้อม
กนั ตลอดเวลา ทำ� ใหช้ ว่ ยลดระยะเวลาการทำ� ธรุ กรรมและลดตน้ ทนุ การดำ� เนนิ
งานลงได้ อีกทั้งข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ตั้งแต่ธุรกรรมแรกจนถึงธุรกรรมสุดท้าย

เพอื่ งานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชฐั เ้ ทกครณโนศี โึกลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 113

ท�ำให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ แต่ด้วยข้อจ�ำกัดเก่ียวกับกฎระเบียบ
และแนวทางการพฒั นาทม่ี ีความหลากหลาย ขาดการก�ำกับดแู ล และรูปแบบ
การพฒั นาทเ่ี ปน็ มาตรฐานเดียวกนั ยังคงเปน็ ความทา้ ทายส�ำคัญในการขยาย
ขีดความสามารถของเทคโนโลยี Blockchain ดังน้ันในปจั จบุ ันพบวา่ รปู แบบ
การพัฒนารวมไปถึงกระบวนการทางเทคนิคท่ีจำ� เป็นส�ำหรับการใช้เทคโนโลยี
Blockchain นนั้ มคี วามหลากหลาย และแตกตา่ งกนั ไปข้ึนอยกู่ บั การออกแบบ
ของผู้ให้บริการนั้น ๆ ซง่ึ ยังไม่ได้มีการก�ำหนดมาตรฐานออกมาในรูปแบบ
ที่ชัดเจน ถึงแม้ว่าองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการก�ำหนดมาตรฐาน
(International Organization for Standardization: ISO) ไดม้ คี วามพยายาม
ในการกำ� หนดกรอบมาตรฐานสำ� หรบั เทคโนโลยี Blockchain คอื ISO/TC 307
Blockchain and Distributed Ledger Technologies ซ่ึงประกอบไปด้วย
7 หมวดดว้ ยกนั ดงั ตอ่ ไปนี้

ISO/TC 307/SG 1
Reference Architecture, Taxonomy and Ontology

ISO/TC 307/SG 2
Use Cases

ISO/TC 307/SG 3
Security and Privacy

ISO/TC 307/SG 4
Identity

114 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ISO/TC 307/SG 5
Smart Contracts
ISO/TC 307/SG 6
Governance of Blockchain and Distributed Ledger
Technology Systems
ISO/TC 307/SG 7
Interoperability of Blockchain and Distributed Ledger
Technology Systems

เพื่องานกบารรปกิ ราะรยภุกาตครใ์ ชฐั เ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 115

แต่ความพยายามในการก�ำหนด จดั ทำ� มาตรฐานเทคโนโลยี Blockchain
มาตรฐานดังกล่าวน้ันยังอยู่ในข้ันตอน เพอ่ื ประกาศใชภ้ ายในประเทศ เพอ่ื รองรบั
ของการเตรียมการ และการจัดประชุม การขยายตวั ของเทคโนโลยี Blockchain
ระหว่างคณะกรรมการยกร่างมาตรฐาน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การยกระดบั มาตรฐาน
โดยคาดการณ์ว่าจะมีการประกาศใช้ เทคโนโลยี Blockchain ซ่ึงถกู พฒั นาเพอ่ื
อย่างเป็นทางการภายในปี ค.ศ. 2021 ใช้งานในระดบั ประเทศ ไปสกู่ ารพฒั นา
(Morris, 2018) ท้ังนี้พบว่าในหลาย อุตสาหกรรมเทคโนโลยี Blockchain
ประเทศผนู้ ำ� ดา้ นเทคโนโลยี Blockchain ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ดังน้ัน
ต่างก็เร่มิ ศึกษาเกี่ยวกับการก�ำหนด การก�ำกับดูแล และรูปแบบการพัฒนา
มาตรฐานด้านเทคโนโลยี Blockchain ท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน จงึ ยังคงเป็น
ของตนเองเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ความทา้ ทายสำ� คญั ในการขยายขดี ความ
ISO/TC 307 Blockchain and สามารถของเทคโนโลยี Blockchain
Distributed Ledger Technologies ตอ่ ไปในอนาคตกา
ยกตัวอย่างเช่น ประเทศจีน ได้มีการ

116 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

การพฒั นาบคุ ลากรทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถดา้ นเทคโนโลยี Blockchain
(Capacity Building)
ปัจจัยท่ีส�ำคัญอีกประการหน่ึงของการขับเคลื่อนเทคโนโลยีเกิดใหม่ให้
ประสบความส�ำร็จได้อย่างเป็นรูปธรรม คือการพัฒนาบุคลากรที่มีความรู้
ความสามารถในเทคโนโลยีน้ัน ๆ ส�ำหรับเทคโนโลยี Blockchain ก็เช่น
เดยี วกนั โดยสถานการณด์ า้ นบคุ ลากรของเทคโนโลยี Blockchain ในปจั จบุ นั
ถือว่ายังขาดแคลนอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ซงึ่ เป็นเร่อื งท้าทายที่จะต้องได้รับการ
พฒั นาต่อไปในอนาคต

เพ่ืองานกบารรปกิ ราะรยภกุาตครใ์ ชัฐเ้ ทกครณโนศี โกึลษยาี Bตlา่ oงcปkรcะhเaทiศn 117

ทั้งนี้พบว่าหลายประเทศที่มีแนว ยกตัวอยา่ งเชน่ Princeton University,
นโยบายในการเป็นผู้น�ำด้านเทคโนโลยี Stanford University, and
Blockchain ได้ตระหนักถึงปัญหา Massachusetts Institute of
ดังกล่าว โดย 27 มหาวทิ ยาลัยชั้นน�ำ T e c h n o l o g y ( M I T ) แ ล ะ อี ก
ท่ัวโลกมีการจัดหลักสูตรการเรยี น 5 มหาวทิ ยาลัยจากประเทศอังกฤษ
การสอน และหลกั สตู รอบรม เพอื่ พฒั นา ยกตัวอยา่ งเชน่ University of Oxford
บุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้าน และ University of Cambridge
เทคโนโลยี Blockchain ใหก้ ับประเทศ ส ่ ว น ท่ี เ ห ลื อ เ ป ็ น ม ห า วิท ย า ลั ย จ า ก
ตอ่ ไป โดย 8 มหาวทิ ยาลยั จากจ�ำนวน ประเทศไซปรัส เดนมาร์ก ไอร์แลนด์
ดังกล่าว คือ มหาวิทยาลัยท่ีอยู่ใน ญ่ีปุ่น สิงค์โปร์ และออสเตรเลีย ซ่ึง
ประเทศจนี ยกตวั อยา่ งเชน่ TheTsinghua หลักสูตรการเรยี นการสอนส่วนใหญ่
University, Zhejiang University, ที่ เ กิ ด ข้ึน น้ั น เ ป ็ น ก า ร ส อ น เ กี่ ย ว กั บ
and Central University of Finance ห ลั ก ก า ร พ้ื น ฐ า น ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี
and Economics ประเทศสหรฐั อเมรกิ า Blockchain เงินสกลุ ดจิ ิทลั การวิเคราะห์
สถาปตั ยกรรมเชิงเทคนคิ ของ Platform
เทคโนโลยี Blockchain ท่ีมีอยู่ใน
ปจั จบุ นั ยกตวั อยา่ งเชน่ Ethereum และ
Hyperledger กรณีศึกษาการประยุกต์
ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ในภาคสว่ น
ต่าง ๆ รวมถึงทิศทางและแนวโน้ม
การพัฒนาของเทคโนโลยี Blockchain

118 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

นอกจากการสรา้ งหลกั สตู รการเรยี น
ก า ร ส อ น เ พ่ื อ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ด ้ า น
เทคโนโลยี Blockchain ให้กับประเทศ
แลว้ ประเดน็ ทน่ี า่ สนใจ คอื มหาวทิ ยาลยั
ต่าง ๆ ในประเทศจีนยงั ให้ความส�ำคญั
ด้านความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม
ในการสร้างสถาบันการวิจัยเกี่ยวกับ
เทคโนโลยี Blockchain เพ่ือให้ม่ันใจ
วา่ ผลงานวิจยั ตา่ ง ๆ สามารถทจี่ ะนำ� ไป
ประยุกตใ์ ช้งานได้จรงิ ทง้ั ในภาครฐั และ
ภาคเอกชนต่อไป

เพื่องานกบารรปิกราะรยภกุาตคร์ใชฐั เ้ ทกครณโนีศโกึลษยาี Bตl่าoงcปkรcะhเaทiศn 119

ทงั้ นจ้ี ากการศกึ ษาจากแนวปฏบิ ตั ขิ องตา่ งประเทศทเี่ ปน็
ผู้น�ำทางด้านเทคโนโลยี Blockchain ดังได้กล่าวมาแล้ว
ข้างต้น ดังนั้นในบทถัดไปเป็นการศึกษาถึงความเป็นไปได้
รวมถึงแนวทางในการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้
ในการให้บริการภาครัฐของประเทศไทย ซึ่งจะได้อธิบาย
ในล�ำดบั ถดั ไป

120 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

03

แนวคิดและหลกั การประยกุ ต์ใช้
เทคโนโลยี Blockchain
สำ� หรบั ภาครัฐ

ภายใตบ้ รบิ ทของประเทศไทย

หลักการและเหตผุ ลการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain
สำ� หรับภาครัฐไทย

แนวคดิ ในการน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาประยุกต์ใช้สำ� หรบั ภาครฐั ไทยน้นั
เกิดจากแนวคิดที่ต้องการ “ยกระดับภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่มี
การบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยงาน มกี ารทำ� งานแบบอจั ฉรยิ ะ ใหบ้ ริการโดยมปี ระชาชน
เป็นศูนยก์ ลาง และขับเคล่ือนให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงได้อย่างแท้จริง” ซึ่งแนวคดิ
ดงั กลา่ วเปน็ วิสยั ทศั นก์ ารพฒั นารฐั บาลดจิ ิทลั ของประเทศไทย ตาม (รา่ ง) แผนพฒั นา
รฐั บาลดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 ในการยกระดับขีดความสามารถ
เชงิ ดจิ ทิ ลั ของภาครฐั ไทยสกู่ ารเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั ดงั วสิ ยั ทศั นท์ กี่ ำ� หนดไวน้ นั้ ตอ้ งอยู่
บนพ้นื ฐานการด�ำเนินการ 4 ประการ ไดแ้ ก่ การบรู ณาการภาครัฐ (Government
Integration) การดำ� เนนิ งานแบบอัจฉรยิ ะ (Smart Operation) การใหบ้ ริการโดยมี
ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Citizen-Centric Services) และการสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การ
ขบั เคลอื่ นไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลง (Driven Transformation) ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 19

122 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ยกระดบั ภาครฐั ไทยสกู‹ ารเปšนรัฐบาลดิจท� ัลทม่ี กี ารบรู ณาการระหวา‹ งหน‹วยงาน
มีการทำงานแบบอจั ฉร�ยะ ใหŒบรก� ารโดยมีประชาชนเปนš ศนู ยก ลาง
และขับเคลอ่ื นใหเŒ กิดการเปลี่ยนแปลงไดอŒ ยา‹ งแทŒจร�ง

Government Integration Smart Operations

การบรู ณาการระหว‹างหน‹วยงานต‹างๆ การนาํ เทคโนโลยแี ละอปุ กรณต ิจ�ทลั มา
ทงั้ การเช่ือมโยง ขอŒ มูลและการดาํ เนินงาน สนับสนุน การปฏบิ ตั งิ านทม่ี กี ารใชเŒ ทคโนโลยี
เพอ�่ สามารถ ดจิ ท� ลั ทเ่ี หมาะสม

เหน็ ขอŒ มูลประชาชนเปšนภาพเดียวทส่ี มบูรณ มกี ารเช่ือมต‹อระหว‹างเคร�อ่ งมืออุปกรณ
ใชบŒ รก� ารทางเทคโนโลยรี ว‹ มกัน มรี ะบบการจดั การขอŒ มูลขนาดใหญ‹ (Big Data)
ใหบŒ รก� ารภาครัฐแบบครบวงจร ณ จด� เดยี ว มเี ครอ�่ งมือว�เคราะหข อŒ มูลเชิงลกึ (Analytics)

Driven Transformation GovDeigrnitmalent Citizen-centric Services

การขบั เคล่อื นการเปลย่ี นแปลงส‹รู ฐั บาลดจิ �ทลั การยกระดับงานบร�การภาครฐั ใหŒตรงกับ
ในทกุ ระดับของบุคลากรภาครัฐ ซง่ึ รวมไปถึง ความตอŒ งการ ของประชาชนทเ่ี ปลย่ี นแปลง
การเปล่ยี นแปลงองคกรในดŒานข้ันตอน อยต‹ู ลอดเวลา โดยภาครฐั จะตอŒ งรักษาสมดลุ
การทํางาน เทคโนโลยี และกฎระเบยี บ ระหวา‹ งความปลอดภัยในชวี ต� ทรัพยส นิ ขŒอมลู
ของประชาชน และการอํานวยความ สะดวก
แก‹ผูŒรับบรก� าร

รปู ภาพท่ี 24: วสิ ัยทัศนร์ ัฐบาลดจิ ทิ ลั
ทมี่ า: สำ� นักงานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน), (2560)

แนวคดิ และหลกั การประยกุ ภตาใ์คชร้เฐัทคภโานยโใลตย้บี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 123

วสิ ัยทัศน์รัฐบาลดจิ ิทลั

กระทรวง ซึง่ การเกิดการบูรณาการ

ภาครัฐดังกล่าวจะท�ำให้รัฐบาลตระหนัก

ถงึ ความตอ้ งการและความจำ� เปน็ ในการ

น�ำเทคโนโลยีมาปรับใช้กับการด�ำเนิน

งานต่าง ๆ ในแตล่ ะหนว่ ยงาน เพอื่ ลด

ค ว า ม ซ�้ ำ ซ ้ อ น ใ น ด ้ า น ก า ร เ บิ ก จ ่ า ย

1 งบประมาณ ระยะเวลาการด�ำเนินการ
หรอื แม้แต่การดูแลรักษาระบบต่าง ๆ

การบูรณาการภาครฐั อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธภิ าพจากการใช้
Government Integration บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Share
Services) และการประหยัดต่อขนาด
การบูรณาการภาครัฐ (Government (Economies of Scale) ในการลงทุน
Integration) คอื การบูรณาการระหว่าง โครงสร้างพ้ืนฐานกลาง นอกจากน้ี
หนว่ ยงานรัฐต่างๆ ตั้งแต่การเช่ือมโยง การบูรณาการภาครัฐยังน�ำไปสู่การให้
ข้อมูล บรกิ าร ไปจนถึงการด�ำเนินงาน บริการภาครฐั แบบครบวงจร ณ จดุ เดยี ว
เพ่ือยกระดับประสิทธิภาพในการ (One stop Service) ที่สามารถ
ปฏิบัติงานและการให้บรกิ ารของรัฐ ตอบโจทย์ด้านการอ�ำนวยความสะดวก
ทงั้ ในระดบั หนว่ ยงานยอ่ ยไปจนถงึ ระดบั แกป่ ระชาชนไดม้ ากยิ่งขน้ึ

124 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

2

การด�ำเนินงานแบบอัจฉริยะ
Smart Operation

การด�ำเนินงานแบบอัจฉริยะ (Smart
Operation) คือ การน�ำเทคโนโลยแี ละ
อุปกรณ์ดิจิทัลที่เหมาะสมมาสนับสนุน
การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทภี่ าครฐั ไทย
เพ่ือให้สามารถด�ำเนินงานอย่างถูกต้อง
แม่นย�ำ รวดเร็ว และตรงจุดมากขึ้น
โดยมีการเชือ่ มต่อระหว่างเครอ่ื งมือ
อปุ กรณ์ (Internet of Things) ต่างๆ
อย่างทั่วถึง ท�ำให้เจ้าหน้าท่ีสามารถ
สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้เป็น
ปัจจุบันและมีประสิทธภิ าพมากขนึ้
ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั อาจมกี ารเชอื่ มตอ่ เครอื่ งมอื
อุปกรณ์ให้สื่อสารถึงกันแบบอัตโนมัติ (Analytics) มาช่วยท�ำความเข้าใจ
โดยไม่ต้องอาศัยการควบคุมของ ขอ้ มลู อยา่ งลกึ ซ้ึง จะชว่ ยทำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี
เจา้ หนา้ ทต่ี ลอดเวลา ซ่งึ เมอื่ นำ� ระบบการ ภาครัฐไทยสามารถคาดการณ์ล่วงหน้า
จดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) มา เพอ่ื สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ และหนว่ ยงาน
ช่วยจัดระเบียบฐานข้อมูล ประกอบกับ ภาครัฐไทยสามารถจัดท�ำบรกิ ารแบบ
น�ำเครอ่ื งมือวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก เชิงรกุ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

แนวคิดและหลักการประยกุ ภตา์ใคชรเ้ ฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 125

3 การใหบ้ ริการโดยมปี ระชาชนเป็นศูนยก์ ลาง
Citizen-centric Services

การให้บรกิ ารโดยมีประชาชนเป็น การรกั ษาความปลอดภยั และระดบั ความ
ศูนยก์ ลาง (Citizen-centric Services) เข้มงวดของการยืนยันพิสูจน์ตัวตน
คือ การยกระดับงานบรกิ ารภาครัฐ ให้เหมาะสมกับความซับซ้อนของงาน
ให้ตรงกับความต้องการของประชาชน บรกิ าร ประเภทของงานบรกิ าร และกลมุ่
ท่ีเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดย ผูร้ ับบรกิ ารต่าง ๆ
ภาครัฐไทยจะต้องรักษาสมดุลระหว่าง
ความปลอดภยั ในชีวติ ทรพั ยส์ นิ ขอ้ มลู ของ
ประชาชน และการอ�ำนวยความสะดวก
(Rebalancing between Security &
Facilitation) ตลอดจนก�ำหนดระดับ

126 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

4 การสนบั สนุนให้เกดิ การขับเคลอ่ื น
ไปสู่การเปลยี่ นแปลง
Driven Transformation

การสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การขบั เคลอื่ นไปสกู่ าร และกฎระเบียบ (Regulation) รวมท้ัง
เปลยี่ นแปลง (Driven Transformation) มีการขับเคลื่อนโดยมีการบรหิ ารจัดการ
คือการวางแนวทางการขับเคลื่อน โครงการและการก�ำกับดูแล (Project
ภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจทิ ัลใน Management and Governance)
ทกุ ระดับของบคุ ลากรภาครัฐ โดยอาศยั ที่ชัดเจน ภายใต้การสนับสนุนของผู้น�ำ
กระบวนทัศน์การเปลี่ยนแปลงโดย ระดบั ประเทศทมี่ คี วามมงุ่ มน่ั มวี ิสยั ทศั น์
มุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ (Outcome-driven และเล็งเห็นความส�ำคัญของการน�ำ
Transformation) ที่มีการปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาประเทศ
องค์กรแบบครบวงจร (End-to-End อย่างแท้จรงิ (Change Leadership)
Transformation) ทั้งในด้านทรัพยากร อันจะส่งผลให้ภาครัฐสามารถด�ำเนิน
มนุษย์ (People) ข้ันตอนการท�ำงาน งานตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการได้
(Process) เทคโนโลยี (Technology) อย่างไรร้ อยตอ่

แนวคิดและหลักการประยกุ ภตาใ์คชรเ้ ัฐทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 127

ทงั้ นเ้ี พอ่ื ใหก้ ารขบั เคลอ่ื นสกู่ ารเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมนนั้ จำ� เปน็
ต้องอาศัยเทคโนโลยี และนวัตกรรมในการขับเคลื่อน โดยใน (ร่าง) แผนพัฒนา
รัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 ได้มีการกล่าวถึงแนวโน้มของ
เทคโนโลยีส�ำคัญที่มีผลต่อการขับเคล่ือนไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจทิ ัลที่ส�ำคัญไว้ 9
เทคโนโลยีดว้ ยกัน ดังแสดงในรปู ภาพท่ี 20

AuVgirmtueanltRedeaRlietyal/ity GInAefSdooyvrgsmartnaeacpmteihodinc Big Data

การนําเทคโนโลยี Virtual Reality (VR) การนําเทคโนโลยี Advanced การนาํ ขอ้ มลู Big Data มาประมวลผล
และ Augmented Reality (AR) มา Geographic Information System และใช้เป็นเครอื่ งมือในการคาดการณ์
ปรับใช้ในการจําลองภาพหรือสถานการณ์ มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูล และประเมินสภาพธุรกิจการให้บริการ
เหมอื นจริงเพอื่ บริหารจตั การความปลอดภยั ในเชงิ พ้ืนที่ โดยสามารถประยุกต์ โดยอาศัยเทคโนโลยี loT และ Smart
สาธารณะ การขยายพน้ื ที่การรกั ษาสุขภาพ ใช้สําหรับการจัดสรรทรัพยากร Machine เพ่ือให้การวเิ คราะห์และ
ไปยงั พนื้ ทห่ี า่ งไกล (Telemedicine) รวมถงึ ดา้ นการเกษตร การบรหิ ารจดั การ ตอบสนองต่อผู้รับบริการเป็นแบบ
การเพมิ่ รปู แบบใหม่ ๆ ในการเรยี นการสอน ระบบคมนาคมขนสง่ และดา้ นอนื่ ๆ real-time
และการท่องเท่ยี ว

ArStimficairatlMInateclhliigneen/ce Technology Open Any Data
Recommendation for
การนาํ เทคโนโลยีSmartMachineมาปรบั ใช้ Digital Gevernment การเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การบรหิ ารจดั การ และตอบสนอง ผ้รู ับบริการ โดยปรับปรงุ เว็บไซต์ และ
การให้บรกิ ารอัตโนมัติ โดยระบบ Smart 2017-2021 ฐานข้อมูล เพื่อสร้างการเข้าถึงจาก
Machine จะพัฒนาข้ึน และสามารถ สาธารณะมากขน้ึ และผลักดันให้เกิด
ประเมินปัญหา และจัดการ สมดุล การเช่อื มโยงข้อมูลที่เปิดเผยเหล่านั้น
ตลอดหว่ งโซก่ ารบริการ กับหนว่ ยงานทกุ ภาคสว่ น

Cyber Security CoCmlopuudting Internet of Things

การคํานึงถึงความปลอดภัยทางไซเบอร์ การนําเทคโนโลยีด้าน Cloud การอาศัยเทคโนโลยี IoT สร้าง
(Cyber Security) โดยจัดทํามาตรฐาน Computing มาปรับใช้ในการ สภาพแวดล้อมให้ ภาครัฐปรับเปล่ียน
ความปลอดภัยทางไซเบอร์ ปรับปรุงกฎ เก็บขอ้ มลู เพือ่ ลด ความยุ่งยาก รูปแบบบริการเป็นดิจิทัลมากย่ิงขนึ้
ระเบียบท่ีเก่ียวข้องให้ทันต่อเหตุการณ์ ในการติดตงั้ ระบบ ลดต้นทุนใน ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีดังกล่าวยัง
และมีความ ยืดหยุ่น อีกทั้งปรับเปล่ียน การดแู ลระบบ และตน้ ทนุ สาํ หรบั สนับสนุนภาครัฐในด้านต่าง ๆ อาทิ
Mindset ในการจดั การประเดน็ ดา้ น ความ การสร้างเครอื ขา่ ย ด้วยตนเอง การสื่อสาร การใช้โมบายเทคโนโลยี
ปลอดภยั ทางไซเบอร์ การวิเคราะห์ Big Data รวมไปถงึ การ
ประสานงานกบั ภาคธรุ กจิ และเอกชน

BlockChain / Distributed LedgerTechnology

การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี Blockchain ในการ จดั เก็บขอ้ มลู และใช้ประโยชน์จากเครอื ข่ายเพ่ือตรวจสอบ
ความถูกตอ้ ง และลดภาระการพง่ึ พาคนกลางในการทาํ ธุรกรรม ภายใตค้ วามปลอดภยั ท่ีมีความน่าเชือ่ ถือ

รูปภาพท่ี 25: แนวโน้มเทคโนโลยที สี่ �ำคัญสำ� หรบั การพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล
ท่มี า: ส�ำนกั งานพฒั นารัฐบาลดิจทิ ลั (องคก์ ารมหาชน), (2560)

128 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

โดยสว่ นราชการต่าง ๆ ทั้งในระดับส�ำนัก กรม หรอื กระทรวง สามารถที่จะนำ�
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเหล่าน้ีเข้ามาปรับใช้กับการท�ำงานของภาครัฐ ตลอดจน
ใช้พัฒนาบรกิ าร หรือกระบวนการดำ� เนินงานตา่ ง ๆ ได้ โดยจะเหน็ ไดว้ ่าเทคโนโลยี
Blockchain หรือ Distributed Ledger Technology ถอื เปน็ 1 ใน 9 เทคโนโลยี
สำ� คญั ในการขับเคล่ือนไปสกู่ ารพัฒนารฐั บาลดิจิทลั ด้วยคณุ สมบตั ขิ องเทคโนโลยี
Blockchain ในการจัดเก็บข้อมูลและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายเพื่อตรวจสอบ
ความถูกต้อง และลดภาระการพ่ึงพาคนกลางในการท�ำธุรกรรม ภายใต้ความ
ปลอดภยั ทม่ี คี วามนา่ เชือ่ ถอื นอกจากการประยกุ ตใ์ ชง้ านเทคโนโลยี Blockchain ใน
รปู แบบตา่ ง ๆ ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ในบทกอ่ นหนา้ นี้ เทคโนโลยี Blockchain ยงั สามารถ
นำ� มาใชเ้ พอ่ื บรู ณาการบริการและการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ภาครฐั ไดอ้ กี ดว้ ย ดงั แสดงใน
ตารางที่ 3 ซึ่งเปน็ การสรปุ ความเปน็ ไปไดใ้ นการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain
ส�ำหรับงานบริการภาครัฐของประเทศตาม (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ
ประเทศไทย ทง้ั 5 ยุทธศาสตร์ ตามขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

แนวคดิ และหลกั การประยุกภตา์ใคชรเ้ ฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 129

ตารางที่ 3: ตารางสรุปความเปน็ ไปได้ในการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี Blockchain
ส�ำหรบั งานบริการภาครัฐของประเทศไทย

ขดี ความสามารถ รายละเอยี ด การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาประยกุ ต์ใช้

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1: การยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ประชาชน

1. สวัสดกิ าร บรู ณาการขอ้ มลู ระบบบริหารจดั การข้อมูลตัวตน ระบบการ
ประชาชน ประชาชนจาก พสิ จู น์และยืนยนั ตวั ตนทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ทุกหน่วยงาน เพื่อให้ (Digital Identity) ด้วยเทคโนโลยี
2. การเพิ่ม สามารถกำ� หนดสทิ ธิ Blockchain และระบบเบิกจา่ ยสวัสดิการ
ประสทิ ธภิ าพ รายบคุ คลไดอ้ ยา่ ง แบบรายบคุ คลด้วย Smart Contract
แรงงาน ถูกตอ้ งครบถว้ น และ
สามารถใหบ้ ริการ
3. การศกึ ษา เชิงรกุ ได้

บรู ณาการขอ้ มลู ตลาด ระบบจัดเกบ็ ข้อมูลแรงงาน รวมถงึ การพสิ จู น์
แรงงานอยา่ งครบวงจร และยนื ยนั ตวั ตนทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Digital
เพอื่ ตอบสนองความ Identity) ดว้ ยเทคโนโลยี Blockchain และ
ตอ้ งการทกุ ภาคส่วน เชื่อมโยงกับการผลิตห่วงโซอ่ ุปทาน (Supply
เชน่ การจดั หางาน Chain) การนำ� เขา้ -สง่ ออกของทง้ั ภาคการผลติ
การพฒั นาทักษะ ภาคบรกิ าร และภาคเศรษฐกิจดิจทิ ลั
การทราบภาพรวมตลาด เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการจัดหางานและ

การพัฒนาทกั ษะแรงงานได้อยา่ งเหมาะสม
รวมถึงการต่อยอดระบบ Digital Identity
ดว้ ยการบนั ทกึ ประวตั กิ ารท�ำงานท่ผี า่ นมาของ
แรงงาน รวมถงึ ความสามารถทีม่ ีเพื่อน�ำไปสู่
การออกใบรับรอง (Certificate) การท�ำงาน
ดว้ ยเทคโนโลยี Blockchain

มรี ะบบกลางเพื่อ สร้างระบบบันทกึ ใบรบั รอง (Certificate)
เชอื่ มโยงงานบรกิ าร ทางการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี Blockchain
ดา้ นการศึกษาแบบ ท่ีเช่อื มโยงกบั สถาบนั การศกึ ษาทั้งในระบบ
ขา้ มหนว่ ยงาน เพอ่ื เพม่ิ และนอกระบบ รวมถึงการศกึ ษาแบบออนไลน์
ความเปน็ อตั โนมัติ ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ ตามแนวทาง
สำ� หรบั งานบริการ ของ Open Education เพื่อสรา้ งความ
ด้านการศึกษา นา่ เชอ่ื ถือให้กับเอกสารในการใชเ้ ปน็ หลักฐาน
สำ� หรบั การเรยี นต่อหรอื สมคั รงานได้

130 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ขดี ความสามารถ รายละเอยี ด การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาประยกุ ต์ใช้

4. การสาธารณสขุ มรี ะบบกลางเพ่อื พฒั นาระบบเชอื่ มโยงและแลกเปล่ยี นขอ้ มูล
เชื่อมโยงงานบรกิ าร สุขภาพแหง่ ชาติ (National Health
ด้านสาธารณสขุ แบบ Information Exchange Platform) โดยใช้
ข้ามหนว่ ยงาน เพื่อให้ เทคโนโลยี Blockchain ทเี่ ชอื่ มตอ่ ทกุ หนว่ ยงาน
การดำ� เนนิ งานดา้ น ดา้ นสาธารณสขุ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเปน็
สาธารณสขุ มีความ โรงพยาบาลรฐั โรงพยาบาลเอกชน คลินิก
สะดวกและรวดเรว็ ขนึ้ หนว่ ยงานประกนั สุขภาพภาครัฐ ประกัน
สุขภาพเอกชน หนว่ ยงานควบคมุ คณุ ภาพ
หน่วยงานวจิ ยั และหนว่ ยงานก�ำกับดแู ล
ให้สามารถเชอื่ มโยงและแลกเปลย่ี นข้อมูล
ระหว่างกนั ไดแ้ บบ Realtime ภายใต้
มาตรฐานขอ้ มลู สขุ ภาพเดยี วกัน มีสว่ นตดิ ต่อ
Service ของ Application (API) ทีค่ รบถว้ น
ยดื หยนุ่ และมีความปลอดภยั สงู รวมถงึ
ผู้ปว่ ยสามารถเขา้ ถึงข้อมูลประวตั กิ ารรกั ษา
พยาบาลของตนได้

ยุทธศาสตร์ท่ี 2: การยกระดบั ขดี ความสามารถการแขง่ ขันของภาคธุรกิจ

5. การเพม่ิ บรู ณาการขอ้ มูล พฒั นาระบบ Blockchain สำ� หรับการ
ประสทิ ธิภาพ การเกษตรระหวา่ ง แลกเปล่ียนขอ้ มลู จากหลายหนว่ ยงานท่ี
ภาคการเกษตร หนว่ ยงานเพื่อให้ได้ เกย่ี วขอ้ ง รวมทง้ั ข้อมูลจากอปุ กรณ์ IoT
ขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสมกับ ทีน่ า่ เช่อื ถือ และน�ำมาวิเคราะหร์ ่วมกบั ขอ้ มลู
เกษตรกรแบบ เศรษฐกจิ อ่ืน ๆ เพือ่ สร้างเปน็ ข้อมลู และ
รายบุคคล ค�ำแนะน�ำที่เหมาะสมกับเกษตรกรแบบ
รายบุคคล รวมถงึ การสรา้ งบรกิ ารทางการ
เกษตรภาครฐั ด้วยเทคโนโลยี Smart
Contract เพื่อให้เกษตรกร หรอื หน่วยงาน
ท่ีเกีย่ วขอ้ งสามารถน�ำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งปลอดภยั
เชน่ สัญญาซ้อื ขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าดว้ ย
Smart Contract, Letter of Credit, Letter
of Guarantee หรือกรมธรรมป์ ระกนั ภัยพบิ ัติ
ดา้ นการเกษตร

แนวคดิ และหลักการประยุกภตาใ์คชร้เฐัทคภโานยโใลตย้บี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 131

ขดี ความสามารถ รายละเอยี ด การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาประยกุ ต์ใช้

6. การท่องเท่ียว ยกระดบั ประสบการณ์ สร้างระบบ Loyalty Token ด้วยเทคโนโลยี
นักท่องเที่ยวใน Blockchain เพื่อใชใ้ นธรุ กิจทอ่ งเท่ียวและ
ยคุ ดจิ ิทัล บรกิ ารของประเทศ ในการสร้างประสบการณ์
(Digital Tourism) ใหมใ่ หก้ ับนักทอ่ งเทยี่ วในยคุ ดิจทิ ลั อีกทงั้
ยังสามารถนำ� ข้อมูลมาใช้ในการวเิ คราะห์
พฤตกิ รรมนักทอ่ งเทย่ี วในการหาความ
ต้องการที่แทจ้ รงิ (Unmet Need) เพื่อนำ� ไป
ปรบั ปรุงการใหบ้ ริการ และวเิ คราะหห์ าข้อมลู
เชิงลกึ (Insight) เพ่ือนำ� ไปสรา้ งบริการ
รปู แบบใหมท่ ีส่ ามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการนกั ท่องเที่ยวไดอ้ ยา่ งแท้จริง รวมถึง
การเช่ือมโยงข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ
ยกตัวอย่างเชน่ ขอ้ มลู การยืนยนั ตวั ตนทาง
อเิ ล็กทรอนิกส์ (Digital Identity) ข้อมูล
สุขภาพของนกั ท่องเท่ียว ผ่านสายการบินและ
ระบบตรวจคนเข้าเมือง โดยใช้เทคโนโลยี
Blockchain เพอ่ื ยกระดบั การใหบ้ ริการ
นักทอ่ งเที่ยวไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

7. การลงทุน มรี ะบบกลางเพือ่ พัฒนาระบบ Blockchain เพ่ือเช่อื มโยง
เช่อื มโยงงานบรกิ าร หน่วยงานดา้ นการลงทุน ภายในประเทศจาก
ดา้ นการลงทุนระหว่าง ผ้ปู ระกอบการทั้งในและตา่ งประเทศ รวมถึง
หนว่ ยงานผู้มอี ำ� นาจ การสนับสนุนใหผ้ ้ปู ระกอบการไทยไปลงทุน
ในการอนมุ ตั ิเพอ่ื ขอ ยังตา่ งประเทศ โดยใช้ Smart Contract ใน
ใบอนญุ าตเร่มิ ตน้ ธรุ กจิ กระบวนการขออนญุ าตและอนมุ ัติ เพอ่ื สรา้ ง

ความโปรง่ ใส่และตรวจสอบได้

8. การคา้ มีระบบบรู ณาการ พฒั นาระบบ Blockchain โดยใช้ Smart
(นำ� เขา้ /ส่งออก) นำ� เขา้ /ส่งออก แบบ Contract ในการสร้างบรกิ ารภาครัฐเกี่ยวกบั
ครบวงจร เพือ่ ใหผ้ ู้ การน�ำเขา้ /ส่งออก เช่น บรกิ ารชำ� ระเงนิ ,
ประกอบการสามารถ บรกิ าร Escrow, การออกใบรับรองแหล่ง
ท�ำธุรกรรมทีเ่ ก่ียวข้อง ก�ำเนิดของสนิ คา้ (Certificate of Origin),
กบั การนำ� เขา้ /สง่ ออกได้ ตราสารเครดิต (Letter of Credit: LC),
หนังสือค้�ำประกัน (Letter of Guarantee: LG),
สนิ เชือ่ Factoring, Trade Finance
โดยร่วมมอื กับธนาคารรัฐและเอกชน

132 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ขดี ความสามารถ รายละเอยี ด การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาประยกุ ต์ใช้

9. วิสาหกิจ มรี ะบบบูรณาการ พฒั นาระบบ Blockchain เพ่อื เชอื่ มโยง
ขนาดกลางและ เชิงรกุ เพ่ือใหข้ อ้ มลู หนว่ ยงานด้านวิสาหกจิ ขนาดกลางและ
ขนาดย่อม ความรู้และคำ� ปรึกษา ขนาดยอ่ ม โดยใช้ Smart Contract ในการ
สำ� หรบั การประกอบ สรา้ งบรกิ ารภาครฐั เกย่ี วกบั วิสาหกจิ ขนาดกลาง
ธุรกจิ แก่ SME และขนาดยอ่ ม เชน่ การติดตามผลการให้ทุน
แบบครบวงจร ณ จุด สนบั สนุน ระบบสิทธบิ ตั ร และการตอ่ ยอด
เดียว โดยมภี าครฐั นวัตกรรม
เปน็ ผ้สู นบั สนนุ
ระบบ ICT

10. ภาษีและรายได้ มกี ารบรู ณาการข้อมลู พัฒนาระบบ Blockchain เพอ่ื เชอื่ มโยง
ระหว่างหนว่ ยงานท่ี หนว่ ยงานทก่ี �ำกบั ดูแลด้านภาษี และการ
เก่ยี วขอ้ งเพอื่ เพ่มิ ขดี ฟอกเงิน โดยปรบั เปลย่ี นขนั้ ตอนการชำ� ระ
ความสามารถในงาน ภาษีจากแบบยน่ื รายเดอื นหรือรายปี เปน็
บริการด้านภาษี การเกบ็ แบบอัตโนมตั ดิ ว้ ย Smart Contract
เพ่อื ลดขั้นตอนการจัดเกบ็ ภาษี และการ
ตรวจสอบบญั ชี

11. การคมนาคม มีการบรู ณาการ พัฒนาระบบเช่อื มโยงข้อมลู ผูข้ บั ขี่ ประวัติ
ข้อมูลด้านคมนาคม ผขู้ ับขี่ และข้อมูลพาหนะ และต�ำแหน่ง
ในการอำ� นวยความ โดยผสานการทำ� งานระหว่างเทคโนโลยี
สะดวกและเพมิ่ ความ Blockchain และ IoT
ปลอดภยั ต่อภาคธุรกจิ
และภาคประชาชน

12. สาธารณปู โภค มรี ะบบกลางเพอ่ื พัฒนาระบบ Blockchain เพอื่ เชื่อมโยงงาน
เชอ่ื มโยงงานบริการ บรกิ ารดา้ นสาธารณปู โภคระหวา่ งหนว่ ยงาน
ดา้ นสาธารณปู โภค โดยน�ำ Smart Contract มาใชใ้ นขัน้ ตอน
ระหวา่ งหนว่ ยงาน การขอรบั บรกิ ารและการช�ำระเงนิ เพ่ือสรา้ ง
เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ความโปรง่ ใสและตรวจสอบได้
การใหบ้ ริการดา้ น
สาธารณปู โภคทม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ

แนวคดิ และหลกั การประยุกภตา์ใคชร้เฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 133

ขดี ความสามารถ รายละเอยี ด การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาประยกุ ต์ใช้

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3: การยกระดับความมั่นคงและความปลอดภยั

13. ความปลอดภยั บูรณาการข้อมลู จาก พฒั นาระบบ Identity และ Authentication
สาธารณะ กล้องวงจรปดิ เพอ่ื ของกลอ้ งวงจรปดิ ภาครัฐ รวมถงึ การอนญุ าต
เฝ้าระวงั และตรวจจับ ให้กล้องวงจรปิดของภาคเอกชนสามารถ
ความเส่ยี งกอ่ น เข้าร่วมได้ โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain
เกิดเหตุ โดยบริหาร อีกทงั้ ยงั สามารถน�ำเทคโนโลยี Blockchain
จดั การผา่ นระบบ มาใชก้ ับรว่ มกบั ระบบ Preventive
ศูนยบ์ ัญชาการ Maintenance ในการกำ� หนดการซ่อมบ�ำรงุ
โดยใช้ Smart Contract

14. การบรหิ าร ขยายผลจากระบบ การเชอ่ื มโยงขอ้ มลู Identity ขอ้ มลู Biometric
จดั การชายแดน พิสูจนต์ วั ตนด้วย และขอ้ มูลสขุ ภาพของผผู้ ่านแดน จากระบบ
ลายน้วิ มอื ให้ ตรวจคนเขา้ เมอื ง ศนู ย์ควบคมุ โรค
ครอบคลุมทกุ ดา้ น หน่วยงานปอ้ งกนั การก่อการรา้ ยขา้ มชาติ
สามารถรองรบั พลเมอื ง ผ่านเทคโนโลยี Blockchain เพอ่ื เพมิ่ ความ
และชาวต่างชาตทิ ีม่ ี สะดวกรวดเรว็ ในการทำ�งานของเจา้ หนา้ ที่
การลงทะเบยี น

15. การป้องกนั ระบบวิเคราะหแ์ ละ พัฒนาระบบ Blockchain เพ่ือใช้ในการแลก
ภยั ธรรมชาติ คาดการณภ์ ยั ธรรมชาติ เปลี่ยนข้อมูลจากหลาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จากข้อมลู และระบบ รวมทงั้ ข้อมูลจากอปุ กรณ์ IoT ทน่ี า่ เชอื่ ถือ
จำ�ลองสถานการณ์ และนำ�มาวเิ คราะหร์ ว่ มกบั โมเดลการพยากรณ์
เพอ่ื ตดิ ตามและบรหิ าร โดยสรา้ งขอ้ มลู ท่ีนา่ เชือ่ ถอื (Oracle) สำ�หรับ
จัดการภัยธรรมชาติ การจัดทำ�ระบบจำ�ลองสถานการณ์

เพ่ือติดตามและบรหิ ารจดั การภัยธรรมชาติ

16. การจัดการใน บูรณาการขอ้ มูลจาก การเช่อื มโยงขอ้ มลู Identity ขอ้ มลู
ภาวะวิกฤต หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง Biometric ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลเสน้ ทาง
ในการติดตามและ ทางการเงิน ขอ้ มูลกลอ้ งวงจรปิด เข้ากับ
บรหิ ารจดั การวิกฤต หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องในการตดิ ตามและ
บรหิ ารจัดการภาวะวกิ ฤต

134 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ขดี ความสามารถ รายละเอยี ด การนำ� เทคโนโลยี Blockchain มาประยกุ ต์ใช้

ยุทธศาสตรท์ ี่ 4: การยกระดับประสิทธภิ าพภาครัฐ

17. การจดั ซอ้ื มีระบบกลางในการ พฒั นาระบบ Blockchain เพ่ือใชใ้ นการ
จดั จ้าง จดั ซอ้ื จดั จ้างภาครัฐ เช่ือมโยงระบบ Identity ของบุคคลและ
เพอื่ ใหส้ ามารถควบคมุ นติ ิบคุ คล เขา้ กับขอ้ มูลคสู่ ัญญาท่ีถกู ข้ึน
ความโปรง่ ใสและ บญั ชีดำ� (Blacklist) เพ่ือใชใ้ นกระบวนงาน
เพ่ิมประสทิ ธภิ าพได้ จดั ซอื้ จดั จ้างภาครฐั ยกตวั อย่างเช่น

วิธีการประกวดราคา Bidding การประมลู
จดั ซอื้ จัดจ้าง (Auction) การตรวจรบั งาน
และการตดิ ตามผลการดำ�เนนิ งาน และออก
รายงานประจำ�ปขี องแต่ละหนว่ ยงานด้วย
Smart Contract

แนวคดิ และหลักการประยกุ ภตา์ใคชร้เัฐทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 135

ดงั นั้นหากมกี ารน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใชเ้ พ่ือสนับสนุนการบูรณาการ
บริการและแลกเปล่ียนขอ้ มลู ภาครัฐจรงิ จะสามารถชว่ ยสนบั สนนุ โครงการต่าง ๆ
ทีส่ ำ� นักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทลั (สพร.) ก�ำลังดำ� เนนิ การอยไู่ ด้ ยกตัวอยา่ งเช่น

1

ระบบยนื ยันตวั บุคคลกลาง
e-Authentication Service

ระบบยนื ยนั ตวั บคุ คลกลาง(e-Authentication
Service) เพื่อให้ประชาชน และเจ้าหน้าท่ี
ของหน่วยงานภาครัฐสามารถเข้าถึงระบบ
สารสนเทศต่าง ๆ ของรัฐ ทง้ั ทเี่ ปน็ ระบบ
บรกิ ารอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Service)
และระบบงานภายในของภาครัฐ (Back
Office) ได้ โดยมีการควบคุมและรักษา
ความปลอดภัยด้วยมาตรการอันเหมาะสม
นอกจากน้ีระบบยืนยันตัวบุคคลดังกล่าว ตวั บคุ คลกลางเปน็ กา้ วสำ� คญั ไปสกู่ าร
ยงั รองรบั การเขา้ ถงึ ระบบงานแบบรวมศนู ย์ ใหแ้ ละรบั บริการภาครฐั แบบครบวงจร
(Single Sign-On: SSO) เพ่ือให้ผู้ใช้งาน ณ จุดเดียว (One Stop Service)
สามารถลงชอ่ื เข้าใช้งานระบบบริการ ในลักษณะ Single Window Entry
อิเลก็ ทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Service) ต่าง ๆ อันจะเป็นการอ�ำนวยความสะดวกต่อ
ได้ดว้ ยการ Log in คร้งั เดยี วโดยไม่จ�ำเปน็ ประชาชนในการเข้าถึงบรกิ ารของรัฐ
ตอ้ งลงชอ่ื เขา้ ใชง้ านซำ้� อกี ทง้ั นรี้ ะบบยนื ยนั ได้อยา่ งบรู ณาการ

136 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

2

ศูนยก์ ลางแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ภาครัฐ
Government Data Exchange Center : GDX

ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ “โครงการยกเลิกส�ำเนาเอกสาร” และ
(Government Data Exchange Center : ขยายผลไปสบู่ ริการยกเลกิ เรยี กขอเอกสาร
GDX ) เปน็ ศนู ยก์ ลาง ในการแลกเปลยี่ น ทะเบียนดจิ ทิ ัล/ใบอนญุ าตอน่ื ๆ ต่อไป
ขอ้ มลู และเอกสารทะเบยี นดจิ ิทลั ระหวา่ ง
หน่วยงานภาครัฐ เพ่ืออ�ำนวยความ
สะดวกแก่ประชาชนและภาคเอกชน
เมอ่ื ใชบ้ รกิ ารจากภาครฐั ชว่ ยใหห้ นว่ ยงาน
ภาครัฐสามารถแลกเปลี่ยนเช่ือมโยง
ข้อมูลในรูปแบบดิจทิ ัล และเม่ือภาครัฐ
สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลในรูปแบบ
ดิจิทัลได้ จงึ ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ส�ำเนา
เอกสารในรปู แบบกระดาษตอ่ ไป โดยใน
ระยะแรกจะเร่มิ น�ำร่องกบั บรกิ ารภาครฐั
ที่มีการเรยี กขอส�ำเนาบัตรประจ�ำตัว
ประชาชน ส�ำเนาทะเบียนบ้าน ภายใต้

แนวคิดและหลกั การประยุกภตาใ์คชร้เัฐทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 137

การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain
เพอ่ื การบรู ณาการบรกิ ารและแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ภาครัฐ

ระบบบรกิ ารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ของภาครัฐไทยในปัจจุบันส่วนใหญ่
ยังขาดการบูรณาการเพ่ือเช่อื มโยงเข้ากับระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)
ของหน่วยงานอื่น ๆ ท�ำใหป้ ระชาชนทีม่ าติดต่อหน่วยงานราชการต่าง ๆ ไมไ่ ดร้ บั
ความสะดวกเท่าท่ีควร อีกท้ังยังจ�ำเป็นต้องใช้ส�ำเนาหลักฐานในการเข้ารับบริการ
ดังนั้นกระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมหรอื กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารได้จัดท�ำ กรอบแนวทางเชือ่ มโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ
เวอรช์ นั 2.0 เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาระบบบรกิ ารรว่ ม e-Service ใหส้ ามารถใหบ้ รกิ าร
ภาครฐั แบบครบวงจร ณ จุดเดยี ว (One Stop Service)

138 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

โดยใชส้ ถาปตั ยกรรมการออกแบบเชงิ บริการ Services Oriented Architecture
(SOA) เป็นแนวทางการเชื่อมโยงและแลกเปล่ียนข้อมูลของระบบต่าง ๆ ภายใน
หนว่ ยงานและระหวา่ งหน่วยงาน พฒั นา Web Service ส�ำหรับระบบงานภายใน
ของหนว่ ยงาน และใชช้ ่องทางการส่อื สารท�ำหนา้ ทเี่ ป็นตวั กลางเช่ือมระหว่าง Web
Service ตา่ ง ๆ ทห่ี นว่ ยงานรฐั ทจี่ ดั ทำ� ขนึ้ ทงั้ ฝา่ ยใหบ้ ริการ (Service Provisioning)
และฝ่ายรับบริการ(Service Consumption) โดยใช้ API ในการส่งข้อมูลผ่าน
Enterprise Service Bus (ESB) เปน็ เคร่ืองมอื ชว่ ยลดอปุ สรรคของความหลากหลาย
ของเทคโนโลยีการเช่อื มโยงข้อมูลในการเปิดช่องทางบรกิ ารให้เป็นมาตรฐาน
เดียวกันในการส่ือสารกับระหว่าง Web Service ของหน่วยงานภาครัฐดังแสดง
ในรูปภาพท่ี 21

รปู ภาพที่ 26: ระบบบรู ณาการการใหบ้ รกิ าร
ภาครฐั โดยใช้ Enterprise Service Bus (ESB)

ทม่ี า: ปรบั ปรงุ จาก (Marchionni, 2018)

แนวคดิ และหลกั การประยุกภตาใ์คชร้เัฐทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 139

ขอ้ ควรพิจารณาการออกแบบสถาปตั ยกรรมการสง่ ข้อมลู ผ่าน
Enterprise Service Bus (ESB) มีดังนี้

1 การเปล่ียนแปลงหรอื ปรับปรุงจากกระบวนการท�ำงานของ e-Service
ทใ่ี หบ้ ริการ (และบรกิ ารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง) อาจมผี ลตอ่ หนว่ ยงานทใี่ ช้ e-Service นนั้
ยกตวั อยา่ งเชน่ เมอ่ื ผใู้ หบ้ รกิ ารดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี
ที่ใช้ภายในตวั บริการหรืออุปกรณเ์ ชอื่ มตอ่ Firewall

2 ทุกคร้ังทีม่ ีการเรียกใช้ e-Service กบั บริการอืน่ ๆ ตอ้ งทำ� การตรวจสอบ
ความสมบรู ณข์ องการปอ้ นขอ้ มลู หรือทกุ พารามเิ ตอรท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ทำ� ใหต้ อ้ งใช้
เวลาเพมิ่ ขึ้น และเครือ่ งแมข่ า่ ยทำ� งานหนกั ขน้ึ ทำ� ใหล้ ดประสทิ ธิภาพโดยรวม

3 การบูรณาการระหว่างหน่วยงานอาจกลายเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน
เน่ืองจากความแตกต่างของระบบรักษาความปลอดภัยและข้อก�ำหนด
(แม้วา่ Enterprise Service Bus จะท�ำงานได้อย่างถกู ต้อง)

140 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

4 ต้องมีการแลกเปลี่ยนใบรับรอง เช่น Certificate Authority (CA)
เพอื่ รับรองวา่ ได้ให้ไวซ้ ึ่งเอกสารที่นา่ เช่ือถือ

5 การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานท่ีมีราคาแพงส�ำหรับการจัดเตรยี มการ
ให้บริการและความปลอดภยั ภายในหน่วยงาน

6 แตล่ ะหนว่ ยงานตอ้ งมกี ารตงั้ ทมี สนบั สนนุ (ตาม SLA ทตี่ กลง) เพอื่ รองรบั
ความล้มเหลวในการใหบ้ รกิ าร

7 กระบวนการพฒั นา Service ทต่ี อ้ งมกี ารเช่อื มโยงขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงาน
มขี น้ั ตอนและใชร้ ะยะเวลาในการดำ� เนนิ งานมาก เชน่ การทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลง
ร่วมกัน (MOU) การศึกษากระบวนการหรอื อาจต้องท�ำการปรับเปลี่ยน
กระบวนการทำ� งานของหนว่ ยงานเพื่อการเช่ือมโยงขอ้ มลู การรบั ส่งขอ้ มูล
การพัฒนาระบบ และการทดสอบระบบ

แนวคิดและหลักการประยกุ ภตาใ์คชร้เฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 141

ดังนน้ั การน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้ในการเช่อื มโยงงานบริการภาครฐั
แทนการใช้ Enterprise Service Bus (ESB) ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 22

Government Blockchain Network

รูปภาพที่ 27: การเชื่อมโยงบรู ณาการการให้บรกิ ารภาครัฐโดยใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain
ทม่ี า: ปรบั ปรงุ จาก (Marchionni, 2018)

142 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

โดยเปน็ การเช่อื มตอ่ กนั เปน็ เครือขา่ ย Authority) ในการรับรองรายการ
แบบ Peer-to-Peer และใช้ APIs ของ ธุรกรรมว่าเป็นธุรกรรมของหน่วยงาน
Node แต่ละตัวเช่ือมกับ Web Service น้ันจริง ท้ังนี้หน่วยงานแต่ละหน่วยงาน
ทหี่ นว่ ยงานจดั เตรียมไวใ้ นการเชือ่ มโยง จะตอ้ งมี Node ซ่งึ อาจจะอยู่ในรูปแบบ
กับฐานข้อมูลทะเบียนของหน่วยงาน Light Node หรือ Full Node ติดตั้ง
ในเครอื ข่าย Blockchain โดยแต่ละ อยู่ในเครือข่าย Blockchain เม่ือมี
Node จะทำ� การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ชดุ เดยี วกนั การเรียกใช้บริการระบบจะท�ำการ
และใชก้ ระบวนการ Consensus ในการ แจกจ่าย Smart Contract ตามการ
ตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนท�ำการ
จัดเก็บข้อมูลลง Block ทั้งน้ีรูปแบบ
การจัดเก็บข้อมูลลงใน Blockchain
อาจอยู่ในรูปแบบ On Chain7 หรอื
Off Chain ตามความเหมาะสมในการ
ออกแบบ และมี CA (Certification

7 ในระดบั ของ Transaction Layer สามารถแบ่งประเภทของการจดั เก็บข้อมลู บน Blockchain
ไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ คือ 1) “On Chain” คอื การท่ีข้อมลู ถูกบันทกึ ลง Blockchain โดยตรง 2) “Off
Chain” คอื การบนั ทกึ ตำ� แหนง่ หรอื ตวั ช้ีตำ� แหนง่ (Pointer) ของขอ้ มลู ลงบน Blockchain ขอ้ ดี
ของการบันทึกข้อมูลลงบน Blockchain โดยตรงนั้นคือมั่นใจได้ว่าข้อมูลจะมีความปลอดภัย
อันเนือ่ งมาจากคุณสมบตั กิ ารท�ำงานของ Blockchain และข้อมูลดังกลา่ วสามารถมองเหน็ ได้
ทนั ทสี ำ� หรบั ผทู้ ไี่ ดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ขา้ ถงึ ขอ้ มลู แตใ่ นเวลาเดยี วกนั การบนั ทกึ ขอ้ มลู ทไี่ ฟลข์ อ้ มลู มี
ขนาดใหญน่ นั้ ยอ่ มสง่ ผลตอ่ เวลาทใ่ี ชใ้ นการดำ� เนนิ การสรา้ ง Block อยา่ งแนน่ อน อกี ทงั้ อาจจะ
สง่ ผลตอ่ การวางแผนเรอ่ื งของขนาดระบบเพอ่ื รองรบั ขอ้ มลู จำ� นวนมหาศาลดงั กลา่ ว ในทางตรง
กนั ขา้ มการเขา้ รหสั ลงิ ก์ หรือตวั ช้ตี ำ� แหนง่ ทข่ี อ้ มลู ถกู จดั เกบ็ อยแู่ ทนทข่ี อ้ มลู จรงิ โดยผใู้ ชง้ านจะ
ใช้ Private Key เพื่ออา่ นขอ้ มลู ใน Block ซงึ่ กค็ ือลิงค์ หรือตำ� แหนง่ ท่ีจัดเก็บขอ้ มูลจริงเพ่อื น�ำ
ไปสู่การเข้าถงึ ขอ้ มลู ดังกลา่ วนัน่ เอง ซง่ึ จะเปน็ การช่วยลดขนาดของข้อมูลที่ จะถกู บนั ทกึ ลงใน
Block ได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟลิ ์ม X-Ray และ MRI ซง่ึ เป็นไฟลร์ ูปทม่ี ขี นาดใหญจ่ ึงจำ� เปน็ ตอ้ ง
เก็บเป็นลิงก์ หรอื ตัวชต้ี �ำแหน่งของข้อมูลแทน ดังนั้นองค์กรควรจะต้องพิจารณาถึงประเภท
ของขอ้ มูลดว้ ยในการออกแบบการจดั เก็บขอ้ มลู บน Blockchain

แนวคิดและหลกั การประยกุ ภตา์ใคชรเ้ ัฐทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 143

บริการทผี่ ู้ใช้งานเลอื กใช้ในบริการน้ัน ๆ กรณีด�ำเนินการเสร็จสิ้นตามสัญญา
ไปยงั Node ตา่ ง ๆ บนเครอื ข่าย โดย และระบบได้ตรวจสอบความถูกต้อง
Smart Contract จะเป็นตัวก�ำหนด (Consensus) กอ่ นทำ� การสำ� เนารายการ
หนา้ ทข่ี องแตล่ ะหนว่ ยงานระบไุ ว้ ซ่งึ อาจ การท�ำธุรกรรมดังกล่าวไปยัง Node
มากกวา่ หนง่ึ หนว่ ยงานกไ็ ด้ ในการดำ� เนนิ ต่าง ๆ บนเครอื ขา่ ย Blockchain
การตามเง่อื นไขทรี่ ะบไุ ว้ เมอ่ื หนว่ ยงานได้
ด�ำเนินการครบตามเง่อื นไขท่ีก�ำหนดไว้

หน‹วยงาน 1 หน‹วยงาน 2

Service/Micro services Service/Micro services

CA CA

CA CA

หนว‹ ยงาน 3 หน‹วยงาน 4

Service/Micro services Service/Micro services

รปู ภาพที่ 28: องค์ประกอบทางเทคนคิ การบูรณาการงานบรกิ ารภาครัฐ
บนเทคโนโลยี Blockchain

ทีม่ า: ปรับปรงุ จาก (Jamsrandorj, 2017)

144 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

จากรูปภาพท่ี 23 เป็นการแสดงองค์ประกอบทางเทคนิคการบูรณาการงาน
บรกิ ารภาครฐั บนเทคโนโลยี Blockchain ระหว่างหน่วยงานตั้งแตส่ องหนว่ ยงาน
ข้นึ ไป เพ่อื เห็นถึงองค์ประกอบและการเชือ่ มต่อทางเทคนิค หลักการนส้ี นับสนุนให้
หน่วยงานตา่ ง ๆ สามารถเชื่อมตอ่ และส่อื สารกันได้ โดยใชก้ ารควบคมุ การเข้าถึง
(Access Control System) หรอื Smart Contract ทก่ี ระจายอยตู่ าม Node ตา่ ง ๆ
ซ่ึงแต่ละหน่วยงานจะมี Microservices, Local Storage และ Node บนเครอื ขา่ ย
Blockchain ในการส่ือสารระหวา่ งหนว่ ยงานบนเครอื ข่าย โดยมีองค์ประกอบดงั น้ี

1 Access Control Application ใช้ Smart Contract เปน็ ตัวกำ� หนดสทิ ธิ์
ในการเขา้ ใชบ้ ริการ โดยแตล่ ะหนว่ ยงานสามารถกำ� หนดสทิ ธิ์ในการขอเขา้ ใช้
บริการของหน่วยงานได้ด้วยตัวเองผ่าน Smart Contract และเรียกใช้
Services ต่าง ๆ ผ่าน APIs ไดแ้ ก่
การกำ� หนด Service หรอื Microservices
การให้สิทธกิ ารเข้าถงึ ส�ำหรบั Service หรอื Microservices
การโอนสิทธ์ิการเข้าถึง
การเพิกถอนสิทธ์ิการเขา้ ถึง
การให้สิทธกิ์ ารเข้าถึงส�ำหรับ Service หรือ Microservices
เรยี กใช้ Service หรือ Microservices

แนวคิดและหลักการประยุกภตาใ์คชรเ้ ัฐทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 145

2 Local Database ทุก Node จะมีฐานข้อมูลภายในใช้เป็นแหล่งจัดเก็บ
ขอ้ มลู ทเี่ กดิ ขน้ึ บนเครือขา่ ย Blockchain เพอื่ รบั ประกนั วา่ ขอ้ มลู ทถ่ี กู จดั เกบ็
เปน็ ส�ำเนาเดยี วกนั

3 Services หรอื Microservices เป็นชอ่ งทางการเช่อื มโยงและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างระบบงานต่าง ๆ ภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน
โดยผ่านตวั Access Control เรียกใช้

4 Blockchain Cluster กลมุ่ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ รูปแบบ Private และ
Permission-Based Blockchain ใชใ้ นการแชรข์ อ้ มลู ทต่ี อ้ งใชร้ วมกนั และเกบ็
ประวตั ริ ายการขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จาก Access Control สามารถตรวจสอบ
ยอ้ นกลับได้ แตไ่ มส่ ามารถเปล่ียนแปลงรายการท่ีถูกบนั ทกึ ในระบบได้

146 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

จากหลักการทไี่ ดอ้ ธบิ ายไปแล้วขา้ งตน้ ท�ำให้สามารถออกแบบภาพรวมการใช้
เทคโนโลยี Blockchain เพ่ือการบูรณาการบรกิ ารและแลกเปล่ียนข้อมูลภาครัฐ
ดังแสดงในรูปภาพที่ 24

หน‹วยงานภาครัฐ

หนว‹ ยงานภาครฐั สามารถดำเนินงานบร�การตามกลไกภายในหน‹วยงาน
และรบั ขŒอมูลที่จำเปšนตอŒ งใชŒในการใหบŒ ร�การแกป‹ ระชาชนตามสทิ ธ์ทิ ่ีพวกเขา

ไดรŒ ับอนญุ าตใิ นการเขŒาถึงขŒอมลู ของหนว‹ ยงานอนื่

ผŒูใชŒงานสามารถเขาŒ ถึง เฉพาะไดŒรับสทิ ธิ์ อ‹าน เข�ยน เฉพาะไดรŒ บั สิทธิ์ ประชาชนสามารถใหสŒ ิทธ์ิ
ขŒอมูลพน้� ฐานของพวกเขา การเขาŒ ถงึ (Rand) (Write) การเขาŒ ถึง การเขŒาขŒอมลู พ�้นฐานที่จำเปนš
ท่ีหนว‹ ยงานภาครฐั จัดเก็บไวŒ (Permission) ใหแŒ กห‹ น‹วยงานตา‹ ง ๆ ที่ตอŒ ง
(Permission) ดำเนนิ การตามทกี่ ำหนดไวŒ
(ขŒอมลู ทะเบียนต‹าง ๆ) ใน Smart Contract
การยนื ยนั การทำธุรกรรม ในธรุ กรรมนนั้ ๆ
อ‹าน - PKI
(Rand) การยืนยนั ตัวตน
- เลขท่ีบัตรประชาชน
ประชาชน - เลขทีน่ ิติบคุ คล

Smart Contract กฎระเบยี บ
- ธุรกรรมทะเบยี นราษฎร ขอŒ กำหนด
ประชาชนสามารถเลือกใชŒบรก� ารต‹าง ๆ - ธุรกรรมทะเบียนสมรส ขŒอกำหนด
จาก Smart Contract ท่ีถกู กำหนดข้นั ตอน ทางกฎหมายเกยี่ วกับ ต‹างๆ

การดำเนนิ งานของหนว‹ ยงานต‹าง ๆ การเผยแพร‹ขŒอมูล
ของบร�การนนั้ ๆ
จะถกู กำหนดไวŒใน Smart Contract

รูปภาพท่ี 29: แสดงระบบนเิ วศการใหบ้ รกิ ารหน่วยงานภาครฐั
ทีม่ า: ปรับปรงุ จาก (Cheng, Daub, Domeyer, & Lundqvist, 2017)

แนวคิดและหลักการประยุกภตาใ์คชร้เฐัทคภโานยโใลตย้บี รBบิ loทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรบัย 147

การใหบ้ รกิ ารประชาชนสามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู ทะเบยี นตา่ ง ๆ ของตนหรอื การให้
หนว่ ยงานรฐั สามารถแชรข์ อ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ ระหวา่ งการทำ� ธรุ กรรม รายการขอ้ มลู ตา่ ง ๆ
ท่เี กดิ ข้นึ ในระบบจะถูกเขา้ รหสั เกบ็ ในฐานข้อมูลเฉพาะใน Blockchain ในรปู แบบ
Private หรอื Permissioned Blockchain ทปี่ ระชาชนตอ้ งทำ� การยนื ยนั ตวั ตนผา่ น
เลขที่บัตรประชาชน เลขท่นี ิตบิ ุคคล รหัสผ่านของผู้ใช้บริการของหน่วยงานนั้น ๆ
การกำ� หนดสทิ ธเิ์ ขา้ ถงึ ขอ้ มลู เพอื่ เรียกดู (อา่ น) และการเพม่ิ รายการธรุ กรรมใหม่ (เขยี น)
หรือให้หน่วยงานมีสิทธใ์ิ นการอ่านหรือเปลี่ยนแปลงรายการข้อมูลธุรกรรมของ
ประชาชนโดยใชก้ ญุ แจสาธารณะ (Public Key) ในการแชรข์ อ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งตรวจ
สอบขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั ในการจดั ทำ� ธรุ กรรมใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนและ
กญุ แจสว่ นตวั (Private Key) สำ� หรบั แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงขอ้ มลู ผา่ น Smart Contract
ซ่งึ เปน็ ขอ้ ตกลงสำ� หรบั การควบคมุ การดำ� เนนิ การจดั ทำ� ธรุ กรรมตามทกี่ ำ� หนดไวใ้ น
Smart Contract ของธุรกรรมน้ัน ๆ เป็นกลไกในการควบคุมล�ำดับข้ันตอน
การดำ� เนินการ วา่ ใครจะเป็นผเู้ ห็น เหน็ อะไรได้บ้าง เม่ือไร และด�ำเนนิ การอย่างไร

148 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES

ตัวอยา่ งการบูรณาการงานบรกิ ารภาครฐั ด้วยเทคโนโลยี Blockchain
(Government Service Blockchain)

กรณกี ารดำ� เนนิ การขออนญุ าตเขา้ มาในราชอาณาจกั รเปน็ การชวั่ คราวเพอื่ เขา้ รบั
การรักษาพยาบาลของคนต่างด้าวของเจ้าหน้าที่ประจ�ำด่านตรวจคนเข้าเมือง
ที่ประจ�ำอยตู่ ามแนวชายแดน ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 25

การด�ำเนินงานกอง หนว่ ยงานรบั การดำ� เนนิ งาน ระบบงานอา้ งองิ
บังคับการตรวจคน
สนง.ตรวจคนเข้าเมอื ง ระบบบญั ชีเฝา้ ดู
เขา้ เมอื ง สนง.ตำ� รวจแหง่ ชาติ
ตรวจสอบข้อมูลคน - ระบบบญั ชีเฝ้าดูขอหมายจับสากล
ต่างด้าวขอเข้ามาใน กรมการจัดหางาน - ทะเบียนประวตั อิ าชญากร
ราชอาณาจกั ร กระทรวงแรงงาน ตรวจสอบประวตั กิ ารท�ำงาน
โรงพยาบาล คนตา่ งด้าว
ระบบเวชระเบยี นหรอื ระบบนดั หมาย

สถานกงสลุ NON-IMMIGRANT VISA

แนวคดิ และหลกั การประยกุ ภตาใ์คชรเ้ ฐัทคภโานยโใลตยบ้ ี รBิบloทcขkอcงhปaรinะเทสศำ� หไทรับย 149

เร�มตนŒ การทาํ งาน สำนกั งานตรวจคนเขŒาเมอื ง

กองบงั คบั การตรวจคนเขาŒ เมือง สํานักงานตาํ รวจ
รบั เรอ่� งขอ โดยสรŒาง Smart
กองบังคับการตรวจ Read & Write
Contract กระจายไปยงั คนเขาŒ เมือง
หนว‹ ยงานตา‹ งๆ

หน‹วยงานทีเ่ กี่ยวขอŒ ง Government Read only
รอŒ งขอขอŒ มูลที่จาํ เปšนทีร่ ะบุไวŒ Blockchain Network
ตามกลไกของ Smart Contract

แตล‹ ะหนว‹ ยงาน โรงพยาบาล
ตรวจสอบระบบทะเบยี น
และสง‹ ผลดำเนินการ สถานกงสุล
เม่อื ดำเนินการครบตามเง่อ� นไข
ใน Smart Contract ระบบ Read only Read only
จะทำสำเนารายการธุรกรรม
และแจกจา‹ ยไปยงั ทกุ Node กตารรวดบจำ�งั คเคนนบั นิ เกขงา้าาเรนมกอื องง หนว่ ยงาน หนว่ ยงานอา้ งองิ กาแรจดง้ ผำ� เลนนิ
ตรวจสอบขอ้ มลู คนต่างดา้ ว รบั การดำ� เนนิ งาน มหี รือไม่มี
บนเครอ� ข‹าย ขอเขา้ มาในราชอาณาจักร ระบบบญั ชีเฝา้ ดู มีหรอื ไมม่ ี
สำนกั งานตรวจคนเขŒาเมอื ง ตรวจคนเข้าเมอื ง - ระบบบญั ชเี ฝา้ ดูขอหมายจับสากล
สนง.ต�ำรวจแห่งชาติ - ทะเบียนประวัติอาชญากร มีหรอื ไม่มี
เพม� หรอ� ปรบั ปรงุ ตรวจสอบประวัติการท�ำงาน
ระบบงานทะเบียนคนเขาŒ เมอื ง กรมการจัดหางาน คนต่างดา้ ว มหี รอื ไม่มี
กระทรวงแรงงาน ระบบเวชระเบียนหรือระบบนดั หมาย มหี รอื ไมม่ ี
ส�ินสุดการทำงาน โรงพยาบาล NON-IMMIGRANT VISA
สถานกงสลุ

รปู ภาพท่ี 30: แผนภาพจ�ำลองขัน้ ตอนการขออนุญาตเขา้ มาในราชอาณาจกั รชัว่ คราว
เพอ่ื เขา้ รบั การรักษาพยาบาล

ประโยชนจ์ ากการใชเ้ ทคโนโลยี Blockchain ในการเชือ่ มโยงงานบริการภาครฐั
สามารถจำ� แนกไดต้ ามผ้ใู ชง้ าน ดงั ตอ่ ไปนี้

หน่วยงานผใู้ ห้บรกิ าร

การเผยแพรข่ อ้ มลู (Shared Data) การเปดิ ขอ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ ใชง้ านรว่ มกนั

การทำ� งานรว่ มกนั (Multiple Parties) การบนั ทกึ หรอื อา่ นขอ้ มลู จากฐาน
ขอ้ มลู ในการดำ� เนนิ การจดั ทำ� รายการธรุ กรรม เพอื่ ใหบ้ ริการเรื่องใดเรอ่ื งหนงึ่
อาจมีหน่วยงานภาครัฐมากกว่าหน่ึงร่วมด�ำเนิน การโดยก�ำหนดพ้ืนท่ี
การเข้าถึงแหล่งข้อมูลแบบ Permissionless (Public Blockchain),
Permissioned (Private หรือ Consortium Blockchain)

150 BLOCKCHAIN
for GOVERNMENT SERVICES


Click to View FlipBook Version