The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-03-26 00:00:14

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

Keywords: คลองเก่าเล่าประวัติเมือง,ประวัติศาสตร์

คำนำ



นับแต่สถาปนากรงุ เทพฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ ราชธานแี หง่ น้ี ได้ธำรงความเปน็ มหานคร
ทมี่ ง่ั คงั่ ดว้ ยแมน่ ำ้ ลำคลองซงึ่ เปน็ สภาพทางภมู ศิ าสตรท์ ส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของผคู้ น ซงึ่ ในอดตี
สว่ นใหญอ่ าศยั อยู่ในเรอื แพและใชแ้ มน่ ำ้ ลำคลองเปน็ เสน้ ทางสญั จรและตดิ ตอ่ คา้ ขายจนกลายเปน็
เอกลักษณ์และเป็นที่ประจักษ์ชัดของชาวต่างชาติ ซ่ึงได้ยกย่องกรุงเทพฯ ว่า เปรียบประดุจ
“เมอื งเวนสิ ” แหง่ โลกตะวันออก

นอกจากแม่น้ำลำคลองท่ีมีอยู่มากมายหลายพันสายในอาณาบริเวณกรุงเทพฯ จะเป็น
ปัจจัยสำคัญที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของประชาชนมาเป็นเวลาช้านานแล้ว สายน้ำเหล่าน้ียังทำ
หนา้ ทเ่ี ปน็ ปราการธรรมชาติในการปอ้ งกนั อรริ าชศตั รู เปน็ แนวแบง่ เขตและขยายพน้ื ทขี่ องเมอื ง
ใช้ในการอุปโภคบรโิ ภคและการเกษตรกรรม ตลอดจนช่วยระบายน้ำเมอื่ ถงึ ฤดนู ำ้ หลาก

อย่างไรก็ตาม ภายหลังการพัฒนาประเทศสู่ความทันสมัยแบบชาติตะวันตก ถนน

ได้เร่ิมมีบทบาทในการเป็นเส้นทางคมนาคมและการขนส่งสินค้า การดำเนินชีวิตของผู้คน
ค่อยๆ เปล่ียนไปจากวิถี “เมืองน้ำ” มาเป็นวิถี “เมืองบก” ส่งผลให้คูคลองหลายสายเร่ิมลด
ความสำคัญ มีสภาพตื้นเขินและสกปรกจากสิ่งปฏิกูล ตลอดจนถูกถมเป็นถนน อันเป็นการ

ลดทอนประสิทธิภาพของลำคลองในการเป็นพ้ืนที่รับน้ำและระบายน้ำในยามเกิดอุทกภัย

แตกตา่ งไปจากในอดตี ทผ่ี า่ นมา

กองวฒั นธรรม สำนักวฒั นธรรม กฬี า และการทอ่ งเที่ยว จงึ เหน็ สมควรจดั ทำหนังสอื
รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับคลองสายสำคัญในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เพ่ือให้

คนกรุงเทพฯ และคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้อดีตและรับรู้คุณค่าของคลองสายต่างๆ และยอมรับ

ความเก่ียวข้องสัมพันธ์ระหว่างแม่น้ำลำคลองกับกรุงเทพฯ ในปัจจุบัน เพ่ือช่วยกันรักษาให้
สายนำ้ ทีม่ ชี ีวิตชวี าอยูค่ กู่ บั กรงุ เทพฯ ตลอดไป

เจ้าของ

สำนกั วฒั นธรรม กฬี า และการทอ่ งเท่ียว กรงุ เทพมหานคร

เลขที่ ๑๒๓ ถนนมิตรไมตรี แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๕ ๒๕๔๗, ๐ ๒๒๔๗ ๒๓๓๓





ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาต

สำนกั วฒั นธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร

คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมือง. กรุงเทพฯ : บริษัท ดาวฤกษ์ คอมมูนเิ คชน่ั ส์ จำกดั , ๒๕๕๕.

๑๔๔ หน้า.

1. กรุงเทพฯ-ประวตั ิศาสตร

I. ช่ือเรือ่ ง

ISBN 978-616-272-066-6

คณะทีป่ รึกษา
ผู้อำนวยการสำนกั วัฒนธรรม กฬี า และการท่องเท่ียว

นายมานติ เตชอภโิ ชค รองผู้อำนวยการสำนกั วฒั นธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว

นางสาวปราณี สตั ยประกอบ รองผูอ้ ำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว

นางสวุ ฒั นี ไชยนนั ท์ ผ้อู ำนวยการกองวฒั นธรรม สำนกั วัฒนธรรม กีฬา และการทอ่ งเท่ยี ว

นางอจั ฉราวดี ชัยสวุ ริ ัตน์
ผู้ทรงคณุ วุฒิดา้ นประวัตศิ าสตร์


ผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นประวัตศิ าสตร์

ผู้ทรงคณุ วฒุ ิด้านประวตั ศิ าสตร์

ที่ปรึกษาวชิ าการ

ผศ.ดร. วรางคณา นพิ ทั ธ์สขุ กจิ นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ กองวัฒนธรรม

ดร. จิราธร ชาตศิ ิริ นกั วิชาการวัฒนธรรมปฏบิ ัตกิ าร กองวฒั นธรรม

ร.อ. นพดล ปาละประเสรฐิ นักวิชาการวฒั นธรรมปฏิบัติการ กองวฒั นธรรม




คณะบรรณาธกิ าร

นางปรียา ม่านโคกสูง
นางศศิณี ผดุงชอบ
นายเกษม ปฐมฤกษ์

บรรยายกาศของคลองสายหนงึ่ ซึ่งคลาคล่ำไปด้วยเรอื ของผ้คู นที่มวี ถิ ีชวี ติ ผูกพนั กบั สายนำ้
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
6 คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง

สารบัญ

ภาค ๑ ๘
๔๖
สายน้ำกบั บ้านเมือง ๗๔
กอ่ นกรุงเทพฯ
คลองเก่าเล่าประวตั เิ มือง 7
ภาค ๒

ขดุ คลอง ปอ้ งเมอื ง

ภาค ๓

ขุดคลอง ขยายพระนคร
เพมิ่ พ้นื ที่เพาะปลูก

ภาพถ่ายทางอากาศเมืองโบราณสุพรรณภูมิ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ซึง่ ต้งั อยู่รมิ แม่นำ้ เจ้าพระยาฟากตะวนั ตกมาตั้งแตช่ ว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙
(ภาพ : ศรศี กั ร วลั ลโิ ภดม. คน้ หาอดตี ของเมืองโบราณ. กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, ๒๕๓๘.)

8 คลองเก่าเล่าประวัตเิ มือง

ภาค ๑

กสาอ่ ยนนก้ำรกงุ บัเทบพา้ ฯนเมอื ง

ตลอดหลายพันปที ีผ่ ่านมา อาณาบริเวณอนั เป็นทีต่ ั้งของ


กรงุ เทพมหานครปจั จบุ นั มกี ารเปลยี่ นแปลงและววิ ฒั นต์ ามกาลเวลา อนั เปน็ ผล
มาจากกระบวนการทางธรณวี ทิ ยาและปจั จยั ทางธรรมชาติ ทป่ี รงุ แตง่ ใหส้ ภาพ
ภูมิศาสตร์ของพ้ืนที่อันกว้างใหญ่ในบริเวณนี้เป็นท่ีราบลุ่มแม่น้ำท่ีมีความ
อุดมสมบูรณ์และเหมาะแก่การอยู่อาศัย จึงมีกลุ่มชนหลายชาติพันธุ์พากัน
อพยพมาตั้งถ่ินฐาน แลว้ พฒั นาการเป็นบา้ นเมืองสบื เนอื่ งมาจนถึงปจั จุบัน

ลักษณะสำคัญประการหน่ึงซ่ึงส่งผลให้พ้ืนที่ในบริเวณนี้หรือที่ต่อมา

ได้รับการขนานนามว่า “ท่ีราบลุ่มเจ้าพระยา” มีการพัฒนาและเจริญรุ่งเรือง
มาเปน็ ลำดบั นบั ตงั้ แตส่ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ เนอ่ื งดว้ ยมแี มน่ ำ้ และลำคลอง
ธรรมชาตไิ หลผา่ นหลายสายกระจายไปทว่ั พื้นที่ และสายนำ้ เหลา่ น้ีได้อำนวย
ประโยชนใ์ หผ้ คู้ นรมิ สองฝง่ั นำ้ ไดอ้ าศยั เปน็ ทง้ั แหลง่ ในการทำกนิ ประกอบอาชพี
เปน็ เสน้ ทางสญั จร ตลอดจนเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมทผี่ า่ นการกลน่ั กรอง
สรา้ งสรรคแ์ ละปรบั เปลย่ี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มของ
พื้นที่ลุ่มน้ำจนกลายเป็นส่วนหน่ึงของรากฐานทางอารยธรรมของชาวไทย

โดยเฉพาะชาวกรุงเทพมหานครในปจั จุบนั

พัฒนาการของบ้านเมืองในบริเวณที่ราบลุ่มเจ้าพระยา ตลอดระยะ
เวลาหลายพันปี มีความเก่ียวเน่ืองกับแม่น้ำและลำคลองท้ังท่ีปรากฏตาม
ธรรมชาติ และที่ได้รับการขุดแต่งข้ึนใหม่ในภายหลัง ด้วยความมุ่งหวังที่จะ
ใช้ประโยชน์จากลำน้ำได้อย่างเหมาะสมแก่ความต้องการและกาลสมัย
สายน้ำและบ้านเมืองในบริเวณน้ี จึงมีความผูกพันกันมาเป็นเวลายาวนาน
นับต้ังแต่ครง้ั ท่ีกรงุ เทพมหานครเปน็ เพยี งสว่ นหน่งึ ของท้องทะเล


คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มือง 9

ภาพถา่ ยจากดาวเทียม จำลองข้ึนใหม่ กรงุ เทพฯ อดีตเมอื งกลางทะเล

เมื่อครง้ั กรงุ เทพมหานครยังเปน็ ทะเล
เมือ่ ประมาณ ๖,๐๐๐ ปีมาแล้ว

(ภาพ : สุจิตต์ วงษเ์ ทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน. กรงุ เทพมหานครในปจั จบุ นั เปน็ พนื้ ทสี่ ว่ นหนงึ่
กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๘.) ของทร่ี าบภาคกลาง ซง่ึ มบี รเิ วณสำคญั เรยี กวา่ “ทร่ี าบลมุ่
10 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง เจ้าพระยา” คือบริเวณท่ีเป็นดินดอนสามเหลี่ยมอัน
กว้างใหญ่ ส่วนที่กระจายไปตามแนวสองฝั่งของแม่น้ำ
เจ้าพระยา ตั้งแต่ตอนใต้ของจังหวัดนครสวรรค์หรือ
บรเิ วณทแี่ มน่ ำ้ ปงิ ๑ แมน่ ำ้ วงั ๒ แมน่ ำ้ ยม๓ และแมน่ ำ้ นา่ น๔
ไหลมารวมกนั ทป่ี ากนำ้ โพ๕ เปน็ แมน่ ำ้ เจา้ พระยา ตอ่ เนอื่ ง
ลงมาจนจรดอา่ วไทย

ทร่ี าบลมุ่ เจา้ พระยามลี กั ษณะเปน็ รปู สามเหลยี่ ม

ท่ีมียอดอยู่ที่บริเวณตอนใต้ของจังหวัดนครสวรรค์หรือ
มรี ปู รา่ งเหมอื นพดั โดยแกนพดั อยทู่ จ่ี งั หวดั นครสวรรค ์

ปลายพัดคลี่กระจายออกไปทางตอนใต้จนถึงอ่าวไทย
มีความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ ๒๕๐ กิโลเมตร
และจากตะวันออกถึงตะวันตก กว้างประมาณ ๓๐๐
กโิ ลเมตร มีเทอื กเขากั้นอยู่ ๒ แนว ทางดา้ นตะวนั ตก
และตะวันออก ทำให้บริเวณน้ีมีลักษณะพื้นที่เป็นท
่ี
ราบลุ่ม กระหนาบด้วยพื้นท่ีสูง ในบริเวณพื้นท่ีทาง
ตะวันออกสุดของที่ราบลุ่มเจ้าพระยาติดกับที่ราบสูง
โคราช มีทิวเขาดงพญาเย็นก้ันอยู่ ส่วนทางตะวันตก

มีทิวเขาตะนาวศรีกั้นท่ีราบลุ่มเจ้าพระยาจากทะเล
อนั ดามัน และทางด้านใต้เป็นอ่าวไทย

ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา ประกอบด้วยพื้นท่ีลุ่ม

บรเิ วณปากแมน่ ำ้ สำคญั ของภาคกลางทง้ั ๔ สาย พดั พา
ดินตะกอนแม่น้ำมาจากภูเขาและที่สูงทางตอนเหนือ
ตะวันตก และตะวันออก ลงมาทับถมกันเป็นแผ่นดิน
โดยแมน่ ำ้ ทั้ง ๔ สาย ไดแ้ ก่

แม่น้ำแม่กลอง เกิดจากแม่น้ำแควใหญ่๖และ
แม่น้ำบางปะกง เป็นแม่น้ำสายสำคัญใน
แม่น้ำแควน้อย๗ไหลมารวมกันท่ีตำบลปากแพรก จังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีต้นกำเนิด
อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ไหลเข้า จากแม่น้ำนครนายก๑๑และแม่น้ำปราจีนบุรี๑๒ท่ีไหลมา
อำเภอท่าม่วง ผ่านเข่ือนแม่กลอง อำเภอท่ามะกา บรรจบกันที่ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัด
เขา้ จงั หวดั ราชบรุ ี ผา่ นอำเภอบา้ นโปง่ อำเภอโพธาราม ปราจีนบุรี และไหลลงสู่อ่าวไทยท่ีอำเภอบางปะกง
อำเภอเมอื งราชบรุ ี เปน็ เสน้ แบง่ เขตอำเภอเมอื งราชบรุ ี จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มคี วามยาวประมาณ ๑๒๒ กโิ ลเมตร

กบั อำเภอดำเนนิ สะดวก แลว้ เขา้ เขตจงั หวดั สมทุ รสงคราม แม่น้ำเจ้าพระยา เกิดจากการรวมตัวกันของ
ผ่านอำเภอบางคนที อำเภออัมพวา อำเภอเมือง แม่นำ้ สายหลกั ๒ สายจากภาคเหนือ คือแมน่ ้ำปิงและ
สมุทรสงคราม ไปออกอ่าวไทยท่ีตำบลบางจะเกร็ง แม่น้ำน่านมาสบกันในบริเวณระหว่างตำบลปากน้ำโพ
ความยาวประมาณ ๑๓๗ กโิ ลเมตร
กับตำบลแควใหญ่ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัด
แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่ไหลแยกจากแม่น้ำ นครสวรรค์ จากน้ันไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัด
เจา้ พระยาทตี่ ำบลทา่ ซุง อำเภอเมอื ง จงั หวัดอทุ ัยธานี อุทัยธานี จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัด
กบั ฝงั่ ตะวนั ตกทอี่ ำเภอวดั สงิ ห์ จงั หวดั ชยั นาท ไหลผา่ น อ่างทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดปทุมธานี
จังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม
จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนไหลลงสู่
จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลลงอ่าวไทยในพื้นที่ อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซ่ึงอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน
ระหว่างตำบลบางหญ้าแพรกกับตำบลโกรกกราก ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และ

อำเภอเมอื งสมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร มคี วามยาว ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัด

ประมาณ ๓๑๕ กโิ ลเมตร แม่นำ้ ท่าจีน มีชือ่ เรียกเป็น สมทุ รปราการ๑๓

ตอนๆ คือ ตอนท่ีไหลผ่านจังหวัดชัยนาท เรียกว่า ด้วยเหตุนี้ บริเวณปากแม่น้ำจึงมีความอุดม
แมน่ ำ้ มะขามเฒา่ ๘ ตอนทผี่ า่ นจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เรยี กวา่ สมบูรณ์ เพราะมีทรัพยากรธรรมชาติที่เอ้ือต่อการ

แม่น้ำสุพรรณบุรี ตอนที่ผ่านจงั หวดั นครปฐม เรยี กวา่ ดำรงชีวิต การเพาะปลูก นอกจากน้ี ในบางบริเวณ

แมน่ ำ้ นครชยั ศร๙ี สว่ นตอนทไี่ หลผา่ นจงั หวดั สมทุ รสาคร ยังมที รัพยากรแรธ่ าตุโลหะท่สี ำคญั อนั ได้แก่ ทองแดง
และไหลลงสอู่ ่าวไทย เรียกวา่ แมน่ ำ้ ท่าจีน๑๐
และเหลก็ องคป์ ระกอบทางธรรมชาตเิ หลา่ นี้ ลว้ นดงึ ดดู

และเอื้ออำนวยให้ผู้คนต้ังถ่ินฐานอยู่อาศัยในพื้นที่ได้

เป็นอย่างดี






คลองเก่าเล่าประวตั เิ มือง 11

แผนท่แี สดงขอบเขต “ทะเลโคลน” ยุคดกึ ดำบรรพ์ อย่ทู างตอนบนของอา่ วไทยทกุ วันน้ี
(ภาพ : สุจิตต์ วงษเ์ ทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน. กรงุ เทพฯ : มติชน, ๒๕๔๘.)
12 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง

เมื่อศึกษาหลักฐานทางธรณีวิทยาร่วมกับ ต่อมา ระดับน้ำทะเลท้ังเพ่ิมและลดระดับลง
แผนท่ีทางอากาศแสดงแนวชายฝ่ังทะเลเดิมของ
ซ่ึงลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นหลายคร้ัง เป็นวัฏจักรในช่วง
ท่ีราบลุ่มเจ้าพระยา แสดงให้เห็นว่า๑๔ เมื่อประมาณ เวลานับพันปี ก่อนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่

๖,๐๐๐ ปีมาแล้ว พื้นที่ตอนล่างของที่ราบลุ่ม ในช่วง ๓,๐๐๐ ปีที่ผ่านมา โดยระดับน้ำทะเลทรงตัว
เจ้าพระยา เป็นพ้ืนที่ท่ีเป็นทะเลหรือชะวาก๑๕ทะเล
อยู่ท่ีระดับสูงกว่าระดับน้ำทะเลสมัยปัจจุบันประมาณ
เป็นส่วนใหญ่ รอบแนว “อ่าวไทยโบราณ” ในครั้งนั้น
๑ - ๒ เมตร

มีป่าชายเลนกระจายอยู่ทั่วไปและมีทางน้ำธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม พ้ืนที่ตอนใต้ของที่ราบลุ่ม

สายใหญห่ ลายสายท่ีระบายลงสู่อ่าวไทยโบราณ ไดแ้ ก
่ เจ้าพระยา อย่างน้อยต้ังแต่พื้นท่ีของจังหวัดพระนคร

แม่น้ำสุพรรณบุรี ไหลลงสู่อ่าวไทยโบราณ
ศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานีลงมา ยังคงเป็นทะเล

ทางด้านตะวนั ตกเฉียงเหนอื
อกี ชว่ งระยะเวลาหนง่ึ จนกระทงั่ เมอ่ื ๑,๕๐๐ ปมี าแลว้
แมน่ ำ้ ปา่ สกั ๑๖ ไหลลงสอู่ า่ วไทยโบราณทางดา้ น ระดบั นำ้ ทะเลไดค้ อ่ ยๆ ลดลงอกี ครง้ั ขอบของอา่ วไทย
ตะวันออกเฉยี งเหนอื
และปากแม่น้ำสำคัญสายต่างๆ จึงขยายตัวต่อลงไป

แมน่ ำ้ ลพบรุ ๑ี ๗ และแมน่ ำ้ นอ้ ย๑๘ ไหลลงสอู่ า่ วไทย ทางใต้ พรอ้ มทง้ั ปรากฏแผน่ ดนิ ทรี่ าบลมุ่ ใหม่ เปน็ ทร่ี าบ
โบราณที่บริเวณตอนกลางของขอบอา่ วด้านทิศเหนอื
กวา้ งใหญ่ ขนาบด้วยภเู ขาทางทศิ ตะวันตก คือ ทวิ เขา
แมน่ ำ้ แมก่ ลอง ไหลลงสอู่ า่ วไทยโบราณทางดา้ น ตะนาวศรี และด้านตะวันออก คือ ทิวเขาสันกำแพง
ทิศตะวันตก
และทิวเขาบรรทัด เป็นผลให้ที่ราบบริเวณนี้ทอดตัว

นอกจากนี้ ยังมีแม่น้ำสายย่อย ประกอบด้วย
ในลักษณะแนวเหนอื - ใต้ คอ่ ยๆ ลาดลงสทู่ ะเล โดยมี
แมน่ ำ้ นครนายกและแมน่ ำ้ ปราจนี บรุ ี ไหลลงสอู่ า่ วไทย แมน่ ำ้ สายตา่ งๆ นำพาโคลนตมจากตอนบนทเ่ี ปน็ ภเู ขาสงู

โบราณทางดา้ นทิศตะวันออก
ลงมาสู่พ้ืนที่ลุ่มต่ำ ทำให้บริเวณท่ีเคยเป็น “ทะเล
ตอ่ มา ในชว่ งเวลาระหวา่ ง ๖,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ ปี โคลน” เกิดเป็นแผน่ ดนิ ทง่ี อกขนึ้ ใหมข่ ยายตวั ไปเรอื่ ยๆ
ได้เกิดการเปล่ียนแปลงของระดับน้ำทะเลของโลก
จากแนวชายฝงั่ ทะเลเดมิ ความออ่ นตวั และลมุ่ ตำ่ ของดนิ
รวมทง้ั ในอา่ วไทยโบราณครงั้ ยอ่ ยๆ หลายครง้ั โดยใน ส่งผลต่อทิศทางการไหลของแม่น้ำที่กัดเซาะพื้นดิน
ช่วงเวลาระหว่าง ๖,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว ระดับ
เปล่ียนทิศทางไปเร่ือยๆ จนเกิดเป็นทางน้ำคดเคี้ยว
น้ำทะเลซ่ึงสูงกว่าระดับน้ำทะเลสมัยปัจจุบันประมาณ กระจายไปทว่ั ในพน้ื ที่ กระทงั่ ประมาณ ๘๐๐ - ๑,๐๐๐ ปี
๓.๕ - ๔ เมตร ค่อยๆ ลดลง ทำให้ขอบอ่าวไทย มาแล้ว ลักษณะภูมิศาสตร์ของท่ีราบลุ่มเจ้าพระยา
ขยายลงไปทางใต้ และปรากฏผนื แผน่ ดนิ ใหมพ่ รอ้ มทงั้ แบบท่ีใกลเ้ คียงกบั ทีป่ รากฏในปจั จุบันจงึ เร่ิมเกิดข้ึน

ป่าชายเลนริมฝ่ังทะเลเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ ในทางใต้ของ
ท่ีราบลมุ่ เจ้าพระยา


คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มอื ง 13

แผนทแี่ สดงลักษณะภูมิประเทศบริเวณสามเหล่ยี มปากแมน่ ำ้ เจา้ พระยาเม่ือหลายพนั ปีมาแล้ว
ยงั มีสภาพเปน็ “ทะเลโคลน” กว้างขวางมากกวา่ ปจั จบุ นั การตงั้ หลักแหลง่ ชุมชนและบ้านเมืองยคุ แรกๆ
จึงอยตู่ ามทีด่ อนหรอื ขอบอ่าว บริเวณที่ใกล้ชิดหรือติดกบั “ทะเลโคลน”
(ภาพ : สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. กรงุ เทพฯ มาจากไหน. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๘.)
14 คลองเกา่ เลา่ ประวัตเิ มอื ง

หลงั จากนน้ั ผคู้ นเรม่ิ อพยพเคลอื่ นยา้ ยเขา้ มา
บรรดาชุมชนริมลำน้ำดังกล่าวน้ี ตั้งข้ึนใน
ตงั้ ถน่ิ ฐานและใชป้ ระโยชนบ์ นพน้ื ทร่ี มิ ฝง่ั แมน่ ำ้ และทร่ี าบลมุ่ ทำเลท่ีสามารถติดต่อกับชุมชนภายนอกทางทะเลได้
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่ โดยพบหลกั ฐานการอยอู่ าศยั ของชุมชน จึงเปน็ เหตใุ ห้มีกลุม่ ชนหลายเผา่ พนั ธุ์ ทง้ั จากภายนอก
โบราณในบริเวณสามเหล่ียมปากแม่น้ำเจ้าพระยาของ และที่อยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน อพยพเคล่ือนย้ายมาต้ัง
มนุษยส์ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ต้งั แตย่ ุคโลหะ เมื่อราว หลักแหล่งในท้องถิ่นต่างๆ ท้ังเพื่อมาเป็นแรงงานและ
๓,๕๐๐ ปีมาแล้ว เช่น แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จนเกิดการขยายตัวของ
อำเภอเมอื งลพบรุ ี จงั หวดั ลพบรุ ี เปน็ ชมุ ชนทอ่ี ยอู่ าศยั ชุมชนเข้าไปสู่ดินแดนตอนใน ประมาณพุทธศตวรรษ

รมิ ทางนำ้ สายใหญ่ คือแม่น้ำลพบุรโี บราณ ตัวเนนิ ดิน ที่ ๗ - ๘ ได้เกิดมีชุมชนหลายแห่งตั้งหลักแหล่ง
ที่ต้ังชุมชนน้ัน อยู่บริเวณโค้งของแม่น้ำ ทำให้มีแนว กระจายอยู่ตามบริเวณท่ีราบและริมแม่น้ำ ด้วยใน
แม่น้ำเป็นขอบเขตทั้งด้านเหนือ ด้านตะวันออก และ บริเวณนี้ นอกจากจะมีทางน้ำสายใหญ่ๆ ไหลโค้งคด
ด้านใต้ หรือมีลักษณะเป็นชุมชนท่ีเกือบล้อมรอบด้วย อยแู่ ลว้ ยงั มที างน้ำสายรองๆ อกี หลายสาย ซง่ึ ทางนำ้
แม่น้ำ แสดงถึงการเป็นชุมชนของประชากรท่ีเลือก
แต่ละสายมักมีลำน้ำท่ีเป็นสาขาหรือมีเส้นทางเดินเก่า
อยู่อาศัยและดำรงชีวิตโดยพ่ึงพาแม่น้ำ นอกจากนี้ ทส่ี มั พนั ธ์กบั แหล่งชมุ ชนโบราณ

พื้นท่ีทางด้านตะวันตกเป็นท่ีราบลุ่มที่เกิดจากตะกอน ในเวลาต่อมา ชุมชนใหญ่บางชุมชนได้มีการ

ลำน้ำกลางเก่ากลางใหม่ (semi-recent riverine พัฒนาต่อเน่ืองขึ้นมาจากการเป็นชุมชนเกษตรกรรม

alluvium) ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างสูงและ ขนาดเลก็ ทอ่ี ยู่ ณ ทำเลนนั้ มาแตเ่ ดมิ ในขณะทช่ี มุ ชนใหญ่
เหมาะแกก่ ารทำนา๑๙
บางแห่งเป็นชุมชนท่ีเกิดข้ึนใหม่ ซ่ึงนอกจากจะแสดง
แหล่งโบราณคดีบางแห่งในจังหวัดลพบุรีและ ถึงการมีประชากรเพ่ิมข้ึนในบริเวณภาคกลางของ
จังหวัดนครสวรรค์ แสดงให้เห็นว่า ชุมชนขนาดใหญ่ ประเทศไทยแล้ว ยังแสดงให้เห็นว่าความแตกต่างใน
เริ่มปรากฏมากข้ึนในพ้ืนที่ใกล้ทางน้ำสายใหญ่ในราว สถานะของชุมชนอาจเกิดข้ึนแล้วด้วย โดยอย่างน้อย
๒,๕๐๐ - ๒,๓๐๐ ปี ดว้ ยเปน็ พน้ื ทร่ี าบลมุ่ เหมาะสำหรบั อาจมบี างชมุ ชนทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นการคา้ บางชมุ ชน
การเพาะปลกู ทมี่ อี ยตู่ ามรมิ ฝงั่ ทางนำ้ และตวั ทางนำ้ เอง อาจเป็นศูนย์กลางด้านทรัพยากร บางชุมชนอาจเป็น
ยังเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการดำรงชีวิตด้านต่างๆ ศูนย์กลางด้านความเช่ือ เป็นต้น คุณลักษณะทาง
เป็นเส้นทางคมนาคมสำหรับการติดต่อแลกเปล่ียน วัฒนธรรมดังกล่าวคงเป็นรากฐานที่ถูกปรับปรุงต่อมา
วัฒนธรรมและผลผลิตระหว่างชุมชน ซ่ึงล้วนเป็น จนกลายเป็นวฒั นธรรมท่เี รยี กวา่ “วฒั นธรรมทวารวด”ี

ปัจจัยท่ีช่วยให้ผู้คนตัดสินใจเลือกตั้งถิ่นฐานในพ้ืนที่

ใกล้ทางน้ำ


คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง 15

ภาพถา่ ยทางอากาศ ชุมชนเมืองโบราณ เมืองคูบัว ราชบุรี ทวารวดี บา้ นเมอื งในลมุ่ แมน่ ำ้ ลำคลอง

เปน็ อีกหนึ่งชมุ ชนในสมยั ทวารวดที ี่ตงั้ ถิ่นฐานในบรเิ วณ
ท่มี แี ม่น้ำไหลผ่าน (แถบสฟี า้ ) และมกี ารขุดคลองเป็นคเู มือง

(แถบสเี หลือง) เชอื่ มต่อกับแมน่ ้ำ (แม่กลอง) สายเกา่ วัฒนธรรมทวารวดี จัดเป็นวัฒนธรรมยุค

(ภาพ : ศรศี กั ร วลั ลิโภดม. คน้ หาอดีตของเมอื งโบราณ. ประวตั ศิ าสตร์ โดยมคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งในราว ๑,๕๐๐
กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, ๒๕๓๘.) - ๑,๖๐๐ ปีทีผ่ ่านมา ดงั ปรากฏหลกั ฐานการตั้งชุมชน

ภาพถ่ายทางอากาศ ชุมชนเมอื งโบราณ เมอื งนครชยั ศรี โบราณสมัยทวารวดีหลายแห่งในบริเวณภาคกลาง
ทีต่ ้งั ถิ่นฐานในบริเวณท่ีมีแม่น้ำ (บางแก้ว) ไหลผ่าน ของประเทศไทยในปัจจุบัน เช่นท่ีเมืองคูบัวและเมือง
(แถบสีฟา้ ) และมีการขุดคลองเปน็ คเู มือง (แถบสเี หลือง) ราชบรุ ี จงั หวดั ราชบรุ ี เมอื งนครชยั ศรี จงั หวดั นครปฐม
(ภาพ : ศรศี กั ร วัลลโิ ภดม. คน้ หาอดีตของเมืองโบราณ. เมืองอู่ทองและเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, ๒๕๓๘.) เมืองโบราณบ้านคูเมือง จังหวัดสิงห์บุรี เมืองลพบุรี
จังหวดั ลพบรุ ี เป็นต้น

เมืองโบราณดังกล่าวเหล่านี้ มักเป็นเมืองที่มี
ขนาดใหญ่และไม่ว่าจะมีผังเมืองเป็นรูปส่ีเหลี่ยม เช่น
เมืองนครปฐมโบราณ จังหวัดนครปฐม เมืองคูบัว
จงั หวดั ราชบรุ ี เมอื งโบราณบา้ นคเู มอื ง จงั หวดั สงิ หบ์ ุร ี
เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี เป็นรูปวงรี เช่น เมือง
อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี หรือบางครั้งมีรูปร่าง

เกือบเป็นวงกลม เช่น เมืองบึงคอกช้าง จังหวัด
อุทัยธานี ก็มักต้ังอยู่ใกล้หรืออยู่ริมแม่น้ำในบริเวณ
ที่ราบลุ่มใกล้ชายฝั่งทะเลและมีทางน้ำสำหรับการ
คมนาคมออกสู่ทะเล ต่อมาภายหลังได้ขยายพ้ืนที่
ชมุ ชน สรา้ งคนั ดินและคูน้ำลอ้ มรอบเปน็ ขอบเขตของ
ชุมชน โดยคนู ำ้ ของเมอื งโบราณเหลา่ น้ี ยงั สามารถใช้
ประโยชน์เพื่อการอุปโภคบริโภคในยามหน้าแล้ง

การป้องกันอุทกภัยและการระบายน้ำในช่วงฤดูฝนและ
อาจใช้เป็นปราการสำหรับป้องกันข้าศึกได้อีกด้วย๒๐

ดงั เชน่






16 คลองเก่าเล่าประวัตเิ มือง

เมอื งโบราณบา้ นคเู มอื ง จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี ทตี่ ง้ั เมอื ง นอกจากน้ี เมืองโบราณสมัยทวารวดีบางแห่ง
มีลำน้ำไหลผ่านหลายสาย ลำน้ำดังกล่าวอาศัยเป็น ยังมีรอ่ งรอยแสดงถึงการขุด “คลอง” เชอื่ มต่อชุมชน
เสน้ ทางคมนาคมระหวา่ งแมน่ ำ้ เจา้ พระยากบั ลำนำ้ นอ้ ย กับทางน้ำท่ีใช้ในการคมนาคม เช่นท่ีเมืองนครชัยศรี
และเปน็ เสน้ ทางตดิ ตอ่ กบั เมอื งตา่ งๆ อยา่ งเมอื งสพุ รรณบรุ ี และเมอื งอทู่ อง พบวา่ มกี ารขดุ คลองออกสชู่ ะวากทะเล
หรือเมอื งนครปฐม เปน็ ต้น๒๑
และเมอื งคเู มอื งและเมอื งอตู่ ะเภา จงั หวดั สระบรุ ี พบวา่
เมืองนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นเมือง ถูกสร้างบนพ้ืนที่ริมทางน้ำธรรมชาติท่ีมีร่องน้ำเก่า

โบราณสมัยทวารวดีที่จัดว่ามีขนาดใหญ่ท่ีสุด มีคูน้ำ ที่ไหลออกสู่ชะวากทะเล เมืองโบราณส่วนใหญ่จึงมัก
คันดินล้อมรอบ และมีที่ต้ังสัมพันธ์กับชายฝ่ังทะเล
ตั้งอยู่โดยใช้เส้นทางน้ำธรรมชาติเป็นคูเมืองและมักมี
นอกจากน้ี ยังมีร่องรอยการใช้ลำน้ำ คู และคลอง การขดุ คลอง เพอื่ ใหม้ กี ารระบายนำ้ เขา้ - ออก มกี ารขดุ
ต่างๆ ท้ังที่ปรากฏตามธรรมชาติหรือมีการขุดข้ึนใหม่ บ่อเก็บกักน้ำ และถ้าอยู่บริเวณเชิงเขา จะขุดร่องน้ำ

ภายหลัง๒๒
ให้น้ำไหลจากช่องเขามายังตัวเมืองได้ จึงเห็นได้ว่า
เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีเครือข่าย แหลง่ นำ้ มคี วามสำคญั ตอ่ ชมุ ชนโบราณอยา่ งมาก ดงั ท่ี
การคมนาคมทางน้ำท่ีสลับซับซ้อน มีการขุดคลอง
สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ
เพอื่ การคมนาคมและการระบายนำ้ รอบเมอื งมลี ำนำ้ เกา่ ได้มลี ายพระหตั ถ์ตอนหน่ึงว่า

ไหลจากทางตะวันตกเฉียงเหนือมาสู่ลำน้ำ (ท่าจีน) “...อนั ทจี่ รงิ ตง้ั เมอื งโบราณ อาศยั หลกั ๒ อยา่ ง
ทางตะวันตกเฉียงใต้หลายสาย ลำน้ำเหล่านี้ยังมี
คือมีที่ทำนาอย่างหน่ึง และต้องมีลำน้ำเป็นทางโคจร
เส้นทางท่ีขุดเชื่อมมาถึงเมืองนครชัยศรี ซ่ึงมีเส้นทาง และอาศยั น้ำบรโิ ภคอยา่ งหน่งึ ...” ๒๔

ติดต่อไปยังเมืองโบราณในสมัยเดียวกันในลุ่มแม่น้ำ
ชุมชนหรือเมืองโบราณเหล่าน้ี ต้ังอยู่ในเขต
แม่กลองทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ ในขณะเดียวกัน
ลำนำ้ ของทร่ี าบลมุ่ เจา้ พระยา ซงึ่ เปน็ วฒั นธรรมการตงั้
กอ็ าจเดนิ ทางตามลำนำ้ บางแกว้ หรอื คลองพะเนยี งแตก ถิ่นฐานของมนุษย์ท่ีสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพ
ไปออกแม่น้ำท่าจีน แล้วเดินทางไปยังลำคลอง แวดลอ้ มแบบทรี่ าบลมุ่ ซงึ่ มที างนำ้ เปน็ ทรพั ยากรสำคญั
สองพ่ีน้อง ผ่านไปเมืองอู่ทองได้ อีกทั้งยังติดต่อกับ ในการส่งเสริมการดำรงชีวิตและวัฒนธรรม และ
ต่างประเทศได้โดยเรือเดินทะเลสามารถเข้ามาใน วฒั นธรรมนี้ยังเป็นต้นเคา้ ของการเกดิ เมอื งคู - คลอง
ลำน้ำบางแก้วท่ีอำเภอนครชัยศรีและเดินทางข้ึนมายัง อนั เปน็ ศนู ยก์ ลางสำคัญของทรี่ าบลมุ่ เจ้าพระยาในสมัย
เมอื งนครปฐมโบราณได๒้ ๓
ต่อมา คือ กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตน


โกสนิ ทร์หรือกรงุ เทพมหานครในปัจจุบนั




คลองเกา่ เลา่ ประวตั ิเมอื ง 17

ภาพมุมกวา้ งกรุงศรีอยธุ ยา โดยอแล็ง มาเนสซอ็ ง มลั เลย์ (Alain Manesson Mallet) นักเขียนแผนท่ชี าวฝรัง่ เศส
ปรากฏคร้งั แรกในหนังสอื Description de l’Univers พิมพ์ที่กรงุ ปารสี ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ. ๒๒๒๖
ตรงกบั ปลายสมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(ภาพ : ธวชั ชยั ต้ังศริ ิวานิช. กรงุ ศรีอยธุ ยาในแผนที่ฝรง่ั . กรุงเทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๙.)
18 คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มือง

กรุงศรอี ยธุ ยา ราชธานกี ลางสายน้ำ



กรงุ ศรอี ยธุ ยา พฒั นาเปน็ ราชธานที ม่ี คี วามเจรญิ ขื่อหน้าด้านเดียว ถึงดังน้ันก็ดี จะปล้นเอาเหมือน

ม่ันคงและมีความมั่งคั่งสืบมา เป็นเวลายาวนานกว่า นครทั้งปวงน้ันมิได้ และซ่ึงจะเอาอยุธยาครานี้ เราจะ
๔๐๐ ปี ด้วยส่วนหนึ่งน้ัน มีปัจจัยเกื้อหนุนในด้าน แตง่ การเปน็ งานปจี ึงจะได.้ ..” ๒๕

ทำเลท่ีต้ังซ่ึงมีแม่น้ำถึงสามสายไหลมาบรรจบกัน คือ ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับท่ีปรากฏใน
แม่น้ำลพบุรี แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำเจ้าพระยา โดย บันทึกของชาวต่างชาติ ดังเช่น นายฟรังซัวส์ อังรี
แม่น้ำลพบุรี ไหลจากทางทิศเหนือมารวมกับแม่น้ำ
ตุรแปง (François Herri Turpin) ท่ีได้เขียนถึง

ป่าสกั ท่ีไหลมาจากทศิ ตะวันออก และแมน่ ำ้ เจา้ พระยา กรุงศรอี ยธุ ยาไว้ในหนังสือ Histoire du Royaume de
ทไี่ หลมาจากทศิ ตะวนั ตก มารวมกบั แมน่ ำ้ ปา่ สกั แลว้ ไหล Siam ตอนหนึ่งว่า กรุงศรีอยุธยาหรือท่ีเรียกสั้นๆ ว่า
มารวมกันทางใต้ ประกอบกับมกี ารขดุ คลองหลายสาย “กรุง” นั้น “...มีแม่น้ำสายใหญ่ ๓ สาย ไหลมาจาก
เพ่ือใช้เป็นเส้นทางคมนาคมภายในเกาะเมือง ทำให้ ทางเหนือ แล้วไหลผ่านเมืองทางลำคลองซึ่งมีอยู่
เกดิ การระบายนำ้ ลงสอู่ า่ วไทยไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และไมเ่ กดิ จำนวนมากมาย กท็ ำให้กรุงมีสภาพเปน็ เกาะใหญน่ อ้ ย

น้ำท่วมขึ้นภายในเกาะเมือง ในขณะที่อาณาบริเวณ หลายเกาะ เกาะเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีนาข้าวท้ังสิ้น
รอบๆ เกาะเมือง แม้จะมีลำคลองพาดผ่านหลายสาย แม้ว่าในบางปีเมืองหลวงแห่งนี้จะมีฝนตกน้อยก็ตาม
เป็นเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อถึงกันจำนวนมาก แต่ แต่โดยปกติแล้ว กรงุ ศรีอยธุ ยาจะไมแ่ ลง้ นำ้ เลย...” ๒๖

เนื่องจากเป็นพ้นื ท่ลี ุ่มตำ่ ดงั น้นั เมอื่ ฤดูน้ำเหนอื หลาก ลำคลองหลายสายในเกาะเมอื งอยธุ ยา สว่ นใหญ่
จงึ เกิดภาวะนำ้ ท่วมขังเป็นระยะเวลานาน ทำให้กรุงศรี
ขุดขึ้นเพื่อการระบายน้ำและชักน้ำจากแม่น้ำเข้ามา

อยุธยากลายเป็น “ราชธานีกลางสายน้ำ” ที่มีแม่น้ำ ใช้ประโยชน์ภายในเกาะเมือง โดยมีการขุดอย่างเป็น
ลำคลองเป็นปราการธรรมชาติอันแข็งแกร่ง สกัดก้ัน ระเบียบ ๒ ลักษณะ คือ การขุดคลองตัง้ ฉากกับคลอง
ข้าศึกมิให้ก้าวล่วงเข้าถึงตัวพระนครได้โดยง่าย
ท่ีขนานไปกับคขู อื่ หน้า๒๗ ตามแนวทศิ ตะวนั ออก - ทศิ
ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ ตะวนั ตก และการขดุ คลองขนานไปกบั คขู อ่ื หนา้ ตามแนว
พระราชหัตถเลขา กล่าวถึงพระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุง ทศิ เหนอื - ใต้ โดยปากคลองท้งั ๒ ดา้ น จะบรรจบกับ
หงสาวดี เมอ่ื ครง้ั ทที่ รงกรฑี าทพั เขา้ ลอ้ มกรงุ ศรอี ยธุ ยา แม่น้ำ ซ่ึงคลองขุดลักษณะดังกล่าวจะทำให้ระบบ
ราว พ.ศ. ๒๑๑๒ ไดต้ รสั กบั แมท่ พั นายกอง วา่
หมุนเวียนของการระบายน้ำในกรุงศรีอยุธยามีความ
“...แผน่ ดนิ ศรอี ยธุ ยานี้ เปน็ ราชธานีใหญห่ ลวง สะดวก ไม่มีน้ำเน่าขัง อีกท้ังคลองท่ีขุดยังไม่ตื้นเขิน
เอาสมทุ รเปน็ คคู นั รอบ ดจุ เขาพระสเิ นรรุ าชอนั มแี มน่ ำ้ ได้ง่าย โดยเฉพาะคลองตามแนวทิศเหนือ - ใต ้

สีทันดรนทีรอบคอบ และท่ีจะปล้นได้ไซร้ เห็นแต่
ซึ่งไดแ้ ก๒่ ๘




คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มือง 19

คลองนายกา่ ย คลองในไก่ คลองไส้ไก่ หรือ เสน้ ตรงในลักษณะ “ถนนร”ี หรอื ถนนขนานคลองที่ขดุ
ปัจจุบันเรียกว่า คลองมะขามเรียง เป็นคลองท่ีขุด
ในแนวทศิ ตะวนั ออก - ทศิ ตะวันตก และ “ถนนขวาง”
ต่อเชื่อมกับคลองมหาไชย๒๙ ซึ่งอยู่ทางเหนือกับแม่น้ำ หรือถนนขนานคลองที่ขุดในแนวทิศเหนือ - ทิศใต้
เจ้าพระยาซ่ึงอยู่ทางทิศใต้ของเกาะเมือง บริเวณใต้ รวมถึง “ถนนซอย” หรือถนนท่ีแยกจากถนนใหญ่

ป้อมเพชร
หรือถนนหลวง ดังปรากฏในบันทึกของโยส เซาเต็น

คลองประตูข้าวเปลือก หรือคลองประตูจีน
(Joost Schouten) ชาวฮอลันดาซ่ึงเข้ามาเป็น

อยถู่ ดั จากคลองนายกา่ ยมาทางทศิ ตะวนั ตก ปากคลอง ผู้จัดการบริษัทการค้าฮอลันดาได้กล่าวถึงคลองและ
ด้านทิศเหนือเช่ือมกับแม่น้ำเจ้าพระยาหรือแม่น้ำ ถนนดังกล่าวภายในกรุงศรีอยุธยาประมาณช่วงรัชกาล
ลพบรุ เี กา่ ทเ่ี รยี กกนั ในปจั จบุ นั วา่ คลองเมอื ง ทางดา้ น สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรมและสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง
ทศิ ใต้ต่อกบั แมน่ ้ำเจ้าพระยาปจั จบุ ัน
ความตอนหนึ่งวา่

คลองประตูเทพหมี อยู่ถัดจากคลองประตู
“...ภายในกำแพงเมืองมีถนนกว้างตัดตรง

ข้าวเปลือกไปทางทิศตะวันตก ปากคลองเป็นประตูน้ำ และยาวมาก และมีคลองขุดจากแม่น้ำเจ้าพระยา

ปลายคลองทะลุออกแมน่ ำ้ เจา้ พระยา
เข้ามาในพระนคร จึงสะดวกแก่การสัญจรไปมา

คลองประตฉู ะไกรนอ้ ย อยู่ถัดจากคลองประตู ทั่วถึงกัน นอกจากถนนและคลอง ยังมีคูเล็กๆ

เทพหมีไปทางทิศตะวันตก ปากคลองด้านใต้ทะลุออก และตรอกซอยอีกเป็นอันมาก ด้วยเหตุน้ี ในฤดูน้ำ
แม่น้ำเจ้าพระยา ลำคลองตรงข้ึนไปถึงมุมวัดป่าใน เรือพายทั้งหลายจึงสามารถผ่านเข้าออกติดต่อกันได้
แล้วเลี้ยวไปทางตะวันออกผ่านคลองประตูเทพหมี จนถึงหัวกระไดบา้ น...” ๓๐

คลองประตูขา้ วเปลือก ไปบรรจบกับคลองนายกา่ ย
บริเวณปากคลองขุดแนวทิศเหนือ - ทิศใต้
คลองประตูฉะไกรใหญ่ หรือคลองท่อ อยู่ถัด และแนวทิศตะวันออก - ทิศตะวันตก มักมีการสร้าง
จากคลองฉะไกรน้อยไปทางทิศตะวันตก ปากคลอง ทำนบกั้นน้ำหรือประตูน้ำ สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นเพ่ือ
เช่ือมต่อกับแม่น้ำลพบุรี บริเวณตรงข้ามวัดเชิงท่า ประโยชน์ในการกักเก็บน้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภค
ปลายคลองออกประตูฉะไกรใหญ่เช่ือมต่อกับแม่น้ำ ภายในเมืองเมื่อถึงฤดูแล้ง และเพื่อกักน้ำไว้เป็น
เจา้ พระยา ตรงขา้ มวดั พุทไธสวรรย์
ปราการป้องกันไม่ให้ข้าศึกเข้าโจมตีพระนครได้ง่าย
นอกจากนี้ เม่ือมีการขุดคลองทั้งสองลักษณะ โดยอาศัยลำน้ำท่ีไหลผ่านเข้ามาในพระนคร ด้วยการ
ยังนิยมสร้างถนนให้ขนานเลียบไปกับแนวคลองเป็น ใชข้ อนไมส้ กั ปกั เรยี งเปน็ สองแถว แลว้ ถมดนิ ตรงกลาง
เพือ่ กน้ั เป็นเขื่อนปดิ ปากคลอง




20 คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมอื ง

แผนท่แี สดงโครงขา่ ยสายนำ้ ของกรงุ ศรอี ยธุ ยา
ประมาณชว่ งปลายรชั กาลสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
วาดโดยฌาคส์ นโิ กลาส์ เบแลง็ (Jacques Nicolas Belin) นกั เขียนแผนทชี่ าวฝรัง่ เศส
(ภาพ : ธวัชชัย ตงั้ ศริ ิวานิช. กรุงศรอี ยุธยาในแผนที่ฝรง่ั . กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๙.)

คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง 21

ภาพบ้านเรอื นและการใชช้ ีวิตรมิ นำ้ ของชาวสยาม เนอ่ื งดว้ ยกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานกี ลางสายนำ้
ในบริเวณพื้นท่รี าบลุ่มแมน่ ำ้ เจ้าพระยา ทม่ี แี มน่ ำ้ ลำคลองลอ้ มรอบทง้ั ๔ ดา้ น การเดนิ ทางไปมา

จากหนังสือ Du Royaume de Siam ระหวา่ งพน้ื ทภ่ี ายในกบั ภายนอกพระนคร จงึ จำเปน็ ตอ้ ง
ของซมี ง เดอ ลา ลูแบร์ (Simon de La Loubère) สญั จรทางนำ้ เปน็ หลกั จงึ ปรากฏวา่ รอบเกาะเมอื งกรงุ ศร

ราชทตู ฝรั่งเศสซึ่งเดินทางเขา้ มายงั กรงุ ศรอี ยธุ ยา อยธุ ยามีทา่ เรอื อยูท่ ้ังส้นิ ถงึ ๒๒ แห่ง แบ่งเปน็ ทา่ เรอื
ประมาณ พ.ศ. ๒๒๓๐ ซ่ึงตรงกับรัชกาล ของทางราชการ ๒ แห่ง ท่าเรือจ้าง ๒๐ แห่ง และ
สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช นอกจากน้ี ยังมีตลาดน้ำหรือ “ตลาดเรือ” คือตลาด

22 คลองเก่าเลา่ ประวัติเมือง ที่ตั้งอยู่ตามท้องน้ำหรือปากคลองสายต่างๆ ที่พ่อค้า
แมค่ า้ ในกรงุ กด็ ี ตา่ งเมอื งกด็ ี ตลอดจนพอ่ คา้ ชาวตา่ งชาติ
ต่างนำสินค้าบรรทุกใส่เรือมาซ้ือขายแลกเปลี่ยน

โดยตลาดน้ำขนาดใหญ่ในบริเวณเกาะเมืองกรุงศร

อยธุ ยามอี ยู่ ๔ แหง่ คือ ตลาดน้ำวนบางกะจะ๓๑ ตลาด
ปากคลองคูจาม๓๒ ตลาดปากคลองคูไม้ร้อง๓๓ และ
ตลาดปากคลองวัดเดิม๓๔ ดังเช่นท่ีนิโกลาส์ แชร์แวส

(Nicolas Gervaise) นักเดนิ ทางชาวฝรง่ั เศสทต่ี ดิ ตาม
คณะเผยแพร่ศาสนาเข้ามาในสยาม ระหว่าง พ.ศ.
๒๒๒๔ - ๒๒๒๙ ในสมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
ไดบ้ รรยายถงึ ตลาดนำ้ ไว้ในหนงั สอื Histoire Naturelle

et Politique de Royaume de Siam ตอนหน่งึ ว่า

“...เรือท่ีใช้ในการเดนิ ทางไกลนนั้ มขี นาดใหญ่
มากพอที่สมาชิกในครอบครัวจะลงไปอยู่ได้ทั้งหมด
เหมอื นในเรอื นของตน เขาทำครวั กนั ในเรอื เหมอื นอยา่ ง
บนบก ฉะนัน้ จงึ ต้องมเี สบียงอาหารติดไปด้วย เพราะ
ตามทางไม่มีโฮเต็ลเหมือนอย่างในทวีปยุโรป แต่ตาม
ปกติแล้วในบริเวณใกล้ตำบลใหญ่ๆ จะมีตลาดลอยน้ำ
มเี รอื เลก็ ๆ กวา่ ร้อยลำ บรรทกุ ข้าวสาร ผลไม้ ปลาสด
และปลาเจา่ มาขาย อาจซ้อื ไวเ้ ปน็ เสบียงได.้ ..” ๓๕

กรุงศรีอยุธยายังใช้เส้นทางแม่น้ำเจ้าพระยา การที่กรุงศรีอยุธยาต้ังอยู่ในอาณาบริเวณที่มี

ซง่ึ เชื่อมต่อกบั แม่น้ำสายอ่นื ๆ คือ แมน่ ้ำปงิ แม่น้ำวัง การคมนาคมสะดวก ทำให้สามารถเดินทางไปยัง

แม่น้ำยม และแม่น้ำน่าน ท้ังในด้านการขนส่ง
ดินแดนตอนในท้ังทางเหนอื ตะวันตกเฉียงเหนอื และ
แลกเปลี่ยนสินค้าและรวบรวมกำลังพล เม่อื มีสงคราม ตะวันออกเฉียงเหนือ และออกไปยังทะเลได้โดยง่าย
ระหว่างหัวเมืองทางเหนือกับกรุงศรีอยุธยา และใช้
โดยเฉพาะเมื่อมีการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยา

เสน้ ทางน้ำอนื่ ๆ ทเ่ี ชอ่ื มกับแมน่ ำ้ เจ้าพระยาได้อกี คอื ช่วงต่างๆ อันเป็นการพัฒนาเส้นทางระหว่างกรุงศรี

แมน่ ำ้ นอ้ ย แมน่ ำ้ ทา่ จีน และแมน่ ำ้ บางปะกง
อยุธยากับหัวเมืองบริเวณใกล้อ่าวไทยหรือตามชายฝ่ัง
กล่าวได้ว่า การที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธาน
ี ทะเล ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการค้า

ท่ีมีสภาพพื้นที่เหมาะแก่การเกษตรกรรมและอยู่ใน ในบริเวณน้ี และจะมีผลต่อพัฒนาการของ “บางกอก”
ทำเลที่เหมาะแก่การเป็นเมืองท่าที่สามารถทำการ ซ่ึงภายหลังสมัยกรุงศรีอยุธยาได้รับการสถาปนา

ค้าขายได้ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพราะเป็น ให้เป็นกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรและกรุงรัตนโกสินทร์
เมืองที่ต้ังอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาซ่ึงเป็นเส้นทางสู่ ตามลำดับ

ปากน้ำออกทะเล หรือจะเดินทางจากทะเลเข้ามาตาม

แม่น้ำจนถึงตัวเมืองได้ ส่วนภายในประเทศก็สามารถ
เดินทางตามแม่นำ้ ซึง่ มถี ึง ๓ สาย จะขึ้นเหนือล่องใต้
หรือนำสินค้าทางเหนือบรรทุกล่องมายังกรุงศรีอยุธยา
ก็สะดวกอย่างย่ิง นอกจากนี้ ท้ังในตัวเมืองและนอก

ตัวเมืองก็ยังมีคูคลองเช่ือมต่อถึงกันตลอดอีกเป็น
จำนวนมาก เมื่อกรุงศรีอยุธยามีการคมนาคมทางน้ำ
ซ่ึงเป็นส่ิงจำเป็นของผู้คนในครั้งน้ันครบถ้วนเช่นนี้
กรุงศรีอยุธยาจึงครองความได้เปรียบท้ังในด้าน
เกษตรกรรม ตลอดจนพาณิชยกรรมทัง้ ภายในประเทศ
และระหว่างประเทศ๓๖










คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มอื ง 23

ภาพสวนผลไมใ้ นสยามโดยนายเจน ฮเู ยน แวน ลนิ ส์โชเตน บางกอกครั้งกรงุ เกา่

(Jan Huyghen van Linscoten)
ประมาณ พ.ศ. ๒๑๓๓ - ๒๑๔๘

อา้ งถงึ ในหนงั สอื ของ นโิ กลาส์ แชรแ์ วส สำหรบั “บางกอก” ซงึ่ เปน็ ชอื่ ที่ใชเ้ รยี กบรเิ วณ
ฉบบั แปลเปน็ ภาษาองั กฤษในชอ่ื The Natural and Political ท้ังสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา คือฝั่งตะวันออก๓๗

History of the Kingdom of Siam ในส่วนท่ีเป็นฝั่งพระนครในปัจจุบัน และฝั่งตะวันตก
หรือฝ่ังธนบุรี น่าจะเป็นชุมชนที่มีผู้คนต้ังบ้านเรือน
บรรยากาศในอดตี ของคลองบางกอกใหญ่ กระจายตัวอยู่ตามแนวฝ่ังแม่น้ำเจ้าพระยามาต้ังแต่
สายนำ้ ซง่ึ มชี มุ ชนตง้ั ถน่ิ ฐานสบื เนอ่ื งกนั มา ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา เน่ืองด้วยบริเวณนี้เป็นพื้นท่ี
ตง้ั แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ราบลุ่มที่เกิดจากแม่น้ำพัดพาดินตะกอนจากท่ีต่างๆ
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ จากทางเหนือมาทับถมทุกปีในฤดูน้ำหลาก จึงมีความ
24 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การต้ังถิ่นฐาน และการทำ
เกษตรกรรม ดังปรากฏในจดหมายเหตุของเดอ ลา

ลแู บร์ ราชทูตฝร่ังเศสซึ่งเดินทางผ่านแม่น้ำเจ้าพระยา
เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา เมื่อถึง
บรเิ วณบางกอกไดบ้ นั ทกึ ไวว้ า่

“...สวนผลไมท้ เี่ มอื งบางกอกนน้ั มอี าณาบรเิ วณ
ยาวไปตามชายฝั่งแม่น้ำโดยทวนข้ึนไปสู่เมืองสยาม

ถงึ ๔ ล้ี กระท่งั จรดตลาดขวญั ทำให้เมอื งหลวงแห่งนี้
อุดมสมบูรณ์ไปด้วยผลาหาร ซ่ึงคนพ้ืนเมืองชอบ
บริโภคกันนักหนา ข้าพเจ้าหมายถึงผลไม้นานาชนิด
เปน็ อันมาก...” ๓๘

นอกจากนี้ ในจดหมายเหตฉุ บับเดยี วกัน ยังมี

ภาพเขียนรูปผลไม้และมีข้อความกล่าวถึงสวนผลไม

ของบางกอก ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พอพ้นเขตบางกอก
คือ พ้นตำบลพระประแดงขึ้นมา ก็เป็นสวนผลไม้
ตลอดทงั้ สองฝัง่ แมน่ ำ้ จนกระทงั่ ถึงตลาดขวญั นนทบุรี
และสวนผลไม้น้ีได้แผ่ออกไปทางตะวันตกถึงตำบล
บางช้าง เมืองสมุทรสงคราม พ้ืนที่สวนผลไม้ผืนใหญ่
แหง่ น้ี มคี ำคนไทยกลา่ วขานถงึ ชอ่ื เรยี กไวใ้ นสมยั หลงั วา่
“สวนใน เรยี กบางกอก สวนนอก เรยี กบางช้าง”

เนื่องด้วยลักษณะสวนส่วนใหญ่ในบริเวณ โกดงั สนิ คา้ รมิ คลองบางกอกใหญ่
บางกอก เป็นสวนแบบยกร่อง๓๙ เป็นขนัด มีร่องน้ำ (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
และลำประโดงหรือลำกระโดง อันเป็นรูปแบบการ
จัดการน้ำที่ไม่พบในภูมิภาคอ่ืนของประเทศ แต่กลับ ภาพราษฎรกำลงั เขา้ เฝา้ รอรบั เสดจ็
เป็นรูปแบบและลักษณะการทำสวนของผู้คนในมณฑล พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕
กวางตุ้ง กวางสี จึงมีการสันนิษฐานว่า ชาวสวนใน ในระหวา่ งเสดจ็ ประพาสหวั เมอื ง (ไมป่ รากฏสถานทแ่ี นช่ ดั )
บริเวณบางกอก ส่วนหน่ึงน่าจะมีความสัมพันธ์กับ
ผู้คนทางตอนใต้ของประเทศจีน ซ่ึงอาจจะเป็นการ ในสวนแบบ “ยกรอ่ ง” พรอ้ มผลไมห้ ลายชนดิ
อพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐานตามปากแม่น้ำเจ้าพระยา ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความอดุ มสมบรู ณข์ องผนื แผน่ ดนิ สยาม
แม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำท่าจีน โดยยึดพื้นท่ีตามป่า
ชายเลนที่มีป่าไม้ชายทะเลและพืชพันธุ์นานาชนิด
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
ทั้งดินโคลนตมตกตะกอนซ่ึงมีสัตว์น้ำเป็นอาหาร คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มือง 25
มากมาย เปน็ แหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ประกอบการเกษตรกรรม
และทำประมง รวมทงั้ ค้าขายกบั ผ้คู นทีอ่ ยู่ในแถบพื้นท่ี
ตอนในกับที่มาจากภายนอกทางโพ้นทะเล โดยมีการ
เรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาเกี่ยวกับการเก็บน้ำจืดไว้
อุปโภคบริโภค รวมท้ังการขุดลอกลำน้ำเพ่ือการ
คมนาคมเปน็ เวลายาวนาน๔๐

นอกจากความอุดมสมบูรณ์ของพื้นท่ีแล้ว

ความเจริญของชุมชนบางกอกส่วนหน่ึง น่าจะเป็นผล

มาจากทำเล ทตี่ ง้ั อยรู่ มิ แมน่ ำ้ เจา้ พระยา ซงึ่ เปน็ เสน้ ทาง
คมนาคมทสี่ ำคญั มาแตค่ รง้ั โบราณ ดงั ปรากฏหลกั ฐาน
ทางโบราณคดที เี่ ปน็ ศาสนสถานและศาสนวตั ถขุ นาดใหญ่
หลายแหง่ เชน่ ทว่ี ดั ประเสรฐิ สทุ ธาวาส ในเขตราษฎรบ์ รู ณะ
ปัจจบุ นั มีพระพุทธรปู สมยั อู่ทองขนาดใหญ่ มีใบเสมา
ทำด้วยหินทรายแดงที่มีอายุร่วมสมัยกับใบเสมาในยุค

อโยธยา - สพุ รรณภมู ิ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยงั พบศลิ ปวตั ถุ
กอ่ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาในบรเิ วณใกลเ้ คยี งอกี หลายแหง่ ๔๑

แผนทีแ่ สดงย่านรมิ แมน่ ำ้ (เจา้ พระยา) สายเกา่ ผา่ นบรเิ วณบางกอก กอ่ นขุดคลองลดั
(ภาพ : สจุ ิตต์ วงษ์เทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๘.)
26 คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มือง

คลองเกา่ เมอื งบางกอก



คร้ันถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา เม่ือการค้ากับ
“...ศกั ราช ๘๘๔ ปมี ะโรง จตั วาศก ครงั้ แผน่ ดนิ

ตา่ งประเทศมคี วามเจรญิ การเดนิ ทางติดตอ่ ซง่ึ ต้องใช้
สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าชเจา้ นนั้ กไ็ ดข้ ดุ คลองบางกอกใหญ

การคมนาคมทางน้ำเป็นสำคัญ นับตั้งแต่การเดินทาง
ตำบลหนึง่ ...” ๔๒

จากต่างประเทศผ่านมหาสมุทรจนมาถึงอ่าวไทยและ
โดยขดุ ลดั ตรงบรเิ วณทคี่ อดกวิ่ ตงั้ แตป่ ากคลอง
โดยเฉพาะการเดินทางจากอ่าวไทยข้ึนไปจนถึงกรุงศรี
บางกอกนอ้ ยปจั จบุ นั ไปบรรจบกบั ปากคลองบางกอกใหญ่
อยุธยา ผ่านทางแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งในครั้งน้ันนับว่า
กำหนดความกว้าง ๒๐ วา เพ่ือให้เป็นคลองลัดตรง
เป็นเส้นทางท่ีมีความคับแคบและคดโค้ง ไม่สะดวกแก่
สำหรับเป็นเส้นทางคมนาคมทางการค้าและการ
การเดินทาง เรือสินค้าไม่สามารถแล่นรวดเดียวจนถึง สงคราม ด้วยเหตุแม่น้ำเจ้าพระยาที่ไหลผ่านช่วง
กรงุ ศรอี ยุธยา จำเปน็ ตอ้ งแวะพกั จอดเรือตามจดุ ตา่ งๆ
บางกอกเดิมนั้น ไหลวกวนจากทางเหนือเข้าคลอง
ซ่ึงเป็นที่ต้ังของชุมชนริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา และ บางกอกน้อย๔๓ อ้อมผ่านวัดขี้เหล็กหรือวัดสุวรรณคีรี
บางกอกเป็นอีกหนึ่งชุมชนท่ีตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับคลองชักพระ๔๔ ซ่ึงมีคลองแยก
เจ้าพระยา เมื่อการค้าขยายตัว บางกอกจึงมีความ ออกไปอกี หลายสาย ไดแ้ ก่ คลองบางระมาด๔๕ คลอง
สำคัญเพิ่มข้ึนตามลำดับ โดยเฉพาะภายหลังการขุด บางพรม๔๖ คลองบางน้อย๔๗ คลองบางเชือกหนัง๔๘
คลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณเมืองบางกอก
คลองบางแวก๔๙แล้วเลยไปทางตลิ่งชัน บางระมาด
ในรัชกาลสมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช
แล้วเลยี้ วมาออกปากคลองบางกอกใหญ่๕๐ ในลกั ษณะ
เน่ืองด้วยแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางสาย คดเคี้ยวเหมือนรูปกระเพาะหมูหรือรูปโค้งเกือกม้า

สำคัญที่ใช้เดินทางระหว่างกรุงศรีอยุธยากับบ้านเมือง ซ่ึงถึงแม้จะใช้เป็นเส้นทางคมนาคมได้ แต่ก็ทำให

ทางตอนบนและออกสู่ทะเลอ่าวไทย ในการนี้ เพื่อให้ การเดนิ ทางลำบากล่าชา้

เรือสินค้าจากปากอ่าวไทยเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาได้ อย่างไรก็ตาม คลองลัดท่ีบางกอกมีการ
โดยสะดวกและรวดเร็ว จึงมีการขุด “คลองลัด”
สันนิษฐานกันว่า น่าจะขุดมาก่อนรัชกาลสมเด็จ

หลายสาย เพื่อช่วยย่นระยะเวลาในการเดินทางมา พระไชยราชาธิราช โดยชาวบ้านบริเวณน้ีได้ขุดคลอง
ตามแม่น้ำเจ้าพระยา นับต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระไชย สายเล็กๆ ขึ้นเพ่ือการสัญจรติดต่อระหว่างกันภายใน
ราชาธิราช ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้ขุด คลองลัดบางกอก พน้ื ที่ ตอ่ มา ทางกรงุ ศรอี ยธุ ยา จงึ ขดุ ขยายหรอื ขดุ ลอก
หรือ คลองบางกอก หรือ แควน้อย เป็นคลองลัด คลองลัดขนาดเล็กนี้ให้ลึกและกว้าง ตามที่สมเด็จ
คลองแรก เม่ือ พ.ศ. ๒๐๖๕ ตามความในพระราช พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์
พงศาวดาร ฉบบั สมเดจ็ พระพนรัตน์ บันทึกไวว้ ่า
ทรงกล่าวถงึ การขดุ คลองลัดบางกอกว่า





คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มือง 27

แผนท่แี สดงยา่ นรมิ แมน่ ้ำ (เจา้ พระยา) สายเกา่ ที่เมืองบางกอก หลงั ขดุ คลองลดั
(ภาพ : สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน. กรุงเทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๘.)
28 คลองเก่าเล่าประวัตเิ มอื ง

“...การขุดลัดคร้ังแผ่นดินสมเด็จพระชัย นอกจากน้ี การเดินทางติดต่อระหว่างกรุงศร

ราชาธริ าช เหน็ จะไมไ่ ดข้ ดุ แผน่ ดนิ ดอน คงจะมคี ลองลดั อยุธยากับต่างประเทศจำเป็นต้องใช้การคมนาคม

เลก็ ๆ ซง่ึ เขาเดนิ เรอื กนั อยแู่ ลว้ เปน็ สงิ่ นำทาง ขดุ ซำ้ รอย
ทางน้ำเป็นสำคัญ โดยการเดินทางด้วยเรือจาก

ให้เป็นคลองกว้างขวาง...” ๕๑
ต่างประเทศไม่ว่าจะเป็นจากยุโรปหรือจีนมาจนถึง

การขุดขยายคลองเดิมจนเป็นคลองลัด กรุงศรีอยุธยา หลังจากเดินทางมาจนถึงอ่าวไทยแล้ว
บางกอกท่ีกว้างและลึกในสมัยสมเด็จพระไชย ต้องเดินเรือมาตามแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งใช้เวลานาน
ราชาธิราช ทำให้กระแสน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาไหล และมีความยากลำบาก ด้วยเป็นเส้นทางที่แคบและ
พุ่งตรงมายังคลองลัดบางกอกจนขยายตล่ิงกว้างออก แม่น้ำมีความคดโค้ง ไม่สะดวกแก่การเดินทาง ทำให้
เป็นแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยา เรือสินค้าไม่สามารถเดินทางรวดเดียวได้จนถึงกรุงศร

สายเดิมแคบลงและต้ืนเขิน เปลี่ยนสภาพเป็นคลอง อยุธยา จึงจำเป็นต้องหยุดพักเรือตามชุมชนท่ีต้ังอยู่
บางกอกใหญ่หรือ คลองบางข้าหลวง หรือ คลอง
ริมแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นระยะๆ ชุมชนบางกอก ซึ่งตั้ง
บางหลวง๕๒ คลองบางระมาดตล่ิงชัน๕๓ และคลอง อยู่ในช่วงท่ีแม่น้ำเจ้าพระยามีความคดเค้ียว เป็นที่พัก
บางกอกน้อย
เรือสินค้าท่ีสำคัญแห่งหนึ่ง ในท่ีสุดชุมชนบางกอก

คลองบางกอกใหญ่ ซึ่งเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา จงึ ทวีความสำคญั มากขึ้นโดยลำดับ

สายเดมิ นี้ เปน็ เสน้ ทางคมนาคมทเี่ ชอื่ มตอ่ กบั คเู มอื งเดมิ อย่างไรก็ตาม ภายหลังการขุดคลองลัด
ในสมัยธนบุรีและคลองอื่นๆ อีกหลายสาย ได้แก่ บางกอกแล้ว ไดม้ ีการเคลือ่ นยา้ ยศนู ย์กลางของชมุ ชน
คลองบ้านสมเด็จ๕๔ คลองบางไส้ไก่๕๕ คลองสำเหร่๕๖ บางกอก ที่แต่เดิมต้ังอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่

คลองบางสะแก๕๗ และคลองด่าน๕๘
ในบริเวณวัดศาลาส่ีหน้าหรือวัดคูหาสวรรค์ในปัจจุบัน
ก่อนท่ีจะมีการขุดคลองลัดบางกอกนั้น พ้ืนท่ี ออกมาอาศัยอยู่ยังริมคลองลัดบางกอก ต้ังแต่บริเวณ
ฝั่งกรุงเทพมหานครและฝั่งธนบุรีในปัจจุบันยังคงเป็น
วัดแจ้งหรือวัดอรุณราชวรารามเรื่อยมาจนถึงวัดระฆัง
แผ่นดินเดียวกัน และเป็นบริเวณที่ลำน้ำของแม่น้ำ
โฆษิตารามในปัจจุบัน และยังมีการต้ังหลักแหล่ง

เจา้ พระยาไหลคดเป็นรูปเกือกม้า ทำให้ฟากหน่ึงของ
ข้ามฟากไปยังฝ่ังตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา๕๙

แม่น้ำท่ีคดโค้ง กลายเป็นพ้ืนท่ีดอนโดยเกิดจาก ดังปรากฏว่ามีวัดสลักหรือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิ
ตะกอนจากที่ต่างๆ ที่กระแสน้ำพัดพามาทับถมทุกปี และวัดโพธารามหรือวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ในฤดูน้ำหลาก ทำให้พ้ืนท่ีดังกล่าวเหมาะแก่การตั้ง ซ่ึงเป็นวัดท่ีสร้างมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา จนบางกอก
ถ่ินฐานบ้านเรือนและทำการเพาะปลูกและกลายมา เริ่มมีความสำคัญ เน่ืองจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ท่ีมี
เปน็ ย่านชุมชนท่เี รียกวา่ ชมุ ชนบางกอก ในท่สี ดุ
โครงข่ายลำน้ำเป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญ สามารถ

คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง 29

ป้อมเมอื งธนบุรี ริมแมน่ ้ำเจ้าพระยาทบ่ี างกอก เดินทางติดต่อได้ท้ังหัวเมืองภายในและภายนอก

เมอื่ พ.ศ. ๒๒๓๑ หรือราวรชั กาลสมเดจ็ พระเพทราชา ราชอาณาจักร บางกอกจึงเป็นจุดพักสินค้าท่ีดีที่สุด
มองซิเออร์วอลลนั ด์ เดสเ์ กนส์ นายทหารฝร่ังเศส หลังจากรอนแรมผ่านมหาสมุทร และก่อนออก

ทรี่ ักษาป้อมคราวนัน้ ไดท้ ำไว้ เดินทางผ่านลำน้ำที่คดเค้ียวมุ่งสู่กรุงศรีอยุธยา

(ภาพ : สำนักผงั เมือง กรุงเทพมหานคร. ๒๒๕ ปี ใน พ.ศ. ๒๑๐๐ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึง

กรงุ รัตนโกสนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรินทรพ์ ร้นิ ตงิ้ โปรดเกลา้ ฯ ให้ตงั้ บางกอกเปน็ เมอื งหนา้ ด่าน เรียกวา่
แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๒.) “เมืองฑณบุรีศรีมหาสมุทร” และตั้งด่านภาษีแห่งแรก
30 คลองเก่าเล่าประวตั เิ มือง ก่อนที่เรือสินค้าจะผ่านเข้า - ออก เรียกว่า “ขนอน
บางกอก”

นอกจากบางกอกจะเป็นด่านภาษีแล้ว
บางกอกยังทำหน้าท่ีเป็นสถานท่ีออกใบพระราชทาน
การเดินทางให้แก่เรือสินค้าท่ีจะเข้ามาทำการค้าขาย
กับกรุงศรีอยุธยาและยังเป็นจุดที่ชาวต่างชาติที่

เดินทางด้วยเรือขนาดเล็ก เข้ามาติดต่อราชการและ
เร่ืองการค้าก่อนเดินทางไปยังกรุงศรีอยุธยาอย่างเป็น
ทางการอีกคร้ัง ดังนั้น บางกอกจึงเป็นบริเวณสำคัญ
ซ่ึงกรุงศรีอยุธยาใช้เป็นจุดผ่านทางของเรือต่างชาติ
ก่อนที่จะเดินทางไปยังราชธาน๖ี ๐

เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร นอกจากจะเป็น

ด่านภาษีแล้ว ยังเป็นเมืองท่ีมีความสำคัญทาง
ยุทธศาสตร์ เห็นได้จากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราชที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมปราการทั้งสอง
ฟากแม่น้ำตรงปากคลองบางกอกใหญ่ พระราชทาน
นามว่า “ป้อมวิไชเยนทร์” (ต่อมาเปล่ียนชื่อเป็นป้อม
วิชัยประสิทธ์ิ) ส่วนอีกป้อมหน่ึงซึ่งต้ังอยู่ตรงบริเวณ
ปากคลองโอ่งอ่างหรือคลองรอบกรุงด้านเหนือใน
ปัจจุบนั นั้น ไมป่ รากฏนาม โดยระหวา่ งป้อมทั้งสองฝ่งั
มีโซ่ใหญ่ขึงขวางแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อป้องกันศัตรู
ทางทะเล

ตอ่ มา เมอื่ การคา้ สำเภากบั ตา่ งประเทศมคี วาม แผนผังเมืองบางกอก ในจดหมายเหตุของเดอ ลา ลูแบร์
รุ่งเรืองมากข้ึน แต่บริเวณเหนือเมืองบางกอกขึ้นไป (ภาพ : สำนกั ฝ่งั เมอื ง กรงุ เทพมหานคร.
แม่น้ำเจ้าพระยายังมีความคดเค้ียวอยู่หลายแห่ง ๒๒๕ ปี กรุงรตั นโกสนิ ทร์.
เนื่องจากสภาพพื้นท่ีราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง กรุงเทพฯ : บรษิ ัท อมรนิ ทรพ์ ริ้นติ้ง
มีความลาดชันน้อยมากจนเกือบจะแบนราบ ทำให้ แอนด์พับลิชช่งิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๒.)
กระแสน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาไหลไม่แรงพอที่จะ
คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง 31
กัดเซาะพื้นดินให้เป็นแนวตรงได้ กระแสน้ำจึงไหล

คดเคี้ยวมาก เกิดเป็นตะกอน กลายเป็นเกาะกลางน้ำ
หรอื สนั ดอนขนึ้ และถงึ แมจ้ ะใชเ้ ปน็ เสน้ ทางคมนาคมได้
แต่ก็ทำให้การเดินทางลำบากล่าช้า พระมหากษัตริย์
แห่งกรุงศรีอยุธยาอีกหลายพระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้
ขุดคลองลัดข้ึนอีกหลายช่วงในลักษณะเดียวกับ

คลองลดั ทีเ่ มอื งบางกอก ได้แก่

คลองลัดบางกรวย (คลองลัดนาคกรวย) เป็น

คลองลัดที่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิโปรดเกล้าฯ ให้
ขุดข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๐๘๑ โดยขุดลัดตั้งแต่วัดชลอ

รมิ แมน่ ำ้ ออ้ ม อำเภอบางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี มาทะลุ
วัดสุวรรณคีรีหรือวัดข้ีเหล็ก ริมคลองบางกอกน้อย

เขตตลง่ิ ชนั กรุงเทพมหานครในปจั จบุ นั

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
ได้ทำการตรวจสอบแผนที่ ได้ความว่า “...คลองที่
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิขุดลัดที่บางกรวย แต่วัด
ชะลอมาทะลุริมวัดขี้เหล็ก ท่ีเรียกว่าคลองลัดน้ัน

ลำแม่น้ำยังเดินทางแม่น้ำอ้อมวัดข้ีเหล็กอยู่ในคลอง
บางกอกน้อย ตรงปากคลองบางระมาดตลิ่งชันซ่ึงเป็น
แมน่ ำ้ เกา่ คลองแตว่ ดั ขเี้ หลก็ ไปจนวดั ชะลอ ซงึ่ ยงั อยใู่ น
แม่น้ำอ้อมจนทุกวันนี้ คือท่ีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ขุดเป็นทางลัดเพราะตรงมาบางระมาดตล่ิงชันได้ทางน้ี
ไม่ตอ้ งออ้ มบางกรวยมาสามเสน...” ๖๑

แผนทแ่ี ม่นำ้ เจา้ พระยาปจั จุบัน แสดงบรเิ วณขดุ คลองลดั สายต่างๆ
(ภาพ : สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ [บรรณาธกิ าร]. กำสรวลสมุทรหรือกำสรวลศรปี ราชญ์
เป็นพระราชนพิ นธย์ คุ ตน้ กรงุ ศรอี ยุธยา. กรงุ เทพฯ : มติชน, ๒๕๔๙.)
32 คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง

คลองลัดเกร็ดใหญ่ หรือคลองเกร็ดใหญ่
คลองลัดโพธ์ิ ขุดข้ึนในสมัยสมเด็จพระเจ้า

เปน็ คลองลัดท่สี มเด็จพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าฯ ให้ อยู่หัวท้ายสระ โดยโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองนี้ตรง
ขุดข้ึน เมอ่ื พ.ศ. ๒๑๕๑ ตั้งแตท่ า้ ยสามโคกลงมาถึง บริเวณคอคอดที่แม่น้ำเจ้าพระยาโค้งเข้าหากันในเขต
ใตเ้ มอื งปทมุ ธานี เมอ่ื ขดุ แลว้ คลองสายน้ีไดก้ ลายเปน็ พ้ืนที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

แม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน ส่วนแม่น้ำสายเดิมน้ัน
ในปัจจุบัน เดิมคลองสายนี้มีความยาวราว ๒๕ เส้น
ต้ืนเขินและแคบลงเป็นคลองบ้านพร้าว๖๒เชื่อมต่อกับ หรือประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร ต่อมา เมื่อถึงสมัย

คลองบางหลวงเชียงราก๖๓ อยู่ในเขตจงั หวัดปทุมธานี
กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
คลองลัดเมืองนนท์ เป็นคลองลัดท่ีสมเด็จ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลท่ี ๑ มพี ระราชดำรวิ า่ คลองลดั
พระเจา้ ปราสาททองโปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ุดขนึ้ เม่อื พ.ศ. อาจทำให้น้ำเค็มจากปากแม่น้ำเจ้าพระยาไหลมาถึง
๒๑๗๙ โดยขุดลัดต้ังแต่ปากคลองแม่น้ำอ้อมมาถึงวัด กรุงเทพมหานครได้เร็วข้ึน และกระแสน้ำอาจทำให้
เขมาภิรตาราม ปัจจบุ ันคลองลัดสายนก้ี ลายเป็นแมน่ ้ำ คลองลัดกลายเป็นแม่น้ำสายใหญ่ได้ในภายหลัง
เจ้าพระยา ตอนที่ไหลผ่านหน้าศาลากลางจังหวัด เน่ืองจากการกัดเซาะอย่างรวดเร็ว จึงโปรดเกล้าฯ ให้
นนทบรุ หี ลงั เดมิ สว่ นแมน่ ำ้ เดมิ แคบลง กลายเปน็ คลอง ทำทำนบกั้นปากคลองและถมคลองให้แคบลง แต่ถึง
ท่ีเรียกกันว่า คลองแม่น้ำอ้อม หรือ คลองอ้อมนนท์ กระนั้น กระแสน้ำก็ยังกัดเซาะตล่ิงบริเวณปากคลอง
เช่ือมต่อกบั คลองบางกอกนอ้ ยและคลองบางกรวย
ลกึ เขา้ ไป จนความยาวของคลองเหลอื เพยี ง ๖๐๐ เมตร

คลองลัดเกร็ดน้อย (คลองลัดเตร็ดน้อย) เป็น
ปจั จบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ
คลองลัดท่ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระโปรดเกล้าฯ ให้สร้างประตูน้ำถาวร ก้ันบริเวณปากคลองทางด้าน
ให้ขุดข้ึน เม่ือ พ.ศ. ๒๒๖๕ โดยขุดลัดแม่น้ำ ทิศเหนือ และบุคอนกรีตตามแนวตลิ่งริมสองฝั่งคลอง
เจา้ พระยาระหวา่ งวดั ปรมยั ยกิ าวาสกบั บา้ นวดั กลางเกรด็ โดยจะเปดิ ประตนู ำ้ กต็ อ่ เมอื่ ตอ้ งการใหม้ กี ารระบายนำ้
อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบรุ ี ในปัจจบุ ันเรยี กชอ่ื ว่า ในแม่น้ำเจ้าพระยา เวลาน้ำหลาก ออกสู่บริเวณปาก
แม่นำ้ ลัดเกร็ด
แม่น้ำเจ้าพระยาได้รวดเร็วข้ึน เรียกโครงการนี้ว่า

“โครงการคลองลดั โพธอ์ิ ันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ”














คลองเก่าเล่าประวตั เิ มือง 33

คลองสนามชัยหรอื คลองมหาชยั นอกจากคลองลดั ในแมน่ ำ้ เจา้ พระยาแลว้ ยงั มี
ชว่ งท่ีไหลผา่ นบรเิ วณท่าฉลอม จังหวัดสมทุ รสาคร “คลองเชื่อมแม่น้ำ” ซึ่งเป็นคลองที่ขุดขึ้นเชื่อมต่อ
บรรยากาศบรเิ วณตลาดน้ำคลองดา่ นในอดีต ระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำสายอื่น โดยเฉพาะ
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ) แมน่ ำ้ ทอ่ี ยทู่ างทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ อนั ไดแ้ ก่ แมน่ ำ้ ทา่ จนี
และแม่น้ำซึ่งทอดตัวอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ คือ
แมน่ ำ้ บางปะกง

บางกอกเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา มีคลองเช่ือม

แม่น้ำสายสำคัญ คือ คลองสนามชัย หรือ คลอง
มหาชัย หรือ คลองมหาไชยชลมารค หรือ คลอง
พระพุทธเจ้าหลวง เป็นคลองท่ีเช่ือมต่อกับคลองด่าน
บริเวณแยกคลองบางขุนเทียน๖๔ ในเขตจอมทอง
ปัจจุบัน แล้วไปออกแม่น้ำท่าจีนที่อำเภอเมืองสมุทร

สาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร

คลองสนามชัย เป็นคลองท่ีขุดขึ้นในสมัย

สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๘ หรือสมเด็จพระเจ้าเสือ

แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยเป็นการขุดซ่อมคลองโคกขาม
ซง่ึ มพี ระราชดำรวิ า่ มคี วามคดเคยี้ วอยา่ งมาก คนทงั้ ปวง
จะเดินเรือเข้าออกก็ยาก ต้องอ้อมวงไปไกลกันดารนัก
ควรจะให้ขุดลัดตัดเสียให้ตรงจึงจะชอบ จึงมีพระบรม
ราชโองการตรัสสั่งให้สมุหนายกกะเกณฑ์เลกหัวเมือง

นนทบุรี เมืองธนบุรี เมืองนครชัยศรี เมืองสาครบุรี
เมืองเพชรบุรี เมืองราชบุรี และเมืองสมุทรปราการ
ได้พลเมอื งทัง้ ปวง ๓๐,๐๐๐ เศษ และโปรดเกล้าฯ ให้

34 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง

พระราชสงครามผู้เป็นนายกองไปขุดคลองโคกขาม
โดยลึก ๖ ศอก ปากคลองกวา้ ง ๘ วา พ้ืนคลองกว้าง
๕ วา ใหร้ งั วดั ไดท้ างไกล ๓๔๐ เสน้ และใหฝ้ รงั่ สอ่ งกลอ้ ง
ตัดทางให้ตรงแล้ว จึงให้ปักกรุยแบ่งปันหน้าท่ีกันขุด
ตามหมวดตามกอง และปนั หนา้ ทใ่ี หข้ ดุ คนหนงึ่ โดยยาว
คบื หนงึ่ กวา้ งลกึ นน้ั โดยขนาดคลอง แตย่ งั ไมแ่ ลว้ เสรจ็
สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ ๘ กเ็ สดจ็ สวรรคต

ตอ่ มา สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ ๙ หรือสมเดจ็ คลองด่านชว่ งทเ่ี ชื่อมกับคลองภาษเี จริญในปจั จบุ ัน

พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระได้โปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์คนจาก ปัจจุบัน คลองสนามชัย เป็นแหล่งท่องเท่ียว

หัวเมืองฝ่ายใต้๖๕ มาขุดต่อ ใช้เวลาขุดสองเดือน
ท่ีสำคัญแห่งหน่ึงของกรุงเทพมหานครและจังหวัด

จงึ แล้วเสร็จ
สมทุ รสาคร โดยชว่ งแรกของลำคลองสายน้ี นยิ มเรยี กวา่
การขุดคลองสนามชัยช่วยให้เรือบรรทุกสินค้า
คลองดา่ น ชว่ งกลาง เรยี กวา่ คลองสนามชัย และชว่ ง
ข้ึน - ล่องระหว่างกรุงศรีอยุธยากับหัวเมืองชายทะเล
สุดท้าย เรียกว่า คลองมหาชัย แต่ในแผนท่ีกรุงเทพ

เป็นไปได้โดยงา่ ย ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การคา้ ภายใน มหานคร พ.ศ. ๒๔๔๔ เรียกเปน็ ๒ ชว่ ง คือ เรียกวา่
และการติดต่อกับหัวเมืองชายทะเล และการขุดคลอง
คลองด่าน ในชว่ งแรก และ คลองมหาชัย ในชว่ งหลัง
สนามชยั เชอื่ มกบั แมน่ ำ้ ทา่ จนี ยงั ทำใหก้ ารเดนิ ทางออก ส่วนชาวบ้านโดยท่ัวไปน้ัน มักเรียกชื่อตามพื้นที

ทะเลในสมัยหลัง ขยายไปถึงบริเวณปากแม่น้ำท่าจีน ท่ีคลองไหลผ่าน เช่น เรียกว่า คลองบางขุนเทียน

ส่งผลให้หัวเมืองสำคัญรอบปากอ่าวไทยที่เรียกว่า ในช่วงที่ผ่านบางขุนเทียน เรียกว่า คลองแสมดำ

“เมืองปากใต้” อันได้แก่ เมืองนนทบุรี ธนบุรี ในชว่ งทผี่ า่ นตำบลแสมดำ สำหรับประชาชนในจงั หวดั
นครชัยศรี สาครบุรี เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสาคร นิยมเรียกคลองนี้ว่า คลองมหาชัย และ

และสมุทรปราการ ไดร้ ับประโยชนจ์ ากคลองสายนี้ดว้ ย
ในฝงั่ ธนบรุ ี เรยี กวา่ คลองสนามชยั แตใ่ นเขตจอมทอง
เรียกชื่อคลองนท้ี ้ังคลองสนามชยั และคลองด่าน


คลองเก่าเลา่ ประวัติเมอื ง 35

ประตูระบายน้ำในระบบแก้มลงิ ของโครงการแก้มลงิ คลองมหาชยั - คลองสนามชยั อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ
36 คลองเกา่ เลา่ ประวตั ิเมือง

โครงการแก้มลงิ คลองมหาชัย - คลองสนามชยั

อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ




พนื้ ทรี่ มิ คลองสนามชยั ในตำบลโคกขาม อำเภอเมอื งสมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสาครในปจั จบุ นั เปน็ ทต่ี งั้ ของ
“โครงการแก้มลิงคลองมหาชัย - คลองสนามชัย อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ” เพ่ือทำหน้าท่ีรับน้ำในพ้ืนท
่ี
ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผ่านพ้ืนที่บางส่วนของกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรสาครตอนบนไปลงคลอง
สนามชยั และแมน่ ้ำทา่ จนี เพอ่ื ระบายออกสูท่ ะเลด้านจงั หวดั สมุทรสาคร

เนอ่ื งจากระบบการปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มในพน้ื ทฝ่ี ง่ั ตะวนั ตกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยายงั ไมส่ มบรู ณ์ โดยเฉพาะคนั กน้ั นำ้
ขนานกับชายทะเล และคลองต่างๆ ท่ีมีทางน้ำไหลเชื่อมต่อกับชายทะเลก็ยังไม่มีระบบควบคุมเพียงพอ ดังน้ัน

เมื่อน้ำทะเลมีระดับสูงข้ึน จึงหนุนไม่ให้น้ำจืดไหลออกทะเล หรือไหลออกทะเลได้ช้ามาก ก่อให้เกิดภาวะน้ำท่วม
รุนแรงและท่วมขังนานวัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริ เพื่อให้การระบายน้ำท่วม

ออกทะเลเร็วขนึ้ ดว้ ยวิธีการของระบบ “แกม้ ลิง”

“โครงการแก้มลิงคลองมหาชัย - คลองสนามชัย อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ” ประกอบด้วยการก่อสร้าง
ประตูระบายน้ำพร้อมด้วยสถานีสูบน้ำขนาดใหญ่ ปิดกั้นแม่น้ำท่าจีนที่เหนือบริเวณท่ีต้ังจังหวัดสมุทรสาครข้ึนไป

ตามความเหมาะสม ซ่ึงในฤดูน้ำหลาก ประตูระบายน้ำน้ีจะทำหน้าท่ีบังคับควบคุมน้ำในแม่น้ำท่าจีน โดยเปิด

ระบายน้ำจำนวนมากให้ไหลลงสู่อ่าวไทย ด้วยแรงโน้มถ่วงของโลกเม่ือน้ำทะเลมีระดับต่ำ ส่วนช่วงเวลาท่ีน้ำทะเล

มรี ะดับสงู ประตูระบายนำ้ น้ีจะทำหนา้ ทีบ่ งั คบั นำ้ ภายนอกทีม่ ีระดบั สูงไม่ให้ไหลรกุ ล้ำเข้าไปเหมือนแต่ก่อนและพร้อม
กันน้ันเม่ือน้ำจำนวนมากยังคงไหลมาตลอดเวลา จะให้สูบน้ำลงแม่น้ำหรือผันออกไปตามทางน้ำด้านฝั่งซ้ายหรือ

ฝ่ังขวาออกสู่อ่าวไทยตามความเหมาะสม การปฏิบัติเช่นนี้จะทำให้แม่น้ำท่าจีนด้านเหนือประตูระบายน้ำระยะทาง
หลายสิบกิโลเมตรมีระดับต่ำกว่าตล่ิงตลอดเวลา ซึ่งจะทำหน้าที่เป็น “แก้มลิง” สามารถรองรับน้ำท่วมพ้ืนที่สองฝั่ง
แมน่ ้ำท่าจนี ตอนล่างที่จะระบายลงมา แลว้ ระบายออกส่อู ่าวไทยตอ่ ไปได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ




คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มือง 37

บรรยากาศบา้ นเรอื นริมน้ำ นอกจากน้ี ยงั มคี ลองเชอื่ มแมน่ ำ้ ซงึ่ สนั นษิ ฐาน
และการใช้เรอื เปน็ ยานพาหนะของชาวชุมชน ว่ามีมาต้ังแต่ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏ
ริมคลองสำโรง ราว พ.ศ. ๒๔๙๑ หลกั ฐานวา่ ขดุ ขนึ้ คราวใด ไดแ้ ก่ คลองสำโรง ซง่ึ เชอื่ ม
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) ต่อกบั คลองหวั จระเข๖้ ๖ และ คลองทบั นาง๖๗

38 คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มอื ง คลองสำโรง มีประวัติแต่เพียงว่าสมเด็จ

พระรามาธบิ ดีที่ ๒ แห่งกรงุ ศรีอยธุ ยา โปรดเกล้าฯ ให้
ขุดซ่อมใหก้ วา้ งข้ึน เม่อื พ.ศ. ๒๐๔๑ เพ่อื ใหเ้ รอื ใหญ่
เดินทางไปมาระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำ
บางปะกงได้อย่างสะดวก โดยเฉพาะเพื่อเป็นเส้นทาง
ลำเลยี งสนิ คา้ จากชมุ ชนบางปลาสรอ้ ยซงึ่ เปน็ ชมุ ชนใหญ่
ตดิ ชายทะเลอยใู่ นเขตจงั หวดั ชลบรุ ใี นปจั จบุ นั เขา้ มายงั
กรุงศรีอยุธยา๖๘ เนื่องจากทั้งสองคลองท่ีขุดไว้แต่เดิม
ตื้นเขิน โดยคลองสำโรงขุดแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยา

ทตี่ ำบลสำโรงกลาง อำเภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ ร

ปราการในปจั จบุ นั ไปเชอื่ มกบั แมน่ ำ้ บางปะกงทางฝงั่ ขวา
ในตำบลทา่ สะอา้ น อำเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
ส่วนคลองทับนาง เชื่อมต่อคลองสำโรงระหว่างแม่น้ำ
เจ้าพระยากับแม่น้ำบางเห้ีย๖๙ ไหลลงทางใต้ไปออก
ทะเลทอี่ า่ วไทยทตี่ ำบลบางปู อำเภอเมอื งสมทุ รปราการ
จงั หวัดสมทุ รปราการ

การขุดซ่อมคลองสำโรงและคลองทับนาง

คร้ังน้ัน ตรงที่คลองท้ังสองบรรจบกัน ได้พบเทวรูป

สัมฤทธ์ิมีอักษรจารึกว่า “พระยาแสนตา” องค์หนึ่ง
และ “บาทสงั กร” องค์หนึ่ง สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี ๒
จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างศาลประดิษฐานเทวรูปท่ีขุดได้
แล้วประกอบพิธีบวงสรวงพลีกรรม ณ บริเวณท่ีพบ
เทวรูปน้ัน ซงึ่ ต่อมาเรียกว่า “บางพล”ี

ต่อมาในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา

แห่งกรุงศรอี ยธุ ยา ใน พ.ศ. ๒๐๒๑ เมอ่ื พระยาละแวก
ยกทพั เขา้ มากรงุ ศรอี ยธุ ยา ไดน้ ำเทวรปู ทง้ั สองนไี้ ปดว้ ย

ปจั จบุ นั ศาลเทพารกั ษห์ รอื ทเ่ี รยี กวา่ ศาลเจา้ พอ่
พระประแดง อยู่ริมคลองพระโขนง และเพ่ือเป็น
อนุสรณ์ถึงการพบเทวรูปเทพารักษ์ท้ังสององค์น้ ี

ตรงพืน้ ที่ถนนสายสำโรง - บางพลีผา่ น จึงใหช้ อื่ ถนน
สายนวี้ า่ ถนนเทพารักษ์๗๐

เมอื่ ครงั้ ทพ่ี ระสนุ ทรโวหารหรอื ทร่ี จู้ กั กนั ในนาม
สุนทรภู่ เดินทางไปยังเมืองแกลง ในช่วง พ.ศ.
๒๓๕๒ ไดพ้ รรณนาสภาพภูมทิ ัศน์ ตลอดจนบา้ นเรอื น
และชุมชนสองฝ่ังคลองสำโรงไว้ใน นิราศเมืองแกลง
อย่างน่าสนใจ เช่น บริเวณที่เป็นตำบลทับนางน้ัน
เป็นชุมชนเกษตรกรรมปลูกขา้ ว บางพลีเปน็ ชุมชนที่มี
การค้าคึกคักเตม็ ไปดว้ ยเรือและแพ ส่วนบางปะกงเปน็
ชุมชนชาวจีน และท่ีปากคลองสำโรงเช่ือมกับแม่น้ำ การทำสวนแบบ “ยกร่อง” ของเกษตรกรริมคลองสำโรง
บางปะกง มีการผลิตปลาแห้งเป็นสำคัญ ดังความ
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)

ตอนหนึง่ ว่า

“ถึงบางพลีมีเรือนอารามพระ
กล่าวโดยสรุป คลองส่วนใหญ่ท่ีขุดข้ึนใน
ดรู ะกะดาษทางไปกลางทุ่ง
บริเวณบางกอกและหัวเมืองใกล้เคียงเมื่อคร้ังกรุงศรี

เปนเลนลุ่มลึกเหลวเพยี งเอวพุง
อยุธยา ท้ังประเภทคลองลัดและคลองเชื่อมแม่น้ำน้ัน
ต้องลากจงู จา้ งควายอยู่รายเรียง
เป็นคลองท่ีอำนวยประโยชน์ในด้านการคมนาคมและ
ดเู รอื แพแออัดอยยู่ ดั เยียด
เศรษฐกจิ ชว่ ยยน่ ระยะทางสว่ นทค่ี ดเคยี้ วใหต้ รง เพอื่ ให้
เข้าเบียดเสียดแทรกกนั สน่ันเสียง
เรอื สญั จรไดส้ ะดวก ทำใหก้ ารดำเนนิ การคา้ สะดวกและ
แจวตะกดู เกะกะปะกระเชยี ง
รวดเรว็ ยงิ่ ข้ึน

บ้างทมุ่ เถยี งโดนดุนกนั วนุ่ วาย” ๗๑




คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มือง 39

ภาพถ่ายทางอากาศ เมืองธนบุรี บางกอกสมยั กรุงธนบรุ ี

บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่
ใกลป้ ้อมวไิ ชยประสิทธิ์ในปจั จุบัน

(ภาพ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร. เม่ือสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือสมเด็จ
สมดุ ภาพแหง่ กรงุ เทพมหานคร ๒๒๒ ป.ี พระเจ้าตากสินมหาราชทรงรวบรวมกำลังกอบกู้
กรงุ เทพฯ : บริษัท อมรินทรพ์ ร้นิ ติ้งแอนด์ อสิ รภาพไดส้ ำเรจ็ ทรงเลง็ เหน็ วา่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาซงึ่ เปน็
พับลชิ ชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๗.) อดีตราชธานีได้รับความเสียหายเกินกว่าที่จะบูรณะ

40 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง ให้ดีได้ดังเดิม จึงทรงเลือกเมืองธนบุรีหรือเมือง
บางกอกเป็นราชธานแี ห่งใหม่

การตั้งเมืองธนบุรีเป็นราชธานี นอกจากเป็น

พระราชดำริของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชท
่ี
ทรงเห็นว่า กรุงศรีอยุธยาเสียหายอย่างหนักจนยาก

ที่จะปฏสิ งั ขรณ์ใหก้ ลบั คืนมาได้แล้ว เมอื งธนบรุ ยี งั เปน็
เมืองหน้าด่านสำคัญใกล้ทะเล มีป้อมปราการเป็น
ชัยภูมิอย่างดี เป็นเมืองที่มีขนาดเล็กเหมาะกับกำลัง
ไพรพ่ ลและราษฎรในขณะนน้ั ทงั้ บรเิ วณเมอื งธนบรุ ยี งั เปน็
ท่ีราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มีลำคลองน้อยใหญ่
หลายสาย ในฤดูน้ำหลาก น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและ
ในลำคลอง จะเอ่อท่วมเข้าไปในเรือกสวนไร่นาซ่ึงจะ
พัดพาตะกอนและโคลนตมมาทับถมอยู่เสมอ ทำให้
พนื้ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก

นอกจากนี้ เมืองธนบุรียังเป็นที่ดอนมากกว่า

ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝ่ังพระนคร

ในปัจจุบัน จึงเหมาะแก่การเกษตรกรรม ดังจะเห็นว่า
เมืองธนบุรีมีสวนผลไม้ที่มีช่ือเสียงมาตั้งแต่สมัย

กรงุ ศรอี ยธุ ยา เชน่ สวนลน้ิ จี่ อยรู่ ะหวา่ งวดั บางหวา้ นอ้ ย
หรอื วดั อมรนิ ทรารามในปจั จบุ นั สวนมงั คดุ อยรู่ ะหวา่ ง
บ้านปูนกับวัดบางหว้าใหญ่หรือวัดระฆังโฆษิตาราม

ในปัจจุบัน สวนนอก อยู่นอกกำแพงเมืองธนบุรี

ริมคลองบางกอกใหญ่ หลังวัดบางยี่เรอื ๗๒ เปน็ ตน้

ส่วนทางฝ่ังพระนครน้ัน เป็นท่ีลุ่มน้ำท่วมง่าย การต้ังเมืองธนบุรีในคร้ังนั้น เป็นการขยาย
จึงเหมาะแก่การทำนา ดังจะเห็นว่าทางฝ่ังพระนคร ชุมชนเมืองบางกอกท่ีมีอยู่เดิมในพ้ืนท่ีฝ่ังตะวันตกของ
มีชอ่ื เรียก “ท่งุ ” นำหนา้ หลายแห่ง เชน่ ท่งุ ววั ลำพอง แม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเป็นบริเวณที่มีประชากรอาศัย

ทุ่งพญาไท ทุ่งมหาเมฆ ทุ่งบางกะปิ ทุ่งส้มป่อย
อยู่อย่างหนาแน่น เน่ืองจากมีคลองสำคัญหลายสาย
ซึ่งนอกจากจะเป็นท่ีลุ่มแล้ว ยังมีบึงบ่ออยู่หลายตำบล
กระจายอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น คลองมอญ๗๔
เชน่ บรเิ วณทสี่ รา้ งพระวหิ ารหลวงวดั สทุ ศั นเทพวราราม คลองสาน๗๕ คลองต้นไทร๗๖ คลองบางลำภูล่าง๗๗

เคยเป็นบึงใหญ่มาก่อน เรียกว่า “บึงบอนหลวง”
คลองบางย่ขี ัน๗๘ เปน็ ตน้ และโดยเฉพาะคลองทเ่ี ช่ือม
เมอ่ื ครงั้ รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก กับแม่น้ำเจ้าพระยาอย่างคลองบางกอกน้อยและคลอง
มหาราช ต้องเกณฑ์คนขุดดินมาถม และอีกแห่งหนึ่ง บางกอกใหญ่ เป็นเส้นทางสัญจรสำคัญระหว่างชุมชน
บริเวณในวัดและหน้าวัดโพธารามหรือวัดพระเชตุพน ในบริเวณดงั กลา่ วและกับพ้ืนทห่ี า่ งไกลในด้านตะวนั ตก
วิมลมังคลารามในปัจจุบัน ดังปรากฏในพระราช ของเมืองธนบรุ ี และนอกเหนอื จากคลองต่างๆ เหล่านี้
วิจารณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีคลองย่อยที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกันอีกหลายสาย
รัชกาลที่ ๕ เร่ืองจดหมายความทรงจำของพระเจ้า โดยลกั ษณะของคลองเมอื งธนบรุ ฝี งั่ ตะวนั ตก มคี วามยาว
ไปยกิ าเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี ตอนหนึ่งว่า
เฉลี่ยประมาณ ๒ - ๘ กิโลเมตร คลองแต่ละสาย

“...ตามแถบหนา้ พระอโุ บสถมคี ลองขดุ พรอนไป มกั ไหลมาบรรจบกนั และมแี นวของคลองตดั กนั จงึ เกดิ
มเี กาะเปน ๒ ชน้ั ทคี่ ลองแลเกาะ ๒ ชนั้ นี้ จะเปนทอี่ นื่ เป็นแนวเช่ือมโยงโดยตลอด ทำให้ซอกซอนไปได้

ไมไ่ ด้ นอกจากสวนเจา้ เชฐ ซง่ึ ภายหลงั ทำคกุ ทำหอกลอง อยา่ งกวา้ งขวาง เออ้ื ประโยชนต์ อ่ การคมนาคมอยา่ งมาก

ลงในทเ่ี หล่าน้นั คลองชน้ั ในเหน็ จะใกล้ข้างพระอโุ บสถ

จึงได้ปรากฏว่าเมื่อทรงสร้างวัดพระเชตุพนยกใหญ่


ได้ถมดินเสียเปนหนักหนา ต้องถึงเกณฑ์คนหัวเมือง

เขา้ มาถมดิน...” ๗๓
















คลองเกา่ เล่าประวัติเมือง 41

แผนท่ีคลองคูเมืองธนบรุ ฝี ั่งตะวนั ตก ซ่งึ ปจั จบุ ันมชี ื่อเรยี กตา่ งกันในแต่ละชว่ ง
42 คลองเก่าเลา่ ประวตั ิเมือง

คลองคูเ่ มอื งธนบุร



การสถาปนาเมืองธนบุรีเป็นราชธานี จำเป็น สว่ นในพน้ื ทฝี่ งั่ ตะวนั ออกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยา
ต้องขยายพ้ืนที่เพื่อรองรับประชาชนที่หนีภัยสงคราม ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคูเมืองต้ังแต่บริเวณปากคลอง
และปรับปรุงให้เหมาะสมทางยุทธศาสตร์ สมเด็จ ตลาดในปัจจุบันไปจนถึงบริเวณตรงข้ามกับปากคลอง
พระเจ้าตากสินมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้ขยายเมือง บางกอกน้อยอนั เปน็ ตำแหนง่ ของแนวคเู มอื งดา้ นเหนอื
ออกไปทางทิศเหนือจรดคลองบางกอกน้อย และ
ของกรงุ ธนบรุ ี

โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองท่ีบริเวณขอบด้านตะวันตก การขุดคลองขึ้นรอบเมืองทั้งสองฝ่ังของแม่น้ำ

เปน็ คเู มือง ซ่ึงเรียกช่อื ตา่ งกันหลายชอ่ื คือ
เจา้ พระยา มวี ัตถปุ ระสงค์สำคัญ คือ เพอ่ื ใช้เป็นคเู มอื ง
ช่วงท่ี ๑ เป็นต้นคูเมืองท่ีเริ่มขุดเช่ือมจาก ป้องกันข้าศึกไม่ให้รุกล้ำเข้ามาถึงเชิงกำแพงเมืองได

คลองบางกอกน้อยจนถึงบริเวณสถานีรถไฟธนบุรี โดยงา่ ย ตามแบบแผนการสรา้ งเมอื งแตค่ รงั้ โบราณท่ีมี
เรียกวา่ คลองบ้านเนิน
คลองคเู มอื งเป็นองคป์ ระกอบสำคัญท่จี ะตอ้ งทำการขุด
ช่วงที่ ๒ จากสถานีรถไฟธนบุรีถึงคลอง
เมอ่ื มกี ารตง้ั เมอื งใหม่ ดงั เชน่ สมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดี
วัดระฆัง เรียกว่า คลองบ้านช่างหล่อ เพราะลำคลอง ท่ี ๑ ทรงสถาปนากรุงศรอี ยุธยา ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขดุ
ไหลผ่านบริเวณชุมชนบ้านช่างหล่อ ซึ่งเป็นย่านหล่อ คูเมือง เรียกว่า “คลองข่ือหน้า” ซึ่งปัจจุบันได้กลาย
พระพทุ ธรปู
เป็นส่วนหน่ึงของแม่น้ำป่าสัก ทางด้านทิศตะวันออก
ชว่ งที่ ๓ ตง้ั แตค่ ลองวดั ระฆงั จนถงึ คลองมอญ ของเมือง ส่งผลให้กรุงศรีอยุธยามีสภาพเป็นเกาะ
เรยี กวา่ คลองบา้ นขมน้ิ เนอื่ งจากไหลผา่ นชมุ ชนทำขมนิ้ เป็นราชธานีท่ีมีแม่น้ำล้อมรอบ ช่วยในการป้องกัน
และดนิ สอพอง
ข้าศึก การขุดคลองคูเมืองนี้ เป็นแนวความคิดสำคัญ
ช่วงที่ ๔ ต้ังแต่คลองมอญถึงคลองวัดแจ้ง๗๙ ของเมืองราชธานีท่ีได้รับการปฏิบัติสืบมาจนถึงสมัย
หรือคลองนครบาล เรียกว่า คลองบ้านหม้อ เพราะ กรุงรัตนโกสินทร์

บริเวณที่คลองไหลผ่าน เป็นย่านทำหม้อดินเผาของ นอกจากน้ี หลังแนวคูเมืองทั้งสองฝั่ง สมเด็จ

ชาวมอญท่ีอยอู่ าศัยมาต้งั แตส่ มัยกรุงศรอี ยธุ ยา
พระเจ้าตากสินมหาราชได้โปรดเกล้าฯ ให้พูนดินเป็น

ชว่ งที่ ๕ จากคลองวดั แจง้ ถงึ คลองบางกอกใหญ่ เชงิ เทนิ ปกั ไมท้ องหลางเปน็ ระเนยี ดทำเปน็ กำแพงเมอื ง
เรยี กว่า คลองวัดโมลโี ลกย์ หรือ คลองวดั ท้ายตลาด
ชว่ั คราว ต่อมา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๖ จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้

เจ้าพระยาจักรี เป็นนายงานไปรื้อกำแพงเก่าเมือง


พระประแดง กำแพงคา่ ยพมา่ ที่โพธ์ิสามต้น ค่ายสีกุก
ตำบลบางไทร ขนบรรทุกลงเรือมาก่อเป็นกำแพงและ
ปอ้ มทั้งสองด้าน


คลองเก่าเล่าประวตั เิ มือง 43

ภาพจติ รกรรมผู้คนหลากเช้ือชาติ ฝีมอื ครแู ปะ๊ คง หลากหลายชมุ ชนเมืองธนบุรี

ทวี่ ดั มุธราชารามหรือวดั บางยี่ขนั
วดั โบราณต้งั แต่สมัยกรุงศรอี ยุธยา

ซ่ึงตั้งอยูท่ ่ามกลางชุมชนเกา่ แกย่ า่ นฝั่งธนบุรี เมอ่ื เมอื งธนบรุ มี คี วามเปน็ ปกึ แผน่ มน่ั คงขน้ึ แลว้
(ภาพ : สำนักผงั เมอื ง กรงุ เทพมหานคร. ผู้คนจากหลายถิ่นท่ีได้เร่ิมอพยพเข้ามาอาศัยใน
สมดุ ภาพแห่งกรงุ เทพมหานคร ๒๒๒ ปี. บริเวณเมืองธนบุรีมากขึ้น ตามริมแม่น้ำเจ้าพระยา
กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์พร้นิ ต้งิ แอนดพ์ บั ลิชช่ิง จำกดั และคลองน้อยใหญ่ ไม่เพียงแต่ชาวสยาม แต่ยังรวม
(มหาชน), ๒๕๔๗.) ไปถึงชาวต่างชาติที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิ
สมภารและต้ังบ้านเรือน โดยเฉพาะบริเวณปากคลอง
ภาพวถิ ชี วี ิตชาวจนี ในเรือนหอ้ งแถว และสองฝัง่ คลองบางกอกใหญเ่ ป็นจำนวนมาก เช่น๘๐

จติ รกรรมฝาผนงั วัดทองธรรมชาติ ฝั่งธนบุรี ชุมชนจีน เป็นชุมชนที่สมเด็จพระเจ้าตากสิน
(ภาพ : สำนกั ผงั เมอื ง กรุงเทพมหานคร. มหาราชโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ บา้ นเรอื นอยบู่ รเิ วณปากคลอง
สมุดภาพแหง่ กรุงเทพมหานคร ๒๒๒ ป.ี บางกอกใหญ่ตรงกุฎีจีนและแถบวัดกัลยาณมิตร

กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ ริ้นต้ิงแอนดพ์ บั ลชิ ชิง่ จำกดั โดยส่วนใหญ่เป็นชาวจีนฮกเก้ียนท่ีมีอาชีพค้าขาย

(มหาชน), ๒๕๔๗.) ทางเรือ นอกจากนี้ ยังมีชาวจีนแต้จิ๋ว ซ่ึงมีพระยา
44 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง ราชาเศรษฐเี ปน็ หวั หนา้ ไดอ้ พยพเขา้ มาจากเมอื งเขมร
จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ทางฝั่งตะวันออก

รมิ แมน่ ำ้ เจา้ พระยา ใกลก้ บั บรเิ วณพระบรมมหาราชวงั
ในปัจจุบัน ภายหลังได้ย้ายไปอยู่ที่สำเพ็งเมื่อคราว
สถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์

ชุมชนตะวันตก มีทั้งชุมชนชาวฝร่ังเศส

ซ่ึงอพยพไปอยู่เมืองเขมรเม่ือคราวเสียกรุงศรีอยุธยา
และย้ายกลับเข้ามาอาศัยในบริเวณใกล้เคียงกับชุมชน
ชาวคริสตังซึ่งตั้งถิ่นฐานมาแต่เดิม นอกจากน้ี ยังมี
ชุมชนชาวโปรตุเกสซ่ึงแต่เดิมอาศัยอยู่ในค่ายรักษา
ป้อมเมืองบางกอก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ก็โปรดเกล้าฯ ให้รวมตัวกันต้ังบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำ
เจา้ พระยาใตช้ ุมชนกฎุ จี นี ลงไป

ชุมชนมุสลิม เป็นชุมชนที่อพยพหนีภัย ภาพชาวมสุ ลมิ เช้ือสายเปอร์เซยี
ส ง ค ร า ม เ ม่ื อ ค ร้ั ง เ สี ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ล่ อ ง แ ม่ น้ ำ จติ รกรรมฝาผนงั วัดสุวรรณาราม ฝ่งั ธนบรุ ี
เจ้าพระยาลงมาท่ีกรุงธนบุรีและจอดแพตามคลอง (ภาพ : สำนักผงั เมอื ง กรงุ เทพมหานคร.
บางกอกน้อย คลองบางกอกใหญ่ และลึกเข้าไปตาม สมุดภาพแห่งกรงุ เทพมหานคร ๒๒๒ ป.ี
แนวคลองท้ังสองฟากจนถึงตลาดพลู ด้วยนิยมใช้แพ
เป็นที่อยู่อาศัย จึงเรียกกันท่ัวไปว่า “แขกแพ” ต่อมา กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท อมรินทรพ์ รน้ิ ติง้
ได้ย้ายขึ้นมาอยู่อาศัยทางตอนใต้ของพระราชวัง
แอนด์พับลชิ ช่ิง จำกดั (มหาชน), ๒๕๔๗.)
ในบรเิ วณทเี่ ปน็ มสั ยดิ ตน้ สนในปจั จบุ นั นอกจากนี้ ยงั มี
“แขกเจ้าเซ็น” หรือมุสลิมที่นับถือศาสนาอิสลามนิกาย
ชอี ะหท์ ม่ี เี ชอ้ื สายอนิ เดยี เปอรเ์ ซยี และอาหรบั ไดอ้ พยพ
จากกรุงศรีอยุธยามาต้ังบ้านเรือนอยู่บริเวณด้านเหนือ
ของพระราชวงั กรงุ ธนบรุ ไี ปจนถงึ คลองมอญ ใกลก้ บั ทตี่ ง้ั
กุฎีเจ้าเซ็นหรือมัสยิดผดุงธรรมของกุฎีเจริญพาศน

ในปัจจบุ นั

ชุมชนชาวต่างชาติกลุ่มอื่นๆ เช่น ชาวมอญ
ก็มีการตั้งถ่ินฐานอยู่บริเวณคลองมอญและพื้นท่ีจาก
คลองบางกอกใหญ่ไปทางคลองวัดท้ายตลาดหรือวัด
โมลีโลกยารามในปัจจุบัน และคลองคูเมืองธนบุร

ฝ่ังตะวันตก ซ่ึงสามารถเช่ือมต่อถึงคลองวัดอรุณ
ราชวรารามได




คลองเก่าเล่าประวัตเิ มอื ง 45

ภาพจุดบรรจบกนั ของคลองรอบกรงุ ซึง่ เปน็ คลองคูเมืองและคลองมหานาค ซง่ึ ขดุ ขึ้นใหม่ เม่อื สมยั ต้นกรงุ รัตนโกสินทร์
(ภาพถา่ ยแต่งสีในรูปแบบโปสการด์ ในอดตี )

46 คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มือง

ภาค ๒

ขดุ คลอง ป้องเมอื ง

นับแต่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

รัชกาลท่ี ๑ ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทรเ์ ปน็ ราชธานี แนวความคดิ ในการ
พัฒนาและเสริมสร้างความมั่นคงของบ้านเมืองด้วยการวางระบบโครงข่าย
สายน้ำได้ปรากฏอย่างเป็นรูปธรรม โดยทรงคำนึงถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์
และความจำเป็นพ้ืนฐาน ทั้งเพ่ือการป้องกันบ้านเมืองและเป็นเส้นทาง
คมนาคมท่คี รอบคลุมไปถงึ หัวเมืองสำคัญตา่ งๆ ในพระราชอาณาเขต

เช่นเดียวกับรัชกาลต่อๆ มาท่ีแม่น้ำและคลองยังมีความสำคัญ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ และพระบาทสมเด็จ
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองเพ่ิมเติมข้ึน
หลายสาย เพ่ือช่วยเสริมประสิทธิภาพการคมนาคมให้คล่องตัว ด้วยคลอง

ท่ีขุดข้ึนใหม่เป็นการขยายเส้นทางการสัญจรระหว่างพระนครกับหัวเมือง
สำคัญ อันจะช่วยย่นระยะเวลาและอำนวยความสะดวกในการเดินทาง

อยา่ งมาก

บ้านเมืองในช่วงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์จึงมีสายน้ำเป็นเสมือน
เส้นเลือดหลักที่หล่อเล้ียงชีวิตของราษฎร ท้ังยังเป็นเส้นทางสัญจรอันเป็น
รากฐานที่เอ้ือให้การพัฒนากิจการบ้านเมืองในด้านต่างๆ เจริญก้าวหน้าข้ึน

เป็นลำดบั นับแตน่ ั้นเป็นต้นมา




คลองเก่าเลา่ ประวัติเมอื ง 47

คลองคูเมืองธนบรุ ฝี ่ังตะวันออกหรอื คลองคเู มอื งเดิม ขดุ คคู ลอง จำลองกรุงศรฯี

ดา้ นหน้าวัดราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)

คลองคูเมืองเดิม นับแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี
ชว่ งที่ไหลผ่านดา้ นหลงั พระราชวงั สราญรมย์ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ) มหาราช รัชกาลที่ ๑ พระมหากษัตริย์ในช่วงต้น

กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ทรงพระราชอตุ สาหะทำนบุ ำรงุ บา้ นเมอื ง
ให้เหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา โดยทรงคำนึงถึง
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และความจำเป็นพ้ืนฐานควบคู่

ไปกับการวางผังเมืองให้เหมาะสมและสอดคล้องกับวิถี
การดำเนินชีวิตของชาวสยามท่ีมีความผูกพันกับ
สายน้ำมาตงั้ แตส่ มัยโบราณ

ด้วยเหตุท่ีกรุงศรีอยุธยา มีความเจริญมั่นคง
สามารถดำรงฐานะราชธานีท่ีมีความเจริญรุ่งเรือง

สืบมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า ๔๑๗ ปี เน่ืองจาก
ส่ ว น ห น่ึ ง น้ั น มี ปั จ จั ย เ กื้ อ ห นุ น ใ น ด้ า น ท ำ เ ล ที่ ต้ั ง

ท่ีมีแม่น้ำโอบล้อมถึงสามสาย อันได้แก่ แม่น้ำ
เจ้าพระยา แม่น้ำลพบรุ ี และแมน่ ำ้ ปา่ สกั

อย่างไรก็ตาม เน่ืองด้วยกรุงรัตนโกสินทร

มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทางด้านตะวันตกแต่เพียง

สายเดียว นอกเหนือจากการขุดลอก คลองคูเมือง
ธนบุรีฝั่งตะวันออก หรือ คลองคูเมืองเดิม ให้ลึก

และกว้าง เพ่ือเป็นเส้นทางคมนาคมภายใน รัชกาล

ท่ี ๑ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขุด คลองรอบกรงุ เพื่อขยาย
พ้ืนท่ีและเป็นคูเมืองทางด้านตะวันออก รวมถึง

คลองหลอด เพอื่ เปน็ ทางชกั นำ้ ระหวา่ งคลองคเู มอื งเดมิ
กบั คลองรอบกรงุ ใหเ้ ชอื่ มถงึ กนั


48 คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง

เมื่อมีการขุดคลองขึ้นใหม่ กรุงรัตนโกสินทร์ ภาพถา่ ยมมุ สงู บริเวณจุดเช่ือมต่อระหว่าง
จงึ มสี ณั ฐานคลา้ ยเกาะเชน่ เดยี วกบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ซง่ึ เออื้ คลองรอบกรุงกบั คลองมหานาค
ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ขา้ ศกึ เปน็ ทางระบายนำ้ ในคราว (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
ฝนตกหนักหรือในฤดูน้ำหลาก กับทั้งเป็นเส้นทาง
สัญจรของราษฎรท้ังหลายที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำและ บรรยากาศการดำเนนิ ชีวิตของประชาชน
อาศัยเรือเป็นพาหนะ นอกเหนือจากการเป็นแนวแบ่ง สองฝ่ังคลองมหานาคในอดีต
เขตเมอื งให้เป็นสัดส่วนและเป็นระเบียบแบบแผน

นอกจากคลองท่ีขุดซ่อมและขุดข้ึนใหม่จะใช้ (ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)
ประโยชน์ในด้านยุทธศาสตร์และการคมนาคมแล้ว คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มอื ง 49
รัชกาลที่ ๑ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองตรงบริเวณ

ข้างวัดสระเกศ แล้วพระราชทานนามว่า คลอง
มหานาค เพื่อเป็นที่พักผ่อนร่ืนเริงของชาวพระนคร

ได้ลงเรือเล่นเพลงและสักวาเหมือนอย่างเม่ือคร้ัง

กรงุ ศรอี ยธุ ยา การทโี่ ปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ และพระราชทาน
นามคลองดังกล่าวเหมือนอย่างคลองมหานาคตรง
ภเู ขาทองทกี่ รงุ เกา่ รวมถงึ พระราชทานนามประตเู มอื ง
ตรงด้านคลองสายนี้ว่า “ประตูสำราญราษฎร์” เป็น
พระราชประสงค์ท่ีจะทรงจำลองกรุงรัตนโกสินทร

ให้เหมือนกรุงศรีอยุธยาหรือเม่ือครั้ง “บ้านเมืองยังดี”
เนื่องด้วยราษฎรส่วนใหญ่สมัยน้ันล้วนเคยดำรงชีวิต
และมีโอกาสได้พบเห็นความเจริญรุ่งเรืองของกรุงศรี

อยธุ ยา อดตี ราชธานีมาแต่กอ่ น แต่เมอ่ื ต้องประสบกบั
เหตุการณ์คราวเสียกรุง จึงทรงสร้างสิ่งคุ้นเคยให้แก่
ราษฎร เพื่อบรรเทาความอาลัยอาวรณ์และเป็นการ
บำรุงขวัญกำลังใจ ซึ่งนับเป็นความจำเป็นอย่างย่ิง

ในด้านจิตวิทยา และยังเป็นนัยว่า บัดนี้สยามได้กลับ
ต้ังบา้ นเมอื งขึ้นอย่างม่ันคงแลว้


Click to View FlipBook Version