The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฒนธรรม ปีที่ 54 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 ย้อนยุคอย่างสร้างสรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2022-03-29 23:18:23

วัฒนธรรม ปีที่ 54 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558

วัฒนธรรม ปีที่ 54 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 ย้อนยุคอย่างสร้างสรรค์

Keywords: วัฒนธรรม

วัฒนธ รม กรกฎาควมาร_ปสกาีทันรี่ ยร๕าา๔ยย สนฉา บม๒ับเ๕ดท๕ือ ี่ ๘น๓ 

ย้ อนอย่ายงสุคร้างสรรค์ ISSN 0857-3727

ภาพ
บอก
เ ล่ า

ภาพ : สมพร ณ อุบล

งานศิลป์แหง่ ศรทั ธา

งานแห่เทียนพรรษาของอุบลราชธานีถือเป็นงาน
เทศกาลระดับชาติ  มีผู้คนนับหมื่นร่วมชื่นชมขบวนแห่
ต้นเทียนหลายสิบขบวนจากคุ้มวัดต่าง ๆ  ท่ัวเมือง
หากแต่ภาพเบื้องหลังท่ีน้อยคนจะได้เห็นคือแรงแห่ง
ศรัทธาของเหล่าช่างเทียน  ท้ังฆราวาสและภิกษุสงฆ์
ทีร่ ่วมกันสรรคส์ รา้ งงานประณตี ศิลป์อันวิจิตร

ประเพณแี หเ่ ทยี นพรรษา
จงั หวัดอุบลราชธานี

B วฒั นธ รม

วฒั นธรรมย้อนยุค  วฒั นธ รม
เส้นทางสเู่ ศรษฐกจิ สร้างสรรค์
เจ้าของ
กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม 

จากตลาดร้อยปี ก้าวสู่การปลุกชีพของย่านเก่าเล่าอดีต จนถึง  บรรณาธกิ าร
นางสาวนนั ทยิ า สวา่ งวฒุ ิธรรม  
การย้อนเวลากลับไปยังวันในวัยเยาว์ ผ่านเครื่องใช้ไม้สอย อาหารการกิน อธิบดีกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม
อารมณ์แห่งการถวิลหาอดีตเหล่าน้ีได้กลายเป็นกระแสที่แทรกซึมอยู่ใน
จงั หวะชวี ติ   ไมอ่ าจปฏเิ สธไดว้ า่ วฒั นธรรมยอ้ นยคุ กลนิ่ อายไทยๆ ตอบโจทย์ ผู้ช่วยบรรณาธกิ าร
รสนยิ มของผคู้ นในปจั จบุ นั  และกลายเปน็ เสนห่ อ์ ยา่ งหนง่ึ ทสี่ นิ คา้ และบรกิ าร นายมานัส ทารัตนใ์ จ    
ตา่ งๆ หยบิ มาผสมผสาน  โดยเชอ่ื มโยงกบั รากฐานทางวฒั นธรรม บวกกบั รองอธบิ ดีกรมสง่ เสริมวัฒนธรรม
ความคิดสร้างสรรค์ จนเกิดเป็นคุณค่าทางเศรษฐกิจ วารสารว  ัฒนธรรม  นางสุนันทา มิตรงาม   
ฉบับวัฒนธรรมย้อนยุค เส้นทางสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จะพาผู้อ่านไป  รองอธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม     
ไขความลับการสร้างมูลค่าที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย มาดูกันว่าการ 
ต่อยอดวัฒนธรรมด้วยแนวคิดสมัยใหม่  นอกเหนือจากการสร้างคุณค่า  กองบรรณาธกิ าร
ทางเศรษฐกิจแล้ว ยงั สง่ ผลถงึ การสร้างคุณคา่ ตอ่ สังคมได้อยา่ งไร นางกุลยา เรอื นทองดี  เลขานกุ ารกรม
นางสาวเยาวนิศ เตง็ ไตรรตั น ์
วารสารว  ัฒนธรรม ฉบบั นยี้ งั คงนำ� เรอ่ื งราวตา่ งๆ ทงั้ ประเพณ ี กฬี า นางสาวกิ่งทอง มหาพรไพศาล
ภาษา ศิลปะการแสดง อีกทั้งผลงานอันทรงคุณค่าที่ศิลปินแห่งชาติได้ นายชุมศกั ดิ ์ หรั่งฉายา
สร้างสรรค์ไว้ต่อสังคม ตลอดจนวัฒนธรรมร่วมของอาเซียน มาบอกเล่า  นายมณฑล ยงิ่ ยวด
สู่คุณผู้อ่าน เพ่ือให้พร้อมรับกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะมาถึง  นางสาวธนพร สงิ หน์ วล
ในปลายป ี ๒๕๕๘ นีค้ ะ่ นายศาตนนั ท์ จนั ทร์วิบูลย ์
นางสาวพนดิ า ทวิ าพัฒน ์

นันทยิ า สวา่ งวฒุ ธิ รรม ฝา่ ยกฎหมาย
นางสาวสดใส จำ� เนยี รกลุ

ฝา่ ยจดั พมิ พ ์
นางปนัดดา นอ้ ยฉายา

ผู้จดั ทำ�   
บริษทั วริ ยิ ะธรุ กจิ  จำ� กัด

พมิ พท์ ่ี
โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์

ท่านท่ีประสงค์จะน�ำข้อเขียนหรือบทความใดๆ ใน วารสารวัฒนธรรม ไปเผยแพร่  กรุณาติดต่อประสานกับบรรณาธิการหรือนักเขียนท่านน้ันๆ โดยตรง  
ขอ้ เขยี นหรอื บทความใดๆ ทตี่ พี มิ พเ์ ผยแพรใ่ น วารสารวฒั นธรรม ฉบบั น ้ี เปน็ ความคดิ เหน็ เฉพาะตวั ของผเู้ ขยี น คณะผจู้ ดั ท�ำไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเหน็ ดว้ ยและไมม่ ขี อ้ ผกู พนั
กับกรมส่งเสริมวัฒนธรรมแต่อย่างใด  หากท่านมีความประสงค์จะส่งข่าวกิจกรรมเก่ียวกับงานศิลปวัฒนธรรมต่างๆ รวมทั้งท่านที่ต้องการให้ข้อเสนอแนะ หรือส่ง
ขา่ วสารเพ่ือการเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ กรณุ าสง่ ถึง

กองบรรณาธกิ าร วารสารวฒั นธรรม
ส�ำนกั งานเลขานุการกรม
กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม วารสาร
เลขท่ี ๑๔ ถนนเทยี มรว่ มมติ ร เขตหว้ ยขวาง   วฒั นธรรม 
กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ จัดพมิ พเ์ พ่ือ
การเผยแพร่
โEท–รmศaัพilท : ์ ๐d c๒p๒_๔jo๗ur n๐a๐l@๒๘ho ตtmอ่  a๑il.๒c๐om๘–๙ หา้ มจ�ำหน่าย
Website : www.culture.go.th

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 1

วัฒนธ รม วารสารรายสามเดอื น
ปที  ่ี ๕๔ ฉบบั ท่ ี ๓ 
กรกฎาคม- กันยายน ๒๕๕๘

๓ /๕๘ISSN 0857-3727

๔ ๒๖

๘๐ ๙๘

2 วฒั นธ รม

มรดกภูมิปัญญา

๑๘ บันเทิงศิลป์  ลำ�ตัดในรูปหนงั สอื

๒๖ ชน้ั เชงิ ชา่ ง  บาตรบ้านบาตร

๓๔ สบื สาวเลา่ เรอ่ื ง  พญากง พญาพาน
กับตำ�นานพระปฐมเจดีย์


๔๒ กีฬา-การละเลน่   งู กนิ  หาง 

๕๐ ขนบประเพณ ี สารทเดอื น ๑๐ 
แห ่ “จาด” ประกาศบุญ


ปกิณกะ ๕๘ จักรวาลทศั น ์ แมวไทยกบั คนไทย

๑ บทบรรณาธกิ าร ๖๖ ภาษาและหนงั สือ  ภาษากะซอง : เสียงของคน
๑๑๒ เปดิ อ่าน กลมุ่ สดุ ท้ายแห่งดนิ แดนตะวนั ออก
๑๑๔ วฒั นธรรมปรทิ ัศน์
สยามศิลปิน
เรื่องจากปก
๗๔ ศิลปนิ แหง่ ชาต ิ สุเมธ ชมุ สาย ณ อยุธยา 
๔ วัฒนธรรมยอ้ นยุค  : ประวัตแิ ละผลงานสถาปตั ยกรรม
เสน้ ทางส ู่ “เศรษฐกิจสรา้ งสรรค”์
คลาสสกิ -วนิ เทจ แบบมีกน๋ึ
๘๐ บรมครู  ประยูร อุลชุ าฎะ น. ณ ปากนำ้ � 
และ พลหู ลวง  


๘๖ พื้นบา้ นพ้นื เมอื ง  “ป้าตว๋ิ ” คณะอุดมศิลป์ บา้ นละคร 
และดนตรีส่ีชว่ั คน


โลกวัฒนธรรม

๙๒ นทิ ัศน์วฒั นธรรม  ชีวติ ของ “บ้าน” อสี านที่สารคาม

๙๘ แผ่นดนิ เดียว  หนา้ กาล-เกียรตมิ ุข-ราหู

๑๐๔ ศลิ ปะไทยร่วมสมัย  ทำ�มาก หวังนอ้ ย
กบั  “ครูเอ”้  อัษฎาวุธ สาคริก

เ ร่ื อ ง จ า ก ป ก

เร่อื ง : ฐติ ิพนั ธ์ พัฒนมงคล
ภาพ : วิจติ ต ์ แซเ่ ฮ้ง 

วฒั นธรรม

ยอ้ นยุคเส้นท าคงลสาู่ ส“เสศิกร-ษวฐินกเทจิ สจ รแ้าบงสบรมรกี คึ๋น”์

> ตลาดสามชุก 

สพุ รรณบรุ ี 
ตน้ แบบของการพลิกฟื้น
ยา่ นตลาดเกา่ ใหม้ ชี วี ติ ชีวา
ข้นึ อีกครงั้

4 วฒั นธ รม

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 5

6 วฒั นธ รม

ตลาดนำ้� คลองแดน 

หน่งึ ในตลาดน้�ำทคี่ นในทอ้ งถ่ิน
รว่ มกันฟื้นฟแู ละควบคมุ
การพัฒนาให้อยใู่ นทิศทางท่ชี มุ ชน
ไดป้ ระโยชนส์ งู สดุ  

(ภาพ : นพดล กนั บัว)

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 7

แม้ว่าตลาดน้�ำคลองแดน อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปอดั ดฝตี ุ่นทม่ีโาหขยาหยาได  ้
จะเพิ่งเปิดตัวขึ้นในฐานะตลาดน�้ำน้องใหม่เมื่อไม่นานมานี ้  ✻✻✻
แต่ก็ต้องยอมรับว่า “แผนการตลาด” ของคณะผู้จัดการ คือ
กลุ่มชาวบ้าน ออกแบบให้เส้นทางของตลาดน้�ำแห่งนี้อยู่ใน ตลาดนำ�้ คลองแดนมใิ ชแ่ หง่ แรกทมี่  ี “เรอ่ื งโบราณ” เปน็
ทิศทางที่นา่ พึงพอใจยิ่ง จุดขาย ทั้งโดยเจตนาหรือไม่ ท้ังที่เป็นอยู่มาแต่เดิมหรือปรุง
แตง่ ขนึ้ ใหม ่  สถานทที่ อ่ งเทยี่ วหลายแหง่ กป็ ระสบความสำ� เรจ็
ขา้ วของขายด ี นกั ทอ่ งเทยี่ วเตม็ ตลาด การละเลน่ พนื้ บา้ น  เม่ือน�ำ “วัฒนธรรมย้อนยุค” มรดกทางวัฒนธรรมของไทย 
บนเวทีริมน้�ำมีผู้ชมแน่นขนัด และมีคนต่อแถวยาวเหยียดรอ มาตอบสนองความรู้สึกโหยหาอดีต (nostalgia) ของสังคม 
ซือ้ ตัว๋ น่ังเรือชมความงามสองฝ่งั คลอง สมัยใหม่

นี่คือสถานที่ท่องเที่ยวหนึ่งในไม่ก่ีแห่งของภาคใต้ที่ชู จากชมุ ชนเลก็ ๆ ตดิ ปา่ ชายเลนปากอา่ วไทย หนั ไปทาง
ประเด็นความเปน็  “ตลาดนำ�้ ” หรือ “ตลาดโบราณ”  ไหนก็มีแต่ขนัดสวนมะพร้าว ดวงแสงเล็กๆ ของหิ่งห้อยท่ีหา
ไดย้ ากในเมอื งใหญ ่ กลายเปน็ สงิ่ ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ดนิ ทาง
ตลาดน้�ำคลองแดนต้ังอยู่ตรงจุดบรรจบของคลองสาม มาเยยี่ มเยอื นอำ� เภออมั พวาในจังหวดั สมุทรสงคราม 
สายบรเิ วณรอยต่อจงั หวัดนครศรีธรรมราชและสงขลา 
เม่ือได้สัมผัสกับชีวิตริมน้�ำ เรือนไทยโบราณ เรือนแถว
อดตี เคยรงุ่ เรืองด้วยเป็นพนื้ ท่ที ำ� นาปลกู ขา้ วดที ่ีสดุ ของ ไม้เก่าที่ชาวบ้านอาศัยอยู่ในวิถีปรกติ ผู้คนที่ด�ำเนินชีวิตอยู ่
ภาคใต้ คือลุ่มน้�ำปากพนังและทุ่งระโนด มีทุ่งกว้างพอท�ำนา ในสังคมยุคใหม่ท่ีเร่งรีบก็ย่ิงประทับใจ  ตลาดน้�ำอัมพวา
เล้ียงคนปักษ์ใต้ได้ท้ังภาค  ก่อนจะซบเซาลงเมื่อเด็กๆ ใน กลายเป็นปลายทางของนักท่องเที่ยวในวันหยุดสุดสัปดาห ์
หมบู่ า้ นตา่ งเดนิ ทางออกไปเรยี นหนงั สอื  และคนหนมุ่ สาวเกบ็ ทตี่ อ้ งการมาสมั ผสั กบั บรรยากาศยอ้ นยคุ  เดนิ ชมชวี ติ รมิ คลอง
ข้าวของย้ายเขา้ ไปท�ำงานในตัวเมอื ง ท่ีเขารู้สึกว่าเรียบง่าย  ซื้อหาสารพัดอาหารไทยจากพ่อค้า
แม่ค้าท่ีพายเรือมาขายของ อาหารคาวต้องหอยทอด ผัดไทย 
จนเมอื่  ๒–๓ ปที ผ่ี า่ นมา คนคลองแดนทยอยกลบั บา้ น ห่อใบตอง ของหวานต้องเฉาก๊วยโบราณ ข้าวเกรียบว่าว 
ใครยังไม่ขายที่แต่รื้อบ้านแล้วก็เริ่มปลูกบ้านใหม่ ด้วยเหตุผล ขนมไทยโบราณหากินยากอย่างขนมล�ำเจียก ขนมลืมกลืน
และแรงจงู ใจ คอื ตลาดน�้ำคลองแดน  เครื่องดื่มถ้าให้ได้บรรยากาศต้องใส่แก้วดินเผา หลอดเหลา
จากไม้ไผ่  กนิ อมิ่ แล้วเขา้ นอนในบา้ นพกั โฮมสเตย์ทเ่ี รียบงา่ ย
“ชุมชนของเราต้องการให้คลองแดนเป็นคลองแดน สบายๆ แตล่ ะหลังมอี ายุเกา่ แกไ่ มน่ ้อยกว่า ๕๐–๑๐๐ ปี
เราไมอ่ ยากเจรญิ มากกวา่ น ี้  บางครงั้ คนขา้ งนอกมาถงึ ถามวา่
ท�ำไมคุณไม่ท�ำสะพานคอนกรีตล่ะ ผมบอกคอนกรีตมันไม่ใช่
คลองแดนครับ  คอนกรีตคุณเดินท่ีไหนก็ได้ แต่คลองแดน
คือสะพานไม้” คุณสมเกียรติ หนูเนียม ผู้น�ำกลุ่มชุมชน 
คลองแดนอธิบาย  จากบนบ้านพักโฮมสเตย์ นอกชานเป็น
คลองสายเล็ก มองเหน็ สะพานไม ้

หรือเรือนไทยโบราณ สะพานไม้ คือ “คลองแดน”
แบบ “คลองแดน” ที่นักท่องเที่ยวอยากสัมผัส และท�ำให้คน
คลองแดนอยากกลบั มาอย่บู า้ นอีกคร้งั

8 วฒั นธ รม

ตลาดน�้ำอัมพวา

ถจางึ  ก“ ก“านรอตสลแาตดลแเบจบยี ย” อ้(Nนoยsุคt”a l(gNioas) talgic Marketing)

คำ� วา่  นอสแตลเจีย (nostalgia) ท่ีได้ยินอยา่ งแพรห่ ลายในปัจจบุ ัน มีท่มี าจากคำ� ภาษากรีกสองคำ�  คือ nostos (การกลบั บา้ น) 
และ algos (ความเจ็บปวด)  เม่ือรวมกันแปลว่าอาการคิดถึงบ้าน  คำ� นี้เคยใช้ในวงการแพทย์มาก่อน แต่ทุกวันนี้ถูกใช้ในความหมาย
ทก่ี ว้างขวางข้นึ  คือความรสู้ กึ อาลัยอาวรณ ์ ครุ่นคดิ  การอยากใหก้ ลบั มา ซึง่ ประสบการณ ์ สงิ่ ของเครอ่ื งใช ้ ความค้นุ เคยในอดตี

มผี วู้ เิ คราะหว์ า่ อาการนอสแตลเจยี เปน็ กระบวนการทางความคดิ ในโลกยคุ สมยั ใหมท่ ผ่ี คู้ นเกดิ ความรสู้ กึ ไมม่ นั่ ใจ-ไมม่ นั่ คง ตอ่ สงิ่
ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต  ตลอดจนเกิดความรู้สึก “ขาดหาย”  ขณะท่ีความทรงจ�ำของมนุษย์มักบันทึกภาพอดีตในลักษณะท่ีสวยงาม 
จงึ สามารถใชเ้ ปน็ หลกั ยดึ ทมี่ นั่ คงทางจติ ใจได ้  กระแสหวนอดตี จงึ เขา้ มา “เตมิ เตม็ ” ในสง่ิ ทขี่ าดหาย ผา่ นแฟชน่ั  เครอื่ งแตง่ กาย บทเพลง
ภาพยนตร์ อาหารการกิน ที่ท่องเท่ียว ฯลฯ จนอาการนอสแตลเจียได้กลับเข้ามาสู่วิถีชีวิต กลายเป็นกระแสหรือเทรนด์ท่ีส�ำคัญ 
ของโลกยุคสมัยใหม่ น�ำไปสู่ส่ิงท่ีเรียกว่า “การตลาดแบบย้อนยุค” (Nostalgic Marketing) ที่นำ� เอาความประทับใจและประสบการณ์ 
ในอดตี มาสือ่ สารกับผู้บริโภค

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 9

สถานท่ีท่องเที่ยวขายวัฒนธรรมย้อนยุคอย่างตลาดนำ้� นำ� เสนอวฒั นธรรมยอ้ นยคุ  เชน่  บา้ นพพิ ธิ ภณั ฑ ์ ของคณุ เอนก
อัมพวาฮิตติดลมบน จนหากจะกล่าวว่าในรอบ ๑๐ ปีที่ผ่าน นาวิกมูล นักค้นคว้าเร่ืองเก่าคนส�ำคัญของเมืองไทย  บ้าน
มาไม่มีวันหยุดยาวใดท่ีหัวกระไดบ้านโฮมสเตย์ของอัมพวา  พิพิธภัณฑ์ของคุณเอนกต้ังอยู่แถวศาลาธรรมสพน์ เขต 
จะแห้ง กค็ งไม่เกนิ ความจริงไปนัก ทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นพิพิธภัณฑ์เอกชนที่ให้ท้ัง
ความรู้และความรื่นรมย์แห่งเมืองไทยยุคก่อน ๒๕๐๐ เก็บ
ยิ่งเก่าย่ิงงาม ย่ิงเก่าย่ิงขลัง ท่ีเที่ยวหลายแห่งท่ีขาย รวบรวมของเก่าท้ังของใช้ของเล่น รวมถึงสถานท่ีท่องเที่ยว 
ความเปน็ ตลาดนำ�้ หรอื ตลาดโบราณ จงึ นำ� เสนออายขุ ยั ของตวั ท่ีต้ังใจสร้างขึ้นในบรรยากาศย้อนยุคแบบไทย เช่นกรณี 
เองด้วย เช่น ตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ประกาศตัว เพลินวาน ทีอ่ ำ� เภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์
ว่าเป็น “ตลาด ๑๐๐ ปี” อย่างภาคภูมิใจ  ตลาดลาดชะโด
อ�ำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คนทั้งชุมชนก็ภูมิใจ  ฟาร์มโชคชยั  ริมถนนมติ รภาพ ยา่ นปากชอ่ ง กถ็ อื เปน็
ว่าอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีแล้ว  หรือ ตลาดหลวงแพ่ง เขต อีกหนึ่งตัวอย่างของการน�ำ “วัตถุดิบเดิมๆ” ที่แสนธรรมดา 
ลาดกระบัง สุดเขตกรุงเทพมหานคร ถึงกับข้ึนป้ายหน้า  คือฟาร์มเล้ียงวัว ชีวิตเกษตรกรผู้ปลูกหญ้า รีดนมวัว มา 
ปากทางเข้าตลาดว่า “๑๐๘ ปี มรดกแห่งลาดกระบัง” แต ่ สรา้ งสรรค ์ จดั ระบบใหม ่ จนเกดิ การเปลยี่ นแปลงทด่ี ตี อ่ ธรุ กจิ
งานน้ที างผู้ด�ำเนินการคงตอ้ งบวกเพมิ่ ตัวเลขทุกปี  ตอ่ ยอดมาเปน็ ผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่  เชน่  ไอศกรมี นม เสอ้ื ผา้  หมวก 
ของที่ระลึกแบบลูกทุ่งคาวบอย  หรือจัดทัวร์ท่องเที่ยววิถี
นอกจากตลาดน�้ำที่ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนด้าน เกษตรภายในฟาร์ม ที่นักท่องเท่ียวยินดีจ่ายค่าเข้าชมด้วย
การเงินและการบริหารจัดการจากหน่วยงานปกครองส่วน  ความเต็มใจ
ท้องถิ่น ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวของเอกชนที่จัดอยู่ในหมวด 

10 วัฒนธ รม

< บ้านพพิ ธิ ภัณฑ์ > ทเิศศทรษางฐสก�ำจิ คสัญรา้ขงอสงรโรลคก ์

แหลง่ เรียนร้ทู สี่ ร้างข้นึ ด้วย ✻✻✻
น�้ำพักน้�ำแรงของเอกชน 
ความส�ำเร็จท่ีเกิดกับกรณีตลาดน้�ำคลองแดน ตลาดน้�ำอัมพวา เพลินวาน หรือ
(ภาพ : ประเวช ตันตราภริ มย)์ ฟาร์มโชคชัย ฯลฯ อาจกล่าวได้ว่าเพราะผู้คนสมัยใหม่มีความรู้สึกโหยหาอดีต แหล่ง
ท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมทั้งหลายจึงน�ำ “วัฒนธรรมย้อนยุค” ที่ตนมี (หรือสร้างขึ้นเอง
ตลาดลาดชะโด  ใหม่) มาสร้างผลต่อยอดทางธุรกจิ ในรูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรคท์ �ำนองนไ้ี ด้ 

พระนครศรีอยุธยา  เว็บไซต์ http://www.doyourwill.co.th ได้อธิบายถึงที่มา รวมทั้งความหมาย 
หน่ึงในตลาดโบราณท่เี ปิดตัวขน้ึ ใหม่ ของค�ำว่า “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” (creative economy) ว่าถูกน�ำมาใช้เป็นคร้ังแรก 
เพื่อรองรบั การท่องเทยี่ ว  ในหนังสือของ John Howskins ซึ่งให้ค�ำนิยามของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ไว้ว่า 
“การสร้างมูลคา่ ทเ่ี กิดจากความคิดของมนุษย”์  
(ภาพ : มงคลสวสั ด์ิ เหลืองวรพนั ธุ)์

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 11

ยิ่งเก่าย่ิงขลัง ท่ีเท่ียวหลายแห่งท่ีขายความเป็นตลาดน�้ำหรือตลาดโบราณ 
จึงน�ำเสนออายุขัยของตัวเองด้วย เช่น ตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุร ี
ทีป่ ระกาศตวั วา่ เป็น “ตลาด ๑๐๐ ป”ี  อยา่ งภาคภมู ิใจ

12 วัฒนธ รม

รต้านลคา้ารุ่นดเกสา่ ใานมชกุ

สุพรรณบุร ี ทีย่ งั คงสืบทอด
กิจการของครอบครวั
ไว้ในยุคสมัยใหม่

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 13

เพลินวาน ยอ้ นยุคสรา้ งจากศูนย์

เพลินวาน สถานที่ท่องเท่ียวแบบย้อนยุคแห่งอ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เจ้าของค�ำขวัญ “The memories of 
classic romance” ถือเป็นตวั อย่างทปี่ ระสบความสำ� เร็จจากแผนการตลาดแบบย้อนยคุ

ทั้งท่ีหากพิจารณาจากสถานที่ตั้ง เมื่อเปรียบเทียบกับพ้ืนท่ีอ่ืนในอ�ำเภอหัวหินที่สร้างช่ือมาก่อนจากท้องทะเล ชายหาด สถาน
ที่พักตากอากาศ ขณะท่ีเพลินวานไม่ได้ตั้งอยู่ริมทะเล แต่ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้ก่อตั้งที่หวนนึกถึงบรรยากาศเก่าแก่อันเป็นมนต์ขลัง 
ของหวั หนิ  จึงจัดแจง “เล่าเรอ่ื งใหม่” ดว้ ยการออกแบบเพลนิ วานให้มบี รรยากาศยอ้ นยุค  

กลมุ่ อาคารไมส้ องชนั้ ทปี่ ลกู เชอื่ มตอ่ กนั เหมอื นยา่ นตลาดเกา่  รา้ นคา้ ตา่ งๆ ทมี่ ชี อื่ คลอ้ งจองไพเราะเขา้ กนั กบั บรรยากาศในอดตี
จนถึงลานฉายหนังกลางแปลงในบรรยากาศงานวัด สร้างความประทับใจให้นักท่องเที่ยว  ทุกวันน้ีมีผู้เดินทางมาย้อนความทรงจ�ำที่
เพลนิ วาน วันธรรมดาไมต่ �่ำกว่า ๒,๐๐๐ คน หากเป็นวนั หยุดสุดสปั ดาหอ์ าจมากถึงหลกั หมืน่ ทีเดยี ว

14 วฒั นธ รม

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 15

หลังจากน้ันค�ำว่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์จึงถูกน�ำมาใช้ แสน“รเวศ้าทงราสษงรฐสรกรคิจา้ ”์ ง 
อยา่ งกวา้ งขวางในนานาประเทศ ซ่งึ จนถงึ ปัจจุบันกย็ ังไม่ไดม้ ี ✻✻✻
การกำ� หนดนยิ ามทชี่ ดั เจนของคำ� คำ� น ้ี  การอธบิ ายความหมาย
ของค�ำว่า “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” จึงมักจะหยิบยกเอา  เดมิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ยม์ กั พงึ่ พงิ การผลติ
ความหมายทีป่ ระเทศและองค์การต่างๆ ไดน้ ยิ ามไว ้ อาทิ ท่ีมีต้นทุนต่�ำ (factory economy) เพ่ือแข่งขันกับเจ้าอ่ืน 
แต่มาในระยะหลังเร่ิมมีการพูดถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจแนว 
สหราชอาณาจักร นิยามว่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็น  ทางใหม่ที่เรียก “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” สรุปอย่างรวบรัดจาก
“เศรษฐกิจท่ีประกอบด้วยอุตสาหกรรมที่มีรากฐานมาจาก ขอ้ มลู หลายบรรทดั ขา้ งตน้  อาจกลา่ วไดว้ า่ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์
ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องบคุ คล ทกั ษะความชำ� นาญ และความ คือการสร้างมูลค่าให้แก่สิ่งท่ีเรามีอยู่ โดยอาศัยสติปัญญา
สามารถพิเศษซึ่งสามารถนำ� มาใช้ประโยชน์ในการสร้างความ ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์น่ันเอง
ม่ังคั่ง และสร้างงานให้เกิดขึ้นได้ โดยที่สามารถส่ังสมและ
ส่งผ่านจากรุ่นเก่าสู่รุ่นใหม่ด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินทาง ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัย 
ปญั ญา” ธุรกิจบัณฑิตย์ อธิบายไว้ในบทความ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์ :
จาก Thailand to Siam” ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ มติชน 
องคก์ ารทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาโลก (WIPO) ใหค้ วามหมาย  ฉบับวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ โดยยกตัวอย่างจาก
ว่า “อุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ แนวทางการเพ่มิ มลู ค่าใหแ้ ก่ไม้ไผท่ ่อนหนง่ึ ว่า
ทางวฒั นธรรมและศลิ ปะทงั้ หมด ทง้ั ในรปู สนิ คา้ และบรกิ ารที่
ต้องใช้ความพยายามในการสร้างสรรค์งาน ไม่ว่าจะเป็นการ “ดว้ ยการระบายสเี ปน็ ลายไทยงดงามและเจาะรเู ปน็ กลอ่ ง
ทำ� ขน้ึ มาโดยทนั ทใี นขณะนน้ั  หรอื ผา่ นกระบวนการผลติ  และ ออมเงนิ  ทำ� ใหเ้ กดิ งานและรายได้ และถา้ ผซู้ อ้ื ไดร้ บั ค�ำอธบิ าย
เนน้ การปกปอ้ งผลงานผา่ นการคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา” ว่าลายไทยดอกบัวน้ันมีความหมายท่ีลึกซึ้ง เพราะดอกบัว
เปน็ ตน้ แบบของมอื สองขา้ งทพ่ี นมเขา้ หากนั  อนั เปน็ กริ ยิ าของ
ขณะทส่ี ำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และ  การไหวส้ ง่ิ ทเี่ คารพนบั ถอื  ทอ่ นไมไ้ ผน่ นั้ กจ็ ะมคี วามหมายยงิ่ ขน้ึ ”
สังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือ “สภาพัฒน์” ให้ค�ำจ�ำกัดความ
ว่า “เศรษฐกิจสร้างสรรค์ คือแนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แมแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรคแ์ พรห่ ลายจากโลกตะวนั ตก 
บนพน้ื ฐานของการใชอ้ งคค์ วามร ู้ การศกึ ษา การสรา้ งสรรคง์ าน มาสสู่ งั คมไทยเมอื่ ไมน่ านมาน ้ี แตก่ ไ็ ดร้ บั การตอบสนองอยา่ ง
และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เช่ือมโยงกับพื้นฐานทาง กวา้ งขวาง โดยเฉพาะในหนว่ ยงานของรฐั หลายแหง่  ซง่ึ มองเหน็  
วัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และเทคโนโลยี / ช่องทางในการใช้แนวคิดนี้ “ต่อยอดขยายผล” เพิ่มมูลค่าทาง
นวัตกรรมสมยั ใหม่” เศรษฐกิจให้แก่ส่ิงท่ีเรามีอยู่ อันได้แก่มรดกวัฒนธรรมด้ังเดิม
ของไทย
วัฒนธรรมย้อนยุคไม่ได้มีอยู่แต่ในสถานท่ีท่องเท่ียว 
“แบบไทยๆ” เท่าน้ัน หากยังหมายรวมถึง “วัตถุดิบ” นานา แนวทางนี้ยังถูกก�ำหนดไว้เป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญ
ชนิดท่ีมีกล่ินอายของวัฒนธรรมย้อนยุค เช่น นวดแผนไทย ประการหนงึ่ ของการพฒั นาประเทศ ตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ
อาหารไทย ขา้ วหอมมะล ิ ผดั ไทย ผลไมไ้ ทย ไหมไทย ปลากดั และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๙ ) คือ
หมาไทยหลังอาน อันสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่จะมีค�ำว่า “ไทย” การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจด้วยฐานความรู้ เทคโนโลยี
ตอ่ ทา้ ย และเปน็ สิง่ ทช่ี าวโลกรจู้ กั นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์บนพื้นฐานการผลิตและ
การบรโิ ภคทีเ่ ป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อม
16 วฒั นธ รม

โตช้า แต่ยง่ั ยนื พัดลมตัวเก่า งานจักสานท่ีชาวชุมชนยังเก็บรักษาเอาไว้ ถือ
✻✻✻ เปน็ วัตถดุ ิบชน้ั เยยี่ มของการวาดภาพ

ท่ีเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร นอกจากตลาด โครงการ “ตลาดนดั ศลิ ปะ” จงึ เกดิ ขนึ้ ในรปู แบบนำ� รอ่ ง 
หลวงแพ่ง “๑๐๘ ปี มรดกแห่งลาดกระบัง” แล้ว ยังมีตลาด  โดยทางชุมชนร่วมกับวิทยาลัยช่างศิลป์ และหน่วยงานท่ี
รมิ น้�ำอกี แห่งทมี่ ีอายุไล่เลย่ี กันมาคอื  ตลาดหัวตะเข้ เก่ียวข้อง เปิดพ้ืนที่ให้บรรดานักเรียนนักศึกษาน�ำผลงาน 
มาจัดแสดงและวางขายตลอดแนวตลาดไม้ริมน้�ำหัวตะเข ้ 
ปัจจุบันตลาดหัวตะเข้หรือ “ตลาดหัวเข้” ท่ีผู้คนมา  ชาวชุมชนเองก็ยินดีให้ใช้พ้ืนท่ีหน้าบ้านเพราะผูกพันคุ้นเคย 
จับจ่ายซื้อของ หมายถึงตัวตลาดสดและร้านค้าที่ต้ังอยู่ชิด  กับกลุ่มนกั เรยี นนักศึกษา  
ถนนใหญ่ มีช่ืออย่างเป็นทางการว่าตลาดอุดมผล  ขณะท่ี 
ผู้คนหลงลืม (และไม่รู้) ว่าลึกเข้าไปอีกไม่กี่สิบเมตร  ข้าม การจดั โครงการตลาดนดั ศลิ ปะทกุ ตน้ เดอื นระหวา่ งชว่ ง
คลองประเวศบุรีรมย์  มีเรือนไม้โบราณที่เคยรุ่งเรืองมาก่อน กลางป ี ๒๕๕๕ ถงึ ตน้ ป ี ๒๕๕๗ สรา้ งความคกึ คกั ใหแ้ กช่ มุ ชน
ตลาดอุดมผลในฐานะชุมทางค้าขาย  อย่างยิ่ง  แม้แต่ชาวบ้านส่วนหนึ่งก็เปิดบ้านน�ำสินค้าออกมา
วางขาย  คนนอกได้ยินข่าวก็พากันมาเที่ยว ไม่ว่าคนรักงาน
ด้วย “ตลาดน�้ำหัวตะเข้” หรือ “เรือนไม้โบราณริมน�้ำ  ศลิ ปะหรือนักทอ่ งเท่ยี วขาจร
หัวตะเข้” ตั้งอยู่ตรงจุดบรรจบของคลองสามสาย คือ คลอง
ประเวศบรุ รี มย ์ คลองหวั ตะเข ้ และคลองล�ำปะทวิ   แลว้ รา้ งรา ปจั จบุ นั ตลาดรมิ นำ้� หวั ตะเขก้ ลายเปน็ พน้ื ท ่ี “ปลอ่ ยของ” 
ลงเมอ่ื เกดิ เหตเุ พลงิ ไหม ้ อกี ทง้ั มกี ารตดั ถนนใหญข่ นานคลอง  ผลงานนกั เรยี นนกั ศกึ ษา อาจารย ์ ทเ่ี ขา้ มาขออนญุ าตใชพ้ น้ื ที่
ประเวศบรุ รี มยท์ างฝง่ั ใต ้  ศนู ยก์ ลางการคา้ ขายและคมนาคม จัดแสดงผลงานในบรรยากาศตลาดเก่าริมน้�ำ  ชาวชุมชน 
จึงย้ายเข้าไปอยู่บนฝั่งติดถนนแทน  พ่อค้าแม่ค้าท่ีเคยเปิด หรือคนบ้านใกล้เรือนเคียงกลับมาเปิดกิจการเล็กๆ อาทิ 
กิจการอยู่เต็มทุกห้องเรือนแถวไม้ทยอยย้ายออกจากชุมชน  ร้านอาหาร ร้านเครื่องด่ืม เกสต์เฮาส์ และเมื่อเห็นว่าพื้นที่ 
ไปทลี ะหอ้ งสองหอ้ ง บางห้องถูกทง้ิ ร้างนานกว่า ๑๐ ปี รอบชมุ ชนมสี ภาพธรรมชาต ิ คอื เรอื กสวนไรน่ า เหมาะสำ� หรบั
เป็นเส้นทางขี่จักรยานท่องเท่ียว ก็เร่ิมมีการออกส�ำรวจ 
แต่หลายปีมานี้เริ่มมีสัญญาณว่าความคึกคักที่ตลาด  เสน้ ทางจกั รยานกนั  
หัวตะเข้ก�ำลังจะกลับมา  ไม่ใช่จากการปั้นแต่งโดยมองข้าม
สภาพตามธรรมชาติ ไม่ใช่จากการได้รับงบก้อนใหญ่ของ  ตลาดน�้ำคลองแดนท่ีสงขลากับตลาดน้�ำหัวตะเข้ 
หน่วยงานใดมา “เนรมิต” ให้วิถีตลาดน�้ำกลับมาอีกในวันนี้ อยู่ห่างกันเกือบ ๑,๐๐๐ กิโลเมตร และมี “ต้นทุน” ต่างกัน
พรุ่งน้ี แต่ด้วยเพราะต้นทุนทางท�ำเลที่ต้ัง ว่าตลาดริมน�้ำ  แทบทง้ั สน้ิ ไมว่ า่ ผคู้ น ประวตั ศิ าสตร ์ วถิ วี ฒั นธรรม ธรรมชาติ
หัวตะเข้อยู่ใกล้สถาบันการศึกษาหลายแห่ง ภายในชุมชนเอง แต่ที่คล้ายกันคือทั้งสองแห่งกำ� ลังเติบโตอย่างช้าๆ ไม่เร่งรีบ
มีโรงเรียนเชิดเจิมศิลป์ โรงเรียนศึกษาพัฒนา รอบชุมชนมี  รวบรัด  ท่ีส�ำคัญคือพัฒนาโดยอาศัย “วัฒนธรรมย้อนยุค” 
โรงเรียนมาเรียลัย โรงเรียนพรตพิทยพยัต มหาวิทยาลัย ทต่ี นเองมีอยู ่  
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รวมทั้ง
วิทยาลัยช่างศิลป์ เหตุนี้จึงมีนักเรียนศิลปะและนักศึกษาจาก แม้อาจไม่รู้จักค�ำว่า “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” แต่การ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะทางศิลปะอื่นๆ มาน่ัง พฒั นาเศรษฐกจิ บนฐานวฒั นธรรมทมี่  ี และพรอ้ มจะพฒั นาไป
วาดภาพบ้านไม้หลังคามุงสังกะสอี ยอู่ ยา่ งไม่ขาดสาย  กบั โลกสมยั ใหม ่ โดยเกบ็ ง�ำความงามเกา่ แกท่ เี่ รามมี าใชใ้ หเ้ กดิ
มลู ค่าเพิ่ม ก็น่าจะเป็นหนทางไปสู่วถิ ชี ีวติ ทม่ี ่ันคงอยา่ งยง่ั ยืน
ภาพผู้สูงอายุนั่งอ้อยอ่ิงริมคลองใหญ่ เด็กๆ ว่ิงไล่กัน
ตามระเบียงทางเดิน หรือแม้ “วัตถุโบราณ” อย่างทีวีขาวด�ำ ที่ส�ำคัญสังคมไทยเรามีมรดกทางวัฒนธรรม หรือ 

“วฒั นธรรมยอ้ นยคุ ” เปน็ ฐานรองรบั การนพ้ี รอ้ มอยแู่ ลว้  

ขอขอบคุณ : โครงการผ้นู �ำแหง่ อนาคต คุณสมเกยี รต ิ หนเู นยี ม 
และคุณอนันต์ธนา มงคลศิริ

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 17

บนั ทกึ ลำ� ตัดหวังเตะ๊  (หวงั ดี นิมา) 
และแมป่ ระยรู  ยมเย่ียม 
(ตอ่ มาเป็นศลิ ปนิ แหง่ ชาตทิ ้ังสองคน) 
ที่สถานีโทรทศั น์ชอ่ ง ๙ 

ลําตดั(ภาพโดยผเู้ ขยี น องั คาร ๕ ตุลาคม ๒๕๒๕ ขาวด�ำ BW-853-029)

18 วัฒนธ รม

บั น เ ทิ ง ศิ ล ป์

เอนก นาวิกมลู

ตัวอย่างปกหนงั สือลำ� ตดั
ยุค ๒๔๖๐–๒๔๗๐ 

(หอ้ งสมุดเอนก นาวกิ มูล

ANP-0023-852+855+859+861+867+869) 


ประวตั ลิ �ำตัด

ล�ำตัดเกิดในเมืองไทยต้ังแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  รชั กาลท ี่ ๕ ดงั ทผ่ี เู้ ขยี นเขยี นไปแลว้ ใน
หนังสือชื่อ เพลงนอกศตวรรษ (พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๒๑)
กบั หนงั สอื ชอื่  สารานกุ รมเพลงพนื้ บา้ นภาคกลาง (พมิ พค์ รง้ั แรก 
เมื่อป ี ๒๕๒๘) 

โดยสรุปคือเป็นการเล่นที่กลายมาจากการสวด
สรรเสริญพระเจ้าของศาสนาอิสลาม คนไทยน�ำมาดัดแปลง
เป็นลิเก (เล่นเป็นเร่ืองเป็นราวแบบจักรๆ วงศ์ๆ) กับล�ำตัด
(เล่นโต้ตอบกันด้วยโวหาร) เครื่องดนตรีส�ำคัญท่ีใช้ในวงลิเก
คือปี่พาทย์  ส่วนเครื่องดนตรีของล�ำตัดคือร�ำมะนา ซึ่งลูก
หน่ึงๆ ราคาแพงถงึ หมื่นสองหม่นื บาท หรอื มากกวา่ นั้น

 ในรูปหนังสอื
 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 19

สมัยก่อนคนเล่นล�ำตัดมีแต่ผู้ชาย  ยุค ๒๔๖๐ (สมัย ใลนำ� หตนัดังสอื พมิ พ์
รัชกาลที่ ๖) มีการประชันวง ชายท้ังสองฝ่ายมักว่ากันแรงๆ
จนเกิดการต่อยตีกันวุ่นวาย ทางการต้องห้ามไม่ให้ประชันไป ในยคุ  ๒๔๖๐–๒๔๗๐ มกี ารเขยี นลำ� ตดั ลงหนงั สอื พมิ พ ์
พกั หนงึ่   ตอ่ มาผหู้ ญงิ กห็ ดั เลน่ ลำ� ตดั  และเรมิ่ มวี งลำ� ตดั ชายคู่ ค่อนขอดข้าราชการที่โกงกิน หรือล�ำตัดว่าด้วยโจรผู้ร้าย
หญิงคู่  จนประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๙ จึงเปล่ียนเป็นชายคู่หน่ึง ฆาตกรรม และข่าวดังๆ เป็นเล่ม หลายเรื่องหลายตอน
ร้องแก้กับหญิงอีกคู่หน่ึง  แล้วพัฒนามาอย่างท่ีเห็นในยุค หนังสือพิมพ์ที่ลงล�ำตัดเหล่านี้ ได้แก่ บางกอกการเมือง 
ปจั จบุ ัน คอื หญงิ  ๓–๔ คน ชาย ๓–๔ คน ร้องโต้ตอบกัน   กับ เกราะเหล็ก ซ่ึงบรรณาธิการเป็นคนเดียวกัน แต่ต่างวาระ 
คือนายเสม สุมานันท์ ผู้ใช้นามปากกาเวลาแต่งล�ำตัดว่า 
อนึ่ง ในยุค ๒๔๗๐ ควรสังเกตว่ามีการบันทึกล�ำตัด  “แก่นเพชร” 
ลงแผ่นเสียงจ�ำหน่ายหลายแผ่น  ห้างที่จัดท�ำเรื่องน้ีได้แก่ 
ห้างรัตนมาลาของนายชัย บ�ำรุงตระกูล (ร้ือตึกท้ิงสร้างเป็น  นกั เขยี นลำ� ตดั ทฝ่ี ปี ากดเุ ดด็ เผด็ รอ้ นไมแ่ พ ้ “แกน่ เพชร” 
ห้างดิโอลด์สยามในปัจจุบัน) ถ้าท่านดูบัญชีรายช่ือเพลงท่ี  คอื  “วงศเ์ ฉวยี ง” หรอื  เฉวยี ง เศวตะทตั   และ “เสอื เตยี้ ” หรอื  
พิมพ์เมอ่ื  พ.ศ. ๒๔๗๒ (ดูหนงั สือ พ่อคา้ ชาวสยาม โดย เอนก  เปลง่  โกมลจนั ทร ์ (ดหู นงั สอื  วสิ าสะ เลม่  ๒ โดย สถติ  เสมานลิ ) 
นาวิกมูล หน้า ๗๔) จะเห็นว่ามีล�ำตัด ๑๒ แผ่น เช่นล�ำตัด ท้ังสามคนน้ีได้บันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองและสังคมใน 
เร่ืองทุกข์ร้อน-หนาว ล�ำตัดแขกปนไทย ล�ำตัดต่อกลอนชม รูปลำ� ตัดไดอ้ ยา่ งนา่ อา่ นมาก
ต้นไม้ ล�ำตัดผู้ชายว่าแก้กัน  ผู้ร้องล�ำตัดอัดแผ่นเสียงชุดน้ี
ได้แก่นายสะโอด นอกนั้นยังมีสวัสดิ์, ชิ้น, เชื่อม, ละม้าย แต่
ไมไ่ ดร้ ะบเุ พศ ท�ำใหไ้ ม่ทราบวา่ หญิงหรือชาย

20 วฒั นธ รม

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 21

22 วัฒนธ รม

ใลนำ� รตปู ัดหนงั สือเลม่ นักเขยี นล�ำตดั

ทางด้านหนังสือเล่มซ่ึงเป็นเร่ืองที่ผู้เขียนอยากเน้น ส ่ ว น นั ก เ ขี ย น ล� ำ ตั ด เ ล ่ ม   ไ ด ้ แ ก ่ ผู ้ ใ ช ้ น า ม แ ฝ ง ว ่ า 
เพราะมหี นงั สอื ลำ� ตดั อยจู่ ำ� นวนหนง่ึ  พบวา่ ยคุ  ๒๔๖๐–๒๔๗๐ “หะยเี ขยี ด” ซง่ึ แตง่ ลำ� ตดั ไวห้ ลายเลม่ มาก  พลายนรนิ ทร ์ แตง่
นนั้  มผี พู้ มิ พล์ ำ� ตดั ขนาดหนงั สอื โรงพมิ พว์ ดั เกาะกนั หลายเจา้ ล�ำตัดหลายเล่มเช่นกัน (สงสัยว่าจะใช่ นรินทร์ รจนาธิเศร์
เช่นโรงพิมพ์ห้างสมุด (ส�ำนักพิมพ์) เขษมพานิช นายปรีด ี หรือไม่) พลายบัว เสือสมิง เสือโย่ง วงศ์อินทร์ เสือสมิง- 
โรงพิมพ์เฮงหลี สะพานด�ำ  นางสาวศรีจันทร์  นายนรินทร์ รณขัณฑ์ บังสะโอด   
รจนาธเิ ศร ์ พญาลอ โรงพมิ พร์ าษฎรเ์ จรญิ  (โรงพมิ พว์ ดั เกาะ –
พบที่เป็นล�ำตัดไม่มาก) ช. เพ็ชรพล ย. พงเสวต  สนาน  จนถึง พ.ศ. ๒๔๙๑ และ ๒๔๙๒ จึงมีล�ำตัดเล่มหนึ่ง 
เพยี รพานชิ  ฯลฯ    คือ ศรีทนนชัย ลงช่ือผู้แต่งว่า หะยีกบ หาญผจญ นับเป็น 
ยคุ ทา้ ยๆ ทม่ี ีการแต่งล�ำตัดเล่มจ�ำหน่าย
ให้สังเกตว่า ช่ือเจ้าของหรือผู้พิมพ์เหล่าน้ี ระบุตัวตน
ชดั เจนบา้ ง ไมช่ ดั เจนบา้ ง บางทกี ก็ ำ� กบั แคว่ า่ เปน็ เจา้ ของ หรอื จากการน�ำหนังสือล�ำตัดมาส�ำรวจดู พบว่าหะยีเขียด
ผู้พิมพ ์ แบบหลวมๆ เทา่ นั้น กับพลายนรนิ ทร์ เขียนลำ� ตัดมากกว่าคนอน่ื ๆ

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 23

ผหละยงาเี ขนียขดอง อาร์แซนลูแปงเมืองไทย ว่าด้วยนายภักดีนาถ (จีน)
อดตี ขา้ ราชการ สมคบกบั นายฮกเซง่ ขย้ี าและพวกอกี หลายคน
ผลงานล�ำตัดของหะยีเขียด เรียงตามล�ำดับปีพิมพ์ ปีนเพดานพระท่ีนั่งในพระบรมมหาราชวัง ลักพระราชทรัพย์
ได้แก่   อนั ลำ้� คา่ พวกเพชรพลอย เครอ่ื งประดบั จ�ำนวนหลายรายการ
ต่อมาทัง้ หมดถูกจับได้ เพราะเมยี นายฮกเซง่  (มีสองคน) เอา
๒๔๖๘ อีทองเลื่อนที่หักคอน้องผัว (พิมพ์ครั้งที่ ๔  เครอ่ื งเพชรมาอวดเพอื่ น  ตอ่ มานายภกั ดนี าถ (จนี ) ถกู ตดั สนิ
จ�ำคกุ  ๑๕ ปฐี านหัวหนา้  แต่ลดโทษเหลอื  ๑๒ ป ี  อา้ ยฮกเซ่ง
ตัง้  ๕,๐๐๐ เล่ม แสดงว่าขายดีมาก) ปศี าจอีทองเลอื่ น ตัวการใหญ่ ถูกจ�ำคุก ๒๑ ปี นอกนั้นก็โดนคนละ ๙ ปีหรือ
มากน้อยกวา่ นน้ั  แลว้ แต่การกระทำ� หนักเบา 
๒๔๖๙ อีสาวทองล่ิมใจร้ายท่ีฆ่าเด็กหญิงอ�ำภรตาย 
อ้ายฮกเซ่งแหกคุก เป็นล�ำตัดอีกเล่มหนึ่ง กล่าวถึง 
อ้ายบุญเพ็ง เจ้าแห่งผู้ร้ายหีบเหล็ก (สามเล่มจบ) เรื่องน้ีมา นายฮกเซ่งเม่ือถูกจับแล้ว กลับปีนห้องขังหนีไปได้ ท�ำให้ 
จากเหตกุ ารณ ์ พ.ศ. ๒๔๖๑ คราวนายบญุ เพง็ ฆา่ นางปรกิ แลว้ เจ้าหนา้ ทตี่ อ้ งวุน่ วายออกตามลา่ กันอุตลดุ   อา้ ยฮกเซง่ หนไี ป
เอาใส่หีบเหล็กไปทิ้งน�้ำ แต่หีบศพลอยขึ้นมา จนนายบุญเพ็ง สิงห์บุรี ลพบุรี ต�ำรวจปลอมตัวเป็นชาวนาติดตามไปจนพบ
ถูกจับได้ และถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการตัดคอเม่ือ พ.ศ. และจับตัวได้ที่บ้านเด่ียวหลังหน่ึง เป็นอันว่าฮกเซ่งต้องถูกขัง
๒๔๖๔ อกี ครง้ั  (ชวี ติ นกั ยอ่ งเบาทงั้ หมดหลงั จากถกู ขงั แลว้ เปน็ อยา่ งไร
ไม่ทราบ ไม่มใี ครนำ� มาเล่าต่อ)

24 วัฒนธ รม

พผลลงาายนนขรอนิ งทร์

ตอ่ ไปเปน็ เรอ่ื ง นางกมิ ไลร้ ปู งามทเ่ี อาหอกตอกหนา้ ผวั ฝา่ ยพลายนรนิ ทร ์ ผลงานกใ็ ชย่ อ่ ยเหมอื นกนั  บางเรอื่ ง
ตาย  ความลึกลับของสถานเปรมรัตน์ ถนนหลานหลวง ของ จะเห็นว่าใช้หัวข้อและข่าวที่มหาชนก�ำลังสนใจ เช่นเรื่องลัก
นางส้มล้ิม กับหมอพร  รับรักษาโรค เช่นริดสีดวง ด้วยรังส ี พระราชทรัพยใ์ นพระบรมมหาราชวัง เปน็ ตน้
ไวโอเลต ตอ่ มาเกดิ เหตหุ มอพรใชอ้ บุ ายขม่ ขนื เดก็ หญงิ สวาสด์ิ
ทไ่ี ปเอายา หมอพรจงึ ตอ้ งขนึ้ ศาล และตอ้ งรอรบั คำ� ตดั สนิ โทษ ๒๔๖๘ อ้ายก้านผู้วิเศษ จอมโจรหนองโดน สระบุรี
ตอ่ ไป
ลพบุรี ท่ีต่อสู้กับกองต�ำรวจอย่างทรหดอดทน อ้ายก้าน คด ี
๒๔๗๐ เร่อื งอา้ ยเสือย้อยใจยักษ์ (พมิ พซ์ ำ้�  ๒๔๗๒) ค้าฝิ่นเถ่ือนที่ต่อสู้แลยิง ร.ต.อ. ขุนตระเวนรักษาตาย ล�ำตัด
๒๔๗๑ เร่ืองตำ� รวจใจเด็ด  ปศี าจบญุ ศรี  ประชันระหว่างพลายนรินทร์ล้วงตับพระยานนทิเสน ว่า 
แก้อย่างละห้อย (พระยานนทิเสน แม็ก เศียรเสวี โกงรางวัล 
(นำ� ไปพมิ พซ์ ำ�้ ในป ี ๒๔๙๒) ลอตเตอรี่เสอื ปา่  จนตอ้ งติดคกุ ) 

๒๔๗๒  หญงิ ใจยักษ์ฆ่าลูกในไสต้ ายอย่างทเุ รศ   ๒๔๖๙ คดีลักพระราชทรัพย์ในพระบรมมหาราชวัง

ประหารชีวิตอ้ายกใี จรา้ ย  ผวั เกา่ ผัวใหม่ (ราวหา้ เลม่ จบ) อา้ ยลกู ฆา่ พอ่  พพิ ากษาตดั สนิ พระยานนทเิ สน 
คดีขี้ฉ้อกลางเมือง ฆาตกรรมถ่วงกระสอบ เจ้าคุณรามฯ 
๒๔๗๓ บอ๋ ยพาลฆ่าเพราะอยากเลน่ ปลาสลิด ไปนอกกรงุ  ฆา่ กำ� นนั นนทบ์ รุ  ี แทงฅอผหู้ ญงิ ตาย ตำ� รวจพฆิ าฏ
ทหารเรือ เหตอุ กุ ฉกรรจ์อันสยดสยอง ณ จังหวดั ธนบรุ ี 

(ลำ� ตดั หลงั ปี ๒๔๖๙ ของพลายนรินทรย์ ังหาไม่พบ)
ขณะน้ยี ังหาประวตั ิหะยเี ขียดและพลายนรินทรไ์ ม่ได้
ล�ำตัดเป็นเพลงพื้นบ้านท่ีน่าสนใจมากเพราะมีอาย ุ
เกินร้อยปี มีรายละเอียดให้ต้องศึกษาอีกมาก แต่ในโลก
ปจั จบุ นั ลำ� ตดั กเ็ หมอื นเพลงพนื้ บา้ นอนื่ ๆ ทม่ี คี นวา่ จา้ งไปรอ้ ง
ตามงานนอ้ ยลง  

การเก็บเน้ือหาและท�ำนองดีๆ จากล�ำตัดจึงเป็น 
สง่ิ ทท่ี ง้ั ราชการและนกั วชิ าการตอ้ งรบี จดั การอยา่ งประมาท

มไิ ด้  

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 25

ชั้ น เ ชิ ง ช่ า ง

เร่ือง : วชิ ญดา ทองแดง
ภาพ : ประเวช ตนั ตราภริ มย์

บ้านบาตร 

บาตร–บณิ ฑบาต นอกจากนี้ยังระบุอีกว่าบาตรต้องท�ำจากดินเผาหรือ
“บาตร” กบั  “บณิ ฑบาต” เขยี นตา่ งกนั ตรงทค่ี �ำหลงั ไมม่ ี เหลก็ รมดำ� เทา่ นนั้   ขนาดของบาตรมสี ามลกั ษณะ “อยา่ งใหญ่
ร เพราะ บิณฑบาต มาจาก บิณฑ (ข้าว) + บาต (ตก) แปล  จุข้าวสุกแห่งข้าวสารก่ึงอาฬหกะ อย่างกลาง จุข้าวสุกแห่ง
ตรงตัวได้ว่า ข้าวตก (ค�ำไทยท่ีใช้ “บาต” ประกอบอีกค�ำหน่ึง ข้าวสารนาฬีหน่ึง อย่างเล็ก จุข้าวสุกแห่งข้าวสารปัตถะหนึ่ง” 
คือ อุกกาบาต หมายถึงดาวตกหรือผีพุ่งไต้ โดยนัยก็คือไฟท่ี มาตราทอ่ี า้ งถงึ นเี้ ปน็ ภาษาบาล ี  ๒ ปตั ถะ = ๑ นาฬ ี (ทะนาน) 
ตกจากฟ้า) แต่จะว่า “บิณฑบาต” ไม่เก่ียวข้องกับ “บาตร”  ๔ นาฬ ี = ๑ อาฬหกะ สง่ิ เหลา่ นล้ี ว้ นไมค่ นุ้ หชู าวไทย  ทกุ วนั น ี้
นนั้ ไมไ่ ด ้ เพราะภาชนะทภ่ี กิ ษใุ ชร้ บั อาหารตามพทุ ธบญั ญตั นิ นั้   จึงอนุโลมให้สงฆ์ไทยใช้บาตรสเตนเลสขนาด ๗–๑๑ น้ิวฟุต
เรยี กว่า “บาตร”
ส่วนบาตรน�้ำมนตร์อย่างท่ีมีเร่ืองเล่ากันมาว่าเจ้าคุณ
บาตรขา้ ว บาตรน้�ำมนตร ์ เสนาบดีในรัชกาลที่ ๕ ผู้หนึ่ง ตื่นเช้ามาต้องล้างหน้าจากนำ�้
พระพุทธองค์ก�ำหนดให้สงฆ์มีเครื่องใช้ประจ�ำตัว  ในบาตรสามใบ นาํ้ น ้ี “แชด่ ว้ ยใบเงนิ  ใบทอง ใบนาก ใบหมากผ ู้
แปดอย่าง รวมเรียกว่า “อัฐบริขาร” มีบาตรเป็นส่วนหน่ึง  ใบหมากเมีย ลูบหน้าไปเสกคาถาไป สีฟันไป สวดมนต์ไป 
พระวินัยในพระไตรปิฎกแจกแจงละเอียดว่า ภิกษุมีบาตรได้ จนหมดนา้ํ ” นน้ั   ภาชนะชนดิ นอ้ี าจคลา้ ยโถมฝี าปดิ  พจิ ารณา
เพียงหนึ่งใบ หากได้บาตรใหม่มาจะเก็บไว้ มากกว่าหน่ึงใบ แล้วน่าจะไม่ได้ท�ำด้วยดินเผาหรือเหล็กรมด�ำ และคงเป็น
เกนิ  ๑๐ วนั ไมไ่ ด ้  ภกิ ษจุ ะเปลยี่ นบาตรใหมไ่ ดก้ เ็ มอ่ื บาตรเดมิ ของใช้ท่ีได้อิทธิพลลัทธิพราหมณ์เข้ามาผสม จึงขอพักไว้ไม่
ร้าวเกิน ๑๐ น้ิวฟุต (รอยเดียวหรือหลายรอยรวมกันก็ได้)  กล่าวถึงในที่นี้
หรือบาตรทะลขุ นาดเม็ดขา้ วสกุ ลอดออกได ้

26 วฒั นธ รม

บาตรและ
ส่วนประกอบ 
คอื ฝาบาตร 
ถลกบาตร 
และเชงิ บาตร

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 27

พ่อปูค่ รูบาตร ทชี่ าวบ้านบาตรเช่อื กันวา่  
คอื ผ้ปู ระสทิ ธ์ปิ ระสาทวิชาการท�ำบาตร

อ�ำนาจบาตรใหญ่–ควำ่� บาตร ในอีกทางหนึ่ง เร่ืองแกล้งพระสงฆ์เช่นน้ีก็ไม่ตรงกับ
มีเร่ืองซุบซิบข้างร้ัวข้างวังแต่คร้ังรัชกาลท่ี ๔–๕ พระ  ความผิดร้ายแรงแปดข้อท่ีมุ่งร้ายต่อพระรัตนตรัย อันพระ 
วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์ กรมหม่ืนปราบปรปักษ์ วนิ ยั ปฎิ กอนญุ าตใหภ้ กิ ษมุ มี ตลิ งโทษอบุ าสกอบุ าสกิ าดว้ ยการ 
เห็นพฤติกรรมของภิกษุทั่วไปแล้วไม่ค่อยศรัทธา จึงหาวิธ ี “คว�่ำบาตร” คือไม่รับอาหารหรือของถวายจากผู้นั้น เพื่อให้ผู้
กล่ันแกล้งอยู่เสมอ เร่ืองหน่ึงท่ีจดจ�ำกันกว้างขวางก็คือ ส่ัง กระท�ำส�ำนึกผิด (ต่อมา “คว�่ำบาตร” นิยมใช้เป็นศัพท์ใน
มหาดเล็กให้ “ต้มข้าวต้มถวายบิณฑบาต”   วงการค้าระหว่างประเทศ โดยแปลจาก boycott หมายถึง 
การยุติความสัมพันธ์หรือไม่ติดต่อคบหาด้วยในทางใดทาง
ปรกติภิกษุผู้ออกบิณฑบาตในยามเช้าส่วนใหญ่จะอุ้ม หนึง่ ) 
บาตร มบี า้ งทส่ี ะพายบาตรโดยมถี ลกบาตร  แตไ่ มว่ า่ กรณไี หน
หากตอ้ งรบั บาตรดว้ ยขา้ วตม้ รอ้ นๆ ยง่ิ เปน็ บาตรเหลก็ ดว้ ยแลว้ หถลรอืกสบลาตกรบ าตตลรกบาตร 
คงสร้างความปวดแสบและความบาดหมางระหว่างภิกษุกับ บาตรที่ถูกต้องตามพุทธบัญญัติน้ันมีก้นมน ตั้งวาง 
ฆราวาสคู่กรณีเป็นอนันต์  กรณีน้ีแสดงให้เห็นว่าในกรมคงมี ไมไ่ ดห้ ากไมม่ เี ชงิ บาตร (ฐานรอง) ปรกตบิ าตรจะมฝี าปดิ เสมอ
บารมีอยู่พอควร จึงแสดง “อ�ำนาจบาตรใหญ่” ได้โดยไม่เป็น
คดคี วาม  

28 วัฒนธ รม

พิธไี หว้พอ่ ปคู่ รบู าตร เตาสบู  อุปกรณส์ �ำคัญในการท�ำบาตรรุ่นก่อน
จดั ข้ึนในวนั พฤหสั บดชี ่วงสงกรานต์ของทุกปี ปัจจบุ นั กลายเป็นร่องรอยและเอกลักษณใ์ นชมุ ชน

เม่ือสงฆ์น�ำบาตรติดตัวก็จะมีถุงใส่เรียกว่า ถลกบาตร  ด้วยว่าช่ือสถานท่ีนี้อาจเพี้ยนมาจากภาษาเขมรว่า สรุกบาตร
ถุงดังกล่าวแยกเป็นสองส่วน คือ สายโยก ส�ำหรับคล้องบ่า ซ่ึงแปลว่า “หมู่บา้ นบาตร” 
และตะเครยี ว เปน็ ถงุ ถกั ดว้ ยเชอื ก ดา้ ย หรอื ไหมตาโปรง่ ๆ มี
หรู ดู  อบุ าสกิ ามกั นยิ มถกั ถลกบาตรสลบั สถี วายพระในงานบวช บาตรแตก สนิมบาตร
ตามวัดต่างๆ มักพบบาตรร้าวหรือแตกซุกอยู่ตาม 
เดิมราชบัณฑิตยสถานก�ำหนดให้เขียน “ถลกบาตร”   มุมอับ รกร้าง ในทางไสยศาสตร์มนตร์ด�ำ บาตรแตกนับว่ามี
แต่เมื่อเห็นว่าคนเรียก “ตลกบาตร” คล่องกว่ามาก ท่านจึง อาถรรพณ์ บ้านใดท่ีทะเลาะเบาะแว้งกันเสมอหรือร้านค้า 
ยอมให้ใช้ได้ทงั้ สองค�ำ (ตะเครียว และ ตะเคียว กเ็ ช่นกัน) ที่ค้าขายไม่ขึ้นโดยไม่มีเหตุอันควร มักสงสัยกันว่าอาจมีการ 
น�ำบาตรแตกท่ีผ่านการลงคาถาอาคมมาฝังไว้  หลายรายพบ
สว่ นคำ� วา่  “สลกบาตร” ทผ่ี เู้ ดนิ ทางขน้ึ เหนอื ดว้ ยรถยนต์ หลกั ฐานยนื ยนั ความเชอื่  เจา้ อาวาสวดั แหง่ หนงึ่ ในเขตตลงิ่ ชนั
มักสังเกตเห็นจากป้ายบอกชื่อสี่แยกแห่งหนึ่งในจังหวัด เคยเล่าให้ฟังพร้อมยืนยันว่าจริง ทุกวันนี้ก็มีคนมาหาบาตร
ก�ำแพงเพชรนั้น เล่ากันว่านานมาแล้วมีพระสงฆ์จากถิ่นอ่ืน  แตกตามวัดต่างๆ เสมอ แต่ท่านเตือนว่าไม่ใช่ทางที่ถูกที่ควร
มาลืมถลกบาตรไว้ เมื่อชาวชุมชนน�ำไปคืนและพระทราบว่า เพราะอวิชชาด้านมดื น้มี โี อกาสสะทอ้ นกลับเข้าตัวสงู มาก
ถ่ินนี้ยังไม่มีชื่อ จึงต้ังให้ว่า “ถลกบาตร” แล้วเพี้ยนมาเป็น 
“สลกบาตร” จนปจั จบุ นั   แตก่ ม็ กี ารสนั นษิ ฐานในอกี ทางหนงึ่

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 29

ลุงประชุม เอโกบล วัย ๖๖ ปี ชา่ งตีขอบและขึน้ รูปฝมี อื เยี่ยม

ในอกี ทาง บาตรเหลก็ เปน็ สนมิ งา่ ย ไมก่ ป่ี มี านเ้ี คยมขี า่ ว ไมม่ ากนกั  จงึ ไดต้ งั้ ศาลอกี แหง่ ขน้ึ เปน็ ศาลกลางบา้ น วนั นศี้ าล
วา่ พระสงฆใ์ นศรลี งั กาปว่ ยไขด้ ว้ ยการบรโิ ภคอาหารจากบาตร ทั้งสองแห่งมีเครื่องเซ่นท่ีแต่ละบ้านน�ำมาถวายวางแน่นขนัด
เหล็กกันทั่วประเทศ ต้องขอรับบริจาคบาตรสเตนเลสจาก ไม่มีพิธีท�ำบุญเล้ียงพระ ก�ำหนดการต่างๆ จึงยืดหยุ่นตาม
ประเทศไทยเพราะคณุ ภาพดกี วา่  มผี ศู้ รทั ธาบอกบญุ ตอ่ ๆ กนั สมควร โดยในตอนสาย คณะละครชาตรจี ะเร่มิ ไหว้ครแู ละรำ�
จนส่งไปถวายได้หลายพันใบ เร่ืองน้ีเกิดข้ึนที่รัฐฉานของ  ถวายมอื ทศ่ี าลกลางบา้ น จากนนั้ จะไปรำ� ถวายตามแตล่ ะบา้ น
พมา่ เม่ือเรว็ ๆ นีด้ ้วยเช่นกัน ทจ่ี ดั เครอ่ื งเซน่ ไหวเ้ ตาสบู หรอื ศาลพระภมู  ิ บางบา้ นนำ� เครอ่ื งมอื  
ทใ่ี ชใ้ นการทำ� บาตรมาเซน่ ไหว ้ บา้ งนำ� พวงมาลยั คลอ้ งทกี่ ะลอ่ น 
พธิ ไี หวพ้ อ่ ปู่ครบู าตร (แท่งเหล็กส�ำหรับรองบาตรขณะตี) ฯลฯ นับเป็นการไหว้ครู
สายวันพฤหัสบดีที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๘ บ้านบาตร  ไหวเ้ ครอ่ื งมอื ประกอบอาชพี  ตามขนบชา่ งดงั้ เดมิ ทสี่ บื ทอดมา
มีสีสันแปลกต่างจากทุกวัน  ลูกหลานท่ีออกไปอยู่ถ่ินอ่ืน  ยาวนาน
กลับมาเยือนให้ญาติพ่ีน้องได้เห็นหน้า นักศึกษา สื่อมวลชน
และผู้สังเกตการณต์ า่ งม่งุ หน้ามาเกบ็ ขอ้ มูล-บันทกึ ภาพ เนอ่ื ง การท�ำบาตรด้วยวิธีโบราณอันเป็นเคล็ดวิชาของชาว
ในพธิ ีไหวพ้ อ่ ปู่ครบู าตรประจ�ำปี บ้านบาตรนั้น รู้จักกันว่าเป็น “บาตรเหล็กบ่ม” คือขึ้นรูปด้วย
แผ่นเหล็กแปดชิ้น บ่มด้วยถ่านนับสิบชั่วโมง และต้องบ่มซ้�ำ 
มรี ปู ปน้ั  “พอ่ ปบู่ า้ นบาตร” อยใู่ นศาลดง้ั เดมิ ทชี่ าวชมุ ชน อีกรอบ เม่ือเนื้อเหล็กสุกได้ท่ีก็จะมีสีอมม่วงเป็นประกาย 
เคารพนับถือ ใกล้กันมีเตาสูบเก่าแก่  แต่ศาลเดิมมีบริเวณ  ไม่เกิดสนิม (บางคนอธิบายว่าการบ่มคือการลดความเงา 

30 วฒั นธ รม

ดังที่พระวินัยห้ามภิกษุใช้ของงาม) เคาะแล้วมีเสียงดังกังวาน บาตรกน็ า่ มากกวา่ ก�ำลงั ผลติ   บา้ นบาตรอาจไมใ่ ชช่ มุ ชนเดยี ว
คล้ายเสียงระฆงั   ทีผ่ ลิตบาตร ทัง้ ช่ือบา้ นบาตรก็ยงั มปี รากฏอยู่ในถิน่ อื่น

ครั้นเริ่มมีโรงงานผลิตบาตรสเตนเลสที่เรียกกันว่า  รา้ นสงั ฆภณั ฑย์ า่ นเสาชงิ ชา้  มกั จำ� หนา่ ยบาตรสเตนเลส 
“บาตรปัม๊ ” เขา้ มาแทนที่  การผลิตบาตรท่บี ้านบาตรกค็ อ่ ยๆ ทั้งชุด คือ บาตร ฝาบาตร ถลกบาตร และเชิงบาตร  ส่วนท่ี
สญู หายลงจนแทบจะหมดสนิ้  กอ่ นจะพลกิ ฟน้ื กลบั มาอกี ครงั้ ชุมชนบ้านบาตรน้ันแม้จะผลิตเฉพาะบาตร ก็ยังมีผู้สนใจมา
ในฐานะงานฝีมือเมื่อราว ๒๐ ปีก่อน และกลายเป็นของท่ี เยือนไม่เว้นวัน นอกจากผู้ส่ังท�ำบาตรแบบด้ังเดิมและนัก 
ระลึกส�ำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ตลอดจนเป็นงานทรง ท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่นิยมบาตรขนาดเล็ก (ขอบ ๓ น้ิวฟุต
คณุ คา่ ทผ่ี ศู้ รทั ธาวา่ จา้ งเพอื่ นำ� ถวายพระผใู้ หญ ่ ราคาของบาตร ข้ึนไป) ซ่ึงเป็นลูกค้าหลักแล้ว นักเรียนนักศึกษา นักวิชาการ
ท�ำมอื จงึ สงู กว่า “บาตรป๊มั ” หลายเท่า ส่ือมวลชน หรือผู้มีหน้าท่ีการงานเกี่ยวข้องก็มาเท่ียวชมหรือ
ขอความรอู้ ยบู่ อ่ ยครงั้  ซงึ่ กไ็ ดร้ บั การตอ้ นรบั ดว้ ยอธั ยาศยั ไมตรี
บา้ น บาตรวนั นี้ เสมอกัน  เพราะหัวใจของชาวบ้านบาตรไม่ได้มุ่งผลิตสินค้า
ส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติประกาศเม่ือปี ๒๕๕๗ เพ่อื ขาย ส่ิงต่างๆ จึงปรับเปล่ียนไปตามยคุ สมัย 
วา่  วดั ในประเทศไทยมใี กล ้ ๔ หมน่ื วดั  สว่ นพระภกิ ษ ุ-สามเณร 
มรี ว่ ม ๓.๕ แสนรปู  หากนบั แคว่ า่ พระสงฆห์ นงึ่ รปู ใชบ้ าตรหนงึ่ ชุมชนบ้านบาตรทุกวันนี้มีอยู่ราว ๑๕๐ หลังคาเรือน
ใบ ก�ำลังการผลิตบาตรของชาวชุมชนบ้านบาตรจึงเป็นไปไม่ หากเดินเข้าไปในชุมชนบ้านบาตร จะพบเห็นการท�ำบาตร 
ได้ที่จะเพยี งพอตอ่ การใชง้ าน ชวนใหค้ ิดยอ้ นไปว่า แต่เดิมมา ในข้ันตอนต่างๆ อยู่ท่ัวชุมชน ตั้งแต่ตีขอบ ขึ้นรูป เช่ือม 
แมจ้ ำ� นวนวดั และพระสงฆจ์ ะนอ้ ยกวา่ น ้ี แตส่ ดั สว่ นของการใช้ (แลน่ บาตร) ขนึ้ ลาย  ตเี รยี งเมด็  ฯลฯ ทกุ ขน้ั ตอนเกดิ จากชา่ ง
ทผี่ า่ นอายงุ านมาหลายสบิ ป ี สว่ นใหญจ่ ะรบั จา้ งท�ำเฉพาะดา้ น 

นา้ สมศกั ด ์ิ บัพชาติ (ชา่ งหมู) ปา้ กฤษณา แสงไชย วยั  ๖๔ ป ี
มรี างวลั  OTOP ประจ�ำเขต เป็นเครอื่ งประกันคุณภาพ กบั บาตรเหล็กตมี อื บ่ม คณุ ภาพสงู

รบั ประกันว่าไมเ่ กิดสนิม

นา้ อมร กุลดิลกสัมพันธ์ ท�ำหน้าท่ีเหล่านี้ได้  ส�ำหรับความช�ำนาญขึ้นอยู่กับการผ่าน
กับงานเช่อื มบาตรทป่ี ระยกุ ต์มาแทนขัน้ ตอนแลน่ บาตร งานมามากน้อยแค่ไหน ถ้าหากครอบครัวไหนที่ท�ำบาตร แต่
มแี รงงานไมพ่ อกส็ ามารถจา้ งคนงานทำ� บาตรมาทำ� งานแตล่ ะ
โดยส่งให้ร้านจ�ำหน่ายบาตรในชุมชนห้าราย คือ ๑. นางมยุรี  หนา้ ที่ได้”
(ชา่ งไก)่  เสอื เสรมิ ศร ี  ๒. นายหริ ญั  เสอื เสรมิ ศร ี  ๓. นางอารยี ์
สายรัดทอง  ๔. นางกฤษณา แสงไชย และ ๕. นายสมศักดิ์ หากทกุ วนั นกี้ ารทำ� บาตรทบี่ า้ นบาตรสว่ นใหญล่ ดรปู ลง
บพั ชาติ เป็นการท�ำของที่ระลึกหรือการสาธิต ข้ันตอนต่างๆ จึงอาจ
ปรับเปลี่ยนหรือประยุกต์ตามเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า แต่ถึง
เมื่อ ๔๐ กว่าปีก่อน ภิญโญ กมลาภรณ์ เคยบันทึก อยา่ งไรกไ็ มใ่ ชง่ านทที่ �ำขน้ึ ไดต้ ามลำ� พงั  ทกุ ขนั้ ตอนเปน็ ผลงาน
สภาพการท�ำงานของชาวบ้านบาตรไว้ในวิทยานิพนธ์ระดับ ทต่ี อ้ งอาศยั หลายคนมสี ว่ นรว่ มประกอบขน้ึ ดว้ ยความอตุ สาหะ
ปริญญาโท เร่ือง การศึกษาลักษณะชุมชนบ้านบาตร อ�ำเภอ และพถิ พี ถิ นั   ทน่ี า่ หว่ งอยบู่ า้ งกค็ อื  ชา่ งฝมี อื เกอื บทงั้ หมดอายุ
ป้อมปราบศัตรพู า่ ย จังหวดั กรุงเทพมหานคร ว่า  เลยวยั  ๕๐ ปแี ลว้   บางขนั้ ตอนยงั หาผสู้ บื ทอดไมง่ า่ ยนกั   อนงึ่
ควรบันทึกไว้ด้วยว่า เพียงภายในปี ๒๕๕๗ ช่างท�ำบาตรรุ่น
“ในการท�ำบาตรนั้น ต้องอาศัยแรงงานซึ่งกันและกัน ใหญ่ได้จากไปในเวลาไล่เลี่ยกันถึงสามคน คือ นายชนะชัย
เน่ืองจากขั้นตอนในการท�ำบาตรมีมาก หากจะท�ำคนเดียว  อาจสแี ดง  นายสนบั  แดงนอ้ ย และนายอำ� พร ทะนานทอง
เสยี หมด โดยทไี่ มต่ อ้ งใหค้ นอนื่ ชว่ ยเหลอื กเ็ หน็ จะสำ� เรจ็ ลลุ ว่ ง
ไปได้ยาก หรือก็ช้าไม่ทันการ ฉะน้ัน การทำ� บาตรจึงต้องมีผู้ หลายคนทไ่ี ดม้ าเยอื นบา้ นบาตรมกั กลา่ วตรงกนั วา่ เมอื่
ท�ำหลายหน้าที่ เช่น คนตัดเหล็ก คนประกอบเป็นรูปบาตร  ได้มาเห็นข้ันตอนการผลิตงานหัตถกรรมนี้ด้วยตัวเองแล้ว
คนเชอ่ื ม คนต ี คนเคาะ คนขดั  คนทานำ�้ มนั  ฯลฯ คนทำ� บาตร ประทับใจและภาคภูมิใจท่ีบ้านเมืองเรายังคงสืบทอดศิลปะนี้
แต่ละคนสามารถท�ำได้หลายหน้าที่ เช่น เคาะ ตี ตะไบ ขัด ไวใ้ นแผน่ ดนิ  
เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นผู้หญิง ผู้ชาย หรือแม้แต่เด็ก ก็สามารถ
นับเป็นชุมชนตัวอย่างท่ีเปิดรับผู้มาเยือนอยู่ทุกวัน

อา้ งองิ  
จ�ำนงค์ ทองประเสริฐ. ภาษาไทยไขขาน. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์ 
แพรพ่ ิทยา, ๒๕๒๘.
ปราณ ี กลำ่� สม้ . ยา่ นเกา่ ในกรงุ เทพฯ. ๒ เลม่ . กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ, 
๒๕๔๙.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). พจนานุกรมเพื่อการศึกษา 
พุทธศาสน์ ชุด คำ� วัด, กรงุ เทพฯ : วดั ราชโอรสสาราม, ๒๕๔๘.
วนิ ยั ปฎิ ก จลุ วรรค ภาค ๒. ใน พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ า- 
ลงกรณราชวิทยาลัย. ๔๕ เล่ม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬา- 
ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.
ผลสำ� รวจพระ-เณร ป ี ๕๗ กวา่  ๓.๔๙ แสนรปู  ชส้ี �ำนกั สงฆจ์ ดทะเบยี น 
ตง้ั วดั พงุ่ กวา่  ๑,๕๐๐ วัด. มตชิ น. ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
ภิญโญ กมลาภรณ์. “การศึกษาลักษณะชุมชนบ้านบาตร อ�ำเภอ 
ป้อมปราบศัตรูพ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์ 
ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต คณะโบราณคดี, ๒๕๑๕.
สวสั ด ิ์ จนั ทน.ี  นทิ านชาวไร ่ เลม่  ๒. พระนคร : องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา, 
๒๕๐๙.
สวสั ด ิ์ จนั ทน.ี  นทิ านชาวไร ่ เลม่  ๓. พระนคร : องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา, 
๒๕๐๙.

32 วฒั นธ รม



34 วฒั นธ รม

สื บ ส า ว เ ล่ า เ ร่ื อ ง

เร่ือง : ดร. มนสั  แก้วบชู า
ภาพ : ประเวช ตนั ตราภริ มย์

พญากง พญาพาน

กพบัระตปำ� ฐนมานเจดยี ์

พญากง พญาพาน เป็นเรื่องกล่าวขานจากคนรุ่นหน่ึงสู่คน
รุ่นหน่ึง โดยการบอกเล่าสืบต่อกันมาอย่างแพร่หลายในแถบ
จังหวัดนครปฐมและพ้ืนที่ใกล้เคียง ซ่ึงเป็นท่ีต้ังของเมือง
โบราณนครไชยศรี เมืองคูบัว และเมืองอู่ทอง อันมีสถานที่
เช่ือมโยงกับต�ำนานนี้  เด่นชัดที่สุดคือพระปฐมเจดีย์ ซ่ึงเช่ือ
กนั วา่ พญาพานสรา้ งข้ึนหลงั จากกระท�ำปติ ุฆาต

< งานองค์พระ 

พระปฐมเจดีย์ท่ีตำ� นานกลา่ วว่า
พญาพานใหส้ ร้างขึ้นเพื่อล้างบาป
ท่กี ระทำ� ปิตฆุ าต

(ภาพ : วิจติ ต์ แซเ่ ฮ้ง)

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 35

เรอ่ื งย่อพอสังเขป

ต�ำนานพญากง พญาพาน มีหลายสำ� นวน บางแหง่ ๒๓๒๙ เปน็ คนพระปฐมเจดยี ม์ าแตบ่ รรพบรุ ษุ   เนอ้ื หาในฉบบั น ้ี
บันทึกเป็นลายลักษณ์ไว้โดยสะกดช่ือตัวละครต่างกัน แต่โดย ขยายความบคุ คล สถานทไ่ี ดล้ ะเอยี ดลออ  โดยเฉพาะมลู เหตุ
รวมแลว้ มโี ครงเร่ืองคล้ายคลงึ กนั  มีสำ� นวนหนง่ึ กลา่ วไว้ว่า การสรา้ งพระปฐมเจดียซ์ ง่ึ กลา่ วว่าสรา้ งข้ึนโดยพญาพาน

พญากงเป็นเจ้าเมืองนครไชยศรี เมื่อมเหสีประสูติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท
พระโอรส โหรท�ำนายว่าเป็นผู้มีบุญมาเกิด แต่ต่อไปจะฆ่า นิพนธ์ นิราศพระประธม เม่ือปี ๒๓๗๗–๒๓๗๙  ประกอบ
พระองค์  พญากงจึงให้น�ำพระโอรสไปประหาร  มหาดเล็ก ดว้ ยสำ� นวนโบราณ งดงามนา่ สนใจศกึ ษายง่ิ นกั   ทา่ นกลา่ วถงึ
สงสาร  น�ำพระโอรสใส่พาน (เป็นท่ีมาของช่ือ “พญาพาน”) พญาพาลปลูกต้นโพ  แต่ต้นโพเตี้ยพิการเพราะมีกรรมท ่ี
ลอยน�้ำไปตามชะตากรรม  ฝ่ายยายหอมพบเข้า จึงเล้ียงดูให้ พญาพาลปิตฆุ าต
ได้รับวทิ ยาการ  
หม่ืนพรหมสมพัตสร (เสมียนมี) นายอากรเมือง
ครั้นพญาพานเป็นหนุ่มจึงเข้าไปถวายตัวเป็นทหาร สุพรรณบุรี ประพันธ์ นิราศพระแท่นดงรัง เม่ือปี ๒๓๗๙
ในเมืองคูบัว  ต่อมาได้ชนช้างกับพญากงแล้วสังหารลง   บรรยายวา่ พระยาพานสรา้ งพระปฐมเจดยี เ์ ปน็ ยอดพระปรางค์
ครานน้ั เกดิ ลางว่าคงได้ฆา่ บดิ าเสียแลว้  พาลไปโมโหยายหอม (สี) ทอง สูงเท่านกเขาเหิน
ว่าปิดบัง จึงประหารยายหอมด้วย  ภายหลังส�ำนึกผิดจึง
ปรึกษาพระอาจารย์เพ่ือแก้ไขไถ่บาป  โดยให้สร้างเจดีย์ใหญ่ สุนทรภู่ ประพันธ์ นิราศพระประธม เมื่อปี ๒๓๘๕
สงู เทา่ นกเขาเหนิ  (พระปฐมเจดยี )์  เพอ่ื ทดแทนคณุ บดิ า พรอ้ ม พรรณนาพนื้ ท ี่ ประวตั  ิ ความหมาย ไดล้ ะเอยี ดมาก โดยเฉพาะ 
กับสร้างเจดีย์ใหญ่อีกองค์ (พระประโทน) เพ่ือทดแทนคุณ  ตน้ โพเตยี้  ทา่ นวา่ มขี นาดใหญโ่ ตเทา่ กบั สามออ้ มของพอ้ มสาน
ยายหอม   ปลูกอยู่บนโขดดิน  แต่พระยาพานฆ่าบิดาพระยากง ต้นโพ 
จึงเต้ียเพราะกรรม  ต่อมา สุจิตต์ วงษ์เทศ ศิลปินแห่งชาติ
บันทกึ นอกถนิ่ เคยน�ำไปบรรจุท�ำนองเพลงส�ำเนียงมอญ เพ่ือบันทึกเสียง 
เผยแพร่
ท่านแต่ก่อนท่ีได้ทราบต�ำนานหรือเดินทางมาใน 
ถ่ินนี้ ไดบ้ ันทึกเร่อื งพญากง พญาพาน ไวห้ ลายแง่มุม อาทิ   หลวงจักรปาณี (ฤกษ์) ประพันธ์ นิราศพระปฐม
เม่ือปี ๒๔๑๗  ท่านเดินทางในสมัยที่มีคลองเจดีย์บูชาแล้ว
เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค) เรียบเรียง  ผ่านแยกล�ำน้�ำห้วยจระเข้ มีด่านขุนพัฒน์ ฯลฯ ท่านขึ้นไป
เร่ืองพระปฐมเจดีย์ เมื่อปี ๒๔๐๘  บรรยายได้ถ่ีถ้วนในด้าน กราบพระบรมธาตุ กราบพระไสยาสน์หินอ่อนซึ่งสลักโดย 
ประวตั กิ ารกอ่ สรา้ ง รายละเอยี ด สดั สว่ น เหตกุ ารณ ์  ขณะนน้ั ชา่ งรามญั   ทา่ นวา่ พระยาพานสรา้ งเปน็ ยอดปรางค ์ แตข่ ณะนนั้  
ท่านสืบพบต�ำนานพระปฐมเจดีย์ห้าฉบับ คือ ฉบับพระยา  รชั กาลท ี่ ๔ ไดบ้ รู ณะแลว้   ทา่ นเปดิ ประเดน็ วา่ เรอ่ื งนม้ี คี นเลา่ ไว้ 
มหาอรรคนิกร  ฉบับนายทอง  ฉบับพระยาราชสัมภารากร แตกต่างกัน  ท่านเคยอ่านพบใน พงศาวดารเหนือ มีเนื้อหา 
(เทศ)  ฉบับพระยาวิเชียรปรีชา (น้อย) เจ้ากรมราชบัณฑิต ยาวมาก
ฝ่ายพระราชวังบวรในรัชกาลท่ี ๑  และฉบับตาปะขาวรอต  
ซ่ึงบันทึกเม่ืออายุ ๗๙ ปี  ตาปะขาวรอตผู้น้ีเชื่อกันว่าเกิดปี > รปู ป้ันยายหอม

ในศาลาทวี่ ัดดอนยายหอม เช่อื กันวา่ ยา่ นนเ้ี ป็นบ้านเดิมของยายหอม
ซ่งึ มอี าชพี เลี้ยงเป็ด ผู้คนจึงนยิ มนำ� ตุ๊กตาเป็ดมาถวาย

36 วฒั นธ รม

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 37

38 วฒั นธ รม

บทร้องพน้ื บ้าน งานประพนั ธ์พน้ื ถิ่นยคุ ปัจจบุ ัน

ในระดับพ้ืนถ่ิน จากประสบการณ์ท่ีผู้เขียนเก็บ ก า พ ย ์ พ ญ า ก ง พ ญ า ภ า ณ   ป ร ะ พั น ธ ์ โ ด ย   เ ท พ
รวบรวมข้อมูลบทร้องพ้ืนบ้านมาหลายสิบปีพบว่า มีนักเพลง สุนทรศารทูล เมื่อปี ๒๕๓๗ ท่านได้ประดิษฐ์กาพย์ข้ึนใหม ่
หมอทำ� ขวญั  ขอทาน ลเิ ก ละคร ฯลฯ รบั การถา่ ยทอดต�ำนาน ๑๖ แบบ  นับว่ามีชั้นเชิงและเนื้อหายอดเยี่ยม ตอนต้น 
พญากง พญาพาน มาจากครูแต่ละรุ่น  บางท่านมีปฏิภาณ มีภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุ รายละเอียดพื้นท่ี ย่าน 
สามารถดน้ ขึ้นสดๆ เม่ือมผี ู้ฟงั เรียกรอ้ ง เช่น  ชื่อบ้านนามเมือง ประวัติท่ีมา เช่น บางช้าง สามพราน 
(พญากงให้พรานสามคนไปหาช้างชั้นดีและไปพบช้างหัวเสือ
หมอเพลนิ  เอย่ี มสวสั ด ์ิ (พ.ศ. ๒๔๒๙–๒๔๙๔) ชาว จึงนำ� มาถวาย)
นครไชยศรี หมอท�ำขวัญนาคและผู้ประกอบพิธีกรรมโบราณ
ต่างๆ  มีบทร้องเรื่องนี้เป็นท�ำนองเพลงแหล่ เน้ือหายืดยาว พระยาพาน พระยากง ประพันธ์โดย พงษ์อนันต์
มาก ท่านได้ถา่ ยทอดไว้แก่ศิษยย์ ่านบ้านบางระก�ำ สรรพานิช เป็นบทละครส�ำหรับการแสดงแสงสีเสียง รวมท้ัง
ได้ประพนั ธ์ท�ำนองเพลงไทยสากลใหต้ วั ละครร้องประกอบ 
ครูเฉลา สุกกล�่ำ พ่อเพลงปรบไก่ทรงเครื่องแห่ง 
สระกะเทียม บทร้องเป็นท�ำนองเพลงปรบไก่ เนื้อความ  นิทานพญากง พญาพาน ประพันธ์โดย มนัส
โยงถึงมูลเหตุการณ์สร้างพระปฐมเจดีย์ งานนมัสการกลาง แก้วบูชา เป็นหนังสือเสริมความรู้แก่อนุชนเร่ืองโบราณสถาน
เดือน ๑๒ และวถิ ีชีวติ ยุคนัน้ สงิ่ แวดลอ้ ม ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมในเมอื งนครปฐมและทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 
โดยสอดแทรกความรู้วิทยาการต่างๆ ที่คัดตัดตอนมาขยาย
ครูบุญช่วง ศรีรางวัล (เกิด พ.ศ. ๒๔๗๙) นักเพลง ความจากบทร้องพืน้ บ้านในอดีต
ขอทาน ผู้มีจิตเป็นกุศลยิ่งใหญ่ผู้หนึ่งแห่งบ้านบางระก�ำ
บทร้องเป็นท�ำนองเพลงร่านิเกริง (หรือ “ราชนิเกริง” คือ เพลงตบั เรอ่ื งพญากง พญาพาน ประพนั ธโ์ ดย มนสั
ท�ำนองลิเก) ท่านมีความทรงจ�ำเก่ียวกับวรรณกรรมพื้นถ่ิน แก้วบูชา เป็นเพลงตับเรื่อง ประกอบการบรรยาย สำ� หรับฝึก
จำ� นวนมาก  ให้อนุชนได้ส�ำแดงกลวิธีเล่านิทานอย่างมีน�้ำเสียง อารมณ์
สอดคลอ้ งกนั ไปกบั เนอ้ื เรอื่ ง โดยใชเ้ พลงส�ำเนยี งมอญโบราณ
หมอวิไล แก้วพารา หมอท�ำขวัญนาคแห่งบ้าน
บางระกำ�   บทรอ้ งเปน็ ทำ� นองเพลงแหล ่ กลา่ วถงึ ตอนตน้ เรอ่ื ง
ที่พญากงด�ำรงชีวิตอยู่อย่างมีสุข จนเมื่อต้องน�ำพระโอรส 
พญาพานไปลอยน�้ำ  มเหสีชื่อสุมาลีมีความทุกข์หนักในอัน 
จะต้องอ�ำลาโอรส  ท�ำนองเพลงแหล่ชุดน้ีท่านว่าเอาไว้สอน 
พ่อนาคใหร้ ู้บญุ คณุ พอ่ แม่

ครูยอด คล้ายมงคล นักพากย์หนังตะลุงย่านวัด 
บางพระ  บทรอ้ งเปน็ ทำ� นองเพลงไทยสากลสำ� หรบั พากยห์ นงั
ตวั ตลกเพ่ือสลบั ฉาก คั่นเรอื่ ง คา่ เวลา

< อนสุ าวรยี พ์ ญากงช้นี ้ิว 

รมิ คลองเจดียบ์ ชู า ใกล้ตลาดสด
ในตวั เมอื งนครปฐม

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 39

ปั่น…ปัน่ …ไปรู้จกั พญากง พญาพาน  

การจดั การตำ� นานเพอื่ เรียนร้แู ละทอ่ งเทย่ี ว
การเรียนรู้ต�ำนานพญากง พญาพาน อาจท�ำได้โดยจัดกิจกรรมเรียนรู้จากชุมชนท่ียังคงเล่า
ต�ำนานนี้และมีสถานที่ส�ำคัญเชื่อมโยงกับความทรงจ�ำ ผ่านเรื่องเล่า นิทาน บทร้องพ้ืนบ้าน และงาน
ประพันธ์พื้นถ่ิน ท่ียังคงรักษาไว้ให้อนุชนได้เรียนรู้ รับรู้ และแลกเปลี่ยนกับคนภายนอก  แนวทาง
กิจกรรมหน่ึงท่ีน่าสนใจคือปั่นจักรยานเท่ียวชมในเขตเมืองนครปฐม บ้านแพ้ว โพหัก และคูบัว โดยนำ�
แนวคดิ เรอ่ื งภูมทิ ศั น์วฒั นธรรม (cultural landscape) มาผสมผสาน  
การจดั เสน้ ทางศกึ ษาตำ� นานพญากง พญาพาน คำ� นงึ ถงึ การสญั จรในปจั จบุ นั  จงึ ไมส่ มั พนั ธก์ บั  
ลำ� ดบั เร่อื ง เสน้ ทางทนี่ ำ� เสนอใช้เวลา ๒ วัน ๑ คืน มจี ุดพกั ชมดังน ี้
วันแรก  ๑. พระปฐมเจดีย์ ๒. วัดพระงาม ๓. วัดพระเมรุ ๔. วัดพระประโทณเจดีย์ พระจุล-
ประโทนเจดยี  ์ ๕. วดั ธรรมศาลา ๖. บา้ นโพเตยี้  ๗. บา้ นบางชา้ ง ๘. คลองพระยาพาน คลองพระยากง
และคลองถนนขาด (ถนนฆาฏ) ๙. บ้านเนินพระ บ้านยายหอม ๑๐. คลองบ้านท่าแร้ง (อีรำ� ท่าแร้ง) 
๑๑. บ้านโพหัก  พักคา้ งแรม 
วันที ่ ๒  ๑๒. เมืองคูบัว  เดินทางกลับตามถนนเพชรเกษม  
ระหว่างเส้นทางอาจเชิญผู้รู้มาเล่าเรื่องหรือพ่อเพลงมาขับกล่อม เป็นกิจกรรมเรียนรู้อย่าง
เพลิดเพลนิ  

กิจกรรมการเข้าถึงชุมชนที่มีต�ำนานพญากง พญาพาน เป็นไปเพ่ือสื่อความหมายให้ 
ชนรนุ่ หลงั ไมห่ ลงลมื ตำ� นานทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ทอ้ งถนิ่  และไดเ้ รยี นรทู้ มี่ าของชอ่ื บา้ นนามเมอื ง

อนั เปน็ ถ่นิ อาศยั  

ตำ� นานเรอ่ื ง
พญากง พญาพาน
ยังปรากฏเปน็ ชอ่ื
สถานที่ตา่ งๆ หลายแหง่
ในนครปฐม

40 วัฒนธ รม

พระประโทณเจดยี  ์

ตามตำ� นานเลา่ ว่าพญาพาน
ใหส้ รา้ งล้างบาปที่ฆ่ายายหอม
ด้วยบันดาลโทสะ

อ้างอิง ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยศิลปากร. 
กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม. รา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยมรดกทางวฒั นธรรมท่ ี แนวทางการจดั การภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมั รนิ ทร-์  
จบั ต้องไมไ่ ด้ พ.ศ. .... .กรุงเทพฯ : กระทรวงวฒั นธรรม, ๒๕๕๖. พรนิ้ ติง้ แอนด์พับลิชชิง่  จำ� กดั  (มหาชน), ๒๕๔๙.
เกรียงไกร เกิดศิริ. ชุมชนกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อุษาคเนย์,  อโี คโมสประเทศไทย. กฎบตั รประเทศไทยวา่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การแหลง่  
๒๕๕๑. มรดกวัฒนธรรม. กรงุ เทพฯ : เอกสารเผยแพร่, ๒๕๕๗.
ทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค), เจ้าพระยา. เร่ืองพระปฐมเจดีย์. กรุงเทพฯ :  อีโคโมสประเทศไทย. กฎบัตรอีโคโมสว่าด้วยการสื่อความหมายและการ 
โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๒๒. น�ำเสนอแหล่งมรดกวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : (เอกสารอัดส�ำเนา), 
เทพ สุนทรศารทูล. กาพย์พญากงพญาภาณ. กรุงเทพฯ : พระนารายณ์,  ๒๕๕๐.
๒๕๓๗.
พงษ์อนันต์ สรรพานิช. ผจญภัยในต�ำนาน พระยาพาน พระยากง. 
กาญจนบุร ี : ม.ป.ป., ๒๕๕๒.

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 41

งู กิน หาง

42 วัฒนธ รม

กี ฬ า - ก า ร ล ะ เ ล่ น

กองบรรณาธกิ าร

ภาพ : เวชยันต์ ธราวศิ ษิ ฏ์ งแูกรนิกมหีแางละพ้นื ทีก่ ารเลน่

กระทรวงวฒั นธรรมประกาศขน้ึ ทะเบยี น “งกู นิ หาง”
ในสาขากฬี าภูมปิ ญั ญาไทย เมอื่ ปี ๒๕๕๗ โดยบันทึกไว้ว่า 

“สมัยก่อนนิยมเล่นกันทั่วไปแทบทุกจังหวัด...ไม่
ปรากฏว่าหลักฐานมีการเล่นงูกินหางกันมาตั้งแต่เม่ือใด แต่
พบวา่ การเลน่ งกู นิ หางมกี ารเลน่ กนั มาแลว้ ในสมยั รชั กาลท ี่ ๖
ดังจะเห็นได้จากการเล่นกีฬาต่างๆ ที่จัดให้มีขึ้นในงานตรุษ
สงกรานต ์ ณ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เมอื่  พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้
จดั ใหม้ กี ารเลน่ งกู นิ หางดว้ ย (สยามออบเซอรเ์ วอร,์  ๖ เมษายน 
๒๔๗๕)...”  

ข้อความขา้ งต้นชวนให้ต้ังค�ำถามอย่หู ลายประเด็น แตท่ ี่
แน่ๆ งูกินหางน่าจะเป็นการละเล่นท่ีแผ่ขยายในบริเวณกว้าง
เพราะเม่ือ ศ. ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เดินทางไปสืบค้น
ภาษาไทถน่ิ  ณ เมอื งนาย รฐั ฉาน ประเทศพมา่  เมอ่ื ปี ๒๕๐๑
ก็พบการละเล่นลักษณะน้ีในช่วงพักกลางวันของโรงเรียน 
แห่งหน่งึ  ดงั ทท่ี ่านได้บันทึกไวว้ ่า

“พวกที่ออกไปเล่นกลางแจ้ง...อย่างหน่ึงเหมือนงูกิน
หาง มีตัวพ่อถาม ตัวลูกและแม่ตอบ แล้วพ่อก็ไล่จับ แต่เขา 
ไม่เรียกขานหรือโต้ตอบกันเป็นค�ำไทยๆ เขาใช้ค�ำพม่าทั้งนั้น
กเ็ ลยไม่รู้วา่ พดู อะไรกนั ”

ก่อนหน้าน้ันในปี ๒๔๙๘ ท่านได้เคยเดินทางไปใน
รฐั อสั สมั  ประเทศอนิ เดยี  พบการละเลน่ อยา่ งหนง่ึ  ดงั มบี นั ทกึ
ไว้วา่

“โต๊แม้งแหบ หรือตัวแมงป่องน้ัน คือการเล่นงู 
กินหาง เวลาพ่องูวิ่งไล่จับลูกงูน้ันจะต้องร้องว่า เก๊าแม้งแหบ 
แต๊บหลุ่กเม่อ-อ ซึ่งแปลว่า เราเป็นแมงป่อง เราตัด (ฟัน) 
ลูกเจ้า (จะเอาลกู เจ้าไป)” 

 กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 43

งกู ินหางในละครดกึ ด�ำบรรพ์ รอ้ งล�ำงูกลนื หาง
พ่องู  แม่เอยแมง่ ู เจ้าไปอยทู่ ่ีไหนมา
ครงั้ แผน่ ดนิ สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  รชั กาล  แม่งู  ฉันไปกินนำ้� หนา กลบั มาเม่ือตะกี้
ท ่ี ๕ เจา้ พระยาเทเวศรว์ งศว์ วิ ฒั น ์ (ม.ร.ว. หลาน กญุ ชร) ไดช้ ม พอ่ งู  ไปกินน�้ำบอ่ ไหน จงบอกไปใหถ้ ้วนถี่
การแสดงละครโอเปร่าคราวเดินทางไปยุโรปเม่ือปี ๒๔๓๔  แม่งู  ฉนั จะบอกบดั เด๋ียวน้ี
เม่ือกลับมาแล้วได้เล่าความประทับใจถวายสมเด็จฯ เจ้าฟ้า พอ่ งู  บอกไปซีอย่าเนน่ิ ช้า
กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ ์  สมเดจ็ ทา่ นจงึ สนบั สนนุ ใหส้ รา้ ง แมง่  ู ไปกนิ น�้ำบ่อเอย ไปกินนำ�้ บ่อหนิ
คณะละครขึ้น โดยประยุกต์ให้เป็นแบบไทย จัดแสดงบนเวที  ลูกงู  ไปกนิ นำ้� บอ่ หิน บนิ ไปบินมา (ทวน)
เปลย่ี นฉากตามเนอ้ื เรอื่ ง ตวั ละครเปน็ ผรู้ อ้ งหรอื พดู ในบทของ แม่งู  บินเอยบนิ รอ่ น ดังกนิ นรบนเวหา
ตนเอง ฯลฯ โรงละครของเจา้ คณุ ตงั้ ชอ่ื วา่ โรงละครดกึ ด�ำบรรพ์ ลกู งู  รักเจ้ากินรา บนิ มาบินไปเอยฯ (ทวน)
และกลายเป็นชือ่ เรียกละครลกั ษณะนี้ตอ่ มา   พอ่ งู  เราจะขอถามอกี สกั หน่อย
แมง่ ู  ถามอะไรบอ่ ยบอ่ ยไปทเี ดียว
ละครดึกด�ำบรรพ์เร่ิมแสดงครั้งแรกเม่ือปี ๒๔๔๒  พ่อง ู เออเมอ่ื เจ้าไปเท่ียว กนิ นำ�้ บ่อเดยี วหรือไฉน
จนเลกิ ไปในปี ๒๕๕๔  เรือ่ งหน่ึงทจ่ี ดั แสดงขนึ้ คอื เร่ืองอเิ หนา แมง่  ู เราไปกินอีกบ่อ หน่ึงหนาเจ้าพอ่ งใู หญ่
ตอนไหว้พระ (บุษบาเส่ียงเทียน)  ตามท้องเร่ืองมีอยู่ว่า พอ่ งู  ไปกนิ น�้ำบ่ออะไร จงบอกไปเรว็ เถดิ หนา
มะเดหวีพาบุษบาไปไหว้พระท่ีวิหารบนเขา โดยจุดเทียน แม่งู  ไปกินนำ้� เอย กินนำ�้ บอ่ โศก
เสย่ี งทายขน้ึ สามเลม่  เพอ่ื เปน็ ตวั แทนของอเิ หนา บษุ บา และ ลูกง ู ไปกินนำ้� บอ่ โศก โยกไปโยกมา (ทวน)
จรกา จากนั้นให้บุษบาอธิษฐานต่อหน้าพระว่า หากชายใด แมง่  ู โศกเอยโศกเศรา้  คิดถงึ เจา้ ทกุ เวลา
ไม่ใช่เนื้อคู่ก็ขอให้เทียนดับ อิเหนาซึ่งซ่อนตัวอยู่จึงได้แอบเข้า ลูกง ู รักเจ้าพวงดอกโศก โยกมาโยกไปเอยฯ (ทวน)
มาดบั เทียนเลม่ ที่เปน็ ตัวแทนของจรกา  
เจรจา
เมื่อน�ำมาเป็นบทละคร ได้เพิ่มฉากให้อิเหนานั่ง  แมง่ ู  กินหัวกินหาง
ชมการละเล่นงูกินหางของบรรดาเหล่าพี่เลี้ยงและกิดาหยัน พอ่ ง ู กินกลางตลอดตัว (ไล่)
(มหาดเล็ก) อยู่ก่อนที่บุษบาจะมาถึงวิหาร  สมเด็จฯ เจ้าฟ้า 
กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์นิพนธ์บทเพลง “งูกินหาง” 
หรือ “งูกลนื หาง” ไว้ดังน้ี

< เดก็ เมอื งนายในรัฐฉาน 
กับการละเลน่ ในลกั ษณะเดียวกบั  “งกู นิ หาง” 
(ภาพ : จากหนังสอื  ไปสอบคำ� ไทย) 
> “งกู นิ หาง” ของคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู 
ท่รี วบรวมการละเล่นของเดก็ ไทย ทั้งงกู ินหาง รรี ีข้าวสาร
และมอญซอ่ นผ้า มาไวใ้ นเพลงเดยี วกนั

(ภาพ : คณะนักรอ้ งประสานเสียงสวนพล)ู

44 วฒั นธ รม

การแสดงงกู นิ หางดงั กลา่ ว บา้ งเรยี กวา่  “ระบ�ำแมง่ ”ู นอกจากการเล่นในชีวิตประจ�ำวันแล้ว เม่ือมี
ตอ่ มานยิ มฝกึ หดั รอ้ งรำ� แสดงในงานของโรงเรยี นและงานทวั่ ไป  กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับประเพณีไทย เช่น
รวมถึงการแสดงของกรมศิลปากรยุคปัจจุบันและละครของ สงกรานต์ วันส�ำคัญทางศาสนา หรือกิจกรรมการแสดงทาง
มหาวิทยาลัยนเรศวรเม่อื ป ี ๒๕๕๖ วัฒนธรรมต่างๆ ก็มักพบเห็นหมู่เด็กชายหญิงอายุราวไม่เกิน
๑๐ ขวบ นงุ่ โจงกระเบน ใสเ่ สอื้ คอกระเชา้  มดั จกุ  ฯลฯ มารอ้ ง
คณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู หรือท่ีเรียกกัน เล่นสาธิตเปน็ ท่นี ่าเอน็ ดู
ท่ัวไปว่า “วงสวนพลู” ซ่ึงก่อต้ังเมื่อปี ๒๕๔๓ โดยมีครูดุษฎี
พนมยงค์ ศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้อ�ำนวยการ ก็ได้เคยน�ำ วิธีเล่นงูกินหางท่ีพบบ่อย คือการแบ่งผู้เล่นเป็นสอง
บทเพลงนม้ี าขบั ร้อง ฝ่าย ฝ่ายหน่ึงสมมุติบทบาทเป็นแม่งู มีลูกงูเกาะเอวต่อกัน
ตามจ�ำนวนผู้เล่น พบเห็นบ่อยก็ในราว ๘–๑๐ คน อีกฝ่าย
งูกินหาง สมมตุ ติ นเปน็ พอ่ งผู โู้ ดดเดยี่ ว เรม่ิ เลน่ ดว้ ยการเจรจาโตต้ อบกนั
กับการละเลน่ พน้ื บา้ น ส้ันยาวตามแต่ละถ่ิน และน่าจะมีหลากส�ำนวน บางส�ำนวน
แสดงถงึ เชาวนไ์ วไหวพรบิ ดา้ นภาษาทห่ี าคำ� คลอ้ งจองมาโตต้ อบ 
การเล่นงูกินหางนี้พบว่าตามโรงเรียนต่างๆ ทั่ว กนั  โดยท่วั ไปจะเปน็ บทสนทนาสั้นๆ ว่า
ประเทศยังนิยมให้เด็กชั้นเล็กๆ เล่นกันในวิชาพลศึกษา บ้าง
กจ็ ดั เปน็ นนั ทนาการ หรอื กจิ กรรมกลางแจง้   แมค้ รไู มน่ �ำเลน่ พอ่ ง ู : แมง่ เู อย๋ แม่งู : เอย๋
เด็กๆ ก็ยังเล่นกันเองเพราะเป็นการละเล่นท่ีมีการวิ่งไล่จับ  พ่อง ู : กินน้�ำบ่อไหน แม่ง ู : กนิ น้�ำบ่อหนิ   
ซึง่ เปน็ เรือ่ งสนกุ ของวัยเยาว์   ลูกง ู : บนิ ไปก็บนิ มา

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 45

46 วัฒนธ รม

< งกู นิ หางยังคงเปน็ การละเล่นท่เี ดก็ ๆ
ในทอ้ งถิน่ ตา่ งๆ นยิ มเลน่ กัน
เพราะไม่ต้องใชอ้ ปุ กรณอ์ ะไรมาก
มเี พียงทโ่ี ลง่ กับเดก็ ๆ ก็พอแลว้

(ภาพ : วิจติ ต์ แซ่เฮ้ง)

จากน้ันก็จะเจรจาอีกสองรอบเป็นอย่างน้อย โดย
เปลย่ี นนำ�้ บอ่ หนิ เปน็  บอ่ ทราย  บอ่ โศก ฯลฯ โดยลกู งกู จ็ ะรอ้ ง
รับว่า “ย้ายไปก็ย้ายมา” และ “โยกไปก็โยกมา” ตามล�ำดับ
และเมอ่ื ใดแมง่ ถู ามวา่  “กนิ หวั หรอื กนิ หาง”  แลว้ สน้ิ เสยี งตอบ
จากพ่องูว่า “กินกลางตลอดตัว” แล้วละก็  ความสนุกในการ
ทแี่ มง่ จู ะพาลกู งวู งิ่ หนพี อ่ งทู ไ่ี ลจ่ บั  โดยไมใ่ หล้ กู งหู ลดุ ขาดออก
จากที่จับกันไว้ ก็จะสร้างความเร้าใจให้เกิดข้ึน บางคร้ังว่ิงไล่
กนั จนฝุ่นตลบเป็นท่คี รืน้ เครงทั้งต่อผเู้ ลน่ และผูพ้ บเห็น

งคูกวนิามหหางม า: ยและส�ำนวน

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ 
มอี รรถาธบิ ายถึง งูกินหาง ไวส้ ามลกั ษณะ 

“งูกลืนหาง, งูกินหาง ๑ น. ช่ือกลอนกลอักษรวรรค
หน่ึงๆ ต้องมีค�ำซ้�ำกัน ๓ คู่ คือระหว่าง ๓ ค�ำหน้ากับ ๓ ค�ำ
สุดท้ายของวรรค แต่เวลาเขียนจะตัดคำ� ซ้�ำ ๓ ค�ำสุดท้ายของ
แต่ละวรรคออก เวลาอ่านให้อ่านไปจนจบวรรค แล้วย้อน 
กลับไปอ่านค�ำที่ ๑ ถึงค�ำที่ ๓ ในวรรคเดียวกันอีกครั้งหน่ึง 
ตัวอย่างว่า ฟังเสียงหวานขานเสียงดัง เหมือนน�้ำตาล 
หวานเตือน เสนาะจริงยิ่งค�ำหวาน อ่านว่า ฟังเสียงหวาน 
ขานเสียงดังฟังเสียงหวาน เหมือนน้�ำตาลหวานเตือนเหมือน
นำ้� ตาล เสนาะจริงยิ่งค�ำหวานเสนาะจริง. 

งูกินหาง ๒ น. การละเล่นของเด็กอย่างหน่ึง สมมุติ
ฝ่ายหนึ่งเป็นแม่งู มีลูกงูเกาะหลังเป็นแถว อีกฝ่ายเป็นพ่องู
คอยไลจ่ ับลกู งตู ัวที่อย่ทู ้ายแถวเอามาเป็นพวกทลี ะตัวๆ. 

งูกินหาง ๓ (สํา) ว. เกี่ยวโยงกันจากหัวถึงหางโดย
ซัดกันไปเป็นทอดๆ.”  

 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 47

เม่ือลองสอบค้นเอกสารจากอดีต พบข้อความใน แรกมีและพ้นื ท่กี ารเลน่
วชิรญาณวิเศษ เล่ม ๙ แผ่นท ี่ ๔๖ (วนั พฤหัศบดที  ี่ ๑๓ เดอื น งกู ินหาง
กนั ยายน รตั นโกสนิ ทรศก ๑๑๓ - ตรงกบั  พ.ศ. ๒๔๓๘) กลา่ วถงึ  
“งูกินหาง” ในเร่ือง “บั้งไฟ” ว่ามีการต้ังขบวนเดินเรียงกันไป  กระทรวงวัฒนธรรมประกาศขึ้นทะเบียนงูกินหาง
“อยา่ งเด็กเลน่ งกู นิ หาง” ดงั รายละเอียดว่า โดยแจกแจงวธิ กี ารเลน่ งกู นิ หางไวเ้ ปน็ สามลกั ษณะ ไดแ้ ก ่ กนิ
หางตัวเอง กินหางตัวอ่ืน และแม่งูกินลูกงู น่าเสียดายท่ี
“ฝา่ ยผเู้ ปนแขกนน้ั  กน็ ดั หมายเวลา มารวมกนั พรอ้ ม เอกสารเผยแพร่ให้รายละเอียดวิธีเล่นลักษณะท่ี ๒ และ ๓
แลว้  กน็ ำ� กนั ออกเดนิ เรยี งๆ เปนลำ� ดบั กนั ไป เหมอื นอยา่ งเดก็ ด้วยข้อความเดียวกัน แต่ก็พออนุมานได้ว่า การละเล่นที่
เลน่ งกู นิ หางฉนนั้  คอื มคี นหามกลองตไี ปขา้ งนา่ คหู่ นง่ึ  กบั คน พบเห็นและทีร่ จู้ กั กันท่วั ไปนั้นตรงกบั ลกั ษณะท ่ี ๒ 
ตฆี อ้ งอกิ คนหนง่ึ  แลว้ กถ็ งึ พระแกๆ่  เปนลำ� ดบั ลงไปจนถงึ เณร
แล้ว ถึงผู้ชายแก่ผู้หญิงแก่ๆ ผู้สาว แล้วจ่ึงถึงพวกชายหนุ่มๆ ณ ขณะน้ี หลักฐานที่ยืนยันได้ชัดเจนก็คือ การ 
แลเด็กๆ เดินตามกันเนื่องมา บางพวกที่มีแคนก็เป่าแคนร้อง ละเล่นงูกินหางมีมาก่อนปี ๒๔๓๘  ส่วนพ้ืนที่การเล่น 
รำ� ท�ำเพลง เลน่ เอกิ เกรกิ มาตามทาง”
พบทั้งในและนอกประเทศไทย    

หลกั ฐานขา้ งตน้ ยนื ยนั ไดแ้ นช่ ดั วา่  งกู นิ หางเปน็ ทร่ี บั ร ู้ อา้ งอิง
กนั ในแงก่ ารละเลน่ ของเดก็ มาชา้ นาน (ปจั จบุ นั  สารานกุ รมไทย  “การละเล่นของไทย” ใน สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน เล่มท่ี ๑๓. 
ส�ำหรับเยาวชนฯ จัดให้เป็น “การละเล่นของเด็กและผู้ใหญ่”) กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราช- 
ท่ีน่าสังเกตก็คือรายละเอียดของขบวนแห่บั้งไฟดูจะละม้าย ประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว.
ความหมายตามลักษณะของสำ� นวนอยไู่ ม่นอ้ ย   นรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ,์  สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยา. ประชมุ บทละครดกึ ดำ� บรรพ์ 
ฉบบั บริบรณู ์. พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๗. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๒๘. 
หากเม่ือลองสืบค้นถึงที่มาของส�ำนวนงูกินหาง  บรรจบ พนั ธเุ มธา. กาเลหมา่ นไต กรงุ เทพฯ : สมาคมภาษาและหนงั สอื , 
ออกจะน่าแปลกใจอยู่บ้างที่เมื่อครั้งขุนเศรษฐบุตรสิริสาร  ๒๕๐๕.  
(แช เศรษฐบตุ ร) บรรณาธกิ ารหนงั สอื พมิ พ ์นกั เรยี น และ ตทู้ อง  ______________. จดหมายถงึ แดงตอ้ ย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ตรสี าร, 
สมยั ป ี ๒๔๖๗ คดิ รวบรวมสำ� นวนเกา่ ๆ ไว ้ แลว้ มอบหมายให้ ๒๕๐๗.  
ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) เขียนค�ำอธิบายและ ______________. ไปสอบค�ำไทย. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร ่
ยกตวั อยา่ งจากเอกสารเกา่ ทม่ี สี �ำนวนไทยอย ู่ โดยสง่ ใหพ้ ระยา เอกลักษณ์ของไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๒๒.  
อปุ กิตศลิ ปสารช่วยอ่านตรวจ  การรวบรวมครัง้ นนั้ ไม่พบการ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. 
บนั ทกึ ถงึ สำ� นวน “งกู นิ หาง” แตอ่ ยา่ งใด  ตอ่ มาเมอ่ื ขนุ วจิ ติ รฯ กรุงเทพฯ : ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๖. 
เขียนหนังสือเรื่อง เด็กคลองบางหลวง ก็ได้บันทึกไว้ว่าเป็น  วิจิตรมาตรา, ขุน. ส�ำนวนไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลย่ี 
การละเลน่ อยา่ งหนงึ่  โดยยกคำ� รอ้ งโตต้ อบจากละครดกึ ดำ� บรรพ์  (ไทย-ญ่ปี นุ่ ). ๒๕๓๘.
มาไวพ้ อเป็นตวั อยา่ ง อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, บรรณาธิการ. ลายพระหัตถ์ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ 
กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประทานพระพินิจวรรณการ เร่ือง 
ตรวจช�ำระหนังสือพระอภัยมณี และประชุมบทละครดึกด�ำบรรพ์. 
กรุงเทพฯ : ศูนย์สยามทรรศนศ์ กึ ษา, ๒๕๕๕.

48 วฒั นธ รม


Click to View FlipBook Version