The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-03-26 00:00:14

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

Keywords: คลองเก่าเล่าประวัติเมือง,ประวัติศาสตร์

ซากกำแพงเมอื งสมยั กรงุ ธนบุรี รมิ คลองคเู มอื งเดิม ขดุ ลอกคลองคูเมอื งเดิม

บริเวณหน้าวดั ราชประดิษฐส์ ถติ มหาสมี าราม รากฐานการคมนาคมภายใน

(ภาพ : สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน. กรงุ เทพฯ :
มตชิ น, ๒๕๔๘.)

ภาพคลองคูเมืองเดมิ ตอนท่ีเรยี กวา่ คลองโรงไหมหลวง คลองคูเมืองเดิมหรือคลองคูเมืองธนบุรี

หรอื คลองโรงไหม ช่วงที่ไหลผา่ นสะพานเสยี้ ว ฝั่งตะวันออก เป็นคลองขุดเพื่อเป็นแนวเขตเมือง

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ ต้ังแต่เม่ือครั้งกรุงธนบุรี ล่วงถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
รชั กาลท่ี ๑ ได้โปรดเกลา้ ฯ ใหร้ ื้อกำแพงเมืองบริเวณ
ริมคลอง เพ่ือขยายเขตพระนคร และขุดซ่อมคลองนี้
ให้ลึกและกว้าง เพื่อให้เป็นเส้นทางคมนาคมและ

ลำเลียงสินค้ามาขายยังเขตพระนครช้ันในได้ทั้งทาง
ทศิ เหนือและทิศใต้

คลองคเู มอื งเดมิ น้ี มชี อื่ เรยี กตา่ งกนั เปน็ ๒ ชอ่ื
คือ คลองดา้ นเหนือ เรยี กว่า คลองโรงไหมหลวง หรือ
คลองโรงไหม๑ เน่ืองจากบริเวณปากคลอง เป็นที่ต้ัง
ของโรงไหมหลวง๒ แต่ภายหลัง เม่ือมีการก่อสร้าง
สะพานสมเด็จพระป่ินเกล้าคร่อมปากคลองด้านน้

สง่ ผลใหเ้ รอื สามารถเขา้ ออกปากคลองไดแ้ ตท่ างดา้ นใต้
เพยี งทางเดยี ว เฉพาะวนั ทมี่ ตี ลาดนดั ทที่ อ้ งสนามหลวง
วันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์เท่าน้ัน ซึ่งส่วนมาก
เปน็ เรือหางยาวบรรทุกตน้ ไม้และผลไม ้

อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมา เม่ือทางการ
ยกเลิกตลาดนัดท้องสนามหลวง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕
โดยย้ายตลาดนัดไปจัดท่ีสวนจตุจักร จึงไม่มีเรือสัญจร
ในคลองน้นี บั แตน่ ั้นมา

สว่ นคลองดา้ นใตเ้ รยี กวา่ คลองตลาด เนอ่ื งจาก
บริเวณปากคลองซึ่งเชื่อมต่อกับแม่น้ำเจ้าพระยา

มีตลาดขนาดใหญ่เป็นแหล่งซ้ือขายสินค้าทั้งทางน้ำ
และทางบก


50 คลองเก่าเลา่ ประวตั ิเมือง

ภาพคลองคเู มอื งเดมิ ชว่ งท่ีไหลผ่านท้องสนามหลวง
ตลาดปากคลองคเู มอื งเดมิ หรอื ปากคลองตลาด (ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาต)ิ
เป็นตลาดสำคัญแห่งหน่ึงในพระนคร เน่ืองจากตั้งอยู่
ในบริเวณท่ีเป็นจุดบรรจบกันของแม่น้ำเจ้าพระยากับ ภาพคลองคูเมอื งเดิม
ปากคลองคูเมืองเดิม จึงมีผู้คนอยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัย ช่วงที่ไหลผ่านหน้าวัดราชบพธิ สถติ มหาสีมาราม
กรุงธนบุรี ประกอบกับอยู่ใกล้เส้นทางคมนาคมที่
สำคัญโดยเฉพาะคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งเป็นเส้นทาง (ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)
ไปสู่พื้นท่ีชั้นในของฝั่งธนบุรีท่ีเชื่อมโยงไปยังแม่น้ำ
คลองเก่าเล่าประวัตเิ มอื ง 51
ท่าจีน แม่น้ำบางปะกง แม่น้ำแม่กลอง ตลอดจน
แม่น้ำนครชัยศรี จนออกสู่ทะเลในแถบบางขุนเทียน
และเป็นชุมทางการค้าที่สำคัญมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี
เนื่องจากเรือสินค้าหรือซุงที่ล่องมาจากทางเหนือ

และเรือเดินทะเลจากทางใต้จะมาจอดพัก และยังม

เรือแพค้าขายในรูปแบบตลาดน้ำ จึงทำให้ปากคลอง
คูเมืองเดิมกลายเป็นตลาดท่ีคึกคัก มาต้ังแต่ต้นสมัย
กรุงรัตนโกสินทร์ ดังปรากฏในบทละครนอก เรื่อง
อิเหนา พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธ

เลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลที่ ๒ ความตอนหน่งึ วา่

“คลองหลอดแลล่ิวสดุ ตา

น้ำลงคงคาไม่คอดเคอื ง

นาวาคา้ ขายพายข้ึนล่อง

ตามแมน่ ำ้ ลำคลองแน่นเนือง

แพจอดตลอดท่าหน้าเมอื ง

นองเนืองเป็นขนดั ในนที”

คลองคเู มืองเดมิ ชว่ งที่ไหลผ่านสะพานเฉลิมรชั ๓๑ โดยเฉพาะการเปน็ “ตะพานปลา” หรอื สถานที่
ใกล้บริเวณตลาดปากคลอง ซ้ือขายปลาแหล่งใหญ่ มีเรือบรรทุกปลาทะเลมาจาก
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ ท่าจีนหรือจังหวัดสมุทรสาครในปัจจุบัน มาออกคลอง
บางกอกใหญ่ แล้วข้ามฟากมาข้ึนที่ตลาดปากคลอง
บรรยากาศคลองคูเมืองเดิม ชว่ งที่ไหลผา่ นสะพานปีกนุ ดังที่พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) บันทึก
บรเิ วณหนา้ วัดราชประดษิ ฐส์ ถิตมหาสีมารามในปัจจบุ ัน ไวว้ ่า

52 คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง “...ท่ีปากคลองด้านใต้เป็นตลาดใหญ่ ซึ่งเป็น
ทา่ ปลาดว้ ย คอื ปลาทม่ี าจากทา่ จนี แมก่ ลอง เขา้ คลอง
บางหลวง ผา่ นหนา้ บา้ นขา้ พเจา้ มาขนึ้ ทที่ า่ ปลาปากคลอง
ตลาด...” ๓

สอดคล้องกับความท่ีปรากฏใน นิราศปากลัด
ของคณุ หญงิ เขอื่ นเพช็ รเ์ สนา (สม้ จนี อณุ หะนนั ท)์ ซงึ่ แตง่
เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๖ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้
เจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี ๕ ความวา่

“...มาถงึ คลองตลาดตามราษฎรเ์ รยี ก

กลนิ่ ปลาเปียกฉนุ ล้นทนไม่ไหว...” ๔

ตะพานปลาปากคลองตลาดหรือท่ีในสมัย
รัชกาลท่ี ๕ เรยี กว่า “ตะพานปลา ตำบลคลองหลอด
ตลาดใหม่” ถกู ยกเลกิ ไปเมอื่ วันท่ี ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.
๒๔๓๕ โดยทางราชการให้ไปทำการซื้อขายปลากันที่
“ตะพานปลา ตำบลวัวลำพอง” แตเ่ พยี งแหง่ เดียว๕

อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากบริเวณใกล้เคียงกับ
ตลาดปากคลอง เปน็ ทตี่ ง้ั ของตลาดขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ

ตลาดท่าเตียน ซึ่งเป็นแหล่งค้าปลีกและค้าส่งท่ีมีผู้คน
หลั่งไหลเข้ามาจับจ่ายซ้ือขายสินค้าจนถึงกับมีเรือ

มาจอดชุมนุมติดๆ กันจนยากที่จะมองเห็นพื้นน้ำ๖

จึงเป็นเหตุให้ตลาดปากคลองพลอยมีผู้คนเข้ามา
ทำการซ้อื ขายและรบั สง่ สนิ คา้ รวมท้ังชมุ นมุ พบปะกนั

เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการปลูกเพิงพักอาศัยและ ภาพถา่ ยทางอากาศ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๙
จำหน่ายสินค้าเป็นการถาวร เลียบเลยไปตามกำแพง บรเิ วณท่าเตยี น ตลาดรับสง่ สนิ ค้าและเปน็ ทา่ เรอื โดยสาร
ทา้ ยวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม
ไปยงั หัวเมืองรมิ แม่นำ้ เจ้าพระยาจนถึงจงั หวัดนครสวรรค์
รฐั บาลสมยั จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม เหน็ วา่

การค้าเช่นนี้ไม่มีความเหมาะสม จึงได้จัดสถานท่ีใหม่
และไปยังแมน่ ้ำทา่ จีนจนถึงจังหวัดสุพรรณบุรี
ให้จำหน่ายสินค้า โดยให้ย้ายมารวมกับผู้ค้าส่งจาก (ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ
ตลาดผกั สดกรมภธู เรศ (ตลาดเก่าเยาวราช) ในบรเิ วณ
ปากคลองคูเมืองเดิม แล้วจัดต้ังเป็นองค์การตลาดขึ้น ภาพบรรยากาศรมิ น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเตียน
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖ ทำให้ย่านนี้มีการขยายตัวเรื่อยมา สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ๕
จนเกิดตลาดเพม่ิ ข้ึนอีก ๒ แห่ง คอื ตลาดยอดพมิ าน
และตลาดส่งเสริมเกษตรไทย ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น ซง่ึ คับคงั่ ไปดว้ ยเรอื จำนวนมาก
ศูนย์รวมสินค้าโดยเฉพาะผลผลิตทางการเกษตร
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาต)ิ
ท่ีสำคัญ ซ่ึงแต่ละวันจะมีผู้คนท้ังในกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล ตลอดจนจากหลายจังหวัดทุกภูมิภาค คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง 53
ของประเทศ หลั่งไหลเข้ามาซ้ือขายสินค้ากันเป็น
จำนวนมาก ดังจะเห็นได้จากจำนวนแผงขายสินค้า

ท่ีตั้งอยู่เต็มบาทวิถีทั้งสองฟากถนนจักรเพชรท่ีตัดผ่าน
ย่านนี้ รถยนต์ขนส่งขนาดใหญ่ที่จอดเรียงรายไปทั่ว
บริเวณ และคนท่ีประกอบอาชีพเข็นรถรับจ้างขนย้าย
สินค้าท่ีเดินกันขวักไขว่ เน่ืองด้วยมีการค้าขายสินค้า
ตลอดเวลาทัง้ กลางวนั และกลางคืน

ปัจจุบัน คลองคูเมืองเดิมมีบทบาทเป็นแหล่ง
พักผ่อนหย่อนใจของชุมชน โดยเริ่มต้นบริเวณใต้
สะพานสมเด็จพระป่ินเกล้าและมาส้ินสุดออกสู่แม่น้ำ
เจ้าพระยาอีกครั้งทบ่ี รเิ วณปากคลองตลาด โดยบริเวณ
ปากคลองคูเมืองเดิมทั้งสองด้าน มีการสร้างประตูน้ำ
เพ่ือควบคุมระดับน้ำที่จะปล่อยจากแม่น้ำเจ้าพระยา

ส่คู ลองคูเมืองและคลองต่างๆ ในพนื้ ท่ี

คลองรอบกรุง ชว่ งท่ีไหลผ่านสะพานนรรัตนสถาน คลองรอบกรงุ

ยา่ นบางลำภู บรเิ วณตลาดนานา (ฝ่งั ซา้ ย) ปอ้ งกนั และขยายกรุงรตั นโกสินทร

และตลาดทุเรียน (ฝั่งขวา) ซ่ึงเป็นตลาดขายผลไม้
มมี ะมว่ งและทเุ รียนเปน็ หลัก

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ) เนอื่ งจากเมอ่ื แรกสรา้ งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ บา้ นเมอื ง
กำลังอยู่ในภาวะสงคราม พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ปอ้ มพระสเุ มรทุ ่ปี ากคลองบางลำภู ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ จึงโปรดเกล้าฯ
หนึง่ ในปอ้ มทร่ี ชั กาลที่ ๑ โปรดเกลา้ ฯ ให้มีการขุดคลองอีกชั้นหน่ึง เพื่อเป็นปราการปกป้อง
ใหส้ รา้ งสำหรบั ป้องกนั พระนคร พระนคร ขนานไปกับแนวคลองคูเมืองเดิม เรียกว่า
ภายหลงั การขดุ คลองรอบกรงุ แลว้ เสรจ็ คลองรอบกรงุ โดยเรม่ิ จากแมน่ ำ้ เจา้ พระยาฝง่ั ตะวนั ออก
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ) ด้านเหนือ ต้ังแต่บริเวณริมวัดบางลำภูหรือวัดสังเวช
54 คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมอื ง วิศยารามในปัจจุบันมาออกแม่น้ำเจ้าพระยาด้านใต้
เหนือวัดเชิงเลนหรือวัดตีนเลนหรือวัดบพิตรพิมุข

ในปัจจุบัน ในการนี้ รัชกาลที่ ๑ ยังโปรดเกล้าฯ ให้
สรา้ งกำแพง ประตเู มอื ง และปอ้ มปราการเลยี บแนวคลอง
ดา้ นในตลอดทง้ั สาย จำนวน ๑๔ ปอ้ ม๗

“คลองรอบกรุง” เป็นชื่อที่รัชกาลท่ี ๑
พระราชทาน ครั้นต่อมาช่ือน้ีค่อยๆ เลือนไป เพราะ
ประชาชนต่างกำหนดเอาใหม่ตามความเข้าใจของ
ตนเอง และแบ่งเรียกเป็นตอนๆ คือต้ังแต่ปากคลอง
แถววัดบางลำภูเร่ือยไปจนถึงวัดสระเกศ ราษฎรมัก
เรยี กคลองระยะนว้ี ่า คลองบางลำภู๘ โดยยึดเอาชื่อวดั
บางลำภเู ปน็ หลัก

คลองรอบกรุงระยะท่ีสองต่อจากวัดสระเกศ

ไปออกวัดเชิงเลน ราษฎรเรียกคลองตอนนี้ว่า คลอง
วัดเชิงเลน หรือ คลองวดั ตนี เลน แตต่ ่อมาเม่อื รัชกาล
ท่ี ๑ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานจากวัดสามปลื้ม

หรือวัดจักรวรรดิราชาวาสในปัจจุบันข้ามไปสำเพ็ง

เป็นสะพานไม้ หันให้เรือผ่านไปมาได้ ซ่ึงเรียกกันว่า

สะพานหัน ภายหลงั ได้รับการบรู ณะ เมื่อสมัยพระบาท
“สะพานหัน” หรือ “ตะพานหัน”๙ เป็นที่รู้จักกันท่ัวไป
สมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี ๕
ในเวลาต่อมา ราษฎรจึงเลิกเรียกว่าคลองวัดเชิงเลน

เปล่ียนมาเรียกเป็น คลองสะพานหัน หรือ คลอง
โดยโปรดเกลา้ ฯ ให้ทำเปน็ แบบสะพานริอัลโต ท่ีเมืองเวนสิ
ตะพานหนั
และสะพานเวคคิโอ เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอติ าลี
คร้ันต่อมามีชาวมอญเมืองสามโคก นำโอ่ง (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ)
อ่างบรรทุกเรือมาจอดขายที่ปากคลองวัดเชิงเลนเป็น คลองรอบกรุง ช่วงท่เี รียกวา่ คลองโอ่งอา่ ง
ประจำ กลายเป็นตลาดโอง่ อา่ งทีม่ ีช่อื เสยี ง ดังปรากฏ ราวสมยั รชั กาลท่ี ๕
ใน โครงนิราศสพุ รรณ ของพระสนุ ทรโวหาร (ภู)่ หรอื (ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
สุนทรภู่ ตอนหนงึ่ ว่า

“เชิงเลนเปนตลาดสลา้ ง หลกั เรือ

โอ่งอ่างบา้ งอิฐเกลอื เกลอ่ื นกลมุ้ ”

ราษฎรจึงพากันเรียกคลองวัดเชิงเลนหรือ
คลองสะพานหันที่เคยเรียกกันมาแต่ก่อนว่า คลอง

โอ่งอ่าง ซ่ึงสันนิษฐานว่า อาจเรียกเม่ือภายหลังสมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒
เปน็ ต้นมา

ดว้ ยเหตทุ ี่ ชาวมอญเมอื งสามโคก เปน็ ชาวมอญ
ท่ีอพยพหนีภัยพม่าจากเมืองเมาะตะมะเข้ามาขอพึ่ง
พระบรมโพธสิ มภาร เมอ่ื รชั กาลที่ ๒ ราว พ.ศ. ๒๓๕๘
ในครง้ั นน้ั โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้
เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ ขณะดำรงพระยศเป็นสมเด็จ
พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ เสด็จไปรับครัวมอญ
ทเ่ี มืองกาญจนบรุ ี และโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ าวมอญกลุ่มน้ี
บางส่วนต้ังถนิ่ ฐาน ณ เมืองสามโคก คนทว่ั ไปจึงเรยี ก
ชาวมอญกลุม่ นี้ว่า “มอญสามโคก”๑๐




คลองเก่าเล่าประวัตเิ มอื ง 55

แผนท่ีกรงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๓๗๘ ในบนั ทึกการเดนิ ทางของร้อยโท เจมส์ โลว์ แสดงใหเ้ หน็ คคู ลองสายต่างๆ
ในพน้ื ท่ีฝ่ังตะวันตกและฝ่ังตะวนั ออกของแมน่ ้ำเจา้ พระยา รวมถึงคลองสายหนง่ึ ซ่งึ เช่ือมระหว่าง
คลองหลอดวดั ราชนัดดารามและคลองหลอดวัดราชบพธิ
56 คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มอื ง

เชอื่ มโครงขา่ ยคลองในเมอื ง



ช่วงเวลาเดียวกับการขุดคลองรอบกรุง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
รัชกาลที่ ๑ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองข้ึนภายใน
กำแพงพระนครอีก ๒ คลอง เรียกว่า คลองหลอด
ตามลกั ษณะคลองทต่ี รงเหมอื นหลอดไมซ้ าง เปน็ คลอง
ชักน้ำเช่ือมระหว่างคลองคูเมืองเดิมกับคลองรอบกรุง
ท่ขี ดุ ใหม่ ซ่ึงคลองหลอดทัง้ สองคลองนี้ นิยมเรียกชื่อ
ตามจุดที่ผ่าน แต่ในปัจจุบันมีชื่อเรียกอย่างเป็น
ทางการว่า๑๑ คลองหลอดวัดราชนดั ดาราม๑๒ เริ่มจาก
คลองคูเมืองเดิมทางด้านใต้ของคลองโรงไหม ผ่านไป
ทางตะวันออกไปบรรจบกับคลองรอบกรุงที่บริเวณ
ด้านข้างวัดราชนัดดาราม กับอีกคลองหน่ึง เรียกว่า ภาพถา่ ยทางอากาศ คลองคเู มอื งเดิม (ด้านบน)
คลองหลอดวัดราชบพิธ หรือที่เรียกอีกช่ือหนึ่งว่า ช่วงที่เชอื่ มต่อกับคลองหลอดวดั ราชบพิธ
คลองสะพานถ่าน๑๓ เร่ิมจากคลองคูเมืองเดิมตรงวัด (ภาพ : สำนักผังเมอื ง กรงุ เทพมหานคร.
ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ผ่านถนนราชบพิธ
สมดุ ภาพแหง่ กรุงเทพมหานคร ๒๒๒ ป.ี
ในปัจจุบันไปบรรจบกับคลองรอบกรุงท่ีตอนเหนือ กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรินทรพ์ รนิ้ ติ้ง
แอนด์พบั ลชิ ช่งิ จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๗.)

สะพานดำรงสถิตหรือสะพานเหล็กบน
การขุดคลองหลอดวัดราชนัดดารามและ

นอกจากนี้ ยังปรากฏร่องรอยท่ีแสดงให้
คลองหลอดวัดราชบพิธ ส่งผลให้พ้ืนท่ีภายในกำแพง
เห็นว่า มีคลองเช่ือมระหว่างคลองหลอดท้ังสองคลอง พระนครระหว่างคลองคูเมืองเดิมกับคลองรอบกรุง
ตดั ขนานไปตามแนวคลองรอบกรงุ และคลองคเู มอื งเดมิ แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน โดยพื้นที่แต่ละส่วนเป็นท่ีตั้ง
อยู่ใน “แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๓๗๘” ในบันทึก
ของวดั วงั เจา้ นาย ชมุ ชนราษฎรชาวไทยและชาวตา่ งชาติ
การเดินทางของร้อยโท เจมส์ โลว์ นายทหารชาว ตลาด และยา่ นการคา้ โดยมแี นวลำนำ้ ลอ้ มรอบเชอ่ื มตอ่
อังกฤษซ่ึงได้รับการแต่งต้ังให้เป็นทูตเดินทางมายัง เป็นโครงข่ายในการคมนาคมภายในกำแพงพระนคร
เมอื งนครศรธี รรมราช ต้ังแตว่ ันท่ี ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ทำให้ชาวพระนครใช้คลองหลอด เพ่ือเดินทางไปมา
๒๓๖๗๑๔ แต่ไม่พบหลักฐานที่แน่ชัดว่า คลองสายน
้ี ติดต่อค้าขายกันได้โดยตลอด จนเชื่อมต่อไปออกถึง
ถกู ถมเมือ่ ใดหรอื ตรงกบั แนวถนนสายใดในปจั จุบนั
พ้ืนที่ท่ีอยู่นอกแนวคลองรอบกรุงทางทิศตะวันออกที่มี

คลองมหานาคเชื่อมรับกันตอ่ ออกไปอีกทอดหนึ่ง


คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง 57

ภาพถา่ ยทางอากาศบริเวณยา่ นสำเพง็ ซง่ึ เปน็ ทีต่ ั้งของ เมืองขยาย เพ่มิ ถ่นิ อาศัยชมุ ชน

ชุมชนชาวจนี ทเ่ี ก่าแกต่ ง้ั แตส่ มยั ต้นกรงุ รตั นโกสนิ ทร์
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ

ภายหลังการขุดคลองรอบกรุง ทำให้พระนคร
ประตเู มอื ง บริเวณสำเพ็ง ทางเขา้ สยู่ า่ นท่ีอย่อู าศัย มีพ้ืนท่ีขยายออกไปมากกว่าแต่ก่อน โดยเฉพาะระยะ

ของชาวจนี ในพระนคร หลัง พ.ศ. ๒๓๒๙ เมอื่ กองทพั พม่าพ่ายแพ้ในการรบ
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) ทที่ า่ ดนิ แดงและสามสบ เมอื งกาญจนบรุ ี พมา่ จงึ ไมก่ ลา้

58 คลองเก่าเล่าประวัติเมือง มารุกรานสยามอกี บ้านเมืองเรมิ่ มีความสงบสุข จงู ใจ
ให้ราษฎรตามหัวเมืองต่างๆ เข้ามาอาศัยและทำมา
หากินในพระนครเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น การม

นโยบายที่จะให้พระนครมีพลเมืองหนาแน่นกว่า

แต่ก่อน จึงได้มีการต้อนรับชาวต่างชาติท่ีเข้ามาพึ่ง
พระบรมโพธิสมภาร อีกทั้งมีการกวาดต้อนเชลย

เข้ามาเป็นจำนวนมาก จึงมีการต้ังชุมชนชาวต่างชาติ
ขน้ึ หลายแหง่ เชน่

ชาวจนี ในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ชาวจนี อพยพ
มาต้ังถ่ินฐานกันมากข้ึน เนื่องจากปัญหาการเมือง
ภายในประเทศจีน รวมท้ังปัญหาความแห้งแล้ง
ความยากจน และความอดอยาก ทำใหช้ าวจนี สว่ นหนงึ่
ตัดสินใจอพยพออกนอกประเทศ โดยส่วนใหญ่เข้ามา
ประกอบอาชพี เปน็ ชา่ งตอ่ เรอื พนกั งานเดนิ เรอื กรรมกร
พ่อค้า ชาวเหมือง และชาวสวน และมักอยู่รวมกับ
ชาวจีนทอี่ พยพมาอยู่ก่อนและกลมุ่ คนไทยเชอื้ สายจนี

เมื่อมีการสร้างพระบรมมหาราชวัง พระบาท

สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑
ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชาวจีนแต้จ๋ิวท่ีอาศัยอยู่บริเวณ

ฝัง่ ตะวันออกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยา ย้ายไปตั้งบ้านเรือน

อยู่บริเวณเรือกสวนตั้งแต่คลองวัดสามปลื้มหรือวัด

จักรวรรดิราชาวาสไปถึงคลองวัดสำเพ็งหรือวัดปทุม
คงคา เรียกวา่ ตำบลสามเพง็ หรอื สำเพง็ ในปัจจบุ ัน

ภาพตรอกแหง่ หนง่ึ ในย่านสำเพง็
นอกจากนี้ ยังมีชาวจีนต้ังถ่ินฐานเรียงราย (ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)
ตามริมแม่น้ำเจ้าพระยาและบริเวณตั้งแต่ปากคลอง
โอ่งอ่างลงมาทางใต้ เช่น ชุมชนชาวจีนท่ีสะพานหัน ภาพคลองคเู มอื งเดมิ บริเวณสะพานมอญ
ตลาดเก่า ตลาดวัดเกาะ และตลาดน้อย ซ่ึงมักเป็น
ใกล้ท่ตี ้งั ของชมุ ชนชาวมอญ สมยั พระบาทสมเดจ็
ที่ต้ังของตลาดบกท่ีเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนซ้ือขายสินค้า
ทม่ี าจากตา่ งประเทศซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ สนิ คา้ จากเมอื งจนี พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว รชั กาลที่ ๕
และมีร้านค้าของชาวอินเดียแทรกอยู่ประปราย (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ)
จำหน่ายแพรพรรณจากอินเดีย เคร่ืองสักการบูชา คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง 59
เคร่ืองทองเหลือง น้ำอบ น้ำหอม หมากพลู บุหรี่
และยงั เปน็ แหลง่ ส่งสนิ คา้ ออก เช่น ไม้ ครั่ง ฝาง รง๑๕
แก่นไม้ หนังสัตว์ เขาสัตว์ ดีบุก ปลาแห้ง ปลาเค็ม
เป็นต้น มีการสร้างคลังเก็บสินค้าท้ังที่นำเข้าและ

ส่งออกบรเิ วณริมแม่นำ้ เจ้าพระยา

ชาวมอญ อพยพมาอยู่ต้ังแต่สมัยกรุงธนบุร

และต้ังถิ่นฐานทั้งท่ีบริเวณคลองมอญ เหนือคลอง

บางหลวงและคลองบางไส้ไก่ ได้เพ่ิมจำนวนมากขึ้น

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เน่ืองจากมีชาวมอญ เช่น
จากเมืองทวาย เข้ามาสวามิภักด์ิ ใน พ.ศ. ๒๓๓๔
รัชกาลท่ี ๑ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ไปต้งั บา้ นเรือนอยู่นอก
ป่าชา้ วัดสระเกศ เฉพาะท่เี ป็นชา่ งต่อเรอื โปรดเกล้าฯ
ให้ไปอยแู่ ถบวดั คอกกระบอื หรอื วดั ยานนาวาในปจั จบุ นั
มบี างสว่ นตงั้ ถน่ิ ฐานอยรู่ มิ ฝง่ั ตะวนั ออกของคลองตลาด
หรือปากคลองคูเมืองเดิมและบริเวณวัดตองปุหรือ

วดั ชนะสงครามในปัจจุบัน

๑๑
















๑๐


ย่านการคา้ สมัยต้นกรงุ รตั นโกสินทร

๑. บ้านดนิ สอ

๒. ย่านสงั ฆภณั ฑ

๓. ยา่ นตที อง

๔. บ้านธปู

๕. บา้ นพานถม

๖. ย่านกรงนก

๗. บา้ นน้ำอบ

๘. บ้านดอกไม

๙. บา้ นสาย

๑๐. บ้านบาตร

๑๑. บ้านช่างทอง


แผนทีแ่ สดงที่ต้ังชมุ ชนชาวต่างชาติและย่านการคา้ ทส่ี ำคญั ภายในพระนคร
(ภาพ : ดัดแปลงจากแผนทีก่ รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๓๗๘ ในบนั ทึกการเดินทางของรอ้ ยโท เจมส์ โลว์)
(ทม่ี าของข้อมูล : แนง่ น้อย ศักด์ิศรี และคณะ. องคป์ ระกอบทางกายภาพกรุงรัตนโกสินทร.์ กรงุ เทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๓๔.)
60 คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มือง

ชาวเขมร นักองค์เองหรือสมเดจ็ พระนารายณ์
รามาธบิ ดี เขา้ มาพง่ึ พระบรมโพธสิ มภาร รัชกาลที่ ๑ เน่ืองด้วยพื้นที่ระหว่างคลองคูเมืองเดิมกับ
จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถ่ินฐานอยู่บริเวณตำบลบ้านหม้อ คลองรอบกรุง เป็นท่ีตั้งของชุมชนซึ่งมีราษฎรทั้ง

ถนนพาหุรัด และคลองรอบกรุงฝั่งตะวันออก บริเวณ ชาวไทยและชาวตา่ งชาตอิ าศยั อยรู่ ว่ มกนั เปน็ จำนวนมาก
บ้านดอกไม้ บ้านบาตร ซ่ึงอยู่ถัดจากวัดสระเกศลงมา จึงมตี ลาดเกดิ ข้ึนหลายแห่งทัง้ ตลาดบก ตลาดนำ้ และ
จนถึงวัดจางวางดิสหรือวัดดิสานุการามในปัจจุบัน มีย่านอันเป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายสินค้ากระจายตัว
และทต่ี ำบลคอกกระบือ ใกล้กบั ชมุ ชนชาวมอญ โดยมี อยู่ตามชุมชนต่างๆ เช่น แหล่งผลิตบาตรพระหรือ
ชาวเขมรบางส่วนที่เข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนาอาศัย
ย่านบ้านบาตร แหล่งผลิตเคร่ืองถม ขันน้ำพานรอง

ตั้งบ้านเรือนอยู่เหนือวัดสมอรายหรือวัดราชาธิวาส
ที่บ้านพานถม แถบหน้าวัดตรีทศเทพ แหล่งผลิต
ในปัจจุบันและมีชาวเขมรอีกบางส่วนออกไปต้ัง
ดอกไม้ไฟหรือบา้ นดอกไม้ หนา้ วดั สระเกศ แหล่งผลติ
บา้ นเรือนอยู่แถบบางโพ
เคร่อื งปั้นดินเผาทบ่ี า้ นหมอ้ ใกลป้ ากคลองตลาด แหลง่
ชาวมลายู ส่วนใหญ่มาจากภาคใต้ ได้มา ผลติ ดนิ สอพอง ยา่ นบา้ นดนิ สอ แหลง่ ผลติ ทองคำเปลว
อาศัยตั้งถ่ินฐานในท่ีต่างๆ เช่น ชาวตานีอาศัยอยู่ใน ทย่ี า่ นตที อง ใกลเ้ สาชงิ ชา้ แหลง่ รวมและกระจายสนิ คา้
บริเวณที่เรียกว่า บ้านแขก หน้าวัดตองปุหรือวัด จำพวกโอ่ง อ่าง ไหดินเผา บริเวณปากคลองโอ่งอ่าง
ชนะสงครามในปัจจุบัน และมีบางส่วนไปตั้งบ้านเรือน ใกล้วดั บพิตรพมิ ุขในปัจจบุ ัน เปน็ ตน้

อยู่ริมคลองมหานาค ในบริเวณที่เรียกว่า ชุมชนบ้าน การอพยพย้ายถ่ินของชาวต่างชาติเข้ามาตั้ง

กรงนก สืบทอดวิชาและอาชีพประดิษฐ์กรงนกเขาและ บา้ นเรอื นในพระนครโดยเฉพาะพนื้ ทช่ี น้ั นอกดา้ นเหนอื
กรงนกปรอดหวั จุกมาจนถงึ ปัจจุบนั
ซึ่งเมื่อแรกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นบริเวณ
ชาวลาว เมื่อรัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้ รกร้าง จึงเท่ากับเป็นการขยายขอบเขตพระนครให้
สร้างพระบรมมหาราชวัง ได้โปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์ กว้างขวางออกไป

ชาวลาวเมืองเวียงจันทน์ ชาวลาวหัวเมืองอีสาน และ นอกจากนี้ ภายในพระนคร ยังกลายเป็น
ชาวลาวหวั เมอื งรมิ แมน่ ำ้ โขงฝงั่ ตะวนั ตก เขา้ มาชว่ ยกนั แหล่งผลิตและซื้อขายสินค้าที่มีความหลากหลาย

ขดุ รากสรา้ งกำแพงและปอ้ มรอบพระนคร จงึ มชี าวลาว นอกเหนือไปจากสินค้าทางการเกษตรซ่ึงมีพ้ืนท่ี

มาตงั้ ถนิ่ ฐานอยตู่ ามทต่ี า่ งๆ เชน่ บรเิ วณศาลาเฉลมิ กรงุ เพาะปลูกอยู่ในฝั่งธนบุรีไปจนถึงแขวงเมืองนนทบุรี
ในปัจจุบัน และมีบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณบางย่ีขัน โดยเฉพาะสินค้าหัตถกรรมตา่ งๆ ทเ่ี ป็นผลงานจากการ
ละแวกวัดดาวดึงษาราม และแถบคลองบางไส้ไก่
รวมตัวของผู้คนในหลายชุมชน จนเกิดเป็นย่านสินค้า
ฝ่งั ธนบรุ ี ใกลก้ บั ชมุ ชนชาวมอญ
เชน่ เดียวกบั เม่ือครง้ั กรุงศรอี ยธุ ยาเป็นราชธานี


คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง 61







ภายหลงั การขดุ คลองตา่ งๆ ในสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑
ทำให้มีเครือ่ งแบง่ เขตพระนครหรือกรุงเทพมหานครในสมยั นัน้ เป็นหลายพน้ื ที่ด้วยกัน
ไดแ้ ก่ กรงุ เทพฯ ช้นั ใน (๑) กรุงเทพฯ ชนั้ นอก (๒) และกรงุ เทพฯ ชานเมือง (๓)
(ดัดแปลงจากแผนทก่ี รงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๓๗๘ ในบนั ทึกการเดินทางของร้อยโท เจมส์ โลว)์
62 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง

คูคลองแบ่งเขตพระนคร



คลองต่างๆ ท่ีขุดเมื่อคร้ังรัชกาลพระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑
น อ ก จ า ก จ ะ ยั ง ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ท า ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ

การคมนาคมเป็นสำคัญแล้ว ยังทำหน้าท่ีเป็นเสมือน
แนวแบ่งเขตเมืองให้เป็นสัดส่วนและเป็นระเบียบ
แบบแผน ซ่ึงสามารถแบ่งพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร

เมือ่ สมยั แรกสรา้ งไดเ้ ป็น ๓ บริเวณ คือ

กรุงเทพช้ันใน ได้แก่บริเวณที่ล้อมรอบด้วย พระบรมมหาราชวงั และพื้นที่โดยรอบ
แมน่ ำ้ เจ้าพระยาและคลองคูเมืองเดิมหรือคลองคูเมือง บรเิ วณใจกลางพระนครหรือกรุงเทพฯ ช้นั ในสมยั อดตี

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ

ธนบุรีฝ่ังตะวันออก มีเนื้อท่ีประมาณ ๑.๘ ตาราง
กโิ ลเมตร พนื้ ทส่ี ว่ นนถี้ อื เปน็ หวั ใจของกรงุ เทพมหานคร
เพราะเป็นศูนย์กลางของการบริหารราชการแผ่นดิน
เป็นที่ต้ังของพระบรมมหาราชวังหรือวังหลวงอันเป็นท่ี
ประทับของพระมหากษัตริย์ พระราชวังบวรสถาน
มงคลหรอื วงั หน้า วงั เจ้านาย วัด และสถานท่รี าชการ
ตลอดจนบ้านเรือนของเสนาบดีผู้ใหญ่ที่เป็นหลักใน
การบริหารราชการแผ่นดนิ

กรุงเทพฯ ชั้นนอก เป็นบริเวณท่ีอยู่ระหว่าง

คลองคูเมืองเดิมกับคลองรอบกรุง มีเน้ือที่ประมาณ ย่านการคา้ บริเวณเสาชิงช้า ซง่ึ เมอื่ ครัง้ ต้นกรุงรัตนโกสินทร์
๒.๓ ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท่ีอยู่อาศัย อยู่ในเขตพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ ชน้ั นอก
ของชาวต่างชาติ ไม่ว่าจะเป็นชาวจีน ชาวมอญ ชาว (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ)

เขมร ชาวลาว และชาวมลายู ท่ีอพยพเข้ามาพึ่ง ซ่ึงพัดพามาตามกระแสน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาและ
พระบรมโพธิสมภารต้ังแตส่ มยั รชั กาลท่ี ๑
ลำคลองสายต่างๆ แม้ในระยะแรกของการสร้างบ้าน

กรุงเทพฯ เขตชานเมือง เป็นพ้ืนที่ที่อยู่นอก แปงเมือง จะมีผู้คนอาศัยอยู่อย่างเบาบาง แต่ในสมัย

แนวคลองรอบกรุง ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาหรือทะเลตม ต่อมาได้กลายเป็นบริเวณสำคัญสำหรับรองรับจำนวน

และเป็นพื้นที่ป่ารกชัฏ ปกคลุมด้วยต้นไม้ท่ีเติบโตได้ดี ราษฎรที่เพ่ิมมากข้ึน รวมถึงความเจริญต่างๆ จาก
ในพ้ืนที่ลุ่มอันเป็นผลมาจากการทับถมของตะกอนดิน
การขยายตวั ของเมอื ง




คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมือง 63

บรรยากาศบรเิ วณปากคลองมหานาค คลองมหานาค

ท่ีบรรจบกบั คลองรอบกรุงในอดตี เปดิ เสน้ ทางสู่หวั เมอื งตะวันออก

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ


ตลาดนำ้ คลองมหานาค นอกจากคลองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ

เบอื้ งหลังเป็นสะพานรถไฟท่ีตดั ผา่ นวดั บรมนวิ าส พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี ๑ จะขุดขึ้น

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ เพอ่ื ประโยชนท์ างยทุ ธศาสตรค์ วบคกู่ บั การคมนาคมแลว้
64 คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มือง ใน พ.ศ. ๒๓๒๖ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองขึ้นใหม่
อีกสายหน่ึง เพื่อเป็นที่พักผ่อนสนุกสนานในเทศกาล
ฤดูน้ำ ตามที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตน

โกสินทร์ รัชกาลท่ี ๑ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ฯ
(ขำ บุนนาค) ความตอนหน่ึงว่า “...เป็นท่ีสำหรับ
ประชาชนชาวพระนครจะได้ลงเรือไปประชุมเล่นเพลง
และสักวาในเทศกาลฤดูน้ำเหมือนอย่างคร้ังกรุงศร

อยุธยา” โดยขุดแยกออกจากคลองรอบกรุงท่ีเหนือวัด
สะแกหรอื วดั สระเกศในปจั จบุ นั เป็นเสน้ ตรงไปทางทศิ
ตะวันออก แล้วพระราชทานนามตามคลองเก่าในสมัย
กรุงศรีอยุธยาว่า คลองมหานาค๑๖

เมอ่ื แรกขดุ คลองมหานาคนนั้ ไมป่ รากฏหลกั ฐาน
ทแี่ นช่ ดั วา่ ปลายคลองจะเปน็ ท่ใี ด แตอ่ าจสนั นษิ ฐานได้
เปน็ สามทาง

ทางแรกอาจไดแ้ กบ่ รเิ วณวดั บรมนวิ าส๑๗ ซงึ่ เปน็
จุดเชื่อมต่อกับคลองแสนแสบช่วงแรกหรือท่ีเรียกว่า
คลองแสนแสบใต๑้ ๘ ซงึ่ ขุดขนึ้ ในรัชกาลพระบาทสมเดจ็
พระนั่งเกล้าเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ ๓

ทางทสี่ อง ปลายคลองอาจอยทู่ ค่ี ลองหวั หมาก
เนื่องจากปรากฏว่า หลังการขุดคลองมหานาค จนถึง
กอ่ นการขดุ คลองแสนแสบชว่ งปลาย (ซงึ่ บางแหง่ เรยี กวา่
คลองบางขนาก) ในพระราชพงศาวดารกลา่ ววา่ เมอื่ ราว

พ.ศ. ๒๓๘๐ อนั เปน็ ระยะเวลาทสี่ ยามทำสงครามกบั ญวน

ภาพถ่ายทางอากาศบรเิ วณจดุ บรรจบกนั

ระหวา่ งคลองมหานาคกบั คลองรอบกรุง


การส่งเสบียงอาหารและการติดต่อกันล่าช้าไม่ทันการ (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ)
รัชกาลที่ ๓ จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยา

บรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) เม่ือครั้งยังเป็น บรรยากาศการซื้อขายสินค้าในคลองมหานาค
พระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา เป็นแม่กองจ้างจีน
เมอื่ ไมก่ ี่ทศวรรษทีผ่ ่านมา
ขดุ คลอง ตง้ั แตค่ ลองหวั หมากไปถงึ บางขนาก๑๙

ทางที่สาม ปลายคลองอยู่ที่ “ทุ่งประทุมวัน”
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)
เนื่องจากบริเวณดังกล่าวในอดีตนั้น เป็นที่ลาดต่ำ
คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง 65
จนเปน็ แอ่ง มีน้ำขงั ตลอดเวลา คลา้ ยคลึงกับคลองตนั

เขตพระโขนง ท่ีขุดยาว ๘ กิโลเมตร แล้วไปด้วนกุด
อยู่ในทงุ่ นา มไิ ดต้ ดิ ตอ่ กบั คลองอ่นื ๒๐

อย่างไรก็ตาม แม้จะไม่ปรากฏหลักฐานที่
แน่ชัดว่า ปลายคลองมหานาคอยู่ตรงบริเวณใด แต่ที่
สำคัญคือ คลองมหานาคเป็นเสมอื นเส้นทางปฐมฤกษ์
ที่เช่ือมการเดินทางไปมาระหว่างพระนครกับหัวเมือง
ตะวันออก โดยเฉพาะเมื่อขุดคลองแสนแสบในรัชกาล
ท่ี ๓ ซึ่งชว่ ยย่นระยะทางไปมาระหวา่ งเมอื งปราจนี บุรี
และเมืองฉะเชิงเทรากบั พระนคร

นอกจากน้ี การขุดคลองมหานาคเช่ือมต่อกับ

คลองรอบกรุง ยังอำนวยความสะดวกให้แก่ราษฎรที่
อาศัยในเขตชานเมืองให้สามารถเดินทางเข้ามาใน

พระนครและทำให้เกิดเป็นแหล่งซ้ือขายสินค้า

โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นจุดบรรจบกันระหว่างคลอง
มหานาคกบั คลองรอบกรงุ เรยี กวา่ “ตลาดนำ้ ปากคลอง
มหานาค” ซ่ึงทุกวันนี้ในบริเวณใกล้เคียงกัน เป็นท่ีตั้ง
ของตลาดค้าผลไม้ท่ีสำคัญ เรียกว่า “ตลาดมหานาค”
หรอื “ตลาดสะพานขาว”

ภาพจิตรกรรมฝาผนังท่วี ัดอัมพวันเจติยาราม ขดุ คลองเชอื่ มเมืองหน้าด่าน

จำลองบรรยากาศเมอื งนครเขือ่ นขันธ์ (เมอื งพระประแดง)
หรือเมอื งสมุทรปราการในปัจจุบัน

เม่อื สมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย เมื่อมีการขุดคลองภายในกรุงรัตนโกสินทร ์

รชั กาลที่ ๒ เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงและการคมนาคมของ
พระนครเรียบร้อยแล้ว ต่อมา จึงมีการขุดคลองสาขา
พระสมทุ รเจดยี ์ ศาสนสถานสำคัญคเู่ มอื งนครเขือ่ นขันธ์ เพื่อขยายเส้นทางให้มีขอบข่ายกว้างขวางออกไป

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ) ในแถบพ้ืนท่ีลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำใกล้เคียง
66 คลองเก่าเลา่ ประวัติเมือง อนั ไดแ้ ก่ แม่นำ้ แม่กลอง แม่นำ้ บางปะกง และแมน่ ำ้
ท่าจีน ซ่ึงยังประโยชน์ให้สามารถเดินทางติดต่อถึงกัน
ระหว่างพระนครกบั หวั เมอื งต่างๆ ได้อยา่ งรวดเรว็

ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า

จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขุด
คลองลดั หลวง หรือ คลองลดั หลงั เมืองนครเขื่อนขนั ธ์
เป็นคลองลัดแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และมี

พระราชดำริที่จะสร้างเมืองหน้าด่านสำหรับป้องกัน
ข้าศึกทางทะเลท่ีบริเวณลัดโพธ์ิ แต่ยังไม่แล้วเสร็จ

ก็เผอิญมศี กึ กรุงองั วะยกเขา้ มา

คร้ันถงึ รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้
นภาลัย รชั กาลท่ี ๒ ได้โปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างเมอื งขนึ้
ในบริเวณใกล้กัน แล้วพระราชทานนามว่า เมือง
นครเข่ือนขันธ์ (เมืองพระประแดง)๒๑ ควบคู่ไปกับการ

ขุดคลองลัดหลวงเหนือคลองลัดโพธิ์๒๒ ซ่ึงค่ังค้างอยู่

โดยขุดเช่ือมแม่น้ำเจ้าพระยาในเขตพระนครกับคลอง
ตาลาว เพอ่ื ความสะดวกรวดเรว็ ในการคมนาคมระหวา่ ง
พระนครกบั เมืองนครเขอ่ื นขนั ธ ์

แผนทีเ่ มืองนครเข่ือนขันธ์
ด้วยเหตุที่สภาพแม่น้ำเจ้าพระยาก่อนท่ีจะไหล ซ่งึ ตัง้ อยูร่ ะหว่างคลองลดั หลวงและคลองลดั โพธิ์
ลงอ่าวไทยมีความคดเคี้ยวยากลำบากในการเดินทาง
แต่เม่ือขุดคลองลัดหลวงแล้ว ช่วยย่นระยะทางได้ (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
อยา่ งมาก ดงั ปรากฏหลักฐานในหนงั สือ Narrative of
a Residence at the Capital of the Kingdom of ภาพถ่ายทางอากาศชมุ ชนและทัศนยี ภาพ
Siam ของเฟรเดอริค อาร์เธอร์ นีล (Frederick Arthur บรเิ วณปากแม่นำ้ เจ้าพระยา
Neale) ชาวอังกฤษ ซ่ึงเดินทางเข้ามาประเทศไทย

เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๘ และเคยเดินทางผ่านคลองลัด
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ
ซงึ่ ขดุ ใหมท่ ่วี า่
คลองเกา่ เล่าประวัติเมือง 67
“...เมือ่ เวลานำ้ ข้นึ กอ็ าจใช้ฝพี าย ๘ คน พาย
ออกไปตามคลองน้ีลัดจนถึงเมืองบางกอกได้ ช่วยย่น
ระยะทางไดร้ าว ๒๕ ไมล์...”

คลองลัดหลังเมืองนครเขื่อนขันธ์ท่ีเชื่อมต่อ
เป็นเส้นตรง จึงช่วยย่นระยะทางระหว่างพระนครกับ
เมืองสมุทรปราการ และเป็นคลองที่มีบทบาทและ
ประโยชน์ทางด้านยุทธศาสตร์ในการป้องกันพระนคร
โดยใช้เป็นเส้นทางน้ำในการติดต่อส่ือสารและลำเลียง
อาวุธยุทธภณั ฑ์ไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็ว

ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี ๓ ยังโปรดเกลา้ ฯ ให้ขดุ คลองลดั
เหนือเมืองนครเข่ือนขันธ์ อีกคลองหนึ่ง เช่ือมต่อกับ
คลองลัดหลังเมืองนครเขื่อนขันธ์สำหรับ “ไปมาเมื่อมี
การรณรงค์สงคราม ไม่ต้องเดินตามลำแม่น้ำ” ๒๓

ใน พ.ศ. ๒๓๙๓

แผนทีค่ ลองขดุ ใหม่ในบรเิ วณกรงุ เทพมหานครเม่อื สมยั กรุงธนบรุ แี ละตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์
68 คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง

ขดุ คลองเชอ่ื มหัวเมืองตะวนั ตก



แม้กรุงเทพมหานคร จะมีแม่น้ำเจ้าพระยา หัวเมืองตะวันตก รัชกาลท่ี ๓ โปรดเกล้าฯ
เป็นเส้นทางหลักสำหรับการเดินทางติดต่อกับบรรดา
ให้ดำเนินการขุดซ่อม คลองสุนัขหอน เม่ือ พ.ศ.
หัวเมืองในบริเวณลุ่มแม่น้ำเดียวกัน เช่น อยุธยา ๒๓๗๑ ซึ่งเป็นคลองท่ีมีมาแต่เดิม เชื่อมระหว่าง
ปทมุ ธานี และสมุทรปราการแล้ว แตย่ ังมหี วั เมอื งทตี่ ั้ง แม่น้ำท่าจีนกับแม่น้ำแม่กลองในแขวงเมืองสมุทร

อยู่บนลุ่มแม่น้ำอื่น เช่น สมุทรสาครในแถบลุ่มแม่น้ำ สาครและสมุทรสงคราม และคลองสายน้ีนับได้ว่าเป็น
ท่าจีน สมุทรสงครามในแถบลุ่มแม่น้ำแม่กลอง และ คลองสำคัญของราชธานี ดว้ ยเปน็ เสน้ ทางเชือ่ มแมน่ ้ำ
ฉะเชิงเทราบนลุ่มแม่น้ำบางปะกง ที่ยังไม่มีเส้นทาง สองสาย ซ่ึงไหลผ่านหัวเมืองชายทะเลที่สำคัญอย่าง
คมนาคมเชอ่ื มต่อถงึ กันได้อย่างสะดวก
เมืองสมุทรสาครและสมุทรสงคราม ทั้งสามารถใช้
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เครือข่ายสายน้ำคือคลองสนามชัยและคลองด่าน

รัชกาลท่ี ๓ จึงมีการขุดและซ่อมคลองเช่ือมแม่น้ำ ในการเดินทางมาจนถึงราชธานี คลองสุนัขหอน จึงมี
เหลา่ นก้ี บั แมน่ ำ้ เจา้ พระยา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอ่ื ญวน ประโยชน์ด้านการปกครองและการป้องกันพระนคร
พยายามแผ่ขยายอิทธิพลและอำนาจทางการเมือง
ควบคู่ไปกับการคมนาคมระหว่างพระนครกับหัวเมือง
เข้ามาในลาวและเขมร ซ่ึงเป็นดินแดนกั้นกลาง ตะวันตก

ระหว่างไทยกับญวนอย่างเปิดเผย จึงนำมาซึ่งการ ต่อมา รัชกาลที่ ๓ โปรดเกล้าฯ ให้ขุดซ่อม
ปรับปรุงเส้นทางน้ำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการ คลองบางขุนเทียน ซึ่งเป็นคลองที่มีอยู่เดิมและเป็น
เดินทาง ตลอดจนการขนส่งสรรพกำลังต่างๆ และ
คลองท่ีเช่ือมกับหัวเมืองตะวันตกทางฝั่งธนบุรี เมื่อ
ต่อมายังเอ้ือประโยชน์ด้านคมนาคมระหว่างกรุงเทพ
พ.ศ. ๒๓๗๔ ต้ังแต่บริเวณหน้าวัดปากน้ำริมคลอง
มหานครกับหวั เมืองในเขตราชธานี อันไดแ้ ก่ หวั เมือง บางกอกใหญ่ไปจนถงึ บางขนุ เทยี นและจากบางขนุ เทยี น

ตะวันตก ตะวนั ออก และใต้
ไปจนถงึ วดั กก วดั เลา ทตี่ ำบลทา่ ขา้ ม เขตบางขนุ เทยี น

ในปัจจบุ นั
















คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มอื ง 69

แผนทีค่ ดั ลอกจากหอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ แสดงแถบสีเหลอื งคลองขดุ และคลองขดุ ซอ่ ม
สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ ๓
70 คลองเก่าเล่าประวตั ิเมอื ง

ขุดคลองเชอ่ื มหวั เมอื งตะวนั ออก



สำหรับหัวเมืองตะวันออก พระบาทสมเด็จ แมน่ ำ้ นครนายกและแมน่ ำ้ บางปะกง ทำใหม้ เี สน้ ทางนำ้
พระน่งั เกล้าเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ๓ โปรดเกล้าฯ ใหข้ ดุ ที่ทอดยาวติดต่อกันได้โดยตลอด จึงสามารถขนส่ง
คลองแสนแสบ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๘๐ เช่อื มระหวา่ งคลอง สินค้าระหว่างพระนครกับหัวเมืองตะวันออกเพียง

มหานาคกบั คลองบางขนาก เมอื งฉะเชงิ เทรา ซ่งึ ไหล ทอดเดียว โดยไม่ต้องหยุดขนถ่ายและลำเลียงสินค้า
ไปบรรจบกบั แมน่ ำ้ นครนายก แมน่ ำ้ สายสำคญั ทไ่ี หลผา่ น ทางบกเหมือนเม่ือก่อนขุดคลอง และถึงแม้ว่าในระยะ
เมอื งนครนายก เมอื งฉะเชงิ เทรา และเมืองปราจีนบุรี แรกนั้น เป้าหมายของการขุดคลองแสนแสบอยู่ที่การ
ไปบรรจบกบั แมน่ ำ้ ปราจนี บรุ ที ปี่ ากนำ้ โยธะกาเปน็ แมน่ ำ้ คมนาคมระหวา่ งสงคราม แตภ่ ายหลงั สงครามสน้ิ สดุ ลง
บางปะกง
ปรากฏว่า คลองสายนี้กลายเป็นเส้นทางเดินเรือไปมา
คลองแสนแสบ แบ่งการเรียกชอ่ื เป็น ๒ ชว่ ง ค้าขายที่สำคัญของราษฎร ด้วยเหตุที่เป็นคลอง

คือ ตอนต้นคลอง๒๔ เรียกว่า “คลองแสนแสบ” หรือ ท่ีสามารถเชื่อมต่อกับคลองมหานาคและคลองผดุง
“คลองแสนแสบใต้”๒๕ เริ่มจากคลองมหานาคบริเวณ
กรุงเกษมซึ่งขุดใหม่ในภายหลังและต่อมาได้กลายเป็น
วัดบรมนิวาสไปถึงหัวหมาก๒๖ และตอนปลายคลอง ย่านการค้าทางน้ำที่สำคัญของพระนคร โดยเฉพาะ

เรยี กวา่ “คลองแสนแสบเหนอื ” หรอื “คลองบางขนาก” ต้ังแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เรมิ่ จากหวั หมาก ผา่ นคลองสามเสนชว่ งปลาย คลองตนั รัชกาลท่ี ๔ เป็นต้นมา เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จ
ผา่ นบางขนากไปออกแมน่ ำ้ บางปะกง๒๗
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ จึงต้อง

การขดุ คลองแสนแสบ นอกจากประโยชนใ์ นการ โปรดเกล้าฯ ให้ขุดซ่อมแก้ขนาดปากคลองจากเดิม

ขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังพล และเสบียงอาหาร
ทกี่ วา้ ง ๖ วา เปน็ กวา้ ง ๘ วา กบั ใหม้ สี ะพานโยงทั้งสอง
ในราชการสงคราม “อานามสยามยทุ ธ” ระหวา่ งสยาม ฝ่ังคลอง ฝ่ังคลองละ ๖ ศอก เพ่ือเป็นการสนับสนุน
กับญวนทีย่ ืดเยอ้ื มาต้งั แต่ พ.ศ. ๒๓๗๖ ไปจนถึง พ.ศ. การคมนาคมและการค้าขาย ซ่ึงนับวันจะขยายตัว

๒๓๙๐ แล้ว ยังเป็นคลองท่ีมีความสำคัญทาง สูงข้นึ ให้ได้รบั ความสะดวกและรวดเร็วยง่ิ ขน้ึ

เศรษฐกิจมาก เน่ืองจากเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทาง พร้อมกับการขุดคลองแสนแสบ รัชกาลที่ ๓
เช่ือมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกง จึงสามารถ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ขุดซ่อม คลองพระโขนง๒๘ ซึ่งเป็น
ใช้เป็นทางลัดระหว่างพระนครกับเมืองฉะเชิงเทราและ คลองท่ีมีมาแต่เดิมและเป็นคลองที่เช่ือมระหว่างคลอง
เมอื งปราจีนบรุ ีได
้ หนองบอนกับแม่น้ำเจ้าพระยาให้ลึก เพื่อประโยชน

เนื่องจากการขุดคลองแสนแสบจากพระนคร ในการคมนาคม โดยใช้ระยะเวลาดำเนินการขุดซ่อม
ไปถึงคลองบางขนากซ่ึงเป็นเส้นทางที่เชื่อมไปถึง จนแลว้ เสร็จพร้อมกบั คลองแสนแสบ


คลองเกา่ เล่าประวัติเมือง 71

ภาพสะพานรถไฟสายตะวนั ออกข้ามคลองแสนแสบ ขุดคลอง ปอ้ งกนั ขอบขณั ฑสมี า

ท่ตี ำบลคลองตนั
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาต)ิ

ด้วยสาเหตุหลายประการตามท่ีได้กล่าวแล้ว
เรือโดยสารประจำทางลอ่ งไปมาระหวา่ งคลองพระโขนง การขุดและซ่อมคลองในสมัยพระบาทสมเด็จพระ

คลองประเวศบุรรี มย์ จนถงึ คลองหลวงแพ่ง นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ จึงมีวัตถุประสงค์ด้าน
เริ่มเปดิ รับจ้าง ราว พ.ศ. ๒๔๓๗ การคมนาคมและยุทธศาสตร์เป็นสำคัญ เนื่องจาก

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ ทางราชการขณะน้ัน มีนโยบายที่จะเพิ่มพูนและขยาย
72 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง อำนาจไปควบคุมทั้งทางภาคใต้ คือบริเวณแหลม
มลายู และภาคตะวนั ออก คอื ลาวและเขมร ซง่ึ ขณะนน้ั
ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญวน ดังน้ัน ทางราชการจึงต้อง
ทำสงครามกับญวน เพื่อแย่งชิงอำนาจและอิทธิพล

ที่เคยมีอยู่เหนือเขมรกลับคืนมาจากญวนอีกคร้ัง และ
การท่ีมีสงครามกับญวนเปน็ เวลานาน ประกอบกบั เมอื่
สงครามระหว่างสยามกับญวนส้ินสุดลง รัชกาลท่ี ๓
ทรงตระหนักถึงภัยจากศัตรูนอกราชอาณาจักรที่กำลัง
แผ่อิทธิพลเข้ามาใหม่ คือชาวตะวันตก โดยเฉพาะ
อังกฤษ ที่สามารถรบชนะเหนือจีนซ่ึงเป็นอาณาจักร
มหาอำนาจตะวันออก และรบชนะพม่าซ่ึงเป็นศัตรู
สำคัญมาช้านานของสยามได้ ทำให้ทรงไม่ไว้วาง

พระราชหฤทัยและทรงเกรงว่าอังกฤษจะรุกรานสยาม
จึงโปรดเกล้าฯ ใหม้ ีการขดุ และซ่อมคลองเพ่อื ใชต้ ิดตอ่
กับหัวเมืองใกล้เคียงที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์
ซงึ่ ต้ังอยทู่ ั้งทางทิศตะวันออก ตะวันตก และทศิ ใตข้ อง
พระนคร

ดังน้ัน ทางทิศตะวันออก รัชกาลท่ี ๓ จึง
โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองแสนแสบเพื่อการสงคราม
โดยใช้เป็นเส้นทางอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
ขนส่งเสบียงอาหาร และกำลังกองทัพจากเมืองหลวง
ไปยังเมืองหน้าด่านท่ีอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำนครนายก
และแม่น้ำบางปะกง อันได้แก่ เมืองฉะเชิงเทราและ
เมืองปราจีนบุรี พร้อมกับโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้า

บรมวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษร์ ณเรศ ดว้ ยเหตทุ บ่ี รเิ วณปากอา่ วเปน็ หนา้ ดา่ นปอ้ งกนั
(ต้นราชสกุล พ่ึงบุญ) เป็นแม่กองสร้างป้อม ที่เรียก ศัตรูไม่ให้เดินทางเข้ามาถึงพระนครได้ รัชกาลท่ี ๓
กันว่า “ป้อมบางปะกง” ไว้รักษาปากแม่น้ำบางปะกง
จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดซ่อมคลองทางด้านทิศตะวันตก
ท่ีเมืองฉะเชิงเทรา เม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๗ เพื่อสกัดกั้น ของพระนครท่ีมุ่งตรงสู่เมืองสมุทรสาครและสมุทร

ข้าศึก นอกจากนั้น การขุดคลองแสนแสบยังทำให้ม
ี สงคราม ด้วยการขุดซ่อมคลองสุนัขหอนให้ลึก

การเปลี่ยนพื้นท่ีท่ีคลองไหลผ่าน จากเดิมท่ีเคยเป็น
เพ่ือความสะดวกในการติดต่อกับเมืองหลวงได ้

ปา่ รกชฏั และเป็นที่อย่อู าศัยของชา้ งปา่ เกดิ เปน็ ชมุ ชน เพราะปลายคลองด้านหนึ่งเช่ือมต่อกับคลองสนามชัย
มีผู้คนเข้าไปต้ังถ่ินฐานบ้านเรือน ทำการกสิกรรม
ที่มีทางเช่ือมกับคลองด่านซึ่งอยู่ทางฝั่งธนบุรีและ
ตามรมิ ฝ่ังน้ำสืบมา
แม่น้ำท่าจีน แล้วไปออกแม่น้ำแม่กลองตามลำดับ

ส่วนการขุดและซ่อมคลองเชื่อมต่อระหว่าง กับโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองเหนือเมืองนครเข่ือนขันธ์
พระนครกับหัวเมืองทางทิศตะวันตกและทิศใต ้
ออกไปทางทิศใต้ของเมืองหลวงที่มุ่งตรงสู่เมือง
อันได้แก่เมืองสมุทรสาครบนลุ่มแม่น้ำท่าจีน เมือง นครเข่ือนขันธ์ เพ่ือเป็นเส้นทางน้ำเชื่อมกับคลองลัด
สมุทรสงครามบนลุ่มแม่น้ำแม่กลอง และเมือง หลงั เมอื งนครเขอ่ื นขนั ธท์ ข่ี ดุ ไวก้ อ่ นแลว้ สมยั พระบาท
นครเข่ือนขันธ์ซึ่งตั้งอยู่บนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ทั้งน้

เน่ืองจากหัวเมืองดังกล่าว ต้ังอยู่บริเวณปากอ่าวหรือ ก็เพ่ือการติดต่อสื่อสาร ลำเลียงกำลังคน และขนส่ง
ปากแม่น้ำ ซึ่งเป็นเส้นทางเข้ามาในราชอาณาจักร อาวุธยุทธภัณฑ์ออกไปสู่หัวเมืองทางทิศตะวันตกและ
และยังเป็นเส้นทางน้ำที่ข้าศึกสามารถใช้เดินทาง
ทิศใต้ ซ่ึงเป็นเมืองป้องกันศัตรูทางทะเลท่ีสำคัญของ
เขา้ มาโจมตเี มอื งตา่ งๆ หรอื เดนิ ทางเขา้ มายงั พระนครได้
กรุงรตั นโกสินทร์

นอกจากนี้ รชั กาลท่ี ๓ ยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ ง การขุดและลอกคลองสายต่างๆ คร้ังต้นกรุง
ป้อมปราการรักษาปากน้ำ เพื่อคอยสกัดกั้นศัตรูไว้
รตั นโกสินทร์ นอกจากประโยชน์ดา้ นยุทธศาสตรค์ วบคู่
ทุกสาย ได้แก่ พ.ศ. ๒๓๗๑ โปรดเกล้าฯ ให้พระยา ไปกบั การคมนาคมแลว้ ยงั เปน็ การวางรากฐานโครงขา่ ย
โชฎึกราชเศรษฐี (ทองจีน) เป็นแม่กองสร้างป้อม สายน้ำให้กว้างขวางออกไปด้วยการขุดคลองเพ่ิมเติม
วิเชียรโชฎกรักษาปากแม่น้ำท่าจีนที่เมืองสมุทรสาคร ภายหลัง อันเป็นการสร้างความสะดวกและย่นระยะ
พ.ศ. ๒๓๗๔ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เวลาการเดินทางระหว่างหัวเมืองโดยมีกรุงเทพ

กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ซ่ึงในสมัยพระบาทสมเด็จ มหานครเป็นศูนย์กลาง

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ได้โปรดเกล้าฯ

สถาปนาเป็นพระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว


ให้ทรงเป็นแม่กองสร้างป้อมพิฆาตข้าศึก รักษา


ปากแมน่ ้ำแมก่ ลองทเ่ี มอื งสมทุ รสงคราม

คลองเก่าเล่าประวตั ิเมอื ง 73

การวิดนำ้ เขา้ นาเม่ือถึงฤดทู ำนาของชาวไทยในอดตี
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ)
74 คลองเก่าเล่าประวตั เิ มอื ง

ภาค ๓

ขดุ คลอง ขยายพระนคร


พม่ิ พน้ื ที่เพาะปลูก

พื้นที่


ชานพระนคร ได้รับการบุกเบิก พัฒนาให้เป็นพื้นท่ี
เกษตรกรรมมาต้ังแต่ปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๓ โดยเฉพาะพ้ืนที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต้ังแต่ธนบุรี

ไปจนถึงเมืองนครปฐม ดังมีการขุดคลองเพ่ือขยายพื้นท่ีเกษตรกรรม เช่น
ไร่ออ้ ย ตามความต้องการของตลาดโลก

สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ พื้นท
ี่
ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาและพ้ืนที่ฝั่งตะวันออกชานพระนคร ได้รับ
การบุกเบิกพัฒนาให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมขนาดใหญ่ โดยโปรดเกล้าฯ ให

ขุดคลองเพิ่มเติมหลายสาย เพือ่ เปิดพ้ืนทที่ ำไร่อ้อย ผลติ นำ้ ตาล เชน่ คลอง
เจดีย์บูชา คลองมหาสวัสดิ์ คลองภาษีเจริญ คลองดำเนินสะดวก เป็นต้น
ให้ราษฎรเข้ามาตั้งถ่ินฐานอาศัยและประกอบการกสิกรรม ต่อมา เม่ือราคา
น้ำตาลตกต่ำลง พ้ืนที่บริเวณน้ีจึงถูกแปลงให้เป็นพ้ืนท่ีปลูกข้าวขนาดใหญ่
เพื่อส่งขายยังต่างประเทศ อันมีส่วนสำคัญที่ส่งเสริมให้สยามพัฒนาส่

การเป็น “อู่ขา้ วอนู่ ำ้ ของโลก”

ล่วงถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
ราคาข้าวท่ีเพิ่มสูงข้ึน ทำให้มีความต้องการพ้ืนที่ทำนามากข้ึนตามไปด้วย
จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ คลองเพมิ่ ขนึ้ หลายสาย เชน่ คลองสวสั ดเิ์ ปรมประชากร
คลองประเวศบุรีรมย์ และมีพระบรมราชานุญาตให้เอกชนขุดคลองรังสิต
ประยูรศักด์ิ เพ่ือขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกข้าว รวมท้ังใช้เป็นเส้นทางคมนาคม
และเส้นทางลำเลียงผลผลิตออกสู่ตลาด เป็นผลให้ในช่วงเวลาน้ี สยาม

มพี น้ื ที่เพาะปลกู ขา้ วเพมิ่ ขนึ้ กว่า ๔ ล้านไร

นอกจากน้ี ยังมีพระบรมราชานุญาตให้ราษฎรได้รับกรรมสิทธ
ิ์
ถือครองท่ีดินสองฝ่ังคลอง สามารถทำประโยชน์บนที่ดินได้อย่างเต็มท่ ี

ด้วยแต่เดิมราษฎรไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ได้แต่เพียงอาศัยทำประโยชน

ภายใตพ้ ระบรมราชานญุ าต ทำให้ราษฎรเขา้ ไปประกอบการกสิกรรมในพ้นื ที่
ริมฝ่ังคลองเปน็ จำนวนมาก


คลองเก่าเลา่ ประวัติเมอื ง 75

ปากคลองผดงุ กรงุ เกษมดา้ นทศิ เหนอื บรเิ วณวดั เทวราชกญุ ชร คลองผดงุ กรุงเกษม

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ) เพ่ิมพน้ื ที่เมอื ง ขยายพ้ืนที่สวน

บรเิ วณปากคลองผดุงกรุงเกษมทีส่ ีพ่ ระยา
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ

ต้ังแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี

เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ มาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๔ นบั เน่อื งเปน็ เวลา
ยาวนานกวา่ ๗๐ ปี ภายในพระนครมตี กึ รามบา้ นเรอื น
ของข้าราชการและราษฎรหนาแน่นมากกว่าก่อน

ย่อมสมควรที่จะขยายพระนครให้กว้างขวางออกไป
เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับความเจรญิ ของบา้ นเมอื ง

ในการนี้ รชั กาลที่ ๔ ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ คลอง
คูเมืองขึ้นอีกชั้นหน่ึง ต้ังแต่ริมฝ่ังแม่น้ำเจ้าพระยา

ด้านทิศตะวันออกใต้วัดสมอแครงหรือวัดเทวราช
กุญชรในปัจจุบัน ขนานไปกับแนวคลองรอบกรุง

ตัดคลองมหานาคไปออกแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณวัด
แก้วแจ่มฟ้า และพระราชทานนามคลองขุดใหม่นี้ว่า
คลองผดุงกรุงเกษม ดังปรากฏหลักฐานในพระราช
พงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๔ ฉบบั เจา้ พระยา
ทพิ ากรวงศฯ์ (ขำ บุนนาค) ความตอนหนง่ึ ว่า

“...ทกุ วนั นบ้ี า้ นเมอื งกเ็ จรญิ ขนึ้ ผคู้ นกม็ ากกวา่
เม่ือแรกสร้างกรุงหลายเท่า ควรที่จะขยายพระนคร
ออกไปให้ใหญก่ ว้างอีกชัน้ หน่ึง จึงโปรดเกล้าฯ ให้ท่าน
เจ้าพระยาสุริยวงษ ซึ่งว่าที่สมุหพระกระลาโหมเป็น
แมก่ อง เจา้ หมนื่ ไวยวรนารถเปน็ กงสี จา้ งจนี ขดุ คลอง
ออกไปอีกช้นั หนึง่ ...” ๑










76 คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มอื ง

คลองผดุงกรุงเกษมจึงเป็นคูเมืองสายที่ ๓ คลองผดุงกรุงเกษม เม่ือแรกขุดในสมัยรชั กาลท่ี ๔
นับจากคลองคูเมืองสายที่ ๑ คือ คลองคูเมืองเดิม
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)
ซึ่งขุดข้ึนในสมัยกรุงธนบุรี และคลองคูเมืองสายท่ี ๒
คือ คลองรอบกรุง ซ่ึงขุดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จ คลองผดุงกรงุ เกษม ฝงั่ พระนคร
พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ คลอง (ภาพ : อรรถดา คอมันตร์. Siam: Days of Glory
คูเมืองที่ขุดใหม่น้ี ไม่มีการก่อกำแพงเมืองเลียบ

แนวคลองเหมือนดงั ทีเ่ คยทำกนั มาแต่ก่อน เพียงแต่มี สมุดภาพความทรงจำเมื่อครงั้ แผน่ ดิน
การสร้างป้อมเรียงรายไปตามริมคลองสำหรับป้องกัน สมเดจ็ พระพุทธเจา้ หลวง.
ข้าศึก เม่ือมีเหตุการณ์คับขันก็จะจัดกำลังต้านทาน
โดยชักปีกการะหว่างป้อมให้ถึงกันตลอด และได้สร้าง กรงุ เทพฯ : สยาม เรเนซองส์, ๒๕๕๓.)
ปอ้ มในฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยาดว้ ย รวมจำนวน คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง 77
๘ ปอ้ ม๒

เม่ือขุดคลองผดุงกรุงเกษมแล้วเสร็จ รัชกาล

ท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ ใหม้ กี ารฉลองคลอง โดยทรงขอแรง
พระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาทให้
ปลกู ศาลาและโรงตามแถวรมิ คลอง ฟากละ ๕๐ หลงั
แล้วให้เผดียงพระสงฆ์ ๕๐๐ รูป เจริญพระปริตร

หลังละ ๕ รูป และมีการละเล่นต่างๆ พอวันรุ่งข้ึน
ถวายอาหารบิณฑบาตและถวายไทยธรรม ส่วนราษฎร
ทำบุญตามศรัทธา พอตกกลางคืนให้ชาวบ้าน

ท่ีอยู่ริมคลอง จุดโคมไฟให้สว่างไสวทั้งสองฟากคลอง
งานฉลองครงั้ นน้ั ปรากฏวา่ มเี จา้ นาย ขา้ ราชการและ
ราษฎรลงเรอื พากันมาเที่ยวเลน่ เป็นจำนวนมาก

คลองผดุงกรงุ เกษม ชว่ งที่ไหลผ่านสะพานเทวกรรมรงั รักษ์

ย่านนางเล้งิ

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ การขุดคลองผดุงกรุงเกษม ทำให้อาณาเขต
ของพระนครเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๔ มีเนื้อท่ีเพิ่มขึ้นอีก
ประมาณ ๑ เท่าตัว หรือประมาณ ๕,๕๕๒ ไร่ และยัง
ช่วยให้ประชาชนที่ต้ังบ้านเรือนและทำสวนอยู่ใน
บริเวณน้ีได้ชักน้ำมาหล่อเลี้ยงพ้ืนที่สองฟากฝ่ังคลอง
ทำให้เป็นท่ีที่เหมาะแก่การทำสวนย่ิงขึ้น

ในเวลาต่อมา บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม

ยังเป็นที่ต้ังของตลาดสินค้าและโรงสีหลายแห่ง มีเรือ

บรรทุกสินค้าจอดเทียบริมสองฝั่งคลองเป็นระยะ

เชน่ ท่ปี ากคลองตอนเหนอื บรเิ วณใต้วดั เทวราชกญุ ชร

ลงมาจนถึงช่วงสะพานเทวกรรมรังรักษ์ ย่านนางเล้ิง
เปน็ ตลาดขา้ ว อิฐ ปนู ขาว และกระเบ้ือง จากสะพาน
เทวกรรมรังรักษ์ลงมาผ่านคลองมหานาคจนถึงสะพาน
เจรญิ สวสั ดิ์ ๓๖ มีการคา้ ขายสนิ ค้าหลายประเภท เชน่
ขา้ ว ไม้ เสา ไมก้ ระดาน และวสั ดุที่ทำดว้ ยปูนซเิ มนต์
บริเวณส่ีแยกมหานาค มีตลาดผลไม้ บริเวณหน้าวัด
เทพศิรินทราวาสและหัวลำโพงเป็นที่พักสินค้าจำพวก
ไม้ไผ่ ไมเ้ สา ปนู ขาว และหนิ ซง่ึ บรรทกุ รถไฟมาลงไว้
ก่อนจะนำส่งขายโดยทางรถและเรือ ถดั ลงมาที่สะพาน
พิทยเสถียรหรือสะพานเหล็กล่าง มีสินค้าประเภทโอ่ง
และกระถาง มีโรงสี โรงน้ำแข็ง โกดังสินค้าต่างๆ

ต้ังอยู่สองฟากคลองไปจนออกแม่น้ำเจ้าพระยาที่
สีพ่ ระยา


คลองผดุงกรุงเกษม ชว่ งที่ไหลผา่ นสะพานเจริญสวสั ด์ิ ๓๖
บรเิ วณหนา้ สถานรี ถไฟหัวลำโพง
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)

78 คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มอื ง

คลองผดุงกรงุ เกษม ช่วงท่ีไหลผ่านหนา้ วดั เทพศิรินทราวาส

จะเหน็ เรอื สนิ ค้าจอดอยูอ่ ย่างแออดั เต็มคลอง
ในปัจจุบัน ริมคลองผดุงกรุงเกษมยังมีแหล่ง (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ)
ค้าขายสำคัญอยู่หลายแห่ง เช่น ตลาดเทวราชหรือ
ตลาดเทเวศน์ ตลาดนางเล้ิง ตลาดมหานาค ตลาด
โบ๊เบ๊ เปน็ ต้น

คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองคูเมืองคลอง
สุดท้ายของไทย ซ่ึงแม้จะไม่ได้มีบทบาทในด้าน
ยุทธศาสตร์เหมือนดังเช่นคลองคูเมืองท่ีขุดเมื่อคร้ัง

ตน้ สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ แตก่ ารทค่ี ลองสายนเี้ ชอ่ื มตอ่
กับคลองมหานาคซ่ึงเช่ือมต่อกับคลองรอบกรุง ทำให้
การคมนาคมโดยอาศัยคลองผดุงกรุงเกษมมายังคลอง

รอบกรุงและคลองคูเมืองเดิมเป็นไปได้อย่างสะดวก

มีการเดินทางติดต่อ ตลอดจนเกิดเป็นแหล่งชุมชน
ขนาดใหญ่ที่ราษฎรเข้ามาตั้งถ่ินฐานและเกิดย่าน

ซ้ือขายแลกเปล่ียนสินค้า เช่น แหล่งการค้าบริเวณ

จุดบรรจบกันของคลองผดุงกรุงเกษมกับคลอง
มหานาค เป็นตน้

ปัจจุบัน กรุงเทพมหานครตระหนักถึงความ
สำคัญของคลองผดุงกรุงเกษม จึงได้ดำเนินการฟื้นฟู
และปรับภูมิทัศน์ พร้อมกับคลองสายต่างๆ ใน
กรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะคลองสายประวัติศาสตร์
ในบรเิ วณเขตกรงุ รตั นโกสินทร์ชน้ั ใน


คลองผดุงกรงุ เกษม ช่วงที่ไหลผา่ น
สะพานเทเวศรนฤมติ ร และสะพานวิศุกรรมนฤมาน

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
คลองเก่าเลา่ ประวัติเมือง 79

คลองถนนตรง เมอ่ื ครัง้ ยงั เปน็ เสน้ ทางสัญจรทางนำ้ ขุดคลองขนานถนน

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) การพฒั นาเมืองรปู แบบใหม่


คลองถนนตรง บริเวณสะพานเจริญสวสั ด์ิ ๓๖

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ) หลังการขุดคลองผดุงกรุงเกษมแล้วเสร็จ

80 คลองเกา่ เลา่ ประวัตเิ มือง ใน พ.ศ. ๒๓๙๗ ปีถัดมา สยามได้ทำสนธิสัญญา

กับอังกฤษ อันเป็นสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและ
การค้าท่ีเรียกกันต่อมาว่า “สนธิสัญญาเบาริง”

ซ่ึงทำให้ระบบเศรษฐกิจของสยามเปล่ียนจากระบบ
การผลิตเพื่อยังชีพเป็นการผลิตเพ่ือส่งออกไปยัง

ตา่ งประเทศ และสยามยงั ตอ้ งยอมยกเลกิ ระบบผกู ขาด
มาเป็นอนุญาตให้เกิดการค้ากันอย่างเสรี ทำให้มีผู้ค้า
ชาวตะวันตกทยอยเข้ามาตั้งห้างร้านและมีเรือเข้ามา
ซ้อื ขายสนิ ค้าในสยามปหี นงึ่ เป็นจำนวนมาก

เม่ือชาวตะวันตกเข้ามาต้ังถิ่นฐานในราช
อาณาจักร ต้องปฏิบัติตามข้อผูกพันในสนธิสัญญา

เบาริงเกี่ยวกับขอบเขตท่ีอยู่อาศัย โดยสนธิสัญญา
กำหนดให้ชาวตะวันตกพำนักได้เฉพาะบริเวณที่ห่าง
จากกำแพงพระนครออกไปในรัศมีไม่เกิน ๒๖๐ เส้น
หรอื ภายในระยะเวลาเดินทาง ๒๔ ชว่ั โมง๓

สำหรับชาวตะวันตกที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร
ทางราชการได้จัดให้อยู่ด้านใต้ของเมืองตามริมฝ่ัง
แมน่ ้ำเจ้าพระยา ทำให้เม่อื คนเหลา่ นจี้ ะขึ้นมากรุงเทพ

มหานคร ต้องล่องเรือทวนกระแสน้ำเป็นระยะทางไกล
และใช้เวลาหลายวัน แต่ถ้าไม่ต้องการทวนกระแสน้ำ
ก็ต้องรอจนกว่าน้ำทะเลจะข้ึนหนุนแม่น้ำเจ้าพระยา

ซ่ึงย่อมไมส่ ะดวกและเป็นอปุ สรรคตอ่ การค้าอยา่ งมาก

ใน พ.ศ. ๒๔๐๐ กงสุลอังกฤษ กงสุล เมื่อเกิดถนนเลียบคลองผดุงกรุงเกษมแล้ว
สหรัฐอเมริกา และกงสุลฝร่ังเศส จึงร่วมกันเข้าช่ือ
ในไม่ช้าจึงมีการสร้างสะพานข้ามคลองเพ่ือให้
กับพ่อค้าชาวต่างประเทศ ยื่นเร่ืองราวร้องทุกข์ต่อ ประชาชนข้ามไปมาได้สะดวก ช่ือ สะพานวัวลำพอง
กรมท่า ขอต้ังห้างค้าขายท่ีใต้ปากคลองพระโขนง และเนื่องจากต้นคลองอยู่หน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง
ตลอดถึงบางนา และขอให้จัดการขุดคลองลัดต้ังแต่ ผู้คนจึงเรียกคลองส่วนนั้นว่า คลองหัวลำโพง อีกช่ือ
บางนามาจนถึงคลองผดุงกรุงเกษม เพื่อพวกตนจะได้ หนึง่ ดว้ ย๖

ไปมาคา้ ขายกับทางพระนครได้อย่างสะดวก
คลองถนนตรงนี้ ต่อมาเรียกเปน็ ๒ ตอน คอื
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คลองหัวลำโพงและคลองเตย ปรากฏในหนังสือเรื่อง
รัชกาลที่ ๔ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยารวิวงศ
์ รายงานกิจการกองตระเวนในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)๔ อำนวยการขุดคลอง
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ เม่ือพุทธ
ตั้งแต่หน้าป้อมผลาญไพรีราบตัดทุ่งวัวลำพองริมคลอง ศักราช ๒๔๓๔ ความว่า โรงพกั ที่ ๑๔ ตงั้ ทศี่ าลาแดง
ผดุงกรุงเกษมลงไปถึงคลองพระโขนงและตัดแก้คลอง ทุง่ วัวลำพอง โรงพกั ที่ ๑๕ ต้ังทคี่ ลองเตย

พระโขนงออกไปทะลุแม่น้ำใหญ่ และเอามูลดินท่ีได้ ต่อมา ใน พ.ศ. ๒๔๖๒ พระบาทสมเด็จ
จากการขุดคลองข้ึนถมเป็นถนนฝ่ังเหนือขนานไปกับ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้โปรดเกล้าฯ
ลำคลอง พระราชทานนามคลองว่า คลองถนนตรง ใหเ้ ปลี่ยนชื่อถนนเป็น ถนนพระรามท่ ี ๔ เพราะเป็น
เมื่อขุดคลองแล้วเสร็จ ปรากฏว่าชาวต่างประเทศ
ถนนทรี่ ัชกาลท่ี ๔ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้าง และใน พ.ศ.
ไม่ไดย้ า้ ยห้างร้านลงไปอยทู่ ่ีบางนาแตอ่ ยา่ งใด
๒๔๙๐ เมอื่ มกี ารขยายถนนพระรามที่ ๔ ใหก้ ว้างขน้ึ
อย่างไรก็ตาม คลองถนนตรงเป็นประโยชน์
จึงต้องถมคลองหัวลำโพงและคลองเตยบางส่วนเป็น
ต่อการเดินทางระหว่างพระนครกับหัวเมืองใกล้เคียง
ถนนและท่อระบายน้ำ รวมท้ังร้ือถอนสะพานในชุด
ทางตะวันออก ประชาชนส่วนใหญ่เรียกคลองสายนี้ว่า
“เฉลิม” ซ่ึงรัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง คือ
คลองวัวลำพอง เพราะขุดผ่านทุ่งวัวลำพอง๕ และ สะพานเฉลิมศักด์ิ ๔๓ สะพานเฉลิมเกียรติ ๔๔
เรียกถนนสายใหม่ที่ตัดขนานไปกับแนวคลองว่า ถนน สะพานเฉลิมภพ ๕๐ และสะพานเฉลมิ เดช ๕๗

ววั ลำพอง ตามชอ่ื ทงุ่ ทีค่ ลองและถนนตดั ผ่าน








คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มอื ง 81

ภาพถา่ ยทางอากาศ เส้นทางรถไฟสายปากนำ้

ท่ีขนานไปกับแนวคลองถนนตรง (ดา้ นลา่ ง)

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาต)ิ ถนนตรงในอดีตยังเป็นต้นสายของทางรถไฟ
สายปากนำ้ สถานตี น้ สายชอ่ื วา่ สถานหี วั ลำโพง (ไมใ่ ช่
ภาพถ่ายทางอากาศ บรเิ วณ “ทงุ่ ววั ลำพอง” สถานีรถไฟหัวลำโพงในปัจจุบัน แต่ตั้งอยู่กลางถนน
เมือ่ ภายหลงั ทม่ี กี ารสรา้ งสถานรี ถไฟหวั ลำโพง พระรามท่ี ๔ หน้าโรงแรมสยามซิตี้ ส่วนสถานีรถไฟ
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) หัวลำโพงปัจจุบัน ในอดีตชื่อสถานีรถไฟกรุงเทพ

82 คลองเก่าเล่าประวตั เิ มือง เมื่อยกเลิกทางรถไฟสายปากน้ำ คนท่ัวไปจึงเปล่ียน
มาเรยี กชอื่ สถานรี ถไฟกรงุ เทพเปน็ สถานรี ถไฟหวั ลำโพง
ตามความเคยชิน) โดยรางรถไฟสายน้ีวางขนานกับ
คลองถนนตรง มีทางรถไฟอยู่ตรงกลางระหว่างคลอง
ถนนตรงกบั ถนนพระรามที่ ๔ ซง่ึ รางรถไฟอยฝู่ งั่ โรงแรม
สยามซติ ี้ ตงั้ แตแ่ ยกมหาพฤฒารามมาตามถนนพระราม
ท่ี ๔ จนขา้ มคลองแสนแสบจงึ ขนานกบั แมน่ ำ้ เจา้ พระยา
ไปส้ินสดุ ที่เมอื งสมุทรปราการ

การขุดคลองควบคู่กับการสร้างถนนมีให้เห็น
ต่อมา เม่ือกงสุลของประเทศต่างๆ ได้เข้าชื่อกันอีก
ครั้งหนึ่ง ร้องขอให้ทางราชการสร้างถนนสายยาว
สำหรับให้พวกตนข่ีม้าหรือน่ังรถม้าตากอากาศ

โดยอ้างว่าเมื่อเข้ามาอยู่ท่ีพระนคร ไม่มีถนนหนทาง

ท่ีจะข่ีรถม้าไปเท่ียว ทำให้เกิดเจ็บป่วยเนืองๆ รัชกาล
ที่ ๔ มีพระราชดำรวิ า่ พวกชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่
ในพระนครมากขึ้นทุกปี ประเทศบ้านเมืองของเขา

มีถนนหนทางท่ีสะดวกราบร่ืนไปทุกบ้านทุกเมือง

ผิดกับบ้านเมืองของเราท่ีมีแต่รกเรี้ยว ถนนหนทาง
เป็นตรอกเล็กซอยน้อย ถนนท่ีใหญ่หน่อยก็สกปรก

ไม่เป็นที่เจรญิ ตา ทำให้ขายหนา้ ชาวตา่ งประเทศ

คลองสลี มเม่อื วันวาน

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ
ดังน้ัน ใน พ.ศ. ๒๔๐๔ จึงโปรดเกล้าฯ

ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นแม่กอง ถนนสลี มสมยั อดตี
และพระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน (ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
ตัดถนนเชื่อมโยงเขตพระนครชั้นในรวม ๓ สาย

สายหน่ึงจากคลองบางรักมาถึงคลองถนนตรง และ
คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มอื ง 83
ขดุ คลองเพม่ิ ขนึ้ อกี สายหนง่ึ จากคลองบางรกั เชอื่ มกบั

คลองถนนตรง แล้วนำดินท่ีได้จากการขุดคลองมาถม
เป็นถนน เรียกคลองขุดท่ีขนานกับถนนเส้นนี้เป็นชื่อ
เดียวกันว่า สีลม โดยเหตุที่มีชาวต่างประเทศได้ตั้ง

โรงสีลม ซึ่งใช้สำหรับการวิดน้ำริมถนนสายน้ี จึงเป็น
ทม่ี าของชอ่ื เรียกถนนมาจนถึงปัจจบุ ัน

การตัดถนนสีลมจึงเปน็ การเชอื่ มถนนสองสาย
เข้าด้วยกันคือถนนเจริญกรุงกับถนนตรง ส่วนการขุด
คลองสลี มนน้ั เปน็ การเชอื่ มคลองบางรกั กบั คลองถนนตรง
ส่งผลให้การเดินทางไปมาระหว่างย่านท่ีอยู่อาศัยของ
ประชาชนในบริเวณสีลมกับพระนครชั้นในเป็นไปได้
อย่างสะดวก ดังท่ีคุณสมศรี สุกุมลนันทน์ บุตรีของ
พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ซึ่งมีบ้าน

อยูแ่ ถบสีลมเคยเลา่ ไว้ว่า

“...เราสามารถพายเรือจากสีลมไปเล่นที

บางลำพูได้ พายออกจากคลองสีลมเข้าคลองถนนตรง
ตามแนวถนนพระรามท่ี ๔ เล้ียวขวาเข้าคลองอรชร
ตามแนวถนนอังรีดูนังต์เลี้ยวซ้ายออกคลองแสนแสบ
ตรงไปเร่ือยๆ ก็ถึงบางลำพูแล้ว...”

รว้ั เหล็กวดั ประยรุ วงศาวาส (ด้านขวาของภาพ) ขดุ คลอง ค้านำ้ ตาล

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยรู วงศ์ (ดิศ บนุ นาค) ทรพั ยไ์ พศาลสู่สยาม

ได้ส่งั เขา้ มาจากองั กฤษ โดยใชน้ ้ำตาลทรายแลกแบบ
“หนกั ตอ่ หนกั ” คอื เหลก็ หนกั เทา่ ใด นำ้ ตาลทรายกห็ นกั เทา่ นน้ั

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) นอกจากสนธิสัญญาเบาริงในส่วนที่ว่าด้วย

ขอบเขตที่อยู่อาศัยของชาวตะวันตก จะมีส่วนทำให

ไรอ่ ้อยและการตัดออ้ ยในอดตี มีการขุดคลองและตัดถนน เพ่ืออำนวยความสะดวก

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ) แกก่ ลมุ่ บคุ คลดงั กลา่ ว และมสี ว่ นชว่ ยขยายความเจรญิ
84 คลองเกา่ เล่าประวัติเมือง และขยายชุมชนออกไปทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของ
พระนครแล้ว ข้อกำหนดในสนธิสัญญาฉบับเดียวกันนี้
ในส่วนท่เี กย่ี วกับการค้า ทำใหส้ ยามกลายเป็นประเทศ
ทส่ี ง่ ออกพชื ทมี่ คี วามสำคญั ทางเศรษฐกจิ อกี หลายชนดิ
นอกเหนอื จากขา้ ว เชน่ ไมส้ กั ยางพารา และโดยเฉพาะ
ออ้ ย ทม่ี กี ารนำมาทำนำ้ ตาลเพอ่ื สง่ ออกขายตา่ งประเทศ
จำนวนมาก โดยบริเวณท่ีปลูกอ้อยมากในยุคนั้นคือ
แถบหัวเมืองที่ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ
เจ้าพระยา ซ่ึงก็คือหัวเมืองในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและ
ลุม่ แมน่ ้ำนครชยั ศรี

แต่เดิม น้ำตาลเป็นสินค้าผูกขาดมาต้ังแต่
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล
ท่ี ๒ ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ เมื่อสยามได้ทำสนธิสัญญา
เบอร์น่ีกับอังกฤษ ใน พ.ศ. ๒๓๖๙ จึงยกเลิกการ
ผูกขาดไปช่ัวระยะเวลาหน่ึง และเนื่องจากน้ำตาลเป็น
สินค้าที่ชาวตะวันตกต้องการมากและทำกำไรอย่าง
งดงาม จึงทำให้มีการผลิตน้ำตาลส่งออกไปขายยัง

ต่างประเทศเพม่ิ มากขึ้น

อย่างไรก็ตาม ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ยังไม่ “...ไร่อ้อยเป็นจำนวนมากท้ังสองฝ่ังฟากแม่น้ำ
ปรากฏว่ามีการขุดคลองเพ่ือขยายพื้นที่เพาะปลูกและ แจ้งให้เรารู้ว่ากำลังเข้าไปใกล้จังหวัดนครชัยศรีเข้ามา
ขนส่งอ้อยกับน้ำตาลอย่างเด่นชัดนัก อาจเนื่องด้วย มากแล้ว ไม่ช้าก็เห็นโรงหีบอ้อยตั้งเรียงรายอยู่

นโยบายยกเลกิ ผกู ขาดนำ้ ตาลเปน็ เพยี งนโยบายชว่ั คราว๗ เป็นระยะไม่ขาดสาย ข้าพเจ้านับได้กว่า ๓๐ โรง

ราชสำนกั จงึ ไมล่ งทนุ ขดุ คลองเพอื่ ขยายพนื้ ทเี่ พาะปลกู ซ่ึงแต่ละโรงใช้กุลจี ีนราว ๒๐๐ - ๓๐๐ คน...” ๘

มากนัก ยงั คงการขดุ คลองเพ่ือการคมนาคมขนส่งและ นอกจากการปลูกอ้อยและผลิตน้ำตาล

ยุทธศาสตรม์ ากกวา่
จะมีมากท่ีเมืองนครชัยศรีแล้ว ยังมีอีกแห่งหน่ึง

แต่หลังการทำสนธิสัญญาเบาริง ราชสำนัก ที่ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจเช่นเดียวกันนี้ คือใน
ยอมตกลงใหม้ ีการซื้อขายไดอ้ ย่างเสรี ยกเว้นไว้เพยี ง ลุ่มแม่น้ำบางปะกง ในช่วง พ.ศ. ๒๓๙๓ - ๒๔๑๐

สนิ คา้ บางอยา่ ง เชน่ อาวธุ ยทุ ธภณั ฑแ์ ละฝนิ่ เวลานนั้ อันเป็นระยะเวลาที่การค้าน้ำตาลของสยามได้เจริญ
ตลาดโลกมคี วามตอ้ งการสนิ คา้ ประเภทนำ้ ตาลอยอู่ ยา่ ง รุ่งเรืองถึงขีดสุด ใน พ.ศ. ๒๔๐๘ เมืองนครชัยศร

ตอ่ เนอ่ื ง การสง่ ออกนำ้ ตาลไปขายยงั ตลาดตา่ งประเทศ มีโรงงานน้ำตาลต้ังอยู่ริมแม่น้ำมากถึง ๒๓ แห่ง
มแี นวโนม้ สูงขน้ึ เหน็ ได้จากก่อน พ.ศ. ๒๓๙๘ สยาม เนอื่ งจากเมอื งนครชัยศรี มีความเหมาะสมในการผลติ
ส่งน้ำตาลเป็นสินค้าออกประมาณปีละ ๕๐,๐๐๐ - น้ำตาล มีแหล่งปลูกอ้อยกับโรงงานน้ำตาลตั้งอยู่ใน
๙๐,๐๐๐ หาบ แต่หลังจาก พ.ศ. ๒๓๙๘ มกี ารส่งออก บริเวณเดียวกันคือแม่น้ำนครชัยศรี ทำให้สะดวก

เพิ่มเป็นปีละ ๑๕๐,๐๐๐ หาบ และมีปริมาณการ
ในการขนสง่ ออ้ ยสโู่ รงงานและขนสง่ นำ้ ตาลมายงั กรงุ เทพ

ส่งออกสูงสุด ใน พ.ศ. ๒๔๐๒ ถึง ๒๐๓,๕๙๖ หาบ มหานคร และพื้นที่บริเวณริมแม่น้ำเมืองนครชัยศรี
โดยมแี หลง่ ผลิตนำ้ ตาลใหญท่ ่สี ดุ อยทู่ เี่ มอื งนครชัยศร
ี เป็นท่ีราบลุ่มดินดี เน้ือดินเป็นดินเหนียวปนทราย
ก่อน พ.ศ. ๒๓๙๘ แหล่งผลิตน้ำตาล
สามารถปลูกอ้อยได้โดยอาศัยน้ำจากแม่น้ำนครชัยศรี
ในบริเวณลุ่มแม่น้ำนครชัยศรี ปรากฏเฉพาะริมแม่น้ำ และปริมาณน้ำฝนตามธรรมชาติ๙ ประกอบกับเมือง
ในเขตเมืองนครชัยศรี ดังท่ีสังฆราชปาลเลอกัวซ์ นครชัยศรีอยู่ไม่ห่างจากทะเล เอ้ืออำนวยต่อการ

(Jean-Baptiste Pallegoix) ได้บันทึกถึงแหล่งผลิต เดินทางเขา้ มาของแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานชาวจีน
นำ้ ตาล เม่ือไดเ้ ดนิ ทางมาถงึ แมน่ ้ำนครชัยศรวี ่า
อันเป็นส่วนหนึ่งท่ีทำให้อุตสาหกรรมน้ำตาลทราย


ในแถบนครชัยศรีเจริญเติบโตข้ึนเป็นลำดับ






คลองเก่าเล่าประวตั เิ มอื ง 85

ภาพพระปฐมเจดยี ์ในอดตี ซ่ึงไดร้ ับการบูรณปฏสิ งั ขรณ์ คลองเจดีย์บูชา

ในชว่ งเวลาใกล้เคยี งกบั ท่ีมกี ารขดุ คลองเจดีย์บชู า
(ภาพ : Karl Döhring. Buddhist Temple of Thailand.

Bangkok : White Lotus, 2000.) ด้วยเมืองนครชัยศรีเป็นแหล่งผลิตน้ำตาล
ทำให้บริเวณน้ีเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญ พระบาท
ภาพพระตำหนักหลงั หนง่ึ ในพระราชวงั ปฐมนคร สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ ทรงเลง็ เหน็
ท่ีจงั หวดั นครปฐม ความสำคัญของการปลูกอ้อยและการผลิตน้ำตาล

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) เพ่ือการส่งออก จึงทรงให้ความสำคัญกับลุ่มแม่น้ำ
86 คลองเกา่ เล่าประวัติเมือง นครชัยศรี จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหม้ ีการขุดคลองเจดยี ์บชู า
คลองมหาสวสั ดิ์ คลองภาษเี จรญิ และคลองดำเนนิ สะดวก
เพื่อเชื่อมกรุงเทพมหานครกับหัวเมืองในลุ่มแม่น้ำ
นครชัยศรี ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกอ้อยและเป็นแหล่ง
ผลิตน้ำตาลทรายที่สำคัญ เพื่อเป็นเส้นทางลำเลียง
น้ำตาลทรายจากแหล่งผลิตมาสู่ตลาดไดอ้ ยา่ งสะดวก

รัชกาลท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินการขุด
คลองเจดีย์บูชา โดยปลายคลองด้านหน่ึงแยกจาก
แม่น้ำนครชัยศรีที่บ้านท่านาไปถึงบริเวณท่ีพระราช
พงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๔ ฉบบั เจา้ พระยา
ทพิ ากรวงศ์ฯ (ขำ บุนนาค) กลา่ ววา่ เป็นวังซึ่งอาจจะ
หมายถึงพระราชวังปฐมนครหรือพระนครปฐม๑๐

ซึ่งรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเน่ืองในการบูรณ
ปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ แล้วเลี้ยวแยกไปเชื่อมกับ
คลองทัพหลวงท่ีเขตวัดพระงาม ซึ่งใช้เป็นเส้นทางต่อ
ไปยงั แม่นำ้ แมก่ ลองทจ่ี งั หวัดราชบรุ แี ละกาญจนบรุ ไี ด้
คลองเจดีย์บูชา นอกจากเป็นเส้นทางเสด็จ

พระราชดำเนินของรัชกาลท่ี ๔ ไปทรงสักการะ

พระปฐมเจดีย์ที่โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์แล้ว

ยังเป็นเส้นทางที่ทำให้ทางกรุงเทพมหานครปกครอง
หัวเมืองในบริเวณดังกล่าว เช่น นนทบุรี นครชัยศรี
สมทุ รสาคร สมุทรสงคราม และราชบรุ ไี ด้อย่างใกล้ชิด

บรรยากาศตลาดหน้าองค์พระปฐมเจดยี ์

สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๕
นอกจากน้ี คลองเจดีย์บูชายังเป็นเส้นทาง

เชื่อมไปถึงแหล่งปลูกอ้อยและผลิตน้ำตาลที่สำคัญ
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ
และช่วยเปิดพื้นที่เพาะปลูกและทำนาสองฝ่ังคลอง
สภาพคลองเจดียบ์ ชู าในปจั จบุ ัน
ต้ังแต่วัดพระปฐมเจดีย์ไปจนถึงแม่น้ำนครชัยศรี

จากท่ีเคยเป็นป่ารกร้างว่างเปล่าให้กลายเป็นพ้ืนท่ี
เพาะปลูกอ้อยท่ีสำคัญอีกแห่งหนึ่งของเมืองนครชัยศรี
ดังจะเห็นได้จากที่มีย่านผลิตน้ำตาลทรายแห่งใหม

เกดิ ขึ้นในตำบลวังตะกู เมอื งนครชัยศร๑ี ๑

หลังการขุดคลองแล้ว ยังทำให้เกิดชุมชนและ

ตลาดริมสองฝั่งคลอง เน่ืองจากมีความสะดวกในการ
คมนาคม เช่น ตลาดบริเวณพระปฐมเจดีย์ ซึ่งมิได

มีมาแต่เดิม แต่เม่ือเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ในลุ่มแมน่ ้ำนครชยั ศรี ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๓๙๘ เป็นต้นมา
บริเวณที่ค้าขายแลกเปล่ียนแห่งน้ีได้เติบโตขึ้นอย่าง
รวดเร็วจนกลายเป็นตลาดสำคัญของหัวเมืองในเวลา
ต่อมา ดังที่รายงานการตรวจราชการของสมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ใน พ.ศ. ๒๔๔๑ ได้กล่าวถึงสภาพตลาดพระปฐมเจดีย์
ไว้ตอนหนึง่ วา่

“...ตลาดพระปฐมเจดยี ์น้ี ตง้ั อยู่ ๒ ฟากคลอง
เจดีย์บูชาตั้งแต่บริเวณวัดพระปฐมเจดีย์ตลอดลงไป
ยาวตามลำน้ำประมาณ ๑๐ เส้น ปลูกเป็นโรงจาก
เครอ่ื งผกู บา้ งเครอ่ื งสบั บา้ ง ฝง่ั ละ ๒ แถว มที างเดนิ กลาง
กวา้ งประมาณ ๔ ศอก มตี ้งั โรงบ่อนแลโรงสรุ า ตลาด
ของสดเบด็ เสรด็ อยู่ในนน้ั ...” ๑๒




คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง 87

แผนที่คลองมหาสวสั ดิ์ แสดงระยะเวลาการเดินทางระหวา่ งคลองบางกอกนอ้ ยกับสถานรี ถไฟง้วิ ราย
อำเภอนครชัยศรี จังหวดั นครปฐม (ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาต)ิ
88 คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มอื ง

คลองมหาสวัสดิ์



ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๐๓ พระบาทสมเด็จพระ

จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้
เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ฯ (ขำ บุนนาค) และพระภาษี
สมบัติบรบิ ูรณห์ รือเจ๊สวั ย้ิม (ตน้ สกลุ พิศลยบตุ ร) เป็น
แม่กองจ้างชาวจีนขุดคลองแยกจากคลองลัดบางกรวย
หรือคลองบางกอกน้อยช่วงท่ีไหลผ่านวัดไชยพฤกษ
มาลาในปัจจุบัน ไปบรรจบกับฝ่ังตะวันออกของแม่น้ำ
นครชัยศรีท่ีตำบลงิ้วราย จังหวัดนครปฐม แล้ว
พระราชทานนามว่า คลองมหาสวัสดิ์ เพื่อให้คู่กันกับ
คลองเจดยี ์บูชา๑๓

เมอ่ื ขุดคลองมหาสวสั ดิ์แลว้ เสรจ็ รัชกาลที่ ๔ ภาพทางรถไฟสายใต้ ชว่ งเลียบคลองมหาสวสั ดิ์
โปรดเกล้าฯ ให้แบ่งที่นาสองฝ่ังคลองในแขวง บริเวณสถานีศาลายา เมอื งนครปฐม
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)

เมอื งนนทบรุ แี ละเมอื งนครชยั ศรี จำนวน ๑๖,๒๐๐ ไร่ การขุดคลองมหาสวัสด์ิยังอำนวยประโยชน

ออกเป็น ๕๐ สว่ น ส่วนละ ๓๒๔ ไร่ พระราชทานแก่ ในการเปิดพ้ืนท่ีสองฝั่งคลองที่เคยรกร้างว่างเปล่า

พระราชโอรสและพระราชธิดา เพื่อทำเป็นที่นา โดยมี ใหก้ ลายเปน็ ไรน่ าและสามารถขยายพนื้ ทกี่ ารเพาะปลกู
“นายกอง” หรือผู้จัดการแทนพระองค์ คอยดูแล
ได้มากถึง ๑๖,๒๐๐ ไร่ และการท่ีคลองมหาสวัสด์ิ
เกบ็ ผลประโยชนท์ เี่ กดิ ขน้ึ ให้ เชน่ ทน่ี าในพน้ื ทศ่ี าลายา เช่ือมต่อกับคลองเจดีย์บูชา จึงเอ้ือประโยชน์ต่อ

มีนายพันตรี หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ (แป้น ยงใจยุทธ) แหล่งผลิตน้ำตาลทรายบริเวณวังตะกู เมืองนครชัยศรี
เป็นนายกองเก็บผลประโยชน์ในที่นาของพระราชโอรส เป็นอย่างมาก เพราะคลองทั้งสองสายน้ีได้อำนวย
ธดิ ารวม ๕ พระองค์ ไดแ้ ก่ สมเด็จพระเจา้ ลกู ยาเธอ ความสะดวกในด้านการเดินทางเข้าไปบุกเบิกพ้ืนท่ี
เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ฯ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า ปลูกอ้อยและขนส่งอ้อยกับน้ำตาลทรายจากแถบเมือง
จาตุรนต์รัศมี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า นครชัยศรีมายังฝ่ังตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา

ภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้า เข้ามายังกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งออกสู่ตลาดโดยท่ี
กรรณิกาแก้ว และพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้า
ไม่ต้องผ่านแม่น้ำท่าจีนตอนล่าง นอกจากนั้น ยังเป็น
จติ รเจรญิ ซึง่ ในขณะนน้ั ยงั ทรงพระเยาวม์ าก
คลองท่ีราษฎรท้องถ่ินใช้เป็นเส้นทางติดต่อกับชุมชน

ภายนอกอีกดว้ ย





คลองเกา่ เลา่ ประวัตเิ มอื ง 89

ประตรู ะบายนำ้ กั้นคลองภาษีเจรญิ ภาษเี จรญิ - ดำเนินสะดวก

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาต)ิ


บรรยากาศคลองภาษีเจรญิ ในปัจจุบนั เม่ือมีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางน้ำ

90 คลองเกา่ เลา่ ประวตั ิเมอื ง เกิดข้ึนในบริเวณลุ่มแม่น้ำนครชัยศรี ซ่ึงเป็นปัจจัย
สำคัญประการหน่ึงที่ทำให้อุตสาหกรรมน้ำตาลทราย
ขยายตัว ใน พ.ศ. ๒๔๐๙ พระภาษีสมบตั ิบริบูรณห์ รือ
เจ๊สัวยิ้ม ซ่ึงมีโรงหีบอ้อยท่ีบ้านดอนไก่ดี (ดอนกะฎี)
แขวงเมืองสมุทรสาคร จึงได้ขอพระราชทานพระบรม
ราชานุญาตพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลท่ี ๔ ขุดคลองจากบริเวณท่ีคลองบางกอกใหญ่
บรรจบกับคลองบางขุนศรี ริมวัดปากน้ำ ไปเชื่อมกับ
แม่น้ำท่าจีนท่ีตำบลดอนไก่ดี เมืองสมุทรสาคร

เป็นระยะทางยาว ๖๒๐ เส้น กว้าง ๗ วา ลกึ ๕ ศอก
โดยใช้วิธีหักเงินภาษีฝิ่นซ่ึงเป็นส่วนที่พระภาษีสมบัติ
บริบูรณ์จะต้องส่งให้แก่ทางราชการพระราชทานเป็น
ค่าจา้ งขุด และพระราชทานนามวา่ คลองภาษเี จรญิ

อย่างไรก็ตาม รัชกาลที่ ๔ เสด็จสวรรคต

ก่อนที่คลองสายน้ีจะขุดแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี ๕ จงึ โปรดเกลา้ ฯ
ให้ขุดต่อจนเสร็จและเสด็จพระราชดำเนินมาทรง

เปิดคลอง ใน พ.ศ. ๒๔๑๕

ต่อมา ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๒๘ - ๒๔๒๙

ได้มีการขุดลอกคลอง และ พ.ศ. ๒๔๔๕ ได้ขุดลอก
คลองอีกครั้งหนึ่งในเดือนธันวาคม โดยจ้างชาวจีนขุด
ลอกคลองให้มีความลึกข้ึนอีก ๒ ศอก ๑๐ นิ้ว

พ้นื คลองกวา้ งขนึ้ อกี ๓ วา ๒ ศอก และให้มที ่ีโยงเรือ
ได้ทั้งสองฝั่งคลอง

เมื่อขุดคลองภาษีเจริญแล้วเสร็จในเดือน ตลาดนำ้ แหง่ นห้ี รอื ทตี่ อ่ มาเรยี กกนั โดยทวั่ ไปวา่
เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๖ รัชกาลท่ี ๕ เสด็จพระราช
ตลาดน้ำบางแคหรือตลาดน้ำหน้าวัดนิมมานรดี

ดำเนินมาทรงเปิดคลองให้เรือสัญจรได้ในวันที่ ๑๐ เปน็ จดุ นัดพบของชาวสวนในละแวกบางแค บางขแี้ ก้ง
พฤษภาคม ปเี ดยี วกัน
บางไผ่ ตลอดจนชาวสวนในแถบบางช้างท่ีล่องเรือ
อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการขุดลอกคลอง บรรทุกสินค้าประเภทใบตอง กล้วย หัวปลี พริก

ภาษีเจริญอยู่เสมอ แต่ในเวลาน้ำลง ถ้าไม่ใช่ฤดูน้ำ หัวหอม กระเทียมแห้ง มาจำหน่าย ท่ีข้ึนช่ือคือ

เรือท่ีกินน้ำลึกต้องจอดรอน้ำขึ้นก่อนจึงจะผ่านไปได้ พริกแหง้ บางชา้ งเมด็ ใหญ่ สีแดงสวย นอกจากน้ี ยังมี
ประกอบกับเรือที่เดินในคลองภาษีเจริญมีเพ่ิมมากขึ้น ชาวบ้านแถวแม่กลองและท่าจีนท่ีขายสินค้าอย่างกะปิ
เป็นลำดับ กรมคลองจึงได้สร้างประตูเรือสัญจรและ น้ำปลา ปูเค็ม ปลาเค็ม และชาวสวนจากอยุธยา
ประตูระบายน้ำท่ีปากคลองท้ังสองข้าง เพ่ือเก็บกักน้ำ นครสวรรค์ สพุ รรณบรุ ี ล่องเรือลงมาซ้อื พืชผลจำพวก
ในคลองให้เรือเดินได้ตลอดเวลา ประตูน้ำด้านคลอง หมากและมะพร้าวไปขายต่อในพนื้ ท่ีของตน๑๔

บางกอกใหญ่อยู่ท่ีเขตภาษีเจริญใกล้วัดนวลนรดิศ
นอกจากตลาดน้ำแล้ว บริเวณเดียวกันน
้ี
ในปัจจุบัน ประตูน้ำด้านแม่น้ำนครชัยศรีอยู่ที่ ยังเป็นท่ีต้ังของร้านค้าต่างๆ ท้ังริมฝ่ังคลองภาษีเจริญ
กระทุ่มแบน โดยได้เร่ิมสร้างประตูเรือสัญจรในปลาย และคลองพระยาราชมนตรี มีเรือนแถวขายของ
พ.ศ. ๒๔๔๙ แล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. สารพัด โดยส่วนใหญ่เจ้าของเป็นเถ้าแก่ชาวจีน ส่วน
๒๔๕๑ ส่วนประตูระบายน้ำเร่ิมสร้างเม่ือปลาย พ.ศ. กิจการอ่ืนๆ มีโรงสขี า้ ว โรงเชือดหมู เปน็ ต้น

๒๔๕๑ แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒
การขุดคลองภาษีเจริญ นอกจากจะอำนวย

ผลจากการขุดคลองภาษีเจริญ ทำให้มีผู้คน
ประโยชน์ต่อธุรกิจการค้าน้ำตาลแล้ว คลองสายน
้ี
เข้าไปอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น พ้ืนที่สองฝ่ังคลองเป็น
ยังเป็นคลองเช่ือมที่มีบทบาทต่อการคมนาคมจาก
ไร่นาและใช้การสัญจรทางน้ำเป็นหลัก จึงมีเรือสินค้า
กรุงเทพมหานคร ผ่านไปออกแม่น้ำท่าจีนเข้าสู่แม่น้ำ
ข้นึ ล่องจากบางช้าง ดำเนนิ สะดวก และท่ีอื่นๆ เข้ามา
แมก่ ลอง

จอดพักค้าขายอยู่หลายแห่ง เช่น ริมคลองบริเวณ

หน้าวัดม่วง ศาลเจ้าแม่ทับทิม เป็นต้น แต่แหล่ง

พักใหญ่ของชาวเรือ ได้แก่ ตลาดน้ำบริเวณสี่แยก
คลองภาษีเจริญตัดกับคลองพระยาราชมนตรี ใกล้วัด
นมิ มานรดีเร่อื ยไปจนถึงท่าเกษตร




คลองเก่าเล่าประวัตเิ มือง 91

บรรยากาศคลองดำเนนิ สะดวกในอดตี

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ

คลองดำเนินสะดวก ขุดขึ้นเม่ือราว พ.ศ.
สภาพคลองดำเนนิ สะดวกในปจั จบุ นั ๒๔๐๙ โดยรชั กาลท่ี ๔ มพี ระราชดำรวิ า่ การคมนาคม
92 คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มอื ง ไปมาระหว่างพระนครกับสมุทรสาครมีคลองภาษีเจริญ
ทที่ ำการสญั จรได้โดยสะดวก ถา้ มคี ลองระหวา่ งพระนคร
สมทุ รสงคราม และราชบรุ กี จ็ ะสะดวกขนึ้ เปน็ อนั มาก๑๕
เน่ืองจากในเวลานั้น การไปมาระหว่างพระนครกับ
เมืองราชบุรี ต้องล่องเรือไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา

เข้าคลองดาวคะนองไปออกเมืองสมุทรสาคร แล้วเข้า
คลองสุนัขหอนไปออกแม่น้ำแม่กลองที่เมืองสมุทร

สงคราม แลว้ จงึ ตอ่ ไปเมืองราชบรุ ี ซงึ่ เปน็ การเดนิ ทาง
ทอ่ี ้อม ทำใหเ้ สยี เวลามาก

รัชกาลท่ี ๔ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา

ศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ว่าที่สมุหพระกลาโหม

เป็นแม่กองขุดคลองเชื่อมระหว่างแม่น้ำนครชัยศร

ที่ตำบลบางยาง อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทร

สาครกับแม่นำ้ แมก่ ลอง ทีต่ ำบลบางนกแขวก อำเภอ
บางคนที จังหวัดสมุทรสงครามในปัจจุบัน โดยใช้
แรงงานคนลว้ นๆ ใชว้ ธิ ขี ดุ ระยะหนงึ่ แลว้ เวน้ ไวร้ ะยะหนง่ึ
ใหน้ ำ้ เซาะดนิ ทไ่ี มไ่ ดข้ ดุ พงั ไปเอง เมอ่ื ขดุ คลองแลว้ เสรจ็
ได้นำแผนท่ีข้ึนทูลเกล้าฯ ถวายรัชกาลที่ ๔ ซ่ึงทรง
เห็นว่าเป็นคลองที่มีเส้นตรง ได้รับความสะดวกในการ
สัญจร จึงพระราชทานนามคลองทขี่ ดุ ใหม่นีว้ ่า “คลอง
ดำเนนิ สะดวก”๑๖

เม่ือขุดคลองดำเนินสะดวกแล้ว การเดินทาง ด้วยเหตุน้ี บริเวณดังกล่าวจึงมีผู้คนหนาแน่น
ระหว่างพระนครกับเมืองราชบุรีจึงเปลี่ยนไป คือ กวา่ ทอี่ น่ื ๆ ตอ่ มา ไดก้ ลายเปน็ ตลาดนดั สำคญั แหง่ หนง่ึ
สามารถเดินทางจากปากคลองบางกอกใหญ่ไปเข้า คู่กับตลาดนัดปากคลองซ่ึงมีมาเก่าแก่ก่อนขุดคลอง
คลองภาษีเจริญ ออกแม่น้ำท่าจีนท่ีตำบลบางยาง ดำเนนิ สะดวก

แล้วเข้าคลองดำเนินสะดวก ออกแม่น้ำแม่กลอง
ใน พ.ศ. ๒๔๔๗ รัชกาลที่ ๕ ได้เสด็จ
ท่ีตำบลบางนกแขวก แล้วตรงไปเมืองราชบุรี ใช้เวลา พระราชดำเนินประพาสต้นตลาดน้ำแห่งน้ี และมี

น้อยกว่าเดิม ในสมัยสงครามโลกครั้งท่ี ๒ กองทัพ พระราชดำริตอนหนึ่งว่า

ญ่ีปุ่นก็ใช้คลองดำเนินสะดวกลำเลียงขนส่งอาหารและ “...ในลำคลองระยะหลัก ๑ หลัก ๒ จนกระทงั่
อาวุธตา่ งๆ ไปยังจงั หวัดกาญจนบุรี
หลัก ๓ เดิมเป็นจากและปรง เด๋ียวน้ีมีจากและปรง
คลองดำเนินสะดวก เดิมมีความยาวมากถึง เข้าไปไม่ถึงหลัก ๑ เป็นไร่นาไปหมด ได้ความว่า

๓๒ กิโลเมตร และเมื่อแรกขุด คลองกว้างประมาณ
ดีมาก ตามลำคลองมีตลาดเกิดข้ึนใหม่ถึงสามระยะ
๖ วา ลึก ๖ ศอก แตน่ านวันเขา้ ตล่ิงถูกน้ำกัดเซาะ นับว่าไม่มีที่ว่าง ว่าคนราชบุรียกลงมาตั้งแถบคลอง
เป็นเหตุให้คลองขยายกว้างขึ้นเป็น ๑๐ วาบ้าง ๑๕ ดำเนนิ สะดวกนี้มาก...” ๑๗

วาบ้าง และบางแห่งกว้างถึง ๒๐ วาก็มี และด้วย ในช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ ตลาดน้ำขยายพื้นท
่ี
ขนาดและความยาวของคลอง ประกอบกับเป็นคลอง กินบริเวณต้ังแต่ปากคลองลัดพลี ไปตามคลอง
ตัดตรงไปยังหลายพื้นที่ ทำให้มีเจ้านายผู้ใหญ่และ
ดำเนินสะดวกยาวหลายกิโลเมตร ในสมัยนั้นตลาดน้ำ
ชาวบ้านมากมายมาจับจองท่ีดินซึ่งรกร้าง พร้อมขุด ดำเนินสะดวก มีอยู่ ๓ จุด คือ ท่ีปากคลองลัดพลี
คลองซอยแยกเข้าสู่พื้นท่ีของตน พื้นที่รกร้างเหล่านั้น ปากคลองโพธ์ิหักหรือคลองบัวงาม และท่ีปากคลอง
จงึ กลายเป็นเรอื กสวนไร่นาในเวลาตอ่ มา
ศรีสุราษฎร์ และยังทำให้เกิดตลาดน้ำใหม่ข้ึนเพ่ือการ
คลองดำเนินสะดวก เป็นที่ต้ังของตลาดน้ำ ท่องเที่ยวโดยเฉพาะอย่างตลาดน้ำคลองต้นเข็ม

หลายแห่ง ตลาดน้ำที่เกิดขึ้นแห่งแรก คือ ตลาดน้ำ จากน้ันมาตลาดน้ำที่มีมาแต่เดิมก็ถูกลดความสำคัญ
ดำเนินสะดวก ปากคลองลัดพลี แต่เดิมมีช่ือเรียกว่า ลงไป เหลือเพียงตลาดน้ำเพ่ือการท่องเที่ยวเท่าน้ัน
นัดศาลาห้าห้อง นัดศาลาแดง หรือนัดหลักแปด อย่างไรก็ตาม ตลาดน้ำคลองลัดพลีได้รับการฟ้ืนฟ

เพราะเดิมสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง ขนึ้ ใหมใ่ นปจั จบุ นั โดยตดิ ตลาดอยู่ในบรเิ วณตรงขา้ มกบั

บุนนาค) ให้ปลูกศาลาไม้ขนาด ๕ ห้อง หลังคา
ตลาดนำ้ คลองตน้ เขม็ ซง่ึ เปน็ ทร่ี จู้ กั โดง่ ดงั ไปทวั่ โลก

มงุ กระเบอ้ื งสแี ดงเป็นท่พี ักคนงาน





คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง 93

แผนท่คี ัดลอกจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ แสดงแถบสีฟา้ คลองขุดสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั
เพ่ือการบุกเบิกพ้ืนทเ่ี พาะปลูกอ้อย ขนส่งออ้ ยและนำ้ ตาล
94 คลองเก่าเลา่ ประวัติเมือง

การเชื่อมถึงกันระหว่างคลองภาษีเจริญและ ตลอดสมัยรัชกาลท่ี ๔ การขุดคลองซ่ึงมีข้ึน
คลองดำเนินสะดวกทำให้การเดินทางระหว่างชุมชน
ท้ังในกรุงเทพมหานครและท่ีเช่ือมต่อระหว่าง
ในหัวเมืองบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำนครชัยศรี กรุงเทพมหานครกับหัวเมืองสำคัญ จึงมีส่วนช่วย

และแม่น้ำแม่กลอง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นคร
ขยายความเจริญและชุมชนออกไปทางตะวันออก

ชยั ศรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และราชบรุ ี เป็นไป เฉียงใต้ของกรุงเทพมหานครและทางฝ่ังตะวันตกของ
อย่างสะดวกและท่ัวถึง อำนวยประโยชน์แก่หัวเมือง
แม่น้ำเจ้าพระยา ด้วยส่วนใหญ่เป็นคลองที่ขุดเชื่อม
ดงั กล่าว ทั้งทางด้านการปกครอง การคมนาคมขนส่ง ระหว่างแม่น้ำและมักเป็นเส้นทางท่ีเชื่อมโยงถึงกันได

และการค้าขายมาจนถึงปัจจุบัน สมดังช่ือที่เป็น
คลองขุดสมัยรัชกาลที่ ๔ ได้ทำให้การเดินทางติดต่อ
สิริมงคลซ่ึงได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ ๔ ว่า ระหว่างกรุงเทพมหานครกับหัวเมืองในแถบลุ่มแม่น้ำ
“ภาษีเจริญ” และ “ดำเนนิ สะดวก”
เจ้าพระยา แม่น้ำนครชัยศรี และแม่น้ำแม่กลอง

การขุดคลองภาษีเจริญไปพร้อมกันกับคลอง เป็นไปอย่างสะดวก โดยเฉพาะเป็นเส้นทางขนส่ง
ดำเนินสะดวก โดยให้คลองท้ังสองเชื่อมต่อถึงกัน สินค้าสำคัญซ่ึงในขณะนั้นได้แก่อ้อยและน้ำตาลมาสู่
ทำให้แม่น้ำท่าจีนกับแม่น้ำแม่กลองเช่ือมต่อกับ
โรงงานและตลาดเพื่อการสง่ ออกตอ่ ไป

แม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันตก เกิดเป็นเครือข่าย นอกจากการขุดคลองสมัยรัชกาลที่ ๔ จะมี
การคมนาคมทางนำ้ ระหวา่ งเมอื งราชบรุ ี สมทุ รสงคราม ประโยชน์ในด้านการคมนาคมขนส่งและซื้อขาย

สมุทรสาคร นครชัยศรี และกรุงเทพมหานคร
สินค้าแล้ว ยังเป็นการช่วยบุกเบิกที่ดินท่ีรกร้าง

ท่ีสะดวกและทั่วถึงกันโดยตลอด เป็นปัจจัยสำคัญ ว่างเปล่าให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม เพ่ือรองรับการ

ประการหน่ึงท่ีทำให้การผลิตน้ำตาลทรายในลุ่มแม่น้ำ เพาะปลูกอ้อยและในเวลาต่อมายังได้เป็นพื้นฐานของ
ท่าจีนขยายตัวเพ่ิมมากข้ึน และคลองทั้งสองสายนี
้ การพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกข้าวซ่ึงจะกลายเป็นสินค้า

ยังทำให้เกิดการติดต่อกันระหว่างชุมชนภายในท้องถิ่น ส่งออกท่ีสำคัญของสยามแทนน้ำตาลในท่ีสุด ซึ่งการ
กับชุนชนใกล้เคียง โดยเฉพาะคลองภาษีเจริญ มีเรือ ขุดคลองเพื่อขยายพื้นท่ีเพาะปลูกข้าวได้ดำเนินการ
เป็นจำนวนมากใช้เป็นเส้นทางจากลุ่มแม่น้ำท่าจีน อยา่ งจรงิ จงั นับแตส่ มัยรัชกาลที่ ๕ เป็นตน้ มา

มายังกรุงเทพมหานครโดยตรง รัชกาลที่ ๕ จึงทรง

เปรยี บเทียบคลองภาษเี จรญิ ว่า

“...มีการคมนาคมคับคั่งเหมือนกับถนน
เจรญิ กรงุ ในกรงุ เทพมหานคร...”




คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง 95

ภาพเรอื ขนาดใหญจ่ ำนวนมากของชาวตา่ งชาติ ขุดคลอง ขยายการค้าข้าว

ที่เข้ามาทำการคา้ ขายในสยามและจอดทอดสมอ
อยู่ในแมน่ ำ้ เจ้าพระยา

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ) ประมาณ พ.ศ. ๒๓๙๔ จนถึง พ.ศ. ๒๔๑๐
น้ำตาลทรายจากสยามยังเป็นสินค้าท่ีตลาดโลก
ภาพเครือ่ งจกั รกลทางการเกษตร ซึ่งชาวตา่ งประเทศ ต้องการ แต่หลังจากปลาย พ.ศ. ๒๔๑๐ เป็นต้นมา
นำเขา้ มาจำหน่าย ในช่วงเวลาทก่ี ารปลูกขา้ ว เม่ือชาวตะวันตกนำเคร่ืองจักรมาใช้ในการผลิตและ
ทวีความสำคญั มากขน้ึ ตามลำดบั ขนส่งอย่างกว้างขวางในชวากับฟิลิปปินส์ที่เคยเป็น
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาต)ิ ตลาดน้ำตาลสำคัญของสยาม ปริมาณน้ำตาลทราย

96 คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มือง ในตลาดโลกจึงเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว เป็นน้ำตาลทราย
คุณภาพดีและมีราคาถูกกว่าน้ำตาลทรายจากสยาม
ส่งผลให้น้ำตาลทรายจากสยามไม่อาจแข่งขันกับ

ตลาดตา่ งประเทศได

เม่ือราคาน้ำตาลทรายตกต่ำ เพราะราคา

ในตลาดโลกลดลง และสยามถูกแย่งชิงตลาดน้ัน

เป็นเวลาเดียวกันกับท่ีข้าวเริ่มเป็นท่ีต้องการของตลาด
ภายนอกมากข้ึน การส่งออกข้าวจึงเพิ่มความสำคัญ
มากขึ้นเร่ือยๆ และกลายเป็นสินค้าท่ีทำรายได้หลัก

ใหแ้ กส่ ยามแทนนำ้ ตาลในท่สี ดุ

การค้าข้าวของสยามขยายตัวอย่างรวดเร็ว

ปริมาณการส่งออกข้าวไปจำหน่ายนอกราชอาณาจักร

ในช่วงระยะเวลาเพียง ๕๐ ปี เพ่ิมขึ้นจากร้อยละ ๕
ใน พ.ศ. ๒๓๙๓ เป็นร้อยละ ๕๐ ใน พ.ศ. ๒๔๔๓
หรือเพมิ่ สูงขึ้นถงึ ๒๕ เท่าตัว กระตนุ้ ให้สยามหันมา
ปลูกข้าวเพื่อขายมากขึ้น ด้วยการปลูกข้าวเป็นอาชีพ
ที่ราษฎรชาวสยามมีความชำนาญ ดังท่ีศาสตราจารย์

เจมส์ ซ.ี อนิ แกรม (James C. Ingram) นกั เศรษฐศาสตร์
ชื่อดงั ชาวอเมริกันกลา่ วว่า

“...ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจชนิดใดท่ีคนไทย
จะทำมากกวา่ การทำนา และไมม่ กี จิ กรรมใดทจี่ ะเกยี่ วขอ้ ง
กับประชากรจำนวนมากได้เท่ากับการทำนา เนื่องจาก
การทำนาเป็นอาชีพหลักของราษฎร ประมาณร้อยละ
๘๐ - ๙๐ และขา้ วกลายเปน็ สนิ คา้ ออกประมาณรอ้ ยละ
๖๐ - ๗๐ ของสินค้าท้งั หมด...” ๑๘

สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
รัชกาลท่ี ๕ จึงมกี ารขุดคลอง เพ่อื เปดิ และขยายพนื้ ท่ี
ทำการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกข้าวและการจัดหาน้ำ
ให้แก่ราษฎรเพ่ือใช้ในการเพาะปลูกอย่างชัดเจน
ภาพเรือขดุ คลองแบบตะวนั ตก ซ่งึ ช่วยใหก้ ารขดุ คลอง
เพ่ิมมากขึ้น รวมไปถึงการจัดหาเส้นทางขนส่งข้าว ในสยาม ดำเนนิ การได้อยา่ งสะดวกและรวดเรว็ กว่าแตก่ ่อน

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ

จากแหลง่ ผลิตมายงั กรุงเทพมหานคร เพื่อการสง่ ออก การขุดคลองช่วงหลัง พ.ศ. ๒๔๓๓ จนถึง
ดงั พระราชดำริในประกาศเรอ่ื ง “อนุญาตขดุ คลอง” วา่ พ.ศ. ๒๔๕๓ เป็นการขุดคลองโดย “เอกชน” ซึง่ ทาง
“...การขุดคลองเพ่ือจะให้เป็นที่มหาชนทั้งปวง ราชการอนุญาตให้ดำเนินการขุดคลองด้วยทุนทรัพย์
ได้ไปมาอาศัยแลเป็นทางท่ีจะให้สินค้าได้บรรทุกไปมา ของตนเอง และโดย “บริษัท” ซ่ึงเป็นกลุ่มบุคคลที่ได้
โดยสะดวก ซง่ึ ใหผ้ ลแกเ่ รือกสวนไร่นา ซง่ึ จะได้เกดิ ทวี ออกทนุ รวมกนั จัดต้ังเป็นบริษทั เพอ่ื ขออนุญาตในการ
ในพระราชอาณาจักร เป็นการอุดหนุนการเพาะปลูก
ขุดคลอง

ในบา้ นเมืองให้วัฒนเจรญิ ย่งิ ข้นึ ...” ๑๙
การขุดคลองในแต่ละช่วงเวลาจะสัมพันธ์กับ
การขุดคลองเพื่อขยายพื้นท่ีเพาะปลูกอย่าง ภาวะการค้าข้าว กล่าวคือ เม่ือภาวะการค้าข้าวดี

จรงิ จงั ตลอดสมยั รชั กาลที่ ๕ อาจแบง่ ออกเปน็ ๒ ชว่ ง ทางราชการจะเร่งขยายการผลิตโดยการขุดคลอง

ได้แก่
เพ่ือเปิดพื้นที่เพาะปลูก แต่ในทางกลับกัน หากภาวะ
การขดุ คลองชว่ งแรกจนถึงกอ่ น พ.ศ. ๒๔๓๓ การค้าข้าวตกต่ำ ทางราชการจะหยุดการขุดคลอง
เปน็ การขดุ คลองโดย “ราชการ” ซ่ึงเป็นงานภายใต้การ ด้วยเหตุท่ีในสมัยนั้นเน้นการขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูก
กำกับดูแลของกรมสุขาภิบาลและกรมเจ้าท่าที่ข้ึนกับ เน่ืองจากยังมีที่ดินรกร้างว่างเปล่าอีกเป็นจำนวนมาก
กระทรวงโยธาธิการกับกรมคลองที่ขึ้นกับกระทรวง จึงยังไม่มีความจำเป็นจะต้องเพ่ิมผลผลิตโดยวิธีการ
เกษตราธิการ๒๐
อื่นๆ




คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง 97

เครือ่ งจักรกลทางการเกษตร ซ่งึ นำมาจดั แสดงภายในงานการแสดงกสิกรรมและพาณชิ ยการ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ

98 คลองเกา่ เล่าประวัติเมอื ง

มหกรรมสง่ เสรมิ เกษตรสยาม




ช่วงปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ มีการจัดงานมหกรรมเกี่ยวกับ
การเกษตรครัง้ สำคัญ ภายใตช้ ื่องานวา่ “การแสดงกสิกรรมและพาณิชยการ” โดยเป็นงานมหกรรมทีร่ ชั กาลที่ ๕
โปรดเกล้าฯ ให้จัดข้ึนครั้งแรกในบริเวณพระราชวังประทุมวันหรือที่ในสมัยนั้นเรียกว่า “สระปทุม” หรือ

“สระปทุมวัน” เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๓ โดยมีพระราชประสงค์ท่ีจะให้นำสิ่งของและวิธีการกสิกรรม ตลอดจน
หัตถกรรมมาจัดแสดงให้ราษฎรได้เห็นแบบอย่างและประโยชน์ เพ่ือจะได้นิยมประกอบการกสิกรรม หัตถกรรม
และพาณิชยการ

งานมหกรรมครง้ั น้ี นอกเหนือจากการประกวดพันธ์ุขา้ วแล้ว ยงั มกี ารประกวดพันธุ์พืช สินค้าทผ่ี ลิตขน้ึ

ในประเทศ รวมถึงเป็ด ไก่ สุกร สัตว์พาหนะ และการแสดงเครื่องจักรกลทางการเกษตร โดยเร่ิมเตรียมการ

ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ จนกระท่ังวันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๓ รัชกาลที่ ๕ จึงเสด็จ
พระราชดำเนนิ มาทรงเปดิ งานและไดพ้ ระราชทานพระราชดำรสั แกข่ า้ ราชการและผมู้ ารว่ มงาน ความตอนหนง่ึ วา่

“...อำนาจใหญ่แลความสมบูรณ์ ไม่ได้อยู่แก่ผู้ซึ่งมีอาณาเขตร์กว้างขวาง อำนาจแลความสมบูรณ์

ย่อมมแี กป่ ระเทศทเ่ี จริญดว้ ยกสิกรรมแลพานิชการ เพราะเหตฉุ นั้นถึงวา่ จะเปนการทท่ี ำยากปานใด เราควรท่จี ะ
พยายามบำรุงกสิกรรมและพานิชกรรมให้เจริญขึ้น เพราะเปนที่ต้ังแห่งความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์เปนท่ีต้ัง
แหง่ กำลงั กำลังยอ่ มเปนที่ต้ังแห่งอำนาจ...”

การแสดงกสิกรรมและพาณิชยการได้รับความนิยมจากราษฎรอย่างมาก จึงต้องขยายเวลาจัดงาน

จากเดิมระหว่างวนั ที่ ๑๖ เมษายน ถงึ ๒๔ เมษายน ออกไปเป็นวนั ที่ ๒๘ เมษายน และมผี เู้ ขา้ ชมโดยเฉลย่ี ถงึ
วันละ ๕,๐๐๐ คน จนต้องยกเลิกประตทู างเขา้ - ออกซ่งึ เปน็ ร้วั เหล็กหมนุ นับจำนวนคนได้ แลว้ เปดิ ชอ่ งกลาง
เป็นประตูใหญ่ให้เป็นทางเข้า - ออกของผู้เข้าชม ซึ่งอาจเป็นเพราะไม่เพียงแต่มีการจัดประกวดต่างๆ ท่ีมี
รางวัลมากมาย ภายในงานยังมีมหรสพซึ่งเจ้านายและขุนนางนำมาจัดแสดง เช่น หุ่นกระบอกของสมเด็จ
พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ อษั ฎางคเ์ ดชาวธุ กรมขนุ นครราชสมี า คณะละครของพระสรรพการหริ ญั กจิ ภาพยนตร์
ของหลวงประสารอักษรพรรณ์ แตรวงของกรมทหารบกและกรมทหารเรือ และมีการสาธิตเครื่องจักรกล
การเกษตรหลายอยา่ ง เชน่ เครอ่ื งไถนา เครอื่ งสบู นำ้ เครอื่ งสขี า้ ว เครอ่ื งนวดขา้ ว เปน็ ตน้ รวมถงึ มกี ารออกรา้ น
จำหน่ายสนิ คา้ และร้านการละเลน่ เชน่ ยิงเปา้ โยนบว่ งอกี ด้วย


คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มอื ง 99


Click to View FlipBook Version