The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการดำเนินโครงการประชุมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding 2564ของศน.เชาวลิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการดำเนินโครงการประชุมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding 2564ของศน.เชาวลิต

รายงานการดำเนินโครงการประชุมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding 2564ของศน.เชาวลิต

-ก-

คำนำ

การจัดการเรียนการสอนแบบ Coding เป็นการสอนแบบูรณาการสาระศาสตรต์ า่ ง ๆ เพ่ือ
สร้างสิ่งใหม่ ๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เกิดการคิด วิเคราะห์ และมีความสร้างสรรค์ ด้วยการเรียนรู้แบบ
ปฏิบัติจริงซึง่ สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และผู้เรียนคุณลักษณะสำคัญของผู้เรียน
สำหรับศตวรรษท่ี ๒๑ เพื่อร่วมยกระดับความคิดสรา้ งสรรค์และนวัตกรรมซึง่ นำไปสูก่ ารพฒั นาทักษะที่ดีข้ึน อาชีพ
การงานท่ีดีขึ้น สังคมท่ีดีข้ึนและโอกาสการดำรงชีวิตท่ีดีข้ึนทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีทุกคนต้องเรียนรู้
ตลอดชีวิต คือ ๓R x ๗C ซ่ึง ๓ R ได้แก่ Reading (การอ่าน), ‘Riting (writing = การเขียน) และ ‘Rithmetics
(arithmetics =คณิตศาสตร์) ส่วน ๗ C ได้แก่ Critical thinking & problem solving (การคิดเชิงวิพากษ์และ
การแก้ปัญหา) Creativity & innovation (ความคิดสร้างสรรค์และการคิดค้นนวัตกรรม) Cross-cultural
understanding (ความเข้าใจบนวัฒนธรรมที่แตกต่างหลกาหลาย ) Collaboration, teamwork & leadership
( การประสานความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ ) Communications, information & media
literacy ( การสื่อสาร และการมีความรู้เท่าทันสื่อและข้อมูล ) Computing & ICT literacy ( คอมพิวเตอร์และ
ขอ้ มลู สารสนเทศ ) และ Career & learning skills ( ทักษะอาชพี และการเรียนรู้ ) ได้อยา่ งยงั่ ยนื

รายงานฉบับนเี้ ป็นการรายงานผลการดำเนินการอบรมครูด้วยระบบ Conference โครงการการ
ประชุมการจดั การเรยี นร้วู ิทยาการคำนวณสำหรับครูประถมศกึ ษา ปีที่ 1-3 Coding for grade ๑–๓ ปีการศึกษา
๒564 ดว้ ยวธิ กี าร Conference ด้วยแอพพเิ คช่ัน Google Meet ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานเขตพนื้ ที่
การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1 เพ่ือสง่ เสรมิ การเรียนการสอน Science, Technology and Mathematics
ตลอดจนเพ่ือเผยแพรผ่ ลของการดำเนนิ งานต่อหนว่ ยงานและบคุ คลท่วั ไปอันเปน็ ขนั้ ตอนหน่ึงในการสร้างเครอื ข่าย
ความรว่ มมือและการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์แก่บคุ คลทสี่ นใจ ข้อมลู ในรายงานนี้จะเปน็ ประโยชน์ใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นอย่างดี รวมทง้ั เป็นแนวทางหรือข้อเสนอแนะต่อการนำไปประยุกต์ใช้ ซึง่ คณะผู้
ดำเนินทำหวงั ว่าข้อมูลรายงานฉบับนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ต่อคุณภาพการศึกษาต่อไป

ขอขอบคุณผ้มู สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกท่าน ที่ทำใหร้ ายงานฉบบั น้ีสำเรจ็ ลงได้ด้วยดี

นายเชาวลิต ไชยธงรตั น์
ศกึ ษานเิ ทศก์

สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1

-ข-

สารบญั

หนา้

คำนำ ก

สารบัญ ข

บทท่ี

1 บทนำ............................................................................................................................. 1
-ความเปน็ มา……………….......................................................................................... 1
-วัตถุประสงค.์ .......................................................................................................... 2

-ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ..................................................................................... 2
2 วธิ ีดำเนนิ งาน................................................................................................................ 3

-การดำเนนิ การในระดบั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา.............................. 3

3 ผลการดำเนินงานโครงการ............................................................................. 5

-รายชอ่ื โรงเรียนและครทู ี่ลงทะเบียนเข้ารบั เกียรตบิ ัตร............................................ 5

-รายช่อื โรงเรียนที่ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ ในการทำส่ือ.................... 9

-รายช่อื โรงเรียนท่ีสง่ แบบรายงานการดำเนินกิจกรรมการสอนCoding.................. 9

ภาคผนวก...................................................................................................................... 13

-โครงการการประชุมการจัดการเรียนรูว้ ิทยาการคำนวณสำหรับครปู ระถมศึกษา

ปีที่ ๑–๓ Coding for grade ๑–๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕64 ดว้ ยวธิ กี าร
Conference ดว้ ยแอฟพเิ คชน่ั Google Meet..................................................... 123

-คำสั่งสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 เรอื่ ง แต่งตั้ง

คณะกรรมการดำเนินการประชุมการจัดการเรยี นรูว้ ิทยาการคำนวณสำหรับครู
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑–๓ Coding for grade ๑–๓…………………………………………… 127

-ประมวลรปู ภาพการจัดกจิ กรรม............................................................................. 131

คณะผูจ้ ัดทำ................................................................................................................. 136

ประวตั ิยอ่ ผู้ศึกษา........................................................................................................ 137

บทท่ี 1
บทนำ

ความเปน็ มา

องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี (Science, Technology, and Mathematics) เป็น
รูปแบบการสอน Coding นับเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จากการศึกษา

และงานวิจยั พบว่า ประเทศใดที่ประชากรมีระดับพื้นฐานความรู้ อยู่ในระดับสูงก็อนุมานไดว้ ่า ประเทศนั้นมีความ
ได้เปรียบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังน้ันจึงส่งผลให้ประเทศต่างๆ ได้เร่ิมส่งเสริมให้มีการพัฒนาการเรียนการ
สอน เป็นประเด็นสำคัญในการพฒั นาวิทยาศาสตรศ์ ึกษาในศตวรรษที่ 21

การสอนวทิ ยาศาสตร์จะต้องให้ผู้เรยี นไดป้ ฏบิ ัตจิ ริง โดยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
มาใช้ในหลาย ๆ รูปแบบ ซ่ึงเป็นสื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากข้ึน ผู้เรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงจากการใช้ส่ือ การเข้าร่วมสถานการณ์จริง โดยได้ลงมือกระทำได้สัมผัสด้วยตนเองซ่ึงมี
ครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำให้คำปรึกษาในการใช้สื่อการเรียนการสอน ส่ิงสำคัญของการใช้สื่อการเรียนการสอนก็
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจบทเรียนนั้น ๆ อย่างแท้จรงิ (สุมมา ดามดิษฐ์, 2541, หน้า 1) ดังนั้นครูจึง
ต้องมีการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง รู้จกั คิดค้นวธิ ีการสอนใหม่ ๆ อยู่เสมอโดยใช้วิธีการจดั การเรียนรใู้ หผ้ ู้เรยี นได้
รู้จักคิดหาหนทางสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ให้ความสำคัญกับผู้เรียนทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม เพ่ือให้
ผู้เรยี นเรยี นรู้ด้วยตนเองและเปน็ กลมุ่ รวมท้ังเชื่อว่าผู้เรียนเรยี นรู้และปฏิบัตจิ ริงได้ด้วยตนเองเพ่ือใหไ้ ด้ความรู้และ
ประสบการณ์ที่เป็นองคร์ วมและใหส้ อดคล้องกบั ความถนัด ความสนใจ และสอดคล้องกับการดำเนินชวี ิตในสังคม
( สายสมร ยุวนิมิ, 2544, หน้า 13 – 15 ) ซ่ึงรัฐบาลให้ความสำคัญต่อการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็น
ฐานในการพัฒนาประเทศ โดยได้บูรณาการองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงการสอน
ของครู จากที่ครูเปน็ ผ้รู ูท้ ุกเรอ่ื ง และบอกความรู้ทกุ อย่างใหก้ บั นักเรียนแบบทอ่ งจำ เปลยี่ นมาเป็นพ่ีเลี้ยง เป็นโค้ช
จัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียน สอดคล้องความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในแต่ละยุค
สอดคลอ้ งกับชีวิตและอาชีพ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ เปดิ โอกาสให้นักเรียนไดส้ ืบเสาะหาความรู้ ด้วย
ตนเอง เรียนรู้จากชีวิตจริง ท้ังในห้องเรียน และนอกห้องเรียน ร่วมมือกันแก้ปัญหา สร้างสรรค์ ผลงานและ
นวัตกรรมใหม่ๆ โดยนำความรูท้ ่อี ยู่ในตำราเรียนออกมานอกตำราเรียนเห็นความเชื่อมโยงความรูส้ ู่ชวี ติ จรงิ มากข้ึน
อันเป็นการจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการสร้างผู้ ประกอบการเทคโนโลยีใหม่ ซึ่ง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ได้เร่งเห็นความจำเป็นและความสอดคล้องในดำเนินการ
พัฒนาครูในสังกัดโดยตามที่ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานหลักสูตรการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการ

เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ. ๒๕๖๐) มาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อมูลจากการสำรวจพบว่า ครูทุกระดับชั้นส่วนใหญ่สอนวิชา

วิทยาการคำนวณไม่ครบทุกเน้ือหา ทำให้โรงเรียนส่วนใหญ่จึงยังไม่ได้สอนวิชาวิทยาการคำนวณ และโค้ดด้ิง

ดังน้ัน เพ่ือเป็นการขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้โค้ดดิ้งในโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ การสร้างความร่วมมือ

จากทุกภาคส่วนการศึกษา เพ่ือดำเนินโครงการร่วมกัน ในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ให้เป็นผู้นำ

ทางการศึกษาด้านโค้ดดิ้ง การพัฒนาครูให้มีขีดความสามารถในการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิง และการพัฒนาบุคลากร

ทางการศึกษา ให้มีความรู้และทักษะท่ีจำเป็นต่อการบริหารจัดการ นิเทศติดตาม และส่งเสริมประสิทธิภาพ

ของการจดั การเรียนรู้โค้ดดิ้งในสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จึงเปน็ ส่ิงสำคญั ทีจ่ ะช่วยยกระดับการศกึ ษา

ของประเทศและพัฒนาทกั ษะของผู้เรยี นให้ดำรงชวี ติ อยู่ได้อย่างมีคุณภาพในศตวรรษท่ี ๒๑

2

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำ
โครงการการอบรมปฏิบัติการ อบรมการจัดการเรยี นร้วู ิทยาการคำนวณสำหรับครูประถมศึกษาปีท่ี ๑–๓ Coding
for grade ๑–๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ข้ึนเพื่อเพ่ิมพูนศักยภาพแก่ครูผู้สอนสาระเทคโนโลยี ระดบั ประถมศึกษา ให้มี
ความรู้ ความเข้าใจในมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระเทคโนโลยี ระดับ
ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ดงั นนั้ จงึ ได้ดำเนินกำรพฒั นำครสู อนวทิ ยำศำสตร์ Coding ตามโครงการการประชุม
การจดั การเรียนรู้วิทยาการคำนวณสำหรับครปู ระถมศึกษา ปีที่ 1-3 Coding for grade ๑–๓ ปกี ารศกึ ษา ๒564
ดว้ ยวิธีการ Conference ด้วยแอพพิเคชั่น Google Meet ปีงบประมาณ 2564 เพ่ือเป็นการพัฒนากลุ่มสาระ
วิทยาศาสตร์และให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาชาติ เร่ืองของการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยใ์ หร้ ู้เท่าทันการใช่เทคโนโลยี
สารสนเทศในการใช้ในชีวิตประจำวัน และการปรับใช้เทคโนโลยีให้เข้ากับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
ตอ่ ไปในอนาคต

วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพอื่ สง่ เสริมการพัฒนาศักยภาพครผู สู้ อน สาระเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

๒. เพื่อพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของครูผูส้ อนใหส้ อดคล้องกบั ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
๓. เพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้สูงขน้ึ
กว่าปกี ารศึกษาที่ผา่ นมา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
ผลจากการพัฒนาครใู นปีการศกึ ษา 2564 มีความสำคัญดงั ตอ่ ไปนี้
1. ครูผู้สอนสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ผ่านการอบรมตามเกณฑ์ของ

หลักสตู รการอบรมปฏบิ ัติการฯ ของสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2. ครผู ู้สอนสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั และ

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนร้สู าระเทคโนโลยรี ะดบั ประถมศึกษา
3. ผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใหส้ งู ข้นึ กว่าปีการศึกษา

ทีผ่ ่านมา

บทที่ 2

วิธีดำเนนิ งานโครงการ

การจดั ประชุมครตู ามโครงการการประชุมการจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณสำหรับครูประถมศึกษา ปีท่ี

1-3 Coding for grade ๑–๓ ปีการศึกษา ๒564 ด้วยวธิ กี าร Conference ด้วยแอพพเิ คชั่น Google Meet
ปงี บประมาณ 2564 ให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบโค๊ดดง้ิ ดงั น้ี

การดำเนินการในระดับสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา

เป้าหมายการจัดอบรม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระหว่างวันที่ 22 กรกฏาคม 2564

สถานทีอ่ บรม ได้แก่ ห้องประชมุ วอร์รมู ชนั้ 2 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1

ระยะเวลาการอบรม วนั ท่ี 22 กรกฏาคม 2564 เปน็ ระยะเวลา 1 วัน

งบประมาณ ได้รับสนับสนนุ จากสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1

จำนวน 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน)

ข้ันตอนการดำเนินงาน
1. วางแผนการจดั การอบรม โดยประสานและแจง้ เป็นหนังสื่อราชการผ่านระบบสมารท์ ออฟฟติ ให้
โรงเรยี นทเ่ี ข้าโคด๊ ดง้ิ จำนวน 108 โรงเรียน โรงเรียนละ 1 คน โดยครูทเ่ี ขา้ อบรมต้องสอนใน
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3
2. เตรียมเอกสาร คลิป VDO และสไลด์ท่จี ะนำเสนอในวนั จัดประชุม
3. ส่งเอกสาร คลิป VDO และสไลดท์ ่จี ะนำเสนอในวนั จดั ประชุม โดยผ่านชอ่ งทางการดาวนโ์ หลด
ของสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ และทางควิ อารโ์ ค๊ตจากกลูเกิลไดร์ ก่อน
จดั อบรมประมาณ 1 สปั ดาห์
4. ประสานฝา่ ยทีมงานไอซีท่ีให้เตรยี มอุปกรณ์ เตรยี มห้องวอร์รมู เทคนคิ วธิ กี ารต่าง ๆ ใหพ้ รอ้ ม
5. ฝ่ายไอซีทแี จง้ ลิงคเ์ ข้าห้องประชมุ กอ่ นเข้าประชมุ ประมาณ 3-5 นาที
6. ดำเนินการประชุมตามกำหนดการ
7. ค่าวสั ดุสำหรบั เตรียมสอื่ อุปกรณ์ และใบงานในการประชมุ และผลติ สือ่ การสอนวทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษา 1 - 3 จำนวน 20 โรงเรียน โรงเรียนละ 1500 บาท เป็นเงนิ (30,000บาท)
8. ติดตามแบบรายงานกจิ กรรมของโรงเรยี น จำนวน 20 โรงเรยี น โดยใหโ้ รงเรยี นสง่ รายงานการ
ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยสอ่ื ท่ีผลิตหรือจัดหาพร้อมแผนการจดั การเรยี นรู้
9. รายงานการดำเนินโครงการโครงการการประชมุ การจดั การเรียนรู้วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู
ประถมศึกษา ปีท่ี 1-3 Coding for grade ๑–๓ ปกี ารศึกษา ๒564

4

กำหนดการอบรม ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น ระหว่างวนั ที่ 22 กรกฎาคม 2564 จำนวน 108 โรงเรียน
ที่เข้ารับการประชุม และมีครทู ีส่ ามารถลงทะเบียนขอรับเกียรติบตั ร จำนวน 93 คน

สถานทีอ่ บรม ไดแ้ ก่ ห้องประชุมวอรร์ มู ช้นั น 2 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ระยะเวลาการอบรม คือ จำนวน 1 วัน วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2564
งบประมาณ ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนุนจากสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1

จำนวน 50,000 บาท (ห้าหมน่ื บาทถ้วน)

บทที่ 3

ผลการดำเนนิ งาน

ผลการดำเนนิ การในระดบั สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
3.1 รายช่อื สถานศกึ ษาและครูท่ีสามารถลงทะเบียนขอรับเกียรติบัตร จำนวน 93 คน

ที่ ชอื่ โรงเรียน ชอื่ ครูทล่ี งทะเบียน หมายเหตุ

1 โรงเรียนเข่ือนภูมพิ ล พงค์สเุ รยี น เขื่อนแก้ว

2 โรงเรยี นบา้ นนาตาโพ เกษศิรนิ ทร์ ตาชง่ั

3 โรงเรยี นบา้ นตลกุ ป่าตาล นภัสวรรณ เครือยา

4 โรงเรียนบา้ นอมู วาบ ไพลนิ ชมภู

5 โรงเรยี นบ้านหนองร่ม วันวสิ า พุทธงั

6 โรงเรยี นบา้ นหนองรม่ นุสมล เรอื งตระกลู

7 โรงเรยี นบ้านหนองแขม รชั ดา ยอดดอยสุขสม

8 โรงเรยี นชมุ ชนบ้านวังหนิ รัตนพล สทิ ธริ ะเสริฐ

9 โรงเรยี นชมุ ชนบ้านวงั หนิ นติ ยา เอ่ยี มทุเรยี น

10 โรงเรยี นบา้ นหนองร่ม นิภา นันต๊ะ

11 โรงเรียนบ้านใหม่เสรธี รรม พชิ ญา คมุ้ อารยี ์

12 โรงเรียนบ้านใหมเ่ สรธี รรม อดลุ ย์รตั น์ บญุ ทศ

13 โรงเรยี นดงซอ่ มพทิ ยาคม สทุ ธดิ า ยาปัน

14 โรงเรยี นบ้านตลุกกลางทุ่ง ชญานุช บวรวชิ ญะกุล

15 โรงเรยี นบา้ นใหม่เสรีธรรม วลิ าวลั ย์ อ่นุ แสง

16 โรงเรียนบา้ นคลองหว้ ยทราย วีนัส สุยะชัย

17 โรงเรยี นวัดปากหว้ ยไม้งาม ภทั รวดี แซล่ ิ้ม

18 โรงเรียนบ้านหนองกระโห้ รตั นากร อินทฉิม

19 โรงเรียนบ้านประดาง(บุญธรรมจำปาอปุ ถมั ภ)์ กุลธิดา ทพิ เกศ

20 โรงเรียนหนองเสอื พิทยาคม ช่อทพิ ย์ ตว้ นยี่

21 โรงเรยี นศรีวทิ ยา ธนิตา คงโพธิ์

22 โรงเรยี นขุนห้วยตากพฒั นาศึกษา พิชญา อองกุลนะ

23 โรงเรียนบา้ นคลองไม้แดง จนิ ตนา ทาอดุ๊

24 โรงเรียนบา้ นใหม่ นางสาวภัทรานษิ ฐ์ วงษ์กา

25 โรงเรียนบา้ นดงยาง ธวนิัญญาลกั ษณ์ นาเบ้า

6

ที่ ชอื่ โรงเรียน ชอื่ ครูที่ลงทะเบียน หมายเหตุ

26 โรงเรียนบา้ นดงลาน กุสมุ า ไพรประชา
27 โรงเรยี นบา้ นวงั ไม้สา้ น นุจรี โพไข่
28 โรงเรยี นเดน่ วิทยา นางสาวกนกพร ไพโรจนว์ ณิช
29 โรงเรยี นบ้านแมพ่ ะยวบ อวงษุ ศา์ เกตุชู
30 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสมอโคน กัญญา กาบแกว้
31 โรงเรียนบ้านลานเต็ง จุฑาทพิ ย์ คำสดุ
32 โรงเรยี นหนิ ลาดนาไฮวิทยาคม รัตนา ปา่ ธะนคู ำ
33 โรงเรียนบ้านท่าตะครอ้ อัมไพรวรรณ ทองภู
34 โรงเรยี นบ้านทา่ ตะคร้อ ดวงนภา เยี่ยมยอดพนา
35 โรงเรยี นบ้านท่าตะคร้อ พาณุพงษ์ สาลี
36 โรงเรียนบา้ นหนองปลาไหล ศุภกร ปัญญามูล
37 โรงเรียนบา้ นลานสาง กลุ จริ า หดั ไทย
38 โรงเรียนเสริมปัญญา นฤมล จิตตน์ มุ่
39 โรงเรยี นวดั พระธาตุน้อย จฑุ าทพิ ย์ แตงไทย
40 โรงเรียนบา้ นตากประถมวทิ ยา สาวติ รี จกั รบุตร
41 โรงเรียนบา้ นหนองรม่ ปวติ รา เจริญศรี
42 โรงเรยี นบ้านหนองชะลาบ นางสาวรงุ่ ฤทัย สุขสายอน้
43 โรงเรยี นอนุบาลบ้านบ่อไม้หว้า ชลธิชา จันทร์ศรีเปรม
44 โรงเรียนบ้านปากทางเขอื่ นภูมิพล ศริ พิ ร หลขี าว
45 โรงเรียนบา้ นหนองกระทมุ่ วิศรุต หงษค์ ง
46 โรงเรยี นบา้ นโป่งแดง นางสาวจิราพร จมู ดอก
47 โรงเรยี นเดน่ วัวราษฎรร์ ังสรรค์ จริญญา ธนะวงษ์
48 โรงเรยี นบ้านปากทางเขอ่ื นภูมิพล ศิริพร หลีขาว
49 โรงเรียนบ้านยางโองนอก ไชยวฒั น์ อกตัน
50 โรงเรยี นบา้ นห้วยเหลอื ง นายเทพ. ทองสรุ ะวิโรจน์
51 โรงเรียนบา้ นหนองบวั ใต้ สุธาสนิ ี ซ้อนกลบี เมฆ
52 โรงเรียนวงั หวายวิทยาคม ทัตติยา กลำ่ บัว
53 โรงเรียนบา้ นหว้ ยแมบ่ อน กนกวรรณ คำโม
54 โรงเรียนวงั หวายวิทยาคม ดวงใจ วงษต์ ะ๊

ที่ ชอ่ื โรงเรยี น ช่อื ครทู ี่ลงทะเบียน 7
55 โรงเรียนสว่างวิทยา ปยิ พงษ์ รุ่งระวี หมายเหตุ
56 โรงเรยี นชุมชนบา้ นปา่ มะม่วง ณัฏฐา โพธ์ิเงนิ
57 โรงเรียนวังหวายวทิ ยาคม กติ ติพงศ์ ศศิณวฒั น์
58 โรงเรยี นวังหวายวทิ ยาคม สพุ ตั รา วงษพ์ วง
59 โรงเรยี นหมู่บ้านตวั อย่าง กรกช กำเลิศกล้า
60 โรงเรียนบ้านตะเคยี นด้วน ปารชิ าติ ภิรมยท์ อง
61 โรงเรยี นบา้ นสามเงา สชุ าดา จนั ตา
62 โรงเรียนผาผ้ึงวิทยาคม นันทวัน องั คสงิ ห์
63 โรงเรียนบา้ นสะแกเครอื ชวัลวิทย์ ตะ๊ ดกุ
64 โรงเรยี นบ้านวงั ประจบ นางสาวน้ำหวาน ทาจนั ทร์
65 โรงเรยี นบ้านท่งุ กระเชาะ ธดิ ารัตน์ ฮั่นตระกลู
66 โรงเรียนวัดสามเงา นริศรา บกแกว้
67 โรงเรียนบา้ นแม่สลดิ อัญรนิ ทร์ อคั รวชิ ิตศักดิ์
68 โรงเรยี นบา้ นน้ำดิบ วรรณภิ า กติ ตริ ตั นวศนิ
69 โรงเรยี นบา้ นชะลาดระฆงั ดลพฤกษ์ ทนั เจริญ
70 โรงเรยี นประชาพัฒนา กำไร ตะนะ
71 โรงเรยี นบ้านทุง่ กระเชาะ กรรณิการ์ อยบู่ ญุ
72 โรงเรียนบา้ นฉลอม วรัชญา เชอ้ื บัว
73 โรงเรียนบ้านนาโบสถ(์ น้อมมิตรอนกุ ลู ) อรทยั สังข์คำ
74 โรงเรียนเขอ่ื นภูมิพล รตั ติกาล สขุ พุ่ม
75 โรงเรียนบา้ นปา่ ยางใต้ สาวติ รี หลอมทอง
76 โรงเรียนชุมชนวัดสันป่าลาน สุจรรยา ยศบุรุษ
77 โรงเรยี นบา้ นลานสาง บุญจรงิ เอีย่ มสบื ทัพ
78 โรงเรียนบา้ นหนองนกปีกกา ภคั ชญั ญา คำแพว
79 โรงเรียนบ้านวงั ตำลงึ แก้วมณี ทองอ่ำ
80 โรงเรียนบ้านวงั มว่ ง ปรางค์ทิพย์ อยู่ขำมี
81 โรงเรยี นบ้านลานสาง วิรยิ ะ ทองแพ
82 โรงเรียน ตชด.คา่ ยพระเจา้ ตากสงเคราะ 2 ศริ ิพร อ่อนแกว้
83 โรงเรยี นบา้ นป่ายางตะวันตก ธดิ ารตั น์ กานำ
84 โรงเรียนบ้านใหม่สามัคคี อรสา แสงจันทร์

8

ท่ี ชอื่ โรงเรียน ชื่อครทู ีล่ งทะเบียน หมายเหตุ
85 โรงเรยี นบา้ นนำ้ ด้วน ขวญั ฤดี สีขาว
86 โรงเรียนบา้ นโสมง นางสาวศริ ิพร นอ้ ยแกว้
87 โรงเรียนอนุบาลรอดบำรงุ วทิ ูล อย่บู ุญ
88 โรงเรยี นโรงเรียนชุมชนบา้ นไมง้ าม นส.กาญจนาณฐั เดชอดุ ม
89 โรงเรยี นบา้ นเนนิ มะลื่น นายเจตนพิ ิฐ โตพ่มุ
90 โรงเรียนบา้ นแมพ่ ะยวบ พิสรรค์ ตระการศรีชาติ
91 โรงเรียนเขื่อนภูมิพล ณฏั ชยานันต์ เกตุศรศี ักดา
92 โรงเรียน ตชด.คา่ ยพระเจา้ ตากสงเคราะ 2 ยพุ นิ ปรระดจี ติ ต์
93 โรงเรียนบ้านสะแกเครอื ชนินทร์ ขาวสะอาด

หมายเหตุ ศกึ ษำนิเทศกท์ ร่ี บั ผดิ ชอบ นำยเชำวลติ ไชยธงรตั น์ หมำยเลขโทรศพั ท์
0839571899 , 0617947245

ผู้บริหารสถานศึกษา และ คณะครูให้ความสนใจและตั้งใจในการเข้ารบั การประชมุ และไดน้ ำความรทู้ ่ีได้ไป
พฒั นาการจดั การเรียนการสอนในสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในส่วนของการสอน Coding โดยเฉพาะ
โรงเรียนทค่ี ดั เลือกไวจ้ ำนวน 20 โรงเรียนท่มี ีความพร้อมและเหมาะสมในการพฒั นามีรายชือ่ โรงเรียนและผลการ
รายงาน ดงั นี้
3.2 รายชื่อโรงเรยี นท่ไี ดร้ ับการจัดสรรงบประมาณตามโครงการ ฯ

ลำดับท่ี ชือ่ โรงเรียน จำนวนเงิน หมายเหตุ
1 โรงเรยี นชุมชนบ้านแม่ระวานสองแคว 1,500
2 โรงเรียนอนุบาลบ้านบ่อไมห้ ว้า 1,500
3 โรงเรียนสวา่ งวิทยา 1,500
4 โรงเรียนบา้ นหนองนกปีกกา 1,500
5 โรงเรยี นบา้ นหนองบัวเหนือ 1,500
6 โรงเรยี นบ้านเกาะอ้านด้วน 1,500
7 โรงเรียนเขอ่ื นภูมิพล 1,500
8 โรงเรยี นบา้ นท่าไมแ้ ดง 1,500
9 โรงเรียนชุมชนบา้ นปา่ มะมว่ ง 1,500
10 โรงเรยี นอนบุ าลตาก 1,500
11 โรงเรยี นบ้านผาผ้งึ วทิ ยาคม 1,500
12 โรงเรยี นเดน่ ไมซ้ ุงวิทยาคม 1,500
13 โรงเรียนอนบุ าลวงั เจา้ 1,500
14 โรงเรียนชมุ ชนวัดสันป่าลาน 1,500
15 โรงเรียนบ้านวังน้ำเยน็ 1,500

9

16 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นแมย่ ะ 1,500
17 โรงเรียนบ้านลานเตง็ 1,500
18 โรงเรียนชลประทานรงั สรรค์ 1,500
19 โรงเรยี นบ้านมูเซอ 1,500
20 โรงเรียนบ้านหนองเชียงคา 1,500

3.3 สถานศกษาทส่ี ่งแบบรายงานการดำเนนิ กิจกรรม
แบบรายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding

สำหรบั นักเรยี นประถมศกึ ษา ปีท่ี ๑–๓

******************************************

1. โรงเรียน โรงเรียนชุมชนบา้ นแม่ระวานสองแคว

1.1 ช่ือผอู้ ำนวยการ นางศริ ิพร คำนวนสนิ

1.2 ชือ่ ครทู ด่ี ำเนนิ การ นางสาวอนสุ รา วงษไ์ ว

2. การดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี นประถมศกึ ษา ปที ี่ ๑–๓

2.1 เปา้ หมายการดำเนินการ

เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 43 คน ได้รับการพัฒนาทักษะทาง

วทิ ยาศาสตรด์ า้ นวทิ ยาการคำนวณ

เชิงคุณภาพ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 สามารถแก้ปัญหาอย่างมีข้ันตอน และได้พัฒนา

ทักษะทางวทิ ยาการคำนวณได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

2.2 การดำเนนิ งานและเคร่ืองมอื ที่ใช้

การดำเนินงาน เครื่องมอื ให้ความรู้ เคร่ืองมือประเมิน

-ขั้นสร้างความสนใจ ครูจดั กิจกรรมการฝึกสมาธิ 1.หนงั สอื เรียนรายวิชาวิทยาการ 1.แบบทดสอบหลัง

โดยการเล่น จบี แอล คำนวณ เรยี น

-ขั้นสำรวจและคน้ หา ให้นักเรียนสำรวจและ 2.เกมลานจอดรถพศิ วง 2.เกมลานจอดรถ

ค้นหาปัญหา สาเหตุ และวิธกี ารแก้ปญั หา พศิ วง

-ขัน้ อธบิ าย เมือ่ นกั เรียนได้ข้อมูลเพียงพอ ครู

และนกั เรยี นชว่ ยกันอธิบายและลงขอ้ สรุปของ

ปญั หาน้ัน

-ขั้นขยายความรู้ ครูตง้ั คำถามใหม่ขน้ึ มาหรือ

นกั เรียนเสนอปัญหา และให้เพื่อนๆช่วยกัน

แกป้ ัญหา

-ขน้ั ประเมนิ นกั เรียนช่วยกนั แก้ปัญหา เกมลาน

จอดรถพศิ วง

2.3 ผลการดำเนินงาน
- นักเรียนมีทกั ษะการแกป้ ญั หาท่นี กั เรยี นพบในชีวิตประจำวนั และเขยี นข้นั ตอนการแก้ปัญหา

เบ้ืองต้นได้อย่างชดั เจนโดยใช้การคิดเชงิ คำนวณ

9

- นักเรียนมที กั ษะการส่ือสาร โดยการตอบคำถามและการอธบิ ายวิธกี ารแกป้ ัญหาจากกิจกรรม
ฝกึ ทักษะในหนงั สือเรยี น

- นกั เรยี นมีทักษะการสังเกต โดยเปดิ โอกาสให้นกั เรียนไดศ้ ึกษาตวั อย่างสถานการณ์การแก้ปญั หา
ที่วเิ คราะห์ตามข้ันตอนการแก้ปัญหาเบอ้ื งตน้ จากหนงั สือเรียน

3. ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรบั นกั เรยี นประถมศึกษา ปที ี่ ๑–๓ (อย่างนอ้ ย

1 แผนการจัดการเรียนรู้)

ช่อื แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชัน้ สาระสำคญั ผลที่คาดหวงั ผู้เรียน

แผนการเรยี นรู้ที่ 1 การแก้ปัญหา ป.2 ในชีวิตประจำวนั จะตอ้ งพบเจอ - มีทักษะการแก้ปญั หาทน่ี ักเรียน

เบ้อื งต้น ปญั หาตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นการ พบในชวี ติ ประจำวนั และเขียน

ไปโรงเรียนสายหรือการลมื จดั ขั้นตอนการแก้ปญั หาเบื้องต้นได้

ตารางเรียน ดงั น้นั จงึ ต้องมกี าร อยา่ งชัดเจนโดยใชก้ ารคิดเชงิ

เรยี นรู้ขนั้ ตอนการแกป้ ัญหา คำนวณ

เบื้องตน้ เพ่ือใหส้ ามารถ - มที กั ษะการสื่อสาร โดยการตอบ

แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถูกต้อง ถกู วิธี คำถามและการอธบิ ายวธิ ีการ

และรวดเร็ว แก้ปญั หาจากกจิ กรรมฝึกทักษะใน

หนังสอื เรยี น

- มที ักษะการสงั เกต โดยเปิด

โอกาสใหน้ ักเรยี นได้ศึกษาตัวอยา่ ง

สถานการณ์การแกป้ ัญหาท่ี

วิเคราะห์ตามข้นั ตอนการ

แกป้ ญั หาเบื้องตน้ จากหนงั สือเรียน

แผนการเรยี นรทู้ ่ี 2 การแสดง ป.2 การแกป้ ัญหาทด่ี ีจะต้องมีการ -การจัดลำดบั ขนั้ ตอนในการ

ข้ันตอนการแก้ปญั หา วางแผนการแก้ปัญหา และมี ทำงานทด่ี ี ช่วยให้ไมต่ ้องทำงาน

การถ่ายทอดความคดิ ในการ ซ้ำซอ้ น ทำให้ประหยดั เวลาและ

แกป้ ญั หาออกมาเปน็ ลำดับ ประหยัดแรง

ขั้นตอน เพ่อื ให้ง่ายต่อการทำ -ผลลพั ธ์ทผี่ ดิ พลาดอาจเกิดจาก

ความเขา้ ใจ และตรวจสอบ ลำดบั ขัน้ ตอนท่ีไม่เหมาะสม

ความถกู ต้องหรือกลับไปแกไ้ ข สามารถแก้ปญั หาไดโ้ ดยการ

ได้ โดยการแสดงขนั้ ตอน จัดลำดับขนั้ ตอนใหม่อีกครั้ง

การแกป้ ัญหา สามารถทำได้ -การวางแผนกอ่ นลงมอื ทำช่วยให้

โดยการเขียนบอกเล่า การวาด มองเห็นปญั หาทอ่ี าจเกดิ ข้ึน และ

ภาพ หรอื ใชส้ ัญลกั ษณ์ นำไปสู่การทำงานทีป่ ระสบ

ความสำเรจ็

4. สิง่ ท่ีโรงเรยี นจะดำเนินการเพอื่ ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนกั เรยี น

ประถมศึกษา ปที ี่ ๑–๓

10

1. พฒั นาศักยภาพ เพ่มิ พูนความรู้ ความเข้าใจ ในมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั และวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้
วชิ าวิทยาการคำนวณ “Coding and Computing Science” ใหค้ รูผู้สอนมีความพร้อม และจัดการเรียนรู้ วิชา
วิทยาการคำนวณได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2. พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีทักษะกระบวนการคดิ เชงิ คำนวณ ( Computational Thinking) เกิดกระบวนการคิดเชิง
วิเคราะห์ คดิ อย่างเป็นระบบด้วยเหตุผลอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน

5. ภาพกจิ กรรมทเี่ กิดขึ้นภายในโครงการ / กจิ กรรม (จำนวนไมเ่ กิน 10 ภาพ)

ภาพที่ 1 ก่อนเรียน ครูจดั กิจกรรมสร้างสมาธใิ ห้กบั ภาพที่ 2 นักเรียนฝกึ เล่น จีบ แอล ค่อยๆเปล่ียน

นกั เรียน โดยการเลน่ จีบ แอล ครูคอ่ ยๆเปล่ียนจาก ตามคำสง่ั จากช้าๆไปจนเรว็ ข้ึน เป็นการฝึกสมาธแิ ละ

ชา้ ไปจนเรว็ ข้นึ สติให้พร้อมสำหรับการเรียน

ภาพท่ี 3 เรม่ิ กจิ กรรมการเรียนการสอน ในส่วนของ ภาพที่ 4 นกั เรยี นตอบคำถาม มคี นทีเ่ คยมาโรงเรียน
เน้ือหา ครูมีการต้งั คำถามในชว่ งเริ่มตน้ นักเรยี นเคย สาย ครใู หน้ กั เรียนคิดหาสาเหตทุ ่ที ำใหม้ าโรงเรยี น
มาโรงเรียนสายหรอื ไม่ / ใครเคยมาโรงเรียนสายบา้ ง สาย และวธิ ีการแกป้ ัญหาทจี่ ะทำให้มาโรงเรยี น
ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันคดิ หาสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหา ทันเวลา
ตามขนั้ ตอนการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ข้ันตอน

11

ภาพท่ี 5. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี น ออกเปน็ 4 กลุ่ม แล้ว ภาพท่ี 6 นกั เรียนแต่ละกล่มุ ชว่ ยกันแกป้ ญั หา และ
ให้นกั เรียนช่วยกันแกป้ ญั หา เกมลานจอดรถพิศวง นำรถออกจากลานจอดรถพิศวงได้

ผรู้ ายงาน นางสาวอนสุ รา วงษไ์ ว ตำแหน่ง พเ่ี ลยี้ งเด็กพิการ

โทรศพั ท์มือถือ 0987467271 โทรศพั ท์ -

E–mail: [email protected]

12

แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมการจดั การเรียนรวู้ ิทยาการคำนวณ Coding

สำหรับนักเรียนประถมศึกษา ปที ี่ 1-3

******************************************

1. โรงเรียน อนบุ าลบา้ นบอ่ ไมห้ ว้า

1.1 ช่อื ผู้อำนวยการ นายชัชวาลย์ ทองกรณ์

1.2 ชือ่ ครทู ี่ดำเนินการ นางสาวชลธิชา จนั ทร์ศรเี ปรม

2. การดำเนนิ กิจกรรมการจดั การเรยี นร้วู ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรยี นประถมศกึ ษา ปีท่ี 1-3

2.1 เปา้ หมายการดำเนินการ นักเรียนระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 จำนวน 87 คน

เชิงปรมิ าณ นกั เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 87 คน มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการ

วางแผนแกป้ ญั หาแบบโคด้ ดิง้ ได้

เชงิ คุณภาพ นกั เรียนสามารถมคี วามรู้ความเข้าใจในการวางแผนการแกป้ ัญหาจากโจทย์ หรอื

สถานการณ์ทค่ี รกู ำหนดให้ดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาบภายใต้การแก้ปัญหาแบบโคด้ ดิ้ง

2.2 การดำเนนิ งานและเครอ่ื งมอื ท่ีใช้

การดำเนินงาน เคร่อื งมือให้ความรู้ เครอ่ื งมอื ประเมนิ

- ประชุมช้แี จงวตั ถุประสงค์ของการดำเนิน 1. เกมไอคอนจ๋า ค่หู ูอย่ไู หน -การสังเกต

กิจกรรม 2. เกมผงึ้ น้อยสร้างรงั -แบบทดสอบ

- เลือกส่อื ทตี่ ้องการผลิตและตรงตาม 3. เกมเดนิ เที่ยวในเมือง

วัตถุประสงค์ของกจิ กรรม

- จัดซอื้ วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการทำสอ่ื การเรียน

การสอนโคด้ ด้งิ

-ผลติ สอื่ การเรียนการสอนแบบโค้ดดงิ้ 3

ชิน้ คือ

1. ไอคอนจา๋ คู่หูอยู่ไหน

2. ผึ้งนอ้ ยสรา้ งรงั

3. เดนิ เทย่ี วในเมอื ง

- นำไปใช้ในการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์

(คอมพิวเตอร์) และใช้เป็นเกมการศึกษาใน

ชว่ั โมงลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ของนักเรียน

ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-3

2.3 ผลการดำเนนิ งาน
นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 สามารถแก้ปัญหางา่ ยๆ โดยใช้เกมจากสื่อ Coding และบอกวิธี

แก้ปญั หา วางแผนอย่างเป็นระบบ

13

3. ตวั อย่างแผนการจดั การเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรียนประถมศกึ ษาปีท่ี 1–3

ชือ่ แผนการจดั การ ระดับชนั้ สาระสำคญั ผลท่ีคาดหวังผเู้ รียน
เรยี นรู้

การแก้ปัญหาเบ้อื งตน้ ประถมศึกษาปีท่ี ในชวี ติ ประจำวันจะต้องพบเจอ 1. อธิบายวิธีการแก้ปัญหา
2 ปัญหาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ การ เบ้อื งต้นแต่ละข้ันตอนได้ (K)

ไปโรงเรียนสายหรือการลืมจัด 2.เขยี นขัน้ ตอนการ
กระเป๋านักเรยี น ดงั น้นั จึงต้องมี แกป้ ัญหาเบ้ืองตน้ ได้ (P)
การเรียนรู้ขั้นตอนการแกป้ ัญหา 3. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A)
เบ้ืองต้น เพอ่ื ใหส้ ามารถ

แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ถูกวิธี

และรวดเรว็

4. สิ่งท่ีโรงเรยี นจะดำเนนิ การเพ่ือขบั เคลอื่ นการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรียน
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3

สิ่งทโี่ รงเรยี นจะดำเนนิ การเพ่ือขับเคล่ือนการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี น
ประถมศกึ ษา ปที ี่ 1-3 การผลิตสือ่ การเรยี นการสอนดว้ ยการเรยี นรู้ดว้ ยทักษะกระบวนการคดิ การออกแบบ
และการวางแผน เพื่อแก้โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์ โดยการสืบค้นข้อมูลในการหาความร้เู พื่อแก้ปญั หาจาก
สถานการณจ์ ำลองเพอื่ นำไปสู่สถานการณจ์ ริง โดยคำนึงถึงความคมุ้ คา่ ประหยัดเวลา และปลอดย ในระดับชน้ั น้ี
อาจยังเปน็ การเรยี นรู้แบบ unplug กไ็ ด้ แต่หากเรามสี ิง่ ทีจ่ ำเป็นสำหรับกิจกรรมการเรียนร้วู ิทยาการคำนวณ
Coding อีกอย่างท่สี ำคัญคือ คอื สญั ญาณอินเทรอ์เนต็ คอมพวิ เตอร์ จะเป็นการเสริมสรา้ งส่ือการเรียนการ
สอนที่ทนั สมยั ทำให้ผู้เรยี นการเรียนรู้ในโลกกว้างได้อยา่ งสนกุ สนาน และเกดิ ความรู้ทย่ี ้ังยืน

14

5. ภาพกจิ กรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ / กิจกรรม (จำนวนไมเ่ กิน 10 ภาพ)

จัดทำสอ่ื Coding สำหรบั นักเรยี นชนั้ ป.1 - ป.3 จดั ทำส่อื Coding สำหรบั นกั เรียนช้นั ป.1 - ป.3
จดั ทำสอ่ื Coding สำหรบั นกั เรยี นชน้ั ป.1- ป.3 จดั ทำส่ือ Coding สำหรบั นกั เรียนช้นั ป.1- ป.3

15

ทำกิจกรรมแกป้ ญั หาด้วยสอื่ Coding ทำกจิ กรรมแก้ปญั หาด้วยส่อื Coding

ตัวอย่างส่อื Coding ผึ้งนอ้ ยสรา้ งรงั ตวั อย่างสื่อ Coding เดินเท่ียวในเมอื ง

ผู้รายงาน นางสาวชลธชิ า จันทรศ์ รเี ปรม ตำแหน่ง ครู
โทรศพั ทม์ ือถือ 080-0938618 โทรศพั ท์ 055 892 650
E–mail: [email protected]

16

แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการเรยี นร้วู ทิ ยาการคำนวณ Coding

สำหรับนักเรยี นประถมศกึ ษา ปีที่ ๑–๓

******************************************

1. โรงเรยี น สวา่ งวิทยา

1.1 ชื่อผูอ้ ำนวยการ นางศศิรฐา แขง็ เขตกรณ์

1.2 ชื่อครูท่ดี ำเนนิ การ นายปยิ พงษ์ รุ่งระวี

2. การดำเนินกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนกั เรียนประถมศึกษาปีที่ ๑–๓

2.1 เป้าหมายการดำเนนิ การ

เชงิ ปริมาณ ร้อยละ 90 ผู้เรียนเข้ารบั การเรียนรมู้ ีความรู้ความเขา้ ใจและสามารถปฏิบัตไิ ด้

เชงิ คุณภาพ ผ้เู รยี นมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

2.2 การดำเนินงานและเครื่องมอื ท่ีใช้

การดำเนนิ งาน เครอ่ื งมือให้ความรู้ เครือ่ งมือประเมนิ

๑.ใบความรู้ ๑.การตอบคำถามหลังกจิ กรรม

จัดแบง่ กลุม่ นักเรียน ๒ - ๓ คน ๒.สือ่ คอมพิวเตอร์ ๒.สงั เกตทักษะการบวนการ

ทำงานเทคโนโลยใี นการทำ

กจิ กรรม

2.3 ผลการดำเนนิ งาน
นักเรียนมีความเขา้ ใจสมารถเรยี นรแู้ ละปฏบิ ัติได้อยา่ งถูกต้องสามารถคิดแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นข้นั ตอนไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

3. ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นกั เรียนประถมศึกษา ปีท่ี ๑–๓ (อยา่ งนอ้ ย

1 แผนการจดั การเรยี นรู้)

ช่ือแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับชัน้ สาระสำคัญ ผลท่ีคาดหวงั ผู้เรียน

การแกป้ ัญหาใหป้ ระสบ นกั เรยี นสามารถแก้ปญั หา

การแก้ปัญหาแบบมีลำดับขัน้ ตอน ป.๒ ความสำเรจ็ ทำได้โดย ในชีวิตประจำวันอย่างเปน็

กระบวนการแก้ปัญหา ขน้ั ตอนและถูกตอ้ ง

อยา่ งเป็นขน้ั ตอนอาจทำได้

โดยการเขียน บอกเลา่

เร่ืองราว วาดภาพหรอื ใช้

สัญลักษณ์ในการแก้ปญั หา

อย่างง่ายได้

4. สงิ่ ท่ีโรงเรยี นจะดำเนนิ การเพ่ือขับเคล่ือนการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี น
ประถมศึกษา ปีท่ี ๑–๓ ผลิตสือ่ อุปกรณเ์ ป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนานวัตกรรมเป็นสิง่ สำคญั ทจ่ี ะชว่ ยยกระดับ
ศกั ยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรยี น ซง่ึ การพัฒนาเพื่อก่อใหเ้ กิดเปน็ รูปธรรมทจ่ี ะชว่ ยยกระดับคุณภาพชวี ติ ให้ดีข้นึ ได้
ในอนาคต

17

5. ภาพกจิ กรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในโครงการ / กิจกรรม (จำนวนไมเ่ กนิ 10 ภาพ)

ภาพที่ 1 ......(แจกอปุ กรณ์และใบความรู้) ภาพท่ี 2 ....(นักเรียนไดอ้ ปุ กรณ์พร้อมฟังครูอธิบาย)

ภาพท่ี 1 ......(ครอู ธิบายกจิ กรรมการเรียนรู้) ภาพที่ 2 ......(นักเรียนปรึกษาและแก้ปัญหา)

ภาพที่ 1 ......(นักเรยี นบันทึกลงในใบงาน) ภาพท่ี 2 ......(เสรจ็ กิจกรรมพรอ้ มตอบคำถาม)

ผรู้ ายงาน นายปยิ พงษ์ รุ่งระวี ตำแหนง่ ครูอตั ราจา้ ง
โทรศัพท์มอื ถอื 0896432928 โทรศพั ท์ (055-552898)
E–mail: [email protected]

18

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓.๑ การแกป้ ัญหาแบบมลี ำดับข้นั ตอน
๑. สาระสำคัญของแผน
กิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันจำ เปน็ อย่างยง่ิ ต้องมีกระบวนการคดิ อยา่ งเปน็ ข้นั ตอนจงึ จะประสบความสำเร็จ
ได้ผลดีและเกิดประโยชน์
๒. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมในการนำไปใช้
๒.๑ ขอบขา่ ยเนือ้ หา
การแก้ปัญหาโดยเรยี งลำดับการทำงานเป็นขนั้ ตอนเพื่อทำ ให้กิจกรรมประสบความสำเร็จและได้ผลลพั ธ์ท่ีถกู ต้อง
๒.๒ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
จดุ ประสงคด์ ้านความรู้
อธิบายการทำ งานในชวี ิตประจำวันอย่างเป็นขั้นตอน
จดุ ประสงคด์ ้านทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
แกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวันอย่างเป็นขนั้ ตอนและถูกต้อง
จุดประสงค์ดา้ นคุณธรรม
๑. มจี ิตสาธารณะตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม
๒. มีความสามคั คชี ่วยเหลอื การทำ งานกลุ่ม
๓. มวี นิ ยั
๔. มุ่งม่นั ในการทำงาน
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๑) การเตรยี มตัวของครู นักเรียน
แบ่งกลมุ่ นักเรียน ๓ – ๔ คน
๒) การเตรยี มสอ่ื วสั ดอุ ุปกรณ์ ของครู นักเรยี น
สิง่ ท่ีครตู ้องเตรยี ม คือ
๒.๑ คลปิ วิดโี อ “ใบหมอ่ นไปงานเลี้ยง.wmv”
๒.๒ เครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ่ีมีไฟล์ “แตง่ ตัวใบหม่อน.swf”และ “บา้ นแมวสที อง.swf”
๒.๓ ใบความรู้
๒.๔ ใบงาน
สง่ิ ท่ีนักเรียนต้องเตรยี ม คือ
๒.5 ดินสอ
๒.6 สไี ม้
๓) เตรียมใบงาน ใบความรู้ ใบกจิ กรรม
๓.๑ ใบงาน ๐๑ ชุดไหนดี
๓.๒ ใบงาน ๐๒ หน้ากากแสนนา่ รัก
๓.๓ ใบงาน ๐๓ ใบหม่อนไปงานเล้ยี ง
๓.๔ ใบงาน ๐๔ ตามหาสที อง
๒.๔ วัดผลประเมนิ ผล
๑) วิธกี ารวดั ผลประเมินผลการเรยี นรู้
- การตอบคำถามในใบงาน

19

- แบบฝกึ หดั
๒) วิธกี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์

๒.๑ เคร่ืองมือและเกณฑ์ในการประเมนิ ดา้ นความรู้
ตรวจใหค้ ะแนนจากการตอบคำถามในใบงาน แล้วใช้เกณฑ์ในการใหค้ ะแนน ดังนี้

- มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน
- ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน
- ตา่ํ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน
๒.๒ เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๒.๓ เครือ่ งมือและเกณฑใ์ นการประเมนิ ด้านคุณธรรม
สังเกตคณุ ลักษณะดา้ นคณุ ธรรมโดยใชแ้ บบประเมนิ ดา้ นคุณธรรม (ดงั แนบ) นำคะแนนมารวมกัน แล้วใช้เกณฑใ์ น

การใหค้ ะแนน ดงั น้ี
- มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน
- ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน
- ตํา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน
๓) การทดสอบก่อนเรยี น หลังเรยี น แบบฝึกหดั ก่อนเรียน หลังเรียน
ทำแบบฝึกหดั ในใบงานหลังเรียน
๓. อน่ื ๆ .....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

20

แนวการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ขู องแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓.๑

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การแก้ปญั หา เร่ือง การแกป้ ัญหาแบบมีลำดับขั้นตอน เวลา ๒ ชัว่ โมง

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์(วทิ ยาการคำนวณ) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒

แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ข้ันนำ สนทนาซักถามสถานการณจ์ ริงในชวี ติ ประจำวนั เชน่ หลงั จากตื่นนอนในเวลาเชา้ นกั เรียนทำส่ิงใดบ้าง

ขั้นสอน ทำกจิ กรรมที่ ๑ แต่งตัวไปงานเลย้ี ง

ทำใบงาน ๐๑ ชุดไหนดี

ทำใบงาน ๐๒ หน้ากากแสนน่ารัก

ทำกิจกรรมท่ี ๒ รว่ มงานเล้ียง

ทำใบงาน ๐๓ ใบหม่อนไปงานเลย้ี ง

ทำใบงาน ๐๔ ตามหาสที อง

ขั้นสรปุ อภปิ รายและลงข้อสรปุ เก่ียวกับการแก้ปญั หาแบบมีลำดับข้นั ตอน

วัดและประเมินผล ประเมนิ จากการตอบคำถาม ประเมนิ จากการทำกิจกรรมในช้ันเรียน

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓.๑

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๓ การแก้ปัญหา เรอื่ ง การแกป้ ัญหาแบบมลี ำดบั ข้นั ตอน เวลา ๒ ชัว่ โมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาการคำนวณ) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๒

ขอบเขตเนือ้ หา การแกป้ ัญหาโดยเรยี งลำดับการ ทำงานเป็นขน้ั ตอน เพื่อทำใหก้ จิ กรรมประสบความสำเร็จและ

ได้ผลลัพธท์ ี่ ถกู ต้อง

จุดประสงค์ด้านความรู้

๑. อธบิ ายการทำงานในชีวติ ประจำวัน อยา่ งเป็นข้ันตอน

จุดประสงคด์ า้ นทักษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี

๑. แกป้ ญั หาในชีวิตประจำวันอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนและถูกต้อง

จดุ ประสงคด์ า้ นคุณธรรม

๑. มจี ิตสาธารณะต่อสิ่งแวดลอ้ ม

๒. มีความสามัคคชี ว่ ยเหลอื การทำงานกลุ่ม

๓. มีวนิ ัย

๔. มุ่งมั่นในการทำงาน

กิจกรรมการเรียนรู้ (๑ ช่วั โมง)

ช่วั โมงที่ ๑

ข้ันนำ (๑๐ นาที)

๑. ครสู นทนาซักถามนักเรียนว่าหลังจากตน่ื นอนในตอนเช้านกั เรยี นทำกจิ วตั ร ประจำวนั อะไรบ้าง (แนว

คำตอบ : แปรงฟนั อาบนํ้า รับประทานอาหาร) ครู ซักถามต่ออีกวา่ ขัน้ ตอนการแปรงฟัน นักเรียนทุกคนได้แปรง

ฟันเองหรือไม่ หากแปรงฟันเองนักเรียนสามารถบอกข้ันตอนการแปรงฟนั ให้ครูทราบได้ หรือไม่ครขู อความสมัคร

ใจในการตอบคำถามหรือสุ่มเรยี กชือ่ หรอื เรยี กเลขท่ี เพื่อให้นกั เรียนไดต้ อบคำถาม (แนวคำตอบของนักเรยี น : หยบิ

แปรงสฟี ัน บีบยาใส่แปรงสฟี ัน บว้ นปากด้วยนำ้ เปล่า แลว้ แปรงฟนั ถูฟนั ไปมาให้ทวั่ ปาก จากนน้ั บ้วนยาสีฟันใน

ปากทิ้งแล้วบ้วนปาก) หรอื หากนักเรียนบางคนอาจ ตอบคำถามไม่ตรงกับเพ่ือนในช้นั เรียน ครซู กั ถามถงึ สาเหตุ

เพราะเหตุใดจึงไม่ เป็นไปตามลำดับขั้นตอนเพ่ือต้องการทราบแนวคิดวิธกี ารของนักเรียน จากน้นั ครูซักถามต่อว่า

ในการแปรงฟนั เราขาดขั้นตอนใดไดห้ รือไม่เพราะอะไร

21

ขั้นสอน (๓๕ นาที)
๒. ครแู บ่งกลุ่มนักเรียน กลมุ่ ละสองถึงสามคน ครูสนทนาต่อวา่ ครูมสี ถานการณ์ สมมติให้นักเรียนช่วยกนั
แก้ปัญหาแบบเปน็ ข้ันตอน จากน้ันครเู ล่าเรอ่ื งราว สมมุติของใบหมอ่ น ให้นักเรยี นชว่ ยกันแกป้ ัญหาสถานการณ์ต่าง
ๆ ใหก้ ับ ใบหม่อน
๓. ครแู จกใบงาน ๐๑ ชุดไหนดีให้นักเรยี นทำ
๔. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำ เสนอชุดทแี่ ปง้ ต้องใส่ไปในงานเลย้ี งแฟนซี พรอ้ มกับเรยี งลำดบั การแตง่
กายของใบหม่อน มีวิธีเลือกชุดไปงานเลยี้ งอยา่ งไร ครูใหน้ กั เรียนไดล้ องเปลี่ยนชุดใหใ้ บหมอ่ นด้วยส่ือแต่งตัวตุ๊กตา
ในเครื่อง คอมพวิ เตอร(์ โดยครูดาวนโ์ หลดมาไวท้ ี่เครอ่ื งคอมพิวเตอร์)
๕. ครูให้นกั เรยี นทำ ใบงาน ๐๒ หน้ากากแสนน่ารกั
๖. ครสู นทนาซกั ถาม และสุ่มนักเรยี นออกมานำ เสนอใบงาน ๐๒ แต่ละกลุม่ อาจ ใช้คำส่ังที่แตกต่างกนั
โดยให้นกั เรียนแลกเปลี่ยนกนั ออกคำสั่งจากใบงาน เชน่ กลุ่มท่ี ๑ สั่งใหก้ ลมุ่ ที่ ๒ ซงึ่ เป็นตัวแทนของหุ่นยนต์บีม่อน
ทำตามคำสั่งเพ่ือ ให้วาดหนา้ กากแมวสที องได้สำเรจ็
ขั้นสรุป (๑๕ นาท)ี
๗. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปใบงาน ๐๑ และใบงาน ๐๒ วา่ กิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวันหากมีการ
วางแผนคิดแบบเปน็ ขัน้ ตอนกิจกรรมนั้น ๆ จะประสบความสำเร็จในเวลาอนั รวดเรว็
ช่วั โมงท่ี ๒
ขน้ั นำ (๑๐ นาท)ี
๑. ครูทบทวนกจิ กรรมในชัว่ โมงท่ี ๑ สนทนาซกั ถามในแตล่ ะกิจกรรมว่านักเรยี น มีวิธีการทำงานอย่างไรจึง
ประสบผลสำเรจ็ ในการทำงานได้อยา่ งรวดเร็ว (แนวคำตอบมีการวางแผนคิดแบบเป็นข้ันเป็นตอนหรอื มีการลองผดิ
ลองถูก)
ขนั้ สอน (๓๐ นาที)
๒. ครเู ปดิ ไฟล์วิดีโอ “ใบหมอ่ นไปงานเลย้ี ง.wmv” ใหน้ ักเรียนดู
๓. ครูแจกใบงาน ๐๓ ใบหม่อนไปงานเลี้ยง ในกิจกรรมน้ีมีเน้ือเรือ่ งเกยี่ วกับการ ไปงานเล้ียงของใบหม่อน
เมือ่ นกั เรียนไดด้ ูเนื้อเรอื่ งแล้วใหน้ ักเรียนเรยี งลำดบั เนือ้ เรอ่ื งตามภาพท่ีกำหนดให้
๔. ครใู ห้นกั เรียนเล่นตอ่ ภาพ ในเคร่อื งคอมพวิ เตอรโ์ ดยใหเ้ ปดิ ไฟลช์ ่ือ “บ้านแมวสีทอง.swf”
๕. ครสู นทนาซักถามถึงวิธกี ารที่นกั เรยี นนำชน้ิ ส่วนภาพแต่ละช้นิ มาตอ่ นักเรียน ช่วยกันตอบว่าภาพทต่ี ่อ
สำเรจ็ เปน็ ภาพอะไร
๖. ครูแจกใบงาน ๐๔ ตามหาสีทอง ใหน้ กั เรยี นทำ
๗. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับการแกป้ ัญหาแบบมีลำดบั ข้ันตอน
ขั้นสรปุ (๒๐ นาท)ี
๘. ครูให้นักเรียนทำแบบฝกึ หัด เรอ่ื ง การแก้ปญั หาแบบมลี ำดับขน้ั ตอน เพ่ือประเมนิ ความเขา้ ใจ
สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
๑. ใบงาน
๒. คลิปวิดโี อ “ใบหม่อนไปงานเล้ยี ง. wmv”
๓. ไฟล์“แตง่ ตวั ใบหม่อน.swf”
๔. ไฟล“์ บา้ นแมวสที อง.swf”
๕. เครอ่ื งคอมพิวเตอร์
๖.ใบความรู้
ภาระงาน/ชิน้ งาน

22

๑. การตอบคำถามในใบงาน
๒. การทำแบบฝึกหดั
วธิ ีการประเมิน
๑. การตอบคำถามในแบบฝึกหัด
๒. สังเกตทกั ษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยใี นการทำกิจกรรม
๓. สังเกตดา้ นคุณธรรมขณะ ทำกจิ กรรม

เกณฑ์การประเมนิ
๑. การตอบคำถามในแบบฝึกหดั ได้ถูกตอ้ งดว้ ยตนเอง
- มากกว่า ๘๐ % ได้๓ คะแนน
- ๕๐ % - ๗๕ % ได้๒ คะแนน
- ต่าํ กว่า ๕๐ % ได้๑ คะแนน
๒. มีคุณลักษณะดา้ นคณุ ธรรม
- มากกว่า ๘๐ % ได๓้ คะแนน
- ๕๐ % - ๗๕ % ได๒้ คะแนน
- ตํ่ากว่า ๕๐ % ได้๑ คะแนน

23

แบบประเมนิ ด้านคุณธรรม

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓.๑ การแก้ปัญหาแบบมลี ำดับขนั้ ตอน

ชื่อผู้ประเมิน/กลุ่มประเมิน………………………………………….…………………………………………………………………

ชือ่ กลุ่มรับกาประเมิน……………………………………………………………………………………………………………………

ประเมนิ ผลคร้งั ท่ี……………………….... วัน ……………..……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……….………….......

เรอ่ื ง……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ท่ี ลักษณะ/พฤตกิ รรมบ่งช้ี ระดับพฤติกรรม คะแนนที่ได้
เกดิ = ๑ ไมเ่ กิด = ๐

๑ มีจิตสาธารณะต่อสงิ่ แวดล้อม

๒ มคี วามสามัคคชี ่วยเหลอื ในการทำงานกลุ่ม

๓ มีวินัย

๔ มคี วามมงุ่ มนั่ ในการทำงาน

รวมคะแนนท่ีไดท้ ้ังหมด = …………… คะแนน
คณุ ลักษณะตามจดุ ประสงคด์ ้านคณุ ธรรม

- มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน
- ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน
- ตำ่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

แบบประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยใี นการทำกิจกรรม

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓.๑ การแก้ปัญหาแบบมีลำดับขน้ั ตอน

เกณฑ์การประเมิน มีดงั นี้

๓ หมายถงึ ดี ๒ หมายถึง พอใช้ ๑ หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ

ส่งิ ทป่ี ระเมิน คะแนน

การแกป้ ัญหาแบบมลี ำดับข้ันตอน

รวมคะแนน

ทกั ษะกระบวนการ ทาง เกณฑ์การประเมิน ควรปรบั ปรุง (๑)
เทคโนโลยี
ระดบั ความสามารถ ไมส่ ามารถแสดงขน้ั ตอน
การแกป้ ัญหาแบบมี การ แก้ปญั หาแบบมี
ลำดับขน้ั ตอน ดี (๓) พอใช้ (๒) ลำดบั ได้ถงึ แม้จะไดร้ บั
คำแนะนำจากครู หรือ
สามารถแสดงข้ันตอน สามารถแสดงข้นั ตอน
การ แกป้ ัญหาแบบมี การ แก้ปัญหาแบบมี ผู้อน่ื
ลำดบั ได้ ด้วยตนเอง ลำดบั ได้โดย การช้ีแนะ

ของครหู รือผอู้ ื่น

24

แบบรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding

สำหรบั นักเรยี นประถมศึกษา ปีที่ ๑–๓
******************************************

1. โรงเรยี นบ้านหนองนกปีกกา

1.1 ชือ่ ผู้อำนวยการ ดร.ดเิ รก ม่นั เมือง

1.2 ชอื่ ครูทดี่ ำเนินการ นางสาวภัคชัญญา คำแพว

2. การดำเนินกจิ กรรมการจัดการเรยี นรวู้ ิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี นประถมศกึ ษา ปที ่ี ๑–๓

2.1 เปา้ หมายการดำเนินการ

เชิงปริมาณ นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 21 คน สามารถอธิบาย เขยี นบอกเลา่ วาด

ภาพแสดงขัน้ ตอนการแกป้ ัญหาได้ และสามารถเขียนผังงานอย่างงา่ ยแสดงข้นั ตอนการแกป้ ญั หาได้

เชิงคุณภาพ สามารถอธิบาย เขียนบอกเล่า วาดภาพแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ และสามารถ

เขยี นผังงานอย่างง่ายแสดงขั้นตอนการแกป้ ัญหาไดเ้ ป็นอย่างดี

2.2 การดำเนินงานและเครือ่ งมอื ที่ใช้

การดำเนินงาน เคร่ืองมอื ใหค้ วามรู้ เคร่ืองมอื ประเมนิ

ประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจ - หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน - แบบสังเกตพฤติกรรม

ทกั ษะกระบวนการคดิ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.2 รายบุคคล/กล่มุ

- ใบความรู้ - ใบงาน

2.3 ผลการดำเนนิ งาน

1. นกั เรยี นสามารถอธิบายการแสดงขั้นตอนในการแกป้ ญั หาในแตล่ ะแบบได้

๒. นักเรยี นสามารถเขยี นบอกเลา่ แสดงขน้ั ตอนการแกป้ ญั หาได้

๓. นกั เรยี นสามารถวาดภาพแสดงขนั้ ตอนการแกป้ ัญหาได้

๔. นักเรียนสามารถเขียนผังงานอยา่ งง่ายแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหาได้

3. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียนประถมศึกษา ปีที่ ๑–๓ (อย่าง

น้อย 1 แผนการจดั การเรยี นรู้)

ชือ่ แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ชั้น สาระสำคัญ ผลที่คาดหวังผเู้ รยี น

หนว่ ยท่ี ๑ เรอื่ งการแกป้ ัญหา ช้ัน การแก้ปัญหาท่ีดีจะต้องมีการ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย

อย่างเปน็ ขั้นตอน ประถมศกึ ษา วางแผนการแก้ปัญหา และมี การแสดงขั้นตอนในการ
แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรื่องการ ปที ่ี 2 การถ่ายทอดความคิดในการ แก้ปญั หาในแต่ละแบบได้
แกป้ ญั หาเบ้ืองตน้
แก้ปัญ หาออกมาเป็นลำดับ ๒. นักเรียนสามารถเขียน
ข้ันตอน เพื่อให้ง่ายต่อการทำ บอกเล่าแสดงข้ันตอนการ
แก้ปัญหาได้
ความเข้าใจ และตรวจสอบ ๓. นกั เรียนสามารถวาดภาพ
ความถูกต้องหรือกลับไปแก้ไข แสดงข้ันตอนการแก้ปัญหา

ได้ โดยการแสดงขั้นตอนการ ได้
แก้ปัญหา สามารถทำได้โดย ๔. นักเรียนสามารถเขียนผัง
งานอย่างง่ายแสดงข้ันตอน
การเขียนบอกเล่า การวาดภาพ การแกป้ ญั หาได้
หรือใช้สัญลักษณ์

25
4. สง่ิ ที่โรงเรียนจะดำเนนิ การเพ่อื ขับเคล่ือนการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี น
ประถมศึกษา ปีที่ ๑–๓

จัดโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความเหมาะสมต่อการพัฒนาผู้เรียนด้าน Coding ต้องเตรียมความพร้อม
บุคลากรในการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นแนวคิดเชิงคำนวณโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์ (Unplugged Computing
Science) หรือใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยโปรแกรมพ้ืนฐานแบบ offline ตามบริบทของสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลจาก
หนว่ ยงานตา่ ง ๆ มาประกอบการจดั การเรยี นรู้
5. ภาพกิจกรรมทเ่ี กิดขึน้ ภายในโครงการ / กจิ กรรม (จำนวนไม่เกิน 10 ภาพ)

ภาพที่ 1 สอนใหน้ ักเรยี นรู้จักขัน้ ตอนการทำงาน ภาพท่ี 2 วธิ กี ารทำทอดไข่เจยี วตามลำดบั ข้นั ตอน

ภาพที่ 3 สอนให้นักเรยี นร้จู ักสัญลกั ษณ์การทำงาน ภาพที่ 4 สญั ลักษณ์การทำงานของผงั งานอย่างง่าย

ภาพที่ 5 ผงั งานขน้ั ตอนการทำทอดไข่เจยี ว ภาพที่ 6 สามารถบอกขัน้ ตอนการทอดไข่เจียว

ผ้รู ายงาน นางสาวภัคชัญญา คำแพว ตำแหน่ง ครูอัตราจ้าง
โทรศพั ทม์ อื ถือ 0850494558 โทรศัพท์ -
E–mail: [email protected]

26

แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ CODING

สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษา ปที ่ี ๑-๓

***************************************************

โรงเรียนบ้านหนองบวั เหนอื

ผอู้ ำนวยการ นายสภุ าพ เหลก็ บุญเพชร

นางณัฏฐา จันทร์ชุม่ นางสาวกาญจะนา พันทิม

การดำเนินกจิ กรรมการจัดการเรียนรวู้ ิทยาการคำนวณ CODING สำหรบั นักเรียนช้นั

ประถมศึกษา ปที ่ี ๑-๓

เปา้ หมายการดำเนนิ การ

เชิงปรมิ าณ เพื่อ ให้นักเรยี นเกดิ การเรยี นรใู้ นการทำน้ำยาซักผา้ เป็นกจิ กรรม ท่ีนกั เรยี น

สามารถนำกลับไปทำรว่ มกบั ผู้ปกครอง เปน็ การประหยัดค่าใชจ้ ่าย ภายในบา้ น

เชงิ คุณภาพ นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ สามารถเรยี นรู้เรือ่ งการทำนำ้ ยาชกั ผ้าได้ ๘๐ %

การดำเนินงานและเครื่องเคร่ืองมือท่ีใช้

การดำเนินงาน เครอื่ งมอื ให้ความรู้ เคร่ืองมอื ประเมนิ

เตรียมอุปกรณ์ในการทำน้ำยาซกั อุปกรณ์ เช่นชดุ น้ำยาซักผา ถังใบ - การสงั เกต
- การซักถาม
ผา้ เพื่อใหน้ ักเรยี นเรียนรู้ ใหญ่ นำ้ ประปา ขวดบรรจุ - การจดบนั ทึก

ผลการดำเนนิ งาน
นักเรยี นสามารถบอกวธิ กี ารทำทำนำ้ ยาซักผา้ ได้
นักเรยี นสามรถปฏบิ ตั ิได้เกยี่ วกบั ทำน้ำยาซักผ้า
๓. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณ CODING
สำหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา ปีท่ี ๑-๓

ช่ือแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับช้นั สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั
หนนู ้อยพชิ ติ คราบสกปรก ชัน้ ประถมศึกษา ปีท่ี ๑-๓
กนิ อยู่อย่าง นกั เรยี นสามารถทีจ่ ะทำนำ้ ยา
พอเพียงเพ่ือการ ตา่ งๆใชเ้ องได้ เช่นนำ้ ยาซักผา้
บำรุงสขุ ภาพ การ นำ้ ยาลา้ งจาน น้ำยาอาบน้ำ
ทำนำ้ ยาลา้ งจาน ฯลฯ
น้ำยาซกั ผา้ ใชเ้ อง
เป็นการรักษา
ส่ิงแวดลอ้ ม

สู่ทักษะอาชีพ

27
ส่ิงทโ่ี รงเรยี นจะดำเนนิ การเพ่ือขบั เคล่ือนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาการคำนวณ CODING สำหรับนกั เรียนช้ัน
ประถมศึกษาท่ี ๑-๓

นกั เรียนสามารถนำกิจกรรมการทำนำ้ ยาซกั ผา้ ไปทำต่อทบ่ี ้านหรือทำขาย ทำใช้เองเพ่ือประหยดั ในการใช้
จ่าย ในครอบครัว ลดปญั หาการทำลายสิง่ แวดลอ้ ม

นกั เรยี นอธิบายถึงสว่ นประกอบของน้ำยาลา้ งจาน

สว่ นประกอบต่างๆ

28

ลงมือปฏบิ ัติติจริงอธบิ ายถึงวิธีการผสม

สาธิตการปฏบิ ัตโิ ดยการปฏิบตั จิ ริงให้นักเรยี นดู

29

ข้นั ตอนวิธีการทำน้ำยาซักผา้ ลงมือทำ

ขัน้ ตอนการบรรจุผลติ ภณั ท์

30
ทดลองหลังปฏบิ ตั ิได้ผลแคไ่ หนอยา่ งไร

31

แบบรายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมการจดั การเรยี นร้วู ิทยาการคำนวณ Coding

สำหรับนกั เรียนประถมศกึ ษา ปที ่ี ๑–๓
******************************************

1. โรงเรยี น...........บา้ นเกาะอ้ายดว้ น...............................................................................................................
1.1 ชื่อผอู้ ำนวยการ............นางสาววรินทร์ทพิ ย์ หม้ีแสน..........................................................................
1.2 ชื่อครทู ี่ดำเนินการ.........นางสาวนงนภสั พลนอก….............................................................................

2. การดำเนนิ กิจกรรมการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรยี นประถมศึกษา ปที ่ี ๑–๓

2.1 เป้าหมายการดำเนินการ

เชงิ ปริมาณ................นกั เรยี นปที ี่ ๑–๓ โรงเรยี นบ้านเกาะอ้ายด้วน...........................

เชิงคุณภาพ...............นกั เรียนรอ้ ยละร้อยของนักเรียนปีท่ี ๑–๓ ไดด้ ำเนินกิจกรรมการจดั การ

เรยี นร้วู ิทยาการคำนวณ Coding

2.2 การดำเนินงานและเครือ่ งมอื ท่ีใช้

การดำเนนิ งาน เคร่อื งมอื ใหค้ วามรู้ เครือ่ งมือประเมนิ

ดำเนนิ งานตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. กลอ่ ง 5 สี ได้แก่ เขียว แดง ฟา้ ๑. แบบทดสอบก่อนเรยี น 10 ขอ้

โดยจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เรอ่ื งการ เหลือง ชมพู ๒. ใบงาน เรื่องการเปรียบเทียบ

แก้ปญั หาอย่างเป็นขั้นตอน โดย 2. ลูกบอล 5 สี ไดแ้ ก่ เขยี ว แดง ๓. แบบสังเกตพฤติกรรมของ

แบง่ เปน็ ข้นั นำ ข้นั สอน ขนั้ สรุป ฟา้ เหลือง ชมพู นกั เรยี น

โดยใช้เคร่อื งมือใหค้ วามรู้ และมี 3. วัตถุรูปทรงตา่ งๆ ๔. แบบประเมนิ ผลงาน

เครื่องมอื ประเมินผลการเรียน 4. บัตรภาพ เรื่อง เปรยี บเทยี บ

ความแตกต่างของภาพ

5. ใบงานเร่อื ง การเปรยี บเทียบ

6. สีไม้

2.3 ผลการดำเนนิ งาน

1. นักเรียนแก้ปัญหาโดยใช้การลองผดิ ลองถกู ได้ 1๐๐ %

2. นักเรยี นเปรียบเทียบโดยการสงั เกตวัสดทุ มี่ ีความแตกตา่ งกนั ได้ 1๐๐ %

3. นกั เรยี นยกตัวอย่างวิธกี ารแกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั ได้ 1๐๐ %

3. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียนประถมศึกษา ปีท่ี ๑–๓ (อย่าง

นอ้ ย 1 แผนการจัดการเรยี นรู้)

32

ชอ่ื แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ช้ัน สาระสำคัญ ผลที่คาดหวงั ผเู้ รียน

การแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นขน้ั ตอน ชน้ั ปญั หาแตล่ ะปญั หามี 1. แก้ปญั หาโดยใช้การลอง
ประถมศกึ ษา วิธกี ารแก้ท่แี ตกตา่ ง ผดิ ลองถกู ได้ (K) (P)
กัน การลองผิดลอง 2. เปรยี บเทียบโดยการ
ปที ่ี 1 สงั เกตวสั ดทุ ี่มีความแตกตา่ ง
ถูกและการ กันได้ (P)
เปรียบเทยี บเปน็ 3. ยกตวั อยา่ งวิธีการ
วธิ กี ารหนงึ่ ที่นำไปสู่ แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวนั ได้
การแก้ปัญหา (A)

4. สง่ิ ท่ีโรงเรียนจะดำเนนิ การเพื่อขับเคล่อื นการจดั การเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรยี น
ประถมศกึ ษา ปีที่ ๑–๓

โรงเรยี นจดั ใหม้ กี ารเรียนจดั การเรยี นรูว้ ิทยาการคำนวณ Coding สำหรบั นกั เรียนประถมศึกษา ปีที่ ๑–๓

ในกลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สัปดาหล์ ะ 1 ช่ัวโมง

28

5. ภาพกจิ กรรมทเ่ี กดิ ข้นึ ภายในโครงการ / กิจกรรม (จำนวนไมเ่ กิน 10 ภาพ)

กจิ กรรม กล่องและวัตถรุ ปู ทรงต่างๆ กิจกรรม กลอ่ งและวตั ถรุ ปู ทรงต่างๆ

กจิ กรรม กล่องและวัตถุรูปทรงต่างๆ กจิ กรรม กล่องและวตั ถุรูปทรงตา่ งๆ

29

กิจกรรม การเปรียบเทียบ สว่ นประกอบแผนทที่ างเดินเท้า

กิจกรรม การเปรียบเทยี บ กจิ กรรม การเปรียบเทียบ

30

กิจกรรม กล่องและวตั ถรุ ูปทรงต่างๆ กิจกรรม การเปรียบเทียบ

สว่ นประกอบแผนที่ทางเดินเทา้ กิจกรรม การเปรยี บเทยี บ

ผรู้ ายงาน นางสาวนงนภสั พลนอก ตำแหน่ง ครู
โทรศพั ทม์ ือถือ 064-2232061 โทรศัพท์ - (ท่สี ำนกั งาน)
E–mail: [email protected]

31

32

33

แบบรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ Coding
สำหรับนกั เรยี นประถมศกึ ษา ปีที่ ๑–๓

******************************************

1. โรงเรียนบา้ นท่าไม้แดง

1.1 ชื่อผอู้ ำนวยการ......นายธีระ ม่วงไตรรัตน์........................................

1.2 ชอ่ื ครูที่ดำเนนิ การ....นางสาวจันทรเ์ พ็ญ สอนตวั .............................

2. การดำเนินกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรยี นประถมศกึ ษาปี

ที่ ๑-๓

2.1 เปา้ หมายการดำเนนิ การ

เชงิ ปรมิ าณ นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 9 คน

เชงิ คุณภาพ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 9 คน มคี วามสามารถในการ

แก้ปัญหาโดยการลองผดิ ลองถูกได้ ในระดับพอใช้

2.2 การดำเนินงานและเคร่อื งมอื ท่ีใช้

การดำเนนิ งาน เครือ่ งมือใหค้ วามรู้ เคร่อื งมือประเมิน

1. จดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ 1. แผนการจดั การเรียนรู้ 1. แบบประเมนิ

จำนวน 2 ชวั่ โมง 2. ส่อื การจัดการเรียนรู้ 2. แบบสงั เกต

2.จดั ทำสื่อการจดั การเรยี นการสอน 2.1. ใบกจิ กรรม 3. แบบทดสอบ

3.ดำเนนิ การจัดกระบวนการเรียนการ 2.2. ใบงาน

สอน 2.3.แบบฝึกหัด

4.สรปุ ผลการจดั การเรียนการสอน 2.4.การทดสอบ

5.จัดทำรายงานผลการดำเนินกิจกรรม

การจดั การเรยี นรู้

2.3 ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน เรือ่ ง การแกป้ ัญหาโดยวธิ กี ารลองผิดลองถกู

กับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 6 คน จากผลการทดสอบก่อนและหลงั เรยี นนกั เรยี นมี

ความสามารถในการแกป้ ัญหาโดยวธิ กี ารลองผิดลองถูกได้ ในระดบั พอใช้ มผี ลการสังเกตพฤตกิ รรม

การทำกิจกรรมอยู่ในระดบั ดี ผลการตรวจใบงานอยู่ในระดับพอใช้ 5 คน อยู่ในระดับปรบั ปรงุ 1 คน

มกี ารประเมนิ ผลงานรายบุคคลอยใู่ นระดับพอใช้ 5 คน อยใู่ นระดบั ดี 1 คน และทุกคนมผี ลการ

ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์อยู่ในระดบั ดี มีผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนผา่ นทกุ

รายการทุกคน

34

3. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียนประถมศึกษา ปีท่ี

๑–๓ (อยา่ งนอ้ ย 1 แผนการจดั การเรียนร้)ู

ชื่อแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ชน้ั สาระสำคญั ผลทีค่ าดหวังผ้เู รียน

แผนการจัดการเรียนรกู้ าร ประถมศึกษา นักเรียนมคี วามสามารถ นักเรียนมี

แกป้ ัญหาโดยการลองผิด ปีที่ 1 ในการแกป้ ัญหาโดย ความสามารถในการ

ลองถูก จำนวน 2 ชั่วโมง วธิ ีการลองผดิ ลองถกู แก้ปัญหาโดยการลอง

ผิดลองถกู ไดใ้ นระดับ

พอใช้

4. สงิ่ ท่ีโรงเรยี นจะดำเนนิ การเพอ่ื ขับเคล่อื นการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั
นักเรยี นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑–๓

1. นำผลท่ีได้จากการดำเนินงานครงั้ นไ้ี ปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดบั ช้ัน
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 และ 3 ต่อไป

5. ภาพกิจกรรมที่เกดิ ข้นึ ภายในโครงการ / กจิ กรรม (จำนวนไมเ่ กิน 10 ภาพ)

กิจกรรมท่ี 1 ครูอธิบายวิธีหยบิ บอลใส่กล่อง กจิ กรรมท่ี 2 หยบิ วตั ถใุ สก่ ล่อง

35

กจิ กรรมที่ 1 นกั เรียนหยบิ บอลใสก่ ล่อง กิจกรรมที่ 2 ครูอธบิ ายวธิ ีการทำกจิ กรรม

กิจกรรมที่ 2 นักเรยี นหยิบวตั ถุใสก่ ล่อง ครูพดู สรปุ กจิ กรรมที่ 1 และ
2

36

นักเรียนทำใบงานที่ 1 นักเรยี นทำใบงานที่ 3

นักเรียนทำใบงานท่ี 4 สังเกตนักเรยี นทำใบงานและซกั ถาม

ผรู้ ายงาน นางสาวจนั ทร์เพญ็ สอนตวั ตำแหนง่ ครู
โทรศพั ท์มือถอื 0931345371 โทรศัพท์ (ท่สี ำนกั งาน) 055-893658
E–mail: [email protected]

37

รายงานผลการดำเนินกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ Coding
สำหรับนกั เรียนประถมศึกษา ปีที่ ๑–๓

นางสาวจนั ทร์เพ็ญ สอนตัว
ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ

โรงเรียนบ้านทา่ ไมแ้ ดง
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1

38

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

หนว่ ยที่ 3 เรื่อง การแก้ปัญหา จำนวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์

แผนการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง การแก้ปัญหาโดยการลองผดิ ลองถูก เวลา 2 ช่วั โมง

สอนวนั ที่………..…3………......…เดอื น……สงิ หาคม.………….พ.ศ. 2564 ภาคเรียนที่ 1 /2564

ครผู ู้สอน นางสาวจนั ทร์เพญ็ สอนตวั

ตวั ชีว้ ดั

ว 4.2 ป.1/1 แกป้ ญั หาอยา่ งง่ายโดยใช้การลองผดิ ลองถูก

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกวธิ กี ารแก้ปัญหาโดยใช้การลองผิดลองถกู ได้ (K)

2. แก้ปัญหาโดยใชก้ ารลองผิดลองถูกได้ (P)

3. ยกตวั อย่างวิธกี ารแกป้ ัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)

สาระการเรียนรู้

การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเร็จทำไดโ้ ดยใช้การลองผดิ ลองถกู

สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

ปัญหาแต่ละปัญหามวี ิธีการแกท้ แี่ ตกตา่ งกัน การลองผดิ ลองถูกและการเปรียบเทียบเปน็ วิธกี ารหน่ึงท่ี

นำไปส่กู ารแก้ปัญหา

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

1. ความสามารถในการสอื่ สาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มีวินัย

2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. มงุ่ มั่นในการทำงาน

กิจกรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงท่ี 1

ขั้นนำ

1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่ืองการแก้ปัญหาโดยการลองผดิ ลองถกู ( ใบงานท่ี 5 )

คำชแี้ จง นำชนิ้ ส่วนมาตอ่ ให้ตรงกบั ภาพตน้ ฉบบั

2. นักเรียนเล่นกิจกรรมท่ี 1 โดยครชู ้แี จงกติกาดงั นี้

2.1 นกั เรียนจับลูกบอลในตะกร้า แลว้ ดูสขี องลูกบอลที่ตนเองจบั ได้

39

2.2 นกั เรยี นนำลกู บอลไปใส่ในกล่องใหต้ รงตามสที ีต่ นเองจับได้ โดยใหเ้ ดินผา่ นทางเดนิ ท่ี

กำหนดให้

2.3 นักเรียนเลอื กเส้นทางการเดินทางเอง โดยมีเง่ือนไขว่าใหเ้ ดนิ ได้เฉพาะช่องท่ีมรี อยเท้า

2.4 ถ้านักเรยี นเดนิ เหยยี บระเบิดใหย้ ้อนกลบั มาทจ่ี ดุ เร่ิมตน้

3. นกั เรยี นออกมา 3 คนเพื่อเล่นเกมในรอบท่ี 1 นักเรียนสุ่มหยิบลกู บอล แลว้ นำไปวางใสก่ ล่อง จากนั้น

ให้ไป ยืนอยู่ขา้ งหลังกล่อง

4. เมอื่ นกั เรยี นเล่นเกมครบทุกคน นกั เรยี นจดั กลุ่ม โดยแบ่งตามสลี กู บอลทีน่ ักเรยี นจบั ได้

ขัน้ สอน

1. นกั เรยี นเขา้ ตามกลมุ่ ครชู ้ีแจงกจิ กรรมท่ี 2 วา่ นักเรยี นแต่ละกล่มุ นำสิ่งของต่างๆ ในตะกรา้ ไปใสล่ งใน

กลอ่ งให้ครบทกุ ชิน้

2. ครูชี้แจงกติกาการทำกิจกรรมดงั นี้
2.1 ผูเ้ ล่นคนท่ี 1 ของทีม หยิบวัตถุ 1 ช้นิ ในตะกร้า
2.2 นำวัตถุไปใสใ่ นกล่องของกล่มุ ตวั เอง โดยมเี ง่ือนไขว่าให้เดนิ ผา่ นช่องทีม่ ีรอยเท้าเท่าน้ัน
2.3 ถ้านักเรยี นเดินไปชอ่ งทมี่ ีระเบิดต้องยอ้ นกลับมาทจ่ี ดุ เริ่มต้น
2.4 เมื่อผู้เลน่ คนที่ 1 นำวัตถุใสล่ งไปในกล่องซึ่งกลอ่ งจะมีช่องท่ีมีลักษณะแตกต่างกัน ให้
นกั เรียนหาช่องที่สามารถใสว่ ัตถนุ ั้นลงไปในกล่องให้ได้พอดี
2.5 เม่ือผู้เลน่ คนท่ี 1 ใสว่ ัตถุลงในกล่องเรยี บร้อย ให้เดินกลบั มา โดยเดนิ ผ่านชอ่ งทเ่ี ปน็ รอยเทา้
เพือ่ มาแตะมือกบั ผู้เลน่ คนที่ 2
2.6 ผู้เล่นคนที่ 2 ก็ทำเชน่ เดิมกลบั ผูเ้ ลน่ คนที่ 1 และทำไปเรอ่ื ยๆ จนถงึ ผู้เลน่ คนสดุ ทา้ ย
2.7 ทีมไหนใสว่ ตั ถุครบทุกชิ้นเปน็ ทมี แรก ถือว่าเป็นผูช้ นะ

3. นักเรียนลงมอื ปฏิบัติกิจกรรม เมื่อนักเรยี นทำกจิ กรรมครบเรยี บรอ้ ยแล้ว ครูจงึ ถามคำถามกบั กลุ่มที่
ชนะว่า นักเรยี นใช้วธิ กี ารอย่างไร จงึ ทำใหน้ ำวัตถไุ ปใส่กลอ่ งได้ครบในเวลาท่รี วดเรว็

(แนวคำตอบ พจิ ารณาคำตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน)
4. ครสู ุ่มถามนกั เรยี นว่า นักเรียนใช้เวลาเดินจากจุดเรม่ิ ต้น ในกจิ กรรมท่ี 1กบั กิจกรรมท่ี 2 แตกตา่ งกัน
หรอื ไม่

(แนวคำตอบ แตกต่างกัน เพราะรอบแรกใช้เวลานานกว่าเนื่องจากยังไมร่ ้เู สน้ ทาง รอบท่ี 2 เดิน
ได้เร็วข้นึ เพราะรูเ้ สน้ ทางการเดิน)
5. ครอู ธิบายเพิ่มเติมว่าเพราะรอบแรกนักเรียนยังไม่ทราบเสน้ ทางเลยทดลองเดนิ ไปหลายทางอาจเดินถูก
ทางบ้างผิดทางบ้างหรือเดินเหยยี บระเบิดบ้าง จึงทำให้ใช้เวลานาน แต่รอบท่ี 2 นักเรยี นไดเ้ รียนรู้จากรอบ
แรกแล้ว นักเรยี นทราบเสน้ ทางทจ่ี ะเดินแลว้ ทำให้เดินไดเ้ รว็ ขน้ึ
6.ครถู ามนกั เรียนว่า นกั เรยี นสามารถนำวัตถุใส่กล่องได้อย่างไร
(แนวคำตอบ ลองใส่วตั ถลุ งไปในชอ่ งตา่ งๆ ใส่ไปเรื่อยๆ จนกวา่ จะเจอช่องที่พอดแี ละใส่วตั ถนุ น้ั ลงไปได้
7. ครูถามนกั เรยี นว่า ใครคดิ วา่ ตวั เองใส่วตั ถลุ งไปในกล่องใช้เวลานานทีส่ ดุ และเพราะอะไรจงึ ใชเ้ วลานาน
(ครใู หน้ กั เรียนยกมือ สุ่มตอบคำถาม 2 - 3 คน)
(แนวคำตอบ พจิ ารณาคำตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของครผู ูส้ อน)
8.ครูเทวัตถุออกจากลอ่ งลงตะกรา้ แล้วให้นักเรียนหยิบวตั ถชุ น้ิ เดิมหรือลกั ษณะเหมือนเดิมท่ตี นเองจับใส่
กล่องในรอบแรก ให้นักเรียนนำวัตถุใส่ลงไปในกลอ่ งนน้ั อีกรอบ

40

9.ครูสุ่มถามนกั เรียน 2-3 คน ทต่ี อบคำถามวา่ ตนเองนำวัตถลุ งใสใ่ นกล่องชา้ วา่ รอบนี้นกั เรยี นใส่วัตถุได้
เรว็ ขึ้นหรอื ไม่ และเพราะอะไร
(แนวคำตอบ ได้เร็วข้ึนเพราะวา่ เคยใส่ไปแล้ว เลยจำไดว้ ่าใส่ไปทช่ี อ่ งไหน ไม่ตอ้ งทดลองหลายๆ คร้งั
เหมือนรอบแรก)
ขั้นสรปุ
1. ครูสนทนากับนกั เรยี นวา่ เรานำวตั ถใุ สล่ งไปในกลอ่ งบางครั้งเราตอ้ งทดลองหลายคร้งั กวา่ จะใส่ได้
วธิ กี ารนี้คือการลองผดิ ลองถูก ซึง่ เปน็ การแกป้ ญั หาวิธหี นึง่
2. ครูอธิบายจากหนังสือเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.1 หน้า 25 วา่ การลองผิดลองถกู คือการ
แกป้ ัญหาโดยการทดลอง เหมาะสำหรับปัญหาท่ยี ังไม่ทราบแนช่ ัดถึงวิธีการแกป้ ัญหา และอาจต้องใชเ้ วลา
ในการทดลองหาวธิ แี กป้ ัญหาหลายๆ วธิ ี จนกวา่ จะประสบความสำเรจ็

ชัว่ โมงท่ี 2 (ขน้ั สอนต่อ)

ข้ันนำ

ครูทบทวนความรู้เดิมชัว่ โมงที่แล้วโดยถามวา่ หากนักเรยี นเจอปญั หาแต่ยังไม่ทราบแน่ชดั ถึงวิธีการ

แกป้ ญั หานักเรียนจะใช้วธิ ีการแก้ปัญหาอยา่ งไร พร้อมบอกเหตผุ ล

(แนวคำตอบ แกป้ ญั หาโดยการลองผิดลองถูก เพราะเปน็ การแก้ปญั หาท่ตี ้องทดลองหาวธิ ีแก้ปัญหาหลายๆ วธิ ี

จนกวา่ จะประสบความสำเร็จ)

ขัน้ สอน

1.ครแู จกใบงานที่ ๑ เรอื่ ง ชว่ ยหนูจดี๊ ตามหาแตงโม ให้นักเรียนทำ และตอบคำถามในใบงาน

2.ครแู จกใบงานที่ ๒ เร่ือง ช่วยแม่นกตามหาลูกนก ให้นักเรียนทำ และตอบคำถามในใบงาน

3.ครูแจกใบงานท่ี ๓ เรอ่ื ง ชว่ ยหมนู อ้ ยไปเกาะสมบัติ ใหน้ ักเรยี นทำ และตอบคำถามในใบงาน

4.ครูแจกใบงานที่ ๔ เรื่อง หลงั ฉันหายไปไหน ใหน้ กั เรียนทำ แลว้ ทำกจิ กรรมตามคำชแี้ จงในใบงาน

5.ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ว่า ถ้าครไู ปตลาดเพ่ือไปซื้อรองเท้า แตว่ ่ารองเทา้ วางกองรวมกันอยูห่ ลายคู่

จนครเู จอรองเทา้ ที่ถกู ใจ แตไ่ ด้มาเพยี งขา้ งเดียว นักเรียนช่วยคุณครคู ดิ ได้ไหมค่ะ ว่าครูจะหารองเท้าอกี

ขา้ งเจอได้อย่างไร (แนวคำตอบ พจิ ารณาคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครูผ้สู อน)

6. ส่มุ นกั เรียนใหย้ กตัวอย่างสถานการณ์ และซักถามรว่ มกัน

7.ครใู ห้นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง การแก้ปัญหาโดยการลองผดิ ลองถูก ( ใบงานท่ี 5 )

คำช้ีแจง นำช้นิ ส่วนมาตอ่ ใหต้ รงกับภาพตน้ ฉบบั

ข้นั สรุป

1.ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุป วา่ การลองผิดลองถกู คือการแกป้ ัญหาโดยการทดลอง เหมาะสำหรับ

ปญั หาที่ยงั ไมท่ ราบแน่ชดั ถึงวิธีการแก้ปญั หา และอาจต้องใชเ้ วลาในการทดลองหาวิธีแก้ปญั หาหลายๆ วธิ ี จนกว่า

จะประสบความสำเร็จ

2. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมว่า เมือ่ เราลงมอื แกป้ ัญหาแล้วเราต้องตรวจสอบผล บางครัง้ การแก้ปัญหาของเรา

อาจไมป่ ระสบผลสำเรจ็ เราก็ต้องย้อนกลบั ไปดูวิธกี ารแก้ปัญหา วา่ เราทำถกู วธิ หี รอื ไม่ เลอื กวธิ ีแกป้ ัญหาถูกต้อง

ไหมและลงมือแก้ปญั หาจนสำเร็จ

3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปกระบวนการแกป้ ญั หาวา่ มี 4 ขน้ั ตอนจากหนังสอื เรยี นเทคโนโลยี

(วิทยาการคำนวณ) ป.1 มี 4 ขนั้ ตอน

1. วิเคราะห์และทำความเข้าใจกับปญั หา 2. วางแผนการแกป้ ญั หา

3. ลงมือแก้ปัญหา 4. ตรวจสอบผลการแก้ปัญหา

41

สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

1. ใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง ช่วยหนจู ี๊ดตามหาแตงโม

2. ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง ช่วยแม่นกตามหาลกู นก

3. ใบงานที่ ๓ เรอื่ ง ช่วยหมูนอ้ ยไปเกาะสมบตั ิ

4. ใบงานที่ ๔ เร่ือง หลงั ฉนั หายไปไหน

5. ใบงานที่ ๕ เรอื่ ง การลองผดิ ลองถูก

6. กิจกรรมท่ี 1 , กิจกรรมท่ี 2

การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วธิ ีการวัดและประเมินผล เครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล

1.บอกวธิ ีการแก้ปัญหาโดยใช้ 1. สังเกต 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล/กลมุ่
2. แบบประเมินผลงานรายบุคคล/กล่มุ
การลองผดิ ลองถูก 2. ซักถาม

2. แก้ปญั หาโดยใชก้ ารลองผิดลอง 1. ประเมินผลงานรายบคุ คล/กล่มุ 1. แบบประเมนิ ผลงานรายบุคคล/กลุ่ม
2. ใบงาน
ถกู จากกิจกรรม
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล/กลุ่ม
2. ตรวจใบงาน
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล/กลมุ่
3. ยกตัวอย่างวิธีการแกป้ ัญหาใน 1. ซักถาม 2. แบบประเมินผลงานรายบุคคล/กลุม่
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล/กลุ่ม
ชีวิตประจำวันได้ 2. แบบประเมินผลงานรายบุคคล/กลุ่ม

4.ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล/กลุม่

ประสงค์ 2. ประเมินผลงานรายบคุ คล/กลุม่

5.ประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของ 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล/กล่มุ

ผู้เรียน 2. ประเมนิ ผลงานรายบุคคล/กลมุ่

ความเหน็ ของผู้สอน

นักเรียนมีทกั ษะในการแกป้ ัญหา

ลงชอ่ื ผสู้ อน
(นางสาวจนั ทรเ์ พญ็ สอนตัว)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ
ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหาร

ครจู ัดทำแผนการจดั การเรียนการสอนไดด้ ี ฝึกใหผ้ เู้ รยี นร้จู กั การแก้ปัญหา และมสี ื่อการเรียนการสอนที่
เหมาะสม มีการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ

ลงช่ือ ผู้บรหิ าร
(นายธรี ะ ม่วงไตรรตั น)์

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านท่าไม้แดง


Click to View FlipBook Version