การอนุมตั แิ ผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั สพุ รรณบุรี
บันทึกความเหน็ ชอบของผอู านวยการสานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
จงั หวดั สุพรรณบุรี
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสามชุก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไดจดั ทา
แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ 2565 เพอ่ื ขออนุมตั เิ ห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปี 2565
ของ กศน.อาเภอสามชกุ จังหวดั สพุ รรณบุรี และมคี วามคิดเหน็ / ขอเสนอแนะดงั นี้
เหน็ ชอบอนุมัติแผนปฏิบัติการ ประจาปี 2565 ของ กศน.อาเภอสามชุก
ไมเห็นชอบ เน่ืองจาก
.......................................................................................... .........................................................................................
............................................................................................................................. ......................................................
............................................................................................................................. ....................................
ท้ังนี้ การเบิกจายงบประมาณใหเป็นไปตามระเบียบการเบิกจายถูกตองการจาแนกรายจายใ หเกิด
ประโยชนส์ งู สุดตอ ราชการ
ลงชอ่ื
……………………………………………………………
( นางสาวจนั ทร์ทิพย์ สินธุวงษานนท์ )
รองผอู านวยการสานักงาน กศน.จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
รักษาการในตาแหนงผูอานวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัดสุพรรณบุรี
การอนุมตั แิ ผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
บันทึกความเห็นชอบคณะกรรมการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก
จังหวัดสุพรรณบุรี ไดจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปี 2565 คณะกรรมการสถานศึกษามีการประชุมเพ่ืออนุมัติ
เห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปี 2565 ของ กศน.อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และมีความคิดเห็น /
ขอ เสนอแนะดงั นี้
เหน็ ชอบอนุมัติแผนปฏิบัติการประจาปี 2565 ของ กศน.อาเภอสามชกุ
ไมเ ห็นชอบ เนื่องจาก ..............................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ..............................................ประธานกรรมการ
(นายพฤกษชาติ สุนทรวิภาต)
ลงชอ่ื ………………………..… กรรมการ ลงชื่อ ………………………..…… กรรมการ
(นายดารง ลอมลาย) (นายอานวย นุม จันทร์)
ลงช่อื ………………………..… กรรมการ ลงชอ่ื ………………………..…… กรรมการ
(นางเจยี ม วรรณวงษ์) (นายพงค์พัฒน์ โสขมุ า)
ลงชื่อ ………………………..… กรรมการ ลงชื่อ ………………………..…… กรรมการ
(นายวทิ ยา กลา หาญ) (นางบุญยงั โลมาแจม)
ลงชอ่ื ………………………..… กรรมการและเลขานุการ
(นายกฤษณะ อนสุ นธิ)์
คานา
แผนปฏิบัติการ ตาบลกระเสียว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก
จังหวัดสุพรรณบุรี จัดทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปี
งบประมาณ 2565 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเนนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2565 ตลอดจนบริบท และความตองการของกลุมเปูาหมายในพื้นที่ เพื่อ
กาหนดเป็นแนวทางในการดาเนินงาน กศน.ตาบลกระเสียว อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ใหเป็นไปตาม
เปาู หมายท่วี างแผนไวอ ยางมีประสิทธิภาพ
การจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ตาบลกระเสียว กศน.อาเภอสามชุก จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี เลมนี้สาเร็จลุลวงดวยดี
โดยความรวมมือและการมีสวนรวมของ ภาคีเครือขายและผูเก่ียวของรวมกันระดมความคิดเห็นโดยนาสภาพ
ปัญหา และผลการดาเนินงานมาปรับปรุง เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ของ กศน.ตาบลกระเสียว อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือสนองความตองการของประชาชนใน
ชุมชนอยา งแทจ รงิ
คณะผูจัดทาหวังเป็นอยางย่ิงวา แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2565 กศน.ตาบลกระเสียว
อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี จะเป็นแนวทางในการดาเนินงานของบุคลากรและผูที่เก่ียวของ เพื่อใหการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหบรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเปูาหมาย ตลอดจน
เป็นประโยชน์ตอ ผูมสี วนเกีย่ วของตอ ไป
สารบัญ หน้า
สว่ นที่ 1 บทนา ข้อมูลพ้ืนฐานเพอื่ การวางแผน 1
- บรบิ ทท่ัวไปของตาบลกระเสียว
17
สวนท่ี 2 นโยบายและจดุ เน้น สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565 21
- นโยบายและจดุ เนน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565
- มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 26
26
ส่วนท่ี 3 ทิศทางการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 26
- จุดแข็ง (Strength) 26
- จุดออน (Weakness) 27
- โอกาส (Opportunity)
- อุปสรรค (Threat)
- ปรัชญา /วิสัยทัศน์ /อตั ลกั ษณ์/เอกลกั ษณ์/พนั ธกจิ /เปูาประสงค์
ส่วนที่ 4 โครงการ/กิจกรรม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน. อาเภอสามชุก 30
- ตารางบัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม กศน. อาเภอสามชุก 31
- รายละเอียดตารางบญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม/วิเคราะหค์ วามสอดคลองนโยบาย และ
36
มาตรฐานการศึกษา กศน. อาเภอสามชุก 42
- รายละเอียด โครงการ/กิจกรรม
1. กลมุ งานจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 47
1.1) โครงการจดั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
51
1.2) โครงการพฒั นาคุณภาพผเู รียน 55
59
2. กลุม งานจดั การศึกษาตอ เน่ือง 63
2.1) โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ชั้นเรียนวชิ าชีพ (31 ช่วั โมง ขึ้นไป)
2.2)
2.3) โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน พัฒนาอาชีพระยะส้นั
(กลุม สนใจ ไมเ กนิ 30 ช่ัวโมง)
2.4) โครงการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ
2.5) โครงการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน
2.6) โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สารบัญ หนา้
66
3. กลมุ งานการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 72
3.1) โครงการการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ปงี บประมาณ 2565 75
4. โครงการพเิ ศษตามนโยบาย
4.1) โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทลั ชมุ ชน
4.2) โครงการการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ
เพือ่ คงพฒั นาการทางกาย จิต และสมองของผสู ูงอายุ
ภาคผนวก
- มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามชกุ
- แบบ กศน.กผ.-01
- แบบ กศน.กผ.-02
- คณะผูจ ดั ทา
-1-
สว่ นท่ี 1
บทนา ข้อมลู พน้ื ฐานเพอื่ การวางแผน
บริบทท่ัวไปของอาเภอสามชุก
ประวัติอาเภอสามชกุ
อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ตามหลักฐานเดิมมีชื่อเรียกวา “อาเภอนางบวช” จัดตั้ง
เป็นอาเภอเมื่อปี พ.ศ. 2437 โดยมีขุนพรมสุภา (บุญรอด) เป็นนายอาเภอ สมัยน้ันใชบานพักนายอาเภอ
เป็นสถานทวี่ า ราชการ ต้งั อยบู ริเวณตาบลนางบวช อาเภอนางบวช ตอมา ปี พ.ศ. 2440 หมื่นยงพลพาย เป็น
นายอาเภอ โดยต้งั ชือ่ วา “อาเภอนางบวช”
ปี พ.ศ. 2454 กระทรวงมหาดไทย ประกาศยกฐานะอาเภอทางฝุายเหนือของจังหวัดสุพรรณบุรี ใน
บริเวณหมูบานเขาพระ ต้ังช่ือวา “อาเภอเดิมบาง” หลวงปราบประจันต์ราษฎร์ (ใหม บุณยบุตร) เป็น
นายอาเภอนางบวชสมัยนั้น จึงยายที่วาการอาเภอนางบวชมาอยูบริเวณหมูบานสามเพ็ง ตาบลสามชุก
ซ่ึงบริเวณนี้แตเดิมเป็นปุา มีทาเรือสาหรับชาวปุานาเกวียนบรรทุกสินคาของปุามาขายแลกเปลี่ยนกับพอคา
ชาวเรือ และชาวเรือที่นาสินคามาจากทางทิศเหนือและทิศใตจอดขนถายสินคาแลกเปลี่ยนซื้อขายกัน นับวา
บริเวณดงั กลาวนี้ เปน็ แหลง ยา นการคา ทีส่ าคัญ
เมื่อปี พ.ศ. 2475 ไดมีการเปลี่ยนแปลงช่ืออาเภอใหมใหสอดคลองกับชื่อตาบล จึงเปลี่ยนชื่อ
อาเภอนางบวชเป็น “อาเภอสามชุก” มาจนถึงปัจจุบันนี้ เดิมอาเภอสามชุก มีพื้นที่ 777,917 ตร.กม.
เม่ือปี พ.ศ. 2526 ไดแบงแยกบางสวนออกเป็นกิ่งอาเภอสามชุก ปัจจบุ นั ไดยกฐานะเปน็ อาเภอสามชุก
ลักษณะพนื้ ทโี่ ดยทว่ั ไป
ตาแหนงทตี่ ้งั อาเภอสามชกุ ตั้งอยูทางทศิ เหนือของจังหวดั สุพรรณบุรี หางจากจงั หวดั
ประมาณ 37 กิโลเมตร
สภาพพื้นท่ีอาเภอสามชุกมีเน้ือที่ประมาณ 364 ตร.กม. มีอาณาเขตติดตอ ดงั นี้
ทิศเหนอื ติดตอ กับอาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ทิศใต ติดตอ กับอาเภอศรปี ระจนั ต์ และอาเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
ทศิ ตะวันออก ติดตอ กบั อาเภอเดิมบางนางบวช และอาเภอศรปี ระจันต์ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ กับอาเภอหนองหญาไซ จังหวดั สุพรรณบุรี
พ้ืนที่ดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือเป็นที่ราบลุม เหมาะกับการทานา ดานทิศตะวันออกและทิศ
ตะวันออกเฉยี งเหนือเป็นท่ีราบลมุ และท่ดี อนเป็นบางสวน เหมาะกบั การทานาและทาไร
มีแมน้าทาจีนไหลผานดานเหนือสุดของอาเภอไปยังทิศใตของอาเภอ ผานพื้นท่ีตาบลกระเสียว
ตาบลสามชกุ และตาบลยานยาว
มีคลองบางขวาก เรม่ิ ตนจากอาเภอเดิมบางนางบวชไหลผา นเขาเขตอาเภอสามชุก ผานตาบล วัง
ลกึ ตาบลยา นยาว และมาบรรจบแมน ้าทาจนี ทีบ่ ริเวณปากคลองบางขวาก ตาบลยา นยาว
-2-
มีคลองมะขามเฒาอูทอง (มอ.) เป็นคลองสงนา้ ขนาดใหญของโครงการสงน้าและบารุงรักษาทา
โบสถ์ จุดเริ่มตนของโครงการท่ีปากคลองมะขามเฒา ผานทองที่อาเภอสามชุก ไดแก ตาบลกระเสียว
ตาบลหนองสะเดา ตาบลหนองผักนาก และตาบลบานสระ ตามลาดับ
มีหวยกระเสียว ยาวประมาณ 44 กิโลเมตร (เฉพาะทองที่อาเภอสามชุก) เป็นลาหวยที่แบงอาณาเขต
อาเภอเดิมบางนางบวช อาเภอดานชางกับอาเภอสามชุก แหลงน้าเร่ิมตนจากอางเก็บน้ากระเสียว
ของกรมชลประทาน ไหลผานทองท่ีอาเภอสามชุก ไดแก ตาบลหนองสะเดา ตาบลกระเสียว และตาบล
สามชกุ มาบรรจบกับแมน ้าทา จนี ท่บี รเิ วณตาบลสามชุก
การคมนาคมในอาเภอสามชุก มีเสน ทางคมนาคมทางรถยนต์ท่สี าคญั ดังน้ี
1) ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 340 สายสพุ รรณบุรี - ชัยนาท
2) ถนนทางหลวงชนบท สายสามชุก - สามชุก
3) ถนนชลประทาน สายสามชุก - โพธิพ์ ระยา
4) ถนนชลประทาน สายสามชุก - ดานชา ง
5) ถนนชลประทาน สายสามชกุ – เดิมบางนางบวช
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศทั่วไปของอาเภอสามชุกอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมเขตรอน มสี ภาพ
อากาศเหมาะสาหรับการเพาะปลูก ในฤดูฝนมีฝนตกชุกมาก บางปีตองประสบปัญหาอุทกภัย ในฤดูหนาว
อากาศไมหนาวจนเกินไปนัก และในฤดูรอนอากาศจะรอนอบอาว มีบางหมูบานขาดแคลนน้าอุปโภค
และบริโภค
ประชากรและอาชีพ
อาเภอสามชุก มีประชากรรวมท้ังสิ้น 43,428 คน 14,857 ครัวเรือน สวนใหญประกอบอาชีพ
การเกษตรกรรมพืชเศรษฐกจิ ท่ีสาคญั ไดแ ก ขา ว ออ ย มะมว งนอกฤดู กหุ ลาบรอยมาลยั ดาวเรือง เปน็ ตน
การปกครอง
พ้ืนทอี่ าเภอสามชกุ แบง ออกเป็น 1 เขตเทศบาล 6 ตาบล มีหมบู า นจานวน 68 หมูบาน
ตารางแสดงจานวนประชากร
ลาดับ ตาบล เนื้อที่ ตร.กม. จานวน จานวน จานวนราษฎร
หมู่บา้ น ครัวเรือน ชาย หญงิ รวม
1 สามชุก 25 6 3,350 3,650 4,151 7,791
2 วังลึก 70 15 3,481 5,166 5,535 10,701
3 ยา นยาว 37 9 1,439 2,289 2,506 4,795
4 กระเสยี ว 56 10 1,071 1,589 1,767 3,356
5 บานสระ 67 10 1,677 2,465 2,604 5,069
6 หนองสะเดา 43 10 1,506 2,131 2,358 4,489
7 หนองผักนาก 65 8 2,272 3,419 3,808 7,227
รวม 364 68 14,857 20,699 22,729 43,428
-3-
หน่วยงานราชการบรหิ ารราชการสว่ นกลาง
1) โครงการสง นา้ และบารุงรกั ษาสามชกุ
2) โครงการกอสรางทางชลประทานที่ 2
3) สานกั งานที่ดินจังหวดั สุพรรณบรุ ี สาขาสามชุก
4) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสามชุก
5) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี
หน่วยงานราชการบรหิ ารราชการสว่ นภูมภิ าค
1) ท่ีทาการปกครองอาเภอสามชกุ
2) สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอสามชุก
3) สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอสามชุก
4) สานกั งานเกษตรอาเภอสามชกุ
5) สานกั งานสรรพากรอาเภอสามชุก
6) สานักงานประมงอาเภอสามชกุ
7) สานกั งานปศสุ ัตว์อาเภอสามชุก
8) สถานตี ารวจภธู รอาเภอสามชุก
9) สสั ดีอาเภอสามชกุ
หน่วยงานบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ
1) เทศบาลตาบลสามชุก มเี นอ้ื ที่ 33 ตารางกิโลเมตร ครอบคลมุ การปกครอง 3 ตาบล
11 หมูบ าน ไดแก ตาบลสามชุก หมทู ี่ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ตาบลยา นยาว หมทู ี่ 1, 4, 6, 9 ตาบลกระเสยี ว
หมูท ่ี 8 จานวนประชากร 14,179 คน
2) องคก์ ารบริหารสวนตาบล จานวน 6 แหง
- องค์การบรหิ ารสวนตาบลวังลึก
- องคก์ ารบรหิ ารสวนตาบลกระเสยี ว
- องคก์ ารบริหารสวนตาบลบา นสระ
- องค์การบริหารสวนตาบลหนองผักนาก
- องค์การบรหิ ารสว นตาบลหนองสะเดา
- องคก์ ารบรหิ ารสวนตาบลยานยาว
หน่วยงานรฐั วสิ าหกจิ และสถาบันการเงิน-การธนาคาร
1) บริษทั ไปรษณยี ์ไทย จากดั
2) การไฟฟูาสวนภมู ภิ าคอาเภอสามชกุ
3) ธนาคารออมสนิ
4) ธนาคารกรงุ ไทย จากัด (มหาชน)
5) ธนาคารกรงุ เทพ จากัด (มหาชน)
6) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
-4-
7) ธนาคารธนชาต จากัด (มหาชน)
8) ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จากัด (มหาชน)
9) ธนาคารกสกิ รไทย จากัด (มหาชน)
คาขวัญประจาอาเภอ หลวงพอดาศักด์ิสิทธ์ิ
หลวงพอ มุยลือนาม แหลงผลิตเกษตรกรรม
ทาจีนคอื ชีวิต ธารนา้ ใส “บึงระหาร”
วฒั นธรรมรวมใจ
ความเชือ่ ประเพณี และพธิ ีกรรม
วัฒนธรรมประเพณีท่ีประชาชนยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมาต้ังแตบรรพบุรุษ สวนใหญคลายกับ
วัฒนธรรมประเพณีในภาคกลางท่ัวไป เชน ประเพณี บวชนาค แตงงาน ข้ึนบานใหม ทาบุญตักบาตรใน
วันสาคญั ทางพุทธศาสนา และมปี ระเพณีท่สี าคญั ดงั นี้
งานประจาปที าบุญปดิ ทองรปู เหมอื นพระครูสุวรรณวุฒาจารย์ (หลวงพอ มุย) วัด
ดอนไร
งานน้ีจัดข้ึนเพ่ือทาบุญครบรอบวันมรณภาพของหลวงพอมุย เกจิอาจารย์ท่ีมี
ช่ือเสยี งของอาเภอสามชกุ กาหนดจดั งานระหวางวันที่ 12 – 16 มกราคม ของทุก
ปี จัดตอเน่ืองกันมาตั้งแต พ.ศ. 2523 นับถึงปี 2561 รวม 38 ปี ในงานจะมีการปิด
ทองไหวพ ระ และมีมหรสพมากมาย เชน ลเิ ก ภาพยนตร์ เพลงอีแซว หนังตะลุง และในชวงกลางวันจะมีการ
แขงขันกฬี า เชน เซปักตะกรอ วอลเลย์บอล ฟุตบอล เป็นตน
งานประจาปีเจา พอหลักเมืองอาเภอสามชุก
จดั ข้นึ ในเดือน 12 (ตามปฏทิ ินจีน) เจา พอหลักเมืองอาเภอสามชุก มี
ลกั ษณะเปน็ เทวรปู คลา ยเจา พอหลกั เมืองสพุ รรณบุรี เชอ่ื วา สรา ง พ.ศ.
1900 เป็นที่เคารพศรทั ธาของชาวตลาดสามชุก เน่ืองจากเคยเกดิ เพลงิ ไหม
บอยครงั้ แตเ ม่อื บนบานเจาพอแลว ก็ไมเกิดเพลงิ ไหม ชาวตลาดจึงจดั งาน
ไหวฉลองเจาพอหลกั เมืองข้ึน โดยมีขบวนแหตามประเพณีจีน มีการแสดงงิ้ว งานทิ้งกระจาดเชนเดยี วกับงาน
ทงิ้ กระจาดของจงั หวัดสุพรรณบุรี
สถานท่ีสาคญั
อาเภอสามชกุ มสี ถานที่สาคัญ ๆ ดังนี้
บงึ ระหาร ต้ังอยหู มูท่ี 2 ตาบลสามชกุ อาเภอสามชุก เป็นแหลงน้าขนาด
ใหญ ใชในการเกษตรมีความรมรื่นเปน็ ท่ีพักผอนหยอนใจของราษฎร
วดั สามชกุ ต้ังอยูหมู 2 ตาบลสามชุก เป็นวัดเกาแก ไมปรากฏหลักฐานวา
สรางมาแตสมัยใด มสี ่ิงทีเ่ ปน็ หลกั ฐานวา เปน็ วดั เกา คือ มณฑป เป็นอาคาร
กอ อฐิ ฉาบปูนทรงส่เี หลี่ยมจัตุรสั ขนาดกวา ง ยาวดานละ 6 เมตร
-5-
โดยประมาณ หลังคาเป็นทรงจ่ัวแตมีสภาพคอนขางผุพงั และทรดุ ตวั ลงมาบางสว น
รอยพระพุทธบาทสาริด ขนาดกวาง 85 เซนติเมตร ยาว 200 เซนติเมตร เป็นรอยพระพุทธบาทซอน
กัน 4 รอย (อันหมายถึงการประทับรอยพระบาทซ้ากันของพระพุทธเจา 4 องค์ ในภัทรกัลปนี้ โดยในแตละ
รอยทาเป็นลายตารางรูปมงคล 108 ประการ อยูภายใน พระพุทธรูปซึ่งประดิษฐานในมณฑป เป็น
พระพุทธรูปหินทรายสมัยอยุธยา และหลวงพอธรรมจักร เป็นพระพุทธรูปสมัยอูทองเป็นพระพุทธรูป
ศักด์ิสิทธิ์คูวัดมานานภายในวัดมีพิพิธภัณฑ์ชุมชน ซึ่งรวบรวมของใชพื้นบานโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ไวจัด
แสดงใหเยาวชน ประชาชนผูท่สี นใจเขาชมฟรี
วัดทุง สามัคคีธรรม ต้ังอยหู มูท่ี 5 ตาบลหนองผกั นาก อาเภอสามชกุ
เป็นวัดท่ีมีการพัฒนา และเครงครัดในหลักธรรมของพุทธศาสนา
โดยเฉพาะมีการกอสรางเรือแดงพรอมพระไสยาสน์ขนาดใหญสามารถ
ใหศ าสานิกชนใชเ ปน็ ท่ีปฏบิ ตั ิธรรมจานวนมาก มีความสวยงาม
วัดลาดสิงห์ ตัง้ อยูหมูที่ 5 ตาบลบา นสระ อาเภอสามชุก ตงั้ วัดเมอ่ื พ.ศ.
2009 เปน็ วดั เกาแก สรา งขนึ้ สมัยอูทอง มีพระพุทธรปู หินทราย หนา ตัก
กวาง 6 ศอก ชาวบานเรยี ก “หลวงพอ ดา” เป็นพระพุทธรูปศักด์ิสทิ ธิ์
ประจาวัด บริเวณวดั สงบรมรนื่ และมีพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
พระสุพรรณกัลยา สมเดจ็ พระเอกาทศรถ ซ่งึ ออกแบบปั้นโดยชา งกรมศลิ ปากร
เปน็ ที่เคารพสักการะของชาวสุพรรณบุรี
สามชุก ตลาดมีชีวติ พพิ ิธภัณฑ์มชี วี า
ตั้งอยหู มูท ่ี 2 ตาบลสามชกุ อาเภอสามชกุ จงั หวัดสุพรรณบุรี “สามชุก” เป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัด
สุพรรณบุรี โดยในอดีตสามชุกคือแหลงท่ีผูคนหลากหลายเช้ือชาติ ท้ังไทย จีน มอญ กระเหรี่ยง ฯลฯ มามี
สัมพันธ์ตอ กนั ในลักษณะของการแลกเปลี่ยนและซื้อขายสินคา และพัฒนาไปสูการลงหลักปักฐาน สราง
เมืองที่มนั่ คงข้ึนมา ในอดีตนอกจากเปน็ แหลง คาขายของปุาแลว สวนใหญจะเป็นลักษณะการแลกของตอกัน
มีชาวมอญ ลาว นาเกลือมาแลกกบั ขาวและของปุา เป็นตน ในระยะตอมาริมแมน้าทาจีนสุพรรณแหงน้ี เป็น
แหลง ทานาท่ีสาคญั ทาใหม ีโรงสไี ฟขนาดใหญเกิดข้ึนหลายแหง ตลาดสามชุกจึงเป็นตลาดคาขาวท่ีสาคัญ แต
สินคาอื่นๆ ก็มีการเปลี่ยนจากการแลกมาเป็นการซ้ือขายกันอยางคึกคัก จนทาใหตลาดสามชุกไมจากัดอยู
เฉพาะรมิ น้าเทา นนั้ แตขยายมาถึงริมฝั่งขางเคียง มีบานเรือนปลูกสรางมากขึ้น แตละปีมีการเก็บภาษีได
จานวนมาก มีการตั้งนายอากรคนแรก ช่ือขุนจานงจีนารักษ์ ซึ่งยังปรากฏบานของทานมาถึงปัจจุบัน สวน
ตลาดที่ขยายข้ึนมาน้ัน เรียกกันวา “ตลาดกลาง” กอใหเกิดรานคาชนิดใหมท่ีต้ังอยูในบาน (สมัยกอนวาง
ของขายกบั พนื้ ) หรือทรี่ จู กั ในนาม “โชหวย” เจาแรกของตลาดสามชุก คือ “รานตาแปฺะตือ” ในสมัยกอนใน
แตละวันมีเรอื สนิ คามาจอดเทยี บทา ตลาดสามชุกคกึ คกั มาก อยา งเชน เรือสินคาของบริษัทสุพรรณขนสง จากัด
-6-
แตสมัยน้ันสามชุกยังไมมที พ่ี กั ก็เลยดัดแปลงบานหองแถวเปิดเป็นโรงแรม ชื่อวาโรงแรม “สาราญรมย์”
เป็นโรงแรมแหงแรกของสามชุก ปัจจุบันเลิกกิจการแลว ในตลาดสามชุกไมเพียงเป็นเมืองทาสาคัญ
เทานั้น แตยังเป็นแหลงขนมหวาน อาหารอรอยอยูเป็นจานวนมาก เชน น้าพริกและพริกแกงแมกิมลั้ง แหง
ตลาดสามชุก รานกาแฟโบราณมีชื่อเสียงมากทั้งทางดานรสชาติและประวัติความเป็นมาท่ียาวนานกวาหนึ่ง
รอ ยปี
วดั บานทงึ
ตั้งอยูหมูท่ี 4 ตาบลสามชุก อาเภอสามชุก เป็นวัดเกาแกที่มีความสาคัญทางดานประวัติศาสตร์
ตามประวัตเิ ลา วา วดั แหงน้ถี ูกสรางข้ึนในรัชสมัยของพระเจาอูทอง ปฐมกษัตริย์แหงกรุงศรีอยุธยา สมัยนั้น
เกิดโรคหาระบาดอยางหนัก มีผูคนลมตายจานวนมาก พระเจาอูทองจึงพาบริวารหนีออกจากเมืองหลวง
เดนิ ทางดว ยเกวยี น พอมาถงึ บา นทงึ แอกเกวียนไดหักลง จึงพากันหยุดซอมแซม และพักรอเป็นเวลาหลายวัน
พระเจา อทู องสง่ั ใหสรา งวดั ข้นึ ในบรเิ วณน้ี 3 แหงดวยกนั คอื วัดบางแอก วัดรอ และวัดบานทึง กลาวกันวา
คราวหน่ึงพระเจาอูทองส่ังใหบริวารไปขอฟางจากชาวบานมาใหวัวกิน แตชาวบานไมให ตอมาไดสงบริวาร
ไปขอหนงั สาหรบั ผกู แอกเกวียน ชาวบานกไ็ มใหอ ีก พระเจาอูทองจึงเรียกชาวบานแหงนี้วา “พวกบานขี้ทึ้ง”
(บานคนขี้เหนยี ว) เมอ่ื เวลาเปลย่ี นไปบา นข้ีท้งึ กเ็ พ้ียนมาเปน็ “บานทึง” อยางทปี่ รากฏอยูในปจั จบุ ัน
เมื่อราวปี พ.ศ. 2384 “สุนทรภู” กวีเอกของเมืองไทยและของโลก ไดเดินทางมาเที่ยวเมือง
สุพรรณบุรี ความวาทานเดินทางมาหาแรชนิดหนึ่ง ทานเรียกวาปูนมารหรือปูนเพ็ชร เพือ่ เอามาแปรธาตุ
ใหเป็นทองคาตามความเช่ือของคนสมัยนั้น ซึ่งทานเช่ือวามีอยูในแขวงเมืองสุพรรณบุรีตอนเหนือ และเป็นท่ีมา
ของ “โคลงนริ าศสพุ รรณ” ผลงานชิ้นเอกอกี ชิน้ หนง่ึ ของทา น
ตามขอความที่ปรากฏในโคลงนิราศสุพรรณบอกวาทานสุนทรภูพักคางคืนอยูที่บานทึง ตามคาโคลงวา
อยูถึง 5 คืน พบปะชาวบา นข้ึนบกหาแรไปในท่ีหลายๆ แหง แลวก็กลับมานอนคางท่ีนี่และเลากันวาสุนทรภูได
เอาแรมาแปรธาตุที่วัดบานทึงแหงน้ีน่ีเอง โดยสถานที่ทาการเลนแปรธาตุก็คือ ขางวิหารพระนอนหรือพระ
ไสยาสน์
ภายในบริเวณวัดบานทึง มีโบราณวัตถุและโบราณสถานที่สาคัญหลายอยาง เชน กุฏิไมอายุ
กวา 100 ปี ประมาณ 10 หลัง พระพุทธรูปปางไสยาสน์หรือพระนอนสมัยอยุธยา วิหารโบราณ และ
หอไตรเกาแกสมัยอยุธยา เป็นตน นอกจากน้ีแลววัดแหงน้ียังมีความสงบรมร่ืน บริเวณวัดปกคลุมไปดวย
-7-
ตนไทรขนาดใหญหลายตน มีนกยูงหลายตัวเดินไปมา บนตนไมมีกระรอกอยูหลายสิบตัว ท่ีสาคัญท่ีน่ียังมี
“กระรอกเผอื ก” ซ่งึ หาดูไดย ากอยูด วย
การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
อาเภอสามชุก ไดจัดต้ังข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2454 ณ บานสามเพ็ง ต้ังอยูดานทิศตะวันตกของแมน้าทาจีน
อยูกลางชุมชนคูกับตลาดสามชุกเป็นเวลายาวนานกวารอยปี มีเร่ืองราวประวัติศาสตร์และภูมิปัญญาสั่งสม
พัฒนามาอยางตอเนื่องยาวนาน ทามกลางกระแสยุคโลกาภิวัตน์ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศทาให
โลกท้ังใบสามารถติดตอสื่อสารกันไดอยางรวดเร็ว มีการแขงขันอยางเสรีในดานการคาและในดานตางๆ
อยา งไรขอบเขต สทิ ธิเสรีภาพเป็นอุดมการณ์หลักท่ีไดรับการยอมรับในประชาคมโลก ประชาชนมีเสรีและ
มีสิทธิเลือกในการดาเนินชีวิตและการบริโภคอยางไมมีขอจากัด ซึ่งสงผลกระทบในดานวิถีครอบครัวและ
ชุมชนไทย การพัฒนาที่มุงเนนในดานเศรษฐกิจมากเกินไปทาใหสถาบันครอบครัวและชุมชนขาดความ
เขมแข็งม่ันคง ความสัมพันธ์ระหวางสมาชิกในครอบครัวและชุมชนถูกละเลย ขาดความเขาใจในบทบาท
และหนาท่ีของสมาชิก ขาดการเรียนรูและการถายทอดทางวัฒนธรรม อันเป็นรากฐานของความมั่นคงใน
ครอบครัวและชุมชน คานิยมคุณธรรมและอันเป็นหลักยึดเหนี่ยวทางสังคมถูกละเลย การดิ้นรนเพื่อ
แสวงหาปัจจัยทางวัตถุเพื่อตอบสนองความตองการอยางไมมีที่ส้ินสุดของผูคนในสังคม เป็นสาเหตุใหเกิด
กิเลส ความเห็นแกตัว คานิยมท่ีดีถูกมองขาม กอใหเกิดปัญหาความรุนแรงและเส่ือมเสียคุณภาพของชีวิตและ
สังคม ภาวะทางดานคุณธรรมและจริยธรรมตกต่าส่ันคลอน การดาเนินธุรกิจทองเท่ียวท่ีมุงแสวงหาเงินเป็น
สาคญั ไดก อใหเ กิดปัญหามลภาวะทางวฒั นธรรมหลายอยาง วิธีชีวิตของชุมชนพลิกผันจนปรับตัวไมทัน ปัญหา
อาชญากรรมสิ่งเสพติด ปญั หาโสเภณี และการแพรระบาดของโรคเอดส์ เปน็ ตน
ข้อมูลพน้ื ฐานของ กศน.อาเภอสามชุก
ประวตั ิ กศน.อาเภอสามชุก
ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสามชุก จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไดป ระกาศจัดตั้งตามประกาศ
ของกระทรวงศึกษาธิการ โดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา 25 แหงพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม พ.ศ.2534 ประกอบกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษาในสถานศึกษา
สงั กดั กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2531 ขอ 6 ประกาศ ณ วันท่ี 27 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2536 โดยมี
นายบุญเสริม รักขิตเลขา ทาหนาท่ีหัวหนาศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสามชุก ไดประกาศ
เป็นศูนย์ 1 โดยมีนายบุญเสริม ริกขิตเลขา ดารงตาแหนงหัวหนา 1 ในวันท่ี 27 กันยายน พ.ศ. 2537
ศูนย์บรกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอสามชุกไดประกาศจัดตงั้ เป็นศูนย์ 3 โดยมีนายประภากร เกสรสิทธิ์
ดารงตาแหนงหนาที่หัวหนาศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสามชุก ในวันท่ี 6 มิถุนายน 2548
นายนุกูล นรังสิทธิ์ รักษาการในตาแหนงผูอานวยการสถานศึกษา และเปล่ียนวิทยฐานะเป็นผูอานวยการ
สถานศึกษา และในปีพ.ศ. 2552 นายประภากร เกสรสิทธิ์ เป็นผูอานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก ในปี พ.ศ. 2557 นางอัชญา แจมถาวร เป็นผูอานวยการ ศูนย์
-8-
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก ในวันท่ี 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
นางเจียรนัย มะลาดวง เป็น ผูอานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
สามชุก ในวันท่ี 13 มกราคม พ.ศ. 2565 นายธิติพนธ์ ระลอกแกว ผูอานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัด
สุพรรณบุรี ไดรักษาการในตาแหนงผูอานวยการอานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอสามชุก ปัจจุบันยังไมมีผูมาดารงตาแหนงผูอานวยการ ไดมีขาราชการรักษาการในตาแหนง
ผอู านวยการ ดาเนนิ การงานบริหารสถานศกึ ษา
อาคารสถานท่ี
ปี พ.ศ. สถานทตี่ งั้
พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2542 ต้งั อยทู ่ีหองสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ หนาท่วี าการอาเภอสามชุก
พ.ศ. 2542 – มีนาคม พ.ศ. 2557 อาคาร 2 ชน้ั หมูที่ 2 ตาบลสามชกุ อาเภอสามชุก จงั หวัดสพุ รรณบุรี
มีนาคม 2557 – ปัจจบุ นั อาคารสานักงานการประถมศึกษา (หลังเกา) เป็นอาคาร 2 ช้ัน
หมทู ี่ 1 ตาบลสามชกุ อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ขอ้ มูลสถานศึกษา
ทอ่ี ยู่
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก หมูที่ 1 ตาบลสามชุก
อาเภอสามชกุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี รหัสไปรษณยี ์ 72130 เบอร์โทรศัพท์ตดิ ตอ 035-572422
ลกั ษณะอาคารสถานท่ี
เป็นอาคารสองชัน้ (สานักงานประถมศึกษาเกา) อยูตรงขามกับสถานีตารวจภูธรสามชุก ติดกับ
ถนนหมายเลข 340 สพุ รรณบุรี – ชยั นาท
สปี ระจาสถานศึกษา
สีชมพู-ฟูา
ทาเนียบผบู้ ริหาร ผบู้ ริหาร ตาแหนง่
วัน / เดอื น / ปี นายบุญเสริม รกั ขิตเลขา หวั หนาศูนยบ์ ริการการศึกษานอกโรงเรยี น
27 สงิ หาคม 2536
27 กันยายน 2539 นายประภากร เกสรสิทธ์ิ หวั หนาศูนยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียน
6 มิถนุ ายน 2548 นายนุกลู นรังสิทธิ์ ผอู านวยการ
-9-
15 ตลุ าคม 2552 นายประภากร เกสรสทิ ธ์ิ ผอู านวยการ
17 กมุ ภาพันธ์ 2557 นางอัชญา แจม ถาวร ผูอ านวยการ
3 พฤศจิกายน 2560 นางเจียรนัย มะลาดวง ผอู านวยการ
13 มกราคม 2565 รกั ษาการในตาแหนง ผอู านวยการ
บคุ ลากรของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก
ขา้ ราชการ ตาแหนง่ ระดับการศึกษา
ท่ี ชื่อ – สกลุ ครผู ชู วย ปรญิ ญาตรี / คบ. (การศึกษานอกระบบ)
1. นายอเุ ทน เสมอใจ ครูผชู ว ย ปริญญาตรี/ศศบ.(รัฐศาสตร)์
2. นางสาวเฉลิมวรรณ สวา งศรี
ลูกจ้างประจา ตาแหนง่ ระดบั การศึกษา
ที่ ชือ่ – สกลุ พนกั งานพิมพ์ ม.6
1. นายณรงค์ คงจิตร
พนกั งานราชการ ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ
ที่ ช่ือ – สกลุ ประจาตาบล ระดบั การศึกษา
ปริญญาตรี/คบ(คหกรรมศาสตร)์
1. นางพนั ทอง ปานเพ็ชร์ ตาบลวงั ลกึ ตาบลบานสระ
ตาบลสามชกุ
มีหนา ท่ีรบั ผิดชอบ ประสานงาน สงเสริมการจดั กจิ กรรม นเิ ทศติดตามงานในพน้ื ทีด่ าน
1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในพื้นที่ กศน .ตาบล
2. จดั การศึกษาสง เสริมการรูหนังสือ
พนกั งานราชการ ตาแหน่ง เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ
ที่ ชอื่ – สกลุ เจ้าหน้าที่ ระดบั การศกึ ษา
1. นางสาวศภุ รัตน์ พนั ตนั ธุรการ ม.6/ปรญิ ญาตรี
พนกั งานราชการ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล
ท่ี ช่อื – สกลุ ประจา กศน.ตาบล ระดบั การศกึ ษา
ปรญิ ญาตรี/ศศบ.(การจดั การ)
1. นางนริศรา อินโต กศน.ตาบล กระเสียว ปริญญาตรี/วทบ.(เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร)์
2. นางสาวจารวุ รรณ พวงบบุ ผา กศน.ตาบลหนองสะเดา
- 10 -
3. นายสุรศักดิ์ สวางศรี กศน.ตาบลยา นยาว ปรญิ ญาตรี/วทบ.(เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร)์
4. นางสาวสกุ านดา นม่ิ แยม
5. วา ทรี่ อ ยตรีเชษฐา พลู สวัสดิ์ กศน.ตาบลหนองผกั นาก ปริญญาตรี/คบ.(วิทยาศาสตร)์
6. นายณัฐภัทร ปัญญามลู
7. นางปัทมา อินทร์แชมชอย กศน.ตาบลบานสระ ปริญญาตร/ี คบ.(สงั คมศึกษา)
กศน.ตาบลสามชกุ ปรญิ ญาตร/ี บธบ.(คอมพวิ เตอร์)
กศน.ตาบลวังลึก ปรญิ ญาตรี/วทบ.(วทิ ยาศาสตร์คอมพิวเตอร)์
มหี นาทด่ี ูแลรับผดิ ชอบ
1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในพนื้ ท่ี กศน.ตาบล
2. จดั การศกึ ษาพ้ืนฐานนอกระบบ ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน และ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ครูผ้สู อนคนพกิ าร
ท่ี ช่อื - สกลุ ประจาตาบล ระดบั การศึกษา
ปรญิ ญาตร/ี ศศบ.(ภาษาอังกฤษ)
1. นางสาวพทั ธนันท์ เดชรุง - ตาบลหนองผักนาก, ตาบลวังลกึ ,
ปริญญาตรี/บธบ. (การตลาด)
ตาบลสามชุก
2. นางสาวชลดิ า สวา งศรี - ตาบลสามชุก, ตาบลหนองผกั นาก,
ตาบลบานสระ, ตาบลกระเสยี ว
มีหนาที่รับผดิ จดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและการศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ใหแ กค นพกิ าร
บรรณารกั ษ์ ประจา ระดบั การศึกษา
ท่ี ชอ่ื – สกลุ หองสมุดประชาชนอาเภอสามชุก ปริญญาตรี/ศศ.บ. (บรรณารักษ์ศาสตร์และ
1. นางจตพุ ร สิงบตุ ร สารนเิ ทศศาสตร)์
หองสมุดประชาชนอาเภอสามชกุ ปรญิ ญาตร/ี บธบ. (บริหารคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ)
2 นางศริ ิธร แกวโกมล
มีหนา ท่ีดูแลรบั ผดิ ชอบจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย ในพนื้ ทอ่ี าเภอสามชกุ
- 11 -
สถานท่ีจดั การเรยี นรูข้ องศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสามชกุ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก มีสถานศึกษาในความ
รบั ผิดชอบสาหรบั จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามตาบลตา งๆ ดงั น้ี
ลาดบั ที่ ชอ่ื กศน.ตาบล ทีต่ ้ัง
อาคาร กศน.อาเภอสามชุก หมทู ี่ 1 ตาบลสามชกุ อาเภอสามชกุ
1 กศน.ตาบลสามชุก อาคารวัดทุงแฝก หมทู ่ี 11 ตาบลวงั ลกึ อาเภอสามชุก
อาคาร อบต. หมทู ่ี 4 ตาบลกระเสยี ว อาเภอสามชุก
2 กศน.ตาบลวงั ลกึ อาคาร อบต. หมทู ่ี 6 ตาบลบา นสระ อาเภอสามชุก
อาคารศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก หมูท่ี 4 ตาบลหนองสะเดา อาเภอสามชกุ
3 กศน.ตาบลกระเสยี ว อาคารกองทนุ หมูบาน หมูที่ 5 ตาบลหนองผักนาก อาเภอสามชุก
อาคารหมูบาน บรเิ วณ อบต. หมทู ี่ 3 ตาบลยา นยาว อาเภอสามชกุ
4 กศน.ตาบลบานสระ หอ งสมุดประชาชนอาเภอสามชุก หมู2 ตาบลสามชกุ อาเภอสามชุก
5 กศน.ตาบลหนองสะเดา
6 กศน.ตาบลหนองผักนาก
7 กศน.ตาบลยานยาว
8 หอ งสุมดประชาชน
แหล่งเรียนรู้ ด้าน ท่อี ยู่/เบอรโ์ ทรศัพท์ ผูร้ บั ผิดชอบ
แหลง่ เรยี นรู้ - แหลง ขอ มูล หมทู ี่ 2 ตาบลสามชุก
หอ งสมุดประชาชนอาเภอ - ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อาเภอสามชุก จังหวดั สุพรรณบุรี
สามชกุ - ศนู ย์ใหคาปรึกษาแนะนา
- ประวัติศาสตร์ ตลาดสามชุก หมทู ี่ 2
ตลาดรอยปีสามชกุ - การประกอบอาชพี ตาบลสามชุก อาเภอสามชกุ
จังหวดั สุพรรณบรุ ี
วัดสามชกุ - ศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม บา นสามชุก หมูที่ 1
- ประวตั ิศาสตร์ ตาบลสามชุก อาเภอสามชุก
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี
ศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชนตาบลยาน - พาณิชยกรรมและบริการ หมูท่ี 2 ตาบลยา นยาว
ยาว อาเภอสามชกุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ศูนยเ์ รยี นรูเศรษฐกจิ พอเพยี ง - เกษตรชีวภาพ หมทู ี่ 3 ตาบลหนองสะเดา
บา นเนนิ มหาเชษฐ์ อาเภอสามชุก จังหวดั สพุ รรณบุรี
ศนู ย์เรยี นรูเ ศรษฐกจิ พอเพียง - การเกษตร หมูท่ี 2 ตาบลหนองผกั นาก อาเภอ
บา นหนองผักนาก - เศรษฐกจิ พอเพียง สามชุก จังหวดั สุพรรณบุรี
กลุม อาชีพบา นสบิ แรด - พาณชิ ยกรรมและบรกิ าร หมูที่ 3 ตาบลหนองผักนาก อาเภอ
สามชกุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
- 12 -
แหลง่ เรียนรู้ ด้าน ที่อยู่/เบอรโ์ ทรศพั ท์ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ศนู ย์เรยี นรูเศรษฐกิจพอเพียง - การเกษตร
บานทามะกรดู - เศรษฐกจิ พอเพียง บา นทามะกรดู หมทู ่ี 3
ตาบลกระเสียว อาเภอสามชกุ
กลุ่มอาชีพชมุ ชนบา้ นหัวกระบัง - พาณิชยกรรมและบรกิ าร จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
กลุ่มแปรรปู ขนมไทยบ้านโคก - พาณิชยกรรมและบริการ หมทู่ ี่ 1 ตาบลกระเสียว อาเภอ
หมอ้ - การเกษตร สามชุก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โคก หนอง นา - เศรษฐกิจพอเพียง หม่ทู ี่ 2 ตาบลกระเสยี ว อาเภอ
- การเมอื งการปกครอง สามชุก จังหวดั สุพรรณบุรี
องค์การบริหารสวนตาบลกระ หมูท่ี 3 ตาบลกระเสยี ว
เสียว - สาธารณสุข อาเภอสามชุก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพ
ตาบลกระเสียว - สาธารณสุข ตาบลกระเสียว อาเภอสามชุก
โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
ตาบลบา นหวั กระบัง - การศกึ ษา
โรงเรียนวัดโคกหมอ หมู 4 ตาบลกระเสยี ว
อาเภอสามชุก จงั หวดั สุพรรณบรุ ี
ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา นโคก - การศึกษา
หมอ - ดา นการศึกษา หมู 2 ตาบลกระเสยี ว
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา นหนอง - ดานการศกึ ษา อาเภอสามชกุ จังหวดั สพุ รรณบุรี
บวั ทอง
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา นสระ หมทู ่ี 2 ตาบลกระเสียว
อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรุ ี
หมูท ่ี 2 ตาบลกระเสยี ว
อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
หมูที่ 8 ตาบลกระเสยี ว
อาเภอสามชกุ จงั หวัดสุพรรณบุรี
หมูที่ 2 ตาบลบานสระ
อาเภอสามชกุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี
ภาคีเครือข่าย ด้าน ท่ีอยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์
ความมั่นคง
ภาคีเครือข่าย ตาบลสามชกุ อาเภอสามชกุ
(กลุ่ม องคก์ ร และหน่วยงาน) จังหวัดสพุ รรณบุรี
ท่วี า การอาเภอสามชกุ ตาบลสามชกุ อาเภอสามชกุ
จังหวัดสุพรรณบุรี
เทศบาลตาบลสามชกุ การเมืองการปกครอง อาเภอสามชุก จังหวดั สุพรรณบุรี
ตาบลสามชกุ อาเภอสามชกุ
กานัน - ผูใ หญบ า น การเมืองการปกครอง
สาธารณสขุ อาเภอสามชุก สาธารณสุข
- 13 -
ภาคีเครอื ขา่ ย ด้าน ท่อี ยู่ เบอร์โทรศัพท์
(กลุ่ม องค์กร และหนว่ ยงาน)
ศาสนาและ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
วดั สามชุก ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณี ตาบลสามชกุ อาเภอสามชุก
การเมืองการปกครอง จงั หวัดสุพรรณบุรี
กานัน - ผใู หญบ า น การเมืองการปกครอง อาเภอสามชุก จังหวดั สุพรรณบรุ ี
สานกั งานคณะกรรมการการ จังหวดั สุพรรณบุรี
เลอื กต้งั จังหวดั สุพรรณบุรี การเมืองการปกครอง
องค์การบริหารสว นตาบลยานยาว ตาบลยา นยาว อาเภอสามชุก
การเมืองการปกครอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
องค์การบริหารสวนตาบลบา นสระ ตาบลบานสระ อาเภอสามชกุ
สาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี
โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาบล ตาบลบานสระ อาเภอสามชกุ
บา นหนองหัวรงั การเมืองการปกครอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
องค์การบริหารสวนตาบลหนอง ตาบลหนองสะเดา อาเภอสามชุก
สะเดา สาธารณสุข จังหวัดสุพรรณบรุ ี
โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตาบล ตาบลหนองสะเดา อาเภอสามชกุ
หนองสะเดา สาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตาบล หมทู ี่ 5 ตาบลหนองผักนากอาเภอ
หนองผกั นาก การเมืองการปกครอง สามชกุ จงั หวัดสุพรรณบุรี
สานักงานคณะกรรมการการ จังหวัดสพุ รรณบุรี
เลือกตั้งจงั หวดั สุพรรณบรุ ี สาธารณสขุ
สภากาชาดอาเภอสามชุก การศึกษา สภากาชาดจงั หวัดสพุ รรณบุรี
คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก อาเภอสามชกุ จังหวัดสุพรรณบุรี
เชิงอนุรักษ์
ภูมิปัญญา
บุคคล (ปราชญช์ าวบ้าน ความรู้ ความสามารถ ท่อี ยู่/เบอร์โทรศัพท์
ภูมปิ ัญญา ผู้นา)
เกษตรกรรม บานเลขท่ี 13/1 หมูท่ี 3 ตาบลสามชุก
นายสมาน จาปาทอง
นางสะอาด กฤษวงษ์ อุตสาหกรรมและหตั ถกรรม บา นสะพานขาว หมู 5 ตาบลสามชุก
นางประภาศรี ฐิตะวรรณ
นายมานะ พมุ่ จันทร์ อุตสาหกรรมและหตั ถกรรม บา นเลขท่ี 88 หมูท่ี 2 ตาบลยา นยาว
เศรษฐกิจพอเพียง, โคก หนอง นา ที่ทาการผู้ใหญบ่ ้าน หมูท่ ่ี 7 ตาบลยา่ นยาว
บคุ คล (ปราชญ์ชาวบา้ น ความรู้ ความสามารถ - 14 -
ภูมิปัญญา ผูน้ า)
ที่อยู่/เบอรโ์ ทรศัพท์
โมเดล
บานเลขท่ี 40/5 หมทู ี่ 4 ตาบลบา นสระ
นางจาลอง ศรีเมอื ง อตุ สาหกรรมและหัตถกรรม บานเลขท่ี 56/2 หมูท่ี 2 ตาบลหนองสะเดา
บานเลขท่ี 75 หมทู ่ี 3 ตาบลหนองสะเดา
นางนา้ คา ง ธัญญเจริญ การผลิตและการบริโภค บา นเลขท่ี 21/1 หมทู ี่ 4 ตาบลหนองสะเดา
บานเลขที่ 140 หมูที่ 7 ตาบลหนองสะเดา
นายวชิ า ทองโสภา เกษตรกรรม บา นเลขที่ 54/1 หมูที่ 2 ตาบลหนองผักนาก
บา นเลขที่ 42 หมูท่ี 3 ตาบลหนองผกั นาก
นางมีเชาว์ เพิม่ พูลทรพั ย์ การผลติ และการบริโภค บานเลขท่ี 44/1 หมทู ี่ 3 ตาบลกระเสียว
บา นเลขที่ 65/2 หมทู ่ี 3 ตาบลกระเสยี ว
นายกิตตกิ านต์ เกษประทุม อุตสาหกรรมและหัตถกรรม บา นเลขท่ี 56/2 หมทู ี่ 2 ตาบลหนองสะเดา
นายนมิ ิตร สวางศรี เกษตรกรรม
นายเพ่อื ม ฉายอรุณ อตุ สาหกรรมและหัตถกรรม
นายอานวย นุมจนั ทร์ เศรษฐกจิ พอเพียง
นางไพรชั แสงสวุ รรณ เศรษฐกิจพอเพยี ง
นางน้าคา ง ธัญญเจริญ การผลิตและการบริโภค
สว่ นท่ี 2
นโยบายและจดุ เน้น สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565
นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน.ของเลขาธิการ กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565
หลักการ
กศน. เพื่อประชาชน “กาวใหม : กาวแหงคณุ ภาพ”
นโยบายและจดุ เนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2565
1. ดานการจดั การเรียนรูคุณภาพ
1.1 นอมนาพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์
1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรูท่ีสนองตอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีวาการและ
รฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1.3 สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความม่ันคง การสรางความเขาใจที่ถูกตองในการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ
ความยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรูประวัติศาสตรของชาติและทองถิ่น และหนาท่ีความเปน
พลเมอื งทีเ่ ขมแข็ง รวมถึงการมจี ิตอาสา ผานกิจกรรมตาง ๆ
- 15 -
1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ท้ังหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง ใหสอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ
สอดคลองกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถึง
ปรับลดความหลากหลายและความซ้าซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสาหรับกลุมเปาหมาย
บนพ้นื ท่สี ูง พน้ื ท่พี ิเศษและพ้ืนทีช่ ายแดน รวมทั้งกลุมชาติพนั ธุ
1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผูเรียน
สามารถเขาถึงการประเมินผลการเรียนรู ไดตามความตองการ เพื่อการสร างโอกาสในการเรียนรู
ใหความสาคัญกับการเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู และประสบการณ พัฒนาระบบ
การประเมินสมรรถนะผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน การประเมิน
สมรรถภาพผูใหญต ลอดจนกระจายอานาจไปยงั พืน้ ท่ีในการวัดและประเมินผลการเรียนรู
1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร
ตง้ั แตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับ
กลมุ เปาหมายทสี่ ามารถเรยี นรูไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผูเรียน
1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสานักงาน กศน. ตลอดจน
พัฒนาส่ือการเรียนรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังส่ือการเรียนรูที่เปนสื่อที่ถูกตอง
ตามกฎหมายงายตอการสบื คนและนาไปใชในการจดั การเรียนรู
1.8 เรงดาเนินการเร่ือง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต
เพอ่ื การสรางโอกาสในการศกึ ษา
1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกากับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง
สงเสริมการวิจัย เพื่อเปนฐานในการพัฒนาการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั
2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ
2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เนนการพัฒนาทักษะที่จาเปนสาหรับแตละชวงวัย และ
การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูที่เหมาะสมกบั แตละกลุมเปาหมายและบริบทพน้ื ที่
2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันท่ีเนน New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคลองกับบริบท
พ้ืนที่ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมาย เชน ผูพิการ ผูสูงอายุ ความตองการของ
ตลาดแรงงาน และกลุมอาชพี ใหมท่รี องรบั Disruptive Technology
2.3 ประสานการทางานรวมกับศูนยใหคาปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย Start-up) ของอาชีวศึกษา
จัดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นฐานสมรรถนะ ในทักษะอนาคต (Future Skills) ใหกับแรงงานท่ีกลับ
ภมู ิลาเนาในชวงสถานการณ COVID – 19
2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ที่เนน “สงเสริมความรู
สรางอาชีพ เพ่ิมรายได และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของตลาด ตอยอด
- 16 -
ภูมปิ ญญาทองถิน่ เพื่อสรางมลู คาเพม่ิ พัฒนาสูวิสาหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชาสัมพันธและชอง
ทางการจาหนาย
2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุ เพื่อใหเปน Active Ageing Workforce และ
มี Life skill ในการดารงชวี ิตที่เหมาะกับชวงวัย
2.6 สงเสริมการจัดการเรียนรูเพ่ือเตรียมความพรอม/การปฏิบัติตัวสาหรับสตรีตั้งครรภและจัด
กิจกรรมการเรยี นรูสาหรับแมและเด็กใหเหมาะสมกับบริบทของชุมชนและชวงวัย
2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จาเปนสาหรับกลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผูพิการ
ออทิสตกิ เดก็ เรรอน และผูดอยโอกาสอ่นื ๆ
2.8 สงเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะดานภาษา ใหกับบุคลากรและผูเรียน กศน. เพ่ือ
รองรับการพัฒนาประเทศ รวมท้ังจัดทากรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สาหรับครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา
2.9 สงเสริมใหความรูดานการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรางวินัย
ทางการเงนิ ใหกับบคุ ลากรและผูเรยี น กศน.
2.10 สงเสริมการสรางนวัตกรรมของผูเรยี น กศน.
2.11 สราง อาสาสมัคร กศน. เพ่ือเปนเครือขายในการสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอด
ชวี ติ ในชมุ ชน
2.12 สงเสริมการสรางและพฒั นานวตั กรรมของบุคลากร กศน. รวมท้ังรวบรวมและเผยแพรเพื่อให
หนวยงาน / สถานศกึ ษา นาไปใชในการพฒั นากระบวนการเรยี นรูรวมกนั
3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ
3.1 ทบทวนบทบาทหนาท่ีของหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา
และพัฒนาตอเน่ืองสิรินธร สถานศึกษาข้ึนตรง ศูนยฝกและพัฒนาราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการขบั เคลือ่ นการจดั การศึกษาตลอดชีวิตในพ้ืนที่
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาบล และศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.)
ใหมคี วามพรอมเพอื่ เปนพน้ื ท่ีการเรยี นรูตลอดชวี ิตที่สาคัญของชมุ ชน
3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหองสมุดประชาชน ทาเนน Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอาน
และการรหู นังสอื ของประชาชน
3.4 ใหบริการวิทยาศาสตรเชิงรุก Science @home โดยใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือนา
วิทยาศาสตรสูชวี ิตประจาวันในทุกครอบครวั
3.5 สงเสริมและสนับสนุนการสรางพ้ืนท่ีการเรียนรู ในรูปแบบ Public Learning Space/
Co - learning Space เพื่อการสรางนเิ วศการเรียนรูใหเกิดข้ึนสงั คม
3.6 สงเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของกลุม กศน.จังหวัดใหมีประสทิ ธภิ าพ
4. ดานการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ
- 17 -
4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท
โครงสรางของหนวยงานเพื่อรองรับการเปล่ยี นแปลงตามกฎหมาย
4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง และขอบังคับตาง ๆ ใหมีความทันสมัย เอื้อตอการบริหาร
จัดการ และการจัดการเรียนรู เชน การปรับหลักเกณฑคาใชจายในการจัดหลักสูตรการศึกษาตอเน่ือง
4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากาลัง รวมท้ังกาหนดแนวทางท่ีชัดเจนในการนาคนเขาสูตาแหนง การยาย โอน
และการเล่ือนระดับ
4.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนงใหตรงกับ
สายงาน และทกั ษะทจ่ี าเปนในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู
4.5 เสริมสรางขวัญและกาลังใจใหกับขาราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตาง ๆ เชน
ประกาศเกยี รติคณุ การมอบโล / วุฒิบัตร
4.6 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากร เพื่อการศึกษาใหมีความครอบคลุมเหมาะสม เชน
การปรบั คาใชจายในการจัดการศึกษาของผูพิการ เดก็ ปฐมวยั
4.7 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา เพ่ือการบริหารจัดการอยางเปนระบบ เชน
ขอมูลการรายงานผลการดาเนินงาน ขอมูลเด็กตกหลนจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน
เดก็ เรรอน ผูพิการ
4.8 สงเสริมการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศเปนเครอื่ งมอื ในการบริหารจดั การอยางเตม็ รูปแบบ
4.9 สงเสรมิ พัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 และการประเมินคุณภาพ
และความโปรงใสการดาเนินงานของภาครฐั (ITA)
4.10 สงเสรมิ การมีสวนรวมของภาคเี ครอื ขายทกุ ภาคสวน เพอ่ื สรางความพรอมในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการสงเสริมการเรียนรูตลอดชวี ติ สาหรับประชาชน
- 18 -
มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มีจานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ซง่ึ มีประเด็น
พิจารณา จานวน 8 ประเดน็ ประกอบดว ย
1.1 ผูเรยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นท่ีดีสอดคลองกบั หลักสูตรสถานศึกษา
1.2 ผูเรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะที่ดีตามท่ี
สถานศึกษา
1.3 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยางมีวิจารณญาณและ
แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นรวมกับผูอ น่ื
1.4 ผเู รยี นการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมคี วามสามารถในการสรา งสรรคง์ าน ชน้ิ งาน หรือนวตั กรรม
1.5 ผูเรยี นการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทลั
1.6 ผูเรยี นการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ
1.7 ผูเรยี นการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมคี วามสามารถในการอาน การเขยี น
1.8 ผูจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานนาความรู ทักษะพนื้ ฐานท่ีไดรับไปใชหรือประยกุ ต์ใช
มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานทเี่ น้นผู้เรียน เป็น
สาคญั ซง่ึ มีประเดน็ การพจิ ารณา จานวน 4 ประเดน็ ประกอบดว ย
2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคลองกับบริบท และความตองการของผูเรียน ชุมชน
ทองถิ่น
2.1 การใชสือ่ ที่เออ้ื ตอการเรยี นรู
2.3 ครูมคี วามรู ความสามารถในการจดั การเรียนรทู เี่ นน ผเู รียนเปน็ สาคัญ
2.4 การวดั และประเมินผลการเรยี นรูของผูเรยี นอยางเปน็ ระบบ
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 9
ประเดน็ ประกอบดว ย
3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาท่ีเนนการมสี ว นรว ม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใชเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การ
3.5 การกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาทีเ่ ป็นไปตามบทบาทท่ีกาหนด
3.7 การสง เสริม สนับสนุนภาคีเครอื ขา ยใหมสี ว นรวมในการจัดการศึกษา
3.8 การสงเสรมิ สนบั สนุนการสรางสังคมแหง การเรยี นรู
3.9 การวจิ ยั เพ่อื การบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา
- 19 -
หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใชรวมกันไดทั้ง
มาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาตอเนื่อง และมาตรฐาน
การศึกษา ตามอธั ยาศยั
มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนือ่ ง
มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง มจี านวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน 1
ประเด็น ประกอบดวย
1.1 ผูเรียนการศึกษาตอ เน่อื งมีความรู ความสามารถ และหรอื ทกั ษะ และหรือคุณธรรมเปน็ ไปตาม
เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ของสงั คม
1.2 ผูจบหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องสามารถนาความรูท่ีไดไปใช หรือประยุกต์ใช บนฐานคานิยม
รว ม
1.3 ผูจบหลักสูตรการศึกษาตอเน่ืองท่ีนาความรูไปใชจนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอยางท่ีดี
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรียนร้กู ารศกึ ษาต่อเน่ือง ซ่ึงมีประเดน็ การพิจารณา จานวน 5
ประเดน็ ประกอบดว ย
2.1 หลกั สตู รการศกึ ษาตอ เนอื่ งมีคณุ ภาพ
2.2 วิทยากรการศึกษาตอเนื่อง มีความรู ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตร
การศกึ ษาตอเน่อื ง
2.3 สื่อทเ่ี อือ้ ตอการเรยี นรู
2.4 การวัดและประเมนิ ผลผูเ รียนการศกึ ษาตอเนอ่ื ง
2.5 การจดั กระบวนการเรียนรูก ารศึกษาตอ เนือ่ งท่ีมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 9
ประเด็น ประกอบดว ย
3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาท่เี นนการมีสว นรว ม
3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การ
3.5 การกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏิบตั ิหนาทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ป็นไปตามบทบาทที่กาหนด
3.7 การสงเสรมิ สนบั สนนุ ภาคเี ครอื ขา ยใหมสี ว นรว มในการจดั การศึกษา
3.8 การสง เสริม สนับสนนุ การสรา งสังคมแหงการเรียนรู
3.9 การวจิ ัยเพือ่ การบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศึกษา
- 20 -
หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใชรวมกันไดท้ัง
มาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาตอเน่ือง และมาตรฐาน
การศึกษา ตามอธั ยาศัย
- 21 -
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั
มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มีจานวน ๓ มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูร้ บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน
1 ประเดน็ ประกอบดว ย
1.1 ผูรับบริการมีความรู หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคลองกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรอื กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน 4
ประเดน็ ประกอบดวย
2.1 การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2.2 ผจู ัดกิจกรรมมคี วามรู ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั
2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอ มทเี่ อ้ือตอ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย
2.4 ผูรบั บริการมคี วามพึงพอใจตอการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 9
ประเด็น ประกอบดว ย
3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาท่ีเนนการมสี ว นรว ม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา
3.4 การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพอ่ื สนับสนุนการบริหารจัดการ
3.5 การกากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏิบัตหิ นา ท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเปน็ ไปตามบทบาทที่กาหนด
3.7 การสง เสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขายใหมีสว นรวมในการจัดการศึกษา
3.8 การสงเสรมิ สนบั สนุนการสรา งสังคมแหง การเรียนรู
3.9 การวจิ ัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา
- 22 -
ส่วนที่ 3
ทศิ ทางการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก ไดดาเนินการจัดประชุม
บุคลากร เพ่ือรวมกันประเมินสถานการณ์ของหนวยงาน โดยใชหลักการ วิเคราะห์สภาพแวดลอมและ
ศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดออนจาก สภาพแวดลอมภายใน รวมทั้งโอกาส
และอุปสรรคจากสภาพแวดลอมภายนอก อันเป็นปัจจัยตอการ สงเสริมการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อนาผลไปกาหนดทิศทางการดาเนินงานของหนวยงาน ซ่ึง ไดผลการประเมินสถานการณ์ของหนวยงาน
เปน็ ดังน้ี
สภาพแวดล้อมภายใน
จดุ แข็ง (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses)
S1= สถานศกึ ษามีการจัดทาแผนทีส่ อดคลอ งกับนโยบาย W1= ผูบริหารขาดความตอเนอ่ื งในการบริหารงาน
และจุดเนนของการดาเนินงาน เนื่องจากมีการปรบั เปลี่ยนผบู รหิ ารบอย
S2= บคุ ลากรมคี วามรคู วามเขาใจในการปฏิบัติหนา ที่ W2=งบประมาณไมเพยี งพอตอความตองการของ
และมีปฏิสัมพันธท์ ่ีดีกับชุมชน กลุมเปูาหมาย
S3 = สถานศกึ ษามกี ารจัดการเรียน การสอนที่ W3= ขาดทรัพยากรในทองถ่ิน
หลากหลายอยางท่ัวถึง
S4= สถานศกึ ษามีการใชเ ทคโนโลยใี นการปฏิบตั งิ าน
S5= บุคลากรมคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
สภาพแวดล้อมภายนอก อุปสรรค (Threat)
โอกาส (Opportunity) T1= สานักงาน กศน. มีการปรับเปลี่ยนนโยบาย ทาให
ผูป ฏบิ ัตงิ าน ปฏบิ ัติงานไดไมตอเนอื่ ง
O1= ภาคเี ครอื ขายมสี ว นรว มในการจดั ทาแผน T2= ครูขาดการสงเสริมสนบั สนนุ ในการพัฒนาทกั ษะการ
O2= ชมุ ชนมสี ว นรว มสนบั สนุนในการจัดการศกึ ษา จดั การเรียนรู
O3= รัฐบาลมนี โยบายการใชเทคโนโลยีในการจัดการ
เรียนการสอน
- 23 -
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามชุก ไดดาเนินการจัดทา
แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2565 ใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนปฏิบัติราชการ ของสานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดสุพรรณบุรี จึงไดกาหนด ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เปูาประสงค์
ตัวช้วี ดั กลยุทธ์ / โครงการ ในการดาเนนิ งานดงั นี้
ปรัชปญรชัาญา
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และ ปรชั ญาคดิ เปน็
วสิ วัยิสทัยศั ทนศั ์ น์
ประชาชนในเขตพนื้ ที่อาเภอสามชกุ ไดรับโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวติ อยา งมคี ุณภาพ ท่วั ถงึ
เทา เทียมกัน เป็นพลเมืองดี ใฝเุ รยี นรู สูการคดิ เป็น และดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
อัตอลัตกั ลษกั ณษ์ ณ์
ใฝเุ รยี นรู
เอเกอลกกั ลษักณษ์ณ์
มุงมน่ั บริการ สงเสรมิ การศึกษาสูชมุ ชน
พนั ธพกันจิ ธกิจ
1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับ
การศกึ ษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปูาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการ
เปลี่ยนแปลง บริบททางสงั คม และสรา งสงั คมแหง การเรยี นรูตลอดชวี ติ
2. สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขาย ในการมีสวนรวมจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหลง
การเรียนรอู นื่ ในรูปแบบตา งๆ
3. สงเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัล มาใชใหเกิด
ประสทิ ธภิ าพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหก ับประชาชนอยางทว่ั ถึง
4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล
ในทุกรูปแบบใหสอดคลองกับบรบิ ทในปัจจบุ ัน
5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือมุงจัดการศึกษาและการ
เรียนรทู ีม่ คี ณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
- 24 -
เป้าเปปร้าะปสรงะคส์ งค์
1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปไดรับโอกาส
ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ืองและการศึกษา
ตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ อยางเทาเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความตองการของแตละ
กลุมเปูาหมาย
2. ประชาชนไดร ับการยกระดบั การศกึ ษา สรา งเสริมและปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น
พลเมือง อันนาไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู
ความมัน่ คงและย่งั ยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสงิ่ แวดลอม
3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูและมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใชในชีวิตประจาวัน รวมท้ังแกปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยาง
สรา งสรรค์
4. ประชาชนไดร บั การสรางและสง เสริมใหม นี ิสัยรกั การอา นเพื่อการแสวงหาความรดู วยตนเอง
5. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รวมจัด สงเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทงั้ การขบั เคลือ่ นกจิ กรรมการเรยี นรูข องชุมชน
6. สถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใชในการยกระดับคุณภาพ
ในการจดั การเรียนรแู ละเพ่มิ โอกาสการเรียนรูใ หกับประชาชน
7. สถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือแกปัญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิต
ท่ีตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ
สงิ่ แวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย
8. บุคลากรของสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยางมีประสิทธภิ าพ
9. สถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล
- 25 -
สว่ นท่ี 4
โครงการ/กจิ กรรม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565
กศน. อาเภอสามชกุ
ท่ี ช่อื งาน/โครงการ งบประมาณ (บาท) เป้าหมายการดาเนินการ
ประเภท ได้รับจัดสรร
1 โครงการจดั การศึกษานอกระบบ งบเงินอดุ หนนุ 621,580 กล่มุ เป้าหมาย จานวน
ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
งบเงินอดุ หนุน 190,920 นักศกึ ษา กศน. 676 คน
2 โครงการพฒั นาคุณภาพผเู รยี น อาเภอสามชุก 410 คน
งบดาเนนิ งาน 6,600 นักศกึ ษา กศน. 70 คน
3 โครงการสงเสริมการรูห นังสือไทย อาเภอสามชุก 44 คน
- ผูไมรหู นงั สอื
4 โครงการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ 16,200 /ผลู ืมหนงั สือ
5 โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน 1 อาเภอ คนพิการ
1 อาชีพ
งบรายจา ยอ่นื ประชาชนทว่ั ไป 18 คน
6 โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชนช้ันเรยี นวชิ าชพี
(31 ชัว่ โมง ข้ึนไป) งบรายจา ยอ่ืน 111,600 ประชาชนทว่ั ไป 124 คน
7 โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน พัฒนาอาชีพ งบรายจา ยอ่นื 57,400 ประชาชนท่ัวไป 82 คน
ระยะสัน้ (กลมุ สนใจ ไมเ กนิ 30 ช่วั โมง)
งบดาเนนิ งาน 8,970 ประชาชนทั่วไป 78 คน
8 โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต งบดาเนินงาน 20,000 ประชาชนทัว่ ไป 50 คน
9 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ งบดาเนินงาน 32,000 ประชาชนทั่วไป 80 คน
ชมุ ชน
งบดาเนินงาน - ประชาชนทัว่ ไป 7,120 คน
10 โครงการจัดกระบวนการเรียนรูตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง งบดาเนนิ งาน 17,080 กศน.ตาบล 7 แหง
11 โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย
ปงี บประมาณ 2565
12 โครงการสง เสริมการอานและพัฒนาแหลง
เรียนรูใ นระดับตาบล ปงี บประมาณ 2565
13 โครงการ “หอ งสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาว งบดาเนินงาน - ตลาดรอยปี 3,100 คน
ตลาด” ตามพระราชดาริของสมเดจ็ พระเทพ สามชุก
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจาปี
งบประมาณ 2565
- 26 -
ที่ ชอ่ื งาน/โครงการ งบประมาณ (บาท) เป้าหมายการดาเนินการ
ประเภท ได้รบั จดั สรร กลุ่มเปา้ หมาย จานวน
ประชาชนท่วั ไป 15 คน
14 โครงการภาษาตา งประเทศเพื่อการสื่อสาร งบรายจายอื่น 17,700
ดานอาชีพ งบรายจา ยอื่น 25,200 ประชาชนทว่ั ไป 105 คน
ผูสงู อายุ 70 คน
15 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลชมุ ชน
16 โครงการการจัดและสง เสรมิ การจดั การศึกษา งบรายจา ยอน่ื 4,900
ตลอดชีวิตเพ่อื คงพัฒนาการทางกาย จิต และ
สมองของผสู ูงอายุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.
2565
รายละเอยี ดตารางบญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/วเิ คราะห์ความสอดคล้อ
เปา้ หมาย งบประมาณรา
ชื่อโครงการ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
จดั การศกึ ษานอก คา่ จัดการเรียนการสอน 676 คน
ระบบระดับ
การศึกษาขั้น - 15,000.-
พ้นื ฐาน - 35,000.-
- 10,000.-
จัดทาตน ฉบบั แบบทดสอบ
รายวชิ าเลอื ก 15,000.- 15,000.-
คา ตอบแทนคณะกรรมการ 15,000.- 15,000.-
กากับหองสอบ
จัดเตรยี มความพรอมเพ่ือ
รับรองการประกนั คณุ ภาพ
ภายในสถานศกึ ษา และ สมศ.
จัดหาและพัฒนาสื่อวัสดุท่ีใช
ในการจดั การเรยี นการสอน
บริหารจัดการวัสดอุ ปุ กรณ์
ดาเนนิ งานการศึกษานอก
- 27 -
องนโยบายและมาตรฐานการศึกษา กศน.อาเภอสามชุก ประจาปงี บประมาณ 2565
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รบั ผิดชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงนิ ดาเนนิ งาน รายจ่ายอืน่ อ.เฉลิม
อดุ หนุน 1 วรรณ
621,580
- 15,000.- -- อ.เฉลมิ
- 35,000.- -- วรรณ
10,000.- 10,000.- --
-- อ.เฉลมิ
15,000.- 15,000.- -- วรรณ
15,000.- 15,000.-
อ.อุเทน
อ.เฉลิม
วรรณ
อ.เฉลิม
วรรณ
เป้าหมาย งบประมาณรา
ช่อื โครงการ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
โครงการพัฒนา ระบบระดับการศึกษาขนั้ - 10,000.-
คณุ ภาพผู้เรียน พน้ื ฐาน 5,000.- 5,000.-
บรหิ ารจดั การคา
สาธารณูปโภค - 15,000.-
คา บริหารการจัดกิจกรรมการ 15,000.- 15,000.-
เรยี นการสอนการศึกษาข้ัน 11,680.- 35,040.-
พน้ื ฐาน
พัฒนา กศน.ตาบลใหเป็น --
แหลงเรียนรูตลอดชวี ติ
คา บารุงรักษาวสั ดสุ านักงาน
คาตอบแทนเจาหนาที่บันทึก
ขอ มลู
พัฒนาบุคลากร กศน.อาเภอ
สามชุก
คา่ จัดพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น 410 คน
จติ อาสา นกั ศึกษา กศน. 10,000.- -
- 28 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รับผดิ ชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงิน ดาเนนิ งาน รายจา่ ยอ่นื
อุดหนุน
15,000.- 15,000.- -- อ.เฉลิม
5,000.- 5,000.- -- วรรณ
อ.เฉลิม
วรรณ
15,000.- 15,000.- -- อ.เฉลิม
-- วรรณ
15,000.- 15,000.- -- อ.พันทอง
35,040.- 35,040.-
อ.พันทอง
89,780.- - -- อ.อเุ ทน
190,920 1 อ.เฉลิม
วรรณ
10,000.- - -- อ.นริศรา
เปา้ หมาย งบประมาณรา
ชอื่ โครงการ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
โครงการสง่ เสริม อาเภอสามชุก 70 คน 31,900.- -
การรู้หนงั สอื ไทย “เราทาความดดี วยหวั ใจ” - 8,000.-
สง เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม - 32,000.-
เรยี นรูศลิ ปะวฒั นธรรม - 13,560.-
ติวเขม เตมิ เต็มความรู -
(N-net) - -
เสรมิ สรา งอุดมการณ์ รกั ชาติ -
ศาสนา พระมหากษตั ริย์ -
สง เสรมิ การอาน และพฒั นา 3,300.- -
ทกั ษะการเรียนรู -
การเรียนรตู ามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รวมใจตานภัย หา งไกลยาเสพ
ตดิ
ผ้ไู มร่ ู้หนังสือ
จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
จัดซือ้ ส่อื สง เสริมการเรยี นรู
- 29 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงนิ ดาเนินงาน รายจา่ ยอืน่
อุดหนนุ
-- -- อ.เชษฐา
อ.สุกานดา
- 8,000.- --
อ.จารวุ รรณ
32,000.- - -- อ.ปัทมา
-- -- อ.สรุ ศกั ด์ิ
อ.ณฐั ภทั ร
32,000.- - --
อ.อเุ ทน
13,460.- - -- บรรณารักษ์
6,600 อ.จารุวรรณ
-- อ.ปทั มา
--
อ.เชษฐา
อ.สกุ านดา
1 อ.พนั ทอง
- -
3,300.- -
เป้าหมาย งบประมาณรา
ช่ือโครงการ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
ภาษาไทย
โครงการจัด การจัดการศกึ ษาสาหรับคน
การศึกษาสาหรับ พิการ 44 คน -
คนพิการ 18 คน
-
โครงการศนู ยฝ์ กึ 1 อาเภอ 1 อาชพี
อาชีพชุมชน วิชาศลิ ปะประดิษฐ์จากหวาย 8,100.-
1 อาเภอ 1 เทียม จานวน 33 ชว่ั โมง
อาชีพ
โครงการศนู ยฝ์ กึ ชัน้ เรยี นวชิ าชพี 124 คน
อาชพี ชุมชน ( 31 ชว่ั โมงขึ้นไป)
ชั้นเรียนวชิ าชีพ วชิ าการจกั สาน
(31 ชว่ั โมงข้ึน (การทาโตกจากหวายเทียม) - 11,000.-
ไป) จานวน 40 ชว่ั โมง
- 30 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รับผิดชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงิน ดาเนนิ งาน รายจา่ ยอ่นื
อุดหนนุ
- 1 อ.พทั ธนนั ท์
อ.ชลิดา
8,100.- - 16,200 2 อ.พันทอง
--
111,600.- 2 อ.นริศรา
11,000.- - - - อ.นรศิ รา
เป้าหมาย งบประมาณรา
ชือ่ โครงการ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
วชิ าการจกั สาน - 11,000.-
(การทาตะกราหวายเทียม) --
จานวน 40 ชว่ั โมง - 11,000.-
วิชาการทาฝาชี --
จานวน 40 ช่วั โมง
วชิ าชางปูกระเบอื้ ง - 11,000.-
จานวน 40 ช่วั โมง
วิชาการจักสาน - 11,000.-
(การทาตะกราหวายเทยี ม)
จานวน 40 ชั่วโมง
วิชาการจักสาน
(การทาตะกรา หวายเทยี ม)
จานวน 40 ชั่วโมง
วชิ าการสานตะกราจากเชอื ก
มดั ฟาง จานวน 40 ชวั่ โมง
โครงการศูนย์ฝึก พฒั นาอาชีพระยะสนั้ 82 คน
- 31 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รบั ผิดชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงิน ดาเนินงาน รายจา่ ยอื่น
อดุ หนุน
-- - - อ.เชษฐา
11,000.- - - อ.เชษฐา
อ.ปัทมา
-- - -
11,000.- - - - อ.ปทั มา
11,000.- - - - อ.จารุวรรณ
อ.สุกานดา
11,000.- - - - อ.สรุ ศักด์ิ
อ.ณัฐภทั ร
57,400.- 2 อ.นรศิ รา
เปา้ หมาย งบประมาณรา
ชอื่ โครงการ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
อาชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ ไม่เกิน 30ช่ัวโมง)
พัฒนาอาชีพ
ระยะสนั้ การทาขนมไทย 2,000. - -
(กลุ่มสนใจ จานวน 5 ชว่ั โมง - 2,000.-
ไม่เกิน 30 การทาอาหารวาง
ชัว่ โมง) จานวน 5 ชัว่ โมง 4,700. - -
การสานกระเปา จากเสน
พลาสตกิ จานวน 15 ชัว่ โมง 2,000 - -
การทาอาหารวา ง
(เคกกลว ยหอม) - 2,000 -
จานวน 5 ชว่ั โมง
การทาขนมไทย 2,000.- 2,000.-
จานวน 5 ชัว่ โมง
การทาอาหารวาง (หมกี่ รอบ) - -
จานวน 5 ช่ัวโมง 4,000.- -
การทาขนมไทย
จานวน 5 ชว่ั โมง
การทาไมกวาด (ไมกวาด
- 32 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงนิ ดาเนินงาน รายจ่ายอื่น
อดุ หนนุ
2,000. - - - - อ.นริศรา
2,000. - - - - อ.นรศิ รา
4,700. - - - -
1 อ.เชษฐา
2,000 - - - -
อ.ปทั มา
2,000 - - - -
-- - - อ.ปทั มา
- - อ.จารุวรรณ
2,000. - 2,000. - - - อ.จารวุ รรณ
-- อ.สุกานดา
เป้าหมาย งบประมาณรา
ช่อื โครงการ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
หยากไย)
จานวน 15 ช่ัวโมง
ก า ร ส า น ก ร ะ เ ป า จ า ก เ ส น -
พลาสติก จานวน 15 ช่วั โมง
การทาไมกวาด 4,000.- -
(ไมกวาดหยากไย)
จานวน 15 ชัว่ โมง
การทานา้ สมนุ ไพร 2,000.- -
จานวน 5 ชัว่ โมง
การทาสบสู มุนไพร - 2,000.-
จานวน 5 ชว่ั โมง
การทาไมกวาด --
- 33 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รับผดิ ชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงนิ ดาเนินงาน รายจ่ายอื่น
อดุ หนุน
4,000.- - - - อ.สกุ านดา
4,000.- - - - อ.สุรศักดิ์
-- - - อ.ณัฐภทั ร
-- - - อ.ณฐั ภทั ร
4,000.- - - - อ.ณัฐภัทร
เปา้ หมาย งบประมาณรา
ช่ือโครงการ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
(ไมกวาดหยากไย)
จานวน 15 ช่ัวโมง
โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 78 คน 4,485 -
การศกึ ษาเพอื่ ชีวิต 50 คน
พฒั นาทักษะชีวิต สงเสริมสขุ ภาพกาย สรา ง - 1,400.-
1,400.- -
เสรมิ สุขภาพจติ ใจ
โครงการจดั การจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนา - 1,500.-
การศึกษาเพ่ือ สังคมและชุมชน
พฒั นาสังคมและ อบรมใหความรู “ ความ
ชุมชน ปลอดภัยและสรางความ
เชอ่ื ม่ันในการฉดี วคั ซนี โควิด
19 ” ตาบลกระเสียว
อบรม ชุมชนปลอดขยะ
ปลอดภยั หางไกลโรค
อบรม “ชุมชนรว มใจ หางไกล
เช้ือไวรสั Covid-19”
- 34 -
ายไตรมาส งบประมาณรวม มาตรฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบ
ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กศน.
เงนิ ดาเนินงาน รายจา่ ยอ่นื
อุดหนนุ
4,485 - 8,970.- 2 อ.สุกานดา
-
1,400.- - อ.สกุ านดา
20,000.-
1,400.- - 2 อ.จารวุ รรณ
1,500.- - --
อ.นรศิ รา
--
-- อ.เชษฐา
อ.ปทั มา
เปา้ หมาย งบประมาณรา
ช่อื โครงการ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2
อบรม “ชมุ ชนรว มใจ หา งไกล - 1,500.-
เช้ือไวรัส Covid-19”
อบรมใหความรู “ ความ 1,400.- -
ปลอดภยั และสรางความ
เชื่อมั่นในการฉีดวคั ซนี โควดิ 1,400.- -
19 ”ตาบลหนองผักนาก
อบรมเชิงปฏิบตั ิการใหค วามรู
ในการปอู งกันโรคตดิ ตอเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019
ตาบลสามชุก
อบรมการปูองกนั ตนเองจาก - 1,400.-
โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 --
สายพันธ์ใุ หมโ อไมครอน
อบรมการปูองกันตนเองจาก
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สายพนั ธุ์ใหม