The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการ 2565 ตำบลกระเสียว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนปฏิบัติการ 2565 ตำบลกระเสียว

แผนปฏิบัติการ 2565 ตำบลกระเสียว

80

กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้า พืน้ ที่ ระยะ งบ
เปา้ หมาย หมาย ดาเนนิ การ เวลา ประมาณ
3. นเิ ทศติดตามและ
ประเมนิ ผล ( c ) ใช฾ในชวี ิตประจาวันไดอ฾ ยา฽ งมี

ความสขุ

เพอ่ื ทราบผล/ปัญหา/อปุ สรรคใน บคุ ลากร 4 คน อาเภอ ม.ค.65 -

การดาเนินงาน กศน.อาเภอ สามชุก -

สามชกุ ก.ย.65

4. สรุปรายงานผลและ เพื่อสรปุ รายงานผลการดาเนินงาน งาน 1 คน กศน.อาเภอ ก.ย.65 -
สามชกุ
ติดตามผลเพ่ือการ การศึกษา

พฒั นา (A) ต฽อเน่อื ง

7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ
งบประมาณปี 2565 จากแผนงาน : พ้ืนฐานด฾านการพัฒนาและเสริมสร฾างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

ผลผลิตท่ี 4 ผ฾ูรับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการ ศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน
จานวน 20,000 บาท (สองหม่นื บาทถ฾วน)

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-ม.ิ ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)
อบรมให฾ความรู฾ “ ความปลอดภัย และ
สร฾างความเชอื่ ม่นั ในการฉีดวัคซนี โควิด - 1,400.- 1,400.- -
19 ” ตาบลกระเสียว
อบรม ชมุ ชนปลอดขยะ ปลอดภยั 1,400.- - 1,400.- -
ห฽างไกลโรค - -
อบรม “ชมุ ชนร฽วมใจ หา฽ งไกล เชอื้ ไวรัส - 1,500.- 1,500.- -
Covid-19” -
อบรม “ชมุ ชนร฽วมใจ หา฽ งไกล เชอ้ื ไวรสั 1,400.- 1,500.- 1,500.-
Covid-19” - 1,400.-
อบรมให฾ความรู฾ “ ความปลอดภยั และ

81

กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-ม.ิ ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)
สรา฾ งความเชื่อมัน่ ในการฉีดวัคซีนโควดิ
19 ”ตาบลหนองผกั นาก 1,400.- - 1,400.- -
อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการให฾ความร฾ูในการ
ปูองกันโรคติดต฽อเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 - 1,400.- - -
ตาบลสามชกุ - -
อบรมการปอู งกันตนเองจากโรคตดิ เชอ้ื - 1,400.-
ไวรสั โคโรนา 2019 สายพันธใ์ุ หม฽โอ
ไมครอน
อบรมการปูองกันตนเองจากโรคตดิ เชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธุใ์ หม฽

9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
นางสาวจารุวรรณ พวงบบุ ผา ครู กศน.ตาบล

10. เครอื ขา่ ย
องค์การปกครองส฽วนท฾องถิ่น

11. โครงการท่เี กีย่ วข้อง
โครงการจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ติ

12. ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนผ฾ูเขา฾ รว฽ มโครงการ มีความรูแ฾ ละทักษะมที กั ษะดา฾ นอาชพี ความร฾ูท่วั ไป เช฽น การจัดการ

ขยะ การประหยัดพลังงาน ส฽งเสริมประชาธิปไตย การส฽งเสริมการใช฾เทคโนโลยีที่เหมาะสม สุขภาพอนามัย
ความร฾ูเรอ่ื งภาษาและวฒั นธรรม ความสามัคคี ความปรองดอง สามารถนาไปปรับใช฾ในชีวิตประจาวันได฾อย฽ามี
ความสุข

13. ดัชนีช้ีวดั ผลสาเร็จของโครงการ
13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output)
ร฾อยละ 80 ของประชาชนผ฾เู ข฾ารว฽ มโครงการ ไดร฾ บั ความรู฾ความเขา฾ ใจถงึ การอย฽ู
ร฽วมกนั อยา฽ งมีความสุขตามวถิ ีทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรง
เป็นประมขุ และไดร฾ ับความร฾ูเร่ือง การใช฾เทคโนโลยีเพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ ของตนเอง ชุมชนและ
สังคม

82

13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนผ฾เู ขา฾ รว฽ มโครงการมคี วามรู฾และทกั ษะมที ักษะด฾านอาชีพ ความรทู฾ ั่วไป เช฽น

การจดั การขยะ การประหยัดพลังงาน สง฽ เสริมประชาธิปไตย การสง฽ เสริมการใชเ฾ ทคโนโลยที ี่
เหมาะสม สขุ ภาพอนามยั ความรู฾เรือ่ งภาษาและวฒั นธรรม ความสามคั คี ความปรองดอง
สามารถนาไปปรบั ใช฾ในชวี ิตประจาวันไดอ฾ ย฽ามีความสขุ
14. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
14.1 การนิเทศตดิ ตาม
14.2 สรุปผลการดาเนนิ งาน
14.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู฾รับบริการ

83

1. โครงการจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ
2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ที่เนนการพัฒนาทกั ษะท่ีจาเปนสาหรบั แตละชวงวยั

และการจัดการศึกษาและการเรียนรูที่เหมาะสมกบั แตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพ้ืนที่

สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนือ่ ง
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเ฾ู รียนการศกึ ษาต฽อเนื่อง
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การเรยี นร฾กู ารศกึ ษาต฽อเนอ่ื ง
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา

3. หลักการและเหตุผล
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ฾าอยู฽หัว รัชกาลท่ี 9 ได฾ทรงมีพระราช

ดารสั ชี้แนะแนวทางการดาเนนิ ชีวติ แก฽พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว฽า 25 ปี ต้ังแต฽ก฽อนเกิดวิกฤติการณ์
ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได฾ทรงเน฾นย้าแนวทางการแก฾ไขเพื่อให฾รอดพ฾น และสามารถดารงอย฽ูได฾อย฽าง
ม่ันคงและย่งั ยนื ภายใต฾กระแสโลกาภวิ ัฒน์และความเปลีย่ นแปลงตา฽ งๆ ในสังคมซึ่งมักเกิดข้ึนอย฽างรวดเร็ว การ
จะดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได฾น้ัน ต฾องเริ่มที่ตัวเราสามารถปรับเปลี่ยนวิธีคิดให฾หันมา
พงึ่ ตนเองใหไ฾ ด฾วธิ กี ารคอื ต฾องวเิ คราะห์ข฾อมลู ตนเองก฽อนว฽า อยู฽ภายใต฾ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การมี
ภูมิคุ฾นกันท่ีดี และท่ีสาคัญต฾องมีความรู฾ค฽ูคุณธรรมด฾วย นั่นหมายถึงว฽า การดาเนินชีวิตตามกรอบแนวคิดที่
ตัวเองเป็นผู฾กาหนด ได฾แก฽การประกอบอาชีพที่สุจริต ไม฽เบียดเบียนผู฾อื่น ร฾ูจักการวางแผน และไม฽ทาลาย
ส่ิงแวดล฾อม เร่ิมได฾ท่ีตัวบุคคล และค฽อยๆ ขยายผลไปส฽ูชมชน จากชุมชนไปสู฽ประเทศชาติ และในท่ีสุด
ประชาชนในประเทศไทย ก็จะก฾าวพ฾นภาวะวิกฤติที่อาจเกิดข้ึนในอนาคตได฾ทุกเม่ือ สานักงานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได฾นาการจัดกระบวนการเรียนร฾ูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กาหนด
เ ป็ น น โ ย บ า ย ห ลั ก เ พื่ อ ก ร ะ ต฾ุ น ป ลู ก ฝั ง แ ล ะ ใ ห฾ ค ว า ม ร฾ู กั บ ป ร ะ ช า ช น ใ ห฾ ส า ม า ร ถ น฾ อ ม น า แ น ว พ ร ะ ร า ช
ดารัส “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ฾าอยู฽หัว รัชกาลที่ 9 ไปใช฾ในการดาเนินชีวิตให฾เป็นปกติ
สุข ไม฽ตกเปน็ ทาสของความฟงูุ เฟูอ ฟมุ เฟอื ย อันจะนาไปสูค฽ วามล฾มเหลวในชีวิตจากการเป็นหน้ีสินในครัวเรือน
กลายเป็นมรดกตกทอดไปถึงลกู หลานไมส฽ ามารถท่ีจะใชห฾ นไี้ ดห฾ มดส้นิ

กศน.อาเภอสามชุก เล็งเห็นคุณประโยชน์อนันต์ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงได฾จัดทา
โครงการการเรียนรู฾หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น เพื่อน฾อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ถ฽ายทอดและสง฽ เสรมิ ให฾กับประชาชนในพนื้ ท่ีอาเภอสามชุก โดยใช฾กระบวนการเรียนร฾ูที่หลากหลายและบูรณา
การให฾เข฾ากับวิถีชีวิตของกลุ฽มเปูาหมายอย฽างเหมาะสม ซ่ึงกิจกรรมต฽างๆ เหล฽านั้นสะท฾อนถึงหลักการของ

84

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช฽น การทาเกษตรแบบธรรมชาติ การทาบัญชีครัวเรือน เป็นต฾น เพ่ือให฾
ผเ฾ู ข฾ารว฽ มโครงการสามารถดารงตนอยใ฽ู นสงั คมไดอ฾ ย฽างมคี วามสุขบนความพอเพยี งสบื ไป

4. วัตถุประสงค์
1. เพ่อื สง฽ เสริมให฾ประชาชนกลมุ฽ เปาู หมาย มีความรูค฾ วามเข฾าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพอื่ ใหป฾ ระชาชนกลมุ฽ เปูาหมาย สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ฾ นการ

ดารงชวี ติ ประจาวนั ได฾อยา฽ งมีความสขุ

5. เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ
ประชาชนในพ้ืนท่ีอาเภอสามชุก จานวน 80 คน

เชงิ คณุ ภาพ
ประชาชนผู฾เข฾าร฽วมโครงการ เปน็ ผูม฾ ีความรู฾ความเข฾าใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ฾ นการดารงชวี ติ ประจาวนั ได฾อย฽างมีความสขุ

6. วธิ ีดาเนนิ การ

กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนที่ ระยะ งบ
ดาเนินการ เวลา ประมาณ

1.ประชุมวางแผน เพ่ือวางแผนการดาเนนิ กิจกรรม บคุ ลากร กศน. 16 คน กศน.อาเภอ พ.ย.64 -

(P) อาเภอสามชุก สามชุก

2. ดาเนนิ การ(D) 1.เพื่อส฽งเสริมให฾ประชาชน ประชาชน 80 คน อาเภอ ธ.ค.64 – 32,000.-

จดั โครงการจัด กล฽ุมเปาู หมาย มีความร฾ูความ ท่ัวไป สามชุก ก.ย.65

กระบวนการเรยี นร฾ู เข฾าใจในหลักปรัชญาของ

ตามหลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

ของเศรษฐกจิ 2.เพ่ือให฾ประชาชนสามารถนา

พอเพียง หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงไปใชใ฾ นการดารงชวี ติ

ประจาวนั ได฾อยา฽ งมีความสขุ

3. นเิ ทศตดิ ตามผล เพอ่ื ทราบผล/ปญั หา/อปุ สรรคใน บุคลากร กศน. 4 คน กศน.อาเภอ

(C) การดาเนนิ งาน อาเภอสามชุก สามชกุ

4. สรปุ รายงานผล เพอื่ สรปุ รายงานผลการ งานการศึกษา 1 คน กศน.อาเภอ

และตดิ ตามผลเพื่อ ดาเนินงาน ตอ฽ เน่ือง สามชุก

การพัฒนา (A)

85

7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ
แผนงาน : พ้ืนฐานด฾านการพัฒนาและเสริมสร฾างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 ผ฾ูรับบริการการศึกษา
นอกระบบ กิจกรรมจัดการศกึ ษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน จานวน 32,000 บาท (สามหมื่นสองพนั บาทถ฾วน)

8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-มี.ค.65) (เม.ย.-ม.ิ ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)
กิจกรรมหลัก
- 2,800.- 2,800.-
อบรมให฾ความร฾ู “โคกหนอง นา โมเดล” ตาบลกระเสียว
กิจกรรมอบรมให฾ความร฾ู “โคกหนอง นา โมเดล” ตาบล - 2,200.- 2,200.-
บ฾านสระ
อบรมให฾ความรู฾ “โคกหนอง นา โมเดล” ตาบลวงั ลกึ - 2,200.- 2,200.-
อบรม “ศาสตร์พระราชา สโู฽ คกหนองนา อย฽างย้ังยนื ” 2,200.- - 2,200.-
อบรมสง฽ เสริมการเรยี นร฾ู “โคก หนอง นา โมเดล”ตาบล
หนองผักนาก - 2,200.- 2,200.-
อบรมการเรยี นร฾ู ศาสตร์พระราชาสู฽“โคก หนอง นา
โมเดล”ตาบลสามชกุ 2,200.- - 2,200.-
อบรมการเรียนร฾ู “โคก หนอง นา โมเดล”ตาบลยา฽ นยาว 2,200.- - 2,200.-

9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ

นายสุรศกั ด์ิ สวา฽ งศรี ตาแหนง฽ ครู กศน.ตาบล

10. เครือข่าย
10.1 ผนู฾ าชมุ ชน
10.2 ปราชญช์ าวบ฾าน/ภูมปิ ญั ญาในท฾องถิน่
10.3 องค์การปกครองสว฽ นท฾องถน่ิ

11. โครงการที่เก่ียวข้อง
โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน

12. ผลลพั ธ์ (Outcome)
ประชาชนผ฾ูเข฾าร฽วมโครงการ เป็นผ฾ูมีความร฾ูความเข฾าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

และนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช฾ในการดารงชีวิตประจาวันได฾อยา฽ งมคี วามสุข

13. ดัชนชี ี้วัดผลสาเร็จของโครงการ
13.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ (Output)

86

ร฾อยละ 80 ของประชาชนผู฾เข฾าร฽วมโครงการ ได฾รับความร฾ูความเข฾าใจในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

13.2 ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนผู฾เข฾าร฽วมโครงการ เป็นผ฾ูมีความร฾ูความเข฾าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช฾ในการดารงชวี ิตประจาวนั ได฾อยา฽ งมคี วามสุข

14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ
14.1 การนิเทศติดตาม
14.2 สรุปผลการดาเนนิ งาน
14.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผร฾ู ับบรกิ าร

1. โครงการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ปงี บประมาณ 2565

2. สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565
3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาบล และศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.)

ใหมคี วามพรอมเพ่ือเปนพื้นที่การเรียนรูตลอดชวี ติ ทสี่ าคัญของชุมชน
3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหองสมุดประชาชน ทเี่ นน Library Delivery เพือ่ เพม่ิ อัตราการอาน

และการรหู นงั สือของประชาชน
3.4 ใหบรกิ ารวิทยาศาสตรเชิงรุก Science @home โดยใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือนาวิทยา

ศาสตรสูชวี ติ ประจาวันในทกุ ครอบครัว
3.5 สงเสริมและสนับสนุนการสรางพืน้ ทกี่ ารเรียนรู ในรปู แบบ Public Learning Space/

Co - learning Space เพ่ือการสรางนเิ วศการเรยี นรูใหเกดิ ข้นึ สงั คม

ความสอดคล้องกับมาตรฐาน กศน.
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย 3 มาตรฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของของผร฾ู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา

3. หลักการและเหตุผล
ในพระราชบัญญัติส฽งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ได฾ให฾คาจากัด

ความของการศึกษาตามอัธยาศัย ไว฾ว฽า “การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว฽า กิจกรรมการเรียนรู฾ในวิถี
ชีวิตประจาวันของบุคคลซึ่งบุคคลสามารถเลือกท่ีจะเรียนร฾ูได฾อย฽างต฽อเน่ืองตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความ
ต฾องการ โอกาส ความพร฾อม และศกั ยภาพในการเรยี นรู฾ของแต฽ละบคุ คล

87

พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห฽งชาติ ฉบับ พุทธศักราช 2542 มาตรา 15 ได฾นิยามการศึกษาตามอัธยาศัย
ไว฾วา฽ “การศกึ ษาตามอธั ยาศัย” เป็นการศกึ ษาทใ่ี หผ฾ ู฾เรยี นไดเ฾ รียนรดู฾ ฾วยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความ
พร฾อมและโอกาส โดยศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สงั คม สภาพแวดลอ฾ ม สื่อ หรอื แหลง฽ ความร฾ูอน่ื ๆ

"การศกึ ษาตามอธั ยาศยั หมายถงึ วธิ กี ารท่หี ลากหลายท่ีนาไปส฽ูการเรียนรู฾อาจเกิดขึ้นโดยการถูกผลักดัน
ให฾เกดิ ขนึ้ ผ฽านกระบวนการสนทนา เกยี่ วข฾องกบั การสารวจ และขยายประสบการณ์ โดยไม฽อาจทานายล฽วงหน฾า
ได฾ เปน็ สงิ่ ท่บี งั เอญิ เกิดขน้ึ อบุ ตั ิขึ้น (วิศนี ศิลตระกลู และอมรา ปฐภิญโญบรู ณ์, 2544: 2-3)"

การศกึ ษาตามอัธยาศัย หมายถึง การศึกษาที่เกิดข้ึนตามวิถีชีวิตท่ีเป็นการเรียนรู฾จากประสบการณ์ จาก
การทางาน จากบุคคล จากครอบครัว จากชุมชน จากแหล฽งความรู฾ต฽าง ๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู฾ ทักษะ ความ
บนั เทิง และการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีลักษณะท่ีสาคัญคือ ไม฽มีหลักสูตร ไม฽มีเวลาเรียนที่แน฽นอน ไม฽จากัด
อายุ ไม฽มกี ารลงทะเบยี น และไมม฽ กี ารสอน ไมม฽ ีการรบั ประกาศนียบัตร มีหรือไมม฽ สี ถานทีแ่ น฽นอน เรียนท่ีไหนก็
ได฾ ลักษณะการเรียนส฽วนใหญ฽เป็นการเรียนเพ่ือความร฾ูและนันทนาการ อีกทั้งยังไม฽จากัดเวลาเรียน สามารถ
เรยี นไดต฾ ลอดเวลาและเกิดขึ้นในทกุ ชว฽ งวัยตลอดชีวิต (กรมการศึกษานอกโรงเรียน,2538: 83)

ศูนย์ส฽งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2544) ให฾นิยามการศึกษาตาม
อัธยาศัยว฽า เป็นการจัดสภาพแวดล฾อม สถานการณ์ ปัจจัยเกื้อหนุน ส่ือ แหล฽งความรู฾ และบุคคล เพื่อส฽งเสริม
ใหบ฾ คุ คล ไดเ฾ รยี นรู฾ตามความสนใจ

ปฐม นิคมานนท์ (2532 : 112) ให฾ความหมายว฽า การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นกระบวนการตลอดชีวิต
ซ่ึงบุคคลได฾เสริมสร฾าง เจตคติค฽านิยม ทักษะ และความรู฾ต฽าง ๆ ในสภาพแวดล฾อม เช฽น การเรียนรู฾จาก
ครอบครัว เพอ่ื นบา฾ น จากการทางาน การเลน฽ จากตลาด ร฾านค฾าห฾องสมุด ตลอดจนเรียนร฾ูจาก ส่ือมวลชนต฽าง
ๆ ตัวอย฽าง เช฽น เด็กเรียนร฾ูเกี่ยวกับภาษาและคาศัพท์ต฽าง ๆ จากบ฾าน เด็กหญิงเรียนร฾ูวิธีทากับข฾าว การเล้ียง
นอ฾ ง การจดั บ฾านเรอื น การอบรมสง่ั สอน และการสังเกตจากมารดา เด็กผชู฾ ายเรียนร฾ูด฾านอาชีพจากบิดา เรียนรู฾
การเฝาู ดูและสังเกตธรรมชาติ หรอื แมแ฾ ต฽การค฾นพบสง่ิ ต฽าง ๆ โดยบังเอญิ หรือเรียนร฾โู ดยไมไ฽ ด฾ตัง้ ใจเป็นต฾น

ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ และคณะ (2544 : 33-34) ให฾นิยามการศึกษาตามอัธยาศัยว฽า เป็นการจัด
สภาพแวดล฾อม สถานการณ์ ปัจจัยเกื้อหนุนสื่อ แหล฽งความร฾ู และบุคคล เพื่อส฽งเสริมให฾บุคคลได฾เรียนร฾ูตาม
ความ สนใจ ศักยภาพ ความพร฾อม และโอกาส เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ
สงั คม

Coombs และ Ahmed (1974) ให฾ความหมายว฽าเป็นกระบวนการเรียนรู฾ตลอดชีวิต ซ่ึงบุคคลแสวงหา
และรับความรู฾ ทักษะ ทัศนคติความเข฾าใจที่กระจ฽างชัดที่เก่ียวกับประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน และการ
แสดงออกตอ฽ สิง่ แวดลอ฾ มรอบๆ ตวั บุคคล

(Evan, 1981:chapter II) การศึกษาตามอัธยาศัย หมายถึงผลของการเรียนรู฾อันเกิดจาก
สถานการณ์ที่ผ฾ูเรียน หรือแหล฽งความรู฾อย฽างใดอย฽างหน่ึง มีเจตจานงเพ่ือส฽งเสริมการเรียนร฾ู แต฽ไม฽ใช฽ท้ังสอง
ปจั จยั เกิดตรงกัน

88

การศึกษาตามอัธยาศัย ไม฽ใช฽ของใหม฽แต฽เป็นการศึกษาท่ีมีมาต้ังแต฽มนุษย์เกิดขึ้นในโลกมนุษย์เรียนร฾ู
จากธรรมชาติ เช฽น ในสังคมเกษตรกรรมมนุษย์เรียนร฾ูการหนีภัยจากธรรมชาติ และการหาอาหาร การทาสวน
ครัวจากพ฽อแม฽ หรือสมาชิกในครอบครัว แต฽ในสังคม อุตสาหกรรม มนุษย์เรียนรู฾มากข้ึนจากการติดต฽อค฾าขาย
การอ฽านการเขียน การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ ในปัจจุบันสังคมมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล฾อม ทาให฾มนุษย์
ต฾องมีการปรับตัวให฾สอดคล฾องกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น ทาให฾ต฾องแสวงหาความรู฾ใหม฽ๆ
ตลอดเวลา สานักงานส฽งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุพรรณบุรี เล็งเห็นถึง
ความสาคัญของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่ส฽งผลต฽อการเรียนร฾ูตลอดชีวิตให฾กับประชาชนอย฽างย่ังยืน จึง
จดั ทาโครงการการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ประจาปี 2565 กิจกรรมสง฽ เสรมิ การอ฽านในรูปแบบที่หลากหลาย
กับประชาชน เพอ่ื เป็นกระต฾ุน สรา฾ งนสิ ยั การอ฽าน เพ่ิมอัตราการอา฽ นของประชาชน ทั้งกจิ กรรมส฽งเสริมการอ฽าน
ในหอ฾ งสมุดประชาชน กิจกรรมนอกหอ฾ งสมุดประชาชน การสร฾างอาสาสมัครส฽งเสริมการอ฽าน กิจกรรมส฽งเสริมการ
อ฽านร฽วมกับภาคีเครือข฽ายในรูปแบบจัดตั้งบ฾านหนังสือชุมชน กิจกรรมส฽งเสริมการอ฽านเคลื่อนที่ในรูปแบบรถ
ห฾องสมุดเคลื่อนที่ส฽งเสริมการอ฽าน อีกทั้งมีผลักดันให฾เกิดห฾องสมุดสู฽การเป็นห฾องสมุดเสมือนจริงต฾นแบบ เพ่ือ
พัฒนาให฾ประชาชนมีความสามารถในระดับ อ฽านคล฽อง เข฾าใจความ คิดวิเคราะห์พ้ืนฐาน และสามารถรับรู฾ข฾อมูล
ขา฽ วสารทถ่ี กู ตอ฾ งและทนั เหตุการณ์ รวมทง้ั นาความรู฾ท่ีได฾รับไปใช฾ปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน และนาไปส฽ูการสร฾าง
เสรมิ วัฒนธรรมการอ฽านให฾เกิดข้นึ ในสังคมไทยต฽อไป

ในการน้ีงานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
สามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ได฾เล็งเห็นถึงความสาคัญของการอ฽าน จึงได฾จัดทาโครงการการจัดการศึกษาตาม
อัธยาศัย ปีงบประมาณ 2565 เพ่ือเป็นการพัฒนาห฾องสมุดประชาชนให฾เป็นศูนย์ Digital literacy และ
ศูนย์กลางการเรียนรู฾ตลอดชีวิตของชุมชน และเป็นการส฽งเสริมการอ฽าน สร฾างนิสัยรักการอ฽าน รักการเรียนรู฾
รวมท้งั ผร฾ู บั บรกิ ารและประชาชนท่ัวไปสามารถนาความรูท฾ ไ่ี ด฾รบั ไปประยุกต์ใช฾ในชวี ิตประจาวันได฾ และนาไปส฽ู
การสร฾างสังคมแห฽งการอ฽าน ครอบครัวรักการอ฽าน ชุมชนรักการอ฽าน เมืองนักอ฽าน และนาไปส฽ูการสร฾าง
วฒั นธรรมการอา฽ นให฾เกิดขนึ้ ในสงั คมไทย

4. วัตถปุ ระสงค์
4.1 เพ่ือพัฒนาห฾องสมุดประชาชนและแหล฽งการเรียนรู฾ในชุมชน ให฾เป็นศูนย์กลางการเรียนร฾ูตลอด

ชีวติ
4.2 เพอื่ ให฾ประชาชนและผูร฾ บั บริการ เกิดการเรียนรู฾ สามารถศึกษาเรียนร฾ูด฾วยตนเองจากการเข฾าร฽วม

กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั พรอ฾ มนาความรู฾ท่ไี ด฾รับไปประยกุ ต์ใชใ฾ นชีวติ ประจาวันได฾
4.3 เพื่อส฽งเสรมิ การอา฽ น สร฾างนิสัยรกั การอา฽ น รักการเรียนรใ฾ู ห฾กบั ประชาชนและผร฾ู บั บริการทว่ั ไป

5. เป้าหมาย รวมทงั้ สน้ิ จานวน 7,120 คน
5.1 เชงิ ปริมาณ
- ประชาชน/ผ฾รู บั บริการ

89

- หนงั สอื (บรรณสัญจร) รวมท้งั ส้ินจานวน 1,000 เล฽ม

5.2 เชิงคณุ ภาพ

- ห฾องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชกุ และแหล฽งการเรียนรู฾ในชุมชน เป็นศูนย์กลางการเรียนร฾ูตลอด

ชีวิต เยาวชน ประชาชนและผู฾รับบริการท่ัวไป เกิดการเรียนรู฾ มีนิสัยรักการอ฽าน รักการเรียนร฾ู สามารถ

ศึกษาเรียนรด฾ู ฾วยตนเองจากการเข฾าร฽วมกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยและสามารถนาความร฾ูที่ได฾รับจาก

การอ฽านและการเข฾าร฽วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช฾ในชีวิตประจาวันได฾ ก฽อให฾เกิดเป็นสังคมแห฽งการอ฽าน

ครอบครวั รกั การอา฽ น ชุมชนรักการอา฽ น เมืองนักอ฽าน และนาไปส฽ูวัฒนธรรมการอา฽ นที่เกิดขนึ้ ในสงั คมไทย

6. วธิ ดี าเนนิ การ วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ท่ี ระยะ งบ
ดาเนนิ การ เวลา ประมาณ
กิจกรรมหลกั
-เพื่อช้ีแจงและและ บคุ ลากร กศน. บรรณารกั ษ์ กศน.อาเภอ ธนั วาคม -
1.ข้นั วางแผน (Plan) สร฾างความเข฾าใจใน อาเภอสามชกุ /กศน.ตาบล สามชุก 2564
ประชุมและวางแผนการ กาดาเนินงาน จานวน
ดาเนินงานเพ่ีอขออนมุ ัติ
โครงการการจัดการศึกษาตาม 16 คน
อัธยาศยั ปงี บประมาณ 2565

2.ขนั้ ปฏบิ ตั ติ ามแผน (DO)

ดาเนนิ การจัดโครงการการจดั -เพือ่ พัฒนาห฾องสมุด ป ร ะ ช า ช น / เยาวชน หอ฾ งสมุด 1 ตลุ าคม
ประชาชน 2564
การศึกษาตามอธั ยาศยั ประชาชนและแหล฽ง ผูร฾ บั บรกิ าร ประชาชน อาเภอ -
สามชกุ และ 30 กันยายน
ปีงบประมาณ 2565 การเรยี นรู฾ในชุมชน ในพื้นท่ีจังหวัด และ ในพ้นื ที่ 2565
อาเภอ
ประกอบด฾วย กิจกรรมสง฽ เสริม ใหเ฾ ปน็ ศนู ย์กลางการ สุพรรณบรุ ี ผ฾รู บั บริการ สามชุก
สพุ รรณบรุ ี
การอา฽ นและการเรียนร฾ู เรยี นรต฾ู ลอดชวี ติ ทวั่ ไป

1.ส฽งเสริมการอ฽านห฾องสมุด - เพอื่ ให฾ประชาชน

ประชาชน และผู฾รบั บรกิ าร

1.1 ส฽งเสริมการอ฽านภายใน เกิดการเรยี นรู฾ 5,000 คน

หอ฾ งสมดุ สามารถศึกษา

1.2 สง฽ เสรมิ การอา฽ นภายนอก เรยี นรด฾ู ฾วยตนเอง 500 คน

ห฾องสมดุ จากการเขา฾ ร฽วม

2. บา฾ นหนังสอื ชมุ ชน กจิ กรรมการศึกษา 21 แห฽ง

ตามอธั ยาศยั พรอ฾ ม 1,050 คน

3. สง฽ เสริมการอ฽าน นาความรู฾ที่ไดร฾ ับไป 150 คน

90

กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เป้าหมาย พื้นท่ี ระยะ งบ
ดาเนินการ เวลา ประมาณ

(รถโมบายเคล่ือนที่จังหวัด ประยกุ ตใ์ ช฾ใน .-
3,650.-
สพุ รรณบุร)ี ชีวิตประจาวนั ได฾ 17,080.-
8,400.-
4. กิจกรรมส฽งเสริมการอ฽าน -เพ่ือส฽งเสริมการ 140 คน 12,360.-
9,300.-
เคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดใน อา฽ น สร฾างนิสยั รกั 28,700.-
3,900
ตาบล การอ฽าน รกั การ
-
5. อาสาสมคั รส฽งเสรมิ การอ฽าน เรยี นร฾ใู ห฾กบั 280 คน
1,000 เล฽ม -
6. บรรณสัญจร ประชาชนและ
1 แหง฽
ผู฾รบั บรกิ ารท่ัวไป 1 แห฽ง
7 ตาบล
7. ค฽าหนงั สอื และสื่อหอ฾ งสมุด 1 แห฽ง
1 แห฽ง
8. คา฽ หนงั สือพมิ พห์ อ฾ งสมุด 1 แหง฽
1 แห฽ง
9. ค฽าหนงั สือพิมพ์ กศน.ตาบล 7 ตาบล

10. คา฽ วารสาร

11. คา฽ สาธารณูปโภค

12. งบบริหาร

13. ค฽าเชา฽ บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็

14. โครงการพัฒนาห฾องสมุด

ประชาชนเคลื่อนท่ี

3.ข้ันตรวจสอบการปฏิบัติตาม เพ่อื ประเมนิ ผลการ หอ฾ งสมุด คณะนเิ ทศ ห฾องสมุด ตุลาคม
ตดิ ตามผล 4 ประชาชน 2565
แผน(Check) ดาเนนิ งานให฾ ประชาชน คน อาเภอ -

นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล เปน็ ไปตาม อาเภอสามชุก สามชุก และ กนั ยายน
ในพน้ื ท่ี 2565
วตั ถปุ ระสงค์ และในพน้ื ที่ อาเภอ
สามชุก
อาเภอสามชุก

4.ข้นั ปรบั ปรงุ แก฾ไข(Act) 4 คน กศน.อาเภอ กันยายน
สามชกุ 2565
สรุปผลการดาเนินงานเพื่อการ เพ่อื ใหข฾ ฾อเสนอแนะ บรรณารักษ์และ
พฒั นา แนวทางแก฾ปัญหา ครู กศน.ตาบล

พัฒนาใหม฾ ี

ประสิทธิภาพมาก

91

กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะ งบ
ยิง่ ขึ้น ดาเนินการ เวลา ประมาณ

7. วงเงนิ งบประมาณทง้ั โครงการ
แผนงบประมาณ 2565 พื้นฐานด฾านการพัฒนาและเสริมสร฾างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลติ ที่ 5

ผ฾ูรบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั กิจกรรมการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั งบดาเนนิ งาน เป็นเงินจานวนรวม

ทัง้ สิน้ 83,390 บาท (แปดหม่ืนสามพันสามร฾อยเกา฾ สบิ บาทถ฾วน)

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
กจิ กรรมหลัก (ต.ค. – ธ.ค. 64) (ม.ค. – มี.ค. 65)
(เม.ย. – มิ.ย.65) (ก.ค. – ก.ย. 65)
1.กจิ กรรมสง฽ เสรมิ การอา฽ นหอ฾ งสมดุ ประชาชน 1,375 คน 1,375 คน
2.กจิ กรรมบ฾านหนังสอื ชมุ ชน 260 คน 265 คน 1,375 คน 1,375 คน
3.กิจกรรมส฽งเสริมการอ฽าน (รถโมบาย 75 คน
เคล่ือนที่จงั หวดั สุพรรณบุร)ี - 260 คน 265 คน
4.กิจกรรมส฽งเสริมการอ฽านเคล่ือนที่สาหรับ 40 คน
ชาวตลาดในตาบล 30 คน 45 คน 30 คน
5.กิจกรรมอาสาสมัครสง฽ เสรมิ การอ฽าน 80 คน
6.กจิ กรรมบรรณสญั จร 60 คน 250 เลม฽ 40 คน 30 คน
7. ค฽าหนังสอื และส่อื ห฾องสมุด 250 เลม฽
8. คา฽ หนงั สือพิมพ์หอ฾ งสมดุ - 60 คน 80 คน
9. ค฽าหนงั สอื พมิ พ์ กศน.ตาบล - 905 บาท 250 เลม฽ 250 เล฽ม
10. คา฽ วารสาร 920 บาท 5,250 บาท
11. ค฽าสาธารณปู โภค 3,290 บาท 2,884 บาท - -
12. งบบริหาร 1,316 บาท 3,714 บาท 920 บาท 905 บาท
2,466 บาท 2,325 บาท 3,290 บาท 5,250 บาท
2,325 บาท 1,316 บาท 2,884 บาท
2,466 บาท 3,714 บาท
2,325 บาท 2,325 บาท

92

กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ต.ค. – ธ.ค. 64) (ม.ค. – ม.ี ค. 65)
13. ค฽าเชา฽ บริการอินเทอรเ์ น็ต (เม.ย. – ม.ิ ย.65) (ก.ค. – ก.ย. 65)
14. โครงการพัฒนาห฾องสมดุ ประชาชน 8,320 บาท 8,319 บาท
เคลอ่ื นท่ี - 2,000 บาท 8,320 บาท 8,319 บาท

1,900 บาท -

9.ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
-นางจตุพร สิงห์บตุ ร บรรณารกั ษ์ หอ฾ งสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ
-นางศริ ธิ ร แกว฾ โกมล บรรณารกั ษ์ ห฾องสมดุ ประชาชนอาเภอสามชุก

10.เครอื ข่าย
- ทวี่ ฽าการอาเภอสามชุก
- เทศบาลตาบลสามชุก
- องคก์ ารบริการส฽วนตาบล
- โรงเรียน
- โรงพยาบาลสง฽ เสริมสขุ ภาพตาบล
- คณะกรรมการพฒั นาตลาดสามชุกเชิงอนรุ กั ษ์

11.โครงการท่ีเก่ียวขอ้ ง
- โครงการส฽งเสรมิ การอ฽านและพฒั นาแหลง฽ เรยี นร฾ใู นระดับตาบล ปีงบประมาณ 2565
- โครงการห฾องเคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุ ารี ปีงบประมาณ 2565

12.ผลลพั ธ์ (Outcome)
ห฾องสมุดประชาชนอาเภอสามชุกและแหล฽งการเรียนรู฾ในชุมชน เป็นศูนย์กลางการเรียนรู฾ตลอด

ชีวิต เยาวชน ประชาชนและผู฾รับบริการท่ัวไป เกิดการเรียนร฾ู มีนิสัยรักการอ฽าน รักการเรียนร฾ู สามารถ
ศึกษาเรยี นรูด฾ ว฾ ยตนเองจากการเข฾าร฽วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยและสามารถนาความร฾ูท่ีได฾รับจาก
การอ฽านและการเข฾าร฽วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช฾ในชีวิตประจาวันได฾ ก฽อให฾เกิดเป็นสังคมแห฽งการอ฽าน
ครอบครัวรกั การอ฽าน ชุมชนรักการอ฽าน เมืองนักอา฽ น และนาไปส฽ูวฒั นธรรมการอา฽ นทีเ่ กิดขึ้นในสงั คมไทย

13.ดชั นีช้วี ัดผลสาเร็จของโครงการ
ดชั นชี ี้วัดผลผลติ
-ร฾อยละ 80 ของประชาชนและผ฾ูรับบริการทั่วไป มีความพึงพอใจต฽อการเข฾าใช฾บริการห฾องสมุด

แหลง฽ การเรียนร฾ูในชมุ ชนและการเข฾ารว฽ มกิจกรรมงานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย อยูใ฽ นระดบั ดี ขึ้นไป

93

ดชั นชี ้ีวัดผลลัพธ์
- ประชาชน/ผู฾รับบริการท่ัวไป เกิดการเรียนรู฾ มีนิสัยรักการอ฽าน รักการเรียนร฾ู เห็นความสาคัญ
ของแหล฽งการอ฽านและแหล฽งเรียนรู฾ของชุมชน และสามารถนาความรู฾ที่ได฾รับจากการอ฽านและการเข฾าร฽วม
กิจกรรมไปประยุกต์ใช฾ในชวี ิตประจาวันได฾ ก฽อใหเ฾ กิดเป็นสงั คมแห฽งการอ฽าน ครอบครัวรักการอ฽าน ชุมชนรัก
การอา฽ น เมอื งนกั อา฽ น และนาไปสู฽วฒั นธรรมการอ฽านที่เกิดขึน้ ในสังคมไทย
14.การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผ฾เู ขา฾ ร฽วมกจิ กรรม/โครงการ
- แบบนิเทศการจัดกิจกรรม/โครงการ
- สรุปผลการดาเนนิ งานกิจกรรม/โครงการ

94

1. โครงการส่งเสรมิ การอ่านและพฒั นาแหล่งเรยี นรใู้ นระดบั ตาบล ปีงบประมาณ 2565

2. สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ 2565
3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรยี นรูคณุ ภาพ
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาบล และศูนยการเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.)

ใหมีความพรอมเพ่ือเปนพื้นท่ีการเรียนรูตลอดชีวิตทส่ี าคัญของชุมชน
3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในหองสมุดประชาชน ทเ่ี นน Library Delivery เพ่ือเพม่ิ อัตราการอาน

และการรูหนังสือของประชาชน
3.4 ใหบรกิ ารวทิ ยาศาสตรเชงิ รุก Science @home โดยใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือนาวิทยา

ศาสตรสูชวี ิตประจาวนั ในทุกครอบครวั
3.5 สงเสรมิ และสนบั สนุนการสรางพ้นื ที่การเรยี นรู ในรปู แบบ Public Learning Space/

Co - learning Space เพ่ือการสรางนเิ วศการเรยี นรูใหเกดิ ขน้ึ สงั คม

ความสอดคล้องกับมาตรฐาน กศน.
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั 3 มาตรฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของของผรู฾ ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา

3. หลกั การและเหตุผล
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห฽งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 แกไ฾ ขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 มาตรา 25

รัฐต฾องส฽งเสริมการดาเนินงานและการจัดตั้งแหล฽งการเรียนรู฾ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ เพื่อเป็นแหล฽งข฾อมูล
ข฽าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ท่ีสนับสนุน ส฽งเสริมให฾ผ฾ูเรียนใฝุเรียน ใฝุร฾ู แสวงหาความร฾ู และเรียนร฾ู
ด฾วยตนเอง เสริมสร฾างให฾ผู฾เรียนเกิดกระบวนการเรียนร฾ูจากประสบการณ์จริงท่ีทาให฾ผ฾ูเรียนได฾พัฒนาศักยภาพ
จากประสบการณต์ รง

กระทรวงศึกษาธิการ (นายชินวรณ์ บุญยเกียรติ) ได฾มีนโยบายให฾จัดต้ัง กศน.ตาบลเป็นแหล฽งเรียนร฾ู
สาหรับประชาชน ส฽งเสริมการอ฽าน สร฾างเครือข฽ายรักการอ฽านในชุมชน สานักงาน กศน.ได฾ให฾ความสาคัญใน
เร่ืองดังกล฽าวจึงได฾สืบสานนโยบายโดยมีแนวทางการขับเคล่ือนการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน฾น
ยทุ ธศาสตรด์ า฾ นการพัฒนาศกั ยภาพคนใหม฾ ีคณุ ภาพ ในการเพิ่มอตั ราการอ฽านของและเสริมสร฾างประชาชนโดย
ปลูกฝังและสร฾างทัศนคติคนไทยให฾เห็นคุณค฽าและประโยชน์ของการอ฽านหนังสือและสื่อทุกรูปแบบ ส฽งเสริม
สนับสนุนให฾ทุกภาคส฽วน มีส฽วนร฽วมในการเป็นภาคีเครือข฽ายส฽งเสริมการอ฽านและสร฾างความจูงใจในการสร฾าง
บรรยากาศและสิ่งแวดล฾อม พัฒนาและเพิ่มจานวนแหล฽งเรียนรู฾ ให฾สามารถจัดบริการได฾ครอบคลุมทุกตาบล
ชุมชนและตามท่ี เลขาธิการ กศน. ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล กาหนดจุดเน฾น การขับเคล่ือน กศน. ประจาปี

95

งบประมาณ พ.ศ.2565 ส฽งเสริมให฾ประชาชนได฾เรียนร฾ูอย฽างต฽อเน่ืองตลอดชีวิต เพ่ือความผาสุกของประชาชน
ภายใตค฾ ฽านยิ มหลัก “คนสาราญ งานสาเรจ็ ” โดยม฽ุงเน฾น ดังน้ี

“เปดิ โอกาส” การศึกษาเพือ่ เปิดโอกาสให฾ประชาชนเข฾าถึงการศึกษาและแหล฽งเรียนรู฾ ทุกทท่ี กุ เวลา
“สร฾างอาชีพ” การศึกษาเพื่อการมงี านทา มีสมั มาชพี โดยชอบ เพม่ิ ศกั ยภาพการแขง฽ ขันในยุคดิจทิ ลั
“พัฒนาถ่ินไทยงาม” การศึกษาเพื่อน฾อมนาและเผยแพร฽ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง รวมถึงแนวทางแระราชดาริต฽าง ๆ ให฾เกิดความเข฾าใจถ฽องแท฾และนาไปประยุกต์ปฏิบัติใช฾อย฽าง
กวา฾ งขวาง รวมทั้งธารงและต฽อยอดภูมิปญั ญาไทยตามบรบิ ทของชมุ ชน ท฾องถิน่ และครอบครวั
ในการนี้งานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
สามชุก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไดเ฾ ลง็ เหน็ ความสาคัญของการเรยี นร฾ูตามอัธยาศยั จากแหลง฽ เรียนรู฾ที่เกิดข้ึนในชุมชน
จงึ ไดจ฾ ดั ทาโครงการส฽งเสริมการอ฽านและพัฒนาแหล฽งเรียนร฾ูในระดบั ตาบล ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพ่ือพัฒนา
แหล฽งเรียนรู฾ในตาบล 7 ตาบลในพื้นที่อาเภอสามชุก ให฾เป็นศูนย์กลางการเรียนร฾ูในชุมชนรวมทั้งได฾ส฽งเสริม
สนับสนุนการบริการด฾านข฽าวสาร โดยมีหนังสือพิมพ์ใน กศน.ตาบล ท้ัง 7 ตาบล ของ กศน.อาเภอสามชุก ไว฾
บริการทั้งนี้เพ่ือนาไปส฽กู ารพัฒนาคุณภาพชวี ิตให฾ดียง่ิ ข้ึน

4. วัตถปุ ระสงค์
4.1 เพื่อพัฒนา กศน.ตาบล ให฾เป็นแหล฽งเรียนร฾ูของชุมชน โดยหนังสือพิมพ์ประจาตาบลไว฾บริการ

ขอ฾ มูลข฽าวสารอยา฽ งตอ฽ เนอ่ื ง
4.2 เพอื่ พฒั นาแหล฽งเรียนร฾ใู นตาบล ใหเ฾ ปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนร฾ูในชุมชน
4.3 เพ่อื สรา฾ งนสิ ยั รกั การอา฽ น รักการเรยี นร฾ูให฾กับนักศึกษา กศน. และประชาชนทวั่ ไป

5. เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
- กศน.ตาบล จานวน 7 แห฽ง

เชงิ คุณภาพ
- กศน.ตาบล ของ กศน.อาเภอสามชกุ มีการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัยให฾บริการหนังสือพมิ พ์ประจา
ตาบล บริการข฾อมูลข฽าวสาร สร฾างนสิ ยั รักการอ฽านแกน฽ ักศึกษา กศน.และประชาชนท่ัวไปอย฽างท่ัวถึง ได฾พัฒนา
แหล฽งเรียนรู฾ในชมุ ชน เพ่ือนาไปสก฽ู ารพฒั นาคุณภาพชวี ติ ให฾ดยี ิง่ ขึ้น

6. วธิ ดี าเนินการ

กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบ
ดาเนนิ การ ประมาณ

96

1.ข้ันวางแผน (Plan) -เพ่ือช้ีแจงและและ บุคลากร กศน. บคุ ลากร กศน. กศน.อาเภอ ธนั วาคม -
สามชกุ 2564
ประชุมและวางแผนการ สร฾างความเข฾าใจใน อาเภอสามชกุ อาเภอสามชกุ

ดาเนนิ งานเพี่อขออนมุ ตั ิ กาดาเนินงาน จานวน 16 คน

โครงการสง฽ เสรมิ การอา฽ น

และพัฒนาแหล฽งเรียนรูใ฾ น

ระดับตาบล ปีงบประมาณ

2565

2.ขน้ั ปฏบิ ัติตามแผน(Do) เพ่อื พฒั นา กศน. -กศน. ตาบล
สามชุก
ดาเนินการจัดโครงการ ตาบล ใหเ฾ ปน็ แหลง฽ -กศน. ตาบล ตลุ าคม
ยา฽ นยาว 2564
สง฽ เสรมิ การอา฽ นและ เรยี นรู฾ของชุมชน โดย -กศน. ตาบล -
หนองผกั นาก กนั ยายน
พัฒนาแหล฽งเรยี นรใู฾ น หนงั สือพมิ พ์ประจา -กศน. ตาบล 2565 17,080.-
หนองสะเดา
ระดับตาบล ปงี บประมาณ ตาบลไว฾บรกิ ารข฾อมูล -กศน. ตาบล
กระเสยี ว
2565 ดงั น้ี ข฽าวสารอยา฽ งต฽อเนอื่ ง -กศน. ตาบล
บ฾านสระ
1. ส฽งเสริมการอ฽านบริการ -เพอื่ พัฒนาแหล฽ง -ประชาชน -กศน. ตาบล 7 -กศน. ตาบล
วงั ลึก
หนังสอื พิมพ์ ภายใน กศน. เรยี นรูใ฾ นตาบล ให฾ ทั่วไป แหง฽ กศน.ตาบล ตุลาคม -
ทงั้ 7 แหง฽ 2564
ตาบล เป็นศูนย์กลางการ -นักศกึ ษา กศน.
-
2. ส฽งเสรมิ การอา฽ นพัฒนา เรยี นรู฾ในชมุ ชน -กศน.ตาบล 7 กันยายน
2565
แหลง฽ เรยี นรู฾ในระดบั ตาบล -เพอ่ื สรา฾ งนิสยั รกั การ แห฽ง กศน.อาเภอ กันยายน -
สามชกุ 2565
อ฽าน รกั การเรยี นร฾ู

ให฾กับนกั ศึกษา กศน.

และประชาชนทั่วไป

3.ขนั้ ตรวจสอบการ เพื่อประเมินผลการ กศน.ตาบล ทงั้ คณะนเิ ทศ

ปฏิบัติตามแผน(Check) ดาเนินงานให฾เป็นไป 7 แหง฽ ติดตามผล กศน.

นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล ตามวัตถุประสงค์ อาเภอสามชกุ

4.ขนั้ ปรับปรุงแกไ้ ข(Act) เพอ่ื ให฾ข฾อเสนอแนะ ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล

สรุปผลการดาเนนิ งานเพื่อ แนวทางแกป฾ ัญหา

การพัฒนา พัฒนาใหม฾ ี

ประสทิ ธิภาพมาก

ย่ิงข้ึน

97

7. งบประมาณทั้งโครงการ
แผนงาน : พ้ืนฐานด฾านการพัฒนาและเสริมสร฾างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 ผ฾ูรับบริการ

การศึกษาตามอธั ยาศัย งบดาเนินงาน กจิ กรรมจดั สร฾างแหล฽งการเรียนร฾ูในระดับตาบล (ค฽าหนังสือพิมพ์ กศน.
ตาบล) เป็นเงนิ 17,080 บาท (หนง่ึ หม่ืนเจ็ดพันแปดสบิ บาทถ฾วน)

8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
ต.ค.–ธ.ค.64 ม.ค.-ม.ี ค.65 เม.ย. –ม.ิ ย.65 ก.ค. –ก.ย.65
กจิ กรรมหลกั 3,290 บาท 5,250 บาท 3,290 บาท 5,250 บาท

-จดั ซื้อหนงั สือพิมพ์ กศน.ตาบล - - - -
-ส฽งเสรมิ การอา฽ น พฒั นาแหล฽งเรียนร฾ใู น
ระดบั ตาบล

9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ
-นางจตพุ ร สิงห์บตุ ร บรรณารักษ์ หอ฾ งสมดุ ประชาชนอาเภอสามชกุ
-นางศิรธิ ร แกว฾ โกมล บรรณารกั ษ์ หอ฾ งสมดุ ประชาชนอาเภอสามชุก

10.เครือข่าย
- กานัน ผูใ฾ หญบ฽ ฾าน
- องค์การบริการสว฽ นตาบล ท้ัง 7 ตาบล
- หน฽วยงานภาครัฐและเอกชนในอาเภอสามชุก

11.โครงการทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
- โครงการการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ปงี บประมาณ 2565
- โครงการห฾องเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุ ารี ปงี บประมาณ 2565

12. ผลลัพธ์( Outcome )
- กศน.ตาบล ของ กศน.อาเภอสามชุก มีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให฾บริการหนังสือพิมพ์ประจา

ตาบล บรกิ ารข฾อมลู ขา฽ วสาร สรา฾ งนิสัยรักการอ฽านแก฽นักศึกษา กศน.และประชาชนทั่วไปอย฽างท่ัวถึง ได฾พัฒนา
แหลง฽ เรียนร฾ูในชุมชน เพอ่ื นาไปสกู฽ ารพัฒนาคุณภาพชวี ิตให฾ดีย่ิงข้ึน

98

13. ดัชนชี ี้วดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ
13.1 ตวั ชี้วดั ผลผลติ (Output)
-ร฾อยละ 100 ของ กศน.ตาบล มีหนงั สอื พิมพ์บริการ ให฾กบั กลุ฽มเปาู หมาย
-ร฾อยละ 100 ของ กศน.ตาบล ได฾พัฒนาแหลง฽ การเรียนรใ฾ู นระดบั ตาบล

13.2 ตวั ช้ีวดั ผลลัพธ์ (Outcome)
- กศน.ตาบล ของ กศน.อาเภอสามชกุ มีการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัยใหบ฾ ริการหนังสือพิมพ์ประจา

ตาบล บริการข฾อมูลข฽าวสาร สรา฾ งนสิ ยั รกั การอ฽านแกน฽ ักศึกษา กศน.และประชาชนท่วั ไปอยา฽ งทวั่ ถึง ได฾พัฒนา
แหล฽งเรยี นร฾ูในชมุ ชน เพ่ือนาไปสก฽ู ารพฒั นาคุณภาพชวี ิตให฾ดียิ่งข้ึน

14.การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
- แบบประเมินความพึงพอใจของผเ฾ู ขา฾ ร฽วมกิจกรรม/โครงการ
- แบบนเิ ทศการจดั กจิ กรรม/โครงการ
- สรปุ ผลการดาเนนิ งานกจิ กรรม/โครงการ

99

1. โครงการ “หอ้ งสมุดเคล่อื นทีส่ าหรบั ชาวตลาด” ตามพระราชดาริของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ปีงบประมาณ 2565
2. สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565

3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคณุ ภาพ
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาบล และศนู ยการเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟาหลวง” (ศศช.)

ใหมีความพรอมเพื่อเปนพ้ืนที่การเรียนรูตลอดชีวิตทสี่ าคัญของชมุ ชน
3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหองสมดุ ประชาชน ทเี่ นน Library Delivery เพ่อื เพิ่มอตั ราการอาน

และการรหู นังสือของประชาชน
3.4 ใหบริการวทิ ยาศาสตรเชงิ รุก Science @home โดยใชเทคโนโลยีเปนเครอ่ื งมือนาวทิ ยา

ศาสตรสูชีวิตประจาวันในทุกครอบครวั
3.5 สงเสริมและสนับสนนุ การสรางพืน้ ทีก่ ารเรียนรู ในรูปแบบ Public Learning Space/

Co - learning Space เพ่ือการสรางนิเวศการเรียนรูใหเกดิ ขึน้ สงั คม
ความสอดคล้องกับมาตรฐาน กศน.

มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั 3 มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของของผูร฾ บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา

3. หลักการและเหตุผล
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให฾ สานักงาน กศน. ดาเนินงการจัดทาโครงการ “ห฾องสมุด

เคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาด” ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เริ่ม
ตั้งแต฽ปีงบประมาณ 2560 ถึงปัจจุบัน โดยใช฾หลักการมีส฽วนร฽วม “ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน” ซ่ึงมี
ห฾องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาดต฾นแบบจังหวัดละ 1 แห฽ง และมีห฾องสมุดเคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาดระดับ
อาเภอ ตาบล ท่ีเกิดข้ึนตามความพร฾อม ความเหมาะสม เนื่องจากเป็นการส฽งเสริมการอ฽าน การศึกษาเรียนรู฾
“นง่ั ที่ไหน อ฽านทน่ี ัน่ ” สนองนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศกึ ษาธิการ

ในปีงบประมาณ 2565 สานักงาน กศน.จังหวัดสุพรรณบุรี ได฾มอบหมายให฾ กศน.อาเภอสามชุก
จัดทาโครงการ “ห฾องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด” ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ปีงบประมาณ 2565 ซึ่งเป็นห฾องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาดต฾นแบบ และให฾มี
ห฾องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดระดับอาเภอ ตาบล ที่เกิดขึ้นตามความพร฾อม ความเหมาะสม ท้ังนี้เพ่ือ
ส฽งเสริมการอ฽านให฾กบั ชมุ ชนชาวตลาดและผู฾สนใจทั่วไป โดยใช฾หลักการมีส฽วนร฽วมที่เก่ียวข฾อง ความเหมาะสม
ของแต฽ละพื้นท่ี อันก฽อให฾เกิดพลังชุมชนท่ีเข็มแข็งในการร฽วมสร฾างวัฒนธรรมการอ฽านและเป็นการส฽งเสริมให฾
ชมุ ชนเปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรแู฾ ละการพัฒนาตามหลักการของชุมชน โดยชมุ ชนเพ่ือชุมชนอย฽างแท฾จริง

100

4. วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให฾พ฽อค฾า แม฽ค฾าสามชุกตลาดร฾อยปี และประชาชนผู฾มาใช฾บริการ มีความรู฾ ความเข฾าใจ เร่ือง

“หอ฾ งสมดุ เคลอื่ นที่สาหรบั ชาวตลาด” ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
2. เพื่อให฾พ฽อค฾า แม฽ค฾าสามชุกตลาดร฾อยปี และประชาชนผู฾มาใช฾บริการ ได฾รับส฽งเสริมการอ฽านและ

สรา฾ งนสิ ยั รกั การอ฽าน รักการเรียนรู฾

5. เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ
- พ฽อค฾า แมค฽ า฾ สามชุกตลาดรอ฾ ยปี และประชาชนผม฾ู าใช฾บรกิ าร จานวน 3,100 คน
เชิงคณุ ภาพ
-พอ฽ ค฾า แมค฽ ฾าสามชกุ ตลาดร฾อยปี และประชาชนผูม฾ าใชบ฾ ริการ ได฾รับบรกิ ารสง฽ เสรมิ การอ฽านเพือ่ การ

เรยี นร฾ูทีห่ ลากหลาย มนี ิสยั รกั การอา฽ นและมีคุณภาพชวี ติ ทด่ี ีขึน้ สามารถใชเ฾ วลาวา฽ งใหเ฾ กิดประโยชน์ และนา
ความรทู฾ ไี่ ด฾รบั จากการอ฽านไปประยกุ ตใ์ ชใ฾ นชวี ติ ประจาวนั ไดร฾ วมทั้งได฾แลกเปลี่ยนเรียนรู฾ประสบการณ์ซึง่ กนั
และกนั ตามพระราชดารขิ องสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

6. วิธกี ารดาเนินการ

กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย พ้นื ที่ ระยะ งบ
เป้าหมาย
(คน/แหง่ ) ดาเนินการ เวลา ประมาณ

1.ข้ันวางแผน (Plan) -เพื่อสร฾างความเข฾าใจ บคุ ลากร กศน. บคุ ลากร กศน. กศน.อาเภอ ธันวาคม -

ประชมุ เพ่ือวางแผนการ และวางแนวทางในการ อาเภอ สามชกุ อาเภอสามชุก สามชกุ 2564

ทางานและขออนมุ ัติ ทางานร฽วมกนั จานวน 16 คน

โครงการ “หอ฾ งสมุด

เคลอื่ นท่ีสาหรบั ชาว

ตลาด” ตามพระราชดาริ

ของสมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรม

ราชกุมารี

2. ขนั้ ปฏบิ ัติตามแผน(DO) 1. เพ่ือให฾พ฽อค฾า แม฽ค฾า พ฽อคา฾ แม฽คา฾ 3,100 คน ตลาดสามชุก ตุลาคม

-ดาเนนิ การจดั โครงการ สามชุกตลาดร฾อยปี และ สามชกุ ตลาดร฾อยปี รอ฾ ยปี 2564

“หอ฾ งสมดุ เคล่ือนทส่ี าหรบั ประชาชนผ฾ูมาใช฾บริการ และประชาชนผม฾ู า -

ชาวตลาด” ตาม มีความร฾ู ความเข฾าใจ ใช฾บรกิ าร กันยายน

พระราชดารขิ องสมเดจ็ เร่ือง “ห฾องสมุดเคลื่อนที่ 2565

101

กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย พื้นท่ี ระยะ งบ
เปา้ หมาย
(คน/แหง่ ) ดาเนินการ เวลา ประมาณ

พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สาหรับชาวตลาด” ตาม

สยามบรมราชกุมารี พระราชดาริของสมเด็จ

พระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุ ารี

2. เพื่อให฾พ฽อค฾า แม฽ค฾า

สามชุกตลาดร฾อยปี และ

ประชาชนผู฾มาใช฾บริการ

ไ ด฾ รั บ ส฽ ง เ ส ริ ม ก า ร อ฽ า น

และสร฾างนสิ ัยรักการอ฽าน

รกั การเรยี นรู฾

3. ขัน้ ตรวจสอบการปฏิบตั ิ -เพอื่ ประเมนิ ผลการ คณะนเิ ทศ สามชุก
ตดิ ตามผล ตลาดร฾อยปี
ตามแผน(Check) ดาเนินงานให฾เปน็ ไปตาม บรรณารกั ษ์ กศน.อาเภอ
สามชกุ กศน.อาเภอ
นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล วตั ถปุ ระสงค์ บรรณารักษ์ สามชกุ

4. ขน้ั ปรับปรุงแก฾ไข(Act) -เพ่ือให฾ข฾อเสนอแนะ บรรณารกั ษ์
สรุปผลการดาเนินงานเพ่ือ แนวทางแก฾ปัญหาพัฒนา
การพัฒนา งานใหม฾ ีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึน้

7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ -

8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ - ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
ไตรมาส 1 (ม.ค.–ม.ี ค.65) (เม.ย.–มิ.ย.65) (ก.ค.–ก.ย.65)
กจิ กรรม (ต.ค.–ธ.ค.64)
775 คน 775 คน 775 คน 775 คน
1. จัดบริการมุมการอา฽ น
2. จดั กิจกรรมสง฽ เสริมการอ฽านและการเรยี นรู฾ให฾กบั
พอ฽ คา฾ แม฽คา฾ ชาวสามชุก ตลาดรอ฾ ยปแี ละประชาชน
ท่วั ไป

102

9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
-นางจตพุ ร สงิ หบ์ ตุ ร บรรณารกั ษ์ หอ฾ งสมดุ ประชาชนอาเภอสามชุก
-นางศริ ิธร แก฾วโกมล บรรณารกั ษ์ ห฾องสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ

10. เครือขา่ ย

- ทีว่ ฽าการอาเภอสามชกุ
- ตลาดรอ฾ ยปีสามชุก / คณะกรรมการพฒั นาตลาดสามชกุ เชิงอนรุ ักษ์
- หนว฽ ยงานภาครฐั และเอกชนในพ้ืนท่ีอาเภอสามชุก
11. โครงการที่เกีย่ วข้อง
-โครงการการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2565
-โครงการส฽งเสริมการอ฽านและพฒั นาแหลง฽ เรยี นรใ฾ู นระดบั ตาบล ปีงบประมาณ 2565

12. ผลลัพธ์ (Outcome)
-พอ฽ ค฾า แม฽ค฾าสามชกุ ตลาดร฾อยปี และประชาชนผูม฾ าใชบ฾ รกิ าร ไดร฾ ับบริการส฽งเสรมิ การอ฽านเพื่อการ

เรยี นร฾ทู ่หี ลากหลาย มีนิสยั รกั การอา฽ นและมีคุณภาพชีวติ ทดี่ ขี ึ้น สามารถใช฾เวลาว฽างให฾เกิดประโยชน์ และนา
ความรู฾ท่ไี ด฾รับจากการอ฽านไปประยกุ ตใ์ ชใ฾ นชวี ิตประจาวนั ไดร฾ วมท้งั ได฾แลกเปล่ียนเรยี นร฾ูประสบการณ์ซง่ึ กนั
และกัน ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

13. ดชั นชี ้ีวัดความสาเรจ็ ของโครงการ

13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Output)
- ร฾อยละ 80 ของพ฽อค฾า แม฽ค฾าสามชกุ ตลาดรอ฾ ยปี และประชาชนผ฾ูมาใช฾บริการ ท่เี ขา฾ รบั บริการมี
ความพงึ พอใจในอยู฽ในระดับดี ขึน้ ไป
13.2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ(์ Outcome)
.- พอ฽ ค฾า แม฽ค฾าสามชกุ ตลาดร฾อยปี และประชาชนผม฾ู าใช฾บริการ ได฾รบั บริการสง฽ เสริมการอา฽ นเพ่ือการ
เรยี นรท฾ู ีห่ ลากหลาย มีนิสยั รักการอา฽ นและมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดขี ้ึน สามารถใชเ฾ วลาว฽างให฾เกิดประโยชน์ และนา
ความรท฾ู ไ่ี ด฾รับจากการอ฽านไปประยกุ ตใ์ ชใ฾ นชวี ติ ประจาวนั ได฾รวมทัง้ ได฾แลกเปล่ียนเรียนรู฾ประสบการณ์ซ่ึงกนั
และกนั ตามพระราชดารขิ องสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

14. การตดิ ตามและการประเมนิ ผลโครงการ
- แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู฾ ขา฾ รว฽ มกจิ กรรม/โครงการ
- แบบนเิ ทศการจดั กจิ กรรม/โครงการ
- สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรม/โครงการ

103

1. โครงการภาษาต่างประเทศเพอื่ การสอื่ สารด้านอาชพี

2. ความสอดคล้องกับนโยบาย
สอดคล้องยทุ ธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศกึ ษาต่อเนอื่ ง
1.1 ผ฾เู รยี นการศึกษาต฽อเนอ่ื งมีความรู฾ ความสามารถ และหรอื ทักษะ และหรือคณุ ธรรมเปน็ ไปตาม

เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร

3. หลกั การและเหตุผล

การร่วมมือกันของอาเซียนในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคทั้ง
ทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและความม่ันคง ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับกฎบัตรอาเซียน
และนโยบายของรัฐบาล ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และกลุ่มประเทศอาเซียน
โดยใช้การศึกษาเป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนา เพื่อเป็นรากฐานสาคัญในการเสริมสร้างความ
เจรญิ รุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจ การเมอื งและความม่นั คง ตลอดจนสังคมและวฒั นธรรมของประเทศ

การเข฾าสู฽ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีมาตรการสาคัญประการหน่ึง คือการเตรียมคนไทยให฾มี
ความสามารถในการสื่อสาร จึงจาเป็นต฾องวางรากฐานให฾กับประชาชนให฾มีความพร฾อมและมีพื้นฐานในการใช฾
ภาษาตา฽ งประเทศสาหรับการส่ือสารและการประกอบอาชีพ

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล฽าวใน
การสง฽ เสริมการพฒั นาความร฾ูความสามารถ ทกั ษะการใช฾ภาษาตา฽ งประเทศแก฽ประชาชนในพ้ืนท่ีอาเภอสามชุก
จึงได฾ดาเนินการจัดทาโครงการภาษาต฽างประเทศเพ่ือการส่ือสารด฾านอาชีพข้ึน กศน.อาเภอสามชุก เช่ือม่ันว฽า
โครงการนจี้ ะสามารถช฽วยใหป฾ ระชาชนทเ่ี ขา฾ ร฽วมโครงการฯ ได฾รบั การพัฒนาความร฾ูความสามารถ ทักษะการใช฾
ภาษาตา฽ งประเทศเพอ่ื การส่ือสารด฾านอาชีพ ซึ่งเป็นการให฾โอกาสในการเข฾าสู฽ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การ
สร฾างช฽องทางเข฾าส฽ูงานอาชีพหรือการสร฾างรายได฾ ท่ีสอดคล฾องกับความต฾องการทางเศรษฐกิจและสังคม อัน
ส฽งผลดใี ห฾ฐานเศรษฐกิจของประเทศดีข้นึ

4. วัตถปุ ระสงค์
4.1 เพื่อพัฒนาประชาชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจการส่ือสารภาษาต่างประเทศ สามารถนาความรู้ที่

ไดไ้ ปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชพี
4.2 เพอื่ ใหป้ ระชาชน มที กั ษะในการสอ่ื สารด้านการฟงั การพดู ภาษาต่างประเทศในชวี ติ ประจาวนั ได้

5. เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ

104

ประชาชนในอาเภอสามชุก จานวน 15 คน
เชงิ คุณภาพ

ประชาชนผ฾ูเข฾าร฽วมโครงการ เป็นผ฾ูมีความร฾ูความเข฾าใจและมีทักษะทางด฾าน
ภาษาต฽างประเทศเพ่ือการส่ือสารด฾านอาชีพและนาความร฾ูและทักษะท่ีได฾รับจากการฝึกอบรมไป
ประยกุ ต์ใชใ฾ นการสรา฾ งรายได฾ของตนเอง

6. วธิ ีดาเนนิ การ

กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ พืน้ ที่ ระยะ งบ
เปา้ หมาย ดาเนนิ การ เวลา ประมาณ
1.ประชุมวางแผน เพ่อื วางแผนการดาเนินกิจกรรม บคุ ลากร กศน. กศน.อาเภอ พ.ย.64
(P) อาเภอสามชุก -
13 คน สามชกุ 17,700.-
ประชาชนท่ัวไป
2. จดั ทาโครงการ -เพอื่ พฒั นาประชาชน ใหม้ ีความรู้ จานวน 15 คน ในพน้ื ท่ี ม.ค. 65 -
อาเภอ -
(D) ดาเนินการจัด ความเข้าใจการส่ือสาร บคุ ลากร กศน. สามชกุ -
อาเภอสามชุก มี.ค. 65
กจิ กรรมอบรมให฾ ภาษาตา่ งประเทศ สามารถนา
ความรู฾ ความร้ทู ่ีได้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการ บคุ ลากร กศน.
ดาเนินชีวิตและการประกอบอาชพี อาเภอสามชกุ
ภาษาตา฽ งประเทศ -เพ่ือให้ประชาชน มีทกั ษะในการ
เพ่ือการสือ่ สาร
ดา฾ นอาชีพ สอ่ื สารดา้ นการฟงั การพูด
ภาษาต่างประเทศในชวี ติ ประจาวัน

ได้

3. นเิ ทศติดตาม เพื่อทราบผล/ปัญหา/อปุ สรรคใน ในพื้นท่ี ม.ค. 65
อาเภอ -
ผล (C) การดาเนนิ งาน สามชกุ ม.ี ค. 65
กศน.อาเภอ ก.ย. 65
4. สรปุ รายงานผล เพ่ือสรปุ รายงานผลการดาเนินงาน สามชกุ
และตดิ ตามผลเพอื่
การพัฒนา (A)

7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ
งบประมาณปี 2565 แผนงาน ยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด฾านการพัฒนาและเสริมสร฾างศักยภาพ

ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน งบรายจ฽ายอ่ืน ค฽าใช฾จ฽าย โครงการ
ภาษาตา฽ งประเทศเพ่ือการสอ่ื สารดา฾ นอาชีพ จานวน 17,700.- (หน่ึงหมนื่ เจ็ดพันเจ็ดรอ฾ ยบาทถว฾ น)

105

8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-มิ.ย.65) (ก.ค.-ก.ย.65)

อบรมให฾ความรู฾ภาษาต฽างประเทศ - 17,700- - -

เพ่ือการสือ่ สารดา฾ นอาชีพ

หมายเหตุ ทกุ รายการขอถัวจ฽ายตามที่จ฽ายจรงิ และอาจเปล่ียนแปลงงบประมาณตามท่ีอนมุ ัติมา

9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

นางปัทมา อนิ ทรแ์ ชม฽ ชอ฾ ย ครู กศน.ตาบลวังลกึ

10. เครอื ขา่ ย

10.1 องค์การปกครองส฽วนทอ฾ งถ่นิ
10.2 ผนู฾ าชมุ ชน

11. โครงการทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน

12. ผลลัพธ์

ประชาชน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะในสื่อสารด้านการฟงั การพูด ภาษาต่างประเทศใน
ชวี ิตประจาวัน และสามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพ

13. ดัชนีตวั ชวี้ ดั ผลสาเร็จของโครงการ

13.1 ตวั ชี้วดั ผลผลติ (Outputs)

รอ฾ ยละ 80 ของผู฾เขา฾ รว฽ มโครงการ มคี วามรู฾ ความเข฾าใจ และมีทักษะในส่ือสารด฾านการฟัง การพดู
ภาษาตา฽ งประเทศในชีวิตประจาวนั และสามารถนาความร฾ูท่ไี ด฾ไปประยุกตใ์ ชใ฾ นการดาเนินชีวิตและการ
ประกอบอาชีพ

13.2 ตัวช้วี ัดผลลพั ธ์ (Outcomes)

ผเู฾ ข฾าร฽วมโครงการ มีความสามารถ มที ักษะในส่ือสารด฾านการฟัง การพดู ภาษาต฽างประเทศใน
ชีวิตประจาวนั และนาความร฾ูทไี่ ด฾ไปประยุกต์ใชใ฾ นการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพ

106

14. การตดิ ตามประเมินผลโครงการ
14.1 การนเิ ทศตดิ ตามการจดั กจิ กรรม
14.2 สรุปรายงานการดาเนินการจัดกิจกรรมโครงการอบรมภาษาต฽างประเทศเพ่ือการสื่อสารด฾าน

อาชีพ

107

1. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทลั ชุมชน

2. สอดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ 2565
สอดคลอ้ งยทุ ธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเนือ่ ง
1.1 ผเ฾ู รียนการศึกษาต฽อเน่ืองมีความร฾ู ความสามารถ และหรือทักษะ และหรอื คณุ ธรรมเป็นไปตาม

เกณฑ์การจบหลักสตู ร
3. หลกั การและเหตุผล

กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร ได฾กาหนดนโยบายดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
เพื่อขับเคล่ือนสังคมดิจิทัลให฾เกิดขึ้นในประเทศไทยโดยเร็ว ซ่ึงในการดาเนินการเช฽นว฽าภาครัฐและภาคเอกชน
จะต฾องจัดการศึกษาเรียนรู฾ให฾แก฽วิทยากร และเปิดโอกาสให฾กลุ฽มบุคคลท่ัวไปที่มีความสนใจเข฾ามาศึกษาเรียนร฾ู
ประสบการณ์ในการพัฒนาตนเองด฾านการใช฾เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือนาความรู฾ไปขยายต฽อให฾แก฽บุคคลรอบข฾าง
รวมท้ังการนามาพัฒนาตอ฽ ยอดในการใช฾เทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือส฽งเสรมิ เศรษฐกิจและสังคมในชมุ ชน

ด฾วยเหตุผลตังกล฽าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก จึงเห็น
ความสาคัญของการนาความร฾ูและทักษะการใช฾ด฾านดิจิทัลมาส฽งเสริมและสนับสนุนให฾แก฽นักศึกษา และ
ประชาชนทัว่ ไปให฾ได฾ร฾ูจักการใช฾งานสมาร์ทโฟนให฾เกิดประโยชน์สูงสุด เช฽น การใช฾ประโยชน์จากแอปพลิเคชัน
ของหน฽วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน การใช฾เว็บไซต์ และการใช฾โปรแกรมประยุกต์ต฽าง ๆ ที่มีการพัฒนา และ
นามาใช฾งานบนโลกออนไลน์ เช฽น การใช฾ประโยชน์จาก googleในการเข฾าถึงข฾อมูล การใช฾ประโยชน์จาก
YouTube การใช฾ Facebook เปน็ เครอ่ื งมือในการสื่อสารกับสงั คมออนไลน์ การใช฾ Line ในการติดต฽อสื่อสาร
มาใชใ฾ นการดาเนินชีวิต

4. วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให฾ประชาชนมีความรู฾ ความเขา฾ ใจ ด฾านการใช฾เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
2. เพื่อสรา฾ งเครือขา฽ ยดจิ ิทลั ระดับตาบล

5. เปา้ หมาย

เชิงปรมิ าณ
- ประชาชนในพ้นื ที่อาเภอสามชุก จานวน 105 คน
เชิงคณุ ภาพ
- ประชาชนผ฾ูเข฾าร฽วมการอบรมมีความร฾ู ความเข฾าใจด฾านเทคโนโลยีดิจิทัลกับประโยชน์ต฽อเศรษฐกิจ
สงั คมและสร฾างเครอื ขา฽ ยการคา฾ ออนไลน์ระดับตาบลสามารถนามาประยุกตใ์ ช฾ในการดาเนินชีวติ ประจาวันได฾

108

6. วธิ ีการดาเนนิ การ วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้า พื้นทก่ี าร ระยะ งบ
กจิ กรรม เป้าหมาย หมาย ดาเนนิ การ เวลา ประมาณ
บคุ ลากร 16 คน กศน.อาเภอ พ.ย. 64
1.ประชมุ เพ่ือวางแผน -เพือ่ สร฾างความเข฾าใจและวาง กศน.อาเภอ 105 คน
สามชกุ สามชุก
การทางานและขอ แนวทางการทางานร฽วมกนั ประชาชน 4 คน พืน้ ที่ 7
ในพ้นื ท่ี 7 คน ตาบล
อนุมัติดาเนนิ การ(P) อาเภอ
สามชุก กศน.อาเภอ
2. ดาเนินการตาม -เพ่ือเสริมสร฾างความเข฾าใจ สามชกุ ธ.ค. 64 25,200.-
บคุ ลากร –
กจิ กรรม/โครงการ ดา฾ นเทคโนโลยีดิจิทลั กับ กศน.อาเภอ
ก.ย. 65
(D) ประโยชน์ต฽อเศรษฐกิจสังคม สามชกุ
ครู กศน.
1.หลักสูตร Digital และตนเอง ตาบล

literacy -เพ่อื สรา฾ งเครือข฽ายดจิ ทิ ลั
เนน฾ การใช฾งาน ระดับตาบล
โปรแกรมสานักงาน

เพ่อื เพ่ิมโอกาสในการ

มีงานทา

2.หลกั สูตรการคา฾

ออนไลน์

3.นเิ ทศ ตดิ ตาม -เพื่อการนิเทศ ตดิ ตาม ม.ค.65-
ม.ี ค. 65
ประเมนิ ผล(C) ประเมนิ ผล การดาเนินงานให฾
เม.ย.65
เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์

4.สรุปผลการ -เพอ่ื สรุปผลการดาเนินงาน

ดาเนินงานเพ่ือการ และใหข฾ ฾อเสนอแนะแนวทาง

พฒั นา(A) แก฾ปญั หาพฒั นางานให฾มี

ประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขน้ึ

7. วงเงนิ งบประมาณทงั้ โครงการ
งบประมาณปี 2564 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม กิจกรรมศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน

งบรายจ฽ายอื่น สาหรบั ค฽าใชจ฾ ฽ายโครงการศูนยด์ ิจิทลั ชมุ ชน จานวน 25,200.-บาท (สองหมนื่ หา฾ พนั สองรอ฾ ยบาท
ถว฾ น)

109

8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-มิ.ย.65) (ก.ค.-ก.ย65)
กิจกรรมหลกั
- 25,200.- - -
1.หลกั สูตร Digital literacy
เน฾นการใช฾งานโปรแกรมสานักงาน
เพ่ือเพม่ิ โอกาสในการมงี านทา
2.หลกั สูตรการค฾าออนไลน์

9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
นายสรุ ศกั ดิ์ สวา฽ งศรี ครู กศน.ตาบลย฽านยาว

10. เครือข่าย

10.1 ผู฾นาชุมชน
10.2 องค์การปกครองสว฽ นท฾องถิ่น

11. โครงการท่เี ก่ียวขอ้ ง
-

12. ผลลพั ธ์

เพ่อื ให฾ประชาชนผู฾เข฾ารว฽ มการอบรมมีความเขา฾ ใจด฾านเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลกับประโยชน์ตอ฽ เศรษฐกจิ
สงั คมและสร฾างเครือข฽ายดจิ ิทัลชุมชนระดบั ตาบลสามารถนามาประยุกต์ใชใ฾ นการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันได฾

13. ดัชนชี วี้ ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ

13.1 เชิงปริมาณ
รอ฾ ยละ 80 ของ ประชาชนท่ัวไปในพน้ื ท่อี าเภอสามชุก ผา฽ นกิจกรรม “อบรมขยายผลการ

เรยี นรูเ฾ ทคโนโลยดี ิจิทัลชุมชนระดบั ตาบล”
13.2 เชงิ คณุ ภาพ
ประชาชนผ฾ูเข฾าร฽วมกิจกรรม มีความเข฾าใจด฾านเทคโนโลยีดิจิทัลกับประโยชน์ต฽อเศรษฐกิจ

สังคมและสรา฾ งเครอื ข฽ายดิจทิ ลั ชุมชนระดับตาบลสามารถนามาประยกุ ตใ์ ช฾ในการดาเนิน ชวี ิตประจาวนั

14. การตดิ ตามและการประเมินผลโครงการ

14.1 การนิเทศติดตาม
14.2 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
14.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผ฾รู บั บริการ

110

1. โครงการจดั และสง่ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของ
ผ้สู งู อายุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565
2. สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเนน้ สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565

2. ดานการสรางสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ
2.1 สงเสรมิ การจดั การศึกษาตลอดชีวติ ทเ่ี นนการพฒั นาทักษะทจี่ าเปนสาหรับแตละชวงวัย

และการจดั การศึกษาและการเรียนรูทีเ่ หมาะสมกบั แตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพ้นื ท่ี
2.5 สงเสริมการจดั การศึกษาของผูสงู อายุ เพื่อใหเปน Active Ageing Workforce และมี Life

skillในการดารงชีวิตที่เหมาะกบั ชวงวยั

3. หลกั การและเหตุผล

การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในมติ ขิ อง กศน. ซง่ึ สานกั งาน กศน. ได฾ร฽วมมือระหว฽างคณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล ที่จะสรา฾ งบุคลากรภาครฐั ให฾มคี วามร฾ู ความเข฾าใจและความสามารถ
ในการออกแบบกจิ กรรมการศกึ ษาตลอดชวี ติ ปูองกันภาวะซึมเศร฾าในกลุ฽มผ฾ูสุงอายุ ซ่ึงจะช฽วยคงสมรรถนะทาง
กาย จิตและสมองของผ฾ูสูงอายุ ในช฽วงอายุ 60-70 ปี ซ่ึงเป็นกลุ฽มท่ียังมีพลังในการขับเคลื่อนสังคมโดยเฉพาะ
อยา฽ งย่งิ การสรา฾ งความอบอุ฽น เป็นหลัก เป็นทพี่ ึ่งให฾แกส฽ มาชิกในครอบครวั หากแตล฽ ะครอบครัวมีความเข฾มแข็ง
ยอ฽ มสง฽ ผลใหช฾ มุ ชน สังคมและประเทศเข฾มแขง็ ไปด฾วย

กล฽ุมผู฾สูงอายุติดสังคม สามารถแสดงพลังในการขับเคล่ือนสังคม โดยการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเป็น
อีกวิธีการหนึ่งที่จะช฽วยคงภาวะติดสังคมให฾แก฽ผู฾สูงอายุกล฽ุมน้ี รูปแบบของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล฽าว ได฾แก฽
ออกแบบกิจกรรมให฾ความร฾ูในเรื่องท่ีเกี่ยวข฾องกับคุณภาพชีวิตของผ฾ูสูงอายุ ท่ีเปิดโอกาสให฾ผ฾ูสูงอายุกล฽ุมติด
สังคมได฾ออกมาทากิจกรรมร฽วมกันอย฽างสม่าเสมอ ซึ่งลักษณะของกิจกรรมกล฽ุมน้ี ก็เพื่อปูองกันไม฽ให฾ผู฾สูงอายุ
กล฽ุมติดสังคมมีพัฒนาการไปเป็นผู฾สูงอายุภาวะพ่ึงพิง (ติดบ฾านและติดเตียง) ตราบเท฽าที่ผู฾สูงอายุยังสามารถคง
ภาวะติดสังคมไว฾ได฾จนตลอดชีวิต ย฽อมสร฾างประโยชน์ให฾แก฽ครอบครัว ชุมชนและสังคมได฾ อีกท้ังยังช฽วยลด
ภาระค฽าใช฾จ฽ายในการดูแลรักษาของภาครัฐได฾จานวนมาก ปัจจัยสาคัญของการที่จะคงภาวะติดสังคมใน
ผู฾สงู อายุไวใ฾ ห฾นานท่ีสุด ขนึ้ อยก฽ู ับการท่ผี ู฾สูงอายมุ โี อกาสเข฾าร฽วมกจิ กรรมที่เหมาะสมและอยา฽ งสม่าเสมอ

กศน.อาเภอสามชุก จึงให฾ความสาคัญกลุ฽มผ฾ูสูงอายุ ในการจัดและส฽งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
เพอื่ คงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผ฾สู ูงอายุ

4. วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือจัดและส฽งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของ
ผู฾สูงอายุ

2. เพื่อพฒั นาการทางกาย จิต และสมองที่เหมาะสมกบั ผ฾ูสงู อายุกล฽มุ ตดิ สังคม

111

5. เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
- ผส฾ู ูงอายุ อาเภอสามชุก จานวน 70 คน
เชิงคณุ ภาพ
- ผส฾ู งู อายไุ ดร฾ บั องคค์ วามรใ฾ู นการพัฒนาการทางกาย จิต และสมองที่เหมาะสมกบั ช฽วงวยั

6. วิธีการดาเนินการ

กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้า พน้ื ที่การ ระยะ งบ

เปา้ หมาย หมาย ดาเนนิ การ เวลา ประมาณ

1.ประชุมเพ่ือวางแผน -เพอ่ื สร฾างความเข฾าใจและวาง บคุ ลากร 15 คน กศน.อาเภอ พ.ย. 64

การทางานและขอ แนวทางการทางานรว฽ มกนั กศน.อาเภอ สามชุก

อนมุ ตั ดิ าเนนิ การ(P) สามชกุ

2. ดาเนนิ การตาม 1. เพ่ือจัดและส฽งเสริมการจัด ผ฾สู งู อายุ 70 คน พ้นื ที่ 7 เม.ย. 64 4,900

กจิ กรรม/โครงการ การศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือคง อาเภอ ตาบล –

(D) พัฒนาการทางกาย จิต และ สามชกุ ก.ย. 65

จัดและสง฽ เสริมการ สมองของผสู฾ ูงอายุ

จดั การศกึ ษาตลอด 2. เพ่ือพัฒนาการทางกาย จิต

ชวี ิต เพ่ือคง และสมองทีเ่ หมาะสมกบั

พัฒนาการทางกาย ผ฾สู ูงอายุกล฽มุ ติดสังคม

จติ และสมองของ

ผส฾ู งู อายุ

3.นิเทศ ตดิ ตาม -เพอ่ื การนเิ ทศ ตดิ ตาม บุคลากร 4 คน พ้ืนที่ 7 ก.ย.65

ประเมินผล(C) ประเมินผล การดาเนนิ งานให฾ กศน.อาเภอ ตาบล

เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ สามชกุ

4.สรปุ ผลการ -เพ่อื สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ครู กศน. 1 คน กศน.อาเภอ ก.ย.65

ดาเนินงานเพ่ือการ และให฾ข฾อเสนอแนะแนวทาง ตาบล สามชุก

พัฒนา(A) แกป฾ ัญหาพฒั นางานให฾มี

ประสิทธิภาพมากย่งิ ขนึ้

112

7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ

งบประมาณปี 2565 แผนงาน : ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช฽วงชวี ิต โครงการพฒั นา

คุณภาพชวี ติ ผส฾ู ูงอายุ งบรายจ฽ายอนื่ คา฽ ใชจ฾ า฽ ยโครงการจดั และส฽งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพอ่ื คง

พฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผ฾สู งู อายุ จานวน 4,900.- บาท (สพ่ี ันเก฾ารอ฾ ยบาทถว฾ น)

8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

กจิ กรรมหลกั ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
(ต.ค.-ธ.ค.64) (ม.ค.-ม.ี ค.65) (เม.ย.-มิ.ย.65) (ก.ค.-ก.ย65)

จัดและสง฽ เสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิต

เพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของ - 2,450 - 2,450

ผ฾สู ูงอายุ

9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
ครู กศน.ตาบล

10. เครือขา่ ย

10.1 ผนู฾ าชุมชน
10.2 องค์การปกครองสว฽ นท฾องถ่นิ

11. โครงการทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต

12. ผลลพั ธ์

ผู฾สงู อายไุ ดร฾ ับองค์ความรใ฾ู นการพฒั นาการทางกาย จติ และสมองท่ีเหมาะสมกบั ชว฽ งวยั

13. ดัชนีช้ีวัดความสาเร็จของโครงการ

13.1 เชิงปริมาณ
ร฾อยละ 80 ของ ผส฾ู งู อายุอาเภอสามชุก เข฾ารว฽ มกจิ กรรม

13.2 เชิงคุณภาพ
ผูส฾ ูงอายุไดร฾ ับองคค์ วามรูใ฾ นการพัฒนาการทางกาย จติ และสมองท่ีเหมาะสมกับช฽วงวัย

14. การนิเทศติดตาม
14.2 สรุปผลการดาเนนิ งาน
14.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของผ฾ูรบั บริการ

113

ภาคผนวก

114

มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั อาเภอสามชุก

มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีจานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี นการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ซึง่ มีประเด็น
พิจารณา จานวน 8 ประเดน็ ประกอบด฾วย
1.1 ผูเ฾ รยี นการศึกษาข้ันพื้นฐานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีสอดคลอ฾ งกบั หลักสูตรสถานศึกษา
1.2 ผเู฾ รียนการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค฽านิยม และคณุ ลกั ษณะท่ีดีตามท่ีสถานศึกษา
1.3 ผู฾เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย฽างมีวิจารณญาณและ
แลกเปลย่ี นความคิดเห็นรว฽ มกับผู฾อ่นื
1.4 ผเู฾ รียนการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมคี วามสามารถในการสรา฾ งสรรค์งาน ชนิ้ งาน หรอื นวัตกรรม
1.5 ผูเ฾ รยี นการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมีความสามารถในการใช฾เทคโนโลยีดิจิทลั
1.6 ผูเ฾ รยี นการศึกษาข้ันพืน้ ฐานมสี ขุ ภาวะทางกาย และสนุ ทรียภาพ
1.7 ผเ฾ู รียนการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานมีความสามารถในการอ฽าน การเขียน
1.8 ผจ฾ู บการศึกษาข้ันพื้นฐานนาความรู฾ ทักษะพ้ืนฐานทีไ่ ดร฾ ับไปใชห฾ รือประยุกต์ใช฾
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเน้นผู้เรียน เป็น
สาคัญ ซงึ่ มีประเดน็ การพิจารณา จานวน 4 ประเด็น ประกอบดว฾ ย
2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล฾องกับบริบท และความต฾องการของผู฾เรียน ชุมชน
ทอ฾ งถ่ิน
2.1 การใชส฾ ่ือท่ีเอ้ือต฽อการเรยี นร฾ู
2.3 ครมู ีความรู฾ ความสามารถในการจดั การเรยี นรูท฾ ่ีเน฾นผูเ฾ รยี นเป็นสาคญั
2.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร฾ูของผูเ฾ รยี นอยา฽ งเปน็ ระบบ
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน 9
ประเด็น ประกอบด฾วย
3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น฾นการมสี ว฽ นร฽วม
3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใชเ฾ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เพือ่ สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการ
3.5 การกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
3.6 การปฏบิ ัตหิ นา฾ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ปน็ ไปตามบทบาทที่กาหนด
3.7 การส฽งเสรมิ สนับสนนุ ภาคเี ครอื ข฽ายให฾มสี ฽วนร฽วมในการจัดการศึกษา

115

3.8 การส฽งเสรมิ สนับสนนุ การสรา฾ งสังคมแหง฽ การเรยี นร฾ู
3.9 การวจิ ยั เพอ่ื การบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา

หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช฾ร฽วมกันได฾ทั้ง
มาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต฽อเน่ือง และมาตรฐาน
การศึกษา ตามอัธยาศยั

มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่อื ง

มาตรฐานการศึกษาต่อเนอ่ื ง มีจานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน 1 ประเด็น
ประกอบดว฾ ย
1.1 ผเู฾ รียนการศกึ ษาตอ฽ เน่ืองมคี วามร฾ู ความสามารถ และหรอื ทักษะ และหรอื คุณธรรมเป็นไปตาม
เกณฑ์การจบหลกั สูตร ของสังคม
1.2 ผู฾จบหลกั สูตรการศึกษาตอ฽ เนือ่ งสามารถนาความรู฾ท่ีได฾ไปใช฾ หรือประยุกต์ใช฾ บนฐานค฽านยิ มร฽วม
1.3 ผู฾จบหลกั สตู รการศกึ ษาตอ฽ เนื่องทน่ี าความรไ฾ู ปใชจ฾ นเห็นเปน็ ประจกั ษ์หรือตวั อยา฽ งทีด่ ี มาตรฐานที่
2 คุณภาพการจดั การเรยี นรู้การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ซง่ึ มีประเด็นการพิจารณา จานวน 5
ประเด็น ประกอบดว฾ ย
2.1 หลักสูตรการศกึ ษาตอ฽ เน่อื งมีคณุ ภาพ
2.2 วทิ ยากรการศกึ ษาตอ฽ เนือ่ ง มีความร฾ู ความสามารถ หรอื ประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษา
ต฽อเนอ่ื ง
2.3 ส่อื ทีเ่ ออ้ื ตอ฽ การเรยี นร฾ู
2.4 การวัดและประเมนิ ผลผเ฾ู รียนการศกึ ษาต฽อเน่ือง
2.5 การจดั กระบวนการเรียนรก฾ู ารศึกษาต฽อเนอื่ งท่ีมคี ุณภาพ
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 9
ประเด็น ประกอบด฾วย
3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาที่เนน฾ การมีส฽วนร฽วม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใชเ฾ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการ
3.5 การกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏิบัตหิ น฾าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ป็นไปตามบทบาทที่กาหนด
3.7 การส฽งเสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ข฽ายให฾มีสว฽ นร฽วมในการจัดการศึกษา

116

3.8 การสง฽ เสรมิ สนับสนนุ การสรา฾ งสงั คมแหง฽ การเรยี นร฾ู
3.9 การวจิ ัยเพื่อการบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศึกษา

หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช฾ร฽วมกันได฾ท้ัง
มาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต฽อเน่ือง และมาตรฐาน
การศกึ ษา ตามอัธยาศัย

มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั มีจานวน ๓ มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผรู้ ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 1
ประเดน็ ประกอบด฾วย
1.1 ผร฾ู ับบริการมีความรู฾ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล฾องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือ
กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ซง่ึ มปี ระเด็นการพิจารณา จานวน 4 ประเด็น
ประกอบด฾วย
2.1 การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2.2 ผ฾ูจัดกจิ กรรมมคี วามร฾ู ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
2.3 ส่ือ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอ฾ มทีเ่ ออื้ ต฽อการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
2.4 ผูร฾ ับบริการมีความพึงพอใจต฽อการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 9
ประเด็น ประกอบด฾วย
3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาทเี่ น฾นการมีสว฽ นรว฽ ม
3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา
3.4 การใช฾เทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ
3.5 การกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
3.6 การปฏิบัตหิ น฾าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาทีเ่ ป็นไปตามบทบาทท่ีกาหนด
3.7 การสง฽ เสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครอื ขา฽ ยให฾มีส฽วนร฽วมในการจัดการศกึ ษา
3.8 การส฽งเสรมิ สนับสนุนการสร฾างสังคมแหง฽ การเรียนร฾ู
3.9 การวิจยั เพือ่ การบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา

ที่ปรึกษา 117
นายกฤษณะ อนสุ นธ์ิ
นายอุเทน เสมอใจ คณะผู้จดั ทา
นางสาวเฉลมิ วรรณ สว฽างศรี
ผอู฾ านวยการ
คณะจดั ทางาน ขา฾ ราชการครู หัวหนา฾ กลุ฽มอานวยการ และการศึกษาตามอัธยาศยั
นางพันทอง ปานเพช็ ร ขา฾ ราชการครู หวั หนา฾ กลุม฽ จดั การศกึ ษานอกระบบ
นางสิตา ขนั ตี
นางนรศิ รา อินโต พนักงานราชการ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน
นางสาวจารวุ รรณ พวงบบุ ผา พนกั งานราชการ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น
นายสรุ ศักดิ์ สวา฽ งศรี พนักงานราชการ ครู กศน.ตาบลกระเสียว
นางสาวสกุ านดา นม่ิ แย฾ม พนกั งานราชการ ครู กศน.ตาบลหนองสะเดา
วา฽ ท่รี ฾อยตรเี ชษฐา พลู สวสั ด์ิ พนักงานราชการ ครู กศน.ตาบลยา฽ นยาว
นางจตุพร สิงบุตร พนักงานราชการ ครู กศน.ตาบลหนองผกั นาก
นางศิรธิ ร แก฾วโกมล พนักงานราชการ ครู กศน.ตาบลบา฾ นสระ
นางสาวพทั ธนันท์ เดชรุ฽ง พนกั งานราชการ บรรณารักษ์
นางสาวชลดิ า สวา฽ งศรี บรรณารกั ษ์
ครูผ฾สู อนคนพกิ าร
พมิ พแ์ ละเรียบเรยี ง ครูผส฾ู อนคนพกิ าร
นายอเุ ทน เสมอใจ
ขา฾ ราชการครู



118


Click to View FlipBook Version