The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

report 67 - e_book

report 67 - e_book

ดาวน์โหลดเล่มรายงานประจำปี 2566 ได้จาก QR CODE นี้


ดาวน์โหลดเล่มรายงานประจำปี 2566 ได้จาก QR CODE นี้


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สารบัญ สารผู้บริหารหน่วยงาน ก ทำเนียบบุคลากร ข บทสรุปผู้บริหาร ค ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนาจหน้าที่ 2 1.2 โครงสร้างและกรอบอัตรากำลังของหน่วยงาน 3 1.3 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5 1.4 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 10 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ 16 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 17 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 124 3.1 กิจกรรมของหน่วยงาน 125 3.2 กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินการร่วมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ 129 3.3 กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ 131 3.4 รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ (ถ้ามี) 134 ส่วนที่ 4 รายงานทางการเงิน 135 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน 136 4.2 งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน 137 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 138 ส่วนที่ 5 ภาคผนวกและบรรณานุกรม 140


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ก สารจากสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์มีภารกิจในการ แนะนำส่งเสริม กำกับ ดูแล และพัฒนาการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรด้วยวิธีการสหกรณ์ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมาย ในการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพิ่มขีดความสามารถ ในการดำเนินธุรกิจ พัฒนาสินค้า ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรณ์ ให้มีมูลค่าเพิ่ม ได้มาตรฐาน และเพิ่มช่องทางการจำหน่าย รวมถึงช่วยเหลือในส่วนการแก้ไขปัญหา หนี้สินของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดำเนินกิจการ ให้มีธรรมาภิบาล และไม่ขาดทุน เพื่อให้สถาบันเกษตรกรในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นกลไกขับเคลื่อน เศรษฐกิจและสังคมในระดับฐานรากอย่างแท้จริง ดังแสดงให้เห็นผ่านรายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในนามผู้บริหารสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ต้องขอขอบคุณ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน บุคลากรสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ได้ให้การสนับสนุน ร่วมกันขับเคลื่อนภารกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ภายใต้วิสัยทัศน์“สหกรณ์เข้มแข็งและเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรม เพื่อเป็นกลไกสำคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก” (นายนรินทร์ศักดิ์ พนิตธรรมกูล) สหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2566






WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ค บทสรุปผู้บริหาร ค (Executive Summary) การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี (Annual Report) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อเป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงาน/โครงการ ตามบทบาทภารกิจ และตามนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายใต้การดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีรวมทั้งรายงานด้านการเงิน ของหน่วยงาน และรองรับการบริหารการจัดการข้อมูลเพื่อการจัดทำรายงาน การประเมินความคุ้มค่าในการ ปฏิบัติภารกิจของกรม ในระดับหน่วยงานตามยุทธศาสตร์ โดยสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอนได้รับอนุมัติ แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 6 แผนงาน งบประมาณจัดสรร ทั้งสิ้น 9.83 ล้าทบาท แบ่งเป็น งบบุคลากร 3.62 ล้านบาท งบดำเนินงาน 3.58 ล้านบาท งบลงทุน 0.59 ล้านบาท งบอุดหนุน 2.02 ล้านบาท แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจำนวน 2.1 ล้านบาท กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดำเนินงาน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 40 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 31,201.00 คน มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 22 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55 ผ่านมาตรฐาน จำนวน 24 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 กลุ่มเกษตรกร จำนวน 4 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด 430 คน มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25 และผ่านมาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 0.15 ล้านบาท ประกอบด้วยกิจกรรม พัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร และกิจกรรมส่งเสริมและ พัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ผลการดำเนินงานเกษตรกรมียอดขายจากการดำเนินโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.38 เมื่อเทียบกับปี 2565 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร จำนวน 9,700 บาท โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิต สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์ผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจในการบริหารคุณภาพหนี้อย่างยั่งยืน จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ค ค แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 0.54 ล้านบาท ประกอบด้วย 1) ส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง 4 แห่ง 2) ส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง 2 แห่ง 3) ส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง เพื่อแก้ปัญหาพื้นที่เฉพาะ กลุ่มชาวบ้านจำนวน 5 หมู่บ้าน กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 1.86 ล้านบาท 1) ส่งเสริมสหกรณ์ตามโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 2 แห่ง 2) ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจำนวน 31 แห่ง 3) ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จำนวน 1 แห่ง 4) คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ จำนวน 4 ครั้ง 5) ขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 5 แห่ง แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศษฐกิจฐานราก งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวน 72,900 บาท กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินทำกินตามนโยบายรัฐบาล ผลการดำเนินงาน สมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จำนวน 35 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 เกษตรกรสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ จำนวน 13 ราย และร้านค้าสหกรณ์ที่ร่วมโครงการ ได้รับการพัฒนาและส่งเสริม การดำเนินธุรกิจ เงินกองทุพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุน พัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด ได้อนุมัติวงเงินให้สหกรณ์รวมทั้งสิ้น 35,610,000 บาท โดยสหกรณ์ได้รับเงินกู้ สอดคล้องกับแผนธุรกิจและฤดูการผลิตของสมาชิก ทำให้การใช้เงินกู้ตรงตามวัตถุประสงค์ และสามารถส่งชำระหนี้ได้ ตามกำหนด อีกทั้งการปฏิบัติในการให้บริการกับสมาชิกอย่างเต็มใจ โปร่งใสและเสมอภาคทุกสหกรณ์ ทำให้สหกรณ์ มีความเชื่อถือและให้ความร่วมมือในด้านต่างๆ กับสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นอย่างดี อีกทั้งสหกรณ์ได้รับเงินกู้ ดอกเบี้ยต่ำช่วยลดต้นทุนให้แก่สหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.1 ว ิสั ยท ัศน ์ พ ั นธก ิ จ และอ ำนำจหน ้ ำท ี่ วิสัยทัศน์ “ สหกรณ์เข้มแข็งและเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม เพ ่ื อเป็ นกลไกส ำค ั ญในกำรพ ั ฒนำ เศรษฐกิจฐำนรำก” 1. ยกระดับคุณภาพและการขยายการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชน 2. ขยายเครือข่ายความรร่วมมือและบูรณาการระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาระบบสหกรณ์ 3. เร่งรัดจัดที่ดินและส่งเสริมอาชีพในเขตนิคมสหกรณ์ 4. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างจิตสำนึกความเป็นสหกรณ์และการมีส่วนร่วม 5. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างเครือข่ายพันธมิตรด้านการบริหารจัดการทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัตนธรรมเพื่อสร้างความ เข้มแข็งในระบบสหกรณ์ 6. สนับสนุนและคุ้มครองสหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ในการดำเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการ ของสมาชิกและ ผู้มีส่วนได้เสียภายใต้หลักการสหกรณ์สากล และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7. ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ และบุคลาการให้เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริม และพัฒนาระบบ สหกรณ์ 1. ดําเนินการเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย พันธกิจ อ ำนำจหน ้ ำท ี่


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.2 โครงสร้างการบริหารงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1. โครงสร้างการบริหารงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน สหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ฝ่ายบริหารทั่วไป - ข้าราชการ 2 ราย - ลูกจ้างประจำ 1 ราย - พนักงานราชการ 5 ราย - พนักงานจ้างเหมาบริการ 6 ราย กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ 2 ราย กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา การบริหารการจัดการสหกรณ์ - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ 1 ราย กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ 2 ราย กลุ่มตรวจการสหกรณ์ - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ 2 ราย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 - ข้าราชการ 2 ราย - ลูกจ้างประจำ 1 ราย - พนักงานราชการ 1 ราย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ - ราย - พนักงานจ้างเหมาบริการ 1 ราย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ - ราย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 - ข้าราชการ 2 ราย - พนักงานราชการ 1 ราย


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 4 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กรอบอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน หมายเหตุ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 กรอบอัตรากำลัง เพศชาย เพศหญิง รวม 1) ข้าราชการ 7 11 18 2) ลูกจ้างประจำ 2 - 2 3) พนักงานราชการ 5 9 14 4) พนักงานจ้างเหมาบริการ 6 1 7 รวม 20 21 41


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 5 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.3 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ ผลผลิต/โครงการ : บุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ งบประมาณได้รับจัดสรร : 4,238,700 บาท 1.2 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต/โครงการ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และเกษตรกร กิจกรรมรอง : สนับสนุนการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ตามศักยภาพ (อำนวยการ) ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็งระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อยร้อยละ 91 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 30 งบประมาณได้รับจัดสรร : 2,100,800 บาท 1.3 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 1.3.1 โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ 6 แห่ง 2. กลุ่มเตรียมสหกรณ์/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มหมู่บ้านในพื้นที่โครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ 15 แห่ง 3. สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 56 4. สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวงมีอัตราการขยายตัวของ ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 กิจกรรมที่ดำเนินการ : กิจกรรม 1 ส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง กิจกรรม 2 พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง เพื่อแก้ปัญหาพื้นที่เฉพาะ งบประมาณได้รับจัดสรร : 548,500 บาท


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 6 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.3.2 โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2 แห่ง 2. โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มหมู่บ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ 38 แห่ง 3. สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 56 4. สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 กิจกรรมที่ดำเนินการ : กิจกรรม 1 ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรม 2 ส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี กิจกรรม 3 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กิจกรรม 4 ขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งบประมาณได้รับจัดสรร : 1,868,240 บาท 1.4 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลผลิตโครงการ : แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ สหกรณ์ กิจกรรมหลัก : แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ค้าง (NPL) ได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหาร จัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 5 แห่ง 2. สมาชิกสหกรณืและกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการมีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ย ร้อยละ 10 งบประมาณได้รับจัดสรร : 9,700 บาท


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 7 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.5 แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพ 35 ราย 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 งบประมาณได้รับจัดสรร : 72,900 บาท 1.6 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 1.6.1 โครงการ : พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก : พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพ การดำเนินธุรกิจและการพัฒนาองค์กร 1 แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทน แก่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 งบประมาณได้รับจัดสรร :20,100 บาท 1.6.2 โครงการ : ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นในสถาบันเกษตรกร (ข้าว) ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สถาบันเกษตรกร ผู้ผลิต/รวบรวม/แปรรูปสินค้าปศุสัตว์ หม่อนไหม ข้าวและผลไม้ สามารถสร้างช่องทางการตลาด หรือสื่อประชาสัมพันธ์ สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น หรือสินค้า GI 1 แห่ง 2. สถาบันเกษตร ผู้ผลิต /รวบรวม/แปรรูปสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น มีเครือข่ายเชื่อมโยงสินค้าและมีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 แห่ง 3. สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 งบประมาณได้รับจัดสรร : 63,600 บาท


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 8 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.6.3 โครงการ : ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการแปรรูป ผลผลิต จำนวน 1 แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการจำหน่าย สินค้า/ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 งบประมาณได้รับจัดสรร : 8,800 บาท 1.6.4 โครงการ : ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีรับการส่งเสริมให้มีการบริหาร จัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 2. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปี 2564 ได้รับการสนับสนุน ให้มีการเชื่อมโยงตลาดเครือข่าย ไม่น้อยกว่า 7 แปลง 3. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 1,200 บาท/ไร่ งบประมาณได้รับจัดสรร : 8,600 บาท 1.6.5 โครงการ : ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดับความเข้มแข็ง ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก : 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนา เพื่อรักษาและยกระดับความเข้มแข็ง 4 แห่ง 2. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายที่อยู่ในระดับชั้น 1 สามารถรักษาระดับความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 ได้ ร้อยละ 100 3. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายที่อยู่ในระดับชั้น 2 สามารถยกระดับชั้นสู่ระดับชั้น 1 ได้ ร้อยละ 60 4. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายที่อยู่ในระดับชั้น 3 สามารถยกระดับชั้นสู่ระดับชั้น 1 หรือ 2 ได้ ร้อยละ 60 งบประมาณได้รับจัดมรร : 49,800 บาท


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 9 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. งบประมาณที่ได้รับจัดสรรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบกับข้อมูลย้อนหลัง 2 ปี (พ.ศ. 2564 - 2565) (จำแนกตามประเภทงบรายจ่าย)


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 10 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.4 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 1. ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์(จำแนกตามประเภทสหกรณ์) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 1.1 จำนวนสหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ แยกตามสถานะสหกรณ์ 1.2 จำนวนสหกรณ์(Active) และจำนวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภท จำนวนสหกรณ์(แห่ง) จำนวนสมาชิก (ราย) สหกรณ์การเกษตร 27 21,663 สหกรณ์ประมง - - สหกรณ์นิคม - - สหกรณ์ร้านค้า 2 33 สหกรณ์บริการ 3 373 สหกรณ์ออมทรัพย์ 5 5,939 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 3 3,193 รวมทั้งสิ้น 40 31,201


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 11 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.3) จำนวนสหกรณ์(Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สหกรณ์การเกษตร - 4 1 - 7 1 - 3 1 - 10 สหกรณ์ประมง - - - - - - - - - - - - สหกรณ์นิคม - - - - - - - - - - - - สหกรณ์ร้านค้า - - 1 - - - - - - - - 1 สหกรณ์บริการ - - - - - - - - - 1 - 2 สหกรณ์ออมทรัพย์ - - - - - - - - 3 - 2 - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - - - - - - - - - - - 3 รวมทั้งสิ้น - - 5 1 - 7 1 - 6 2 2 16 1.4 จำนวนสหกรณ์(Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ (เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 สหกรณ์การเกษตร 3 10 14 - สหกรณ์ประมง - - - - สหกรณ์นิคม - - - - สหกรณ์ร้านค้า 1 1 - - สหกรณ์บริการ - 1 2 - สหกรณ์ออมทรัพย์ 4 - 1 - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - 1 - รวมทั้งสิ้น 10 12 18 -


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 12 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.5) จำนวนสหกรณ์(Active) และปริมาณธุรกิจสหกรณ์แยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จำนวน สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจำหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ สหกรณ์การเกษตร 27 106.67 79.09 63.53 31.76 2.43 0.6 284.10 สหกรณ์ประมง - - - - - - - - สหกรณ์นิคม - - - - - - - - สหกรณ์ร้านค้า 2 - - 0.14 - - 0.0046 0.65 สหกรณ์บริการ 3 0.0042 0.15 0.026 - - 0.019 0.28 สหกรณ์ออมทรัพย์ 5 1,536.018 3,773.45 - - - - 5,309.47 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 3 23.61 20.01 - - - - 43.62 รวมทั้งสิ้น 40 1,666.30 3,872.7 63 31.76 2.43 0.69 5,638.12 หมายเหตุ อ้างอิงข้อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว 1.6) จำนวนสหกรณ์(Active)และผลการดำเนินงานของสหกรณ์ (กำไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ) ประเภท ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ กำไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) สหกรณ์การเกษตร 18 2,421,658.12 10 8,044,835.87 สหกรณ์ประมง - - - - สหกรณ์นิคม - - - - สหกรณ์ร้านค้า 2 24,962.54 - - สหกรณ์บริการ 2 78,928.06 1 60,239.62 สหกรณ์ออมทรัพย์ 5 185,173,087.95 - - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 1,445,679.98 1 307,569.60 รวมทั้งสิ้น 29 189.14 12 8.41 หมายเหตุ อ้างอิงข้อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 13 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มเกษตรกร (จำแนกตามประเภทกลุ่มเกษตรกร) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 2.1 จำนวนกลุ่มเกษตรกร แยกตามสถานะสหกรณ์ ประเภท จำนวนกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ดำเนินการ ดำเนินการ เลิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรทำนา - 4 1 5 กลุ่มเกษตรกรทำสวน - - - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - - - กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - - - กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - - - กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ - - - - รวมทั้งสิ้น - 4 1 5 2.2 จำนวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และจำนวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภท จำนวนกลุ่มเกษตรกร จำนวนสมาชิก (ราย) กลุ่มเกษตรกรทำนา 4 430 กลุ่มเกษตรกรทำสวน - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ - - รวมทั้งสิ้น 4 430 2.3 จำนวนกลุ่มเกษตรกร (Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีขอกลุ่มเกษตรกร ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กลุ่มเกษตรกรทำนา - - - - - 3 - - - - - 1 กลุ่มเกษตรกรทำสวน - - - - - - - - - - - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - - - - - - - - - - - กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - - - - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น - - - - - 3 - - - - - 1


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 14 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.4 จำนวนกลุ่มเกษตรกร (Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร(เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 กลุ่มเกษตรกรทำนา 1 - - 3 กลุ่มเกษตรกรทำสวน - - - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - - - กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - - - กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - - - กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ - - - - รวมทั้งสิ้น 1 - - 3 2.5 จำนวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกรแยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : บาท ประเภท จำนวน สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจำหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ กลุ่มเกษตรกรทำนา 4 - 701,236 1,005,468 30,000 - - 1736,704 กลุ่มเกษตรกรทำสวน - - - - - - - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - - - - - - - กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - - - - - - - กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - - - - - - - กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 4 - 701,236 1,005,468 30,000 - - 1,736,704 หมายเหตุ อ้างอิงข้อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 15 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.6จำนวนกลุ่มเกษตรกร (Active)และผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร (กำไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ) ประเภท ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร กำไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (บาท) จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (บาท) กลุ่มเกษตรกรทำนา 3 10,160.72 1 28,453.66 กลุ่มเกษตรกรทำสวน - - - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - - - กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - - - กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - - - กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ - - - - รวมทั้งสิ้น 4 - - - หมายเหตุ อ้างอิงข้อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว 3. ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ (จำแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 3.1 จำนวนกลุ่มอาชีพแยกตามสถานะกลุ่มอาชีพ ประเภท Active Non-Active รวมทั้งสิ้น ดำเนินธุรกิจ ดำเนินธุรกิจ เป็นครั้งคราว หยุด ดำเนินการ แจ้งยกเลิก กลุ่มแล้ว แต่ยังไม่ได้ แจ้งคืนเงินเข้า คลังจังหวัด แจ้งยกเลิกกลุ่ม และคืนเงินเข้า คลังจังหวัด เรียบร้อยแล้ว ติดตามไม่ได้ อาหารแปรรูป 3 3 - - - - 6 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 5 4 - - - - 9 ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ1 - - - - 1 สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา - 1 - - - - 1 เพาะปลูก 1 - - - - 1 อื่นๆ - - 30 - - 36 66 รวมทั้งสิ้น 9 9 30 - - 36 84


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 16 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 17 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการ ใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 17 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการดำเนินภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1.1 แนะนำส่งเสริมฯ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ • เป้าหมาย สหกรณ์ 41 แห่ง สมาชิก 31,201 ราย และกลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 430 ราย • ผลการดำเนินงาน 1. ประสาน ชี้แจง และจัดทำแผนปฏิบัติงานการพัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในกระบวนการเลิกตามกฎหมาย 2. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ประเมินสถานภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อจัดทำแผนพัฒนา สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามศักยภาพ 3. ประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์การขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร และสร้างความเข้าใจการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้กับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 4. บูรณาการร่วมกันกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์แม่ฮ่องสอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5. แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งระดับ 1 และ 2 6. แนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรให้ยกระดับความเข้มแข็งจากระดับ 3 สู่ระดับ 2 หรือ 1 สหกรณ์ภาค การเกษตร จำนวน (แห่ง) สหกรณ์นอกภาค การเกษตร จำนวน (แห่ง) กลุ่ม เกษตรกร จำนวน (แห่ง) ความเข้มแข็งระดับ 1 3 ความเข้มแข็งระดับ 1 7 ความเข้มแข็งระดับ 1 1 ความเข้มแข็งระดับ 2 10 ความเข้มแข็งระดับ 2 2 ความเข้มแข็งระดับ 2 - ความเข้มแข็งระดับ 3 14 ความเข้มแข็งระดับ 3 4 ความเข้มแข็งระดับ 3 3 ไม่นำมาจัดระดับชั้น 1 ไม่นำมาจัดระดับชั้น - ไม่นำมาจัดระดับชั้น 1 รวม 28 รวม 13 รวม 5 1. งานแนะนำ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาและกำกับการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เกษตรกร


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 18 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ⚫ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหา 1. ปัญหาการทุจริตที่ยังไม่สามารถจับกุมตัวผู้ต้องหาได้ แม้ว่าจะขอความร่วมมือไปกับหน่วยงานที่มีศักยภาพแล้ว แต่ก็ไม่มี ความคืบหน้า - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ยังคงให้สหกรณ์ฯ ติดต่อประสานงานไปยังหน่วยงานที่มีศักยภาพในการจับกุมตัว ผู้ต้องหาอย่างต่อเนื่อง และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ใช้วิธีการสืบหาเบาะแส จากช่องทางต่างๆเพื่อนำจับ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกับ คณะกรรมการสหกรณ์ประสานกับสำนักงานบังคับคดีเพื่อสืบทรัพย์บังคับคดี กับผู้ต้องหา ที่ถูกฟ้องคดีทางแพ่งและทางอาญาไปแล้ว 2. จากเดิมที่มีปัญหาการจัดตั้งสหกรณ์ที่ไม่ได้เกิดจากความต้องการของสมาชิก / ไม่มีความพร้อมในการจัดตั้งสหกรณ์/ นโยบายภาครัฐบังคับให้ตั้งสหกรณ์ (หลีกเลี่ยงไม่ได้) ปัจจุบันสหกรณ์ฯ สามารถขับเคลื่อนได้แล้ว และสมาชิกได้เข้ามามี ส่วนร่วมมากขึ้น ด้วยวิธีการ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ พยายามให้คำแนะนำ ส่งเสริม และองค์ความรู้ในการบริหารงานแก่คณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ และร่วมขับเคลื่อนงานสหกรณ์ไปด้วยกัน - จัดกลุ่มสมาชิก เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้สอดคล้องกับกลุ่มสมาชิกแต่ละกลุ่ม โดยเริ่มจากกลุ่มสมาชิก ที่มีความพร้อมก่อนให้เริ่มก่อน เพื่อให้สมาชิกกลุ่มอื่นเห็นผลจากการส่งเสริม และขยายผลสู่กลุ่มอื่นๆ ในลำดับต่อไป - เพิ่มธุรกิจสหกรณ์ให้หลากหลาย เพื่อให้สมาชิกเข้ามาใช้บริการได้มากยิ่งขึ้น - มุ่งเสริมและพัฒนาอาชีพตามความพร้อมของสมาชิก โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่มีศักยภาพ 3. คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ขาดองค์ความรู้ในการดำเนินงานและธุรกิจที่เพียงพอ และไม่มีความพยายาม ในการศึกษาหาความรู้ - คัดเลือกกรรมการที่มีความพร้อมในการเข้ารับการอบรมรับความรู้ในการบริหารงานและการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกับกรรมการที่มีความพร้อมแสวงหาสมาชิกที่มีความสามารถ เพื่อดึงตัว ให้เข้ามามี ส่วนร่วมกับสหกรณ์และวางตัวเพื่อเป็นกรรมการสหกรณ์ในชุดต่อไป 4. สหกรณ์ภาคการเกษตรไม่มีสมาชิกอยากเป็นคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์/ขาดทายาทสืบทอดงานสหกรณ์ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกับกรรมการที่มีความพร้อม/คณะกรรมการชุดปัจจุบันแสวงหาสมาชิกที่มี ความสามารถ เพื่อดึงตัวให้เข้ามามีส่วนร่วมกับสหกรณ์ให้มากขึ้นและวางตัวเพื่อเป็นกรรมการสหกรณ์ในชุดต่อไป - แสวงหาคนรุ่นใหม่ให้เข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของสหกรณ์ และ ให้มีบทบาทในการเป็นผู้นำ เป็นผู้ช่วย ขับเคลื่อนกิจกรรมของสหกรณ์ 5. คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ชุดใหม่ ไม่อยากเข้ามารับผิดชอบ/รับภาระการค้ำประกันเงินกู้เพิ่มเติมจาก คณะกรรมการสหกรณ์ชุดเก่า - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ยังไม่สามารถแก้ปัญหาในเรื่องนี้ได้กับสหกรณ์ทุกแห่งเพราะเป็นเรื่อง ของกฎหมายการกู้ยืมเงินและการค้ำประกันเงินกู้แต่บางแห่งได้มีการทำความเข้าใจและกรรมการใหม่ยอมรับได้


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 19 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร - การกู้ยืมเงินของสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ได้แนะนำให้มีการกู้ยืมและชำระให้เสร็จสิ้นก่อน ที่จะมีการเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์ชุดใหม่ 6. สหกรณ์มีผลการดำเนินงานขาดทุนสะสม หรือ มูลค่าหุ้นน้อยกว่าศูนย์และสมาชิกต้องการลาออกแล้ว รับหุ้นคืน แต่สหกรณ์จ่ายคืนค่าหุ้นให้ไม่ได้ สมาชิกไม่ได้รับหุ้นคืนก็มีการร้องเรียนไปยังช่องทางต่างๆ เช่น กรมส่งเสริมสหกรณ์ ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด สำนักงานสหกรณ์จังหวัดฯ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ฯ เป็นต้น - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ชัดเจนแก่คณะกรรมการดำเนินการ ฝ่ายจัดการ ในการปฏิบัติตามข้อบังคับสหกรณ์ เกี่ยวกับการจ่ายคืนค่าหุ้นกรณีมีส่วนขาดแห่งทุน และให้มีการประกาศมูลค่าหุ้นเป็น ประจำทุกปี - ร่วมเจราจาพูดคุยและหาทางออกกับสมาชิกผู้ร้องเรียน 7. สมาชิกยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตัวเองในฐานะเจ้าของสหกรณ์ ที่ต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบใน ส่วนขาดแห่งทุนของสหกรณ์ด้วย - ให้สหกรณ์ตั้งทีมงาน/มอบหมายเจ้าหน้าที่ในการทำความเข้าใจกับสมาชิก กรณีที่สมาชิกได้มาติดต่อสอบถาม เกี่ยวกับการถอนหุ้นคืน หรือ การขอเอาหุ้นหักกลบลบหนี้ก่อนลาออกจากการเป็นสมาชิก - ในการประชมใหญ่สามัญประจำปี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ผู้สอบบัญชีร่วมกับ คณะกรรมการสหกรณ์ ฝ่าย จัดการ ในการอธิบายและทำความเข้าใจแก่สมาชิก 8. สมาชิกไม่ได้รับประโยชน์จากสหกรณ์ จึงไม่เข้ามามีส่วนร่วมกับสหกรณ์ - ผลักดันให้สหกรณ์จัดทำโครงการที่เป็นประโยชน์แก่สมาชิกตามศักยภาพ เพื่อเป็นการปรับความคิด/ทัศนคติ ในทางลบของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์ 9. สหกรณ์บางแห่งยังมีเงินทุนไม่เพียงพอ / เจ้าหนี้เงินกู้ระงับเงินกู้ และ ฟ้องร้องดำเนินคดีกับคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ - ผลักดันให้สหกรณ์แปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน - กำกับ และติดตามให้สหกรณ์ปฏิบัติตามหนังสือสัญญาประนีประนอมหนี้อย่างเคร่งครัด เพื่อวันหนึ่งจะสามารถ ปลดล็อกจากเจ้าหนี้ได้ 10. กฎหมายไม่เอื้อต่อการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ - สะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่จากการบังคับใช้กฎหมายต่อผู้มีอำนาจพิจารณา


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 20 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.1 การตรวจการสหกรณ์ 2.1.1 ตรวจการโดยทีมตรวจการสหกรณ์ตามแผนการกำกับ คุ้มครอง ดูแล ระบบสหกรณ์ วัตถุประสงค์ เพื่อให้การกำกับดูแลสหกรณ์ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เกิดประสิทธิภาพ และสหกรณ์ดำเนินงานด้วยความโปร่งใส่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนป้องกันปัญหาการเกิดข้อบกพร่องอันเกิดจาก การดำเนินงานหรือการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ซึ่งมีความซับซ้อนมากขึ้น หรือหากเกิดข้อบกพร่องก็สามารถแก้ไข หรือ ระงับยังยั้งได้อย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ จำเป็นต้องมีการตรวจสอบสหกรณ์ให้ครอบคลุมทั้งระบบ จึงสมควรให้มีคณะ ผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัด เพื่อดำเนินการในเรื่องดังกล่าว เป้าหมาย 1.เข้าตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบสหกรณ์ โดยตรวจครบทุกประเด็นในสหกรณ์เป้าหมายที่ไม่ซ้ำกับปี 2565 จำนวน 11 แห่ง พร้อมจัดส่งรายงานการตรวจการสหกรณ์ 2. ตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ (ตามความจำเป็น/ความเห็น/การสั่งการของนายทะเบียน สหกรณ์) จำนวน 6 แห่ง ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) เพื่อให้การกำกับดูแลสหกรณ์ เพื่ออยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เกิดประสิทธิภาพ และสหกรณ์ดำเนินงานด้วยความโปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนป้องกันปัญหาการเกิดข้อบกพร่อง อันเกิดจากการดำเนินงานหรือการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ซึ่งมีความซับซ้อนมากขึ้น หรือหากเกิดข้อบกพร่องก็ สามารถแก้ไข หรือระงับยับยั้งได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ จำเป็นต้องการตรวจสอบสหกรณ์ให้ครอบคลุมทั้งระบบ 1. ประชุม วางแผน และกำหนดเป้าหมายสหกรณ์ที่จะเข้าตรวจการ 2. จัดทำคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์พร้อมมอบหมายงานประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 3 ชุด เพื่อร่วมกันตรวจสอบสหกรณ์แต่ละแห่งประกอบด้วย คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ชุดที่ 1 ประกอบด้วย 1. นายพัทยา ธรรมสอน ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวเสาวลักษณ์ สุวรรณ์ รองประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางภัทรามาศ สุนทรพานิชกิจ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นางพิมพ์พิศา คำคง ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางสาวกนกวรรณ วนาศิริ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 6. นางสาวเกศรินทร์ ศรีวิชัย ผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. งานกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 21 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 7. นางสาวศิวพร นวลจันทร์ เลขาคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ชุดที่ 2 ประกอบด้วย 1. นายพีรพร พวงบุตร ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวอริศรา ฝ่ายรีย์ รองประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางภัทรามาศ สุนทรพานิชกิจ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นายรภัทร กันทาสุข ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางสาวเกศรินทร์ ศรีวิชัย ผู้ตรวจการสหกรณ์ 6. นางสาวเสาวลักษณ์ จิริกิตติ์สิริกุล เลขาคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ชุดที่ 3 ประกอบด้วย 1. นายเอกบดี จันภักษานนท์ ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นายบรมัตถ์ ทิพกนก รองประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางภัทรามาศ สุนทรพานิชกิจ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นายวรากร เลิศปรีชา ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นายภูวนาท คำปัน ผู้ตรวจการสหกรณ์ 6. นางสาวเกศรินทร์ ศรีวิชัย ผู้ตรวจการสหกรณ์ 7. นางอรจิรา บงกชกุสุมาลย์ เลขาคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ให้คณะผู้ตรวจสหกรณ์ฯ ปฏิบัติหน้าที่ดังนี้ 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานในการเข้าตรวจสอบกิจกานและฐานะการเงิน (Action Plan) ของสหกรณ์จำนวนเป้าหมายตามที่ แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กำหนด 2. ตรวจสอบสหกรณ์ตามแผนที่กำหนดในข้อ 1 ให้ครบทุกประเด็น ตามที่ระบุแนวทางการตรวจการสหกรณ์และคำสั่งนาย ทะเบียนสหกรณ์ 3. จัดทำรายงานสรุป วิเคราะห์ผลการตรวจสอบ เสนอให้นายทะเบียนสหกรณ์ทราบหรือพิจารณาสั่งการตามอำนาจหน้าที่ 4. ปฏิบัติงานอื่นตามที่นายทะเบียนสหกรณ์มอบหมาย 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.เข้าตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบสหกรณ์ โดยตรวจครบทุกประเด็นในสหกรณ์เป้าหมายที่ไม่ซ้ำกับปี 2565 ครบ จำนวน 11 แห่ง พร้อมจัดส่งรายงานการตรวจการสหกรณ์ 2. ตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ (ตามความจำเป็น/ความเห็น/การสั่งการของนายทะเบียน สหกรณ์) ครบ จำนวน 6 แห่ง


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 22 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงอมพาย จำกัด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ได้รับการตรวจสอบครบทุกประเด็นและได้รับคำแนะนำในการป้องกันและแก้ไขตามประเด็นที่ตรวจพบ 2. สหกรณ์ได้รับการติดตามแก้ไขข้อบกพร่องที่ตรวจพบและมีความก้าวหน้าในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ตามคำสั่งที่แต่งตั้งทีมตรวจสอบสหกรณ์ เนื่องด้วยได้คัดเลือกบุคลากรจากกลุ่มงานในจังหวัดและกลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ในแต่ละพื้นที่ ทำให้ผู้ตรวจการที่ได้รับการแต่งตั้งเข้าตรวจการในแต่ละครั้งไม่สามารถเข้าตรวจสอบได้พร้อมเพรียง กัน ซึ่งเกิดจากที่ต่างคนต่างมีภารกิจหน้าที่ที่ต้องดำเนินการเร่งด่วนตามแผนงานที่ได้รับมอบหมายในความรับผิดชอบในห้วง เวลาเดียวกัน 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่สะเรียง จำกัด .


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 23 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำกัด ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมัคคุเทศก์แม่ฮ่องสอนและเพื่อน จำกัด 2.2 การติดตามประเมินความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร • เป้าหมาย สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องทั้งหมด จำนวน 6 แห่ง 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน 2. สหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน 4. สหกรณ์เดินรถแม่ฮ่องสอน 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมัคคุเทศก์แม่ฮ่องสอนและเพื่อน 6. สหกรณ์การเกษตร ศชพ.ละอูบพัฒนา จำกัด


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 24 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร • ผลการดำเนินงาน ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (30 กย 66) สำงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีสหกรณ์ที่มี ข้อบกพร่องทั้งหมด จำนวน 6 แห่ง แก้ไขแล้วเสร็จแต่ต้องติดตามอยู่ 5 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน 2. สหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง 3. สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน 4. สหกรณ์เดินรถแม่ฮ่องสอน 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมัคคุเทศก์แม่ฮ่องสอนและเพื่อน สหกรณ์ทั้ง 5 แห่งนี้ อยู่ระหว่างสหกรณ์รับชำระเงินคืน และสหกรณ์การเกษตร ศชพ.ละอูบพัฒนา อยู่ระหว่าง คณะกรรมการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง (ภายหลัง วันที่ 18 ตค 66 กสส.2 รายงานการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ ดังกล่าว ปัจจุบันสหกรณ์แห่งนี้แก้ไขแล้วเสร็จ) • ปัญหาและอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ -สหกรณ์ไม่ได้รับชำระเงินคืนตามกำหนด ได้แนะนำให้สหกรณ์มีการนำวาระการติดตามแก้ไขข้อบกพร่อง และข้อสังเกตเข้าที่ประชุมประจำเดือนของสหกรณ์เพื่อให้คณะกรรมการได้ติดตามและรับทราบผลการแก้ไขปัญหา พร้อมเข้าเจรจาสอบถามถึงสาเหตุเพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน ภาพกิจกรรม การติดตามประเมินความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 25 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.3 การจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) • โครงการประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานสหกรณ ์ และกลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่องประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อประมวลตรวจสอบข้อบกพร่อง/ข้อร้องเรียนและปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ ในความรับผิดชอบของจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2. เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง/ข้อร้องเรียนและปัญหาในการดำเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. เพื่อติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่อง/ข้อร้องเรียนและปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใน จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป้าหมาย คณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีปัญหาในการดำเนินงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครั้งละ 15 ราย ผลการดำเนินงาน ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อกำหนดแนวทาง ขั้นตอนและวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ร่วมกัน 4 ครั้ง เป้าหมายคณะทำงานฯ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งละ 15 ราย การจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีขั้นตอนและ วิธีการ ดังนี้ 1. กลุ่มตรวจการสหกรณ์ เขียนโครงการประชุมคณะทำงานฯ เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ 2.แจ้งกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งประกอบด้วย คณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีปัญหาในการดำเนินงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เข้าร่วมประชุม 3. ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อประมวล ตรวจสอบ กำหนดแนวทางในการดำเนินการแก้ไขและติดตามผลการ แก้ไขปัญหาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิดชอบของจังหวัดแม่ฮ่องสอน 4. สรุปผลการประชุมคณะทำงานฯและรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 4 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมฯ คิดเป็นร้อยละ 100 ของเป้าหมาย


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 26 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้ตรวจการสหกรณ์ทุกคนในจังหวัด เจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ทุกคน ที่เข้าร่วม ประชุมฯได้รับรู้ และเข้าใจถึงแนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ผู้ตรวจการสหกรณ์ทุกคนในจังหวัด เจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคนที่เข้าร่วม ประชุมฯ ได้แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและนำองค์ความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำไปประยุกต์ใช้ในแก้ไขปัญหาสหกรณ์/กลุ่มเกษตร ที่อาจตรวจพบข้อบกพร่องใหม่ต่อไป 3. ผู้ตรวจการสหกรณ์ทุกคนในจังหวัด เจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคนที่เข้าร่วม ประชุมฯ ได้แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและนำองค์ความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำไปประยุกต์ใช้ในแก้ไขปัญหาสหกรณ์/กลุ่มเกษตร ที่อาจตรวจพบข้อบกพร่องใหม่ต่อไป ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข (ไม่มี) ภาพกิจกรรม โครงการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด เพื่อแก้ปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 27 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.4 การชำระบัญชีสหกรณ์ เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เลขทะเบียนที่ มส 9/2518 จดทะเบียนเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2542 สำนักงานตั้งเลขที่ 240 หมู่ 1 ตำบลแม่ลาหลวง อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนสมาชิก ณ วันเลิกกลุ่มฯ 40 คน ผลของการดำเนินการ กำหนดเวลาในการชำระบัญชีแล้วเสร็จในเดือน มีนาคม 2567 และได้ติดต่อประสานงานกับผู้สอบบัญชี สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์แม่ฮ่องสอน 1.แต่งตั้งเป็นผู้ชำระบัญชีนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้แต่งตั้งผู้ชำระบัญชี ตามประกาศนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน เรื่องแจ้งชื่อผู้ชำระบัญชีกลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง ณ วันที่ ๕ กันยายน 2565 2. จดทะเบียนผู้ชำระบัญชีนายทะเบียนสหกรณ์ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้จดทะเบียนผู้ชำระบัญชีตาม ประกาศนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน เรื่องแจ้งชื่อผู้ชำระบัญชีกลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง ณ วันที่ ๕ กันยายน 2565 และผู้ชำระบัญชีได้รับทราบการจดทะเบียนผู้ชำระบัญชีของนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อวันที่ 5 กันยายน 25๖5 3. ประกาศโฆษณาหนังสือพิมพ์รายวันหรือโดยวิธีอื่น ได้ปิดประกาศ ณ ที่ทำการกลุ่มเกษตรกรทำนา แม่ลาหลวง ที่ว่าการอำเภอแม่ลาน้อย และองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาหลวง เพื่อแจ้ง ให้ทราบว่ากลุ่มเกษตรกรทำนา แม่ลาหลวงนั้นเลิกแล้ว ให้เจ้าหนี้ยื่นคำทวงหนี้ได้ที่ผู้ชำระบัญชี 4. การจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน ได้จัดทำงบแสดงฐานะการเงินและงบกำไรขาดทุนของกลุ่มเกษตรกร ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2565สำหรับงวดตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 17 มิถุนายน 2565 ได้รับการตรวจสอบและรับรอง จาก ผู้สอบบัญชีกลุ่มเกษตรกร วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 5. การเรียกหนี้สินคืน ดังนี้ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี จำนวน 23,042.00 บาท (สองหมื่นสามพันสี่สิบสอง บาทถ้วน) ได้ดำเนินการติดตาม โดย นายประเทือง นายวิน ขอรับสภาพการเป็นหนี้ พร้อมลงลายมือชื่อ ต่อหน้าพยาน ณ วันที่ 23 มีนาคม 2566 ลูกหนี้การค้า จำนวน 12,555.00 บาท (หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยห้าสิบห้าบาทถ้วน) ได้ดำเนินการติดตาม โดย นายประเทือง นายวิน ขอรับสภาพการเป็นหนี้ พร้อมลงลายมือชื่อ ต่อหน้าพยาน ณ วันที่ 23 มีนาคม 2566 6. การชำระหนี้ ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2565 กลุ่มเกษตรทำนาแม่ลาหลวง มีหนี้สินทั้งสิ้น จำนวน 46,296.00 บาท (สี่หมื่นหกพันสองร้อยเก้าสิบหกบาทถ้วน) ซึ่งยังไม่มีการจ่ายชำระหนี้สินแต่อย่างใด ประกอบด้วย - เจ้าหนี้การค้า จำนวน 33,479.00 บาท -ค่าปรับเจ้าหนี้การค้าค้างจ่าย จำนวน 10,487.00 บาท - เงินรอจ่ายคืน จำนวน 2,330.00 บาท รวม 46,296.00 บาท


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 28 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร เจ้าหนี้การค้า จำนวน 33,479.00 บาท (สามหมื่นสามพันสี่ร้อยเจ็ดสิบเก้าบาทถ้วน) ของสหกรณ์การเกษตร แม่ลาน้อย จำกัด ได้ดำเนินการ โดย นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ 42 ครั้งที่ 9/65 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2566 วาระที่ 5.10 เรื่องพิจารณาอนุมัติชำระเงินต้น กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง โดยมีมติเป็นเอกฉันท์ให้สหกรณ์ประสานให้กลุ่ม เกษตรกรทำนาแม่ลาหลวงมาชำระเงินต้น ค่าปรับเจ้าหนี้การค้าค้างจ่าย จำนวน 10,487.00 บาท (หนึ่งหมื่นสี่ร้อยแปดสิบเจ็ดบาทถ้วน) ของสหกรณ์ การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด ได้ดำเนินการ โดย นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ 42 ครั้งที่ 9/65 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2566 วาระที่ 5.10 เรื่องพิจารณาอนุมัติชำระเงินต้น กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง โดยมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ สหกรณ์ประสานให้กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวงมาชำระเงินต้น ส่วนค่าปรับนั้นให้สหกรณ์ทำเป็นส่วนลด เงินรอจ่ายคืน ให้ นายมานิต จิระมิตร จำนวน 980.00 บาท (เก้าร้อยแปดสิบบาทถ้วน) และ นายนิมิตร ศิลมัย จำนวน 1,350.00 บาท (หนึ่งพันสามร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ได้ดำเนินการติดตาม โดยทั้งสองท่านไม่ประสงค์รับเงินรอจ่ายคืน พร้อม ลงลายมือชื่อ ต่อหน้าพยาน ณ วันที่ 23 มีนาคม 2566 7. การจัดการทรัพย์สิน วันที่ 24 มีนาคม 2566 ได้ไปดำเนินการปิดเล่มบัญชีเงินฝากธนาคารของกลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง จำนวน 2 เล่ม และได้เปิดบัญชีเงินฝากธนาคารใหม่ ชื่อบัญชี นายพัทยา ธรรมสอน ชำระบัญชี กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง เลขบัญชี 020219963537 กับ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขา แม่ลาน้อย มีเงินฝากจำนวน 3,155.11 บาท (สามพันหนึ่งร้อย ห้าสิบห้าบาทสิบเอ็ดสตางค์) จากการประชุมใหญ่สามัญครั้งที่ 2/2566 วันที่ 23 มีนาคม 2566 งบแสดงฐานะการเงินของสหกรณ์ ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2565 มีรายการสินทรัพย์ ที่ถูกตั้งเป็นค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้วดังนี้ 1.ค่าเผื่อเงินสดขาดบัญชี 32,005.00 บาท 2.ค่าเผื่อลูกหนี้ระยะสั้น - เงินกู้ 30,000.00 บาท - ลูกหนี้การค้า 78,537.00 บาท - ลูกหนี้การค้าปฏิเสธหนี้ 79,908.00 บาท - เงินสดขาดบัญชี 23,042.00 บาท รวม 211,487.00 บาท 3. ค่าเผื่อดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ 9,783.00 บาท


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 29 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร จากการติดตาม สอบทานหนี้ จนถึงที่สุดแล้ว สมาชิกปฏิเสธการเป็นหนี้ บางรายเสียชีวิตแล้ว เอกสารประกอบไม่มี เป็นหนี้ที่ค้างมานาน จากการติดตามมีสมาชิกที่รับการเป็นหนี้และยินยอมชำระเงิน คือ นายประเทือง นายวิน โดยยินยอมชำระเงิน คือ ลูกหนี้การค้า จำนวน 12,555.00 บาท เงินสดขาดบัญชี จำนวน 23,042.00 บาท รวมเป็น เงิน 35,597.00 บาท โดยขอชำระทั้งหมดภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2566 ส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่เหลือได้ติดตามจนถึง ที่สุดแล้ว ไม่สามารถรับชำระได้ให้ตัดหนี้สงสัยจะสูญทั้งหมด เมื่อได้รับการชำระหนี้ จากนายประเทือง นายวิน จำนวน 35,597.00 บาท (สามหมื่นห้าพันห้าร้อยเก้าสิบ เจ็ดบาทถ้วน) จะนำเงินไปชำระเจ้าหนี้การค้า จำนวน 33,479.00 บาท (สามหมื่นสามพันสี่ร้อยเจ็ดสิบเก้าบาทถ้วน) ของสหกรณ์ การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด ปัญหา/อุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหา การติดตามการชำระหนี้จากนายประเทือง นายวิน จำนวน 35,597.00 บาท (สามหมื่นห้าพันห้าร้อยเก้า สิบเจ็ดบาทถ้วน) ให้ได้ครบตามจำนวน โดยได้กำหนดงวดการชำระคืนและเข้าติดต่อประสานการรับชำระคืนอย่างต่อเนื่อง ตามกำหนดระยะเวลา


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 30 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. งานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ • เป้าหมาย สหกรณ์ 41 แห่ง สมาชิก 31,201 ราย และกลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 430 ราย • ผลการดำเนินงาน สหกรณ์ภาคการเกษตร จำนวน (แห่ง) สหกรณ์นอกภาค การเกษตร จำนวน (แห่ง) กลุ่ม เกษตรกร จำนวน (แห่ง) ดีเลิศ 8 ดีเลิศ 9 ผ่าน 2 ดีมาก 5 ดีมาก 2 ไม่ผ่าน 2 ไม่ผ่าน 14 ไม่ผ่าน 2 ไม่นำมาจัดมาตรฐาน 1 ไม่นำมาจัดมาตรฐาน ไม่นำมาจัดมาตรฐาน 1 รวม 28 รวม 13 รวม 5 ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วันสิ้นปี ทางบัญชี มาตรฐาน (ปี 2566) ระดับชั้น (ปี 2566) 1. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแม่ฮ่องสอน จำกัด 30 ก.ย. ไม่ผ่าน 2 2. สหกรณ์การเกษตร คทช.แม่ปายฝั่งซ้าย จำกัด 30 มิ.ย. ดีมาก 3 3. สหกรณ์การเกษตร ศชพ. บ้านห้วยตอง จำกัด 31 มี.ค. ดีเลิศ 2 4. สหกรณ์การเกษตร ศชพ.คริสตจักรเมืองน้อย จำกัด 31 ธ.ค. ดีมาก 2 5. สหกรณ์การเกษตร ศชพ.ละอูบพัฒนา จำกัด 31 ธ.ค. ดีเลิศ 2 6. สหกรณ์การเกษตรขุนยวม จำกัด 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 7. สหกรณ์การเกษตรตำบลห้วยผา จำกัด 30 ก.ย. ไม่ผ่าน 3 8. สหกรณ์การเกษตรบ้านทุ่งกองมู จำกัด 30 มิ.ย. ไม่ผ่าน 3 9. สหกรณ์การเกษตรบ้านม้งขุนสาใน จำกัด 31 ธ.ค. ดีมาก 2 10. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินเมืองแม่ฮ่องสอน จำกัด 31 ก.ค. ดีมาก 3 11. สหกรณ์การเกษตรพัฒนาปางมะผ้า จำกัด 31 ธ.ค. - 3 12. สหกรณ์การเกษตรสบเมย จำกัด 30 มิ.ย. ไม่ผ่าน 3 13. สหกรณ์การเกษตรหมุนเวียนแม่สะเรียง จำกัด 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 14. สหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านป่าไม้โป่งสา จำกัด 30 มิ.ย. ดีมาก 2 15. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. แม่ฮ่องสอน จำกัด 31 มี.ค. ไม่ผ่าน 3 16. สหกรณ์การเกษตรเมืองปาย จำกัด 30 มิ.ย. ไม่ผ่าน 3 17. สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน จำกัด 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 18. สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด 31 มี.ค. ไม่ผ่าน 3 19. สหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 20. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงบ้านดง จำกัด 30 เม.ย. ไม่ผ่าน 2


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 31 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร • ปัญหาและอุปสรรค (ไม่มี) ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วันสิ้นปี ทางบัญชี มาตรฐาน (ปี 2566) ระดับชั้น (ปี 2566) 21. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงบ้านอมพาย จำกัด 30 ก.ย. ดีเลิศ 1 22. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่ลาน้อย จำกัด 30 มิ.ย. ดีเลิศ 2 23. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่สะเรียง จำกัด 31 ธ.ค. ดีเลิศ 1 24. สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด 31 ต.ค. ไม่ผ่าน 2 25. สหกรณ์ยางพาราสามหมอก จำกัด 30 มิ.ย. ดีเลิศ 2 26. สหกรณ์โครงการธนาคารอาหารชุมชนบ้านนาป่าแปก จำกัด 31 ธ.ค. ดีเลิศ 1 27. สหกรณ์โครงการธนาคารอาหารชุมชนบ้านแม่ปาง จำกัด 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 28. สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่สามแลบ จำกัด 31 มี.ค. ดีเลิศ - 29. สหกรณ์บริการมวลชนแม่ฮ่องสอน จำกัด 31 ต.ค. ไม่ผ่าน 3 30. สหกรณ์เดินรถแม่ฮ่องสอน จำกัด 31 ธ.ค. ดีมาก 3 31. สหกรณ์ไฟฟ้าพลังน้ำห้วยลาง จำกัด 31 ธ.ค. ดีมาก 2 32. ร้านสหกรณ์โรงเรียนชุมชนบ้านผาบ่อง จำกัด 31 มี.ค. ดีเลิศ 2 33. ร้านสหกรณ์โรงเรียนร่มเกล้าปางตองในโครงการตามพระราชดำริ จำกัด 31 ธ.ค. ดีเลิศ 1 34. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน จำกัด 30 พ.ย. ดีเลิศ 3 35. สหกรณ์ออมทรัพย์ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านแม่สะเรียง จำกัด 30 ก.ย. ดีเลิศ 1 36. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำกัด 30 ก.ย. ดีเลิศ 1 37. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำกัด 30 พ.ย. ดีเลิศ 1 38. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จำกัด 30 ก.ย. ดีเลิศ 1 39. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทุ่งแพม จำกัด 31 ธ.ค. ดีเลิศ 1 40. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนมัคคุเทศก์แม่ฮ่องสอนและเพื่อน จำกัด 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 41. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแม่สะเรียง จำกัด 31 ธ.ค. ดีเลิศ 1 1. กลุ่มเกษตรกรทำนาปางหมู 30 มิ.ย. ผ่าน 1 2. กลุ่มเกษตรกรทำนาดอยเวียง 30 มิ.ย. ไม่ผ่าน 3 3. กลุ่มเกษตรกรชาวนาเมืองปอน 30 มิ.ย. ผ่าน 3 4. กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาน้อย 31 ธ.ค. ไม่ผ่าน 3 5. กลุ่มเกษตรกรทำนาแม่ลาหลวง ชำระบัญชี


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 32 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 33 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4 งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่นแห่งชาติ วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณ และผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นสู่สาธารณชน เป็นตัวอย่างแก่ สหกรณ์อื่นๆ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการดำเนินงานของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ส่งเสริมและสนับสนุนให้ สหกรณ์ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ สหกรณ์ภาคการเกษตร (1) สหกรณ์โครงการธนาคารอาหารชุมชนบ้านนาป่าแปก จำกัด (2) สหกรณ์การเกษตร ศชพ. บ้านห้วยตอง จำกัด (3) สหกรณ์การเกษตรบ้านม้งขุนสาใน จำกัด (4) สหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านป่าไม้โป่งสา จำกัด สหกรณ์นอกภาคเกษตร (1) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จำกัด (2) สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำกัด (3) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแม่สะเรียง จำกัด กลุ่มเกษตรกร (1) กลุ่มเกษตรกรทำนาปางหมู (2) กลุ่มเกษตรกรทำนาดอยเวียง ผลการดำเนินการกิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงานที่หน่วยงานได้ดำเนินการ 1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินการกำหนดเป้าหมายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ซึ่งมีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ทางระบบ e-project เมื่อเดือนเมษายน 2566 ประกอบด้วย สหกรณ์ภาคการเกษตร (1) สหกรณ์โครงการธนาคารอาหารชุมชนบ้านนาป่าแปก จำกัด (2) สหกรณ์การเกษตร ศชพ. บ้านห้วยตอง จำกัด (5) สหกรณ์การเกษตรบ้านม้งขุนสาใน จำกัด (6) สหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านป่าไม้โป่งสา จำกัด สหกรณ์นอกภาคเกษตร (1) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จำกัด (2) สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำกัด (3) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแม่สะเรียง จำกัด


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 34 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร (1) กลุ่มเกษตรกรทำนาปางหมู (2) กลุ่มเกษตรกรทำนาดอยเวียง 2. ส่งสรุปผลรายชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการคัดเลือกระดับจังหวัด ทางระบบ e-project พร้อมทั้งส่ง เอกสารหลักฐาน (แบบ 1-6) และ (แบบ 2/2) ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2566 โดยสหกรณ์ที่ได้รับคัดเลือก สหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัดคือ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จำกัด 3. จัดทำรูปเล่ม เอกสารประกอบ เพื่อให้คณะอนุกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับภาค ระหว่างเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2566 ผลสำเร็จจากการดำเนินงาน/โครงการและผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน สามารถนำเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ไป ปรับใช้ในการแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการดำเนินงานของสหกรณ์ให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น ส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ แหล่งงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ : ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 8,640 8,640 100 ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ (ไม่มี) ภาพกิจกรรม การประชุมคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ประจำปี พ.ศ. 2566/2567 จังหวัดแม่ฮ่องสอน


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 35 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 1. โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน โครงการอบรมต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจ ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ฝ่ายจัดการ/กรรมการสหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด จำนวน 5 ราย ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจ พัฒนาองค์กร จำนวน 1 แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินเฉลี่ยคืนใน ธุรกิจเกษตร (รวบรวมและแปรรูป) มูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ การบริหารจัดการองค์กร เพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งองค์กรสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.สหกรณ์ให้ผลตอบแทนให้แก่สมาชิกต่อราย ในรูปเงินเฉลี่ยคืน (Patronage refund) เพิ่มขึ้น 3. กรมส่งเสริมสหกรณ์มีชุดข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อใช้ในการส่งเสริมสหกรณ์ งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เนื่องจากปี2566 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีผลการดำเนินกิจการขาดทุน ส่งผลให้ไม่สามารถให้ ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินเฉลี่ยคืนในธุรกิจเกษตร (รวบรวมและแปรรูป) มูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ3 ได้ ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ การบริหาร จัดการองค์กร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งองค์กรสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขปัญหา (ไม่มี) ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,300 9,300 100


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 36 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพกิจกรรม 2. โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1 เพื่อเข้าแนะนำส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพตามแผนการส่งเสริมพัฒนา สหกรณ์ 2. เพื่อให้สหกรณ์ขับเคลื่อนด้านการตลาดรวมทั้งแผนงานประจำปี และแผนธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่ ดังนี้ - แปลงใหญ่ถั่วเหลืองสหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด จำนวน 10 ราย - แปลงใหญ่กระเทียมสหกรณ์การเกษตรเมืองปาย จำกัด จำนวน 10 ราย ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ เข้าติดตามการดำเนินกิจกรรม จำนวน ๒ ครั้งๆ ละ ๑ วัน 16-17 มกราคม 2566 ครั้งที่ 1 ณ สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด วันที่ 16 มกราคม 2566 ครั้งที่ 2 ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองปาย จำกัด วันที่ 17 มกราคม 2566 ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. แปลงใหญ่สหกรณ์มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน 2. มีการเชื่อมโยงตลาดสินค้าแปลงใหญ่ที่มีตลาดรองรับที่แน่นอน งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 2,200 2,200 100


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 37 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม 1. ศึกษาวิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. สื่อสารทำความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ 1. ศึกษาวิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. สื่อสารทำความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขหรือข้อเสนอแนะของการดำเนินโครงการ ครั้งที่1 ณ สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด วันที่ 16 มกราคม 2566 ที่ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข 1 2 3 4 5 6 7 ราคาปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่มีราคาสูงขึ้น เกษตรกรมีเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการปลูก การปรับพื้นดินสำหรับเตรียมเพราะปลูกต้องใช้เวลาและแรงงาน เป็นจำนวนมาก ผลผลิตถั่วเหลืองที่เริ่มงอก ในช่วง 10 -15 วัน จะมีนกบินเข้ามากินต้นอ่อนทำให้ผลผลิตเสียหาย ผลผลิตเจอโรคพืช ทำให้ผลผลิตฝ่อและลีบ เกษตรกรไม่นำผลผลิตมาจำหน่ายให้เกษตรกร เนื่องจากมีพ่อค้า คนกลางไปรับซื้อหน้าสวน และชำระเงินเป็นเงินสดให้เกษตรกรโดยทันที พ่อค้าในพื้นที่มีอิทธิพลกับเกษตรกรในพื้นที่ เนื่องมาจาก ความสัมพันธ์ทางเครือญาติ หรือทางธุรกิจ ทำให้เกษตรกรเกิดความเกรงใจ - แนะนำให้มีการนำปุ๋ยอินทรีย์มาผสมกับปุ๋ยเคมีเพื่อลด ต้นทุนในการผลิต - ประสานหน่วยงานเครือข่ายให้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ให้กับ เกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลือง - แนะนำให้เกษตรกรใช้เครื่องจักรในการเตรียมดินเพื่อลด เวลาและจำนวนคนในการเพาะปลูก - แนะนำเกษตรกรเข้าในพื้นที่บ่อยๆ และทำหุ่นไล่กาไว้ใน พื้นที่เพาะปลูก - ประสานกรมวิชาการเกษตรเข้ามาให้ความรู้ และให้ คำแนะนำเกษตรกรเกี่ยวกับโรคพืช - นำรถของสหกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุน เข้าไปช่วยขนส่ง ผลผลิตทางการเกษตร เพื่อลดต้นทุนการขนส่งและเป็น แรงจูงใจให้เกษตรกรนำผลผลิตเข้ามาขายให้กับสหกรณ์ ภาพกิจกรรม ครั้งที่ 1


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 38 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ครั้งที่ 2 ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองปาย จำกัด วันที่ 17 มกราคม 2566 ภาพกิจกรรม ครั้งที่2 ที่ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข 1 2 3 4 5 6 7 เกษตรกรต้องซื้อกระเทียมพันธุ์มาปลูก เนื่องจากเก็บ กระเทียมพันธุ์ไว้ปลูกเองแล้วได้ผลผลิตที่ไม่ดี ราคาปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี และค่าจ้างแรงงานที่แพงมากขึ้น เกษตรกรต่างจำหน่ายผลผลิตด้วยตนเอง ไม่มีการนำมา รวมกันแล้วจำหน่าย สหกรณ์ไม่มีเงินทุนเพียงพอในการรับซื้อผลผลิตจาก เกษตรกร เกษตรกรต้องการให้รับซื้อผลผลิตทั้งหมด ไม่ใช่แค่ บางส่วน เกษตรกรมีความกังวลว่าถ้านำผลผลิตมาจำหน่ายให้ สหกรณ์แล้ว จะถูกหักเงินเข้าหุ้น/หักชำระหนี้ เกษตรกรจำหน่ายผลผลิตให้พ่อค้าในพื้นที่เพราะให้ราคา ที่ดีกว่า - ประสานหน่วยงานเครือข่ายให้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ให้กับเกษตรกร - แนะนำให้มีการนำปุ๋ยอินทรีย์มาผสมกับปุ๋ยเคมีเพื่อ ลดต้นทุนในการผลิต - แนะนำให้ใช้เครื่องจักรทางการเกษตรเข้ามาช่วยใน การเตรียมดินเพื่อลดค่าใช้จ่ายและประหยัดเวลามากขึ้น - สหกรณ์รับซื้อผลผลิตในราคาที่สูงกว่าท้องตลาด เพื่อจูงใจให้เกษตรกรนำผลผลิตเข้ามาขายให้กับสหกรณ์


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 39 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกษตรกรด้านการพัฒนากระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า 2. เพื่อสร้างเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 3. เพื่อสนับสนุนบรรจุภัณฑ์สินค้าของสถาบันเกษตรกรให้เป็นที่รู้จักและสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดเพิ่มมูลค่าและยกระดับราคาสินค้าไม่ให้ตกต่ำตามกลไกของสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด (แปรรูปกระเทียมแคปซูล) ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการแปรรูปผลผลิต จำนวน 1 แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการจำหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ สถาบันเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการทำการเกษตรแปรรูปเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย การตลาดระหว่าง เกษตรกรผู้ผลิตกับสถาบันเกษตรกร ในการนำผลผลิตมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าและการจัดหาช่องทางการจำหน่าย งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 8,800 8,800 100 สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ได้ติดตามขับเคลื่อนโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดกิจกรรมหลักและผลสัมฤทธิ์ของการดำเนิน โครงการ และในปีงบประมาณ 2566 มูลค่าการจำหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์แปรรูปของสหกรณ์เพิ่มขึ้นไม่ถึงร้อยละ10 เนื่องมาจาก สาเหตุสินค้าแปรรูปยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ขาดการโฆษณาอย่างต่อเนื่อง และผลกระทบของโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคมีสภาพคล่องลดลง ทำให้มีผลกระทบด้านยอดขายหรือรายได้จากการจำหน่ายสินค้าลดลง ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการและแนวทางการแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ (ไม่มี) ภาพผลิตภัณฑ์


รายงานประจำปีพ.ศ. 2566 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน 40 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อรักษาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อผลักดันและยกระดับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 2 ขึ้นสู่ ระดับชั้น 1 กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์สหกรณ์ เป้าหมาย จำนวน 4 แห่งๆละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 80 คน ตามรายชื่อสหกรณ์ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตร ศชพ.คริสตจักรเมืองน้อย จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงบ้านอมพาย จำกัด 3. สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงแม่สามแลบ จำกัด 4. กลุ่มเกษตรกรทำนาเมืองปอน ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. สมาชิกคณะกรรมการฝ่ายจัดการสหกรณ์เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของสหกรณ์ในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง จำนวน 15 ราย 2. สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมประชุมมีความรู้ จัดทำแผนและแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ให้ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์ มาตรฐานสหกรณ์ ร้อยละ 60 จากจำนวนสมาชิกสหกรณ์ทั้งหมดที่เข้าร่วมประชุม 3. สหกรณ์เป้าหมายมีการจัดทำแผนการพัฒนาให้ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 4. สหกรณ์มีแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและยกระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถนำความรู้ที่ได้ไป ใช้ประโยชน์แก่สหกรณ์ให้ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถจัดทำแผนการพัฒนาให้ปิดบัญชีได้และ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถจัดทำแผนยกระดับชั้น 2 สู่ชั้น 1 อย่างน้อย 1 แผน งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 47,200 47,200 100


Click to View FlipBook Version