The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการดำเนินโครงการประชุมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding 2564ของศน.เชาวลิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการดำเนินโครงการประชุมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding 2564ของศน.เชาวลิต

รายงานการดำเนินโครงการประชุมการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding 2564ของศน.เชาวลิต

42

บันทกึ หลังการสอน
ผลการจดั การเรียนรู้

จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรอื่ งการแก้ปญั หาโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถูก ทำใหน้ ักเรยี นสามารถ
บอกวธิ กี ารแกป้ ญั หาได้ ยกตัวอยา่ งสถานการณ์ได้ และมีความสามารถในการแกป้ ญั หาโดยการลองผิดลองถกู ใน
ระดบั พอใช้ ผลจากการตรวจใบงานพบวา่ นักเรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ 5 คน อยใู่ นระดบั ปรับปรงุ 1 คน ผลจาก
การประเมินผลงานรายบคุ คลนักเรียนอยู่ในระดบั พอใช้ 5 คน อยูใ่ นระดับดี 1 คน ผลจากการประเมิน
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์อยู่ในระดบั ดี และผลจากการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนอยู่ในเกณฑผ์ า่ นทกุ
คน
ปัญหา/อุปสรรค

1. จากการทำกิจกรรมที่ 1 และกจิ กรรมที่ 2 นกั เรียนบางคนไม่ปฏิบตั ิตามกตกิ าในการเลน่
2. จากการทำใบงานมนี กั เรียนบางคนไมต่ ั้งใจฟังคำชแ้ี จงทีค่ รูอธิบายทำให้การทำใบงานไม่ถูกต้อง
ข้อเสนอแนะ
1. จากการทำกจิ กรรมที่ 1และกิจกรรมท่ี 2 ครคู วรพูดเนน้ ยำ้ ให้นกั เรียนปฏิบัตติ ามกติกา หรอื ไม่ให้คะแนน

เมือ่ นักเรยี นทำผิดกติกา
2. จากการทำใบงาน ครูควรพูดและอธบิ ายคำช้ีแจงการทำใบงานให้นกั เรยี นฟงั 2 ครง้ั และซกั ถามนักเรียน

จนนกั เรียนเขา้ ใจ แลว้ จึงให้ลงมือทำใบงาน

ลงชอื่ ผู้สอน
(นางสาวจนั ทร์เพ็ญ สอนตัว)

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ

43

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแี้ จง :ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งวา่ งทีต่ รงกบั ระดบั คะแนน

ลำดั ชือ่ – สกลุ มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการ รวม ผลการ
บที่ 3 21321 ทำงาน 9 ประเมนิ
คะแนน
321

1 / / / 9 ดี
เดก็ ชายคณุ านนท์ รอดคุ้ม

2 - ---- - - - - - -
เดก็ ชายนพดล มนั หนู

3 / / / 7 ดี
เด็กชายบดนิ ทร์ อนันตศิริ

4 // // 8 ดี
เดก็ ชายพรี ภัทร ฟักทองอยู่

5 / / / 7 ดี
เด็กชายรุจโิ รจน์ พงึ่ วงษ์เขยี น

6 - ---- - - - - - -
เด็กชายวายุ สขุ เกษม

7 / / / 9 ดี
เดก็ หญงิ นภัสสร อมิ่ เอีย่ ม

8 / / / 9 ดี
เด็กชายธนภูมิ เทยี นฉาย

9 - ---- - - - - - -
เดก็ ชายณัฐพงศ์ ศรสี งคราม

ลงชือ่ ผปู้ ระเมิน

(นางสาวจันทรเ์ พ็ญ สอนตัว)

เกณฑ์การให้คะแนน .....3......./.....ส.ค...../....64........
เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน 7 - 9 ดี

3 - 6 พอใช้

ตำ่ กว่า 3 ปรบั ปรงุ

44

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

คำช้ีแจง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งว่างทต่ี รงกับระดบั

คะแนน

แก้ปญั หาโดย ยกตวั อยา่ งวิธี ผลการ

ลำดับ ช่อื – สกลุ ตอบข้อซักถาม การลองผดิ แกป้ ัญหาโดยการ รวม ประเมนิ
ที่ ลองถกู ลองผิดลองถูก 9

3 2 1 3 2 1 3 2 1 คะแนน

1 / / / 6 พอใช้
เดก็ ชายคณุ านนท์ รอดคุ้ม

2 - - - - -- - - - - -
เด็กชายนพดล มันหนู

3 / / / 6 พอใช้
เดก็ ชายบดนิ ทร์ อนนั ตศิริ

4 / / / 6 พอใช้
เดก็ ชายพรี ภัทร ฟกั ทองอยู่

5 // / 5 พอใช้
เดก็ ชายรจุ ิโรจน์ พง่ึ วงษเ์ ขยี น

6 - - - - -- - - - - -
เด็กชายวายุ สขุ เกษม

7 / / / 6 พอใช้
เดก็ หญิงนภสั สร อม่ิ เอ่ยี ม

8 / / / 7 ดี
เด็กชายธนภมู ิ เทยี นฉาย

9 - - - - -- - - - - -
เด็กชายณัฐพงศ์ ศรสี งคราม

ลงชือ่ ผ้ปู ระเมิน
(นางสาวจนั ทร์เพญ็ สอนตัว)
เกณฑ์การใหค้ ะแนน .....3......./.....ส.ค....../......64........
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 2 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

7 - 9 ดี

3 - 6 พอใช้

ต่ำกวา่ 3 ปรบั ปรุง

42

แบบตรวจผลงานจากใบงาน
คำช้แี จง : ให้ ผู้สอน ตรวจใบงานของนักเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งวา่ งทต่ี รงกบั ระดับคะแนน

ลำดับ ชอ่ื – สกลุ ความถูกต้อง ความคิด คดิ แก้ปญั หา รวม
ท่ี วเิ คราะห์ 9
คะแนน
3 2 13 2 1321

1 / //6
เด็กชายคุณานนท์ รอดคุ้ม

2 - - - - - --- - -
เดก็ ชายนพดล มนั หนู

3 / / /5
เดก็ ชายบดินทร์ อนันตศิริ

4 / / /6
เด็กชายพรี ภทั ร ฟักทองอยู่

5 / / /6
เด็กชายรจุ โิ รจน์ พงึ่ วงษ์เขียน

6 - - - - - --- - -
เดก็ ชายวายุ สขุ เกษม

7 / //6
เดก็ หญงิ นภสั สร อม่ิ เอีย่ ม

8 / //6
เดก็ ชายธนภมู ิ เทยี นฉาย

9 - - - - - --- - -
เดก็ ชายณฐั พงศ์ ศรีสงคราม

ลงชือ่ ผู้ประเมิน

(นางสาวจันทรเ์ พญ็ สอนตวั )

.......3...../.....ส.ค......./......64.........
เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ดี ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
ปานกลาง ให้ 2 คะแนน

ปรบั ปรุง ให้ 1 คะแนน 7 - 9 ดี

3 - 6 พอใช้

ตำ่ กว่า 3 ปรับปรุง

43

แบบบนั ทึกคะแนนใบงาน

ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานท่ี รวม
4 คะแนน
ลำดับ ชอ่ื – สกลุ 123 3
10
ที่ 1
322 - 5
1 -
1 112 1 3
เดก็ ชายคณุ านนท์ รอดคุ้ม 2 5
- 6
2 --- 2 -
เดก็ ชายนพดล มนั หนู 2 5
- 5
3 002 -
เด็กชายบดนิ ทร์ อนันตศริ ิ

4 1 1 2
เด็กชายพรี ภทั ร ฟกั ทองอยู่

5 2 1 1
เด็กชายรุจิโรจน์ พงึ่ วงษเ์ ขยี น

6 ---
เดก็ ชายวายุ สุขเกษม

7 102
เด็กหญิงนภสั สร อม่ิ เอีย่ ม

8 012
เด็กชายธนภูมิ เทยี นฉาย

9 ---
เดก็ ชายณัฐพงศ์ ศรสี งคราม

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ลงช่อื ผู้ประเมิน
(นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ สอนตวั )
......3..../...ส.ค. ..../.....64....

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
7 - 10 ดี

4-6 พอใช้
1- 3 ปรบั ปรุง

44

แบบบนั ทึกคะแนนการทดสอบก่อน-หลงั เรียน

ลำดับ ช่ือ – สกลุ ทดสอบกอ่ นเรยี น ทดสอบหลังเรียน ผลการประเมิน
ท่ี
9 9 พอใช้
1 4 4 -
เด็กชายคณุ านนท์ รอดคุ้ม - -
4 4 พอใช้
2 2 4 พอใช้
เด็กชายนพดล มันหนู 2 4 พอใช้
- -
3 4 4 -
เด็กชายบดินทร์ อนันตศิริ 4 6 พอใช้
- - พอใช้
4
เด็กชายพีรภัทร ฟกั ทองอยู่ -

5
เด็กชายรจุ โิ รจน์ พง่ึ วงษเ์ ขียน

6
เด็กชายวายุ สขุ เกษม

7
เดก็ หญงิ นภสั สร อิ่มเอ่ยี ม

8
เดก็ ชายธนภมู ิ เทียนฉาย

9
เด็กชายณฐั พงศ์ ศรสี งคราม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชือ่ ผปู้ ระเมิน
ถกู ต้อง 7- 9 ช้ินสว่ น ให้ 3 คะแนน (นางสาวจนั ทรเ์ พญ็ สอนตวั )
ถูกต้อง 4 -6 ช้นิ สว่ น ให้ 2 คะแนน
ถกู ต้อง 1 -3 ชน้ิ ส่วน ให้ 1 คะแนน ....3.../......ส.ค. ../....64......

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

7 - 9 ดี

3 - 6 พอใช้

ต่ำกว่า 3 ปรบั ปรงุ

42

แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการทำกจิ กรรม
คำชแี้ จง 1. ใหค้ รูกาเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งทีน่ กั เรียนปฏบิ ัติถกู ต้อง ตามระดับคณุ ภาพ

ระดบั 3 หมายถงึ ดี / ระดบั 2 หมายถึง พอใช้ / ระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง

2. สรุปผลการประเมิน ผ่าน / ไม่ผ่าน โดยใชเ้ กณฑน์ ักเรยี นต้องผา่ นระดบั 2 ขึน้ ไป

ทุกรายการ จึงจะถือว่า ”ผา่ น”

มคี วาม

ชอ่ื – สกลุ มสี มาธิ มีความ สามัคคี รวม
ลำ แม่นยำ/ 15
ดบั ที่ มคี วาม ปฏิบัตติ าม มคี วามรู้ คะแน
สนุกสนาน กติกา

321321321321321 น

1 / / / / / 15
เดก็ ชายคุณานนท์ รอดคุ้ม

2 --------------- -
เดก็ ชายนพดล มันหนู

3 // / // 13
เด็กชายบดินทร์ อนันตศริ ิ

4 // / / / 11
เด็กชายพรี ภัทร ฟักทองอยู่

5 / // // 12
เด็กชายรุจิโรจน์ พง่ึ วงษ์เขยี น

6 --------------- -
เด็กชายวายุ สขุ เกษม

7 / / / / / 14
เด็กหญงิ นภัสสร อิ่มเอยี่ ม

8 / / / / / 15
เด็กชายธนภมู ิ เทียนฉาย

9 --------------- -
เดก็ ชายณฐั พงศ์ ศรีสงคราม

ลงช่อื ผูป้ ระเมนิ
(นางสาวจันทร์เพญ็ สอนตัว)
....3../......ส. ค. .../...64........

เกณฑ์การประเมนิ ผล 43
การสงั เกตพฤติกรรมการทำกิจกรรม
ระดับ 1
ที่ รายการประเมนิ ระดบั 3 ระดับคณุ ภาพ ไมต่ งั้ ใจทำกิจกรรม
1 มสี มาธิ ระดบั 2
ตัง้ ใจทำกิจกรรม ตัง้ ใจทำกิจกรรม ไม่สนกุ สนาน
2 มคี วามสนกุ สนาน ทกุ ข้ันตอนอย่าง ไมท่ ุกขัน้ ตอน ในการเลน่ เกม
ใจจดใจจอ่
สนุกสนานบางเวลา
สนุกสนานตลอดเวลา บางเวลาเลน่ กบั เพอื่ น

3 ปฏิบัตติ ามกตกิ า ปฏบิ ัตติ ามกตกิ า ปฏิบตั ติ ามกตกิ า ปฏบิ ัตติ ามกตกิ า
ทกี่ ำหนดไว้ ไมค่ รบทุกขนั้ ตอน เพยี งเล็กนอ้ ย
4 มคี วามแมน่ ยำ
มีความรู้ สามารถวางสิ่งของ สามารถวางส่ิงของ สามารถวางสงิ่ ของ
ลงในช่องไดถ้ กู ต้อง ลงในชอ่ งไดถ้ ูกต้องบางชนิ้ ลงในชอ่ งไม่ถกู ตอ้ ง
5 ความสามคั คี ทง้ั หมด
มคี วามสามคั คี รว่ มมือกบั ทะเลาะกับเพอ่ื น ไม่สามารถ
มีความสามคั คี รว่ มมือ
กับเพ่ือนไดต้ ลอดเวลา เพอ่ื นเปน็ บางครง้ั ทำกิจกรรมกบั เพ่อื นได้
ในการทำกิจกรรม
ตลอดเวลาทำกจิ กรรมได้

เฉพาะบางคร้งั

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ

11 - 15 ดี

6 - 10 พอใช้

1- 5 ปรับปรงุ

44

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น

1. ให้ครกู าเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งทนี่ ักเรียนปฏิบัติถกู ต้อง ตามระดบั คณุ ภาพ

ระดับ 3 หมายถึง ดี / ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ / ระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

2. สรุปผลการประเมิน ผา่ น / ไมผ่ า่ น โดยใชเ้ กณฑ์นักเรยี นต้องผ่านระดับ 1 ขน้ึ ไป

ทุกรายการ จึงจะถือว่า ”ผ่าน”

สมรรถนะสำคัญ สรุปผล

ท่ี ชอื่ – สกลุ ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถ ความสามา

ใน ใน ใน รถในการใช้ ผ่าน ไมผ่ า่ น
การส่ือสาร การคดิ การแกป้ ญั หา ทักษะชวี ติ

1 เดก็ ชายคุณานนท์ รอดคุ้ม 2 2 2 2 /

2 เดก็ ชายนพดล มันหนู - - - - -

3 เดก็ ชายบดินทร์ อนนั ตศริ ิ 1 1 1 1/

4 เดก็ ชายพรี ภัทร ฟักทองอยู่ 1 1 1 1/

5 เด็กชายรจุ โิ รจน์ พ่งึ วงษ์เขียน 1 1 1 1/

6 เด็กชายวายุ สุขเกษม - - - --

7 เด็กหญิงนภสั สร อ่มิ เอย่ี ม 2 2 2 2/

8 เดก็ ชายธนภูมิ เทียนฉาย 3 3 3 3/

9 เดก็ ชายณัฐพงศ์ ศรสี งคราม - - - --

ลงช่ือ ผู้ประเมนิ
(นางสาวจันทรเ์ พญ็ สอนตัว)
....3...../......ส. ค. ...../.....64...........

45

ภาคผนวก

46

ใบงานท่ี ๑ ชว่ ยหนูจด๊ี ตามหาแตงโม

ลากเสน้ พาหนจู ี๊ดไปหาแตงโม

เสน้ ทางไปหาแตงโมมี .......................................เสน้ ทาง

47

ใบงานท่ี ๒ ชว่ ยแม่นกตามหาลูกนก

ลากเสน้ เพื่อชว่ ยแม่นกตามหาลกู นก ครงั้ นมี้ ีอปุ สรรคเป็นไข่ของนกชนิดอ่นื ขวางอยู่ ให้
นกั เรยี นใช้ดินสอสที ต่ี า่ งกัน

เส้นทางไปหาลกู นกมี .......................................เส้นทาง
เส้นทาง.............................สนั้ ทส่ี ุด

48

ใบงานท่ี ๓ ชว่ ยหมนู ้อยไปเกาะสมบตั ิ

ลากเส้นเพ่อื ชว่ ยหมูนอ้ ยหาทางไปเกาะสมบตั ิ

เส้นทางไปเกาะสมบัตมิ ี ....................เส้นทาง
เส้นทาง.............................พบเกาะสมบัติ

49

50

ใบงานท่ี ๕ เรอ่ื งการลองผิดลองถูก ภาพต้นฉบับ

นำภาพ A-I มาประกอบกนั ใหเ้ หมอื นภาพตน้ ฉบบั โดยเขียนตวั อกั ษรลงตาราง

A BC

DEF
G HI

51

กจิ กรรมท่ี 1

52

กจิ กรรมท่ี 2

53

เฉลย

ใบงานท่ี ๑ ชว่ ยหนูจด๊ี ตามหาแตงโม

ลากเสน้ พาหนูจ๊ีดไปหาแตงโม

เสน้ ทางไปหาแตงโมมี .................3......................เส้นทาง

54

ใบงานที่ ๒ ชว่ ยแมน่ กตามหาลกู นก

ลากเสน้ เพื่อชว่ ยแมน่ กตามหาลูกนก ครง้ั นมี้ ีอปุ สรรคเป็นไข่ของนกชนดิ อืน่ ขวางอยู่ ให้
นกั เรยี นใช้ดนิ สอสที ตี่ า่ งกนั

เส้นทางไปหาลกู นกมี ..............3.........................เสน้ ทาง
เส้นทาง...........1..................สัน้ ที่สดุ

55

ใบงานท่ี ๓ ชว่ ยหมนู อ้ ยไปเกาะสมบัติ

ลากเส้นเพ่อื ชว่ ยหมนู อ้ ยหาทางไปเกาะสมบตั ิ

เสน้ ทางไปเกาะสมบัติมี .........3...........เสน้ ทาง
เส้นทาง...........1...2..3.............พบเกาะสมบตั ิ

56

BA
D

EF
CG

57

ใบงานท่ี ๕ เรื่องการลองผดิ ลองถกู ภาพต้นฉบับ

นำภาพ A-I มาประกอบกันให้เหมือนภาพต้นฉบบั โดยเขยี นตัวอกั ษรลงตาราง

B C
A

DEF
G HI

CAB
GED
FH I

58

แบบรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding
สำหรบั นกั เรยี นประถมศึกษา ปที ่ี 1–3

******************************************

1. โรงเรียน ชมุ ชนบา้ นปา่ มะมว่ ง
1.1 ชอื่ ผูอ้ ำนวยการ นางอัญชัญ ครุธแก้ว
1.2 ชอื่ ครทู ด่ี ำเนนิ การ นางณัฏฐา โพธิเ์ งิน

2. การดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี นประถมศกึ ษา ปที ี่ 1–3

2.1 เปา้ หมายการดำเนินการ

เชิงปรมิ าณ

1. นักเรยี นชนั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 โรงเรียนชมุ ชนบา้ นปา่ มะมว่ ง เรยี นรู้วิทยาการคำนวณ

คิดเป็นร้อยละ 100

2. ครผู ูส้ อน โรงเรียนชุมชนบ้านป่ามะมว่ ง มีสือ่ การสอนแบบ Unplugged Coding เพอ่ื

พัฒนาจัดการเรียนรวู้ ิทยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรียนประถมศึกษา ปที ่ี 1–3

เชงิ คณุ ภาพ

1. ผเู้ รยี นได้เข้าถงึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการฝกึ ฝนกระบวนการคิดเชงิ คำนวณ

อย่างมีคณุ ภาพ ดว้ ยการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ผา่ นส่ือการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย

2. ครูผสู้ อนวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3 สามารถจดั การเรยี นรู้

รายวิชาวิทยาการคำนวณ Coding เพื่อพฒั นาทกั ษะการแก้ไขปญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน

2.2 การดำเนินงานและเคร่ืองมือทใี่ ช้

การดำเนนิ งาน เคร่ืองมอื ให้ความรู้ เครอ่ื งมอื ประเมนิ

1. ประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรม แบบลงทะเบยี นเขา้ ร่วมประชมุ รายงานการประชุม

นำเสนอต่อผูบ้ รหิ าร (Plan)

2. จัดทำส่ือการสอนแบบ Unplugged ส่ือการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ แบบประเมนิ ผลก่อน-หลังเรยี น

Coding (D0) Coding แบบ Unplugged

- ประเมินผลกอ่ นทดลองใชส้ ่ือ Coding

การเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding

แบบ Unplugged Coding กับ

กล่มุ เปา้ หมาย

- ทดลองใช้ส่ือการเรียนรู้วิทยาการ

ค ำน ว ณ Coding แ บ บ Unplugged

Coding กับกลุม่ เปา้ หมาย

- ประเมนิ ผลหลังทดลองใชส้ ื่อ

การเรยี นร้วู ทิ ยาการคำนวณ Coding

แบบ Unplugged Coding กับ

กลมุ่ เป้าหมาย

59

การดำเนินงาน เครื่องมือใหค้ วามรู้ เครือ่ งมอื ประเมิน

3. เปรียบเทยี บผลการประเมินกอ่ นและ ผลการประเมินก่อนและหลงั ผลการดำเนิ น กิจกรรม การ
จัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ
หลังการใชส้ ื่อการเรยี นรวู้ ิทยาการ การใช้สือ่ การเรยี นร้วู ิทยาการ Coding

คำนวณ Coding แบบ Unplugged คำนวณ Coding แบบ

Coding ของกลุ่มเปา้ หมาย (Check) Unplugged Coding

- สรปุ ผลการดำเนินกิจกรรมการ

จัดการเรยี นรูว้ ิทยาการคำนวณ Coding

4. ปรับปรุงแก้ไขและเผยแพรส่ ่ือสื่อการ ข้อเสนอแนะและแนวปฏบิ ัติ

เรีย น รู้ วิท ย าก ารค ำน ว ณ Coding

แบบ Unplugged (ACT)

2.3 ผลการดำเนนิ งาน
นกั เรียนได้มีโอกาสได้เขา้ ถึงกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าวิทยาการคำนวณได้ทั่วถึง เนื่องจากส่อื การ
เรียนการสอนที่จัดทำขึ้นเป็นส่ือการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding แบบ Unplugged Coding ทำให้แก้ไข
ปัญหาเรื่องอุปกรณ์การเรียนการสอนท่ีไม่มคี วามพรอ้ ม เช่น คอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต เป็นต้น ความสนใจและความ
ใส่ใจ ในการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณมากข้ึน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) ผ่านสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย กระตุ้น และสร้างแรงจูงใจในการเรียน ทำให้ผลการประเมินก่อนและ
หลงั การการใช้สื่อการเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding แบบ Unplugged Coding ในการจดั การเรียนการสอน
มีแนวโนม้ ท่สี งู ข้นึ

3. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียนประถมศึกษา
ปที ี่ 1–3 (อยา่ งนอ้ ย 1 แผนการจัดการเรียนร้)ู

60

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เวลา 3 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 อัลกอริทึมกบั การแก้ปัญหา เวลา 1 ช่วั โมง
เรอ่ื ง การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชีวิตจริงอยา่ งเป็น

ขนั้ ตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมีจรยิ ธรรม

ตวั ชี้วัด
ว 4.2 ป.3/1 แสดงอลั กอริทึมในการทำงานหรือการแกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์

หรอื ข้อความ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเหตผุ ลในการแกป้ ัญหา (K)
2. วิเคราะหป์ ัญหาและใช้เหตุผลในการแกป้ ัญหา (P)
3. เหน็ ความสำคญั ของการแก้ปญั หา (A)

สาระการเรียนรู้
ในการดำรงชีวิตจะต้องพบกับปญั หาต่าง ๆ มากมาย โดยปัญหาแตล่ ะปญั หามคี วามซบั ซ้อนไม่เทา่ กนั

ซง่ึ จะต้องใชเ้ หตุผล เง่ือนไข กฎเกณฑ์ และวธิ ีการท่เี หมาะสม เพ่ือแก้ปญั หาน้ันใหส้ ำเร็จ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขน้ั สังเกต รวบรวมขอ้ มูล

1. นักเรียนรว่ มกันสนทนาเกี่ยวกับปญั หาในชีวิตประจำวนั แล้วเขยี นคำตอบของนกั เรียนเป็นแผนภาพ
ความคิดบนกระดาน ดังตัวอย่าง

ดนิ สอหำย ขน้ึ รถโรงเรยี นไม่
ปัญหา ทนั

ในชีวิตประจาวนั

ไดค้ ะแนนสอบน้อย ไมส่ บำย

2. นกั เรยี นร่วมกนั สงั เกตแผนภาพความคิดและสนทนาแลกเปลยี่ นความคิดเห็นเก่ยี วกับวธิ กี ารแก้ปญั หา
ดังกล่าว

3. นกั เรียนรว่ มกันสนทนาแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ เกี่ยวกับการแกป้ ัญหา จากการตอบคำถาม ดงั น้ี

61

เม่ือนักเรยี นเติบโตขึ้นและพบปญั หาเดิมซึง่ เกดิ ขึ้นอีกหรืออาจพบปญั หาใหม่ นักเรยี นจะมวี ิธแี ก้ปัญหา
ท่ีดีกว่าเดิมหรือไม่ อย่างไร

4. นกั เรียนร่วมกนั ศึกษาค้นควา้ ข้อมลู เกี่ยวกบั การใชเ้ หตผุ ลในการแก้ปญั หา จากแหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ ท่ี
หลากหลาย เช่น การสอบถามจากครหู รือผ้ปู กครอง และห้องสมุด

ข้ันคดิ วิเคราะห์และสรปุ ความรู้
5. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละเท่า ๆ กัน จากนนั้ ร่วมกนั วิเคราะห์และอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเห็น
เก่ยี วกบั การฝึกคิดแก้ปญั หาจากตัวอยา่ งการเดินทางของนักบินอวกาศไปยังโลก
6. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั วิเคราะหภ์ าพเก่ียวกับการเดินทางของนักบนิ อวกาศไปยังโลก แล้วเขยี น
คำตอบของนักเรียนบนกระดาน
7. นักเรียนรว่ มกนั สรุปความคิดรวบยอดเกยี่ วกบั การแก้ปัญหา ดงั น้ี

การแกป้ ัญหาเป็นการหาวธิ หี รือการทำงานนน้ั ใหส้ ำเร็จ ปัญหาที่พบสามารถแกไ้ ขได้งา่ ยหรือบาง
ปัญหาอาจใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะมาชว่ ยอย่างเป็นขัน้ ตอน รวมถงึ การตรวจสอบความสมเหตสุ มผล หรอื ความเปน็ ไป
ได้ในการแก้ปญั หา ตา่ ง ๆ และควรเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาให้เหมาะสมท่ีสดุ

ข้นั ปฏิบตั ิและสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบตั ิ
8. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันปฏบิ ตั กิ จิ กรรมท่ี 1.1 การใชเ้ หตุผลในการแกป้ ัญหา ดงั นี้

8.1 นักเรยี นวาดภาพในตำแหนง่ ท่ีหายไป และบอกวา่ เหตุใดจงึ คดิ วา่ เปน็ ภาพนนั้
8.2 นกั เรยี นวาดลูกศรระหวา่ งช่อง โดยเริม่ จากบา้ นของเด็กหญงิ ชมพู่ เพื่อแสดงเส้นทางที่
เดก็ หญงิ ชมพ่เู ดินทางไปโรงเรียน จากนน้ั จดบนั ทึกและตอบคำถามลงในชน้ิ งานที่ 1 เรอ่ื ง การวาดภาพในตำแหน่ง
ทีห่ ายไป และชนิ้ งานที่ 2 เรอื่ ง การวาดลกู ศรและอธบิ ายการเดนิ ทางของตวั ละคร
9. นักเรียนร่วมกันสรปุ สิ่งท่เี ขา้ ใจเปน็ ความรู้ร่วมกนั ดงั น้ี
ในการดำรงชีวิตจะต้องพบกบั ปัญหาตา่ ง ๆ มากมาย โดยปัญหาแต่ละปัญหามีความซบั ซ้อนไม่เท่ากัน ซ่ึง
จะต้องใช้เหตผุ ล เงือ่ นไข กฎเกณฑ์ และวธิ กี ารท่เี หมาะสม เพ่อื แกป้ ญั หาน้นั ใหส้ ำเร็จ

ขัน้ สอื่ สารและนำเสนอ
10. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอภาพวาดในตำแหนง่ ทหี่ ายไปพรอ้ มเหตผุ ลและการวาดลกู ศร
ระหว่างช่องเพ่ือพาเด็กหญิงชมพู่ไปยังโรงเรียนของกลุม่ ตนเองหน้าชน้ั เรยี น เพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรู้กัน
11. นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายสรปุ เกย่ี วกบั วธิ ีการทำงานให้เหน็ การคิดเชิงระบบและวธิ กี ารทำงานทม่ี ีแบบ
แผน

ข้นั ประเมินเพอื่ เพมิ่ คุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
12. นักเรียนใช้เหตผุ ลในการแก้ปญั หาในชีวิตประจำวนั ได้ และนำไปแนะนำใหก้ ับเพ่ือนและครอบครวั

เพ่ือสามารถใชเ้ หตุผลในการแก้ปัญหาได้อยา่ งเหมาะสม
จากนัน้ แลกเปลี่ยนตรวจสอบขัน้ ตอนการทำงานทกุ ขั้นตอนวา่ จะเพิม่ คุณค่าไปสู่สังคมเกิดประโยชน์ ตอ่

สังคมใหม้ ากข้นึ กวา่ เดิมในขัน้ ตอนใดบา้ ง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

ส่ือการเรยี นร/ู้ แหล่งการเรียนรู้
1. Powerpoint

62

2. ภาพการเดนิ ทางของนักบินอวกาศ
3. การ์ดคำสั่ง
4. ผงั ลำดับขน้ั ตอน
5. แหลง่ การเรยี นรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น

การประเมนิ การเรียนรู้
1. ประเมนิ ความรู้ เรอ่ื ง การแกป้ ญั หา (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุ่ม (P) ดว้ ยแบบประเมิน
3. ประเมนิ ชิน้ งาน เรอ่ื ง การวาดภาพในตำแหน่งทหี่ ายไป (P) ดว้ ยแบบประเมนิ
4. ประเมนิ ช้นิ งาน เรอ่ื ง การวาดลกู ศรและอธบิ ายการเดินทางของตัวละคร (P) ดว้ ยแบบประเมิน
5. ประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน (A) ด้วยแบบประเมนิ

ผลท่คี าดหวังผเู้ รยี น
1. นักเรยี นสามารถอธบิ ายเหตผุ ลในการแก้ปัญหา
2. นกั เรยี นวิเคราะห์ปญั หาและใชเ้ หตุผลในการแก้ปญั หา
3. นักเรยี นสามารถคดิ แบบมีระบบขน้ั ตอนได้
4. นักเรยี นเหน็ ความสำคัญของการแกป้ ญั หา

63

ช้ินงานที่ 1 เรือ่ ง การวาดภาพในตำแหนง่ ท่ีหายไป ได_้ _________
วันท่ี________เดอื น_______________พ.ศ.___________ คะแนน

ชอ่ื _____________________________เลขท่ี______ชนั้ __________

นกั เรียนวาดภาพในตำแหน่งที่หายไป และบอกวา่ เหตุใดจงึ คิดวา่ เปน็ ภาพน้ัน คะแนนเตม็ 10
1. คะแนน

เหตุผล
(ตวั อยา่ งคำตอบ เป็นการหมุนทวนเข็มนาฬิกา)

2.

432

123 412 341

เหตผุ ล
(ตวั อยา่ งคำตอบ เป็นการเลื่อนตวั เลขไปทางขวา โดยตัวเลข 1 เปน็ ช่องสเี ขียว เลข 2 เปน็ ช่องสีแดง
เลข 3 เปน็ ช่องสีเหลือง และเลข 4 เป็นชอ่ งสีน้ำเงนิ )

3. 41 34
12 23 12
34

เหตผุ ล
(ตัวอย่างคำตอบ เป็นการเลอื่ นตวั เลขไปทางขวา โดยตัวเลข 1 เปน็ ช่องสีน้ำเงิน
เลข 2 เป็นช่องสเี หลือง เลข 3 เป็นช่องสแี ดง และเลข 4 เปน็ ช่องสีเขยี ว)

64

ช้ินงานท่ี 2 เร่อื ง การเขียนลูกศรและอธิบายการเดินทางของตัวละคร ได_้ _________

วันท่ี________เดอื น_______________พ.ศ.___________ คะแนน

ช่อื _____________________________เลขที่______ชนั้ __________

คะแนนเตม็ 10
นกั เรียนวาดลูกศรระหว่างช่อง โดยเริ่มจากบ้านของชมพูไปยังโรงเรยี น เพื่อแสดงคเสะแน้ นทนางท่ชี มพู
จะเดินทางไปโรงเรยี นตามถนน แลว้ ตอบคำถาม

65

• ถ้านกสีแดงเดิน 1 ก้าว จะเดินผา่ นได้ 1 ช่อง จงบอกจำนวนกา้ วในการเดินทงั้ หมด
(12 ก้าว)

• เขยี นคำอธิบายการเดนิ ทางของตวั ละครเปน็ ขน้ั ตอน

เรม่ิ ตน้ จบ เดนิ หน้ำ ถอยหลงั เลย้ี วซำ้ ย เลย้ี วขวำ
(ตวั อย่างคำตอบ)
เรมิ่ ตน้
1. เดนิ หน้ำ
2. หนั ขวำ
3. เดนิ หน้ำ
4. หนั ซำ้ ย
5. เดนิ หน้ำ

6. เดนิ หน้ำ

7. หนั ซำ้ ย

8. เดนิ หน้ำ

9. เดนิ หน้ำ

10. หนั ขวำ

11. เดนิ หน้ำ

12. เดนิ หน้ำ

13. หนั ขวำ

14. เดนิ หน้ำ
4. ส่ิงที่โรงเรียนจะดำเนนิ การเพื่อขบั เคลือ่ นการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรยี น
ประถมศึกษา ป1ีท5่ี .1เ–ด3นิ หน้ำ
เหมาะสม1ก.ับพกัฒารน1จา6ดั ค.กรเาูผดรสู้ นิเอรหียนนนให้ำรู้้จใดัหทค้ ำรสบ่ือทกกุ ารระเรดียบั นชร้ันูว้ ิทยาการคำนวณ Coding แบบ Unplugged Coding ท่ี

17. หนั ขวำ

18. เดนิ หน้ำ

66
2. พัฒนาครูผู้สอนปรบั เปลี่ยนกระบวนการการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน
3. พฒั นาครผู ูส้ อนสร้างและปลกู ฝงั เจตคติทด่ี ีให้กบั ผู้เรียนในการเรยี นในรายวิชาวทิ ยาการคำนวณ
เพอ่ื พฒั นาให้ผเู้ รยี นมีความพร้อมก้าวสกู่ ารเปน็ พลเมืองโลกในศตวรรษท่ี 21 อยา่ งมีคุณภาพ
4. พฒั นาผู้เรยี นให้ไดเ้ ข้าถงึ กิจกรรมการเรยี นรู้ และการฝกึ ฝนกระบวนการคิดเชงิ คำนวณ อยา่ งมีคณุ ภาพ
ในหลากหลายชอ่ งทาง
5. ภาพกจิ กรรมท่ีเกิดขึ้นภายในโครงการ / กิจกรรม

ตัวอย่าง สื่อการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding แบบ Unplugged Coding

ตวั อยา่ ง สอื่ การเรียนรวู้ ิทยาการคำนวณ Coding แบบ Unplugged Coding

67
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาการคำนวณ Coding โดยใชส้ ่ือแบบ Unplugged Coding

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาวทิ ยาการคำนวณ Coding โดยใชส้ ื่อแบบ Unplugged Coding
ผรู้ ายงาน นางณฏั ฐา โพธ์ิเงนิ
ตำแหน่ง ครู ค.ศ.1
โทรศัพท์มอื ถอื 080-9793108
โทรศพั ท์ 055-513578
E–mail: [email protected]

68

69

70

71

72

73

แบบรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding

สำหรบั นักเรยี นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑–๓
******************************************

1. โรงเรยี นเด่นไม้ซงุ วิทยาคม
1.1 ชือ่ ผอู้ ำนวยการ นายบรรดษิ ฐ์ มว่ งอ่อง
1.2 ชอื่ ครทู ดี่ ำเนนิ การ นางสาวจิตตวดี ภัทรธรรมาพร

2. การดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ ๑–๓
2.1 เปา้ หมายการดำเนินการ
เชิงปริมาณ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 8 คน สามารถแสดงลำดับขั้นตอน

การทำงานหรอื การแก้ปญั หาอยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรอื ข้อความไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
เชงิ คณุ ภาพ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สามารถแก้ปัญหาสิ่งท่ีเกิดข้ึนในชีวติ ประจำวันได้อยา่ ง

ถกู ต้องและรวดเรว็

2.2 การดำเนนิ งานและเคร่ืองมอื ทใี่ ช้

การดำเนินงาน เครือ่ งมอื ใหค้ วามรู้ เคร่ืองมือประเมนิ

1. จัดทำสื่อการสอน และใบงาน 1. ส่อื การเรียงลำดับอัลกอริทึมg 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและ

สำหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 2. ใบงาน หลังเรียน

2. ใช้ วิธีส อ น ท่ี ห ล าก ห ล าย เช่ น 3. หนงั สือเรียนวิทยาการคำนวณ 2. ใบงาน

การอภิปราย การใช้สถานการณ์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2

จำลอง การใชเ้ กม การต้งั คำถาม

3. มี ก ารท ด ส อ บ ก่ อ น เรีย น แ ล ะ

หลงั เรียน เพือ่ ประเมนิ ผลนักเรียน

2.3 ผลการดำเนินงาน

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 8 คน สามารถแสดงลำดับข้ันตอนแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้

อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

3. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีท่ี ๑–๓ (อย่าง

น้อย 1 แผนการจดั การเรียนรู้)

ชอื่ แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับชนั้ สาระสำคญั ผลที่คาดหวังผู้เรยี น

การแกป้ ญั หาเบื้องต้น ป.2 ในชีวิตประจำวันจะต้องพบเจอ 1. นักเรยี นอธบิ ายวธิ ีการ

ปัญหาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการไป แก้ปัญหาเบื้องตน้ แตล่ ะ

โรงเรียนสายหรอื การลืมจัดกระเป๋า ขน้ั ตอนได้

นักเรียน ดังน้ันจึงต้องมีการเรียนรู้ 2. นักเรียนเขยี นขั้นตอน

ขั้นตอนการแก้ปัญหาเบ้ืองต้น การแก้ปัญหาเบ้อื งตน้ ได้

เพ่ือให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่าง

ถกู ต้อง ถูกวธิ ี และรวดเรว็

74
4. สง่ิ ท่ีโรงเรยี นจะดำเนนิ การเพือ่ ขับเคลือ่ นการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรบั นกั เรยี น
ประถมศกึ ษาปีที่ ๑–๓

1. จดั หาส่ือ วสั ดตุ า่ ง ๆ ทสี่ ง่ เสริมการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ
2. สง่ เสริมครเู ข้ารับการอบรมวิทยาการคำนวณ
5. ภาพกจิ กรรมท่เี กิดขึ้นภายในโครงการ / กจิ กรรม (จำนวนไม่เกิน 10 ภาพ)

ภาพท่ี 1 ใบงานสำหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ทุกคน

ภาพท่ี 2 ใบงานสำหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3

75
ภาพท่ี 3 ใบงานสำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3

ภาพที่ 4 ส่ือสำหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3

ผู้รายงาน นางสาวจิตตวดี ภทั รธรรมาพร ตำแหน่ง ครู โรงเรียนเดน่ ไมซ้ ุงวทิ ยาคม
โทรศพั ทม์ อื ถือ 081-0297004 โทรศัพท์ (ท่สี ำนกั งาน) -
E–mail: [email protected]

76

แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ Coding
สำหรบั นกั เรียนประถมศกึ ษา ปที ่ี 3

******************************************

1. โรงเรียน...อนุบาลวังเจ้า

1.1 ชื่อผู้อำนวยการ... นางวาสนา คมเฉลียว

1.2 ช่ือครทู ี่ดำเนินการ....นางบุญชู คุ้มวงษ์

2. การดำเนินกจิ กรรมการจัดการเรยี นรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนกั เรยี นประถมศกึ ษา ปที ่ี 3

2.1 เปา้ หมายการดำเนินการ

เชงิ ปรมิ าณ....ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 จำนวน 24 คน

เชิงคุณภาพ....นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 รอ้ ยละ 70 มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับเรอ่ื ง

การเขยี นโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใช้บตั รคำส่ัง

2.2 การดำเนนิ งานและเครือ่ งมอื ทใี่ ช้

การดำเนินงาน เคร่อื งมือให้ความรู้ เคร่อื งมอื ประเมิน

1. ครจู ดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ 1. สอ่ื การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ 1. ใบงาน เร่ือง มดขนน้ำตาล

2. ครผู ลิตสือ่ การเขยี นโปรแกรม 2. ตวั อยา่ งโปรแกรมเรอ่ื งนกสร้างรงั 2. แบบสังเกตพฤตกิ รรม

แบบวนซ้ำ การเรยี น

3. ดำเนนิ การจัดการเรียนรตู้ าม

แผนการจดั การเรยี นรู้

4. ประเมินผลการจดั การเรยี นรู้

2.3 ผลการดำเนนิ งาน
นักเรียนรอ้ ยละ 75 มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับเรื่อง การเขียนโปรแกรมแบบวนซำ้

โดยใชบ้ ตั รคำสง่ั

3. ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี นประถมศึกษา ปที ี่ 3

ชอ่ื แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ชัน้ สาระสำคัญ ผลที่คาดหวังผู้เรียน

การเขียนโปรแกรมแบบวนซา้ํ ชน้ั ประถม การเขียนโปรแกรม นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษา
ศึกษาปีท่ี 3 แบบวนซํ้า ปีท่ี 3 ร้อยละ 70
มคี วามรู้ความเขา้ ใจ
เก่ียวกบั เรื่อง การเขียน
โปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใช้
บัตรคำสัง่

4. สิ่งท่ีโรงเรียนจะดำเนินการเพื่อขบั เคลือ่ นการจัดการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นักเรียน
ประถมศึกษา ปที ่ี ๓

- ฝกึ ทกั ษะการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบือ้ งตน้ โดยใชบ้ ตั รคำสัง่

77

5. ภาพกิจกรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในกจิ กรรม

ภาพที่ 1 สอื่ การเขยี นโปรแกรมแบบวนซำ้ ภาพที่ 2 นกั เรียนออกมานำเสนอเส้นทางการคาบ
เศษกิ่งไมเ้ พ่อื มาสรา้ งรงั ของนก

ภาพท่ี 3 นักเรยี นศึกษาตัวอย่างโปรแกรม ภาพท่ี 4 นกั เรียนทำใบงาน เรื่อง มดขนนำ้ ตาล
เร่ืองนกสรา้ งรงั

ภาพท่ี 5 นักเรียนออกมานำเสนอเส้นทางการขน ภาพที่ 6 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ท่ีได้

นำ้ ตาลกลบั รงั ของมด จากการเรียนรผู้ ่านสือ่ การเขยี นโปรแกรมแบบวนซำ้

ผรู้ ายงาน นางบญุ ชู คมุ้ วงษ์ ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ
โทรศพั ท์มือถือ 0843812714 โทรศัพท์ (ทส่ี ำนกั งาน) 055556065
E–mail: [email protected]

78

ตวั อย่างแผนการจัดการเรยี นรูว้ ทิ ยาการคำนวณ Coding

แผนการจัดการเรียนรู้

กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3

หน่วยท่ี 2 การเขยี นโปรแกรมและตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม เวลาเรียน 6 ชวั่ โมง

แผนการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่อื ง การเขยี นโปรแกรมแบบวนซ้ํา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

สอนวันที่ 29 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ.2564 ภาคเรยี นท่ี 1

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2
เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาทพ่ี บในชีวิตจรงิ อย่างเป็นขน้ั ตอนและเป็นระบบ
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
ร้เู ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

สาระสำคญั
การเขยี นโปรแกรมแบบวนซา้ํ

ตัวชว้ี ดั
ว 4.2 ป. 3/2 เขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือสอื่ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด
ของโปรแกรม

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการทำงานของการเขยี นโปรแกรมแบบวนซ้าํ (K)
2. สามารถเขยี นโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใช้บัตรคำสั่งได้ (P)
3. มคี วามกระตือรอื รน้ ในการเรียน (A)

สาระการเรยี นรู้
การเขยี นโปรแกรมแบบวนซํา้ โดยใชบ้ ตั รคำสั่ง

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้นั นำ (10 นาท)ี

- ครูนำเขา้ ส่บู ทเรียนโดยใหน้ ักเรียนดรู ูปเสือ้ แลว้ ตง้ั คำถามดังนี้
- หากนกั เรยี นต้องการวาดรปู เสือ้ ดงั ภาพนักเรียนตอ้ งวาดรูปกระดุมกี่เม็ด
- นักเรียนมวี ธิ ีการวาดรปู กระดมุ อย่างไร
- การวาดรูปกระดุมให้ครบ มีการวาดซํา้ กันหรือไม่ อย่างไร

ขน้ั สอน (40 นาท)ี

1. นักเรียนเรียนรู้การเขยี นโปรแกรมแบบวนซำ้ จากสถานการณ์ เรอื่ ง นกสร้างรงั ตามขัน้ ตอนดงั นี้
1.1 สุ่มตัวแทนนกั เรยี นออกมานำเสนอเสน้ ทางการคาบเศษก่ิงไมเ้ พอื่ มาสร้างรังของนก โดยใชส้ ่ือการเขียนโปรแกรม

แบบวนซ้ำ

79

1.2 ใหเ้ พอ่ื นๆ ทกุ คน ชว่ ยตรวจสอบการเขยี นโปรแกรมโดยใชส้ ื่อของตวั แทนท่ีออกไปนำเสนอเส้นทางการคาบเศษกิ่ง
ไม้เพอ่ื มาสรา้ งรังของนก ว่ามีความถกู ต้องหรอื ไม่ หากไม่ถูกต้องใหเ้ พอ่ื นๆ ช่วยกันหาขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไขโปรแกรมให้ถูกตอ้ ง

2. นักเรียนศึกษาตวั อยา่ งโปรแกรมเรื่องนกสร้างรงั ทคี่ รูแจกให้

3. นกั เรยี นทำใบงาน เร่ือง มดขนน้ำตาล

4. สมุ่ ตัวแทนนกั เรียนออกมานำเสนอเสน้ ทางการขนนำ้ ตาลกลบั รงั ของมด โดยใช้สอ่ื การเขยี นโปรแกรมแบบวน
ซำ้

ข้นั สรุป (๑๐ นาที)
5. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความร้ทู ไี่ ด้จากการเรียนร้ผู า่ นส่ือการเขยี นโปรแกรมแบบวนซำ้

สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
1. ส่อื การเขียนโปรแกรมแบบวนซำ้
2. ตวั อยา่ งโปรแกรม เร่อื ง นกสรา้ งรัง
3. ใบงาน เร่ือง มดขนน้ำตาล
4. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวดั ผลประเมินผล
1. วธิ กี ารวดั
1.1 สังเกตการฟงั
1.2 การตอบคำถาม
1.3 ตรวจใบงาน
2. เคร่ืองมือการวดั ผลประเมินผล
- ใบงาน เร่อื ง มดขนน้ำตาล
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑก์ ารวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 70 ข้ึนไป

80

ตวั อยา่ ง
เรื่อง นกสรา้ งรงั

สถานการณ์
นกตัวหนง่ึ ต้องการบนิ ไปคาบเศษกงิ่ ไม้แห้งกลบั มาทำรัง

คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นนำบัตรคำสั่งทก่ี ำหนดให้มาใช้ประกอบการตอบคำถามขอ้ 1 – 3
A B CD EF

บตั รคำส่ัง คาบกง่ิ ไม้

ตวั อยา่ ง 1. ให้นกั เรยี นเขยี นลกู ศรแทนการเดินทางของนก ลงในตาราง

คาบกง่ิ ไม้

ตัวอย่าง 2. เตมิ ตวั อักษรท่แี ทนบัตรคำสัง่ จากขอ้ 1 ลงในช่องตาราง

1. A 2. A 3. C 4. C 5. C 6. E

7. D 8. D 9. B 10. B 11. B 3

ตวั อยา่ ง 3. เติมจำนวนรอบลงไปในบตั รคำสั่ง เพ่อื แสดงการเดินทางของนก
ที่ไปคาบเศษกิง่ ไมแ้ ห้งกลับมาทำรงั

1 22 33 คาบก่ิงไม้ 4 25

81

ใบงาน
เรื่อง มดขนนำ้ ตาล
สถานการณ์
มดตัวหนงึ่ ต้องการเดนิ ไปขนน้ำตาลกลบั มาทร่ี ัง

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนนำบตั รคำสง่ั ที่กำหนดให้มาใชป้ ระกอบการตอบคำถามขอ้ 1 – 3
A B CD EF

บัตรคำส่ัง ขนนำ้ ตาล
1. ใหน้ ักเรียนเขยี นลกู ศรแทนการเดนิ ของมดลงในตาราง

2. เติมตวั อักษรที่ แทนบัตรคำส่ังจาก
ข้อ 1 ลงในชอ่ ง ตาราง

1. 2. 3. 4. 5. 6.

7. 8. 9. 10. 11.

3. เติมจำนวนรอบลงไปในบัตรคำส่งั เพอื่ แสดงการเดนิ ทางของมดในการขนน้ำตาลไปไวท้ ่ี

ร1ัง 2 3 4 5

ขนน้ำตาล

ชอ่ื ......................................................................ช้นั .............................เลขที.่ .............

82

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น

เกณฑก์ ารให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรงุ ให้ 0

เกณฑ์การประเมนิ การผา่ นการประเมินทุกรายการตอ้ งได้ 1 ขึน้ ไป

คะแนน

เลขท่ี ชื่อ – สกุล ีม ิวนัย รวม สรุป
การตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น

222 6 ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

เกณฑ์ คะแนนรวมพฤติกรรมร้อยละ 3 - 4 = ผ่าน
คะแนนรวมพฤตกิ รรมรอ้ ยละ 5 - 6 = ดี

( ลงชอ่ื ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….

83

เกณฑก์ ารประเมนิ

ทกั ษะกระบวนการ ดี (2) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (0)
ทางเทคโนโลยี พอใช้ (1)
สามารถใชบ้ ตั รคำสั่งเพ่ือ ไมส่ ามารถใชบ้ ตั รคำส่งั
การเขียนโปรแกรมแบบ เขียนโปรแกรมแบบ สามารถใช้บตั รคำสง่ั เพ่ือ เพอ่ื เขยี นโปรแกรมแบบ
วนซํา้ ได้ถูกตอ้ ง วนซา้ํ และสามารถสรปุ เขียนโปรแกรมแบบ วนซ้ำได้
จำนวนรอบของการวนซ้ำ วนซา้ํ ไดถ้ ูกต้อง
ได้ถูกต้อง

84

แบบรายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding
สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑–๓

******************************************

1. โรงเรยี นชุมชนวดั สันปา่ ลาน อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก

1.1 ชื่อผู้อำนวยการ นายอดลุ ย์ พมิ พรม

1.2 ชอื่ ครทู ี่ดำเนนิ การ นางสาวสจุ รรยา ยศบรุ ุษ

2. การดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรบั นกั เรียนประถมศึกษาปีที่ ๑–๓

2.1 เปา้ หมายการดำเนนิ การ

เชงิ ปรมิ าณ 1) นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 โรงเรยี นชมุ ชนวัดสนั ปา่ ลาน จำนวน 85 คน

2) ครผู สู้ อนรายวชิ าวิทยาการคำนวณ จำนวน 1 คน

เชิงคณุ ภาพ นกั เรยี นไดพ้ ัฒนาทักษะการเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1-3

2.2 การดำเนนิ งานและเครือ่ งมือทใี่ ช้

การดำเนนิ งาน เครื่องมอื ให้ความรู้ เครอื่ งมอื ประเมนิ

1. ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ - สื่อ Unplugged Coding - แบบทดสอบ

2. จัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ - บทเรียนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยี - แบบสงั เกต

3. จัดทำสื่อท่ีใช้ประกอบกิจกรรม จาก สสวท. (Project 14)

4. ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียน - หนังสือเรียนรายวิชาเทคโนโลยี

5. ประเมนิ ผลการทำกิจกรรม ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1-3

6. สรปุ ผลการดำเนนิ กจิ กรรม - ใบความร/ู้ ใบกิจกรรม

2.3 ผลการดำเนนิ งาน

1. นักเรียนมีความรู้และได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding สำหรับชั้นประถมศึกษา

ตอนต้น

2. ครูสารถผลิตส่ือการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ Coding ได้อย่างหลากหลายและตรงตามกิจกรรมการ

เรียนรู้

3. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงขึน้

3. ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ Coding สำหรับนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑–๓

(อย่างนอ้ ย 1 แผนการจดั การเรียนร)ู้

ชือ่ แผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับชนั้ สาระสำคญั ผลท่คี าดหวังผู้เรียน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 อัลกอริทึม ชัน้ ประถม การอธิบายกระบวนการ นั ก เรี ย น ส า ม า ร ถ น ำ

กับการแก้ปัญหา เรื่อง ศกึ ษาปีท่ี 3 แก้ปัญหาเป็นข้ันตอนท่ี ข้ันตอนแก้ปัญ หาแบบ

อัลกอลิทึม ชดั เจน อัลกอริทึมไปประยุกต์ใช้

ในชวี ติ ประจำวนั ได้

ตวั อย่างแผนการจัดการเรียนรู้

กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วิชา ว13101 รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564

85

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 อัลกอริทึมกบั การแกป้ ญั หา จำนวน 4 ชวั่ โมง
เร่ือง อลั กอริทึม เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง
วันทสี่ อน .......... เดอื น .............................. พ.ศ. 2564 ครูผสู้ อน นางสาวสจุ รรยา ยศบุรุษ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชีวติ จรงิ อยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน

และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

อธิบายกระบวนการแก้ปัญหาเป็นข้ันตอนท่ีชัดเจน เช่น การนำเข้าข้อมูล จะได้ผลลัพธ์เช่นไร นำ

อัลกอริทึมไปใช้ในการแก้ปัญหาท่ีพบเจอในชีวิตประจำวัน ไม่จำเป็นต้องใช้ในการเขียนโปรแกรม แต่

สามารถใช้ได้กับปัญหาอื่นๆ เพ่ือหาวิธีการแก้ปัญหามีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องวางแผนอย่างเป็นระบบ เป็น

ขน้ั ตอน เพ่ือให้ทราบถึงข้นั ตอนต่างๆ และสามารถตัดทอนข้ันตอนท่ีซ้ำซ้อนเกินความจำเป็น และเพิ่มข้ันตอนใหม่

เข้าไปได้

3. ตัวชี้วัด/จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ตวั ชว้ี ดั
ว 4.2 ป.3/1 แสดงอลั กอริทมึ ในการทำงาน หรือการแก้ปญั หาอยา่ งง่าย โดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรอื ข้อความ
จดุ ประสงค์
1. นกั เรยี นสามารถบอกองค์ประกอบของอัลกอริทมึ ได้ (K)
2. นักเรียนสามารถนำข้นั ตอนแก้ปญั หาแบบอัลกอริทึมไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั (P)
3. นักเรยี นเห็นประโยชน์ของการใชอ้ ลั กอริทึมอธิบายขั้นตอนการแกป้ ญั หา (A)

4. สาระการเรยี นรู้
๑. อัลกอริทมึ เป็นขนั้ ตอนท่ใี ช้ในการแก้ปัญหา
๒. การแสดงอลั กอริทึมทำได้โดยการเขยี น บอกเลา่ วาดภาพหรือใชส้ ญั ลกั ษณ์
๓. ตัวอย่างปญั หา เชน่ เกมเศรษฐี เกมบนั ไดงู เกม Tetris เกม OX การเดินไปโรงอาหาร
การทำความสะอาดห้องเรียน

5. สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ยั


Click to View FlipBook Version