The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-03-26 00:00:14

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

คลองเก่าเล่าประวัติเมือง

Keywords: คลองเก่าเล่าประวัติเมือง,ประวัติศาสตร์

ภาพคลองสวัสดเิ์ ปรมประชากร คลองสวัสด์ิเปรมประชากร

ชว่ งท่ีไหลผา่ นด้านหนา้ วัดเบญจมบพติ รดุสติ วนาราม
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ

ใน พ.ศ. ๒๔๑๓ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้
บรรยากาศคลองสวสั ด์ิเปรมประชากร เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ เสด็จพระราชดำเนินไปถวาย

บริเวณกรมการทหารสื่อสาร เขตบางซอื่ ผ้าพระกฐินท่ีเมืองกรุงเก่าโดยเรือกลไฟ ทรงสังเกตว่า
กรงุ เทพมหานครในปัจจุบัน เส้นทางน้ำนั้นอ้อมวกมาเวียนไป หากชาวบ้านใช้

100 คลองเก่าเลา่ ประวัติเมือง เรือแจวเรือพาย กว่าจะไปถึงกรุงเก่าคงต้องใช้เวลา
หลายวัน และหากถึงฤดูน้ำหลาก การเดินเรือขึ้นไป

คงยิ่งยากลำบาก จึงมีพระราชดำริตัดทางใหม

ให้ตรง เพ่ือให้เดินเรือได้สะดวกขึ้น ช่วยย่นระยะทาง
ไปมาระหว่างกรุงเก่ากับพระนครให้สั้นลง และเพื่อ
พัฒนาและขยายพื้นท่ีเพาะปลูกในบริเวณดังกล่าวด้วย
เนื่องจากบริเวณน้ีแต่เดิมเป็นป่ารกชัฏ เต็มไปด้วย
โขลงช้างเถ่ือน ราษฎรหวาดกลัวจนไม่มีใครกล้า
เขา้ ไปหักรา้ งถางปา่ ทำเปน็ ท่นี าทส่ี วน๒๑

รัชกาลท่ี ๕ จึงมีพระบรมราชโองการให

ขุดคลองตัดข้ามทงุ่ นา๒๒ เปน็ คลองแรกในรชั กาล โดยมี
สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
เม่ือคร้ังเป็นเจ้าพระยาสุริวงษ์สมันตพงษ์พิสุทธ

มหาปุรุศย์รัตโนดม ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินเป็น

ผู้อำนวยการ เจ้าพระยาสรุ วงษ์ไวยวฒั น์ (วร บนุ นาค)
เปน็ แมก่ อง และพระชลธารวนิ จิ ฉยั (ฉนุ ) เปน็ ผปู้ กั หมาย

กรุยแนวคลองท่ีจะขุด สิ้นพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์
หรือเงินพระคลังข้างท่ีจำนวน ๒๐๓,๕๒๘ บาท
พระราชทานนามว่า คลองสวัสดิ์เปรมประชากร และ
โปรดเกล้าฯ ให้จารึกนามปักเสาธงไว้เป็นสำคัญ

ในทกุ ระยะรอ้ ยเส้น

คลองสวัสด์ิเปรมประชากรหรือท่ีนิยมเรียกว่า “มโหฬารดิเรกอื้อ อวยพร

คลองเปรมประชากร หรือ คลองเปรม เป็นคลองที่
สมโภชคลองขุดจร ใหมน่ ั้น

ขุดลัดตัดตรงขนานกับแม่น้ำเจ้าพระยา โดยขุดแยก นามเปรมประชากร พระราช ทานแฮ

จากแม่น้ำเจ้าพระยาทางทิศตะวันออกของเกาะเกิด
เปนประโยชน์นำชนชัน้ สืบหล้าอยา่ สญู

ท่ีบ้านกระสั้น อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนคร
เพลงิ พะเยียรุ่งเรา้ เรืองงาม

ศรีอยธุ ยาในปจั จุบนั มาถงึ ดอนเมือง กรงุ เทพมหานคร เกณฑ์พระทุกอาราม ราชสร้าง

ด้านเหนือ แล้วมาบรรจบกับคลองผดุงกรุงเกษม
พเนียงต้อื พลพุ ลุ่งตาม หนึง่ ดอก ตะไลนา

ตรงหน้าวดั โสมนสั วหิ าร
ต่างประกวดวดั อ้าง จุดแจง้ แสงสี” ๒๓

เม่ือขุดคลองแล้วเสร็จ ใน พ.ศ. ๒๔๑๓ คลองเปรมประชากร เปน็ คลองแรกทป่ี รากฏวา่
รัชกาลท่ี ๕ ได้เสด็จพระราชดำเนินผ่านคลอง
นำเทคนิคการสำรวจปักกรุยแนวคลองเป็นระยะก่อน

เปรมประชากรเปน็ ปฐมฤกษแ์ ละมพี ระบรมราชโองการ ที่จะลงมือขุดจริง ซ่ึงทำให้ได้คลองตามแนวที่กำหนด
ให้ราษฎรใช้คลองนี้ได้โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
ไวก้ ่อน

ขุดคลองและภาษีคลองแต่อย่างใด เพ่ือให้ราษฎร
แม้คลองเปรมประชากรจะขุดเพ่ือการ

ไดป้ ระโยชน์จากคลองโดยทวั่ กัน
คมนาคมเป็นสำคัญ แต่เน่ืองจากขุดคลองเข้าไปใน
นอกจากน้ี รัชกาลที่ ๕ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ บริเวณพ้ืนที่ป่า เป็นแนวคลองยาวถึง ๑,๒๗๑ เส้น

จัดการพระราชพิธีฉลองคลอง โดยมีการบำเพ็ญ
๓ วา หรือราว ๕๐ กิโลเมตรเศษ ซ่ึงนับว่ายาวกว่า
พระราชกุศล พระสงฆส์ วดพระปรติ ร พระสูตร เจริญ คลองใดๆ ซ่ึงเคยขุดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ๒๔ ทำให้
พระพุทธมนต์ รับพระราชทานอาหารบิณฑบาต
สามารถเปิดพื้นที่ริมสองฝ่ังคลองเพ่ือการเพาะปลูก

ฉันเช้า และเคร่ืองไทยธรรมต่างๆ ให้มีโรงมหรสพ
ได้ถงึ ๑๑๐,๖๘๐ ไร ่

เป็นระยะไปตามฝั่งคลอง พลบค่ำมีการจุดดอกไม้ไฟ หลังการขุดคลองเปรมประชากรแล้วเสร็จ

ปล่อยโคมลอย มีราษฎรมาเทย่ี วกนั มากมาย เป็นการ อีก ๔ ปีต่อมา ใน พ .ศ. ๒๔๑๙ ทางราชการไดเ้ ริม่
สนกุ สนานรนื่ เรงิ ดงั ปรากฏใน โคลงสมโภชคลองเปรม ขยายพื้นท่ีเพาะปลูกตามภาวะการค้าข้าวของสยาม

ประชากร ซึ่งแต่งโดยพระยามหาอำมาตย์ (หรุ่น
ท่ีกำลังเจริญข้ึน ด้วยการขุดคลองเพ่ิมอีก ๔ คลอง
ศรีเพ็ญ) เมื่อคร้ังเป็นพระราชวรินทร์ เจ้ากรม
ได้แก่ คลองนครเนื่องเขต กับ คลองประเวศบุรีรมย์
พระตำรวจนอกขวา สรรเสริญพระเกียรติรัชกาลท่ี ๕ ทางฝ่ังตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และ คลอง

เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดคลองเปรม ทวีวัฒนา กับ คลองนราภิรมย์ ทางฝั่งตะวันตกของ
ประชากร ความตอนหนึ่งวา่
แมน่ ำ้ เจ้าพระยา



คลองเก่าเลา่ ประวัติเมอื ง 101

บรรยากาศคลองประเวศบุรรี มย์ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๑ คลองนครเนอ่ื งเขต - ประเวศบรุ รี มย์
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ


ภาพทงุ่ นารมิ คลองประเวศบุรรี มย์ในอดตี คลองนครเนื่องเขต ขุดขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๙
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ) โดยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รชั กาล
102 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง ที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้พระชลธารวินิจฉัยเป็นแม่กอง
อำนวยการขุดคลองน้ีตั้งแต่บริเวณตำบลศาลาแดง
คลองแสนแสบไปส้ินสุดที่ปากคลองท่าไข่ แขวงเมือง
ฉะเชิงเทรา เพ่ือย่นระยะทางไปมาระหว่างพระนคร

กับเมืองฉะเชิงเทรา ซึ่งขณะน้ันการเดินทางติดต่อ
ถึงกันยากลำบาก เพราะแต่เดิม ต้องล่องเรือทวน
กระแสน้ำเข้าทางคลองแสนแสบหรือล่องเรือมายัง
ปากแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าคลองสำโรง แต่เนื่องจาก

ก่อนหน้าสนธิสัญญาเบาริง สินค้าออกจากพ้ืนท
ี่
แถบเมืองฉะเชิงเทรา มียาสูบ พริกไทย และน้ำตาล
เปน็ สำคญั จงึ สามารถสง่ ไปขายชาวตา่ งชาติท่ีจอดเรือ
ทำการค้าแถบบางปลาสร้อยได้โดยไม่ต้องส่งเข้า
พระนคร๒๕ แต่เม่ือข้าวกลายเป็นสินค้าสำคัญขึ้นมา
แทนท่ี และการแปรรูปข้าวเปลือกจำนวนมากให้เป็น
ข้าวสาร ตอ้ งดำเนินการผ่านโรงสขี นาดใหญ่ ซ่ึงมกั ต้ัง
อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาในอาณาบริเวณใกล้เคียงกับ
พระนคร ตลาดซื้อขายข้าวจึงจำต้องกระทำกันท่ี
พระนคร คลองนครเนื่องเขตจึงมีความสำคัญต่อ

การคา้ ขายข้าวอยา่ งมาก

นอกจากน้ี ชว่ งท่ีทางราชการกำลังดำเนนิ การ
ขุดคลองนครเนื่องเขต ยังป็นเวลาเดียวกับที่ราคาข้าว
ในตลาดโลกเพ่ิมสูงข้ึน ท่ีดินซ่ึงเคยได้รับการบุกเบิก

ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ การขุดคลองนคร

เน่ืองเขตจึงเป็นการช่วยเพิ่มพื้นที่ทำนาตลอดสอง

ฝัง่ คลองไดม้ ากถึง ๓๒,๔๐๐ ไร่

ต่อมา ทางราชการวางแผนท่ีจะขุดคลอง

ขึ้นใหม่อีกสายหน่ึงต่อจากคลองนครเน่ืองเขต และ
เน้นให้ที่ดินบริเวณสองฝั่งคลองได้รับการพัฒนาอย่าง
จรงิ จงั จึงมกี ารขุด คลองประเวศบุรีรมย์ โดยตน้ คลอง
เรม่ิ ตงั้ แตป่ ลายคลองพระโขนง แขวงเมอื งนครเขอื่ นขนั ธ์
ไปเชื่อมกับคลองด่านออกสู่แม่น้ำบางปะกง ท่ีเมือง
ฉะเชิงเทรา

การขุดคลองสายนี้ ใช้วิธีกำหนดแนวคลอง
ด้วยการยิงปืนใหญ่จากปากน้ำทางฝั่งแม่น้ำบางปะกง บรรยากาศคลองประเวศบุรีรมย์ในปจั จบุ ัน

แล้วเกณฑ์แรงงานคนขุดตามแนวลูกปืน เพื่อให้ได้
คลองเป็นเส้นตรง

นอกจากนี้ คลองประเวศบุรีรมย์ นับเป็น
คลองแรกที่ทางราชการเปิดโอกาสให้ราษฎรท่ีต้องการ
ที่ดิน ออกเงินหรือลงแรงช่วยขุดคลอง โดยจะได้รับ

ผลตอบแทนเป็นที่ดินสองฝ่ังคลองมากน้อยตามอัตรา
ที่กำหนดตั้งแต่ ๒ สลึง ถึง ๑ บาท ๕๐ สตางค ์

โดยอัตราสูงจะอยู่ตอนต้นคลอง ส่วนปลายคลอง
อัตราจะลดลงตามลำดับ ประกอบกับเป็นระยะราคา
ข้าวเพิ่มสูงข้ึนและราษฎรได้รับสิทธิยกเว้นไม่เก็บ

อากรคา่ นาเปน็ เวลา ๓ ปี และเพม่ิ อายตุ ราจอง๒๖ ๓ ปี บรรยากาศคลองนครเนื่องเขตในปัจจุบนั

เป็น ๕ ปี จงึ ปรากฏว่า มีราษฎรขอลงชอื่ จับจองท่ีดนิ
จำนวนมาก จึงต้องมีการขยายพ้ืนที่คลองต่อข้ึนไป ในการนี้ รชั กาลท่ี ๕ ยงั โปรดเกลา้ ฯ ให้ออก
ทางเหนืออีก ๔ สาย คือ คลอง ๑ คลอง ๒ คลอง ๓ กฎห้ามราษฎรปลูกสร้างบ้านเรือนชิดริมคลอง ต้อง
และคลอง ๔ ทำให้การขยายที่ดินเพื่อการเพาะปลูก ถอยรน่ เขา้ ไป ๓ วา ซง่ึ เรยี กกนั ตดิ ปากวา่ “กฎหมาย
เป็นไปอย่างกว้างขวาง โดยมีท่ีดินท่ีได้รับการบุกเบิก สามวา” แต่น่าเสียดายที่ไม่มีการบังคับกันอย่างจริงจัง
จากการขุดคลองประเวศบุรีรมย์และคลองแยกมากถึง ทำให้เกดิ การบกุ รกุ คลองโดยทวั่ ไป

๙๒,๐๐๐ ไร่


คลองเก่าเล่าประวัติเมือง 103

สภาพคลองทวีวฒั นาในปัจจบุ ัน ทวีวฒั นา - นราภิรมย์

กล้วยไม้ ผลผลติ ทางการเกษตรทีม่ ชี อ่ื เสียงของชาวทววี ัฒนา
โดยมีแหลง่ ซ้ือขาย เช่น ภายในตลาดธนบรุ ี

หรือตลาดสนามหลวง ๒ ริมคลองทววี ฒั นา เป็นต้น ขณะท่ีมีการขุดคลองประเวศบุรีรมย์อยู่นั้น

ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา คลองมหา
สวัสด์ิกับคลองภาษีเจริญอันเป็นเส้นทางที่ราษฎร

ไปมาค้าขายกันได้อย่างสะดวก ด้วยขุดเชื่อมถึงกัน
ระหวา่ งแมน่ ำ้ นครชยั ศรแี ละแมน่ ำ้ ทา่ จนี ประสบปญั หา
ตื้นเขิน เนื่องด้วยน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำ
นครชัยศรีไหลเข้าคลองท้ังสองพร้อมกันท้ังต้นคลอง
และปลายคลอง แล้วไหลไปชนกันท่ีกลางคลอง
ทำให้บริเวณท่ีกระแสน้ำไหลมาบรรจบกันมีโคลนตม
มาทบั ถมกนั มากเป็นอุปสรรคตอ่ การเดนิ ทาง

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลท่ี ๕ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาสุรวงษ์
ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) เป็นแม่กองจ้างจีนขุด คลอง
ทวีวัฒนา ต้ังแต่บริเวณหลักสองของคลองภาษีเจริญ
ฝ่ังเหนือ ตัดไปกลางทุ่งถึงตำบลศาลายา เชื่อมต่อกับ
คลองมหาสวัสด์ิฝั่งใต้ในแนวทิศตะวันออกเฉียงใต

ไปทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เพื่อชักน้ำจากแม่น้ำท่าจีน

ให้ไหลลงทิศใต้ ซึ่งนอกจากจะแก้ไขความต้ืนเขินใน
คลองมหาสวัสดิ์กับคลองภาษีเจริญได้แล้ว การขุด
คลองทวีวัฒนายังทำให้เปิดพื้นที่สองฝั่งคลองเพ่ือการ
เพาะปลูกได้มากถึง ๒๗,๐๐๐ ไร่ เป็นการขยายพื้นที่
เพาะปลูกในบริเวณศาลายาเพ่ิมเติมจากเม่ือครั้งท่ีมี
การขดุ คลองคลองมหาสวสั ดิ์ ดงั ปรากฏความตอนหนง่ึ
ในพระราชดำรสั ตอบพระบรมวงศานวุ งศ์ ผแู้ ทนรฐั บาล
ต่างประเทศ และข้าทูลละอองธุลีพระบาทท่ีเข้าเฝ้าฯ
ถวายพระพรชัยมงคลในงานเฉลิมพระชนมพรรษา
๒๕ พรรษา พ.ศ. ๒๔๒๑ วา่


104 คลองเก่าเลา่ ประวัติเมอื ง

“...อน่ึง คลองมหาสวัสดิ์ แลคลองภาษีเจริญ การขุดคลองนราภิรมย์เพ่ิมเติมภายหลัง
แขวงเมืองนครชัยศรี ซึ่งเป็นของพระบาทสมเด็จ นอกจากทำให้กระแสน้ำในคลองภาษีเจริญ คลอง

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ขุดขึ้นไว้น้ัน ดูต้ืนเสีย มหาสวัสดิ์ และคลองทววี ัฒนาไหลแรงแลว้ ยงั ชว่ ยให้
ไปท้ังสองคลอง...ถ้าขุดคลองในระหว่าง ให้ตลอด ราษฎรที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงมีน้ำจืดจากแม่น้ำ
ถึงกัน คงจะชักกับแก้ให้หายตื้นไปได้...บัดนี้คลองนั้น ท่าจีนใช้อย่างทั่วถึง กับช่วยขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูก

ก็สำเรจ็ แลว้ เปน็ ระยะคลองยาว ๓๔๐ เสน้ ให้ชอื่ ว่า ในบริเวณศาลายาเพ่ิมเติมจากพื้นท่ีริมคลอง

คลองทวีวัฒนา...แลบดั น้ีกย็ ังได้ขุดต่อไป...ไปออกบา้ น มหาสวัสด์ิและคลองทวีวัฒนา โดยสามารถเปิดพ้ืนที่
สี่พระยา แมน่ ำ้ เมอื งนครชยั ศรี ระยะทาง ๕๔๐ เสน้ เพาะปลูกได้มากถึง ๔๓,๒๐๐ ไร่

ดว้ ยเหน็ วา่ เปน็ ทงุ่ วา่ งไมม่ ไี รน่ า แลเปน็ ทางตรง สายนำ้ ด้วยเหตุน้ี ในอดีตที่ผ่านมา ราษฎรสองฝ่ัง
จะเป่าลงมาในคลองทวีวัฒนาแรง ได้ลงมือขุดใน
คลองทวีวัฒนาจึงประกอบอาชีพทำนาเป็นหลัก และ
เดอื น ๘ นแี้ ลว้ แลแขวงเมอื งสพุ รรณกบั กรงุ เกา่ ตอ่ กนั เน่ืองจากดินบริเวณน้ีเป็นดินดำเหนียว ไม่อาจใช้วัว
ทนี่ น้ั ทำนาเกอื บจะตอ่ ถงึ กนั แลว้ ...ถา้ การนส้ี ำเรจ็ ทงุ่ นา จึงต้องอาศัยควายเป็นกำลังสำคัญในการทำนา

เมืองสพุ รรณกับแขวงกรุงเก่ากเ็ ป็นอันตดิ ตอ่ กนั ...” ๒๗
ซ่ีงส่วนใหญ่เป็นควายจากภาคอีสาน ที่นายฮ้อยต้อน
เน่ืองจากลำคลองในละแวกนั้นล้วนขุดในแนว มาขายยังตลาดนัดควายในแถบภาคกลางหรือที่พวก
ตะวนั ออกไปตะวนั ตก ชาวบา้ นจงึ เรยี ก คลองทววี ฒั นา นายฮ้อยเรยี กว่า “เมืองลา่ ง” เช่นทบ่ี ้านโคกสูง อำเภอ
ซึ่งมีทิศทางการขุดในแนวเหนือ - ใต้ขวางคลองอ่ืนๆ พัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี อำเภอสนธิ จังหวัดลพบุรี
อีกชอื่ หน่งึ วา่ คลองขวาง
อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ตลอดจนบริเวณท่ี
อย่างไรก็ตาม การจะรักษากระแสน้ำในคลอง
เรยี กว่า “สะพานควาย” เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
ภาษีเจริญ คลองมหาสวัสด์ิ และคลองทวีวัฒนา
ในปัจจุบัน แล้วพ่อค้าชาวอยุธยา จึงซ้ือมาขายท
่ี
ให้ไหลแรงและลึกอยู่เสมอน้ัน จะต้องมีการระบายน้ำ
ทวีวัฒนาอีกต่อหนึ่ง โดยการซ้ือขายควายนิยมทำกัน
จากแม่น้ำท่าจีนให้ไหลลงสู่คลองท้ังสามสายนี้ ดังน้ัน ในหนา้ แล้งก่อนฤดูทำนา

ใน พ.ศ. ๒๔๒๑ รัชกาลที่ ๕ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุด อยา่ งไรกต็ าม ในเวลาตอ่ มา เมอื่ ราษฎรยา่ นคลอง
คลองนราภิรมย์ ต่อเน่ืองจากคลองทวีวัฒนาไปออก ทวีวัฒนา ประสบปัญหาด้านต้นทุนในการทำนา

ตำบลบ้านลำพยาหรือวัดลำพยา แม่น้ำนครชัยศรี จึงทยอยปรับเปล่ียนท่ีดินเป็นสวนผักหรือให้เช่าโดยมี
และขุดเลยี้ วคุง้ ลำพยา
ชาวจีนจากแถวภาษีเจริญมาเช่าทำสวน ภายหลัง


ได้เกิดความนิยมทำสวนกล้วยไม้ ทำให้พ้ืนที่ย่าน

คลองทวีวัฒนาเป็นแหล่งเพาะปลูกกล้วยไม้หนาแน่น
และมีช่ือเสียงแหง่ หน่ึงในปจั จุบนั


คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง 105

แผนทีค่ ลองรงั สิต คลองหกวาสายบน คลองหกวาสายลา่ ง และคลองซอย
บรเิ วณทุง่ หลวง เมอื งธัญญบุรี ราว พ.ศ. ๒๔๔๕
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ)
106 คลองเกา่ เลา่ ประวัตเิ มอื ง

เพมิ่ พน้ื ทที่ ำนา ขยายกรงุ เทพมหานคร





นับต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๒๘ เป็นต้นมา เมอื่ ภาวะ หลังจากบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามได้ทำ
การค้าข้าวของสยามเร่ิมฟื้นตัวข้ึนและก้าวหน้าต่อไป สัญญากับทางราชการ พร้อมกับทำแผนที่และสำรวจ
อย่างม่ันคง ส่งผลให้มีความจำเป็นต้องพัฒนาที่ดิน บริเวณท่ีจะขุดคลองแห่งแรก คือแถบท้องทุ่งหลวง

และขดุ คลองเพอ่ื ขยายเนอื้ ทเี่ พาะปลกู มากขน้ึ เพอื่ เพม่ิ ซึ่งอยู่ทางฝ่ังตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีคลอง
ผลผลิตข้าวสนองตอบความต้องการของตลาด แต่ เปรมประชากรอยู่ทางตะวันตก แม่น้ำนครนายก

เน่ืองจากทางราชการไม่มีเงินทุนเพียงพอ ในขณะท่ี อยทู่ างตะวนั ออก มคี ลองแสนแสบและคลองบางขนาก
ราษฎรมีความต้องการที่ดิน โดยเฉพาะที่ดินริมคลอง อยู่ทางใต้ ส่วนทางเหนือจดกรุงเก่า สระบุรี และ

ท่ีมีราคาสูงขึ้น ทางราชการจึงเปิดโอกาสให้ผู้ม
ี นครนายก โดยมีระยะทางห่างจากพระนครราว ๓๐
ทุนทรัพย์เข้ามาดำเนินการขุดคลองเพื่อพัฒนา
กิโลเมตร เพราะเป็นท้องทุ่งที่กว้างใหญ่และเป็นป่า

ท่ีดินแทน โดยทางราชการย่ืนข้อเสนอให้สิทธิ์ในการ พงรก ไม่มีเส้นทางราษฎรจะเข้าไปทำการเพาะปลูก
เป็นเจ้าของที่ดินสองฝั่งคลองและมีอำนาจซื้อขาย
ประกอบอาชีพได้ ท้ังๆ ท่ีท้องทุ่งหลวงนี้มีดินอุดม
ได้อย่างเต็มท่ีเป็นการตอบแทน จึงมีเอกชนทั้งในรูป สมบรู ณ์ จงึ ทำใหเ้ ปน็ ทเ่ี ปลา่ ประโยชน์ เมอ่ื เปรยี บเทยี บ
บริษัทและที่เป็นส่วนบุคคลเข้ามาลงทุนขุดคลอง
กับท้องทุ่งแสนแสบที่อยู่ใกล้เคียงกัน ซึ่งเม่ือภายหลัง
เพอ่ื ขายท่ดี ินเหลา่ นอ้ี ย่างมากมาย
การขุดคลองหลายสายในท้องทุ่งแสนแสบแล้ว ทำให้
การดำเนินการขุดคลองโดยเอกชนในรูปของ
ที่ว่างเป็นนาฟาง๒๙ และข้าวกลายเป็นสินค้าสำคัญ

บริษัทที่มีบทบาทเด่นชัดที่สุดในช่วงเวลาน้ีคือ “บริษัท
จากท้องทุ่งนี้ และการขุดคลองยังเป็นผลในด้าน

ขดุ คลองแลคนู าสยาม” โดยพระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ การคมนาคมและทำให้การค้าในแถบท้องทุ่งแสนแสบ
สายสนทิ วงศ์ พระโอรสในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เจรญิ ข้นึ ดว้ ย

นวม กรมหลวงวงศาธริ าชสนทิ (ตน้ ราชสกลุ สนทิ วงศ)์ ใน พ.ศ. ๒๔๓๓ บริษทั ขุดคลองแลคนู าสยาม
ได้ร่วมกับพระนานาพิธภาษี (ชื่น) นายยม และนาย ได้เริ่มขุดคลองสายใหญ่สายหลักคลองแรก โดยขุด

โยกมิ แกรซี (Joachim Grassi) วศิ วกรชาวอติ าเลยี น๒๘ ต้ังแต่คลองเปรมประชากรไปออกแม่น้ำนครนายก

จัดตั้งบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามขึ้น เพื่อดำเนิน ท่ีตำบลศีรษะกระบือ โดยว่าจ้างแรงงานจีนขุดเป็น
กจิ การขุดคลอง ขายท่ีดิน
ระยะทางยาวราว ๓๐ เส้น จากน้ันจึงใช้เคร่ืองจักร

เรือขุด และต่อมาเปลี่ยนเป็นเครื่องจักรชนิดเดินบน

รางเหลก็ ขุดบนฝง่ั คลอง








คลองเก่าเล่าประวัติเมอื ง 107

การใชเ้ ครอื่ งจักรกลขุดคลองรังสติ

โดยบริษทั ขดุ คลองแลคูนาสยาม

(ภาพ : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต)ิ เม่ือขุดคลองสายแรกแล้วเสร็จ ระยะแรก

ชาวบ้านเรียกคลองน้ีว่า คลองเจ้าสาย ตามพระนาม
คลองรงั สติ บรเิ วณประตนู ้ำจุฬาลงกรณ์ เมืองธัญญบรุ ี พระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าสายสนทิ วงศ์ หรือเรยี กวา่
(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ คลองแปดวา ตามความกว้างของคลอง แต่ภายหลัง
108 คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มือง รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามคลองนี้ว่า
คลองรังสิตประยูรศักดิ์ เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติ
พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักด์ิ (สมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ต้นราชสกุล รังสิต) พระราชโอรสท่ีประสูติแต่เจ้าจอม
มารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ พระธิดาใน
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ด้วยเหตุน้ี
ในเวลาต่อมาจึงเรียกช่ือโครงการพัฒนาที่ดินบริเวณน้ี
วา่ “โครงการรงั สติ ” และเรยี กบรเิ วณทคี่ ลองน้ีไหลผา่ น
ว่า “ทงุ่ รงั สิต”

หลังจากน้ัน บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม

ได้ขุดคลองสกัดหรือคลองแยกสายใหญ่อีกสองสาย
คือคลองหกวาสายล่างและคลองหกวาสายบน รวมทั้ง
คลองซอยแยกจากคลองรังสิตประยูรศักดิ์ ฝั่งเหนือ
และฝั่งใต้อีก ๕๙ คลอง ซ่ึงสามารถเปิดพ้ืนท่ีนา

สองฝงั่ คลองทข่ี ดุ ได้ถึง ๑,๓๓๗,๒๒๕ ไร่

นอกจากน้ี บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม

ยังได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสร้างทำนบ
เป็นประตูก้นั น้ำขึ้น ๒ แห่ง ในคลองรงั สติ ประยูรศักด์ิ
ท่ีบริเวณใกล้คลองศีรษะกระบือออกทางแม่น้ำเมือง
นครนายก โดยได้รับพระราชทานนามว่า “ประตูน้ำ
เสาวภาผ่องศรี” และที่บริเวณใกล้คลองเปรมประชากร
ออกทางแม่น้ำเจ้าพระยา ได้รับพระราชทานนามว่า
“ประตูนำ้ จุฬาลงกรณ”์

ผลของการขุดคลองรังสิตประยูรศักด์ิ เพ่ือ

บุกเบิกท่ีดินและตอบสนองการทำนาในห้วงเวลาที่
ความต้องการข้าวเพ่ิมมากขึ้น ทำให้บริเวณท้อง

ทงุ่ หลวงทเี่ คยรกรา้ งเปน็ ทอี่ าศยั ของสตั วป์ า่ โดยเฉพาะ
โขลงชา้ งซง่ึ มอี ยทู่ วั่ ไป และมผี คู้ นอาศยั อยคู่ อ่ นขา้ งนอ้ ย

กลายเป็นพ้ืนที่เพาะปลูกท่ีมีผู้คนพากันอพยพเข้ามา
ตั้งถ่ินฐาน เกิดเป็นชุมชนข้ึนอย่างหนาแน่นทั้งใน
บรเิ วณคลองรงั สติ ประยรู ศกั ด์ิ คลองสกดั และคลองซอย
จนทางราชการต้องเข้าไปจัดการปกครองในบริเวณ
บรรยากาศริมคลองรังสติ ในอดตี
ทอ้ งทุง่ หลวงใหม ่
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)

ในการนี้ รัชกาลที่ ๕ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ ท้ังนี้ ได้มีการกำหนดเขตเมืองธัญญบุรีต้ังแต่

พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ กฤดาภนิ หิ าร กรมพระ ทางทศิ ตะวนั ตก บรเิ วณรมิ ทางรถไฟสายนครราชสีมา
นเรศวรฤทธิ์ (ต้นราชสกลุ กฤดากร) เมือ่ คร้ังยังดำรง ไปทางทศิ ตะวนั ออกจนถงึ คลองซอยที่ ๑๔ ฝงั่ ตะวนั ตก
พระยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงนเรศวรฤทธิ์ จดแขวงเมืองนครนายกและฉะเชิงเทรา ทิศเหนือจด
เสนาบดีกระทรวงนครบาล ตรวจท้องท่ี ยกเขตแขวง กรุงเก่า ทิศใต้จดเขตกรุงเทพมหานคร และมีนบุรี
ข้ึนเป็นเมืองใหญ่ โดยแบ่งแขวงจากกรุงเทพมหานคร แบง่ แขวงเมอื งธญั ญบรุ อี อกเปน็ ๔ อำเภอ คอื อำเภอเมอื ง
๒ อำเภอ คือ อำเภอศศี ะกระดานกบั อำเภอคลองที่ ๙ อำเภอคลองหลวง อำเภอหนองเสอื และอำเภอลำลกู กา

แบง่ แขวงจากเมอื งปทมุ ธานี กง่ึ ทอ้ งทอี่ ำเภอเปรมประชากร เมืองธัญญบุรีได้ข้ึนกับมณฑลกรุงเทพฯ

กบั แขวงกรงุ เกา่ และบางพน้ื ทข่ี องเมอื งสระบรุ ที ยี่ งั ไมต่ ง้ั มาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
นายแขวง รวมเข้าเป็นแขวงเมือง ขึ้นอยู่ในมณฑล รชั กาลท่ี ๖ จงึ ไดโ้ อนไปสงั กดั มณฑลกรงุ เกา่ ครนั้ ถงึ สมยั
กรุงเทพฯ และได้สร้างเมืองข้ึนที่บริเวณระหว่าง พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๗ ไดถ้ กู
คลองซอยท่ี ๖ กบั ๗ ฝง่ั เหนอื คลองรังสติ ประยรู ศักดิ์ ลดฐานะลงเปน็ เพยี งอำเภอ คอื อำเภอธญั ญบรุ ี อำเภอ
พร้อมกับพระราชทานนามว่า “เมืองธัญญบุรี” คือ คลองหลวง อำเภอหนองเสอื และอำเภอลำลกู กา ขน้ึ กบั
เมอื งข้าว คกู่ ับ “เมืองมีนบรุ ี” คอื เมืองปลา ซึง่ ตั้งขึ้น จงั หวดั ปทุมธานีมาจนถงึ ปจั จบุ นั

ในเขตคลองแสนแสบตอนล่าง
การขุดคลองตามโครงการรงั สติ สง่ ผลให้พน้ื ที่

เพาะปลูกข้าวบริเวณทุ่งรังสิตขยายตัวจนเป็นแหล่ง

ปลกู ขา้ วขนาดใหญ่แหง่ หนึ่งของประเทศ



คลองเก่าเล่าประวัตเิ มือง 109

ส่วนหนึ่งของแผนที่กรงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๔๕๐ แสดงให้เหน็ บริเวณ “ทุ่งประทุมวัน”
ซงึ่ มีคลองพาดผ่านหลายสายรวมถึงคลองราชดำริห์ (แถบสฟี า้ )
(ภาพ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๔.)
110 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง

ขดุ คลอง เชื่อมยา่ นการคา้ ในพระนคร



นอกเหนือจากการขุดคลองเพ่ือขยายพื้นท่ี
เพาะปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แล้ว ยังมีการขุดคลองเพ่ือ
สนองแนวทางการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในย่าน

การค้าสำคัญของกรุงเทพมหานคร โดยทางราชการ
เปิดโอกาสให้เอกชนซ่ึงส่วนใหญ่เป็นเจ้าของท่ีดิน

ได้พัฒนาเส้นทางคมนาคมเพื่อสาธารณประโยชน์และ
การพาณิชย์ เช่น เจ๊สัวยม บุตรพระยาพิสณฑ์สมบัติ
บรบิ รู ณ์ (พระภาษสี มบตั บิ รบิ รู ณห์ รอื เจส๊ วั ยมิ้ ) ทราบวา่
ชาวฝรั่งเศสและพ่อค้าจีนมีความต้องการท่ีจะปลูกบ้าน
สวยๆ ริมถนน จึงได้ขอซื้อที่ดินซ่ึงเป็นป่ารกร้าง
ภาพบรรยากาศบริเวณทีค่ ลองสาทรไหลผา่ น
(ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
ระหว่างถนนสีลมกับบ้านทวายและกราบบังคมทูล

ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตขุดคลองควบค่กู ับ

ทำถนน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘ จากบริเวณริมแม่น้ำ และนามคลองในคราวเดียวกันว่า “ถนนราชดำริห์”
เจ้าพระยาไปทางตะวันออกบรรจบกับคลองหัวลำโพง และ คลองราชดำริห์ และมีพระราชกระแสให้ปลูก
และเอาดินที่ได้จากการขุดขึ้นถมฝ่ังคลองท้ังสองฟาก ต้นไม้ เช่น ต้นข้ีเหล็ก ต้นจามจุรี หรือต้นประด ู่

ทำเป็นถนน นับเป็นท่ีดินจัดสรรแห่งแรกของไทย
เพอื่ ใหร้ ากของตน้ ไมย้ ดึ ขอบถนนไวด้ ว้ ย แตเ่ จา้ พระยา
คนทวั่ ไปเรยี กคลองใหมน่ วี้ า่ คลองเจส๊ วั ยม รชั กาลท่ี ๕ เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) ได้กราบ
ทรงเรยี กว่า คลองนายยม แตบ่ างแห่งเรยี กว่า คลอง บังคมทูลว่าได้ปลูกต้นยางอินเดียและต้นมะพร้าว

พ่อยม ต่อมา เมื่อเจ๊สัวยมได้รับพระราชทาน สลับกนั ไปแล้ว จงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้คงไวต้ ามเดมิ

บรรดาศักด์ิเป็นหลวงสาทรราชายุกต์ จึงเรียกกันว่า ในปีถัดมา รัชกาลท่ี ๕ ยังโปรดเกล้าฯ ให

คลองหลวงสาทร
ขุด คลองไผ่สิงห์โต ซ่ึงเป็นคลองสุดท้ายที่ขุดใน

ตอ่ มา ใน พ.ศ. ๒๔๔๕ รชั กาลที่ ๕ โปรดเกลา้ ฯ รัชกาลน้ี ตั้งแต่คลองราชดำริห์ไปทะลุออกคลองเตย
ให้กระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงธรรมการร่วมกับ โดยพระราชทานเงนิ พระคลงั ขา้ งทซ่ี งึ่ เปน็ พระราชทรพั ย์
กระทรวงโยธาธิการอำนวยการขุดคลองควบคู่ไปกับ ส่วนพระองคจ์ ำนวน ๒๗,๖๔๓ บาท เพ่อื เปน็ เสน้ ทาง
การตัดถนนต้ังแต่ศาลาแดงผ่านทุ่งปทุมวันไปจนถึง คมนาคมตดิ ตอ่ กนั ระหวา่ งคลองราชดำรหิ ก์ บั คลองเตย
คลองบางกะปิ เพือ่ ใช้เปน็ เส้นทางคมนาคมในเขตชาน อันทำให้ชานพระนครทางด้านตะวันออกเฉียงใต

พระนครทางดา้ นตะวนั ออก แลว้ พระราชทานนามถนน มีทางเชื่อมถงึ กนั โดยตลอด


คลองเก่าเลา่ ประวตั ิเมือง 111

สภาพความต้นื เขิน มีต้นไมแ้ ละวัชพชื ขึ้นปกคลมุ คลองขุด

ริมฝง่ั คลองถนนตรงและขนาดคลองราชดำริห์ หลังสมยั รชั กาลที่ ๕ – ปจั จบุ นั

ท่แี คบลง เมอ่ื เส้นทางคมนาคมทางบก
มีความเจรญิ มากขึน้ เปน็ ลำดบั

(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ การขุดคลองสายต่างๆ ท้ังในและรอบนอก
112 คลองเก่าเลา่ ประวตั ิเมือง กรุงเทพมหานคร โดยทางราชการและเอกชนในสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รชั กาลที่ ๕
เพ่ือการคมนาคม การขยายพ้ืนที่เพาะปลูก และเป็น
เส้นทางลำเลียงผลผลิตออกสู่ตลาดนั้น เม่ือถึงสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖
คลองในเขตกรุงเทพมหานครได้ลดบทบาทดังกล่าวลง

ตามลำดับ ในขณะท่ีถนนกลับทวีความสำคัญมากขึ้น
เรื่อยๆ กล่าวคือ ในสมัยรัชกาลท่ี ๖ ไม่ปรากฏว่า

ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหม้ กี ารขดุ คลองในเขตกรงุ เทพมหานคร
ดังเช่นในสมัยรัชกาลที่ ๕ จะมีก็แต่เพียงการขุดลอก
คลองเดิมที่ต้ืนเขินเพ่ือความสะดวกในการสัญจรของ
ราษฎรในบริเวณน้ันและเพ่ือการเพาะปลูก โดยเฉพาะ
การทำนา โดยเน้นไปทางฝั่งธนบุรี ตลอดจนมีการ
จัดการปัญหาของคลองต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร
เช่น ออกประกาศไม่ให้จอดแพในคลองสำคัญที่เป็น
เส้นทางคมนาคม เพื่อป้องกันการรุกล้ำคลอง และมี
การถมคลองสร้างเป็นถนนแทน โดยเฉพาะบริเวณ

ท่ีเป็นย่านชุมชนใจกลางกรุงเทพมหานครหรือเป็น
แหล่งค้าขายของชาวจีน เพ่ือแก้ปัญหาความสกปรก
และการตื้นเขนิ ของคลอง

อย่างไรก็ตาม การถมคลองหลายสายทำให้
เกิดปัญหาตามมา โดยเฉพาะด้านการคมนาคมซึ่งมี
ผลกระทบไปถงึ การคา้ ดว้ ยสมยั นนั้ การเดนิ ทางติดต่อ
ภายในกรุงเทพมหานครและพื้นที่รอบนอกยังต้อง
อาศัยเรือเป็นส่วนมาก เม่ือมีการถมคลองท่ีไหลผ่าน
ยา่ นการคา้ สำคญั ยอ่ มทำใหเ้ รอื สนิ คา้ ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ
บริเวณดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งสะดวก

นอกจากนี้ ในบริเวณที่เป็นย่านชุมชนและมี
ราษฎรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น เมื่อมีการถมคลอง
หากเกิดเพลิงไหม้ ย่อมหาน้ำดับเพลิงได้ยาก ด้วยใน
เวลานั้น การดับเพลิงต้องอาศัยน้ำในคูคลองเป็น
สำคัญ

คร้ันถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๗ ไม่ปรากฏว่ามีการขุดคลอง

รวมถึงการซ่อมแซมคลองในเขตกรุงเทพมหานคร
และคลองกม็ ีสภาพปญั หาเชน่ เดยี วกับสมัยรัชกาลที่ ๖
คือ คลองขนาดเล็กขาดการทำนุบำรุงจนต้ืนเขิน
ทำให้เรือเดนิ ไปมาไม่สะดวกจนตอ้ งถมเปน็ ถนน

หลังจากสมัยรัชกาลที่ ๗ เป็นต้นมา คลองท่ี
คงเหลืออยู่เป็นคลองขนาดใหญ่ไม่กี่คลอง ส่วนคลอง


ขนาดเล็กน้ันแทบจะไม่มีความสำคัญเหลืออยู่เลย

เพราะสว่ นใหญ่ถกู ถมกลายสภาพเป็นถนน


คลองท่ีถูกถมสร้างเป็นถนนก็ดี คลองที่ถูก

ถนนขวางกั้นก็ดี และยังมีอีกหลายๆ คลองท่ีมีสภาพ

ตื้นเขิน เนื่องจากประชาชนท้ิงขยะและสิ่งปฏิกูลต่างๆ

ลงไปในคลอง รวมทง้ั มกี ารปลกู สรา้ งอาคารรกุ ลำ้ เขา้ ไป

ในเขตคลอง คลองซง่ึ แตเ่ ดมิ เปน็ ทางระบายนำ้ ธรรมชาติ

จึงไม่สามารถระบายน้ำได้ทัน ทำให้กรุงเทพมหานคร

ซง่ึ ตง้ั อยู่ในบรเิ วณ “ทรี่ าบลมุ่ เจา้ พระยา” เกดิ นำ้ ทว่ มขงั

ในฤดูฝน หากฝนตกหนกั


เหตกุ ารณน์ ้ำท่วมกรงุ เทพฯ สมยั ต่างๆ (พ.ศ. ๒๔๘๕

๒๕๒๖ และ ๒๕๓๓) สว่ นหนึ่งเกิดจาก

การขาดพ้นื ที่รองรับและระบายนำ้ อย่างคแู ละคลองตา่ งๆ


(ภาพ : หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ)

คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง 113

แผนทแี่ ม่น้ำเจ้าพระยาสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา แสดงบรเิ วณโคง้ กระเพาะหมู ซึง่ เปน็ ที่ตง้ั ของคลองลัดโพธ์ิ
(ภาพ : ตดั ตอนจากแผนท่แี ม่น้ำเจา้ พระยาในจดหมายเหตุ เดอ ลา ลูแบร์ ฉบบั แปลภาษาอังกฤษ)
114 คลองเก่าเล่าประวตั ิเมอื ง

คลอง : การบริหารจัดการ

อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ




อย่างไรก็ดี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นว่า
ได้พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับการบริหาร แม่น้ำเจ้าพระยาที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณ
จัดการน้ำอย่างหลากหลาย เช่น การสร้างเข่ือนเก็บ รอบพน้ื ที่บางกะเจ้า อำเภอพระประแดง จงั หวัดสมุทร

กักน้ำ การก่อสร้างทางผันน้ำ การสร้างคันก้ันน้ำ
ปราการ ซึ่งมีระยะทางยาวประมาณ ๑๘ กิโลเมตร

การปรับปรุงสภาพลำน้ำ โดยให้หน่วยงานต่างๆ
ได้ทำให้การระบายน้ำท่ีท่วมพื้นท่ีชั้นในของกรุงเทพ

ท่ีเกย่ี วขอ้ งรว่ มกนั ดำเนินงานโครงการต่างๆ อยา่ งเชน่ มหานครเปน็ ไปอยา่ งลา่ ชา้ ไมท่ นั การณ์ เมอื่ นำ้ ทะเลหนนุ
“โครงการขุดคลองลัดโพธ์ิอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ” จึงมีพระราชดำริให้ยึดหลักการ “เบ่ียงน้ำ” คือ ย่น
เพ่ือบรรเทาปัญหาอุทกภัย รวมไปถึงการจราจรของ ระยะทางในการระบายน้ำลงสู่ทะเลเวลาที่น้ำทะเลลด
กรุงเทพมหานครด้านใต้ต่อเน่ืองไปถึงจังหวัดสมุทร
และปดิ กน้ั นำ้ ทะเลเขา้ พนื้ ทเี่ มอื่ นำ้ ทะเลหนนุ สงู โดยการ
ปราการ ด้วยการจัดสร้างเส้นทางน้ำในการลัดน้ำจาก ขุดลอกและขยายคลองลัดโพธ์ิให้ลึกและกว้าง เพื่อใช้
แมน่ ำ้ เจา้ พระยาลงสทู่ ะเล อนั เปน็ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ เป็นทางระบายน้ำที่ไหลหลากและล้นท่วมพ้ืนที่สองฝั่ง
ระบบการบริหารจัดการน้ำในกรุงเทพมหานครและ แม่นำ้ เจ้าพระยาลงสูท่ ะเลได้ทัน ในช่วงก่อนที่น้ำทะเล
บริเวณใกลเ้ คยี งให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น
จะหนุนสูง และปิดคลองลัดโพธิ์เม่ือน้ำทะเลหนุน

“โครงการคลองลดั โพธอิ์ นั เนอื่ งมาจากพระราช
เพื่อหน่วงน้ำทะเลให้ไหลไปตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยา
ดำริ” เป็นการขดุ ลอกและขยายคลองลดั โพธ์ิ พร้อมทั้ง ทีค่ ดโค้งถึง ๑๘ กิโลเมตรก่อน

จัดสร้างประตูระบายน้ำ ท่ีเกิดจากพระวิริยอุตสาหะ
สำหรับประโยชน์โดยรวมท่ีประชนชาวไทย

ในการศึกษาค้นคว้าจนเข้าถึงสภาพภูมิประเทศอย่าง ทั้งประเทศได้รับจากโครงการคลองลัดโพธิ์อันเนื่อง

ถ่องแท้ โดยทรงนำหลักคิดจากการใช้ประโยชน์ของ มาจากพระราชดำริน้ัน คือการเพ่ิมประสิทธิภาพ

คลองลัดโพธ์ิที่ขุดข้ึนมากว่า ๓๐๐ ปี ผสานเข้ากับ การระบายนำ้ ในฤดนู ำ้ หลาก

หลักวิชาการและทฤษฎีการข้นึ - ลงของนำ้ ทง้ั ยังทรง นอกจากนี้ ประตรู ะบายนำ้ คลองลดั โพธิ์ ยงั ทำ
คำนงึ ถงึ สภาพความเปน็ อยแู่ ละระบบนเิ วศโดยรวมของ หนา้ ท่ี “หนว่ งน้ำเค็ม” เม่ือน้ำทะเลหนนุ สูง ใหว้ งิ่ ออ้ ม
ธรรมชาติ ตลอดจนสภาพทางสงั คมและชมุ ชน นบั เปน็
“พ้ืนที่กระเพาะหมู” บริเวณที่เคยเป็นพื้นท่ีน้ำเค็มรุก
การแก้ไขปัญหาดว้ ยการใช้ “หลกั แหง่ ธรรมชาติ” เพ่อื จึงสามารถปลูกผลไม้ได้ผลดีข้ึน และช่วยบรรเทา
บรรเทาปัญหาน้ำท่วมขังในเขตกรุงเทพมหานครและ ปัญหาน้ำท่วมบริเวณ “เกาะพระประแดง” อันเน่ือง

ปริมณฑล ตลอดจนบรรเทาปัญหาน้ำทะเลหนุนสูง
มาจากสภาพการข้ึนลงของน้ำตามธรรมชาติ โดยช่วย
และนำ้ เค็มรกุ พืน้ ที
่ ก้ันน้ำเขา้ พ้นื ที่ในชว่ งนำ้ ขนึ้ อีกด้วย


คลองเกา่ เลา่ ประวตั ิเมอื ง 115

แนวพระราชดำริดา้ นการปรับปรุงตลิ่งริมคลองแสนแสบ
นอกจากโครงการดังกล่าวแล้ว พระบาท
และการเรง่ ระบายน้ำท่วมขังออกจากพน้ื ที่กรงุ เทพฯ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชดำริในอันท่ีจะช่วย
ดว้ ยการใช้เครอ่ื งสูบนำ้ รวมทัง้ การขุดและปรบั ปรงุ
บรรเทาความเดือดร้อนอันเนื่องมาจากน้ำท่วมให้แก่
ทางระบายน้ำ เมอื่ ครั้งเกดิ เหตกุ ารณน์ ำ้ ทว่ ม พ.ศ. ๒๕๒๖
ชาวกรุงเทพฯ จึงเป็นท่ีมาของแนวทาง ตลอดจน


วิธีการต่างๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
กระจายอยทู่ วั่ กรุงเทพมหานคร เชน่

เม่ือคร้ังเหตุการณ์น้ำท่วม พ.ศ. ๒๕๒๓

ได้โปรดเกลา้ ฯ ให้ขยายหรอื เปิดทางน้ำโดยให้กรงุ เทพ

มหานครและหน่วยงานต่างๆ ขยายช่องทางน้ำที่ผ่าน
ทางรถไฟ รวมท้ังขุด ลอก และขยายคลอง ๑๙ สาย
นอกแนวคันก้ันน้ำ ให้เป็นทางระบายน้ำลงสู่ทะเลได้
พร้อมทั้งให้มีการปรับปรุงคลองด้านในแนวคันกั้นน้ำ
อกี ๒๒ สาย

พ.ศ. ๒๕๒๕ เมื่อเกิดน้ำท่วมในเขตกรุงเทพ

มหานครโดยเฉพาะบรเิ วณลาดพรา้ ว ซง่ึ เปน็ ยา่ นชมุ ชน
และเป็นที่ตั้งของโรงเรียนหลายแห่ง ได้โปรดเกล้าฯ
ให้แก้ไขปัญหาด้วยการระบายน้ำผ่านตัวเมือง โดยใช้
ประโยชน์จากประตูระบายน้ำที่มีอยู่ รวมทั้งให้ทำการ
ขุดลอกคลองสายต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณใต้สะพาน
ข้ามคลอง

พ.ศ. ๒๕๒๖ คราวเกิดน้ำท่วมคร้ังรุนแรง

เปน็ บริเวณกว้างในกรงุ เทพมหานคร รวมไปถงึ จงั หวัด
สมทุ รปราการ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากพายหุ ลายลกู ทพ่ี ดั ผา่ น
ในขณะน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราช
ดำริให้ก่อสร้างทำนบกั้นคลองแสนแสบบริเวณคลอง
บางกะปิ เพ่ือป้องกันน้ำที่ระบายจากคลองบางกะปิ

ลงคลองแสนแสบไม่ให้ไหลยอ้ นกลบั มาได้ และภายหลงั

116 คลองเกา่ เลา่ ประวตั ิเมือง

ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขยายประตูระบายน้ำและสร้าง เมื่อเกิดเหตุการณ์น้ำท่วม ใน พ.ศ. ๒๕๓๘
สะพานให้ประชาชนข้ามคลองได้สะดวก เสริมตลิ่ง อันเน่ืองมาจากมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ทำให้

คลองแสนแสบด้านเหนือให้เรียบร้อย ติดตั้งเครื่อง
ระดับน้ำในแมน่ ้ำเจ้าพระยาสูงเป็นประวัติการณ์ นำ้ จงึ
สูบน้ำเพื่อช่วยระบายน้ำจากคลองแสนแสบ คลองตัน ล้นคันกั้นน้ำเข้าท่วมพื้นที่สองฝ่ังแม่น้ำ โดยเฉพาะ
ไปลงคลองผดุงกรุงเกษมได้มากสุด และสุดท้าย
พน้ื ทฝ่ี งั่ ธนบรุ ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ
ได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการเสริมคันก้ันน้ำคลองบางกะปิ
ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องร่วมมือกันคิดหาวิธีสูบและ
กันนำ้ ไหลลงท่วมคลองพระโขนงเพิ่มขน้ึ
ผลกั ดนั นำ้ ฝง่ั ธนบรุ ีใหล้ งทะเลแถวจงั หวดั สมทุ รปราการ
ต่อมา เมือ่ น้ำทว่ มกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. และโปรดเกล้าฯ ให้กรุงเทพมหานครดำเนินการสร้าง
๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราช
คันกั้นน้ำที่คลองแยกคลองบางกอกน้อย ๔ คลอง
ดำเนนิ ไปทอดพระเนตรประตนู ำ้ เทเวศร์ คลองสามเสน แก้ไขปญั หาขยะอุดตันท่อน้ำ เป็นตน้

คลองบางกะปิ ประตูน้ำท่ีคลองแสนแสบและคลอง นอกจากน้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ลาดพร้าว จากน้ัน ได้พระราชทานแนวพระราชดำร
ิ ยังเอาพระราชหฤทัยใส่ในเร่ือง “น้ำเสีย” ในคลอง
ใหส้ รา้ งประตรู ะบายนำ้ และทรงเนน้ ใหเ้ หน็ ความสำคญั ต่างๆ ซงึ่ เป็นผลสบื เนอื่ งมาจากการขยายตวั ของเมือง
ของการควบคุมระดับน้ำในคลองสายหลัก โดยเฉพาะ อย่างรวดเร็ว รวมทงั้ กจิ กรรมตา่ งๆ ของมนุษย์ทท่ี ำให้
อย่างย่ิงในฤดูฝน ซ่ึงจะช่วยบรรเทาปัญหาอุทกภัย เกดิ นำ้ เสยี ในปรมิ าณสงู จนกระทง่ั มปี รมิ าณนำ้ เนา่ เสยี
และในฤดูแล้ง ให้สามารถนำน้ำสะอาดจากภายนอก ค่ังค้างในคลองต่างๆ ของกรุงเทพมหานครมากข้ึน
มาถ่ายเทน้ำเสียข้างใน ซ่ึงหากสามารถควบคุม
เร่ือยๆ

การเปิด - ปิดประตูระบายน้ำให้ถูกจังหวะ ก็จะเป็น
ใน พ.ศ. ๒๕๓๘ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
การประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินเคร่ืองสูบน้ำได้เป็น จึงทรงคิดค้นวิธีการนำ “น้ำดี” มาเจือจางและขับไล่
อย่างดี
“น้ำเสีย” ในคลองท่ีประสบปัญหาน้ำเสียรุนแรง เช่น
ใน พ.ศ. ๒๕๓๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้า
คลองผดุงกรุงเกษม โดยเฉพาะช่วงที่ไหลผ่านบริเวณ
อยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริในการป้องกัน ตลาดเทเวศร์ เพอื่ ช่วยเสรมิ กระบวนการนำ้ ดีไลน่ ำ้ เสยี
แก้ไขปัญหาน้ำท่วมเพ่ิมเติม โดยโปรดเกล้าฯ ให้ขุด ในธรรมชาติ โดยใช้ประโยชน์จากปรากฏการณ์
คลองแนวทิศเหนือ - ใต้ เป็นคลองเล็กๆ ขนาด ธรรมชาติจากกระแสน้ำข้ึน - น้ำลง ซึ่งเป็นกลไก

ประมาณ ๑๐ เมตร เพ่ือระบายน้ำออกทะเลทาง อย่างหน่ึงที่ช่วยขับไล่น้ำเสียในคูคลองตามธรรมชาติ
จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งจะคุ้มกว่าการระบายลง แลว้ เสรมิ ดว้ ยอปุ กรณส์ มยั ใหมใ่ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

แมน่ ้ำใหญเ่ พยี งสายเดยี ว


คลองเก่าเลา่ ประวัติเมือง 117

เชิงอรรถ


บทท่ี ๑





๑ แม่น้ำปิง เป็นแม่น้ำท่ีมีต้นน้ำเกิดจากเขาไม่มีช่ือในตำบลนาหวาย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ่

ไหลผ่านอำเภอเชยี งดาว อำเภอแม่แตง อำเภอแมร่ ิม อำเภอสันทราย อำเภอเมอื งเชยี งใหม่ อำเภอหางดง
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอเมืองลำพูน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน วกเข้าเขตจังหวัดเชียงใหม่
ในอำเภอจอมทอง ผ่านอำเภอฮอด อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เข้าอำเภอ
สามเงา จังหวดั ตาก ผา่ นเขอื่ นภูมพิ ล แลว้ ไหลเข้าจงั หวัดกำแพงเพชร ผา่ นอำเภอเมืองกำแพงเพชร อำเภอ
คลองขลุง อำเภอขาณุวรลักษบุรี เข้าจังหวัดนครสวรรค์ ผ่านอำเภอบรรพตพิสัย อำเภอเก้าเล้ียว อำเภอ
เมืองนครสวรรค์ ไหลไปรวมกบั แมน่ ำ้ น่านเปน็ แมน่ ้ำเจา้ พระยา ระยะทางประมาณ ๗๑๕ กิโลเมตร


๒ แม่น้ำวัง ต้นน้ำเกิดจากทิวเขาผีปันน้ำ บริเวณดอยหัวขุนวัง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ไหลเข้าจังหวัด
ลำปาง ผ่านอำเภอวังเหนือ แล้วไหลเป็นเส้นแบ่งเขตอำเภอวังเหนือกับอำเภอแจ้ห่ม เข้าจังหวัดลำปาง

ผ่านอำเภอแจ้ห่มและอ่างเก็บน้ำกิ่วลม เข้าอำเภอเมืองลำปาง อำเภอเกาะคา อำเภอสบปราบ อำเภอเถิน
และอำเภอแม่พริก ไหลเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างอำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง กับอำเภอสามเงา
จงั หวดั ตาก เขา้ จงั หวดั ตาก ผา่ นอำเภอสามเงา ไปลงแมน่ ำ้ ปงิ ฝง่ั ซา้ ยทบี่ า้ นปากวงั อำเภอบา้ นตาก จงั หวดั ตาก
ระยะทางยาวประมาณ ๔๓๐ กิโลเมตร


๓ แม่น้ำยม เกิดจากน้ำงิมไหลมารวมกับน้ำควรท่ีบ้านบุญยืน อำเภอปง จังหวัดพะเยา ผ่านอำเภอเชียงม่วน
เข้าจังหวัดแพร่ ผ่านอำเภอสอง แล้วไหลเป็นเส้นแบ่งเขตอำเภอสองกับอำเภอหนองม่วงไข่ ผ่านอำเภอ
หนองม่วงไข่ อำเภอเมืองแพร่ อำเภอสูงเม่น อำเภอเด่นชัย อำเภอลอง อำเภอวังชิ้น เข้าจังหวัดสุโขทัย
ผา่ นอำเภอศรีสชั นาลัย อำเภอสวรรคโลก อำเภอศรสี ำโรง อำเภอเมอื งสุโขทยั อำเภอกงไกรลาศ เข้าจงั หวัด
พิษณโุ ลก ผา่ นอำเภอบางระกำ เข้าจงั หวดั พิจิตร ผา่ นอำเภอสามง่าม แล้วไหลเปน็ เส้นแบ่งเขตอำเภอเมือง
พิจิตรกับอำเภอโพธ์ิประทับช้าง ผ่านอำเภอโพธิ์ประทับช้าง อำเภอบึงนาราง อำเภอโพทะเล เข้าจังหวัด
นครสวรรค์ ไหลไปลงแมน่ ำ้ น่านทบี่ ้านเกยไชยเหนอื อำเภอชมุ แสง ระยะทางยาวประมาณ ๗๐๐ กิโลเมตร


๔ แม่น้ำน่าน ต้นน้ำเกิดจากดอยภูแวซ่ึงอยู่ในทิวเขาหลวงพระบางในอำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ไหลเข้า
อำเภอทุ่งช้าง อำเภอเชียงกลาง แล้วเข้าอำเภอปัว ผ่านอำเภอท่าวังผา อำเภอเมืองน่าน อำเภอเวียงสา
ไหลต่อไปเป็นเส้นแบ่งเขตอำเภอเวียงสากับอำเภอนาน้อยไปลงอ่างเก็บน้ำเข่ือนสิริกิต์ิ เข้าอำเภอนาน้อย
แล้วเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน กับอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ เข้าเขต
จังหวัดอุตรดิตถ์ ในอำเภอท่าปลา ถึงผาซ่อม ท่ีต้ังเข่ือนสิริกิต์ิ ผ่านอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอตรอน

118 คลองเก่าเลา่ ประวตั ิเมอื ง

อำเภอพชิ ยั เข้าเขตจังหวดั พษิ ณุโลก ผา่ นอำเภอพรหมพริ าม ท่ตี ั้งเขือ่ นนเรศวร ผา่ นอำเภอเมืองพษิ ณโุ ลก
อำเภอบางกระทุ่ม เข้าเขตจังหวัดพิจิตร ผ่านอำเภอเมืองพิจิตร อำเภอตะพานหิน อำเภอบางมูลนาก

เข้าเขตจังหวัดนครสวรรค์ ผ่านอำเภอชุมแสง เข้าอำเภอเมืองนครสวรรค์ แล้วมีแม่น้ำปิงไหลมาสบท่ีตำบล
แควใหญ่ในเขตอำเภอเมืองนครสวรรค์ จากน้ันรวมกันเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา ระยะทางยาวประมาณ ๗๔๐
กิโลเมตร

๕ คำวา่ “ปากนำ้ โพ” สนั นษิ ฐานกนั สบื มาเปน็ หลายอยา่ ง บา้ งวา่ ดว้ ยเปน็ บรเิ วณทแ่ี มน่ ำ้ ปงิ แมน่ ำ้ วงั แมน่ ำ้ ยม
และแม่น้ำน่าน ไหลมาบรรจบกัน จึงเรียกว่า “ปากน้ำโผล่” แล้วภายหลังเพี้ยนเป็นปากน้ำโพ แต่บางตำรา
กล่าวว่า เป็นปากน้ำของ “แม่น้ำโพ” คือแม่น้ำน่านในปัจจุบัน ท่ีไหลมาบรรจบกับแม่น้ำปิง จึงเรียกว่า
ปากน้ำโพ หรืออาจเป็นบริเวณที่มีต้นโพธิ์ขนาดใหญ่เติบโตอยู่ตรงปากน้ำในบริเวณวัดโพธิ์ ซ่ึงเป็นท่ีต้ังของ
ศาลเจา้ กวนอูในปจั จุบัน จงึ เรียกว่า ปากน้ำโพ (โพธ์)ิ

๖ แม่น้ำแควใหญ่ ต้นน้ำเกิดจากเขาไม่มีช่ือ ซ่ึงแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศพม่ากับประเทศไทยในอำเภอ
อุ้มผาง จงั หวัดตาก ไหลผ่านที่ตัง้ อำเภออุ้มผาง เข้าจงั หวัดกาญจนบรุ ี ผา่ นอำเภอทองผาภูมิ แล้วไหลเปน็
เสน้ แบ่งเขตจงั หวดั ระหวา่ งอำเภอศรีสวัสด์ิ จงั หวดั กาญจนบรุ ี กบั อำเภอบา้ นไร่ จงั หวัดอุทยั ธานี เข้าอำเภอ
ศรีสวสั ด์ิ จงั หวัดกาญจนบรุ ี (ชว่ งนเ้ี รยี ก แมน่ ้ำแม่กลอง) แลว้ ไหลผา่ นเขื่อนศรนี ครินทร์ เขา้ เขตอำเภอเมอื ง
กาญจนบุรี ไปร่วมกบั แมน่ ้ำแควน้อย ระยะทางยาวประมาณ ๓๙๙ กิโลเมตร

๗ แม่น้ำแควน้อย ตอนต้นน้ำเรียกว่า ห้วยแม่น้ำน้อย เกิดจากแม่น้ำบีคี่ใหญ่ ห้วยซองกาเลีย และแม่น้ำรันตี
ไหลมารวมกันท่ีสามสบ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ไหลผ่านอำเภอทองผาภูมิและอำเภอไทรโยค
เข้าเขตอำเภอเมืองกาญจนบุรี ไปร่วมกับแม่น้ำแควใหญ่กลายเป็นแม่น้ำแม่กลองในเขตอำเภอเมือง
กาญจนบรุ ี ระยะทางยาวประมาณ ๓๓๐ กิโลเมตร

๘ เนื่องจากแต่เดิม มีต้นมะขามเก่าแก่ต้นหน่ึงขึ้นอยู่ริมแม่น้ำบริเวณหน้าวัดซึ่งปัจจุบันเรียกว่า วัดปากคลอง
มะขามเฒ่า

๙ นครชัยศรี เป็นชื่อเดิม ก่อนจะเปลี่ยนเป็น นครปฐม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

รชั กาลที่ ๖

๑๐ ท่าจีน หรือ บ้านท่าจีน เป็นชื่อชุมชนดั้งเดิม ซ่ึงต้ังอยู่บริเวณปากอ่าวไทย ก่อนจะได้มีการยกข้ึนเป็นเมือง
สาครบุรีในสมยั สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยธุ ยา และต่อมา ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า
เจ้าอยูห่ ัว รชั กาลที่ ๔ ได้มีการเปลี่ยนช่อื เป็น สมทุ รสาคร

๑๑ แม่น้ำนครนายก เป็นแม่น้ำสายสำคัญของจังหวัดนครนายก จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดปราจีนบุรี

มีความยาวประมาณ ๑๓๐ กิโลเมตร ต้นน้ำเกิดจากภูเขาในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อำเภอปากพลี
จังหวัดนครนายก ไหลผ่านน้ำตกเหวนรก ซึ่งในช่วงต้นน้ำมีช่ือเรียกว่า “คลองท่าด่าน” ถูกกั้นโดยเขื่อน


คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง 119

ขุนด่านปราการชล หลังจากน้ันไหลผ่านอำเภอเมืองนครนายก อำเภอบ้านนา และอำเภอองครักษ์ จังหวัด
นครนายก ไปบรรจบกับแม่น้ำปราจีนบุรีที่ปากน้ำโยธะกาเป็นแม่น้ำบางปะกง ท่ีตำบลโยธะกา อำเภอ
บางนำ้ เปรีย้ ว จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

๑๒ แม่น้ำปราจีนบุรี เกิดจากการไหลมารวมกันของแม่น้ำหนุมานและแม่น้ำพระปรง ท่ีรองรับน้ำมาจากแม่น้ำ
พระสะทึง ในอำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี แล้วไหลไปทางทิศตะวันตกไปบรรจบกับแม่น้ำนครนายก
และแม่น้ำบางปะกงท่ีตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนไหลลงอ่าวไทยท่ีอำเภอ
บางปะกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา รวมความยาวประมาณ ๑๒๒ กโิ ลเมตร

๑๓ แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำเก่าในยุคไพลสโตซีน เป็นหนึ่งในแควหลักของแม่น้ำซุนดาเหนือ ร่วมสมัยกับ
แม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำพุมดวง - ตาปี ต่อมาในต้นยุคโฮโลซีน น้ำทะเลเพ่ิมสูงข้ึนจากการละลายของ

น้ำแข็ง ทำให้ขอบเขตแม่น้ำเจ้าพระยาหายไป เน่ืองจากพื้นท่ีลุ่มน้ำเจ้าพระยาเกือบทั้งหมดจมอยู่ใต้อ่าวไทย
โบราณ จากน้นั จึงเร่มิ มีการทับถมของดนิ ตะกอนใหมอ่ ีกครง้ั จนเปน็ แม่นำ้ เจา้ พระยาในปัจจุบัน

๑๔ Thiramongkol, Narong. “Geomorphology of the Lower Central Thailand.” In (eds.) Thiramongkol N.
and Ten Cate, Joop, Geomorphology of River and Coastal Plains, Proceedings of the Third Meeting
of the Working Group on Geomorphology of River and Coastal Plains, Department of Geology,
Chulalongkorn University, Bangkok, 1984.

๑๕ ชอ่ งทเ่ี ว้ิงวา้ งเขา้ ไป

๑๖ แม่น้ำป่าสัก มีต้นน้ำอยู่ท่ีภูขวาง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหลจากทิศเหนือลงสู่ทางใต้ ผ่านพื้นที่ของ
จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลพบุรี ลงเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ แล้วไหลผ่านจังหวัดสระบุรีสู่เข่ือนพระราม ๖ และ
ไหลบรรจบกับแมน่ ้ำเจา้ พระยาทอ่ี ำเภอพระนครศรีอยธุ ยา จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา รวมความยาวประมาณ
ประมาณ ๕๗๐ กิโลเมตร

๑๗ แมน่ ้ำลพบรุ ี เป็นสาขาของแม่น้ำเจา้ พระยาท่แี ยกออกจากแม่นำ้ เจา้ พระยาบรเิ วณตำบลม่วงหมู่ อำเภอเมือง
จังหวัดสิงห์บุรี ไหลผ่านจังหวัดลพบุรี แล้วไหลมาบรรจบกับแม่น้ำป่าสักท่ีตำบลหัวรอ อำเภอ
พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนมารวมกับแม่น้ำเจ้าพระยาท่ีตำบลหอรัตนไชย อำเภอ
พระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

๑๘ แมน่ ำ้ น้อย เป็นแมน่ ้ำสาขาแยกจากแม่นำ้ เจา้ พระยาทีจ่ ังหวดั ชัยนาท เป็นแมน่ ้ำสายเลก็ ๆ ท่ีไหลผ่านอำเภอ
บางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน และอำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี ไหลผ่านจังหวัดอ่างทอง จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา แลว้ ไปรวมกับแม่น้ำเจา้ พระยาอีกคร้ังท่ีจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

๑๙ วิจติ ร ทนั ดว่ น และคณะ. รายงานการสำรวจดินจังหวัดลพบรุ .ี กรงุ เทพฯ : กองสำรวจดิน กรมพัฒนาทดี่ นิ ,
๒๕๑๙.


120 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มอื ง

๒๐ สมศักด์ิ รัตนกุล. รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานเมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี. พระนคร : ศวิ พร, ๒๕๐๙.


๒๑ ผาสุก อินทราวุธ และคณะ. การขุดค้นและการศึกษาวัฒนธรรมของชุมชนโบราณที่บ้านคูเมือง อำเภอ
อินทรบ์ รุ ี จังหวดั สงิ ห์บรุ ี. กรุงเทพฯ : คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๒๔.


๒๒ จักรี วราเอกศิริ. การศึกษาบทบาทของเส้นทางน้ำท่ีมีต่อชุมชนโบราณสมัยทวารวดี กรณีศึกษาเฉพาะเมือง
นครปฐม. สารนพิ นธ์ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร,
๒๕๓๙.


๒๓ ชูสิริ จามรมาน. รายงานการวิจัยเรื่อง การวิจัยแหล่งชุมชนเก่าๆ แถบลุ่มแม่น้ำนครชัยศรี. กรุงเทพฯ :

ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ม.ป.ท.


๒๔ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา

ดำรงราชานภุ าพ. สาสน์ สมเดจ็ . อา้ งใน นจิ หญิ ชรี ะนนั ทน.์ “สโุ ขทยั ในทศั นะของการผงั เมอื ง,” เรอ่ื งของเมอื ง.
กรุงเทพฯ : สำนกั ผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๒๕.


๒๕ พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘.

๒๖ ฟรังซัวส์ อังรี ตุรแปง. ประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาฉบับตุรแปง. แปลโดยสมศรี เอี่ยมธรรม.

กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๒.

๒๗ คูขื่อหน้าหรือคลองลำคูขื่อหน้า เป็นคลองท่ีขุดเชื่อมแม่น้ำลพบุรีกับคลองที่ขุดลัดจากแม่น้ำป่าสักบริเวณ

หันตรา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เข้ามาเชื่อมกับลำคูขื่อหน้าบริเวณวัดสะพานเกลือ วัดปราสาท แล้วไหล
รวมกันไปตามแนวเกาะเมอื งอยุธยา ด้านทศิ ตะวันออก ไปเชื่อมต่อกับแมน่ ำ้ เจา้ พระยาบริเวณวดั พนญั เชงิ

๒๘ จรรยา มาณะวิท [บรรณาธกิ าร]. คลองและท่าเรอื จา้ งสมัยโบราณกรุงศรอี ยุธยา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,
๒๕๔๕.

๒๙ คลองมหาไชย เป็นคลองท่ีอยู่ถัดจากคูข่ือหน้ามาทางทิศตะวันตก ปากคลองด้านเหนืออยู่ใต้ป้อมมหาไชย
ไหลออ้ มผ่านพระราชวงั จันทรเกษมมาลงคูขื่อหนา้ หรอื แมน่ ้ำลพบุรีใต้วัดปราสาท

๓๐ ประชมุ พงศาวดาร ภาคที่ ๗๖ : จดหมายเหตขุ อง โยส เซาเตน็ พอ่ คา้ ชาวฮอลันดาในสมัยพระเจา้ ทรงธรรม
และพระเจ้าปราสาททอง. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๐๗.

๓๑ ตลาดน้ำวนบางกะจะ เป็นตลาดน้ำด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเมืองอยุธยา บริเวณหน้าป้อมเพชร

ซึ่งเป็นจุดท่ีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลมาบรรจบกับแม่น้ำป่าสัก แล้วรวมตัวเป็นสายเดียวกันไหลลงสู่ทิศใต้

ผ่านกรุงเทพมหานคร สู่อ่าวไทย ตลาดน้ำแห่งน้ี จึงเป็นที่นัดพบสำคัญของบรรดาพ่อค้าแม่ค้าจากหัวเมือง
ทางเหนือและใต้ รวมทั้งในย่านใกล้เคียง ไม่เพียงเท่าน้ัน เมื่อถึงฤดูลมสินค้า เรือสินค้าจากนานาประเทศ

จะนำสินค้าประเภทตา่ งๆ มาจอดเทียบอยทู่ ีบ่ ริเวณดงั กลา่ วอยา่ งเนืองแนน่


คลองเก่าเล่าประวตั ิเมือง 121

๓๒ ตลาดปากคลองคูจาม อยู่ทางด้านใต้ของเกาะเมืองอยุธยา บริเวณใต้วัดพุทไธสวรรย์ ผู้คนในย่านน้ัน
นอกจากคนไทยแล้ว ยังมีพวกแขกจามซึ่งนับถือศาสนาอิสลามอาศัยอยู่ ในเอกสาร คำให้การขุนหลวง

วัดประดู่ทรงธรรม กล่าวว่า พวกจามในย่านนี้มีอาชีพสาน “เสื่อลันไต” ขาย เสื่อลันไต ตามท่ีปรากฏใน
อักขราภธิ านศัพทข์ องแดนบีช แบรดเลย์ ซ่ึงตพี มิ พ์ใน พ.ศ. ๒๔๑๖ อธิบายวา่ “เสอื่ เขาสานด้วยหวายตะค้า
เป็นซกี ๆ” (ตะคา้ เป็นหวายชนิดหนง่ึ ผวิ เปน็ มนั เนอื้ เหนยี ว ใช้ผกู ส่ิงของ)


๓๓ ตลาดปากคลองคไู มร้ อ้ ง อยทู่ างทศิ เหนอื ของเกาะเมอื งอยธุ ยา บรเิ วณแมน่ ำ้ ลพบรุ ี ระหวา่ งวดั เชงิ ทา่ กบั วดั พนมยงค์
เปน็ ชมุ ทางทางนำ้ ทสี่ ำคญั เพราะมแี มน่ ำ้ ไหลสเู่ มอื งตา่ งๆ ทงั้ ในแถบภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื และยงั มคี ลองหลายสายเชอื่ มตอ่ กบั คลองเมอื ง ชว่ ยใหก้ ารตดิ ตอ่ ระหวา่ งทอ้ งทหี่ า่ งไกล สะดวกยง่ิ ขน้ึ


๓๔ ตลาดปากคลองวัดเดิม (วัดอโยธยา) อยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะเมืองอยุธยา บริเวณลำน้ำแม่เบี้ยหรือ
แม่น้ำป่าสักสายเก่า สันนิษฐานว่า ย่านน้ีน่าจะเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชาวจีนโดยเฉพาะชาวจีนแต้จิ๋ว

เน่ืองดว้ ยมศี าลปูนเท่ากง๋ ซึง่ ชาวจนี แตจ้ วิ๋ ใหก้ ารเคารพบูชาต้งั อยู่


๓๕ นโิ กลาส์ แชรแ์ วส. ประวตั ศิ าสตรธ์ รรมชาตแิ ละการเมอื งแหง่ ราชอาณาจกั รสยาม. แปลโดย สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร.
พระนคร : กา้ วหน้า, ๒๕๐๖.


๓๖ ราตรี โตเพ่งพัฒน์ [เรียบเรียง]. ตลาดน้ำ : วิถีชีวิตของเกษตรกรภาคกลาง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,
๒๕๔๓.


๓๗ ฝงั่ ตะวนั ออกและฝง่ั ตะวนั ตก แบง่ ทศิ โดยใชแ้ มน่ ำ้ เปน็ กงึ่ กลาง ฝง่ั ทอี่ ยทู่ างทศิ ตะวนั ออก เรยี กวา่ ฝงั่ ตะวนั ออก
ฝ่ังท่ีอยู่ทางทิศตะวันตก เรียกว่า ฝ่ังตะวันตก ต่างจากการเรียกฝ่ังซ้ายและฝั่งขวา ที่ต้องหันหน้าออกปลาย
แมน่ ำ้ ไปทางทะเล ฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยา จงึ หมายถงึ บรเิ วณทเี่ ปน็ พน้ื ทฝี่ ง่ั พระนคร และฝงั่ ตะวนั ตก
จะหมายถึงฝ่ังธนบรุ


๓๘ ซีมอง เดอ ลา ลูแบร์. จดหมายเหตลุ าลูแบร์ ราชอาณาจกั รสยาม. แปลโดย สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร. นนทบรุ ี :
ศรีปญั ญา, ๒๕๔๘.


๓๙ การทำสวนแบบยกร่องน้ี เรยี กกนั ว่า “สวนใหญ่” อันเปน็ ทีม่ าของช่อื “อากรสวนใหญ”่ ซึ่งเปน็ อากรท่ีเกบ็ จาก
พืชพันธุ์ผลไม้ในสวนชนิดนี้ ปัจจุบันคงเหลือชื่อสวนใหญ่น้ีเพียงแห่งเดียว คือ ตำบลสวนใหญ่ อำเภอ
เมอื งนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ


๔๐ สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน. กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๘.

๔๑ ประยูร อลุ ชุ าฏะ. ศิลปกรรมในบางกอก. พระนคร : เกษมบรรณกจิ , ๒๕๑๔.

๔๒ พระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยธุ ยา ฉบบั สมเดจ็ พระพนรัตนว์ ดั พระเชตพุ น. พระนคร : บรรณาคาร, ๒๕๑๕.

๔๓ คลองบางกอกน้อย เร่ิมต้นต้ังแต่แม่น้ำเจ้าพระยา เหนือสถานีรถไฟธนบุรี ไหลไปบรรจบคลองชักพระ


และคลองลัดบางกรวย ตรงข้ามวดั สวุ รรณคีรี มคี วามยาวประมาณ ๓.๓ กโิ ลเมตร


122 คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง

๔๔ คลองชักพระหรือคลองบางขุนศรีไหลแยกจากคลองบางกอกน้อยตรงข้ามวัดสุวรรณคีรีหรือวัดขี้เหล็กไปลง
คลองบางกอกใหญ่ มคี วามยาวประมาณ ๖ กโิ ลเมตร


๔๕ คลองบางระมาด (ทวีวัฒนา) ไหลแยกจากคลองเช่ือมระหว่างคลองบางพรมกับคลองมหาสวัสด์ิไปลง

คลองชักพระ ความยาวประมาณ ๙ กโิ ลเมตร


๔๖ คลองบางพรม ไหลแยกจากคลองชกั พระไปลงคลองทวีวฒั นา ความยาวประมาณ ๑๔ กิโลเมตร

๔๗ คลองบางน้อย ในท่ีนี้ หมายถึง คลองบางน้อย ที่ไหลแยกจากคลองชักพระไปลงคลองทวีวัฒนา ความยาว

ประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร (นอกจากน้ี ยงั มคี ลองบางน้อยในตำบลบางหลวง อำเภอบางเลน จงั หวัดนครปฐม
เป็นคลองเช่ือมระหว่างคลองเจริญสุขกับแม่น้ำนครชัยศรี มีความยาวประมาณ ๑๑ กิโลเมตร และคลอง

บางน้อยที่แยกจากคลองขุนพิทักษ์ ที่บ้านคลองขุนพิทักษ์ ตำบลขุนพิทักษ์ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัด
ราชบุรี ไหลเขา้ อำเภอบางคนที จังหวัดสมทุ รสงคราม ไปออกแมน่ ำ้ แมก่ ลองฝงั่ ขวา ทบี่ ้านเกาะแกว้ ตำบล
กระดงั งา จงั หวดั สมทุ รสงคราม มีความยาวประมาณ ๗ กิโลเมตร)

๔๘ คลองบางเชือกหนัง ไหลแยกจากคลองบางน้อยท่ีบริเวณวัดเกาะ แขวงบางเชือกหนัง เขตตล่ิงชัน ไปลง
คลองทววี ฒั นา ทบี่ รเิ วณวัดศาลาแดง เขตทววี ัฒนา ความยาวประมาณ ๑๒ กิโลเมตร

๔๙ คลองบางแวก ไหลแยกจากคลองทวีวัฒนาไปลงคลองชักพระ ตรงวัดบางแวก เขตภาษีเจริญ ความยาว
ประมาณ ๑๑ กโิ ลเมตร

๕๐ คลองบางกอกใหญ่ ไหลต่อจากคลองชักพระไปออกแม่น้ำเจ้าพระยาที่ใต้ป้อมวิชัยประสิทธิ์ ความยาว
ประมาณ ๖ กิโลเมตร

๕๑ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา
ดำรงราชานุภาพ. สาสน์ สมเดจ็ . พระนคร : องคก์ ารคา้ ของคุรสุ ภา, ๒๕๐๕.

๕๒ คลองบางหลวง เป็นอีกชื่อหน่ึงของคลองบางกอกใหญ่โดยมีท่ีมาจากเมื่อสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้า

ตากสินมหาราชได้ทรงย้ายราชสำนักมาอยู่ท่ีกรุงธนบุรี คลองบางกอกใหญ่ได้เป็นที่ต้ังชุมชนของข้าหลวง
และโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจีนท่ีเคยช่วยเหลือพระองค์มาต้ังบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ จึงเรียกกันว่า
คลองบางขา้ หลวงหรอื คลองบางหลวงมาถงึ ปัจจุบนั

๕๓ คลองบางระมาด (ตลิ่งชัน) ปากคลองเร่ิมต้ังแต่คลองบ้านไทรในเขตตล่ิงชัน ไปบรรจบคลองขุนศรีบุรีรักษ ์

ในเขตทววี ัฒนา ยาวประมาณ ๖ กโิ ลเมตร

๕๔ คลองบา้ นสมเดจ็ ไหลแยกจากแม่นำ้ เจ้าพระยาไปเชอื่ มกบั คลองสาน

๕๕ คลองบางไส้ไก่ ปากคลองแยกจากคลองบางกอกใหญ่ที่ฝั่งตรงข้ามวัดสังข์กระจาย ไปออกแม่น้ำเจ้าพระยา

ที่แขวงบางลำภลู ่างตรงข้ามกบั วดั พระยาไกร มีระยะทางยาวราว ๔ กโิ ลเมตร

๕๖ คลองสำเหร่ แยกจากคลองบางกอกใหญ่ ระหว่างวัดจันทารามกับวัดอินทาราม แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุร ี

ไปออกแม่น้ำเจ้าพระยาฝง่ั ขวาทีแ่ ขวงบางลำภลู า่ ง เขตคลองสาน มคี วามยาวประมาณ ๓ กิโลเมตร


คลองเก่าเล่าประวตั เิ มอื ง 123

๕๗ ในทน่ี ห้ี มายถงึ คลองบางสะแก ทปี่ ากคลองแยกจากคลองบางกอกใหญ่ในแขวงตลาดพลู เขตธนบรุ ี ผา่ นถนน

เทอดไท วัดบางสะแกนอก วัดบางสะแกใน ไปลงคลองดาวคะนอง ยาวประมาณ ๔ กโิ ลเมตร (นอกจากนี้ ยงั มี
คลองบางสะแก ในอำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ท่ีไหลแยกจากคลองหน้าไม้ในตำบลหน้าไม้

ไปลงคลองพระยามหาโยธาทีต่ ำบลลาดหลมุ แกว้ ความยาวประมาณ ๙ กโิ ลเมตร)


๕๘ คลองด่าน เป็นคลองสายประวัติศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหน่ึงในกรุงเทพมหานคร โดยชื่อของคลองด่านมีที่มา
จากในสมัยโบราณท่ีปากคลองด่านด้านวัดหมูหรือวัดอัปสรสวรรค์ในปัจจุบัน เคยเป็นด่านขนอนมาก่อน

ด่านขนอนคือด่านท่ีเป็นกระโจมหลังคา มียอดสำหรับดูเรือในระยะไกล เพื่อตรวจส่ิงของต้องห้ามและเก็บ
ภาษจี ากเรือสนิ คา้ ตา่ งชาตทิ ขี่ ้ึนล่องผ่านด่านมาตดิ ตอ่ ค้าขายในราชอาณาจักร ซงึ่ ณ ท่นี ี้จะสามารถเกบ็ ภาษี
ทง้ั จากเรอื ทผี่ า่ นมาทางแม่น้ำเจ้าพระยาและทางแม่นำ้ ทา่ จนี ได้ นอกจากนี้ ยงั สามารถใชเ้ ปน็ เส้นทางไปออก
แม่นำ้ ท่าจีนท่จี ังหวัดสมุทรสาครไดอ้ ีกดว้ ย


๕๙ สุจิตต์ วงษเ์ ทศ. “กอ่ นจะถงึ เมืองกรุงเทพฯ” ศลิ ปวัฒนธรรม, ปที ่ี ๒, เล่ม ๖ (เมษายน ๒๕๒๔), หน้า ๘๗.

๖๐ พนมบุตร จันทรโชติ. การคมนาคมทางน้ำกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาล


ที่ ๑ - รัชกาลที่ ๔). สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๐.

๖๑ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา. กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๘.

๖๒ คลองบ้านพร้าว ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี แยกจากคลองเปรมประชากรที่บ้าน

บางพดู แลว้ ไหลไปลงแมน่ ้ำเจ้าพระยาฝงั่ ซา้ ยทว่ี ัดบ้านพรา้ วนอก ระยะทางยาวประมาณ ๗ กิโลเมตร

๖๓ คลองบางหลวงเชียงราก แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝ่ังซ้ายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี มีระยะทาง
ยาวประมาณ ๒๒ กิโลเมตร

๖๔ คลองบางขนุ เทยี น เชอ่ื มระหวา่ งคลองสนามชยั ในเขตจอมทองกบั คลองบางมด มคี วามยาวประมาณ ๓.๖ กโิ ลเมตร

๖๕ หมายถึงหัวเมืองทอี่ ยูท่ างใต้ของกรงุ ศรีอยุธยา เชน่ เมืองสาครบรุ ี สามโคก ราชบรุ ี ธนบุรี นนทบรุ ี เพชรบุรี
เปน็ ตน้

๖๖ คลองหัวตะเข้ ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ไหลแยกจากคลองประเวศบุรีรมย์

ที่ตำบลศีรษะจระเข้น้อยไปลงคลองสำโรงท่ีตำบลบางเสาธง มีชื่อเรียกเป็นหลายช่ือตั้งแต่ต้นคลอง คือ

คลองหัวตะเข้ คลองจระเข้ และคลองจระเข้ใหญ่ มคี วามยาวประมาณ ๑๗ กโิ ลเมตร

๖๗ คลองทบั นาง ปัจจุบันมชี ่ือเรยี กเปน็ ตอนๆ ต้ังแตต่ น้ นำ้ คือ คลองทับนาง คลองลำบางผี และคลองยายจ๋วิ

๖๘ พิมพ์อุมา โตสินธพ. คลองเช่ือมกับพัฒนาการของชุมชนในลุ่มแม่น้ำบางปะกง. วิทยานิพนธ์ปริญญา

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาควิชาประวัติศาสตร์
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๔๘.




124 คลองเกา่ เล่าประวตั เิ มอื ง

๖๙ แม่น้ำบางเห้ียหรือคลองบางเหี้ย ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ไหลแยกจากคลอง
สำโรง ที่ตำบลบางบ่อ ไปลงคลองดา่ น ท่ีตำบลบางเพรยี ง ความยาวประมาณ ๙ กิโลเมตร


๗๐ สมบัติ พลายน้อย. แม่นำ้ ลำคลอง. กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๕๕.

๗๑ ชีวติ และงานของสนุ ทรภู่ ฉบับกรมศิลปากรตรวจสอบชำระใหม.่ พิมพ์คร้ังที่ ๗. กรุงเทพฯ : องคก์ ารค้าของ


ครุ สุ ภา, ๒๕๓๔.

๗๒ ริมคลองบางกอกใหญ่ มีวัดบางยี่เรือต้ังเรียงรายอยู่ ๓ วัด คือ วัดบางยี่เรือเหนือ (วัดบางยี่เรือในหรือ


วัดราชคฤห์) วดั บางยเ่ี รอื กลาง (ชาวบา้ นเรยี ก วดั กลาง เปน็ วดั เกา่ แกส่ มยั อยธุ ยาตอนปลาย พระยาสรุ เสนา
(ขุนเณร) บูรณะใหม่และได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ว่า

วัดจนั ทาราม) และวดั บางยี่เรอื ใต้ (วัดอนิ ทาราม เดมิ ช่อื วดั บางย่ีเรอื นอก บา้ งก็เรยี กวัดบางยี่เรือใตว้ า่ วัดใต้)

๗๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เร่ืองจดหมายเหตุความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพธ์ิ) ต้ังแต่ จ.ศ.
๒๑๒๙ ถึง ๒๑๘๒ เปน็ เวลา ๕๓ ปี. พิมพ์คร้งั ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ : ศรีปญั ญา, ๒๕๕๒.

๗๔ ในที่นี้หมายถึงคลองมอญ ท่ีไหลแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งขวา ไปลงคลองชักพระ ความยาวประมาณ

๔ กิโลเมตร (นอกจากน้ี ยงั มีคลองมอญ ในเขตลาดกระบัง ซึ่งเชอ่ื มระหวา่ งคลองลำปลาทิวกบั คลองทบั ยาว
ความยาวประมาณ ๕ กิโลเมตร และคลองมอญ ในตำบลศีรษะจระเข้น้อย อำเภอบางเสาธง จังหวัด
สมุทรปราการ เช่ือมระหวา่ งคลองหวั ตะเขก้ ับคลองจระเข้น้อย ความยาวประมาณ ๔ กิโลเมตร)

๗๕ คลองสาน ไหลแยกจากแม่น้ำเจา้ พระยาไปเชอ่ื มกบั คลองบา้ นสมเด็จ มีความยาวประมาณ ๒ กโิ ลเมตร

๗๖ คลองต้นไทร ไหลแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณตรงข้ามกับวัดยานนาวา ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ
เจา้ พระยา ไปเช่ือมกบั คลองบางไส้ไก่ ความยาวประมาณ ๒ กิโลเมตร

๗๗ คลองบางลำภูล่าง ไหลแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งขวาท่ีวัดเศวตฉัตร ไปลงคลองบางไส้ไก่ ความยาว
ประมาณ ๒ กิโลเมตร

๗๘ คลองบางย่ีขัน ไหลแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝ่ังตะวันตก ผ่านวัดเศวตฉัตร ถนนเจริญนคร ไปออกคลอง
บางไส้ไก่ ความยาวประมาณ ๒ กิโลเมตร

๗๙ คลองวัดแจ้งหรือคลองนครบาล อยู่ในเขตบางกอกใหญ่ ทางเหนือของวัดอรุณราชวรารามหรือวัดแจ้ง

บางครั้งเรียกว่า คลองวัดอรุณ ในสมัยกรุงธนบุรี เป็นคูพระราชวังทางทิศเหนือ เน่ืองจากเขตพระราชวัง
กรุงธนบุรี ผนวกเอาวัดอรุณราชวรารามไว้ทั้งหมด ปากคลองวัดแจ้งแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ข้างวัดอรุณ
ราชวรารามแลว้ ไหลไปบรรจบกับคลองมอญ

๘๐ โอฬาร เจริญชยั . การศึกษาเพื่อหาแนวทางในการอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาชมุ ชนริมคลองบางกอกน้อย. กรุงเทพฯ
: สาขาวชิ าการออกแบบชุมชนเมอื ง มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๔๑.


คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มอื ง 125

บทท่ี ๒





๑ ช่อื คลองโรงไหมนั้น ปรากฏวา่ มี ๒ คลอง คอื คลองคูเมืองเดิม ตอนทผี่ ่านโรงไหมหลวง กับคลองที่ขดุ แยก
จากคลองรามบุตรี หลังวัดตองปุหรือวัดชนะสงครามในปัจจุบัน มาออกคลองคูเมืองเดิมด้านข้าง
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ ถนนเจ้าฟ้า ต่อมา เมื่อถมคลองและปรับพื้นท่ีสร้างอาคาร โรงเรือน

เกิดเป็นตรอกซอกซอยขึ้นหลายแห่งในบริเวณดังกล่าว เพื่อเป็นการรักษาเร่ืองราวในอดีตให้คงอยู่
กรุงเทพมหานครจงึ ตง้ั ช่ือตรอกแหง่ หนึง่ ซึง่ เคยเปน็ ที่ตง้ั ของโรงไหมหลวงวา่ “ตรอกโรงไหม”


๒ เมื่อสมัยตน้ กรุงรตั นโกสินทร์ ปรากฏหลกั ฐานว่า มีโรงไหมหลวงอยู่ ๒ โรง โรงหนง่ึ อยูบ่ ริเวณใกลก้ ับสะพาน
ช้างโรงสี ริมคลองคูเมืองเดิม อีกโรงหน่ึงอยู่ใกล้บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า โรงไหมท่ีอยู่
ใกล้สะพานช้างโรงสี เลิกกิจการไปในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ คงเหลือแต่
โรงไหมใกล้วังหน้า เป็นท่ีทอพระภูษาทรงพระเจ้าอยู่หัว และทอผ้าสำหรับพระราชทานเจ้านายและ
ข้าราชการ อย่างท่ีเรียกกันว่า “ผ้าสมปัก” มีเจ้าคุณหญิงเป้า ธิดาสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ

(ทัต บุนนาค) เป็นผู้ควบคุมการผลิตพระภูษาทรงและผ้าสมปักต้ังแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ จนถึงต้นสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ จึงเลิกกิจการ
เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเครื่องแบบข้าราชการมาเป็นผ้าม่วงและผ้าอื่นๆ ซ่ึงนิยมใช้ผ้าท่ีส่ังมาจาก

ต่างประเทศ โรงไหมหลวงจึงเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในสมัยน้ัน ใช้เรียกเป็นชื่อสถานท่ีใกล้เคียง เช่น
คลองโรงไหมและถนนโรงไหม ซึ่งเป็นถนนท่ีอยู่ริมคลองคูเมืองเดิมตัดผ่านโรงไหมหลวง ต่อมาเม่ือม

การปรับปรงุ เปน็ ถนนสมัยใหมแ่ ละบริเวณน้นั ไมม่ ีโรงไหมตัง้ อยแู่ ลว้ จึงเปล่ียนชือ่ เป็นถนนเจ้าฟ้า


๓ พระยาอนมุ านราชธน. ชีวิตชาวไทยสมยั กอ่ น. พระนคร : บรรณาคาร, ๒๕๑๒.

๔ บุญเตือน ศรีวรพจน์. “จดหมายเหตุกวี “นิราศปากลัด” ใน ศิลปากร. ปีท่ี ๕๓, ฉบับท่ี ๑ (ม.ค. - ก.พ.

๒๕๕๓)

๕ มนสั วี จิตรมณี. ปากคลองตลาด : การสืบเนือ่ งและการปรับตวั ของตลาดดอกไม้ : กรณศี ึกษา ตลาดดอกไม้

ย่านปากคลองตลาด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
มานษุ ยวทิ ยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๔๗.

๖ พรอาภา ก้อนแก้ว. ประวัติศาสตร์สังคมท่าเตียนจากสูงสุดสู่สามัญ : กรณีศึกษา บทบาททางเศรษฐกิจ

ในชุมชนท่าเตียน. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร,
๒๕๔๙.

๗ ป้อมท้ัง ๑๔ ได้แก่ ป้อมพระสุเมรุ อยู่มุมกำแพงพระนครด้านตะวันตกข้างเหนือ ใต้ปากคลองบางลำภ ู

ป้อมยุคุนธร บนกำแพงพระนครด้านเหนือ เหนือวัดบวรนิเวศวิหาร ป้อมมหาปราบ อยู่ระหว่างสะพาน


126 คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มอื ง

ผ่านฟ้าลีลาศกับสะพานเฉลิมวันชาติ ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ เยื้องลานพลับพลา

มหาเจษฎาบดนิ ทร์ ป้อมหมูทลวง หนา้ สวนรมณนี าถ ปอ้ มเสอื ทยาน เหนือประตสู ามยอด สะพานดำรงสถติ
ป้อมมหาไชย ถนนมหาไชย เชงิ สะพานภาณุพันธ์ุ ป้อมจกั รเพชร เหนือปากคลองโอ่งอ่าง ใกล้ถนนจักรเพชร
ป้อมผีเส้ือ ด้านใต้ปากคลองตลาด ป้อมมหาฤกษ์ อยู่บริเวณโรงเรียนราชินี ตรงข้ามป้อมวิไชยประสิทธ์ิ

ป้อมมหายักษ์ ตรงบริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ป้อมพระจันทร์ ด้านตะวันตกของท่าพระจันทร์
ปัจจุบัน ป้อมพระอาทิตย์ สุดถนนพระอาทิตย์ ป้อมอิสินธร อยู่ระหว่างป้อมพระสุเมรุกับป้อมพระอาทิตย์
ป้อมต่างๆ เหล่าน้ี ส่วนใหญ่ เมื่อถึงช่วงปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕

ต่อกับต้นสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ อันเป็นเวลาบ้านเมืองเจริญข้ึน ผู้คน

เพิ่มจำนวนมากขึ้น และภัยข้าศึกที่จะเข้ามาประชิดพระนครเหมือนสมัยโบราณไม่มีแล้ว ทางราชการจึงได้

รอื้ ปอ้ ม รวมถงึ กำแพงพระนครบางสว่ นลง และใชท้ ดี่ นิ นนั้ ๆ ทำประโยชนอ์ ยา่ งอนื่ จนในปจั จบุ นั คงเหลอื ปอ้ ม
เพียง ๒ ปอ้ ม เทา่ นน้ั คือ ป้อมพระสุเมรุ และ ปอ้ มมหากาฬ ส่วนกำแพงพระนครคงเหลือเพยี งเล็กนอ้ ย
เชน่ ทบ่ี รเิ วณหนา้ วดั บวรนเิ วศวหิ าร และหนา้ วดั ราชนดั ดาราม รมิ คลองรอบกรงุ คงเหลอื แตช่ อื่ ปอ้ มบางปอ้ ม
เปน็ อนสุ รณ์โดยกลายเปน็ ชื่อถนน เช่น ถนนจกั รเพชร ถนนพระจนั ทร์ ถนนพระอาทิตย์ เป็นตน้

๘ เม่ือแรกขุดคลองรอบกรุงช่วงที่เรียกว่า คลองบางลำภู พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
รัชกาลท่ี ๑ มีพระราชดำริจะให้สร้างสะพานช้างข้ามตรงบริเวณสะพานกระบือ (ด้วยเป็นจุดท่ีคลองรอบกรุง
ค่อนข้างแคบและตื้นเขินในฤดูแล้ง จึงเป็นแห่งเดียวท่ีสามารถข้ามได้โดยไม่ต้องใช้เรือ จึงเป็นแหล่งชุมนุม
ผูค้ น ช้าง ม้า วัว ควาย แหง่ หนง่ึ ) หรือสะพานผ่านฟา้ ลลี าศในปัจจบุ ัน แตพ่ ระพิมลธรรม วดั โพธารามหรอื
วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามในปจั จบุ นั ไดถ้ วายพระพรหา้ ม ดว้ ยเหตทุ ก่ี ารสรา้ งสะพานชา้ งขา้ มคพู ระนครนนั้
ธรรมเนยี มแต่โบราณมาไมเ่ คยมี แมม้ กี ารสงคราม ขา้ ศกึ กจ็ ะขา้ มมาถงึ ชานพระนครไดโ้ ดยงา่ ย อกี ประการหนง่ึ
หากจะแห่กระบวนเรือรอบพระนคร สะพานน้ันก็จะเป็นที่ขัดขวาง จึงโปรดเกล้าฯ ให้งดการสร้างสะพานช้าง
เป็นแต่ให้ทำทา่ ช้างสำหรับข้ามคลอง

๙ สะพานหัน เป็นสะพานขนาดเล็ก ในย่านสำเพ็ง ทอดข้ามคลองรอบกรุงหรือคลองโอ่งอ่าง ชื่อนี้เรียกตาม
ลกั ษณะของตวั สะพานทส่ี มยั กอ่ นนนั้ จะเปน็ ไมแ้ ผน่ เดยี วพาดขา้ มคลอง ปลายขา้ งหนงึ่ ตรงึ แนน่ กบั ท่ี สว่ นอกี ขา้ ง
จะไมต่ อกตดิ จบั หนั ไปมาไดเ้ พอื่ ใหเ้ รอื แลน่ ผา่ น ตอ่ มา ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาล

ท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างใหม่เป็นสะพานโครงเหล็กพื้นไม้ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนทำเป็นแบบสะพานริอัลโตท่ีนครเวนิส และสะพานเวคคิโอ
เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี คอื เปน็ สะพานไม้โค้งกวา้ ง สองฟากสะพานมหี ้องแถวเลก็ ๆ ให้เช่าขายของ
ส่วนตรงกลางเปน็ ทางเดิน สำหรบั ตัวสะพานปัจจบุ นั ไดส้ ร้างใหม่ขนึ้ แทนของเก่าท่ีชำรดุ ใน พ.ศ. ๒๕๐๕

๑๐ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) จากต้นฉบับ


คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มอื ง 127

ตวั เขยี นของสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ พร้อมคำอธบิ ายเพ่ิมเตมิ . กรงุ เทพฯ :
สมาคมประวตั ิศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี ๒๕๕๓.

๑๑ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๕ เน่ืองในโอกาสสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทรค์ รบ ๒๐๐ ปี

๑๒ ในหนงั สอื “กรงุ เทพฯ เมอื่ วานน”้ี ซงึ่ แตง่ โดยขนุ วจิ ติ รมาตรา (สงา่ กาญจนาคพนั ธ)ุ์ เรยี กคลองหลอดสายนวี้ า่
“คลองวัดมหรรณพ”์

๑๓ เพราะมีท่าซื้อขายถ่านอยู่ท่าหน่ึง สะพานข้ามคลองแถบนั้น จึงเรียกกันว่าสะพานถ่าน แล้วจึงเลยเรียก

คลองสายนี้วา่ คลองสะพานถา่ น

๑๔ สนั นษิ ฐานว่า แผนท่ีฉบบั น้ี น่าจะเขยี นข้นึ โดยช่างทำแผนทีช่ าวองั กฤษซึง่ เดินทางมาก่อนหนา้ หรือพร้อมกับ
คณะของรอ้ ยโท เจมส์ โลว์ เนือ่ งจากไมป่ รากฏหลกั ฐานที่แน่ชัดว่า ร้อยโท เจมส์ โลว์ ได้เดนิ ทางจากเมือง
นครศรีธรรมราชข้นึ มายงั กรงุ เทพมหานคร อย่างไรก็ตาม แผนท่ีฉบบั นี้ เปน็ หน่งึ ในแผนทกี่ รงุ เทพฯ ทจ่ี ดั ทำ
โดยชาวตะวันตก ที่แสดงให้เห็นลักษณะทางธรณวี ทิ ยาของกรุงเทพมหานครขณะนัน้ เสน้ ทางคลองสายตา่ งๆ
ที่ต้ังพระบรมมหาราชวัง พระราชวังบวรสถานมงคล ป้อม และแนวกำแพงพระนคร ตลอดจนการต้ังชุมชน

ในท้องท่ีต่างๆ สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ นอกจากน้ี ระหว่างพำนักในประเทศไทย ร้อยโท เจมส์ โลว์

ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ไทย โดยเฉพาะหัวเมืองภาคใต

ไวอ้ ยา่ งละเอยี ด จนเปน็ ทมี่ าของหนงั สอื Journal of a Public to Raja of Ligor หรอื ฉบบั แปลเปน็ ภาษาไทยวา่

จดหมายเหตุเจมส์โลว

๑๕ ยางที่ได้จากตน้ ไมช้ นดิ หน่ึง มสี เี หลอื ง ใชท้ ำยาหรอื ใชผ้ สมทองคำเปลว เขียนตัวหนงั สือหรือลวดลายตา่ งๆ

๑๖ ชอ่ื คลองมหานาค เป็นชอ่ื เดยี วกับคลองทขี่ ดุ ขึ้นเม่ือคร้งั กรงุ ศรีอยุธยา ใน พ.ศ. ๒๐๙๑ เมอื่ ได้ข่าววา่ พระเจา้
หงสาวดีตะเบ็งชะเวต้ี ยกทัพเข้ามาหมายท่ีจะตีกรุงศรีอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ

พันจันทนุมาศ (เจิม) บันทึกว่า “...ฝ่ายพระมหานาคอยู่วัดภูเขาทองสึกออกมารับอาสาต้ังค่ายกันทัพเรือ

ตั้งค่ายแต่วัดภูเขาทองลงมาจนวัดป่าพลู พรรคพวกสมกำลังญาติโยมชายหญิงของมหานาคช่วยกันขุดค

นอกคา่ ยกนั ทพั เรอื ...” จึงเรยี กวา่ คลองมหานาค

๑๗ สมบตั ิ พลายนอ้ ย. แมน่ ำ้ ลำคลอง. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๕.

๑๘ คลองแสนแสบใต้ เรม่ิ จากคลองมหานาค บรเิ วณวดั บรมนวิ าสไปถงึ หวั หมาก คลองตนั และคลองแสนแสบเหนอื
เรม่ิ จากหัวหมากผา่ นคลองสามเสนชว่ งปลาย คลองตัน ผา่ นบางขนากไปออกแมน่ ำ้ บางปะกง

๑๙ ภาณุทรรศน์ [นามแฝง]. ลำคลองโบราณ สะพานสำคัญในกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : ตรงหัว, ๒๕๔๔.

๒๐ สกณุ ี ณัฐพลู วัฒน์. คลองและเส้นทางเดนิ เรือในอดตี . กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ฐานการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๔๑.

๒๑ เมืองนครเข่ือนขันธ์หรือเมืองพระประแดง เดิมเป็นสถานท่ีจอดเรือท่ีจะเข้ามาในแม่น้ำเจ้าพระยา ต้องแล่น
ตามรอ่ งน้ำแล้วจอดเรอื รอตรวจท่ดี า่ นปากน้ำแหง่ นี้ ซ่งึ มีลักษณะเหมือนทา่ เรอื จงึ เรยี ก “บาแดง” ซงึ่ เปน็ คำ
ในภาษาเขมร แปลว่า ท่าเรอื ภายหลังเพย้ี นเป็นพระประแดง


128 คลองเก่าเลา่ ประวตั ิเมอื ง

๒๒ ด้วยเมืองนครเข่ือนขันธ์ตั้งอยู่ระหว่างปากคลองลัดโพธิ์ซึ่งขุดขึ้นเมื่อรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมในสมัย
กรงุ ศรอี ยธุ ยากบั ปากคลองลัดหลวง จึงเรียกอีกชอื่ หนง่ึ ว่า เมอื งปากลดั


๒๓ เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓.
กรงุ เทพฯ : องคก์ ารค้าของคุรุสภา, ๒๕๐๔.


๒๔ ไม่ปรากฏหลักฐานท่ีแน่ชัดว่า คลองแสนแสบช่วงต้นหรือคลองแสนแสบใต้ขุดข้ึนเมื่อใด แต่สันนิษฐานกันว่า
นา่ จะอยใู่ นชว่ งสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลท่ี ๑ หลงั จากขดุ คลองมหานาคแลว้
ส่วนคลองแสนแสบช่วงปลายหรือคลองแสนแสบเหนือน้ัน ขุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลท่ี ๓


๒๕ คลองแสนแสบใต้ มีชื่อเรียกค่อนข้างสับสน ดังน้ี สมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓

ในจดหมายหลวงอุดมสมบัติ พระยาราชบังสัน (ฉิม) ผู้บันทึก เรียกคลองช่วงนี้ว่า “คลองนางหงส์” สมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ ๔ เม่อื โปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งพระราชวงั ประทุมวนั ทรี่ ิมคลอง
ในพน้ื ทนี่ าหลวง เรยี กชอ่ื คลองวา่ “คลองบางกะป”ิ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕
ตามท่ีปรากฏในแผนท่มี ณฑลกรุงเทพ สยาม ร.ศ. ๑๒๐ โดยกรมแผนทีท่ หาร เรยี กชอื่ วา่ “คลองแสนแสบ”
แต่ในแผนท่ีบริเวณกรุงเทพฯ ร.ศ. ๑๒๖ เรียกชื่อว่า “คลองมหานาค” และในแผนท่ีบริเวณกรุงเทพฯ

ร.ศ. ๑๒๙ โดยกรมแผนที่ทหารเช่นกัน กลับเรียกว่า “คลองบางกะปิ” ส่วนในจดหมายเหตุการอนุรักษ์

กรุงรตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๕๒๕ เรียกช่อื คลองวา่ “คลองแสนแสบใต”้


๒๖ บางแห่ง ช่วงตั้งแต่แยกคลองมหานาค ไปจนถึงวัดใหม่ช่องลม เรียกว่า คลองบางกะปิ ต่อจากนั้นไป

จึงเรยี กวา่ คลองแสนแสบ


๒๗ ท่ีมาของช่ือคลองแสนแสบน้ัน มีการสันนิษฐานไว้ต่างๆ กันว่า อาจเป็นคำยืมมาจากภาษาเขมรว่า

“แสสาบ” เพราะในสมยั หนึง่ คนไทยเคยเรียกทะเลวา่ “เส” หรือ “แส” ส่วน “สาบ” เป็นภาษาเขมร แปลว่า

จืด ดังทคี่ นไทยยืมมาใชเ้ รียกห้วงนำ้ ใหญค่ ล้ายบงึ แตม่ ีขนาดใหญก่ ว่าว่า “ทะเลสาบ” ดงั นั้น “แสสาบ” หรือที่
แปลว่า ทะเลน้ำจืด อาจถูกนำมาใช้เรียกคลองน้ำจืดอันกว้างและยาวสายนี้ ตามชาวเขมรซ่ึงอพยพมาตั้ง
ถ่ินฐานอยู่แถบบางกะปิเป็นจำนวนมาก เมื่อสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ แล้วภายหลังเพ้ียนเสียงกลายมาเป็น
“แสนแสบ” หรอื อาจเพี้ยนมาจากคำในภาษามลายูวา่ “แซนแญบ” ซึ่งเปน็ ช่ือเรียกของชาวตานเี ช้อื สายมุสลมิ

ซ่ึงเป็นแรงงานในการขุดคลองแสบแสนและได้ต้ังหลักแหล่งอยู่ตามแนวคลอง และคนกลุ่มนี้อาจเคยอาศัย

อยู่ใกล้ทะเลซึง่ มคี ลน่ื หรอื กระแสน้ำแรง เมอ่ื มาพำนักอย่รู ิมคลองท่ีน้ำไหลชา้ ค่อนขา้ งนงิ่ จึงเรียกคลองน้วี า่
“สไุ หงแซนแญบ” หรือ คลองทเ่ี งยี บสงบ (“สุไหง” แปลวา่ แม่นำ้ หรือคลอง เช่นเดียวกบั คำว่า “สไุ หงโก-ลก”
ท่ีแปลว่า แม่น้ำหรือคลองที่คดเคี้ยว หรือคำว่า “สุไหงปาดี” ที่แปลว่า แม่น้ำหรือคลองข้าวเปลือก

ด้วยแต่เดิมที่ราบลุ่มริมสองฝั่งคลองเป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวที่สำคัญ ชาวบ้านจะนำข้าวเปลือกล่องเรือไป

คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมอื ง 129

ตามลำคลองเพอ่ื ขายให้แกท่ อ้ งถนิ่ อื่นๆ) ต่อมาจงึ เรยี กเพ้ียนเป็น “แสบแสบ” นอกจากนี้ ยังมกี ารสนั นษิ ฐาน
อีกว่า อาจมีที่มาจากอาการแสบคันเน่ืองจากถูกฝูงยุงรุมกัด ด้วยสภาพภูมิประเทศในอดีตท่ีคลองตัดผ่าน

ลว้ นเปน็ ทรี่ าบลุ่ม อุดมดว้ ยทงุ่ หญ้า มนี ้ำขงั เจง่ิ นองตลอดปี จงึ เปน็ แหลง่ เพาะพันธุย์ ุงขนาดใหญ่ที่ครอบคลุม
อาณาบริเวณทั้งทุ่งแสนแสบ ทุ่งบางกะปิ ทุ่งคลองตัน ทุ่งมีนบุรี และทุ่งหนองจอก สอดคล้องกับรายงาน

การเดนิ ทางของนาย ด.ี โอ. คิง. (D. O. King) นกั สำรวจชาวอังกฤษ ท่ีมเี นือ้ ความตอนหนึง่ บรรยายสภาพ
ภูมิประเทศและความเป็นอยู่ของผู้คนแถบคลองแสนแสบว่า “...คลองน้ีมีความยาว ๕๕ ไมล์ เชื่อมนคร
กรงุ เทพฯ กบั แมน่ ำ้ บางปะกง ผา่ นบรเิ วณทรี่ าบชนบท ซงึ่ ใชส้ ำหรบั การเพาะปลกู ขา้ วโดยเฉพาะ คนพน้ื เมอื ง
เปน็ คนเชอื้ สายมาเลยเ์ ชน่ เดยี วกบั ชาวสยามอน่ื ๆ พน้ื บา้ นของคนเหลา่ นี้ ทำด้วยไผ่ยกขึ้นสงู จากพืน้ ประมาณ
๔ ฟุต เสื้อผ้าที่สวมใส่เป็นผ้ารัดเอวธรรมดาๆ และไม่ว่าพวกเขาจะทำอะไรอยู่ก็ตาม มือข้างหนึ่งจะต้องใช

ปัดยงุ เสมอ...”

๒๘ คำวา่ “โขนง” อาจเรยี กเพยี้ นมาจาก คำวา่ “ขนอน” ซง่ึ แปลวา่ ดา่ น ดว้ ยเปน็ บรเิ วณทต่ี งั้ ดา่ นขนอน รกั ษาเมอื ง
ทางดา้ นใต้หรอื ดา่ นทางทะเลของกรงุ รตั นโกสินทร์




บทท่ี ๓





๑ เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๔.

พมิ พค์ รง้ั ที่ ๖. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท อมรนิ ทรพ์ ร้ินตงิ้ แอนด์พับลชิ ช่งิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๔๘.


๒ ปอ้ มทง้ั ๘ คือ ป้อมปอ้ งปัจจามติ ร อยูบ่ รเิ วณฝั่งตะวนั ตกรมิ ปากคลองสานซึ่งเปน็ ดา้ นตรงข้ามกับปากคลอง
ผดุงกรุงเกษมด้านใต้ ป้อมปิดปัจจานึก อยู่บริเวณฝั่งตะวันออกริมปากคลองผดุงกรุงเกษมข้างใต้

ป้อมฮึกเห้ียมหาญ อยู่ใกล้กับป้อมปิดปัจจานึก เป็นป้อมเล็กๆ สำหรับยิงปืนคำนับแขกเมืองตามธรรมเนียม

การยิงสลุต ป้อมผลาญไพรีราบ อยู่บริเวณตลาดหัวลำโพง ป้อมปราบศัตรูพ่าย อยู่ใกล้สะพานนพวงษ์

ป้อมทำลายปรปักษ์ อยู่บริเวณมุมถนนหลานหลวง เชิงสะพานจตุรภักตร์รังสฤษด์ิ ป้อมหักกำลังดัษกร

อยู่บริเวณถนนราชดำเนินนอก ป้อมมหานครรักษา อยู่บริเวณปากคลองผดุงกรุงเกษมข้างเหนือ ใกล้วัด
นรนาถสุนทรกิ าราม


๓ ได้แก่บริเวณกรุงเทพมหานครไปจนถึงปากน้ำบางพุทรา ลพบุรี สระบุรี บางขนาก ศรีราชา เพชรบุรี
สมุทรสงคราม ราชบุรี และสพุ รรณบรุ


๔ ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ ให้เปล่ียนราชทินนามเป็น
เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธบิ ดี


๕ ปรากฏในเอกสารพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงเปิดสะพาน

130 คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมือง

เฉลิมภพ ๕๐ ซึ่งสร้างข้ามคลองหัวลำโพงท่ีถนนสุรวงศ์ เน่ืองในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๐
พรรษา โดยกรมโยธาธกิ ารร่างทูลเกล้าฯ ถวาย รชั กาลท่ี ๕ พระราชทานแก้ไขคลองววั ลำพองเป็นหัวลำโพง
เนื่องจากมีพระราชดำรวิ า่ “คำว่าววั ลำพองน้ันเป็นช่ือกรมเมืองหลวงมาจากคำฝรง่ั เรียกหัวลำโพงไมช่ ดั ”

๖ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร. จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ :

กองจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๕.

๗ พ.ศ. ๒๓๘๕ ราชสำนักมีนโยบายกลับมาผูกขาดการค้าน้ำตาลอีกคร้ัง และดำเนินนโยบายน้ีเรื่อยมา

จนกระทง่ั ทำสนธิสญั ญาเบารงิ่

๘ ฌัง - บัปตสิ ต์ ปาลเลกัวซ.์ บันทึกเร่ืองมิสซงั แหง่ กรุงสยาม. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๒๖.

๙ อ้อยที่ได้ นำมาทำเป็นน้ำตาลทรายแดงหยาบเหมือนทราย เรียกว่า น้ำตาลทรายแดง กับทำเป็นน้ำตาล
ทรายขาวเหลือง เรยี กว่า น้ำตาลทรายขาวนครชัยศรี ซงึ่ นำ้ ตาลทรายเหลา่ น้ี มีตลาดรองรับคือตา่ งประเทศ
เท่านั้น ส่วนภายในราชอาณาจักรมีขอบเขตจำกัด เนื่องจากราษฎรส่วนใหญ่ผลิตน้ำตาลโตนดและน้ำตาล
มะพรา้ วไวบ้ ริโภคเองภายในครัวเรอื น

๑๐ พระราชวงั ปฐมนครหรอื พระนครปฐม พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ ให้
เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เป็นแม่กอง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย
กรมขุนราชสีหวิกรม (ต้นราชสกุล ชุมสาย) เป็นนายช่าง สร้างพระราชวังข้ึน เม่ือคร้ังทรงบูรณปฏิสังขรณ์
พระปฐมเจดีย์ สำหรับเป็นที่ประทับเวลาเสด็จพระราชดำเนินไปทรงนมัสการพระปฐมเจดีย์ เป็นพระที่นั่งตึก
๒ ชั้น มีท้องพระโรง พลับพลากับโรงละคร และตำหนักเรือนจันทร์ฝ่ายใน ภายนอกพระราชวัง มีโรงช้าง

โรงม้า และตึกที่ประทับสำหรับเจ้านายฝ่ายหน้าและที่พักข้าราชการผู้ใหญ่ เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว รชั กาลที่ ๕ ตกึ และเรือนในชำรดุ หลายแห่ง จงึ ให้รือ้ แล้วโปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งบริเวณ
พระปฐมเจดีย์ขึ้นเป็นเมือง ต้ังที่ว่าการมณฑลนครไชยศรี แล้วทำทางรถไฟผ่านไปทางน้ัน ชมรมสายสกุล
บุนนาค. สกลุ บุนนาค. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๔๒.

๑๑ การปลูกอ้อยนั้นส่วนใหญ่มีชาวไทยเป็นผู้ปลูก แต่กิจการโรงงานผลิตน้ำตาลทราย ส่วนใหญ่ชาวจีนเป็น

ผู้มีบทบาทในการดำเนินงานอย่างกว้างขวาง นับตั้งแต่เป็นเจ้าของกิจการท่ีเรียกว่า “หลงจู๊โรงหีบน้ำตาล”

เจ้าภาษนี ้ำตาลทราย ตลอดไปจนถงึ แรงงานในโรงงานผลติ นำ้ ตาลทราย

๑๒ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. เอกสารการตรวจราชการเมืองนครไชยศร

ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อเดือนสิงหาคม ร.ศ. ๑๑๗. กรุงเทพฯ :

กรมศิลปากร, ๒๕๔๕.

๑๓ ตลอดแนวคลองมหาสวัสดิ์ มีการสรา้ งศาลาทุกระยะ ๔ กิโลเมตร รวมท้งั หมด ๗ หลัง เปน็ ศาลาเขยี นตำรา
ยารกั ษาโรคตา่ งๆ ตดิ ไวเ้ ปน็ การกศุ ล ตอ่ มา จงึ เรยี กกนั วา่ “ศาลายา” คอื ศาลาท่ี ๑ - ๔ และ ๖ สว่ นศาลาที่ ๗

คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมือง 131

เรียกกันว่า “ศาลาดิน” และศาลาท่ี ๕ สร้างในการกุศลปลงศพคนของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ฯ เรียกกันว่า
“ศาลาทำศพ” ต่อมา หลังสงครามโลกครั้งท่ี ๒ มีความเห็นว่า ไม่เป็นมงคล จึงเปลี่ยนเป็น “ธรรมสพณ์”

มาจาก “ธรรมสรพณ์” (สฺรวณ แปลวา่ การฟัง)

๑๔ อภิญญา นนท์นาท. “ความเปลี่ยนแปลงของตลาดน้ำบางแค,” ใน สารคดี. ปีที่ ๒๗, ฉบับท่ี ๓๒๑ (พ.ย.
๒๕๕๔) : หน้า ๑๗๒ - ๑๗๕.

๑๕ พระครสู ิริวรรณววิ ัฒน์. ประวตั คิ ลองดำเนนิ สะดวก. กรุงเทพฯ : รุง่ เรืองสาสน์ การพมิ พ,์ ๒๕๔๔.

๑๖ ตลอดความยาวของคลองดำเนินสะดวก มีเสาหินส่ีเหล่ียมขนาดใหญ่ปักไว้ที่พื้นดินทุกๆ ๑๐๐ เส้น

ทางฝั่งใตข้ องคลอง เร่ิมจากตำบลสวนส้ม เปน็ หลักที่ ๐ ถึงหลกั ที่ ๘ ทแ่ี ม่นำ้ แมก่ ลอง แตล่ ะหลักจะเขียน
เลขไทย โรมัน จีน เป็นสีแดงบอกเลขไวท้ ุกหลัก อยู่ในเขตอำเภอบา้ นแพ้ว ๕ หลกั คอื หลักที่ ๐ ถึงหลัก

ที่ ๔ ส่วนหลักที่ ๕ ถงึ หลักท่ี ๗ อยู่ในเขตอำเภอดำเนนิ สะดวก จงั หวัดราชบรุ ี และหลกั สุดทา้ ย หลกั ที่ ๘
อยู่ในเขตอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม หลักเหล่าน้ี มีไว้เพ่ือบอกที่อยู่ท่ีแน่ชัดของผู้คนริมคลอง
คลองดำเนินสะดวกมที ัง้ หมด ๙ หลกั ยงั คงปรากฏใหเ้ หน็ ครบทั้งหมดจนถงึ ปจั จุบนั

๑๗ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ. เสดจ็ ประพาสตน้ . กรุงเทพฯ : ศลิ ปาบรรณาคาร,
๒๕๑๙.

๑๘ เจมส์ ซ.ี อนิ แกรม. การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ ในประเทศไทย ๑๘๕๐ - ๑๙๗๐. กรงุ เทพฯ : มลู นธิ โิ ตโยตา้
ประเทศไทย, ๒๕๒๒.

๑๙ ร.ต.ท. เสถียร ลายลกั ษณ์ และคณะ [รวบรวม]. “ประกาศเร่ืองอนุญาตขดุ คลอง,” ประชุมกฎหมายประจำศก
รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๙. พระนคร : โรงพิมพเ์ ดลิเมล,์ ๒๔๗๘.

๒๐ แต่บางโอกาส พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี ๕ ได้โปรดเกล้าฯ ให้หนว่ ยงานอน่ื มาชว่ ย
ในการขดุ คลองดว้ ย เชน่ โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงโยธาธกิ าร และกระทรวงเกษตราธกิ าร
รว่ มกนั ขดุ คลองราชดำรหิ ์ เป็นต้น

๒๑ พิมล จงวรนนท์ [บรรณาธกิ าร]. คลอง. กรงุ เทพฯ : คณะนติ ิศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗.

๒๒ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ มีพระราชดำริท่ีจะให้ขุดคลองสายนี้มาก่อน ดังปรากฏ
หลกั ฐานในหนงั สอื พมิ พบ์ างกอกรคี อรเ์ ดอร์ ฉบบั วนั ท่ี ๓ พฤศจกิ ายน ค.ศ. ๑๘๖๕ (พ.ศ. ๒๔๐๘) หนา้ ๑๕๘
วา่ จะใหข้ ดุ คลองจากวดั พนญั เชงิ ตดั ทงุ่ ดอนเมอื งลงมายงั วดั โสมนสั วหิ าร แตเ่ มอื่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้
เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ขุดนั้น มิได้ขุดถึงวัดพนัญเชิง หากขุดทะลุแม่น้ำเจ้าพระยา

ทต่ี ำบลบางกระสนั้ อำเภอบางปะอนิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เอนก นาวิกมูล. รัชกาลที่ ๕ กับการเกษตร
เล่ม ๑. กรงุ เทพฯ : สายธาร, ๒๕๕๔.

๒๓ เอนก นาวิกมลู . รัชกาลที่ ๕ กับการเกษตร เล่ม ๑. กรงุ เทพฯ : สายธาร, ๒๕๕๔.


132 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มอื ง

๒๔ เอนก นาวกิ มลู . รัชกาลที่ ๕ กับการเกษตร เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : สายธาร, ๒๕๕๔. จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓ -
๒๔๔๗ เม่อื มีการขดุ คลองรงั สติ


๒๕ พิมพ์อุมา โตสินธพ. คลองเช่ือมกับพัฒนาการของชุมชนในลุ่มแม่น้ำบางปะกง ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๒๐ -
๒๕๐๐. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๘.


๒๖ ใบอนุญาตให้จับจองที่ดนิ ซึง่ กำหนดใหผ้ รู้ ับอนญุ าตตอ้ งทำประโยชน์ในท่ีดนิ ให้แลว้ ภายใน ๓ ป

๒๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า (ตั้งแต่ พ.ศ.

๒๔๑๗ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๓). กรงุ เทพฯ : ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๑๐.

๒๘ ตอ่ มาไดถ้ อนหนุ้ ออกไป และ ม.ร.ว.สุวพนั ธ์ สนิทวงศ์ บุตรของพระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ สายสนิทวงศ์ และ

พระปฏิบัติราชประสงค์ เข้ามาถือหุ้นแทน

๒๙ นาที่ปลูกข้าวชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “ข้าวขึ้นน้ำ” เนื่องจากมีรากยาว สามารถหนีน้ำท่ีบ่ามาท่วมได้รวดเร็ว

สามารถแตกแขนงตามขอ้ และที่ขอ้ จะมรี ากงอกออกมาสำหรับดูดหาอาหาร นิยมปลกู ในทอ้ งทซ่ี ่งึ มีระดบั นำ้
สงู ตงั้ แต่ ๑ - ๔ เมตร บางแหง่ เรยี ก นาเมอื ง


คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มือง 133

134 คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมอื ง

คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มือง 135

บรรณานกุ รม


กรุงเทพฯ ๒๔๘๙ - ๒๕๓๙. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ. พี. กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด, ๒๕๓๙.

กรมศิลปากรร่วมกับมูลนิธิซิเมนต์ไทย จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล

อดุลยเดช สยามินทราธิราช ในวโรกาสทรงครองสริ ิราชสมบัตคิ รบ ๕๐ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๓๙.


กัณฑรีย์ ศรีพงศ์พันธุ์. รายงานการวิจัยเร่ืองคุณภาพน้ำคลองเจดีย์บูชาเขตเทศบาลเมืองนครปฐม. นครปฐม :
ภาควชิ าส่ิงแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๔๑.


กิตติศักดิ์ วิทยาโกมลเลิศ, ว่าท่ีร้อยตรี. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตั้งถ่ินฐานจากชุมชนน้ำสู่เมืองบก

ในพื้นท่ีเมืองฝั่งธนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการวางผังเมืองมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางผังเมือง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๕.


จรรยา มาณะวิท [บรรณาธิการ]. คลองและท่าเรือจ้างสมัยโบราณกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,
๒๕๔๕.


จรูญพันธ์ บรรจงภาค. วิวัฒนาการของความสัมพันธ์ระหว่างน้ำและชุมชนพักอาศัยริมน้ำ กรณีศึกษาคลอง
บางกอกน้อย. วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๖.


จักรี วราเอกศิริ. การศึกษาบทบาทของเส้นทางน้ำที่มีต่อชุมชนโบราณสมัยทวารวดี กรณีศึกษาเฉพาะเมือง
นครปฐม. สารนิพนธ์ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร,
๒๕๓๙.


จินตนา กลิน่ สคุ นธ.์ จากแม่น้ำเจา้ พระยามาเป็นคลองบางกอกนอ้ ย. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., ๒๕๕๔.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. เสด็จประพาสคลองแสนแสบ. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์,

๒๔๗๖.

ชนินทร์ วิเศษสิทธิกุล. การเปลี่ยนแปลงชีวิตสังคมเมืองในเกาะรัตนโกสินทร์กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์

ปริญญาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๗.

ชยารพ ปิยะปราโมทย์ และไพลิน โรจน์ทนงชัย. การศึกษาปัจจัยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยทวารวดี ในบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสักตอนกลาง. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๐.

ชาติชาย ไชยสิทธ์ิ. การศึกษาเพื่อการพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ช้ันนอกด้านกายภาพ. วิทยานิพนธ์ปริญญา
สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชมุ ชนเมือง มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๒๘.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒.
พิมพ์คร้งั ที่ ๙. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๖.


136 คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มอื ง

ดุษฎี สมบุณยะวิโรจน์. รูปแบบเมืองทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร
บณั ฑิต สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๒๒.


ถนอม ตะนา. กิจการโรงสขี ้าวในที่ราบภาคกลางของประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๐๑ - ๒๔๘๑. วิทยานพิ นธ์ปริญญา
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร, ๒๕๒๗.


ทิพากรวงศมหาโกษาธบิ ดี (ขำ บนุ นาค), เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๑. พิมพ์
ครงั้ ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ : องค์การค้าของครุ สุ ภา, ๒๕๒๖.


“______________________________________”. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๓. พิมพ์
คร้งั ที่ ๖. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๓๘.


“______________________________________”. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๔. พมิ พ์
ครั้งท่ี ๖. กรงุ เทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพ์ ร้ินตงิ้ แอนด์พบั ลชิ ชิ่ง จำกดั (มหาชน), ๒๕๔๘.


ธวชั ชัย ตง้ั ศริ ิวานชิ . กรงุ ศรอี ยธุ ยาในแผนที่ฝร่ัง. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๙.

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, สำนักงาน. แผนที่

ชมุ ชนกรงุ รัตนโกสนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ : ม.ป.ท., ๒๕๔๗.

บรรลอื ศักด์ิ สจั จาเจรญิ ชัย และพงษศ์ ักด์ิ วัฒนจรูญโรจน์. เสน่ห์คลองรังสติ . กรงุ เทพฯ : กรมวิชาการ, ๒๕๔๕.

บังอร พันปี. ความสำคัญของแม่น้ำลำคลองในบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างต่ออาณาจักรอยุธยา.

วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, ๒๕๓๖.

บุญนาค ตีวกุล. คลองเจดีย์บูชากับผลทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีต่อชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนครปฐม.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๒๖.

ประอร อุทธังกร. ความเปลย่ี นแปลงของผังเมอื งกรุงเทพฯ ตงั้ แตส่ มัยรชั กาลที่ ๑ - ก่อนสงครามโลกครง้ั ท่ี ๑.
สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบณั ฑิต ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๒๕.

ปราจนิ เครือจนั ทร.์ พฒั นาการทางประวตั ิศาสตรข์ องลุ่มน้ำเจ้าพระยาตั้งแตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ ถงึ พุทธศตวรรษ
ท่ี ๑๙. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๕๓.

ปยิ นาถ บุนนาค. การวางรากฐานการคมนาคมในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ :
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๑๘.

“___________”. คลองในกรงุ เทพฯ : ความเป็นมา การเปลีย่ นแปลง และผลกระทบตอ่ กรุงเทพฯ ในรอบ ๒๐๐
ปี (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๕๒๕). กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการปฏิบัติภารกิจ โครงการวิจัย “วิวัฒนาการของ

ศิลปวัฒนธรรมไทยในรอบ ๒๐๐ ปแี หง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์” จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๕.


คลองเก่าเลา่ ประวตั เิ มอื ง 137

ผงั เมอื ง กรงุ เทพมหานคร, สำนกั . ๒๒๕ ปี กรงุ รตั นโกสนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ
จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๒.


พนมบุตร จันทรโชต.ิ การคมนาคมทางนำ้ กับพฒั นาการทางเศรษฐกจิ และสังคมสมยั รัตนโกสินทร์ (รชั กาลท่ี ๑ -
รัชกาลท่ี ๔). สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร, ๒๕๓๐.


พรพรรณ ศรสี ิริรตั น.์ ความสำคัญของชมุ ชนสองฝง่ั คลองบางกอกน้อย ตง้ั แต่สมัยอยธุ ยา - ๒๕๑๖. วิทยานพิ นธ์
ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวโิ รฒ, ๒๕๔๙.


พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๒ ฉบับเจา้ พระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บนุ นาค) จากต้นฉบบั ตวั เขียน
ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ พรอ้ มคำอธิบายเพมิ่ เตมิ . กรงุ เทพฯ : สมาคม
ประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี, ๒๕๕๓.


พวงร้อย กล่อมเอ้ียง และคณะ. โครงการวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถ่ินวิถีวัฒนธรรมริมน้ำย่านตลาดพลูจากคลอง
บางหลวงถึงคลองด่าน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย กลุ่มโครงการวิจัยประวัติศาสตร

ท้องถ่ินภาคกลาง, ๒๕๔๘.


พิมพอ์ ุมา โตสินธพ. คลองเชือ่ มกับพัฒนาการของชมุ ชนในล่มุ แม่นำ้ บางปะกง ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๒๐ - ๒๕๐๐.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คณะอักษร
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๔๘.


ภาณุทรรศน์ [นามแฝง]. ลำคลองโบราณ สะพานสำคญั ในกรุงรตั นโกสนิ ทร.์ กรุงเทพฯ : ตรงหวั , ๒๕๔๔.

มณฑล คงแถวทอง. เศรษฐกิจข้าวและน้ำตาลทรายในลุ่มแม่น้ำท่าจีน พ.ศ. ๒๓๙๘ - ๒๔๕๓. วิทยานิพนธ์

ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คณะอักษรศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๒๗.

มนัสวี จิตรมณี. ปากคลองตลาด : การสืบเน่ืองและการปรับตัวของตลาดดอกไม้ : กรณีศึกษา ตลาดดอกไม

ย่านปากคลองตลาด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
มานษุ ยวทิ ยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๔๗.

รวิอร ช้ิววงษ์. สภาพความเปลี่ยนแปลงของคลองด่าน กับสภาพการดำเนินชีวิตของชุมชน (ศึกษาเฉพาะกรณี
ชุมชนริมคลองด่านบริเวณตั้งแต่วัดปากน้ำ - วัดนางนองวรวิหาร). สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวชิ ามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๓๖.


138 คลองเก่าเล่าประวตั เิ มอื ง

เรวดี บุนนาค. ประวัติศาสตร์สมัยกรุงธนบุรี. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศิลปากร, ๒๕๑๒.


วจิ ติ รมาตรา (สง่า กาญจนาคพนั ธ์)ุ , ขุน. เมอ่ื วานนี้ ตอน เด็กคลองบางหลวง. กรุงเทพฯ : เรืองศิลป,์ ๒๕๒๐.

วิชชตุ า วธุ าทติ ย.์ ธนบุรี : ลักษณะเมืองสมัยอยธุ ยาถึงสมยั รตั นโกสินทร์. สารนิพนธป์ ริญญาศลิ ปศาสตรบณั ฑติ

สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๑๙.

ศรศี กั ร วัลลโิ ภดม. ค้นหาอดตี ของเมอื งโบราณ. กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ, ๒๕๓๘.

ศิลปากร, กรม. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ. จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ :


กองจดหมายเหตุแหง่ ชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๕.

“ ”. สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั . กรงุ เทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘.

“ ”. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สังคมไทยสมัยรัชกาลท่ี ๕. พิมพ์ครั้งท่ี ๒. กรุงเทพฯ :


หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๙.

สกณุ ี ณัฐพูลวัฒน.์ คลองและเส้นทางเดนิ เรอื ในอดีต. กรงุ เทพฯ : เอส.ท.ี พ.ี เวลิ ด์มีเดยี , ๒๕๔๑.

สมบัติ พลายน้อย. ชีวิตตามคลอง. กรุงเทพฯ : ตน้ อ้อ, ๒๕๓๒.

“ ”. แม่นำ้ ลำคลอง. กรุงเทพฯ : มตชิ น, ๒๕๕๕.

สมุดภาพกรงุ เทพมหานคร ๒๒๐ ป.ี กรงุ เทพฯ : สำนกั ผังเมอื ง กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๔๖.

สมดุ ภาพกรุงเทพมหานคร ๒๒๒ ปี. กรุงเทพฯ : สำนกั ผังเมอื ง กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๗.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. แม่น้ำลำคลองสายประวัติศาสตร์. พิมพ์คร้ังท่ี ๔. กรุงเทพฯ : กองทุนเผยแพร่ความร้


สูส่ าธารณะ, ๒๕๕๑.

สุนทรี อาสะไวย์. ประวตั คิ ลองรงั สิต : การพัฒนาทด่ี ินและผลกระทบตอ่ สังคม พ.ศ. ๒๔๓๑ - ๒๔๕๗. กรุงเทพฯ

: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐.

อัศวิน ซาบารา. การศึกษาชุมชนมุสลิมบริเวณคลองบางกอกใหญ่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. สารนิพนธ์

ปรญิ ญาศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๔๙.

อำนวย พิชิตเดช. แนวทางการพัฒนาด้านกายภาพพื้นท่ีริมแม่น้ำบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ช้ันใน. วิทยานิพนธ์

สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบและการวางผังชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร,
๒๕๒๘.

โอฬาร เจริญชัย. การศึกษาเพ่ือหาแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนริมคลองบางกอกน้อย. กรุงเทพฯ :
สาขาวชิ าการออกแบบชุมชนเมอื ง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๑.


คลองเกา่ เล่าประวัตเิ มือง 139

ดชั นคี ลองท้ายเล่ม


ชอ่ื คลอง จาก ถึง กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร) พืน้ ท่ีเขต
๖ – ๑๒ ๑,๒๐๐ สวนหลวง
คลองกลนั ตนั คลองหวั หมาก คลองประเวศบุรรี มย์ ๖–๘ ๓,๘๐๐ ทวีวัฒนา
คลองบางพรม
คลองขนุ ศรีบรุ รี ักษ์ คลองบางคูเวยี ง ๑๐ – ๑๒ ๒,๔๐๐ พระนคร

คลองคูเมืองเดิม แมน่ ำ้ เจา้ พระยา แม่น้ำเจ้าพระยา ๕ – ๒๕ ๕,๒๐๐ ตล่งิ ชนั
(ฝั่งพระนคร) (ประตูระบายนำ้ (ประตรู ะบายนำ้ ๑๐ – ๑๕ ๘๕๐ ภาษีเจริญ
สะพานสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ ) ปากคลองตลาด) ๑๐ – ๑๕ ๒,๑๕๐ จอมทอง
๘–๕ ๗๐๐ ราษฎรบ์ ูรณะ
คลองชักพระ คลองบางกอกน้อย คลองมอญ ๑๐ – ๑๕ ๒,๐๐๐ จอมทอง

คลองด่าน คลองบางกอกใหญ่ คลองวดั นางชี ๒–๔ ๘๐๐ บางกอกน้อย
คลองวัดนางชี คลองบางขนุ เทยี น
๒๕ – ๓๐ ๓,๗๐๐ วฒั นา
คลองดาวคะนอง แม่นำ้ เจา้ พระยา ถนนสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ๘ – ๔๘ ๓,๑๕๐ คลองเตย
๖ – ๓๕ ๕,๕๐๐ ทววี ัฒนา
ถนนสุขสวัสดิ์ คลองบางขุนเทยี น ๖ – ๓๕ ๕,๖๐๐ หนองแขม
๒๐ – ๒๕ ๖,๕๐๐ หนองจอก
คลองตน้ ไทร คลองบางกอกนอ้ ย ถนนจรญั สนิทวงศ์ ๓,๓๐๐ บางกอกน้อย
(บางกอกนอ้ ย) ๔๐ ๒,๘๐๐ ภาษีเจรญิ
๘ – ๔๐ ๓,๔๐๐ บางกอกใหญ่
คลองตัน คลองแสนแสบ คลองพระโขนง ๓๐ – ๔๐ ๘๐๐ ห้วยขวาง
๙ – ๑๕ ๓,๖๕๐ จอมทอง
คลองเตย คลองพระโขนง คลองไผ่สงิ หโ์ ต ๘ – ๑๕ ๕,๗๐๐ ทววี ฒั นา
๑๕ – ๑๖ ๕,๗๕๐ บางแค
คลองทววี ัฒนา คลองมหาสวัสดิ์ คลองบางไผ่ ๖ – ๒๐ ๖,๖๕๐ ภาษีเจรญิ
คลองบางไผ่ คลองภาษเี จรญิ ๖ – ๒๐ ๕,๔๐๐ ตลง่ิ ชัน
๔ – ๒๐ ๕,๒๖๐ ทววี ัฒนา
คลองนครเนือ่ งเขต คลองแสนแสบ คลองหลวงแพ่ง ๕ – ๑๒
คลองบางกอกนอ้ ย แมน่ ้ำเจ้าพระยา คลองชกั พระ

คลองบางกอกใหญ่ คลองมอญ คลองดา่ น
คลองดา่ น แมน่ ำ้ เจ้าพระยา

คลองบางกะปิ คลองสามเสน คลองแสนแสบ

คลองบางขนุ เทียน คลองสนามชัย คลองบางมด

ถนนกาญจนาภิเษก คลองทววี ฒั นา

คลองบางเชอื กหนงั คลองทวีวัฒนา คลองลัดตาเหนียว

คลองลัดตาเหนยี ว คลองมอญ

คลองบางนอ้ ย คลองบางเชอื กหนัง ถนนกาญจนาภเิ ษก
ถนนกาญจนาภเิ ษก คลองผใู้ หญ่

140 คลองเกา่ เลา่ ประวตั เิ มอื ง

ชอื่ คลอง จาก ถงึ กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร) พนื้ ท่เี ขต
คลองลดั ตาเหนยี ว ๕ – ๑๒
คลองพระยาราชมนตรี คลองทวีวัฒนา ๔ – ๑๐ ๑,๓๐๐ ภาษีเจริญ
สุดเขตกรุงเทพฯ ๕ – ๑๒ ๖,๐๐๐ บางแค
คลองบางไผ่ คลองลัดตาเหนยี ว ถนนกาญจนาภเิ ษก ๖ – ๓๕ ๒,๗๐๐ หนองแขม
๖ – ๑๒ ๕,๔๐๐ ตลงิ่ ชัน
คลองทวีวฒั นา คลองตาสกุ ๖ – ๑๘ ๔,๐๕๐ จอมทอง
คลองสวน ๔–๖ ๕,๗๐๐ บางขนุ เทยี น
คลองบางพรม คลองชกั พระ ทางรถไฟสายใต้ ๖ – ๒๐ ๒,๕๐๐ บางพลัด
คลองขนุ ศรบี ุรรี กั ษ์ ๖ – ๑๒ ๓,๖๐๐ ตลิ่งชนั
คลองบางมด คลองบางขุนเทียน ถนนกาญจนาภเิ ษก ๒ – ๑๐ ๓,๕๐๐ ทวีวัฒนา
คลองตาสกุ ซอยจรญั สนิทวงศ์ ๘๙ ๔–๘ ๙๗๕ บางพลัด
คลองบางไส้ไก่ ๖ – ๑๐ ๑,๘๐๐ คลองสาน
คลองบางยข่ี นั แม่นำ้ เจ้าพระยา คลองพระยาราชมนตรี ๖ – ๑๐ ๔,๐๐๐ ภาษเี จริญ
คลองทววี ฒั นา ๘ – ๑๕ ๖,๕๐๐ บางแค
คลองบางระมาด คลองบางกอกใหญ่ คลองวัดใหมย่ ายนยุ้ ๔–๙ ๒,๑๕๐ จอมทอง
คลองขุนศรีบุรรี ักษ์ คลองบางกอกใหญ่ ๔–๙ ๑,๓๕๐ ธนบรุ ี
คลองบางกอกใหญ่ ๓–๗ ๓,๒๕๐ ธนบุรี
คลองบางรัก แมน่ ้ำเจา้ พระยา ถนนสุทธาวาส ๒๒ – ๔๔ ๑,๕๐๐ บางกอกนอ้ ย
คลองตาพุก ๕,๐๐๐ ประเวศ
คลองบางลำภลู ่าง แม่นำ้ เจ้าพระยา ประตรู ะบายน้ำ ๒๒ – ๔๔
คลองประเวศ
คลองบางแวก คลองบางกอกใหญ่ ตอนลาดกระบัง ๔๕
คลองพระยาราชมนตรี
สุดเขตกรงุ เทพฯ ๑๒ – ๑๔
คลองบางสะแก คลองดาวคะนอง ๑๖ – ๓๐
คลองวัดใหมย่ ้ายนุย้ คลองบางซื่อ ๒๐ – ๓๐
ทางรถไฟสายใต้ ๑๒ – ๓๐
คลองบางไสไ้ ก่ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา คลองบางเขน ๑๒ – ๓๐

คลองบ้านขม้ิน คลองมอญ คลองตาอูฐ
คลองบ้านใหม่
คลองหนองบอน

คลองประเวศบรุ รี มย์ คลองตาพกุ ๘,๑๐๐ ลาดกระบงั
คลองเปรมประชากร
ประตูระบายนำ้ ๑๗,๐๐๐ ลาดกระบัง
คลองประเวศ
ตอนลาดกระบัง ๔,๗๐๐ ดุสติ
คลองผดุงกรุงเกษม ๒,๖๕๐ บางซอื่
คลองบางซอ่ื ๔,๔๐๐ จตจุ กั ร
ทางรถไฟสายใต้ ๕,๕๕๐ หลกั ส่ี
คลองบางเขน ๕,๔๕๐ ดอนเมอื ง
คลองตาอฐู

คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มือง 141

ชือ่ คลอง จาก ถงึ กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร) พน้ื ทีเ่ ขต
สะพานมัฆวานรังสรรค์ ๒๒
แมน่ ำ้ เจ้าพระยา ๒๔ ๑,๓๐๐ พระนคร
สะพานเจรญิ สวัสดิ์ ๒๐
คลองผดุงกรุงเกษม สะพานมัฆวานรังสรรค์ แม่นำ้ เจ้าพระยา ๓,๑๐๐ ปอ้ มปราบศตั รพู า่ ย
ถนนรชั ดาภเิ ษก ๒๐ – ๒๔
สะพานเจริญสวัสดิ์ ๔ – ๒๐ ๑,๐๐๐ สมั พนั ธวงศ์
คลองเตย ๕–๗
ทางดว่ นมหานคร ทางด่วนพเิ ศษ ๓๐ – ๔๐ ๘๐๐ คลองเตย
ถนนสุขุมวิท ๒๐ – ๔๐
คลองไผ่สิงหโ์ ต ถนนรัชดาภิเษก คลองบางนางจีน ๒๒ – ๔๔ ๗๕๐ คลองเตย
ถนนวทิ ยุ คลองหนองบอน ๕ – ๓๗
ทางรถไฟสายมหาชยั ๕ – ๓๗ ๖๐๐ ปทมุ วัน
คลองบางโคลัด ๕ – ๓๗
แม่นำ้ เจา้ พระยา คลองบางแวก ๕ – ๓๗ ๒,๐๐๐ คลองเตย
คลองบางเชอื กหนัง ๑๕ – ๓๐
คลองพระโขนง ถนนสขุ ุมวิท คลองพระยาราชมนตรี ๑๖ – ๓๐ ๑,๓๐๐ วัฒนา
คลองทววี ัฒนา ๑๖ – ๓๐
แยกคลองบางนางจีน สดุ เขตกรุงเทพฯ ๒๐ – ๒๕ ๗,๐๐๐ สวนหลวง
คลองผดุงกรุงเกษม
คลองสนามชยั ๑๒ – ๒๕ ๔,๗๕๐ บางขุนเทียน
คลองบางกอกใหญ่
คลองพระยาราชมนตรี ทางรถไฟสายมหาชยั ๒๐ – ๒๒ ๒,๓๐๐ บางบอน
คลองบางโคลัด แมน่ ำ้ เจา้ พระยา
๘ – ๑๒ ๔,๙๐๐ บางแค
คลองมหานาค
คลองบางแวก ๖–๘ ๑,๒๕๐ ภาษเี จริญ
คลองสนามชยั ๖ – ๑๐
คลองบางกอกใหญ่ คลองบา้ นขม้ิน ๓–๕ ๕,๐๐๐ ภาษีเจริญ
๒๐ – ๕๐
คลองภาษีเจรญิ คลองพระยาราชมนตรี คลองมอญ ๑๔ – ๔๐ ๕,๑๐๐ บางแค
สดุ เขตจอมทอง
คลองทวีวัฒนา สุดเขตกรงุ เทพฯ ๕,๑๕๐ หนองแขม

คลองมหานาค คลองรอบกรุง ๑,๒๕๐ ปอ้ มปราบศตั รพู า่ ย
(คลองโอง่ อา่ ง)

คลองมอญ แมน่ ้ำเจ้าพระยา ๒,๙๕๐ บางกอกใหญ่
๑,๕๕๐ พระนคร
คลองรอบกรงุ คลองมหานาค
(คลองบางลำภู)

คลองรอบกรงุ แม่น้ำเจ้าพระยา ๑,๙๐๐ พระนคร
(คลองโอง่ อา่ ง)
๔๐๐ บางขุนเทยี น
คลองวดั กก คลองตารงุ่ ๔๐๐ บางกอกน้อย
๑,๔๕๐ บางกอกใหญ่
คลองวัดระฆัง แมน่ ้ำเจา้ พระยา ๒,๗๐๐
คลองวดั อรุณ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา ๑๔,๙๐๐ จอมทอง
บางขุนเทียน
คลองสนามชัย คลองดาวคะนอง
คลองวดั สงิ ห์

142 คลองเก่าเลา่ ประวัตเิ มอื ง

ชอ่ื คลอง จาก ถึง กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร) พน้ื ท่ีเขต
ถนนประชาธปิ ก
คลองสมเดจ็ เจา้ พระยา คลองสาน คลองบางไส้ไก่ ๗ – ๑๑ ๑,๔๕๐ คลองสาน
ถนนประชาธปิ ก ถนนพระรามที่ ๔ ๔–๘ ๑,๐๐๐ ธนบรุ ี
ซอยจันทร์สถติ ย์ ๙ – ๑๐ ๓,๓๐๐ สาทร
คลองสาทร แมน่ ้ำเจา้ พระยา ทางรถไฟสายเหนอื ๓ – ๑๓ ๘๕๐
ถนนอโศก – ดนิ แดง ๑๐ – ๒๕ ๒,๘๐๐ คลองสาน
คลองสาน แมน่ ำ้ เจ้าพระยา คลองแสนแสบ ๕ – ๒๕ ๔,๘๐๐ ดุสิต
คลองบางกอกใหญ่ ๘ – ๑๕ ๔,๐๐๐ ราชเทวี
แม่น้ำเจ้าพระยา ถนนอโศก - ดนิ แดง ๘ – ๑๙ ๒,๘๐๐
๒๐ – ๓๕ ๓,๘๕๐ หว้ ยขวาง
คลองสามเสน ทางรถไฟสายเหนอื คลองตัน ๒๐ – ๓๐ ๕,๓๐๐ ธนบุรี
คลองลาดพรา้ ว ๒๐ – ๓๕ ๑,๓๐๐ ปทมุ วนั
ถนนอโศก – ดินแดง คลองบา้ นมา้ ๒๐ – ๓๕ ๗,๓๐๐ วัฒนา
คลองลาดบวั ขาว ๒๐ – ๓๕ ๕,๒๐๐
คลองสำเหร่ แมน่ ำ้ เจ้าพระยา คลองลัดตาเตีย้ ๒๐ – ๓๕ ๑๑,๕๐๐ หว้ ยขวาง
๒๐ – ๓๕ ๑๑,๐๐๐ บางกะปิ
คลองผดุงกรุงเกษม คลองสิบสี่ สะพานสงู
๘ – ๑๒ ๖,๑๐๐ มีนบรุ ี
ถนนอโศกดินแดง คลองปลัดเปรียง หนองจอก

คลองตนั คลองตาสาด (ค)ู้ ประเวศ

คลองแสนแสบ คลองลาดพร้าว คลองลำตาอนิ
คลองประเวศบุรีรมย์
คลองบ้านมา้
คลองรอบกรุง
คลองลาดบวั ขาว (คลองโอง่ อา่ ง)
คลองรอบกรุง
คลองลัดตาเตยี้ (คลองโออ่ ่าง)
คลองกะจะ
คลองหนองบอน คลองพระโขนง คลองพระโขนง
(ประเวศ)

คลองหนองบอน คลองประเวศบรุ ีรมย์ ๘ – ๑๕ ๑,๙๐๐ สวนหลวง
(สวนหลง)
๒๐ – ๒๕ ๑๐,๒๐๐ หนองจอก
คลองหลวงแพง่ คลองนครเน่ืองเขต ๒๐ – ๒๕ ๕,๐๐๐ ลาดกระบงั
คลองลำตาอิน
๑๐ – ๑๒ ๑,๑๕๐ พระนคร
คลองหลอด คลองคูเมืองเดิม
วดั ราชนดั ดาราม (ฝงั่ พระนคร) ๘ – ๑๒ ๘๐๐ พระนคร
คลองคูเมืองเดมิ
คลองหลอด (ฝ่ังพระนคร) ๗ – ๒๕ ๒,๙๐๐ บางกะปิ
วดั ราชบพิธ ๖ – ๑๐ ๕,๐๕๐ สวนหลวง

คลองหวั หมาก คลองแสนแสบ
คลองกะจะ

คลองเกา่ เลา่ ประวัติเมอื ง 143

144 คลองเกา่ เล่าประวตั ิเมอื ง


Click to View FlipBook Version