The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Parrot0111, 2022-03-11 19:25:45

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

เสนอ
ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษบ์ รบิ ูรณ์

จัดทำโดย
นางสาวขวญั ฤดี ศรบี รุ นิ ทร์
รหสั นักศกึ ษา 646550191-4

เลขที่ 28 หอ้ ง5 รุ่น 7

หลักสูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิตวิชาชพี ครู



นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

เสนอ
ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษบ์ รบิ ูรณ์

จัดทำโดย
นางสาวขวญั ฤดี ศรบี รุ นิ ทร์
รหสั นักศกึ ษา 646550191-4

เลขที่ 28 หอ้ ง5 รุ่น 7

หลักสูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิตวิชาชพี ครู



คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดยมี
จุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาทำ
ความเขา้ ใจไปพร้อมๆกับการฝกึ ปฏิบตั ิ จนนำไปสู่การเกดิ การเรยี นร้อู ยา่ งแท้จริง

ผู้จัดทำ ถ้าจะทำรายงานขึ้น เพื่อให้รู้ เบื้องต้นเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและให้นกั ศึกษาไดล้ งมือ
ปฎิบตั ิ ร่วมอภปิ รายและแลกเปลี่ยนเรยี นร้ผู จู้ ัดทำขอขอบคุณอาจารย์ประจำวิชา ผใู้ หค้ วามรแู้ ละแนะแนวทาง
การศึกษา หวังว่ารายงานฉบับน้ี จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์ แก่ผู้อ่านทุกท่านหากมีข้อแนะนำหรือ
ข้อผดิ พลาดประการใดผจู้ ัดทำขอน้อมรบั ไว้และขออภยั มา ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย

ขวัญฤดี ศรีบุรนิ ทร์



สารบญั หนา้

บทที่ 1
1 นวตั กรรมทางการศึกษา
1.1 ประวตั ิความเป็นมาของนวัตกรรมทางการศกึ ษา 7
1.2 นวตั กรรมทางการศึกษา ความหมายแนวคดิ พื้นฐาน ประเภทลั กษณะ การ 18
พัฒนาระยะของนวตั กรรม
1.3 นวตั กรรมทางการศึกษาในยุคปัจจุบัน 24
2 ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 24
2.1 ความหมายของคำวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 25
2.2 บทบาทความสำคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย 26
2.3 ระบบสารสนเทศ 30
2.4 ระบบการสืบคน้ เครอื ขา่ ยเพอ่ื การเรยี นรู้
2.5 การสืบคน้ และรับส่งข้อมูล แฟม้ ขอ้ มลู และสารสนเทศเพ่ือใช้ในการจดั การ 31
เรยี นรู้ 33
2.6 วิวฒั นาการของสารสนเทศ 33
2.7 สาเหตุที่ทำใหเ้ กิดสารสนเทศ 34
2.8 ความหมายของคำว่าข้อมูล 36
2.9 ชนิดของข้อมูล 37
2.10 กรรมวิธีการจัดการขอ้ มลู 39
2.11 ความหมายของสารสนเทศ 40
2.12 หลักเกณฑก์ ารประเมินผลลัพธ์ หรือผลผลติ 42
2.13 คณุ ลักษณะของสารสนเทศท่ดี ี 42
2.14 คณุ ภาพของสารสนเทศ 43
2.15 ความสำคัญของสารสนเทศ 44
2.16 บทบาทของสารสนเทศ 47
2.17 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 48
2.18 เทคโนโลยี สอื่ สารโทรคมนาคม 49
2.19 ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 50
2.20 ปจั จัยที่ทำให้เกดิ ความลม้ เหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 51
2.21 ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ 54
2.22 เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การใชช้ ีวิตในสงั คมปจั จบุ ัน
2.23 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ

3 คอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เตอรเ์ น็ตกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 55
3.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การเรยี นรู้ 60
3.2 องค์ประกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้พิจารณาเชิงระบบ 77
3.3 หลกั การออกแบบนวตั กรรมและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้ 81
3.4 ตอนเรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้ เครือข่ายการเรยี นรู้ 85
3.5 การจัดการเรียนร้บู นเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต 127
129
ขอ้ สอบ
บรรณานุกรม

บทที่ 1

1.1ประวัตคิ วามเปน็ มาของนวัตกรรมทางการศึกษา

“นวตั กรรม” (Innovation) มรี ากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาตนิ แปลวา่ ทำสง่ิ ใหมข่ ้ึนมา
ความหมายของนวตั กรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำแนวความคิดใหมห่ รือการใช้ประโยชนจ์ ากสง่ิ ท่มี ีอยู่
แลว้ มาใช้ในรปู แบบใหม่ เพื่อทำใหเ้ กิดประโยชน์ทางเศรษฐกจิ หรือก็คอื ”การทำในสง่ิ ท่ีแตกตา่ งจากคนอืน่
โดยอาศยั การเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ (Change) ที่เกดิ ขนึ้ รอบตัวเราใหก้ ลายมาเปน็ โอกาส (Opportunity) และ
ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทำให้เกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม” แนวความคดิ น้ีไดถ้ ูกพฒั นาขึน้ มา
ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคดิ ของนกั เศรษฐอตุ สาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph
Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสรา้ งสรรค์ การ
วจิ ยั และพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนำไปสกู่ ารไดม้ าซง่ึ นวตั กรรมทางเทคโนโลยี
(Technological Innovation) เพือ่ ประโยชน์ในเชงิ พาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน
การเรยี นรแู้ ละนำไปปฎิบัติให้เกิดผลได้จรงิ อกี ดว้ ย (พนั ธอุ์ าจ ชัยรัตน์ , Xaap.com)

คำว่า “นวัตกรรม” เป็นคำที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำนี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ
คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก
คำกริยาว่า innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดส่ิงใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คำว่า “นวกรรม” ต่อมา
พบว่าคำนี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กำ) หมายถึงการนำ

สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือ
กิจการใด ๆ กต็ าม เมอ่ื มกี ารนำเอาความเปลยี่ นแปลงใหม่ๆ เข้ามาใชเ้ พือ่ ปรับปรุงงานใหด้ ีขึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้
ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา”
(Educational Innovation) สำหรับผู้ที่กระทำ หรือนำความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น
“นวตั กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm)

ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มา
ปฏบิ ตั หิ ลังจากไดผ้ ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเปน็ ขั้น ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดคน้ (Invention) การ
พฒั นา (Development) ซงึ่ อาจจะเป็นไปในรปู ของ โครงการทดลองปฏบิ ัติก่อน (Pilot Project) แล้วจงึ นำไป
ปฏิบัตจิ รงิ ซ่ึงมคี วามแตกต่างไปจากการปฏิบตั ิเดิมที่เคยปฏิบัติมา (boonpan edt01.htm)

มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง(Renewal) ซึ่ง
หมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ
นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา ( boonpan
edt01.htm)

ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ (2521 : 14) ไดใ้ หค้ วามหมาย “นวัตกรรม” ไวว้ า่ หมายถึง วิธกี ารปฎบิ ตั ิใหม่ๆ ท่ี
แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรือมกี ารปรบั ปรุงของเก่าให้เหมาะสม
และสิ่งทั้งหลายเหล่านีไ้ ด้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือไดแ้ ลว้ ว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทำให้ระบบก้าว
ไปสจู่ ดุ หมายปลายทางได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพขึ้น

จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ
เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสำเร็จ
หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทำอยู่เดิมแล้ว กับอีก
ระดบั หน่งึ ซ่ึงวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤตกิ รรม ได้พยายามศกึ ษาถงึ ท่ีมา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบท่ีมี
อยู่ต่อกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คำว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่งที่ได้นำความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้
ผลสำเรจ็ และแผก่ ว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏบิ ตั ิอย่างธรรมดาสามัญ (บญุ เก้ือ ควรหาเวช , 2543)

นวตั กรรม แบ่งออกเปน็ 3 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 มกี ารประดิษฐค์ ิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแตง่ ของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย

ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลอง
ปฏบิ ัติก่อน (Pilot Project)

ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏบิ ตั ิในสถานการณท์ ่วั ไป ซง่ึ จดั วา่ เป็นนวัตกรรมข้ันสมบูรณ์

ความหมายของนวตั กรรมการศกึ ษา

“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวตั กรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบนั มีการใช้
นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กำลัง
เผยแพร่ เชน่ การเรยี นการสอนทใี่ ชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใชแ้ ผน่ วิดีทัศน์
เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น
(วารสารออนไลน์ บรรณปญั ญา.htm)

“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ
ความคดิ หรือการกระทำ รวมท้งั สิง่ ประดิษฐ์กต็ ามเขา้ มาใช้ในระบบการศึกษา เพ่ือมงุ่ หวังทีจ่ ะเปลยี่ นแปลงส่ิงท่ี
มอี ยูเ่ ดิมใหร้ ะบบการจัดการศกึ ษามปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ขึ้น ทำใหผ้ เู้ รียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิด
แรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้
วดี ิทัศนเ์ ชงิ โต้ตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมติ ิ (Hypermedia) และอนิ เตอรเ์ นต็ เหลา่ นี้เปน็ ต้น

ความหมายของเทคโนโลยี

ความเจริญในด้านต่างๆ ที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง
ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบและทดลองใชไ้ ด้ผลแล้ว ก็นำออก
เผยแพร่ใช้ในกิจการดา้ นต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพัฒนาคณุ ภาพ และประสิทธิภาพในกิจการต่างๆ
เหล่านั้น และวิชาการที่ว่าด้วยการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรียกกันว่า
“วทิ ยาศาสตรป์ ระยุกต”์ หรือนยิ มเรยี กกันท่ัวไปว่า “เทคโนโลยี” (boonpan edt01.htm)

เทคโนโลยี หมายถึงการใชเ้ ครือ่ งมือให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ในการแก้ปญั หา ผู้ที่นำเอาเทคโนโลยี
มาใช้ เรียกว่านกั เทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm)

เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา)
หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของ
การศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ
(boonpan edt01.htm)

สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คำจำกัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็นการ
พัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนำมาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้าง
เสรมิ กระบวนการเรยี นรขู้ องคนให้ดีย่ิงขึ้น (boonpan edt01.htm)

ดร.เปรื่อง กุมุท ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยกี ารศึกษาว่า เป็นการขยายขอบข่ายของการใช้
สื่อการสอน ให้กว้างขวางขึ้นทั้งในด้านบุคคล วัสดุเครื่องมือ สถานที่ และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียน
การสอน (boonpan edt01.htm)

Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เครื่องมือ แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทำงาน
อยา่ งเป็นระบบ ให้บรรลุผลตามแผนการ (boonpan edt01.htm)

นอกจากนี้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเกี่ยวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ทั้งน้ี
เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังนั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการใช้
ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คำว่าโสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มี
ความหมายทีก่ ว้างกว่า ซง่ึ อาจจะพจิ ารณาจาก ความคดิ รวบยอดของเทคโนโลยไี ดเ้ ป็น 2 ประการ คือ

1. ความคดิ รวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคดิ รวบยอดนี้ เทคโนโลยีทางการศกึ ษาหมายถึง
การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่งประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ
มาใช้สำหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เครื่องมือเหล่านี้ มักคำนึงถึงเฉพาะการ
ควบคุมให้เครื่องทำงาน มักไม่คำนึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างระหว่าง
บุคคล และการเลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาวิชา ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิด
รวบยอดนี้ ทำให้บทบาทของเทคโนโลยีทางการศึกษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น
ไม่รวมวิธีการ หรือปฏิกิริยาสัมพันธ์อื่น ๆ เข้าไปด้วย ซึ่งตามความหมายนี้ก็คือ “โสตทัศนศึกษา”
น่ันเอง

2. ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็นการนำวธิ ีการทางจติ วทิ ยา มนษุ ยวิทยา กระบวนการกลุ่ม
ภาษา การสื่อความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์กลไก การรับรู้มาใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทาง
วิทยาศาสตร์และวิศวกรรม เพื่อให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้นมิใช่
เพียงการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรือ
อปุ กรณ์ แตเ่ พียงอย่างเดยี ว (boonpan edt01.htm)

เปา้ หมายของเทคโนโลยกี ารศึกษา

1. การขยายพสิ ยั ของทรพั ยากรของการเรยี นรู้ กลา่ วคอื แหลง่ ทรัพยากรการเรียนรู้ มิได้หมายถึงแตเ่ พียง
ตำรา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรียนมีอยู่เท่านั้น แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้องการ
ให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ที่กว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ครอบคลุม
ถึงเรอื่ งต่างๆ เช่น

o 1.1 คน คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่สำคัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอื่น ซึ่งอยู่นอก
โรงเรียน เช่น เกษตรกร ตำรวจ บรุ ุษไปรษณีย์ เปน็ ต้น

o 1.2 วัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์
เครื่องวิดโี อเทป ของจริงของจำลองสิง่ พมิ พ์ รวมไปถงึ การใชส้ ื่อมวลชนตา่ งๆ

o 1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมนั้นการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเนื้อหา แก่
ผ้เู รียนปจั จบุ ันน้นั เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้ศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองไดม้ ากท่ีสดุ ครูเปน็ เพียง ผู้
วางแผนแนะแนวทางเท่านนั้

o 1.4 สถานที่ อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ที่ทำการ
รฐั บาล ภเู ขา แมน่ ำ้ ทะเล หรอื สถานที่ใด ๆ ที่ช่วยเพ่ิมประสบการณท์ ีด่ แี ก่ผู้เรียนได้

2. การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นักเรียนจะล้นชั้น และกระจัดกระจาย ยากแก่การจัด
การศึกษาตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธี
นำเอาระบบการเรียนแบบตวั ตอ่ ตัวมาใช้ แต่แทนที่จะใชค้ รูสอนนกั เรียนทลี ะคน เขาก็คิด ‘แบบเรียน
โปรแกรม’ ซึ่งทำหน้าที่สอน ซึ่งเหมือนกับครูมาสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วย
ตนเองในรปู แบบเรยี นเปน็ เล่ม หรอื เครือ่ งสอนหรือสื่อประสมหลายๆ อยา่ ง จะเรยี นชา้ หรือเร็วก็ทำได้
ตามความสามารถของผูเ้ รียนแตล่ ะคน

3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการที่เป็น
วิทยาศาสตร์ ที่เชื่อถือได้ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่วยให้งานบรรลุเป้าหมายได้ เนื่องจาก
กระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมีเหตุผล
หาทางให้ส่วนตา่ ง ๆ ของระบบทำงาน ประสานสัมพันธ์กนั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

4. พฒั นาเคร่ืองมือ-วัสดุอปุ กรณ์ทางการศึกษา วสั ดแุ ละเครื่องมือต่าง ๆ ทใ่ี ช้ในการศึกษา หรือการเรียน
การสอนปัจจุบันจะต้องมีการพัฒนา ให้มีศักยภาพ หรือขีดความสามารถในการทำงานให้สูงยิ่งขึ้นไป
อกี

แนวคดิ พ้นื ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไป
อันมีผลทำใหเ้ กิดนวัตกรรมการศึกษาทีส่ ำคญั ๆ พอจะสรุปได้4 ประการ คือ

1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำคัญในเรื่อง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ใหม้ งุ่ จัดการศึกษาตาม

ความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนได้แก่ การจัดระบบ
ห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อสนองแนวความคดิ
พืน้ ฐานน้ี เช่น

• การเรยี นแบบไม่แบง่ ชนั้ (Non-Graded School)

• แบบเรียนสำเรจ็ รปู (Programmed Text Book)

• เครื่องสอน (Teaching Machine)

• การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching)

• การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน (School within School)

• เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction)

2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทเี ดยี วเชื่อกันว่า เด็กจะเรมิ่ เรยี นได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็นพัฒนาการตาม
ธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรยี นรู้ ชี้ให้เห็นวา่ ความพร้อมในการเรียนเป็นสิง่ ที่สร้าง
ขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเชื่อกันว่า
ยาก และไม่เหมาะสมสำหรับเดก็ เล็กก็สามารถนำมาใหศ้ ึกษาได้ นวัตกรรมทีต่ อบสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้
ได้แก่ ศนู ย์การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมท่สี นองแนวความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น

• ศนู ย์การเรียน (Learning Center)

• การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School)

• การปรบั ปรุงการสอนสามชนั้ (Instructional Development in 3 Phases)

3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความ
สะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยังจัดเวลาเรียนเอ าไว้
แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ
แต่ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จำกัดอยู่แต่เฉพาะใน
โรงเรียนเทา่ น้นั นวตั กรรมทส่ี นองแนวความคิดพื้นฐานดา้ นน้ี เช่น

• การจดั ตารางสอนแบบยดื หยนุ่ (Flexible Scheduling)

• มหาวิทยาลัยเปดิ (Open University)

• แบบเรียนสำเรจ็ รูป (Programmed Text Book)

• การเรียนทางไปรษณยี ์

4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้มีสิ่งต่างๆ ที่คน
จะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึงจำเป็นต้อง
แสวงหาวธิ ีการใหม่ที่มปี ระสิทธิภาพสูงขึ้น ทงั้ ในด้านปจั จัยเก่ียวกับตวั ผู้เรยี น และปจั จยั ภายนอก นวตั กรรมใน
ด้านนีท้ ่ีเกดิ ขึน้ เช่น

• มหาวิทยาลัยเปดิ

• การเรยี นทางวทิ ยุ การเรยี นทางโทรทศั น์

• การเรยี นทางไปรษณยี ์ แบบเรียนสำเร็จรูป

• ชดุ การเรยี น

1.2.นวตั กรรมทางการศกึ ษา ในประเดน็ ความหมาย แนวคดิ พื้นฐาน ประเภท ลักษณะ การ
พัฒนา ระยะของนวตั กรรม

นวัตกรรมทางการศกึ ษา

Educational Innovation เปน็ คำศัพทเ์ ทคโนโลยกี ารศกึ ษาซึ่งนักการศึกษาได้ใช้คำศพั ท์
บญั ญตั ิวิชาการ 2 ลักษณะ คอื นวัตกรรมการศึกษา และนวตั กรรมทางการศึกษา ในบทเรยี นนี้
ใชค้ ำวา่ นวตั กรรมทางการศกึ ษาด้วยเหตุวา่ เปน็ คำท่สี ื่อความหมายได้อยา่ งชัดเจนและไดร้ ับความ
นิยมใชใ้ นปจั จบุ ัน

ความหมายของนวตั กรรมทางการศกึ ษา

นวตั กรรมทางการศึกษา หมายถึง การนำแนวคดิ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หรือสง่ิ ประดิษฐ์ทีไ่ ด้รบั
การพัฒนา ปรบั ปรุงหรือดัดแปลงให้มคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับการนำมาใช้ในการจดั
การศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ไขปัญหา เพ่ิมประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล และก่อใหเ้ กดิ
ความสำเรจ็ สงู สุดแกผ่ ู้เรียน อญั ชลี โพธ์ิทอง และอปั ษรศรี ปลอดเปลีย่ ว (2542 : 9), อรนชุ
ลิมตศิริ (2543 : 3)

แนวคดิ พ้นื ฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา

นวัตกรรมทางการศึกษาได้รบั การพฒั นาขึ้นโดยไดร้ บั อิทธิพลจากแนวคิดพนื้ ฐาน 4
ประการ คอื

(1) แนวคิดด้านความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (Individual Difference) หลกั การจดั การ
ศกึ ษาในปจั จบุ นั มุ่งเนน้ จดั การศึกษาตามความสนใจและความสามารถของผ้เู รียนเปน็ สำคญั ซึง่
นกั การศกึ ษาไดพ้ ฒั นาวิธีการใหมๆ่ เพือ่ สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้ที่เนน้ ให้ผู้เรยี นใชค้ วามสามารถ
ในการเรยี นร้ทู ี่แตล่ ะคนมีความแตกตา่ งกนั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้ใหม้ ากท่สี ุด

นวตั กรรมทางการศกึ ษาทเี่ กดิ จากแนวคดิ ด้านความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้แก่
การจัดการเรียนรแู้ บบไมแ่ บง่ ชั้น บทเรียนสำเรจ็ รปู ชุดการสอน การสอนเป็นคณะ การใช้
เครอ่ื งชว่ ยสอน การจัดโรงเรียนในโรงเรยี น เปน็ ต้น

(2) แนวคดิ ด้านความพร้อม (Readiness) การจัดบทเรียนให้มคี วามเหมาะสมกบั ระดบั
ความสามารถของผเู้ รียนโดยการปรบั ปรุงลำดบั ของเนื้อหา หรือนำนวตั กรรมการศกึ ษาท่ี
เหมาะสมกับการสร้างความพร้อมจะทำให้การจดั การเรยี นรู้ประสบความสำเร็จ

นวัตกรรมทางการศกึ ษาทเ่ี กดิ จากแนวคดิ ดา้ นความพร้อม ไดแ้ ก่ ศนู ยก์ ารเรียน
การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน การสอนรวมชนั้ เปน็ ต้น

(3) แนวคิดดา้ นการใชเ้ วลาเพอื่ การศกึ ษา เป็นการกำหนดเวลาในการจดั การเรยี นรู้ให้
สัมพันธ์กับลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะวิชา

นวตั กรรมทางการศกึ ษาทเ่ี กิดจากแนวคิดด้านการใชเ้ วลาเพื่อการศกึ ษา ได้แก่ การ
จดั ตารางสอนแบบยดื หยุ่น มหาวทิ ยาลัยเปิด แบบเรียนสำเรจ็ รูป การเรยี นทางไปรษณีย์ บทเรียน
โปรแกรมชดุ การเรยี น เป็นต้น

(4) แนวคิดดา้ นการขยายตวั ทางวิชาการและอัตราการเพมิ่ ประชากร เป็นการเพ่มิ
โอกาสในการเรียนร้แู ก่ประชากรซึง่ อาจมขี ้อจำกัดทางการเรียนรู้บางประการ

นวัตกรรมทางการศกึ ษาท่ีเกดิ จากแนวคดิ ด้านการขยายตวั ทางวิชาการและอตั ราการ
เพมิ่ ประชากร ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลัยเปิด การเรยี นทางวทิ ยุ การเรยี นทางโทรทศั น์ การเรียนทาง
ไปรษณยี ์ แบบเรยี นสำเร็จรปู ชดุ การเรียน การจัดโรงเรียนสองผลดั บทเรียนโปรแกรม เป็นต้น

ลกั ษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา

นวตั กรรมทางการศกึ ษา เป็นการนำแนวคิดวธิ ีการมาใช้ในการจัดการศกึ ษาเพือ่ ส่งเสริม
กิจกรรมการเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพย่ิงข้ึน มีลักษณะสำคญั คือ

(1) เปน็ แนวความคดิ ที่ไมย่ งั ไมม่ ีการนำมาปฏิบตั ใิ นวงการศกึ ษาและอาจเปน็ ส่ิงใหม่
บางสว่ นหรือเปน็ ส่งิ ใหมท่ ้งั หมดซึง่ ใช้ได้ไมไ่ ด้ผลในอดีตซง่ึ ได้รบั การปรับปรุงแกไ้ ขให้ดขี ึ้น เช่น
การนำคอมพวิ เตอร์มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้

(2) เปน็ แนวความคิดหรือแนวทางปฏิบตั ใิ นลกั ษณะใหมซ่ ่ึงดดั แปลงจากแนวความคดิ หรือ
แนวทางปฏิบัติเดมิ ทีป่ ฏบิ ตั ิไมป่ ระสบความสำเร็จให้มคี วามสอดคล้องกบั สภาพแวดลอ้ มในปัจจบุ นั
และก่อให้เกิดความสำเร็จได้ และมกี ารจดั ระบบขน้ั ตอนการดำเนินงาน (System Approach)
โดยการพิจารณาข้อมลู กระบวนการ และผลลัพธ์ ให้เหมาะสมกอ่ นทำการเปลีย่ นแปลงนน้ั ๆ

(3) เปน็ แนวความคิดหรือแนวทางปฏบิ ตั ิซง่ึ มมี าแต่เดิมและไดร้ ับการปรับปรงุ ให้มี
ลักษณะทนั สมัยและได้รบั การพสิ จู นป์ ระสทิ ธิภาพดว้ ยวิธีทางวิทยาศาสตร์หรอื อยรู่ ะหว่างการวจิ ยั

(4) เปน็ แนวความคดิ หรอื แนวทางปฏิบตั ิทสี่ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงของ
สภาพแวดลอ้ ม ซง่ึ เอ้อื อำนวยให้เกดิ ความสำเร็จยง่ิ ขึน้ เชน่ การศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง

(5) เป็นแนวความคดิ หรือแนวทางปฏิบตั ิทค่ี ้นพบใหมอ่ ยา่ งแท้จริงซ่งึ ยังไมไ่ ด้ทำการ
เผยแพร่หรอื ได้รบั การยอมรบั เป็นส่วนหนึง่ ของระบบงานในปจั จบุ นั

ประเภทของนวตั กรรมทางการศึกษา

นักการศึกษาได้แบง่ ประเภทของนวัตกรรมทางการศกึ ษาตามจดุ เนน้ ของการพัฒนาการ
จดั การศึกษาหลายลักษณะ

วุทธิศกั ด์ิ โภชนกุ ูล (2550 : 8) อธบิ ายว่า นวตั กรรมทางการศกึ ษา แบ่งออกเป็น 5
ประเภท คอื

(1) นวัตกรรมทางดา้ นหลักสตู ร เช่น หลักสูตรบูรณาการ หลักสตู รรายบุคคล หลกั สูตร
กิจกรรมและประสบการณ์ หลักสูตรท้องถ่ิน

(2) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เชน่ การสอนแบบศูนยก์ ารเรยี น การใช้กระบวนการ
กลมุ่ สัมพันธ์ การสอนแบบเรยี นรู้ร่วมกนั และการเรยี นผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต
กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการสืบสอบ กระบวนการสร้างทกั ษะการคดิ คำนวณ การสอนแบบ
ศูนย์การเรยี น การสอนแบบใช้ บทบาทสมมติ การสอนโดยใช้สถานการณจ์ ำลอง การเรยี นแบบ
สัญญาการเรียน การเรยี นเป็นคู่ การเรียนเพอื่ รอบรู้ การเรียนแบบร่วมมือ เป็นต้น

(3) นวตั กรรมสื่อการสอน เช่น Computer Assisted Instruction (CAI), Web-based
Instruction (WBI) Web-based Training (WBT) Virtual Classroom (VC) Web Quest
Web Blog บทเรยี นสำเร็จรปู บทเรียนโมดูล บทเรียนออนไลน์ คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ชุดการ
สอน จลุ บท ชุดสอ่ื ประสม วดี ทิ ศั น์ สไลดป์ ระกอบเสียง แผ่นโปร่งใส บัตรการเรียนรู้ บัตร
กจิ กรรม แบบฝกึ ทักษะ เกม เพลง เปน็ ต้น

(4) นวัตกรรมการประเมินผล เชน่ การพัฒนาคลงั ขอ้ สอบ การลงทะเบียนผา่ นทาง
เครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ การใช้บัตรสมาร์ทการด์ เพ่ือการใช้บรกิ ารของสถาบนั
ศกึ ษา การใชค้ อมพิวเตอร์ในการตัดเกรด

(5) นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ เช่น ฐานข้อมูล นกั เรียน นกั ศึกษา ฐานขอ้ มูล คณะ
อาจารย์ และบคุ ลากร ในสถานศึกษา ดา้ นการเงิน บญั ชี พสั ดุ และครุภัณฑ์

มหาวทิ ยาลัยรังสิต (2549 : 1) กล่าวว่า นวัตกรรมทางการศกึ ษาด้านการจดั การเรียนรู้
ทีค่ รูผสู้ อนสรา้ งหรอื พฒั นาข้นึ เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงแกไ้ ขปัญหาการจดั การเรยี นรู้ แบ่งได้ 2
ประเภท คอื

(1) กิจกรรมการพฒั นาการเรยี นรู้หรือเทคนคิ วิธสี อน (Instruction) เชน่ บทเรียน
สำเรจ็ รูป ชดุ การเรียนการสอน ชุดฝึก แบบฝึก แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ีเนน้ รูปแบบการสอน,
กิจกรรมการเรยี นรู้, หรือกระบวนการเรียนรู้ ชดุ พฒั นาคณุ ลกั ษณะ เป็นตน้

(2) สอ่ื การเรยี นรู้หรือส่ิงประดษิ ฐ์ (Invention) เช่น สือ่ ประสม วดี ิทศั น์ แบบจำลอง
รูปภาพ, แผ่นโปร่งใส, แผนภาพ เกมประดษิ ฐ์หรอื เกมฝึกทกั ษะ เปน็ ต้น

สำหรับนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเกย่ี วกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน
แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ ประเภทกจิ กรรมการพัฒนาการเรยี นรูแ้ ละเทคนิควิธสี อน (Learning
and Instruction) และประเภทสื่อการเรยี นรูห้ รือสิง่ ประดิษฐ์ (Invention)

กระบวนการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษา

กระบวนการพฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษา แบ่งเปน็ 3 ข้นั ตอนหลกั คือ

(1) การประดษิ ฐ์คดิ คน้ เป็นข้ันตอนการศึกษาสภาพปญั หาและการคิดค้นเพื่อกำหนด
รปู แบบนวตั กรรมทใ่ี ช้ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา โดยพจิ ารณาความเป็นไปได้ตามหลกั การท่ี
เก่ยี วข้อง

(2) การสร้างและพัฒนานวตั กรรม เปน็ ขนั้ ตอนการจัดทำนวตั กรรมตามรปู แบบที่
กำหนด จากข้นั ตอนท่ี 1 สำหรบั วิธพี ฒั นานวัตกรรมอาจทำไดห้ ลายวิธี ซง่ึ วธิ ที ไี่ ดร้ ับความ
นิยมและได้รับความเช่อื ถือ คอื การทดลองเพื่อพสิ ูจน์ประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมในการแก้ปญั หา
หรอื พฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนรู้

(3) การยอมรับและนำนวตั กรรมไปใช้ เป็นขนั้ ตอนการยอมรบั นวตั กรรมท่ไี ดส้ รา้ งและ
พัฒนาข้ึน และนำนวตั กรรมนน้ั ไปใชป้ รบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ในสถานการณ์
และสภาพแวดลอ้ มปกติ

บทสรปุ

นวัตกรรมทางการศกึ ษา เปน็ การนำแนวคดิ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ หรอื ส่งิ ประดษิ ฐท์ ่ไี ดร้ ับการ
พฒั นาให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกบั การนำมาใชใ้ นการจัดการศกึ ษาเพื่อแกไ้ ขปญั หา เพมิ่
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล และก่อให้เกิดความสำเรจ็ สูงสดุ แก่ผเู้ รียน

โดยทั่วไป นวตั กรรมทางการศกึ ษาจัดแบ่งได้ 2 ระดับ คือ (1) ระดับหน่วยงานการศึกษา
(หนว่ ยงานทางการศกึ ษา หรอื สถานศกึ ษา), (2) ระดบั ชั้นเรยี น สำหรับนวัตกรรมทางการศกึ ษา
ทเี่ กยี่ วกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ นระดบั ช้ันเรยี น แบง่ เปน็ 2 ประเภทย่อย คือ ประเภท
กิจกรรมการพฒั นาการเรียนรูแ้ ละเทคนิควธิ สี อน (Learning and Instruction) และประเภทสอื่
การเรียนรูห้ รอื ส่ิงประดิษฐ์ (Invention)

ซง่ึ ในปจั จุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารและระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตท่ี
ก้าวหนา้ อย่างต่อเนอ่ื งส่งอิทธพิ ลอยา่ งเขม้ ข้นต่อการพัฒนานวัตกรรม นกั การศึกษาและ
ผ้ปู ระกอบการทางการศกึ ษาจึงสร้างสรรค์นวตั กรรมเพอ่ื ลดข้อจำกัดในการเรียนรู้, สร้างโอกาส
เข้าถึงแหลง่ การเรยี นรู้, และเพ่มิ ความสำเร็จในการเรยี นรู้ อาทิ โปรแกรมสร้างแบบทดสอบ
(Online Test), โปรแกรมแปลงรูปภาพเปน็ อักษร OCR (Optical Character Recognition),
โปรแกรมการประชมุ ทางไกล (Video Conference), โปรแกรมควบคุมคอมพวิ เตอรร์ ะยะไกล
(Remote Desktop Connection), โปรแกรมจัดการเอกสารร่วมกนั (Collaboration Tools),
ฯลฯ ซ่ึงนวัตกรรมเหลา่ นี้ลว้ นเปน็ เครือ่ งมือทชี่ ว่ ยอำนวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรมการเรียน
การสอนอนั ทรงพลงั ท่นี กั การศึกษาควรทำความร้จู กั เพอ่ื นำไปปรบั ใช้ในการออกแบบนวัตกรรม
ทางการศึกษาและอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ใหก้ ับผูเ้ รียน

3. นวตั กรรมทางการศึกษาในยุคปจั จบุ นั

นวัตกรรม เปน็ ความคิดหรือการกระทำใหม่ๆ ซ่ึงนักวชิ าการหรอื ผู้เช่ยี วชาญในแต่ละวงการจะมีการ
คดิ และทำส่ิงใหม่อย่เู สมอ ดังนั้น นวตั กรรมจงึ เปน็ สิง่ ที่เกิดขน้ึ ใหม่ไดเ้ ร่อื ยๆ สิ่งใดทคี่ ิดและทำมานานแล้วก็ถือ
ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมสี งิ่ ใหมม่ าแทน ในวงการศึกษาปจั จุบนั มีส่งิ ท่ีเรยี กวา่ นวตั กรรมทาง
การศกึ ษา หรอื นวัตกรรมการเรียนการสอน อยูเ่ ป็นจำนวนมาก บางอยา่ งเกดิ ขึ้นใหม่ บางอยา่ งมีการใชม้ า

หลายสิบปแี ล้ว แตก่ ็ยังคงถือว่าเปน็ นวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเหลา่ นั้นยังไม่แพร่หลายเปน็ ทร่ี ู้จกั ท่วั ไปในวง
การศกึ ษา

ประเภทของการใชน้ วัตกรรมการศกึ ษาในประเทศไทย
1. นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตร
2. นวตั กรรมการเรียนการสอน
3. นวัตกรรมส่อื การสอน
4. นวัตกรรมการประเมนิ ผล
5. นวตั กรรมการบริหารจดั การ
นวตั กรรมทางด้านหลักสตู ร

นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เปน็ การใชว้ ิธกี ารใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้องถ่ินและตอบสนองความต้องการสอนบคุ คลใหม้ ากข้นึ นวัตกรรมการศกึ ษาเข้ามา
ช่วยเหลอื จดั การให้เป็นไปในทศิ ทางทีต่ ้องการ นวตั กรรมทางด้านหลักสตู รในประเทศไทย ไดแ้ ก่ การพัฒนา
หลกั สูตรดังต่อไปน้ี
1.หลักสตู รบรู ณาการ เป็นการบูรณาการสว่ นประกอบของหลักสูตรเข้าดว้ ยกันทางด้านวิทยาการในสาขาตา่ งๆ

2.หลักสตู รรายบคุ คล เป็นแนวทางในการพฒั นาหลักสูตรเพอื่ การศึกษาตามอัตภาพ
3.หลกั สตู รกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลกั สูตรท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกจิ กรรมและประสบการณ์
ใหก้ บั ผูเ้ รยี นเพ่ือนำไปสู่ความสำเร็จ
4.หลักสตู รท้องถ่ิน เปน็ การพัฒนาหลักสตู รทต่ี อ้ งการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถน่ิ เพ่ือให้
สอดคลอ้ งกบั ศลิ ปวฒั นธรรมสิ่งแวดลอ้ ม
นวตั กรรมการเรยี นการสอน

เปน็ การใชว้ ธิ ีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวธิ สี อนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียน
รายบคุ คล การสอนแบบผ้เู รยี นเป็นศนู ย์กลาง การเรยี นแบบมีส่วนร่วม การเรยี นร้แู บบแกป้ ัญหา การพัฒนาวธิ ี
สอนจำเป็นต้องอาศยั วิธกี ารและเทคโนโลยใี หม่ๆ เข้ามาจดั การและสนบั สนุนการเรยี นการสอน

การเรียนผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต
นวตั กรรมสอ่ื การสอน

เนื่องจากมีความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทำใหน้ ักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยเี หลา่ นี้มาใชใ้ นการผลติ ส่อื การเรียนการ
สอนใหมๆ่ จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนดว้ ยตนเองการเรยี นเป็นกลมุ่ และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ที่
ใช้เพ่ือสนับสนนุ การฝกึ อบรม ผ่านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI)
มัลติมีเดีย (Multimedia)

การประชุมทางไกล (Teleconference)
ชดุ การสอน (Instructional Module)
วีดทิ ัศนแ์ บบมปี ฏิสัมพนั ธ์ (Interactive Video)

นวตั กรรมทางด้านการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมที่ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื เพือ่ การวัดผลและประเมินผลได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและทำได้อยา่ ง

รวดเรว็ รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวจิ ยั สถาบัน ด้วยการประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรม์ า
สนับสนุนการวดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวตั กรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่
– การพัฒนาคลงั ข้อสอบ
– การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ และอนิ เตอรเ์ น็ต
– การใช้บตั รสมารท์ การ์ด เพ่ือการใช้บริการของสถาบนั ศึกษา
– การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการตัดเกรด
– ฯลฯ

การใชบ้ ัตรสมารท์ การด์ เพื่อการใช้บรกิ ารของสถาบนั ศึกษา
นวตั กรรมการบริหารจัดการ
เป็นการใช้นวตั กรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการใชส้ ารสนเทศมาชว่ ยในการบรหิ ารจดั การ เพ่ือการ ตดั สนิ ใจของ
ผบู้ ริหารการศกึ ษาให้มีความรวดเร็วทันเหตกุ ารณ์ ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่
นำมาใชท้ างดา้ นการบรหิ ารจะเก่ยี วข้องกับระบบการจัดการฐานขอ้ มลู ในหนว่ ยงานสถานศึกษา เช่น
ฐานขอ้ มลู นกั เรียน นักศกึ ษา ฐานข้อมลู คณะอาจารย์และบคุ ลากร ในสถานศกึ ษา ดา้ นการเงนิ บัญชี พัสดุ
และครภุ ัณฑ์ ฐานขอ้ มูลเหล่าน้ีต้องการออกระบบทสี่ มบูรณม์ ีความปลอดภัยของข้อมูลสูง

1.3 นวัตกรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆ ทกี่ ลา่ วถึงกนั มากในปจั จบุ นั E-learning / M-Leaning

ความหมายของ e-Learning

การเรยี นทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื e-Learning รูปแบบการเรยี นการสอน ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหา
(delivery methods) ผ่านทางอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเปน็ คอมพวิ เตอร์ เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต
อนิ ทราเน็ต เอก็ ซ์ทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทศั น์ หรือ สญั ญาณดาวเทยี ม และใช้รูปแบบการนำเสนอ
เนอื้ หาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซงึ่ อาจอย่ใู นรูปแบบการเรยี นที่เราคนุ้ เคยกันมาพอสมควร

ลกั ษณะสำคัญของ e-Learning (Feature of e-Learning)

1. ทกุ เวลาทกุ สถานท่ี (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งช่วยขยายโอกาสในการเข้าถงึ
เนื้อหาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นได้จรงิ

2. มัลติมีเดยี (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งมกี ารนำเสนอเนือ้ หาโดยใชป้ ระโยชน์จากสอื่
ประสมเพื่อชว่ ยในการประมวลผลสารสนเทศ ของผูเ้ รยี นเพือ่ ให้เกิดความคงทนในการจดจำและ/หรือ
การเรยี นรู้ได้ดีข้ึน

3. การเช่ือมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะท่ีไม่เป็นเชิง
เสน้ ตรง

4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งมีการเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นโต้ตอบ(มีปฏิสัมพันธ์)
กบั เนอ้ื หา หรือกบั ผู้อ่ืนได้

องคป์ ระกอบของ e-Learning (Component of e-Learning)

1. เนอื้ หา (Content)

เนื้อหาเปน็ องค์ประกอบสำคญั ท่ีสุดสำหรับ e-Learning คณุ ภาพของการเรียนการสอนของ e-
Learningและการทผ่ี ้เู รียนจะบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์การเรียนในลักษณะนหี้ รอื ไม่อย่างไร สงิ่ สำคัญท่ีสดุ ก็คือ
เนือ้ หาการเรยี นซึ่งผู้สอนไดจ้ ัดหาให้แกผ่ เู้ รียน ซึง่ ผเู้ รยี นมีหน้าทใ่ี นการใชเ้ วลาส่วนใหญ่ศกึ ษาเน้ือหาดว้ ยตนเอง
เพื่อทำการปรบั เปลยี่ น (convert) เนือ้ หาสารสนเทศท่ผี ู้สอนเตรียมไว้ใหเ้ กิดเป็นความรู้ โดยผา่ นการคดิ คน้
วเิ คราะห์อย่างมหี ลกั การและเหตผุ ลดว้ ยตัวของผเู้ รียนเอง คำวา่ “เน้อื หา” ในองค์ประกอบแรกของ e-
Learning นี้ ไม่ได้จำกดั เฉพาะสอื่ การสอน และ/หรือ คอร์สแวร์ เท่านัน้ แต่ยังหมายถึงส่วนประกอบสำคัญอน่ื
ๆ ที่ e-Learning จำเป็นจะต้องมเี พือ่ ใหเ้ น้ือหามคี วามสมบูรณ์ เชน่ คำแนะนำการเรียน ประกาศสำคัญต่าง ๆ
ผลป้อนกลบั ของผูส้ อน เปน็ ต้น

2. ระบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System)

องค์ประกอบท่ีสำคญั มากเชน่ กนั สำหรบั e-Learning ไดแ้ ก่ ระบบบริหารจัดการการเรยี นรู้ ซึ่งเปน็
เสมือนระบบที่รวบรวมเครอ่ื งมือซึ่งออกแบบไวเ้ พ่ือให้ความสะดวกแกผ่ ใู้ ช้ในการจัดการกับการเรียนการสอน
ออนไลนน์ นั่ เอง ซึ่งผู้ใช้ในทน่ี ี้ แบ่งไดเ้ ป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผ้ชู ่วยสอน
(course manager) และผู้ท่ีจะเข้ามาช่วยผสู้ อนในการบริหารจดั การด้านเทคนิคต่าง ๆ (network
administrator)ซึง่ เครอ่ื งมือและระดบั ของสิทธิในการเข้าใช้ที่จัดหาไวใ้ ห้ก็จะมีความแตกต่างกันไปตามแตก่ าร
ใช้งานของแตล่ ะกลุม่ ตามปรกติแล้ว เครอื่ งมือทีร่ ะบบบริหารจดั การการเรียนรูต้ ้องจดั หาไว้ให้กบั ผ้ใู ช้ ไดแ้ ก่
พนื้ ทแี่ ละเคร่ืองมือสำหรบั การชว่ ยผเู้ รยี นในการเตรยี มเนื้อหาบทเรียน พ้ืนท่ีและเคร่ืองมือสำหรบั การทำ
แบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกบั แฟม้ ข้อมลู ต่าง ๆ นอกจากนร้ี ะบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ที่
สมบรู ณ์จะจัดหาเคร่อื งมอื ในการติดต่อสอ่ื สารไว้สำหรับผู้ใช้ระบบไม่วา่ จะเปน็ ในลักษณะของ ไปรษณยี ์
อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-mail) เวบ็ บอร์ด(Web Board) หรอื แช็ท (Chat) บางระบบก็ยังจัดหาองคป์ ระกอบพิเศษ
อนื่ ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผใู้ ช้อกี มากมาย เช่น การจดั ใหผ้ ้ใู ชส้ ามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดู
สถติ ิการเข้าใช้งานในระบบ การอนุญาตให้ผู้ใช้สร้างตารางการเรียน ปฏิทินการเรยี น เป็นตน้

3. โหมดการตดิ ตอ่ สื่อสาร (Modes of Communication)

องค์ประกอบสำคัญของ e-Learning ท่ขี าดไม่ไดอ้ ีกประการหนึง่ กค็ ือ การจัดให้ผ้เู รยี นสามารถ
ตดิ ตอ่ สื่อสารกับผู้สอน วิทยากร ผู้เช่ยี วชาญอ่ืน ๆ รวมทั้งผู้เรียนด้วยกัน ในลกั ษณะท่ีหลากหลาย และสะดวก
ตอ่ ผูใ้ ช้ กล่าวคือ มีเคร่ืองมือท่ีจัดหาไว้ให้ผู้เรยี นใชไ้ ด้มากกว่า 1 รปู แบบ รวมท้ังเครื่องมือนน้ั จะตอ้ งมีความ
สะดวกในการใชง้ าน (user-friendly) ด้วย ซงึ่ เครอ่ื งมือที่ e-Learning ควรจดั หาให้ผเู้ รียน ได้แก่

3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร์

ในที่น้หี มายถึง การประชมุ ทางคอมพวิ เตอร์ท้งั ในลักษณะของการติดต่อส่ือสารแบบตา่ งเวลา
(Asynchronous) เชน่ การแลกเปลี่ยนขอ้ ความผา่ นทางกระดานข่าวอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ ที่รจู้ กั กนั ในชอื่ ของ
เวบ็ บอร์ด (Web Board) เป็นต้น หรอื ในลกั ษณะของการติดต่อสอื่ สารแบบเวลาเดียวกนั (Synchronous) เช่น
การสนทนาออนไลน์ หรอื ท่คี ุ้นเคยกนั ดใี นช่ือของ แชท็ (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มกี าร
ถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสยี งสด (Live Broadcast / Videoconference) ผา่ นทางเว็บ เป็นตน้ ในการ
นำไปใชด้ ำเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน ผ้สู อนสามารถเปิดสมั มนาในหวั ข้อทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับเน้ือหาในคอรส์ ซง่ึ
อาจอยู่ในรปู ของการบรรยาย การสมั ภาษณ์ผเู้ ช่ียวชาญ การเปดิ อภิปรายออนไลน์ เปน็ ต้น

3.2 ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-mail)

ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ องค์ประกอบสำคัญเพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถตดิ ต่อสือ่ สารกบั ผู้สอนหรือ
ผเู้ รียนอ่นื ๆ ในลักษณะรายบุคคล การสง่ งานและผลป้อนกลับใหผ้ ูเ้ รียน ผ้สู อนสามารถให้คำแนะนำปรกึ ษาแก่
ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ทงั้ น้ีเพื่อกระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดความกระตอื รือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง ทง้ั นี้ผู้สอนสามารถใชไ้ ปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ในการให้ความคดิ เห็นและผลป้อนกลบั ท่ีทันต่อ
เหตุการณ์

4. แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ

องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แตไ่ ม่ได้มีความสำคัญน้อยท่ีสดุ แต่อย่างใด ได้แก่ การจัดให้
ผเู้ รียนไดม้ ีโอกาสในการโตต้ อบกับเนือ้ หาในรูปแบบของการทำแบบฝกึ หดั และแบบทดสอบความรู้

4.1 การจดั ให้มีแบบฝกึ หัดสำหรบั ผ้เู รยี น

เนอ้ื หาท่นี ำเสนอจำเปน็ ต้องมีการจัดหาแบบฝึกหดั สำหรับผู้เรยี นเพื่อตรวจสอบความเข้าใจไวด้ ว้ ย
เสมอ ทัง้ นี้เพราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซึ่งเน้นการเรยี นร้ดู ้วยตนเองของผู้เรยี นเป็นสำคญั
ดังนน้ั ผเู้ รยี นจึงจำเปน็ อยา่ งยิ่งทจี่ ะต้องมแี บบฝกึ หัดเพ่อื การตรวจสอบวา่ ตนเขา้ ใจและรอบร้ใู นเรือ่ งที่ศึกษา
ด้วยตนเองมาแล้วเปน็ อยา่ งดีหรอื ไม่ อยา่ งไร การทำแบบฝึกหดั จะทำให้ผเู้ รยี นทราบได้ว่าตนนั้นพร้อมสำหรับ
การทดสอบ การประเมินผลแล้วหรอื ไม่

4.2 การจัดให้มแี บบทดสอบผู้เรยี น

แบบทดสอบสามารถอยูใ่ นรปู ของแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรยี น หรือหลังเรยี นก็ได้สำหรับ e-
Learning แลว้ ระบบบริหารจดั การการเรียนรูท้ ำใหผ้ สู้ อนสามารถสนบั สนุนการออกข้อสอบของผสู้ อนได้
หลากหลายลักษณะ กล่าวคือ ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผลในลักษณะของ อัตนยั ปรนยั ถกู ผิด การ
จับคู่ ฯลฯ นอกจากนย้ี ังทำให้ผู้สอนมคี วามสะดวกสบายในการสอบเพราะผู้สอนสามารถทจ่ี ะจัดทำขอ้ สอบใน
ลกั ษณะคลงั ข้อสอบไวเ้ พ่ือเลือกในการนำกลบั มาใช้ หรอื ปรับปรงุ แกไ้ ขใหม่ได้อยา่ งงา่ ยดาย นอกจากนใี้ นการ
คำนวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยงั สามารถชว่ ยใหก้ ารประเมนิ ผลผูเ้ รียนเป็นไปไดอ้ ยา่ งสะดวก
เนอื่ งจากระบบบริหารจดั การการเรียนรู้ จะชว่ ยทำให้การคิดคะแนนผู้เรยี น การตัดเกรดผู้เรียนเป็นเรื่องง่ายขน้ึ
เพราะระบบจะอนญุ าตให้ผูส้ อนเลือกได้วา่ ต้องการท่ีจะประเมนิ ผลผู้เรยี นในลักษณะใด เชน่ องิ กล่มุ องิ เกณฑ์
หรอื ใชส้ ถิตใิ นการคดิ คำนวณในลักษณะใด เช่น การใชค้ ่าเฉล่ยี ค่า T-Score เป็นต้น นอกจากนีย้ งั สามารถที่
จะแสดงผลในรูปของกราฟได้อีกด้วย

ขอ้ ได้เปรยี บและขอ้ จำกัดของ e-Learning (advantage of e-Learning)

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรยี นการสอนมี ดังน้ี

1. e-Learning ช่วยให้การจดั การเรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพมากยิ่งขน้ึ

2. e-Learning ช่วยทำให้ผสู้ อนสามารถตรวจสอบความก้าวหนา้ พฤติกรรมการเรยี นของผ้เู รียนได้อย่าง
ละเอยี ดและตลอดเวลา

3. e-Learning ชว่ ยทำให้ผเู้ รยี นสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้

4. e-Learning ชว่ ยทำให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ด้ตามจังหวะของตน (Self-paced Learning)

5. e-Learning ชว่ ยทำใหเ้ กิดปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผเู้ รียนกับครูผสู้ อน และกับเพื่อน ๆ ได้

6. e-Learning ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรยี นรู้ทักษะใหม่ ๆ

7. e-Learning ทำใหเ้ กิดรปู แบบการเรียนที่สามารถจดั การเรยี นการสอนให้แก่ผูเ้ รียนในวงกวา้ งขน้ึ

8. e-Learning ทำให้สามารถลดตน้ ทนุ ในการจัดการศึกษานั้น ๆ ได้

ขอ้ จำกดั

1. ผู้สอนทน่ี ำ e-Learning ไปใชใ้ นลกั ษณะของส่ือเสรมิ โดยไม่มีการปรบั เปล่ียนวธิ ีการสอนเลย

2. ผู้สอนจะตอ้ งเปลีย่ นบทบาทจากการเป็นผ้ใู ห้ (impart) เนอ้ื หาแก่ผเู้ รยี น มาเปน็ (facilitator) ผชู้ ่วยเหลอื
และให้คำแนะนำต่าง ๆ แก่ผ้เู รียน พรอ้ มไปกบั การเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองจาก e-
Learning ทง้ั น้ี หมายรวมถงึ การท่ีผู้สอนควรมีความพรอ้ มทางดา้ นทักษะคอมพวิ เตอรแ์ ละรับผดิ ชอบต่อการ
สอนมีความใสใ่ จกับผเู้ รยี นโดยไม่ท้ิงผู้เรียน

3. การลงทุนในดา้ นของ e-Learning ตอ้ งครอบคลมุ ถงึ การจดั การให้ผูส้ อนและผู้เรยี นสามารถเขา้ ถึงเนื้อหา
และการติดตอ่ ส่ือสารออนไลน์ได้สะดวก สำหรับ e-Learning แลว้ ผสู้ อนหรอื ผู้เรียนที่ใชร้ ูปแบบการเรยี นใน
ลักษณะน้จี ะต้องมีสง่ิ อำนวยความสะดวก (facilities) ตา่ ง ๆ ในการเรยี นที่พรอ้ มเพรียงและมีประสิทธภิ าพ

4. การออกแบบ e-Learning ท่ไี มเ่ หมาะสมกับลักษณะของผูเ้ รียน เชน่ ผ้เู รยี นระดับอดุ มศึกษาในบ้านเราซึ่ง
สว่ นใหญอ่ ยู่ในวัยรุ่น e-Learning จะต้องได้รับการออกแบบตามหลักจิตวทิ ยาการศึกษา กลา่ วคือ จะต้องเน้น
ใหม้ กี ารออกแบบให้มกี จิ กรรมโตต้ อบอยู่ตลอดเวลา ไมว่ ่าจะเป็นกับเนื้อหาเอง กบั ผู้เรียนอน่ื ๆ หรอื กบั ผู้สอนก็
ตาม

5. ในการท่ี e-Learning จะส่งผลต่อประสทิ ธผิ ลของการเรียนรู้ของผู้เรียนไดน้ น้ั สง่ิ สำคัญได้แก่ การทผ่ี ู้เรยี น
จะต้องรู้จักวธิ กี ารเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (self-Learning) อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ดังนัน้ จึงจำเป็นท่ีจะต้องมีการ
สนบั สนุน และส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การสร้างวนิ ยั ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
(selfdiscipline)รวมทงั้ ตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างเสริมลกั ษณะนิสัย ใฝเ่ รียน ใฝร่ ู้ รูจ้ กั วิธกี าร
เลือกสรรประเมนิ รวบรวมสารสนเทศ รวมท้ังรูจ้ กั การจดั ระเบยี บ (organize) วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และการ
นำเสนอสารสนเทศตามความเขา้ ใจของตนเอง

การนำ e-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน สามารถทำได้ 3 ระดับ

1. ใช้ e-Learning เปน็ สื่อเสรมิ (Supplementary)

หมายถึง การนำ e-Learning ไปใชใ้ นลกั ษณะสื่อเสริม นอกจากเน้ือหาที่ปรากฏในลกั ษณะ e-Learning แล้ว
ผู้เรียนยงั สามารถศึกษาเน้ือหาเดียวกันน้ีในลักษณะอื่น ๆ

2. ใช้ e-Learning เป็นสอ่ื เตมิ (Complementary)

หมายถึง การนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะเพ่ิมเตมิ จากวิธกี ารสอนในลกั ษณะอน่ื ๆ เช่น นอกจากการ
บรรยายในหอ้ งเรยี นแล้ว ผูส้ อนยงั ออกแบบเน้ือหาใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ไปศกึ ษาเนื้อหาเพ่ิมเติมจาก e-Learning

3. ใช้ e-Learning เปน็ สื่อหลัก (ComprehensiveReplacement)

หมายถึง การนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายในหอ้ งเรยี น ผูเ้ รียนจะตอ้ งศึกษาเนื้อหา
ทง้ั หมดออนไลน์ และโตต้ อบกบั เพื่อนและผ้เู รียนอ่นื ๆ

ความหมายของ M – Learning

m-Learning (mobile learning) คอื การจัดการเรียนการสอนหรอื บทเรยี นสำเรจ็ รูป
(Instruction Package) ที่นำเสนอเนื้อหาและกจิ กรรมการเรยี นการสอนผา่ นเทคโนโลยีไรส้ าย (wireless
telecommunication network) และเทคโนโลยีอนิ เทอรเ์ น็ต ผู้เรียนสามารถเรยี นได้ทกุ ท่ีและทุกเวลา โดยไม่
ต้องเช่อื มต่อโดยใช้สายสัญญาณ ผูเ้ รียนและผ้สู อนใช้เคร่ืองมอื สำคญั คือ อปุ กรณ์ประเภทเคลอื่ นท่ีได้
โดยสะดวกและสามารถเช่ือมตอ่ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์โดยไม่ต้องใชส้ ายสญั ญาณแบบเวลาจรงิ ได้แก่
Notebook Computer, Portable computer, Tablet PC, Cell Phones ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการ
สอน

บทบาทของ M-Learning

M-Learning กำลงั กา้ วเขา้ มาเปน็ การเรียนรคู้ กู่ ับสงั คมอย่างแทจ้ ริง เนือ่ งจากความเปน็ อิสระ ของ
เครือข่ายไร้สาย ที่สามารถเข้าถงึ ได้ทกุ ท่ี ทุกเวลา อีกท้งั จำนวนเครื่องคอมพวิ เตอร์แบบพกพาทีใ่ ชเ้ ป็น

เครื่องมอื นน้ั มจี ำนวนเพม่ิ ข้นึ เรื่อยๆ จงึ เปน็ การเรยี นรู้อกี ทางเลอื กหนึ่งของการนำเทคโนโลยี มาใชเ้ ป็นช่องทาง
ในการใหผ้ คู้ นไดเ้ ข้าถึงความรู้ แตใ่ นปัจจบุ ัน เทคโนโลยกี ไ็ ด้ยอ่ โลก ของเครือขา่ ยให้อยู่ในมอื ของผบู้ รโิ ภคแล้ว
และสามารถเขา้ สู่แหลง่ การเรียนรูไ้ ดเ้ ม่ือตอ้ งการอยา่ งแท้จริงทกุ เวลา นับว่าเปน็ เทคโนโลยที ่ีพัฒนาขนึ้ มาได้ดี
ทเี ดยี ว และในอนาคตขา้ งหน้า คาดว่าการเรียนรู้แบบ M-Learning จะแพร่หลายมากข้ึนยิง่ กวา่ ในปจั จบุ ัน

ผลกระทบต่อการศึกษาและการเรียนการสอน

เมอ่ื มีอุปกรณ์ทส่ี ะดวกต่อการเรียนการสอนเช่นนี้แลว้ จะชว่ ยสง่ ผลให้การศึกษา เป็นไปไดโ้ ดยง่าย เพราะ
ผ้เู รยี นสามารถท่ีจะเข้าถึงความรู้อย่างง่ายดายมากข้ึน ในปัจจุบนั นน้ั เปน็ ยุค ท่วี ยั รุ่น วัยเรียน ให้ความสนใจกบั
เทคโนโลยมี าก โดยเฉพาะโทรศัพท์มอื ถอื น้อยคนมากทีจ่ ะไม่มี มือถือไว้ใช้ ดังน้นั M-learning จงึ เหมาะทจี่ ะ
นำมาใช้กบั การศึกษาในสมัยปัจจุบันมากที่สุด เพ่อื เป็น การเสริมความร้ใู หก้ บั ผ้เู รยี นอยา่ งท่ัวถึง

ปจั จยั ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี

-ผลกระทบต่อชมุ ชน

-ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ

-ผลกระทบด้านจิตวทิ ยา

-ผลกระทบทางด้านสิง่ แวดลอ้ ม

-ผลกระทบทางด้านการศึกษา

2.ความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1ความหมายของคำวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
คำว่า เทคโนโลยี หมายถึง การประยกุ ตเ์ อาความรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ความจริงเก่ียวกับธรรมชาติ

และสง่ิ แวดลอ้ ม มาทำให้เกดิ ประโยชนต์ ่อมวลมนุษย์ เทคโนโลยีจึงเป็นวิธกี ารในการสร้างมูลค่าเพมิ่ ของสิ่ง
ต่างๆ ให้เกดิ ประโยชนม์ ากย่ิงขึน้ เช่น ทรายหรือซิลกิ อน (silikon) เป็นสารแรท่ ีพ่ บเหน็ ท่ัวไปตามชายหาด
หากนำมาสกัดด้วยเทคนิควธิ กี ารสรา้ งเป็น ชิป (chip) จะทำใหส้ ารแร่ซิลกิ อนนั้นมีคุณค่า และมลู คา่ เพ่มิ ขึ้นได้
อกี มาก

สารสนเทศ หมายถึง ขอ้ มลู ทเี่ ป็นเรือ่ งเก่ียวข้องกับ ความจริงของคน สตั ว์ สิ่งของ ท้ังที่เป็นรูปธรรม
และนามธรรม ที่ได้รบั การจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกคน้ และส่ือสารระหวา่ งกนั นำมาใชใ้ หเ้ กดิ
ประโยชนไ์ ด้

เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถงึ การนำวิทยาการที่ก้าวหนา้
ทางด้านคอมพวิ เตอร์และ การสื่อสารมาสร้างมูลคา่ เพิ่มให้กบั สารสนเทศ ทำใหส้ ารสนเทศ มปี ระโยชน์และใช้
งานไดก้ ว้างขวางมากข้ึน เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆ ในการรวบรวม จัดเกบ็ ใช้
งาน ส่งตอ่ หรอื ส่ือสารระหว่างกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเก่ียวขอ้ ง โดยตรงกับเคร่อื งมือเครื่องใช้ในการจดั การ
สารสนเทศ ไดแ้ ก่ เคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณร์ อบขา้ ง ขั้นตอนวธิ กี ารดำเนิน การซ่งึ เกี่ยวขอ้ งกบั
ซอฟต์แวร์ เก่ยี วข้องกบั ตัวข้อมลู บุคลากร และกรรมวิธกี ารดำเนนิ งานเพ่ือให้ขอ้ มูลเกดิ ประโยชน์สงู สดุ
เทคโนโลยีสารสนเทศจงึ เป็นเทคโนโลยที ่คี รอบคลมุ เรือ่ งเกี่ยวกบั การประมวลผล ขอ้ มลู ซึง่ ไดแ้ ก่การใช้
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งกันดว้ ยความรวดเร็วการจัดการข้อมูล รวมถึงวิธกี ารท่จี ะใช้
ข้อมลู ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

2.2บทบาทความสำคญั เทคโนโลยสี ารสนเทศในประเทศไทย
เทคโนโลยสี ารสนเทศเริม่ ใชง้ านในประเทศไทยเม่อื ไมน่ านมานีเ้ อง โดยในปี พ.ศ.2507 มกี ารนำ
คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาใช้ในประเทศไทยเป็นครง้ั แรก และในขณะน้นั เทคโนโลยีสารสนเทศยังไมแ่ พรห่ ลายนัก จะ
มเี พยี งการใชโ้ ทรศัพทเ์ พ่อื การติดตอ่ ส่อื สาร และนำคอมพิวเตอร์มาชว่ ยประมวลผลข้อมูล งานดา้ นสารสนเทศ
อน่ื ๆ ส่วนใหญ่ ยังคงเปน็ งานภายในสำนกั งานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และเครื่องมือดา้ นเทคโนโลยีมาชว่ ยมากนัก
เมอ่ื มีการประดษิ ฐค์ ิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศ เชน่ เครอ่ื งถ่ายเอกสาร โทรสาร และไมโครคอมพวิ เตอร์
อาชพี ของประชากรก็ปรบั เปล่ียนมาสูง่ านดา้ นสารสนเทศมากขึน้ สำนักงานเปน็ แหล่งที่มกี ารใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศมากที่สุด เชน่ การใชค้ อมพวิ เตอร์ทำบญั ชีเงินเดือนและบัญชีรายรบั รายจ่าย การตดิ ต่อส่อื สาร
ภายในและภายนอกโดยใช้โทรศัพท์และโทรสาร การจัดเตรียมเอกสารด้วยการใช้เครื่องถ่ายเอกสารและ
คอมพิวเตอร์งานดา้ นสารสนเทศมแี นวโน้มขยายตัวทีค่ ่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยดี า้ นน้ไี ดร้ บั การส่งเสริม
สนบั สนนุ อยา่ งเต็มท่ี มกี ารวิจัยและพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ออกมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์อยู่
ตลอดเวลา เทคโนโลยที ี่ใชใ้ นระบบสารสนเทศ ท่ีกำลังได้รับความสนใจอย่างมากในขณะนี้ คอื เทคโนโลยสี ่ือ
ประสม (Multimedia) ซ่ึงรวมขอ้ ความ ภาพ เสยี ง และวดี ิทศั น์เขา้ มาผสมกัน เทคโนโลยีนกี้ ำลงั ได้รับการ

พฒั นา ในอนาคตเทคโนโลยีแบบส่ือประสมจะช่วยเสรมิ และสนบั สนุนงานดา้ นสารสนเทศใหก้ ้าวหนา้ ต่อไป
เป็นท่คี าดหมายวา่ อตั ราการเตบิ โตของผูท้ ำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะมมี ากข้นึ

แนวโนม้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศค่อย ๆ กลายมาเป็นระบบรวม โดยให้คอมพิวเตอร์ระบบหน่ึงทำงานพร้อม
กนั ได้หลาย ๆ อย่าง นอกจากใชป้ ระมวลผลข้อมูลดา้ นบัญชีแลว้ ยงั ใชง้ านจัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพ์ดีด
ใชร้ บั สง่ ข้อความหรือจดหมายกับคอมพิวเตอรท์ ี่อยหู่ า่ งไกล ซ่งึ อาจอยู่คนละซกี โลกในลักษณะทเี่ รยี กวา่ “
ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ” (Electronic Mail หรือ E-Mail)

1.คอมพิวเตอรแ์ ละอิน-เทอร์เน็ต

คอมพวิ เตอร์ คอื อปุ กรณ์ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (electrinic device) ทมี่ นุษย์ใช้เปน็ เคร่ืองมือช่วยในการ
จดั การกบั ข้อมลู ท่ีอาจเปน็ ได้ ท้ังตัวเลข ตวั อกั ษร หรือสญั ลักษณ์ที่ใชแ้ ทนความหมายในส่ิงต่าง ๆ โดย
คณุ สมบัติที่สำคญั ของคอมพิวเตอรค์ ือการทสี่ ามารถกำหนดชุดคำสง่ั ลว่ งหนา้ หรอื โปรแกรมได้
(programmable) นั่นคอื คอมพวิ เตอรส์ ามารถทำงานได้หลากหลายรูปแบบ ขึน้ อยู่กบั ชุดคำสง่ั ทีเ่ ลอื กมาใช้
งาน ทำให้สามารถนำคอมพวิ เตอรไ์ ปประยกุ ต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใชใ้ นการตรวจคล่นื ความถี่ของ
หัวใจ การฝาก - ถอนเงนิ ในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครอื่ งยนต์ เป็นต้น ขอ้ ดีของคอมพิวเตอร์ คือ เคร่ือง
คอมพวิ เตอร์สามารถทำงานได้อยา่ งมีประสทิ ธภาพ มีความถกู ต้อง และมีความรวดเร็ว อยา่ งไรก็ดี ไมว่ า่ จะเป็น
งานชนดิ ใดกต็ าม เครอื่ งคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทำงานพ้นื ฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คอื

1. รบั ขอ้ มลู (Input) เครื่องคอมพิวเตอรจ์ ะทำการรบั ข้อมูลจากหน่วยรบั ขอ้ มลู (input unit) เชน่ คีบ
อร์ด หรอื เมาส์

2. ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพวิ เตอร์จะทำการประมวลผลกบั ข้อมูล เพื่อแปลงใหอ้ ยู่ในรปู
อื่นตามทตี่ อ้ งการ

3. แสดงผล (Output) เคร่อื งคอมพวิ เตอร์จะใหผ้ ลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายงั หน่วยแสดง
ผลลัพธ์ (output unit) เชน่ เครอ่ื งพมิ พ์ หรอื จอภาพ

4. เก็บขอ้ มูล (Storage) เครื่องคอมพวิ เตอร์จะทำการเก็บผลลัพธจ์ ากการประมวลผลไว้ในหนว่ ยเก็บ
ข้อมูล เพื่อใหส้ ามารถนำมาใช้ใหม่ไดใ้ นอนาคต

อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่าง
เครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล
(Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถ
สบื คน้ ขอ้ มูลและข่าวสารตา่ งๆ รวมทง้ั คดั ลอกแฟ้มขอ้ มูลและโปรแกรมมาใช้ได้

ทมี่ าของอินเตอรเ์ น็ต
อินเทอรเ์ นต็ เกิดขน้ึ ในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกดิ เครือข่าย ARPANET (Advanced

Research Projects Agency NETwork) ซง่ึ เป็นเครือขา่ ยสำนกั งานโครงการวิจัยชน้ั สูงของกระทรวงกลาโหม
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถปุ ระสงค์หลักของการสรา้ งเครือข่ายคือ เพื่อใหค้ อมพิวเตอร์สามารถเช่ือมต่อ
และมีปฏสิ ัมพันธก์ ันได้ เครอื ขา่ ย ARPANET ถือเป็นเครือขา่ ยเร่ิมแรก ซง่ึ ต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครอื ข่าย
อนิ เทอร์เนต็ ในปัจจบุ นั

2.4 ระบบการสบื ค้นผา่ นเครือข่ายเพื่อการเรยี นรู้
อนิ เทอร์เนต็ เปน็ แหล่งขอ้ มูลที่ทกุ คนสามารถเข้าถึงเพื่อคน้ หา แลกเปล่ยี น เรยี นรู้ ไดอ้ ยา่ งแทบไม่มี

ขดี จำกดั การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ เพ่อื ประโยชน์ดงั กล่าว จำเป็นท่เี ราจะต้องมีความรู้และทกั ษะในการค้นหาข้อมูล
(Search) ร้จู ักแหล่งเรยี นรู้ และวธิ ีการนำเสนอข้อมูลความร้แู ละผลงานอย่างเหมาะสม กจิ กรรมนจ้ี ะช่วยให้
เราสามารถใช้อินเทอรเ์ น็ตเป็นเคร่ืองมือในการสบื คน้ ข้อมลู ในหวั ขอ้ เรื่องทน่ี ักเรียนสนใจ และเปิดเวทีเพ่อื
นำเสนอผลงานของเราบนโลกออนไลน์ได้ (โดยการเลือกสรา้ งBlog หรือ Web Page)

อินเทอรเ์ น็ตมาใชใ้ นการศกึ ษาสามารถทำได้หลายรูปแบบด้วยกัน
การประยุกตน์ ็ตเป็นเครือข่ายทส่ี ามารถติดต่อสื่อสารกนั ได้กับแหล่งท่ีเชือ่ มต่อเข้าด้วยกัน สามารถ

สืบคน้ ขอ้ มูลได้และมีสถาบันต่าง ๆ ทงั้ ภาครัฐและเอกชนทวั่ โลกได้เชือ่ มเครอื ข่ายร่วมกัน จงึ เป็นแหลง่ ทจ่ี ะ
สบื ค้นขอ้ มูลเพ่ือนำมาศกึ ษาหาความรไู้ ด้ การนำอินเทอรเ์ น็ใชง้ านเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตทางการศึกษา ดงั นี้

การใช้เครอื ข่ายเพื่อการติดตอ่ ส่ือสารเป็นการตดิ ต่อระหว่างผู้เรยี นกับผู้สอน เพื่อส่งรายงาน การบ้าน
วิทยานิพนธ์ ในรูปแบบแฟ้มข้อมูล การเป็นสมาชิกกลุ่มสนทนาเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เผยแพร่
ผลงานวจิ ยั ช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกันทางดา้ นวชิ าการ และแจ้งขา่ วความเคล่อื นไหวทางวิชาการ

การใช้เครือข่ายเพื่อการสืบค้นข้อมูลซึ่งผู้เรียน นักวิจัย และ ผู้สอนสามารถสืบค้นจากฐานข้อมูลทาง
การศึกษา และOnline Library Catalog ของห้องสมุดต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงในอินเทอร์เน็ตจากประเทศในทวีป
ตา่ ง ๆ ทั่วโลก

การใช้เครือขา่ ยเพื่อการสอน หรือการสอนทางไกลโดยผ่านเครือข่าย โดยเปิดเปน็ หลักสตู รการสอนใน
ระดับปริญญาและในแบบประกาศนียบัตร เรียกว่าOnline Program ซึ่งผู้เรียนสามารถสมัครและเรียนผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนกิจกรรมการเรียนการสอน เอกสารและการติดต่อต่าง ๆ อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูล
อเิ ล็กทรอนิกส์

การใช้ Internet ในชวี ติ ประจำวนั ส่งผลในด้านการศึกษา เราต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพ่ือค้นควา้ หาข้อมูลได้ ไม่
ว่าจะเป็น ข้อมูลทางวิชาการจากท่ีต่าง ๆ ซงึ่ ในกรณนี ี้ อินเตอร์เน็ต จะทำหน้าท่เี หมอื นหอ้ งสมุด ขนาดยกั ษ์ ส่ง
ข้อมูลที่เราต้องการ มาให้ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ที่บ้านหรือที่ทำงานของเรา ไม่กี่วินาทีจากแหล่งข้อมูลทั่วโลก
ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม ศิลปกรรม สังคมศาสตร์ กฎหมาย ความบันเทิง และการ
พักผ่อนหย่อนใจ หรือสันทนาการ เช่น เลือกอ่านวารสารต่างๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต ที่เรียกว่า magazine แบบ
online รวมถึงหนงั สือพมิ พ์ และขา่ วสารอ่ืน ๆ โดยมภี าพประกอบบนจอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับหนังสอื

การใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตเพอ่ื การคน้ หาข้อมลู ในการเรยี นรู้ด้วยตนเอง

เน่อื งจากข้อมูลท่ีอยบู่ นเครือข่ายอนิ เตอร์เนต็ ในปจั จบุ ันมีมากมายและกระจดั กระจายอยู่ตามท่ีต่างๆ
ดงั นนั้ ผใู้ ชอ้ ินเตอรเ์ น็ตจึงจำเป็นต้องเรียนรวู้ ธิ กี ารใช้บริการอินเตอร์เน็ตและเลือกใช้ใหเ้ หมาะสม เพื่อการค้นหา
ข้อมูลในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล ศึกษา
คน้ ควา้ และวจิ ยั ไดห้ ลายวิธีด้วยกนั วิธที ่ีเป็นท่นี ยิ มมากท่ีสดุ ในปจั จบุ นั คือ

การสืบค้นทางเวิลด์ไวด์เว็บ เนื่องจากสามารถรองรับข้อมูลได้หลายๆ รูปแบบ และเชื่อมโยงข้อมูลท่ี
เกี่ยวเนื่องกันให้เราได้ศึกษาอย่างสะดวกสบาย และมีซอฟต์แวร์ สำหรับอ่านข้อมูลในเว็บที่สมบูรณ์แบบมาก
การค้นหาข้อมูล ในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น ( Search
engine) ซึ่งซอฟต์แวร์สำหรบั อ่านข้อมูลในเว็บ (Web Browser) ส่วนใหญ่บริการเชื่อมต่อกับเครื่องมือเหลา่ นี้
ไวใ้ หแ้ ล้ว ผู้ใชเ้ พียงแต่กดปมุ่ สำหรบั เรียกเครื่องมอื นี้ข้นึ มา พมิ พ์คำ หรอื ข้อความท่ีต้องการสืบคน้ ลงไป เครือ่ งก็
จะแสดงผลการค้น โดยการแสดงชื่อของข้อมูลที่เราต้องการศึกษา (Web Page) ซึ่งถ้าต้องการเข้าไปอ่าน ก็
สามารถกดลงไปบนชื่อนั้นได้เลย ข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏบนจอไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์
เครอ่ื งใดในโลกก็ตาม

นอกจากนี้การเข้าใช้คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ที่ต่ออยู่กับเครือข่าย และมีการอนุญาตให้เข้าไปใช้ได้
เช่น การติดตอ่ เขา้ สู่เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ของหอ้ งสมุดเพื่อคน้ หา ยมื ต่อเวลาการยมื หรอื การจองหนังสอื ส่งิ พิมพ์
ต่าง ๆ ก็เป็นที่นิยมกันมาก ปัจจุบันมีห้องสมุดหลายแห่งเปิดให้บริการบริการนี้สามารถเข้าใช้ได้โดยการ ใช้
คำสั่ง Telnet และตามดว้ ยช่อื เครือ่ ง หรอื หมายเลขของเคร่ืองแล้วพมิ พ์ชื่อในการขอเขา้ ใช้ (Login) บางเคร่ือง
อาจต้องใช้รหัสลับ (Password) ด้วย หลังจากนั้นต้องทำตามคำสั่งที่ปรากฏบนจอ ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่
ละระบบของเคร่ือง นอกจากหอ้ งสมดุ แล้ว เราอาจจะใช้คอมพวิ เตอร์ท่ีเป็นฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้ด้วย โดยในบาง
ฐานข้อมูล นอกจากผู้ใช้จะเข้าไปค้นหาบทความที่เคยตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ แล้วยังสามารถใช้บริการพิเศษ
อื่น ๆ เช่น บริการส่งอีเมล์แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับบทความใหม่ ๆ ที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารการศึกษาที่สนใจเล่ม
ล่าสุด โดยต้องมีการกำหนดชื่อของวารสารที่สนใจไว้ล่วงหน้า หรือ มีบริการส่งแฟกซ์ บทความนั้นใหแ้ ก่ผู้ใช้ท่ี
สนใจ

อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีมีบทบาทในยคุ นี้ โดยการนำความรู้ การเช่ือมโยงแหลง่ ความรู้
มาประกอบกนั เพอื่ ให้ผเู้ รียน ทต่ี ้องการเรียนรใู้ หเ้ ขา้ ถงึ ได้จึงนบั ว่าเปน็ ประโยชนต์ ่อวงการศึกษาในการใช้สืบค้น
ข้อมูลต่างๆจากความจำเป็นและความสำคญั ของอินเทอร์เน็ตดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาพฤตกิ รรมการ
ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเพื่อการศกึ ษาของนักศกึ ษาสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผลการวจิ ยั
ครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อสถาบันเพื่อใช้ในการวางแผนการบริหารจัดการและการลงทุนด้านเทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอื่ เป็นประโยชน์สำหรับตัวเราเอง

การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพือ่ การศึกษา

ยุคแห่งสังคมความรู้เป็นยุคที่นักการศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างย่ิง
อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางของการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลก เราต่างก้าวหน้าผ่านยุคแห่ง
สังคมข่าวสารมาแล้วซึ่งท าให้ประจักษ์ได้ว่าข่าวสารต่าง ๆ นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้าน
เศรษฐกจิ สังคมการศึกษา และอนื่ ๆ ได้นั้น ต้องอาศัยความร้ใู นการจัดการ

การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีความหมายครอบคลุมกิจกรรมด้านการศึกษาที่ถูกวางรูปแบบโดย
ครูผู้ทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เนื่องจากรูปแบบการส่ือสารและการควบคุมนักเรียน
ทางไกลแบบOnline มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียนซึ่งท ากันเป็นปกติ ดังนั้น
เป้าหมายของการศึกษาผ่านอนิ เทอร์เน็ตจงึ ประกอบด้วยวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ ได้แก่การสร้างกิจกรรม
การเรียนการสอนผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับระดับผู้เรียน การเสริมทักษะและความรู้เพ่ือใหค้ รู
สามารถดำเนินการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ การกำหนดเป้าหมาย
การศึกษาเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอน

การสรา้ งกิจกรรมการเรยี นการสอนผา่ นเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต กิจกรรมการศึกษาในระบบเครอื ข่าย

อนิ เทอรเ์ น็ตสามารถแสดงความสัมพนั ธ์ของกิจกรรมตา่ ง ๆ เพราะจ านวนของผู้ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ตอ่ การ
ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ การศึกษามคี วามสมั พันธ์กนั ในอัตราสว่ นทลี่ ดลงโดยพบวา่ ข้นั พ้ืนฐานจะมีจ านวนประชากร
ที่ใช้อินเทอร์เน็ตมาก จำนวนของผู้ใช้ที่มีทักษะ หรือความสามารถในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตกลับมี
จำนวนที่ลดลงจากข้อเทจ็ จริงดังกล่าวทำให้วธิ ีการที่จะสร้างให้มีกิจกรรมเพือ่ การศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตอย่าง
ได้ผล จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการวางแผนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เป็นบริการสาธารณูปโภคของ
ประเทศที่มีประสิทธิภาพให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเวลาอันรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ซึ่งปัจจุบันมหาวิทยาลัย
ตา่ ง ๆ ไดร้ ับการสนับสนุนจากทบวงหาวิทยาลยั (Uninet) ส่วนโรงเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาก็ได้รบั การสนับสนุน
จาก SchoolnetThailand เช่นกัน การบริการอินเทอร์เน็ตระดับพื้นฐาน แต่ละขั้นจะมีรูปแบบของกิจกรรม
การศกึ ษาทีแ่ ตกต่างกัน

การใช้ระบบเครือข่ายระดับพื้นฐานคือการใช้อินเทอร์เน็ตตามโครงสร้างของสาธารณูปโภคที่มีใช้กัน
อยู่ในทุกแห่งสาเหตทุ จี่ ะทำให้ กลมุ่ ผใู้ ช้ทยี่ ังไมร่ ูจ้ กั เครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ เปลีย่ นเจตคตมิ ายอมรบั เพื่อเขา้ ร่วมใน
การใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน่าจะเป็นเพราะความสามารถในการสื่อสารระหว่างบุคคล และ
ความสามารถของอนิ เทอร์เนต็ ในการเข้าถงึ ข้อมูลท่ีมีอยใู่ นคอมพิวเตอร์เครื่องอ่นื ๆ ทวั่ โลกดว้ ยเวลาอันรวดเร็ว
ด้วยเหตุนจ้ี งึ สามารถแบ่งบรกิ ารท่ีมีอยู่ในเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตได้วา่ เป็นบรกิ ารด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล
ต่อบุคคล และบุคคลต่อกลุ่มบุคคล เป็นบริการเพื่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูล การใช้อินเทอร์เน็ตในปัจจุบันท่ี
สามารถนำมาเป็นตัวอย่างได้แก่ การใช้ e-mail ในการสื่อสารระหว่างบุคคล การใช้ WWW เพื่อสืบหาและ
เข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆการเข้าถึงแหล่งข้อมูลและความรู้ ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตถูกนำมาใช้เพื่อการสืบค้น
ข้อมูลมากที่สุด ซึ่งผู้ใช้ที่มอี าชีพแตกต่างกันย่อมใช้บริการที่มีอยูใ่ นปรมิ าณต่างกัน บ้างเป็นการสืบค้นข้อมูลท่ี
เป็นตัวอักษร บ้างก็เป็นข้อมูลที่นำเสนอในรูปแบบของมัลติมีเดีย ที่ล้วนแต่แปลงเป็นสัญญา ณดิจิตอลแล้ว
ทั้งสิ้นทางด้านการศึกษา อาจจะคล้ายคลึงกับการไปห้องสมุดที่หาตำรา วารสาร โดยที่มีบรรณารักษ์คอยให้
คำปรึกษา เพื่อจะได้ข้อมูลและความรู้ที่ต้องการ การใช้ข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียว เพราะผู้ใช้
สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ทันที สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตได้แม้จะอยู่ต่างสถานที่ก็ตาม
เว้นเสียแต่ว่าในการศึกษาครั้งนั้นมีจดุ ประสงค์แตกตา่ งกันการร่วมกันใชข้ ้อมูล แหล่งความรู้ การร่วมใช้ข้อมูล
และแหล่งความรู้เป็นเร่ืองปกติของกลุม่ ผู้ใช้ที่ต้องการจะมีประสบการณ์ด้านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
ข้อมูลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต โดยทั่วไปแลว้ ผู้ใช้จะไมเ่ พียงแต่มีปฏิสัมพันธก์ ับข้อมูลหรือผู้เชี่ยวชาญเพยี งลำพัง
เทา่ นนั้ แตจ่ ะเขา้ ร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต เช่น การแสดงความคิดเห็น การสนทนา ผ่านเครือข่ายกบผู้ท่ีมี
ความสนใจในเรื่องเดียวกัน การสมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์กรต่าง ๆ เพื่อร่วมกันใช้ข้อมูลหรือร่วมแสดงความ
คิดเห็นการร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ปัจจุบันมีรูปแบบของการร่วมกันในเครือข่ายอยู่ 3
รูปแบบได้แก่ การร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ซึ่งเป็นการท างานระหว่างบุคคล ที่ยังบกพร่องใน
รปู แบบท่ีเหมาะสมแมจ้ ะมีจุดหมายเพ่ือการใช้ข้อมูลร่วมกันกต็ าม ยอ้ นกลบั ไปยังประเดน็ การศึกษาซึ่งเป็นการ

รวมกันระหว่างการเรียนในโรงเรียนหรือการเรียนทางไกลส าหรับผู้ใหญ่ที่จ าเป็นจะต้องมีการสื่อสารกัน
ตลอดเวลาครูผู้สอนตอ้ งจดั โปรแกรม กิจกรรมการเรยี นการสอน และการแลกเปลย่ี นข้อมลู เพื่อใหก้ ระบวนการ
เรียนรู้ สำหรับการเรียนของนักเรียนก็เช่นกันที่ต้องจัดให้มีกิจกรรมที่จะร่วมกันทำงานกับผู้อื่น เพื่อให้เกิด
บุคลิกภาพของการรว่ มกนั ทำงาน หรือตอ้ งการใหส้ รา้ งสงั คมของการเรียนรู้แบบร่วมมือนัน้ เอง

2.5 .การสืบค้น และรับส่งข้อมูล แฟ้มข้อมูล และสารสนเทศเพ่อื ใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้
การสบื คน้ ข้อมลู บนอินเทอร์เน็ต

ในโลกไซเบอร์สเปซมขี ้อมลู มากมายมหาศาล การทจี่ ะค้นหาข้อมูลจำนวนมากมายอยา่ งนเี้ ราไม่
อาจจะคลกิ เพ่อื คน้ หาข้อมลู พบได้งา่ ยๆ จำเปน็ จะต้องอาศัยการคน้ หาข้อมูลดว้ ยเคร่ืองมือค้นหาทเ่ี รียกวา่
Search Engine เข้ามาชว่ ยเพอ่ื ความสะดวกและรวดเรว็ เว็บไซต์ท่ีใหบ้ ริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายท่ีทัง้
ของคนไทยและ ถ้าเราเปิดไปทลี ะหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาขอ้ มูลที่เราตอ้ งการไม่
พบ การทีเ่ ราจะคน้ หาข้อมลู ให้พบอย่างรวดเร็วจงึ ตอ้ งพง่ึ พา Search Engine Site ซ่งึ จะทำหน้าทร่ี วบรวม
รายช่อื เว็บไซตต์ ่างๆ เอาไว้ โดยจดั แยกเป็นหมวดหมู่ ผใู้ ช้งานเพียงแต่ทราบหวั ข้อที่ต้องการค้นหาแล้วปอ้ น คำ
หรือข้อความของหวั ข้อนัน้ ๆ ลงไปในช่องทก่ี ำหนด คลกิ ปุ่มคน้ หา เทา่ นั้น รอสักครขู่ ้อมลู อยา่ งย่อๆ และรายช่ือ
เวบ็ ไซต์ทเี่ กยี่ วขอ้ งจะปรากฏใหเ้ ราเขา้ ไปศกึ ษาเพิ่มเตมิ ได้ทันที

ความหมายของการรับ-สง่ ข้อมูลบนเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็
การรับ-สง่ ข้อมูลบนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ โดยใชจ้ ดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรือท่ี

นิยมเรยี กกันวา่ อเี มล (E-Mail) หมายถงึ การส่ือสารหรือการสง่ ขอ้ ความจากคอมพวิ เตอร์เครือ่ งหน่ึงผา่ นไปเข้า
เครอื่ งคอมพวิ เตอรอ์ ีกเคร่ืองหนึง่ โดยสง่ ผา่ นทางระบบเครือข่าย (Network) ผู้สง่ จะต้องมีเลขที่อยู่ (E-mail
Address) ของผู้รบั และผู้รับสามารถเปดิ คอมพิวเตอรเ์ รียกขา่ วสารนนั้ ออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยท่วั ไปจัดวา่ เป็น
งานสว่ นหน่งึ ของสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automatic) ซึง่ ปัจจุบันได้รบั ความนยิ มเป็นอย่างมาก

ประโยชนข์ องการรบั -ส่งข้อมูลทางจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์
การรบั -ส่งขอ้ มลู ทางจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ ถือว่าเป็นสว่ นสำคัญในการส่ือสารบนเครือข่าย

อินเทอร์เน็ตท่ีนยิ มใช้มากทส่ี ดุ เพราะมปี ระโยชน์มากมาย ดงั นี้

1. ทำใหก้ ารตดิ ตอ่ ส่อื สารทวั่ โลกเป็นไปอยา่ งรวดเรว็ ระยะทางไมเ่ ปน็ อปุ สรรคสำหรบั อีเมลในทกุ
แหง่ ท่ัวโลกท่มี ีเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เช่ือมต่อถงึ กนั ได้ สามารถเข้าไปสถานทเ่ี หลา่ นั้นได้ทุกที่ ทำให้ผคู้ นทัว่ โลก
ติดต่อถึงกนั ได้ทันที ผรู้ ับสามารถจะรับข่าวสารจากอเี มลได้ทนั ทีทผ่ี สู้ ่งจดหมายสง่ ขอ้ มูลผ่านทางคอมพิวเตอร์
เสร็จส้นิ

2. สามารถสง่ จดหมายถงึ ผรู้ บั ท่ีต้องการได้ทุกเวลา แม้ผู้รบั จะไม่ได้อยู่ที่หนา้ จอคอมพวิ เตอร์ก็ตาม
จดหมายจะถูกเก็บไวใ้ นตจู้ ดหมายของคอมพิวเตอร์และเปน็ สว่ นตวั จนกว่าเจ้าของจดหมายทม่ี ีรหัสผ่านจะเปดิ
ตูจ้ ดหมายของตนเองอ่าน

3. สามารถส่งจดหมายถึงผรู้ บั หลายๆคนไดใ้ นเวลาเดียวกนั โดยไม่ตอ้ งเสียเวลาสง่ ให้ทีละคน กรณีน้ี
จะใช้กับจดหมายทเ่ี ปน็ ข้อความเดยี วกัน เชน่ หนงั สอื เวยี นแจง้ ขา่ วให้สมาชกิ ในกลุม่ ทราบหรือเปน็ การนดั
หมายระหวา่ งสมาชิกในกลมุ่ เป็นต้น

4. ชว่ ยประหยัดเวลาในการเดนิ ทางไปส่งจดหมายทต่ี ู้ไปรษณียห์ รอื ทีท่ ำการไปรษณยี ์ ทำให้
ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยในการส่ง เน่อื งจากไม่ต้องคำนงึ ถึงปรมิ าณนำ้ หนักและระยะทางของจดหมายเหมอื นกับการ
สง่ ทางไปรษณียธ์ รรมดา

5. ผ้รู บั จดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทกุ เวลาตามสะดวก ซงึ่ จะทำให้ทราบวา่ ในตู้จดหมาย
ของผรู้ ับมีจดหมายกี่ฉบับ มจี ดหมายทีอ่ ่านแลว้ หรอื ยังไม่ได้เรียกอา่ นกี่ฉบบั เมื่ออ่านจดหมายฉบบั ใดแล้ว หาก
ตอ้ งการลบทิง้ กส็ ามารถเกบ็ ข้อความไวใ้ นรปู ของแฟ้มข้อมลู ได้ หรอื จะพมิ พ์ออกมาลงกระดาษก็ไดเ้ ชน่ กัน

6. สามารถถา่ ยโอนแฟ้มข้อมลู (Transferring Flies) แนบไปกับจดหมายถึงผู้รบั ได้ ทำให้การ
แลกเปลีย่ นข่าวสารเป็นไปได้โดยสะดวก รวดเรว็ ทนั เวลาและทันเหตกุ ารณ์ จากความสำคัญของอีเมลท่ี
สามารถอำนวยประโยชนใ์ หก้ ับผ้ใู ชอ้ ย่างคุ้มค่าน้ี ทำให้ในปัจจุบนั อีเมลกลายเปน็ สว่ นหนึ่งของสำนักงานทุก
แหง่ ทวั่ โลก ทที่ ำให้สมาชิกในชุมชนโลกสามารถตดิ ต่อกนั ผ่านทางคอมพวิ เตอร์ไดใ้ นทุกท่ีทุกเวลา

2.6 วิวฒั นาการของสารสนเทศ
ในระบบสารสนเทศนั้นจะมีการนำขอ้ มูลต่างๆ มาประมวลผลให้ขอ้ มูลน้ันเป็นประโยชน์ต่อการ

นำไปใชง้ าน ในอดีตที่ยังไม่มีคอมพวิ เตอร์ก็ยังมีเคร่ืองมอื อ่นื มาชว่ ยในการประมวลผลข้อมูลและช่วยในการ
สรา้ งผลผลิตได้ จนถงึ ปัจจุบนั ไดม้ กี ารนำคอมพวิ เตอร์มาช่วยประมวลผลขอ้ มลู ก็ทำให้ระบบสารสนเทศนี้
พัฒนาไปได้มากขึ้นชว่ ยให้การดำเนนิ ชีวิตของมนุษยด์ ีขึน้

ในโลกของเราได้มีการนำเครอ่ื งมอื มาชว่ ยในการดำรงชวี ิตมากมาย จนในปจั จบุ นั ถือไดว้ ่าเป็นยุคของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หากแบ่งววิ ฒั นาการของยุคสารสนเทศจะแบง่ ได้ดงั นี้
โลกยคุ กสิกรรม (Agriculture Age)

ยุคนน้ี ับตัง้ แต่กอ่ นปี ค.ศ.1800 ถอื ว่าเป็นยคุ ทีก่ ารดำเนนิ ชีวติ ของมนุษยข์ ึน้ อยู่กบั การทำนา ทำสวน
ทำไร่ โลกในยคุ นีย้ ังมีการซอื้ ขายสินคา้ ระหว่างกัน แตก่ เ็ ป็นสินค้าเกษตรเป็นหลัก มกี ารนำเครื่องมือเครอ่ื งทุน่
แรงมาใช้งานให้ได้ผลผลติ ดขี ้ึน ในระบบหนง่ึ ๆ จะมีผู้รว่ มงานเปน็ ชาวนา ชาวไร่ เปน็ หลกั

ยคุ อุตสาหกรรม (Industrial Age)ยคุ นีจ้ ะนับตงั้ แตป่ ี ค.ศ.1800 เป็นตน้ มา โดยในประเทศองั กฤษได้
นำเครอื่ งจักรกลมาช่วยงานทางด้านเกษตร ทำให้มีผลผลิตมากขึน้ และมผี ูร้ ่วมงานในระบบมากข้นึ เร่ิมมี
โรงงานอตุ สาหกรรม เริ่มมีคนงานในโรงงาน ต่อมาการนำเครือ่ งจักรกลมาใชง้ านนี้ไดข้ ยายไปส่ปู ระเทศตา่ งๆ
และได้มกี ารแปรรูปผลิตผลทางดา้ นการเกษตรออกมามากขึ้น และเคร่ืองจักรกลกเ็ ปน็ เคร่อื งมือทที่ ำงาน
รว่ มกับมนุษย์ และเรม่ิ มีโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น ซงึ่ ทำให้โลกของเรามีทงั้ ภาคอุตสาหกรรมและภาค
เกษตรกรรมควบคู่กันไป

ยคุ สารสนเทศ (information Age)ยุคน้จี ะนับตง้ั แตป่ ระมาณปี ค.ศ.1957 จากที่การทำงานของ
มนุษยม์ ีท้ังด้านเกษตรและด้านอตุ สาหกรรม ทำให้คนงานต้องมีการส่ือสารกนั มากข้ึน ต้องมคี วามรู้ ในการใช้
เคร่ืองจักรกล ตอ้ งมีการจดั การข้อมูลเอกสาร ข้อมลู สำนกั งาน งานดา้ นบัญชี จึงทำให้มีคนงานส่วนหน่ึงมา
ทำงานในสำนักงาน คนงานเหลา่ นีถ้ อื ว่าเป็นผทู้ ่ีมีความรู้และต้องทำหนา้ ท่ีประสานงานระหวา่ งฝา่ ยผลติ และ
ลูกคา้ ทำให้มกี ารพัฒนาเครื่องมือต่างๆ มาช่วยในการประมวลผล จัดการให้ระบบงานมีประสิทธิภาพดขี นึ้ ทำ
ใหเ้ กดิ การใชเ้ ครอ่ื งมือทางดา้ นสารสนเทศขึน้ มา ซึ่งถือว่าเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เมือ่ เขา้ สยู่ ุคสารสนเทศ องค์กรต่างๆ ท่นี ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจดั การงานประจำวนั จะ
ทำงานไดส้ ำเรจ็ เร็วขึน้ การผลดิ ทำได้รวดเร็วขึน้ เนื่องจากผู้ผลิตสามารถประมวลผลข้อมูลต่างๆ ได้เรว็ ข้ึน มี
การนำระบบอตั โนมตั ดิ ้านการผลติ มาใช้ มรี ะบบบัญชี และมโี ปรแกรมที่ทำงานเฉพาะด้านมากขึน้

2.7 สาเหตุที่ทำใหเ้ กดิ สารสนเทศ
1. เมื่อมีวทิ ยาการความรู้ หรือสง่ิ ประดิษฐ์ หรือผลติ ภัณฑใ์ หม่ๆ พร้อมกันนั้น กจ็ ะเกิด สารสนเทศมา

พรอ้ มๆ กนั ดว้ ย จากนน้ั ก็จะมีการเผยแพร่ หรือกระจายสารสนเทศ เก่ยี วกบั วิทยาการความรู้ หรอื
ส่งิ ประดิษฐ์ ผลติ ภณั ฑ์ ชนดิ นั้นๆไปยงั แหลง่ ตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง

2. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ เป็นเคร่ืองมอื สำคัญในการผลิตสารสนเทศ เน่อื งจากมี ความสะดวกในการ
ปอ้ น ขอ้ มูล การปรบั ปรงุ แก้ไข การทำซ้ำ การเพิม่ เติม ฯลฯ ทำให้มีความ สะดวกและงา่ ยตอ่ การผลิต
สารสนเทศ

3. เทคโนโลยีส่ือสารยคุ ใหม่มีความเร็วในการสอ่ื สารสูงข้นึ สามารถเผยแพรส่ ารสนเทศ จากแหล่งหนึ่ง
ไปยงั สถานทตี่ ่างๆ ท่ัวโลกในเวลาเดียวกนั กบั เหตุการณ์ที่เกดิ ขนึ้ จรงิ อีกทง้ั สามารถสง่ ผ่านข้อมูลได้อย่าง
หลากหลาย รูปแบบ พร้อมๆ กนั ในเวลาเดียวกัน

4. เทคโนโลยกี ารพิมพท์ ่ีมีความสามารถในการผลิตสารสนเทศสูงขึ้น สามารถผลิตสารสนเทศได้ครัง้
ละจำนวน มากๆ ในเวลาสั้นๆ มีสสี นั เหมือนจรงิ ทำให้มปี ริมาณสารสนเทศใหมๆ่ เกิดขนึ้ อยู่ตลอดเวลา

5. ผู้ใชม้ ีความจำเป็นต้องใชส้ ารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา เพื่อการคน้ คว้าวจิ ัย เพ่ือการ พัฒนาคณุ ภาพ
ชวี ติ เพ่ือการ ตดั สนิ ใจ เพื่อการแก้ไขปญั หา เพื่อการปฏบิ ตั ิงาน หรอื ปรับปรุง ประสิทธิภาพการปฏบิ ัติงาน,
การบริหารงาน ฯลฯ

6. ผู้ใชม้ คี วามตอ้ งการใช้สารสนเทศ เพื่อตอบสนองความสนใจ ต้องการทราบแหลง่ ทอี่ ยู่ของ
สารสนเทศ ต้องการเข้าถึงสารสนเทศ ตอ้ งการสารสนเทศทม่ี าจากต่างประเทศ ต้องการสารสนเทศอย่าง
หลากหลาย หรือตอ้ งการ สารสนเทศอยา่ งรวดเร็ว เปน็ ต้น

2.8 ความหมายของคำวา่ ข้อมูล
ข้อมลู (Data) คือ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เร่ืองราวที่เก่ยี วข้องกับส่ิงตา่ ง ๆ เชน่ คน สัตว์ สง่ิ ของสถานท่ี ฯลฯ

โดยอยู่ในรูปแบบทีเ่ หมาะสมตอ่ การส่ือสาร การแปลความหมาย และการประมวลผล ซ่ึงขอ้ มลู อาจจะได้มา
จากการสงั เกต การรวบรวม การวัดขอ้ มูล เปน็ ได้ทั้งข้อมลู ตัวเลข ภาพ เสยี ง หรอื สัญญลกั ษณใ์ ด ๆ ท่สี ำคัญ
จะต้องมีความเป็นจรงิ และต่อเน่อื ง ซ่ึงตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรยี น เพศ อายุ เปน็ ต้น

สารสนเทศ (Information) คือ ขอ้ มูลที่ไดผ้ ่านกระบวนการประมวลผล อาจใชว้ ธิ ีงา่ ย ๆ เช่น หา
ค่าเฉล่ียหรือใชเ้ ทคนคิ ขน้ั สงู เชน่ การวจิ ยั ดำเนนิ งาน เป็นต้น เพ่ือเปลย่ี นแปลงสภาพข้อมลู ทวั่ ไปให้อยูใ่ น
รูปแบบทมี่ คี วามสัมพันธห์ รือมีความเกี่ยวข้องกัน เพ่ือนำไปใชป้ ระโยชน์ในการตดั สินใจให้ตอบปัญหาตา่ ง ๆ ได้
ซ่งึ สารสนเทศประกอบดว้ ยข้อมลู เอกสาร เสยี ง หรือรูปภาพตา่ ง ๆ แต่จัดเนื้อเร่ืองให้อยู่ในรูปท่มี คี วามหมาย
โดยข้อมูลทีเ่ ราพบเหน็ ทุกวันนี้ มีหลายรูปแบบ เช่น เป็นตวั เลข ข้อความ รปู ภาพ เสยี งตา่ ง ๆ เราสามารถรับรู้
ขอ้ มูลได้จากสว่ นต่าง ๆ ไมว่ า่ จะรับรู้ข้อมูลทางตา ทางหู ทางมอื ทางจมูก และทางปาก
ชนิดของข้อมลู
1. ขอ้ มลู ตัวเลข ประกอบดว้ ยตวั เลขเท่านน้ั เชน่ 145 2468 เปน็ ต้น มักจะนำมาใชใ้ นการคำนวณ

2. ข้อมลู อักขระ ประกอบด้วยตัวอักษร ตวั เลข และอักขระพิเศษหรือเคร่ืองหมายต่าง ๆ เชน่ บ้านเลขที่ 13/2
เป็นตน้
3. ขอ้ มูลภาพ รับร้จู ากการมองเหน็ เชน่ ภาพบุคคล ภาพสัตว์ตา่ ง ๆ
4. ขอ้ มลู เสยี ง รบั รจู้ ากทางหูหรือการได้ยิน เช่น เสียงพูด เสียงเพลง เปน็ ต้น
ความสำคญั ของข้อมูล

ขอ้ มูลเปน็ ส่ิงสำคัญมาก มนุษยไ์ ด้นำข้อมูลไปใช้ประโยชนม์ ากมายท้ังในชวี ิตประจำวนั และในการ
ปฏบิ ัติงาน สำหรบั ในชวี ติ ประจำวันนนั้ ขอ้ มูลจากหนงั สือพิมพ์ทำให้เราทราบเร่ืองราวความเปน็ ไปตา่ ง ๆ ท่ี
เกิดขนึ้ ไม่วา่ จะเปน็ ขา่ วการเมอื ง ขา่ วสงั คม ข่าวการศึกษา และเราอาศยั ข้อมูลเหลา่ นีม้ าประกอบการ
ดำรงชวี ติ เช่น ขา่ วการเดินทาง เรือตอ่ รถ รถต่อเรือ ทำให้เราทราบว่าในเสน้ ทางดังกลา่ วมีรถสายอะไรผา่ น
หากจำเป็นต้องเดินทางน่ันเอง

ประโยชนข์ องข้อมูล

1. ด้านการเรียน เช่น ขอ้ มูลท่ีได้จากโทรทัศน์ วทิ ยุ หนังสือพิมพ์ มาใชป้ ระโยชนใ์ นการเรยี นหรือเป็นความรู้
เพม่ิ เติม
2. ด้านการติดตอ่ สื่อสาร เชน่ ถ้าเรามีข้อมูล เราสามารถท่ีจะสนทนาพูดคุย หรือบอกเรือ่ งตา่ ง ๆ ใหก้ บั ผู้อ่ืนได้
3. ดา้ นการตัดสนิ ใจ เปน็ การใชช้ ว่ ยให้เราตัดสนิ ใจตา่ ง ๆ ได้ดีข้ึน เช่น การเลอื กซ้อื ของเล่น ถ้าเราทราบราคา
ของเลน่ ในแต่ละร้าน จะทำให้เราเลอื กซื้อของเล่นท่ีเหมือนกันได้ในราคาที่ถกู ท่ีสดุ

2.9 ชนิดของข้อมลู
ข้อมูลแบ่งเปน็ 2 ชนิด

1. ชนดิ ของข้อมลู แบ่งตามแหลง่ ท่ีมาของข้อมูล

2. ชนิดของขอ้ มลู แบ่งตามรปู แบบการแทนข้อมูล

ผลการค้นหารปู ภาพสำหรบั ข้อใดเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือทุตยิ
ภมู ิ

1. ชนดิ ของข้อมลู แบง่ ตามแหล่งที่มาของข้อมูล

ข้อมลู ทแ่ี บ่งตามแหลง่ ท่ีมา มี 2 ชนิด คือ

1.1 ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (Primay data)

ข้อมูลปฐมภมู ิ คือ ขอ้ มลู ที่เก็บรวบรวมมาจากแหลง่ ข้อมูลช้นั ตน้ ท่ีไดม้ าจากแหล่งข้อมลู โดยตรง เชน่
ขอ้ มลู นักเรียนที่ไดม้ าจากการตอบแบบสอบถาม การสำรวจ การสมั ภาษณ์ การวัด การสังเกต การทดลอง
ข้อมลู สินค้าทไี่ ด้จากการใชเ้ ครือ่ งอ่านบาร์โคด้ ข้อมลู บัตรเอทีเอ็มที่ไดจ้ ากเคร่ืองอ่านแถบแมเ่ หล็ก ข้อมูลท่ีได้
จะมีความถูกต้อง ทันสมยั และเปน็ ปัจจุบันมากกวา่ ข้อมูลทุติยภมู ิ

1.2 ข้อมูลทตุ ยิ ภมู ิ (secondary data)

ข้อมูลทตุ ยิ ภมู ิ คอื ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากแหลง่ ทร่ี วบรวมขอ้ มูลไว้แลว้ โดยมผี หู้ นึ่งผใู้ ด หรอื หน่วยงานได้ทำ
การเก็บรวบรวมหรือเรยี บเรยี งไว้ ซ่งึ ข้อมูลเหล่าน้นั สามารถนำมาใช้อ้างไดเ้ ลย เช่น ขอ้ มูลสำมะโนประชากร
สามารถอา้ งอิงไดจ้ ากสำนกั งานสถติ ิแห่งชาติ ข้อมลู ปรมิ าณนำ้ ฝนจากกรมชลประทาน ข้อมูลทางสถติ ิต่าง ๆ ท่ี
มีการบนั ทึกไว้แล้ว ข้อมลู จากรายงานการวิจัยและบันทึกการนิเทศ

การท่จี ะตัดสินใจวา่ ข้อมูลไหนเป็นข้อมลู ปฐมภมู ิหรือขอ้ มลู ทุติยภูมิน้ัน มีหลักสงั เกต คือ ถ้าเป็นข้อมลู
ปบมภมู ิจะต้องเปน็ ข้อมูลที่ผเู้ ขยี นหรือผปู้ ระเมินผลได้พบเหตุการณต์ ่าง ๆ ลงมือสำรวจศึกษาคน้ ควา้ หรอื เป็น
การแสดงความคดิ เห็นเริม่ แรกด้วยตนเอง มิได้คดั ลอกจากผู้อนื่ แตถ่ า้ เป็นขอ้ มูลท่ีได้คัดลอกมาจากบุคคลอ่นื
แล้วนำมาเรียบเรยี งใหม่ ถือว่าเปน็ ขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิ

2. ชนดิ ของข้อมูลแบง่ ตามรปู แบบการแทนข้อมลู
ขอ้ มูลมีรูปแบบทแ่ี ตกต่างกัน ตามลักษณะและแหลง่ กำเนิดของขอ้ มลู เพ่ือใหส้ ามารถใช้คอมพิวเตอร์

เปน็ เคร่อื งมอื ในการประมวลผลข้อมูล จำเป็นต้องมีการแทนขอ้ มูลเหล่านนั้ ให้อยู่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง

ข้อมลู ที่แบง่ ตามรปู แบบการแทนข้อมลู มี 2 ชนิด คือรปู ภาพท่เี กีย่ วข้อง

2.1 ขอ้ มลู ชนดิ จำนวน (numeric data) หมายถงึ ข้อมลู ทส่ี ามารถนำไปคำนวณได้ ข้อมลู ชนิดน้ีมี
2 รูปแบบ คอื จำนวนเต็ม หมายถงึ ตัวเลขท่ีไม่มีจุดทศนยิ ม เช่น 12, 9, 137, -46
ทศนิยม หมายถึง ตัวเลขทีม่ จี ุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำนวนเต็ม เชน่ 12.0 หรอื เปน็ จำนวนทมี่ ที ศนยิ ม
กไ็ ด้ เชน่ 12.765
ทศนิยมนีส้ ามารถเขยี นได้ 2 รูปแบบ คือ
แบบท่ใี ช้กนั ทัว่ ไป เชน่ 9.0, 17.65, 119.3257, -17.05
แบบทใ่ี ชใ้ นงานทางวิทยาศาสตร์ เช่น 123.0 x 10(ยกกำลัง 4) ซง่ึ หมายถงึ 1230000.0
ตัวอยา่ งข้อมูลชนิดจำนวน เชน่ อายุของนกั เรียน นำ้ หนัก สว่ นสงู และคะแนนเฉลย่ี

2.2 ขอ้ มลู ชนิดอักขระ (character data) หมายถงึ ขอ้ มลู ทไ่ี มส่ ามารถนำไปคำนวณไดแ้ ตอ่ าจนำไป

เรยี งลำดับได้ ข้อมลู อาจเปน็ ตัวหนงั สอื ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เชน่ COMPUTER, ON-LINE, 171101,
&76 ตวั อยา่ งข้อมลู ชนดิ อักขระ เชน่ ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์

2.10 .กรรมวิธีการจัดการข้อมลู
การจดั การข้อมูลให้มคี ุณค่าเปน็ สารสนเทศ กระทำได้โดยการเปลีย่ นแปลงสถานภาพของข้อมลู ซงึ่ มี

วธิ ีการ หรอื กรรมวิธดี ังต่อไปน้ี (Kroenke and Hatch1994 : 18-20)
1.การรวบรวมขอ้ มูล (Capturing/gathering/collecting Data) ทีต่ ้องการจากแหล่งตา่ งๆ โดยการเคร่ืองมือ
ช่วยคน้ ทีเ่ ป็นบตั รรายการ หรือ OPAC แล้วนำตัวเลม่ มาพจิ ารณาวา่ มีรายการใดที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

2.การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเนื้อหาของข้อมลู ทห่ี ามาได้ ในประเด็นของ
ความถูกตอ้ งและความแมน่ ยำของเน้ือหา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ หรือแผนท่ี กับเน้ือหา

3.การจดั แยกประเภท/จัดหมวดหมขู่ อ้ มูล (Classifying Data) เม่ือผา่ นการตรวจสอบความถกู ต้อง สอดคล้อง
กัน ของเนื้อหาแล้ว นำข้อมลู ตา่ งๆ เหลา่ น้นั มาแยกออกเป็นกอง หรือกลุม่ ๆ ตามเร่ืองราวทีป่ รากฏในเนอ้ื หา

4.จากนนั้ กน็ ำแตล่ ะกอง หรอื กลุม่ มาทำการเรียงลำดับ/เรียบเรยี งขอ้ มูล (Arranging/sorting Data) ใหเ้ ปน็ ไป
ตามความเหมาะสมของเนือ้ หาว่าจะเรม่ิ จากหวั ข้อใด จากน้ันควรเปน็ หวั ข้ออะไร

5.หากมขี ้อมลู เกย่ี วกบั ตัวเลขจะตอ้ งนำตวั เลขน้นั มาทำการวิเคราะหห์ าค่าทางสถิติท่ีเกยี่ วขอ้ ง หรอื ทำการ
คำนวณข้อมูล (Calculating Data) ใหไ้ ด้ผลลัพธ์ออกเสียก่อน

6.หลังจากนนั้ จงึ ทำการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เน้อื หาในแต่ละหัวข้อ

7.เสร็จแล้วทำการจัดเกบ็ หรือบันทึกขอ้ มูล (Storing Data) ลงในสอ่ื ประเภทตา่ งๆ เชน่ ทำเปน็ รายงาน
หนังสอื บทความตีพมิ พ์ในวารสาร หนงั สือพมิ พ์ หรือลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (แผ่นดสิ ก์ ซีดี-รอม ฯลฯ)

8.จัดทำระบบการคน้ คืน เพ่ือความสะดวกในการจดั เกบ็ และค้นคืนสารสนเทศ (Retrieving Data) จะได้
จัดเกบ็ และค้นคืนสารสนเทศอยา่ งถูกต้อง แม่นยำ รวดเร็ว และตรงกบั ความต้อง

9.ในการประมวลผลเพ่ือให้ได้มาซ่งึ สารสนเทศ จักตอ้ งมกี ารสำเนาข้อมูล (Reproducing Data) เพอ่ื ป้องกัน
ความเสียหายทอ่ี าจเกิดข้ึนกับขอ้ มลู ท้ังจากสาเหตุทางกายภาพ และระบบการจัดเกบ็ ข้อมลู

จากน้ันจึงทำการการเผยแพร่ หรอื สือ่ สาร หรือกระจายข้อมลู (Communicating/disseminating
Data) เพ่อื ใหผ้ ลลัพธท์ ไ่ี ด้ถึงยังผูร้ ับ หรอื ผ้ทู เ่ี ก่ยี วข้องการจัดการข้อมูลให้มสี ถานภาพเป็นสารสนเทศ
(Transformation Processing) ในความเปน็ จรงิ แล้วไมจ่ ำเปน็ ที่ จะต้องทำครบ ท้ัง 10 วธิ กี าร การท่ีจะทำกี่
ขนั้ ตอนนั้นข้นึ อยู่กับ ข้อมลู ที่นำเข้ามาในระบบการประมวลผล หากข้อมูลผ่าน ขั้นตอน ท่ี 1 หรือ 2 มาแลว้

พอมาถึงเรา เรากท็ ำขนั้ ตอนที่ 3 ตอ่ ไปได้ทนั ที แต่อยา่ งไรก็ตามการใหไ้ ด้มาซงึ่ ผลลัพธ์ที่มี คุณค่า จักต้องทำ
ตามลำดับดงั กลา่ วข้างตน้ ไม่ควรทำข้ามข้นั ตอน ยกเวน้ ข้นั ตอนท่ี 5 และขั้นตอนที่ 6 กรณีทีเ่ ป็นข้อมูล
เก่ียวกับตัวเลขก็ทำข้ันตอนท่ี 5 หากข้อมูลไมใ่ ชต่ วั เลขอาจจะข้ามขนั้ ตอนที่ 5 ไปทำข้ันตอนท่ี 6 ไดเ้ ลย เปน็ ต้น
ผลลพั ธ์ หรือผลผลิตทีไ่ ดจ้ ากการประมวลผล หรอื กรรมวธิ จี ดั การข้อมลู ปรากฏแกส่ ังคมในรูปของสื่อประเภท
ตา่ งๆ เช่น เปน็ หนงั สอื วารสาร หนังสอื พมิ พ์ ซีดี-รอม สไลด์ แผ่นใส แผนที่ เทปคลาสเซท ฯลฯ แตอ่ ย่างไรก็
ตามไม่ได้หมายความวา่ ผลผลติ หรอื ผลลพั ธ์นน้ั จะมสี ถานภาพเปน็ สารสนเทศเสมอไป

2.11 .ความหมายของสารสนเทศ

ซาเรซวคิ และวดู (Saracevic and Wood 1981 : 10) ได้ให้คำนยิ ามสารสนเทศไว้ 4 นิยามดงั น้ี
1. Information is a selection from a set of available message, a selection which

reduces uncertainty. สารสนเทศ คอื การเลือกสรรจากชุดของข่าวสารท่มี อี ยู่ เปน็ การเลอื กทชี่ ่วยลดความ
ไมแ่ นน่ อน หรือกลา่ วไดว้ ่า สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้มีเลอื กสรรมาแลว้ (เป็นข้อมูลที่มีความแนน่ อนแลว้ ) จาก
กลุม่ ของข้อมูลท่ีมอี ยู่

2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of conventions
used in their presentation. สารสนเทศ คอื ความหมายทีม่ นุษย์ (สั่ง) ใหแ้ ก่ ข้อมลู ด้วยวิธกี ารนำเสนอท่ี
เปน็ ระเบยี บแบบแผน

3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the image-
structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully structurethe d by a sender
with the intention of changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คือ โครงสร้างของ
ข้อความใดๆ ท่ีสามารถเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ ง ทาง จินตภาพ (ภาพลักษณ์) ของผ้รู บั (ข้อความ หมายถงึ ท่ี
รวมของสัญลกั ษณ์ต่างๆ มโี ครงสร้างทม่ี ี จดุ มุ่งหมาย โดยผสู้ ง่ มีเปา้ หมายทีจ่ ะ เปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทาง จนิ ต
ภาพ (+ความรูส้ ึกนึกคิด) ของผ้รู บั (สาร)

4. Information is thdecision-making in decision making. สารสนเทศ คือ ข้อมลู ท่มี คี า่ ในการ
ตดั สนิ ใจ นอกจากน้ันยงั มีความหมายทีน่ า่ สนใจดังน้ี

• สารสนเทศ คอื ข้อมูลท่มี ีการปรับเปล่ียน (Convert) ดว้ ยการจัดรูปแบบ (Formatting) การ
กล่นั กรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing) ให้เป็นผลลัพธ์ท่ีมี รปู แบบ (เชน่ ข้อความ เสียง
รูปภาพ หรือวดี ิทศั น์) และเน้ือหาทตี่ รงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนำไปใช้ (Alter 1996
: 29, 65, 714)
สารสนเทศ คือ ตัวแทนของข้อมูลท่ผี ่านการประมวลผล (Process) การจดั การ (Organized) และ
การผสมผสาน (Integrated) ให้เกดิ ความเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ (Post 1997 : 7)

• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ที่มีความหมาย (Meaningful) หรือเป็นประโยชน์ (Useful) สำหรบั บางคนที่จะ
ใช้ชว่ ยในการ ปฏบิ ัติงานและการจัดการ องค์การ (Nickerson 1998 : 11)

• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ทมี่ คี วามหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลทม่ี ีความหมายเฉพาะภายใต้บริบท (Context) ท่ีเก่ยี วข้อง (Haag, Cummings

and Dawkins 2000 : 20)
• สารสนเทศ คอื ข้อมลู ท่ผี า่ นการปรับเปล่ยี น (Converted) มาเป็นสิ่งทีม่ ีความ หมาย (meaningful)

และเปน็ ประโยชน์ (Useful) กับเฉพาะบุคคล (O’Brien 2001 : 15)
• สารสนเทศ คอื ข้อมลู ท่ีผา่ นการประมวลผล หรอื ข้อมูลท่มี ีความหมาย (McLeod, Jr. and Schell

2001 : 12)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลทไ่ี ด้รับการจดั ระบบเพื่อให้มีความหมายและมีคณุ ค่าสำหรับ ผู้ใช้ (Turban,

McLean and Wetherbe 2001 : 7)
• สารสนเทศ คือ ทร่ี วม (ชุด) ข้อเท็จจรงิ ที่ได้มีการจดั การแล้ว ในกรณเี ชน่ ขอ้ เทจ็ จรงิ เหลา่ นั้นไดม้ ีการ

เพม่ิ คุณคา่ ภายใต้คุณค่าของขอ้ เทจ็ จริงนัน้ เอง (Stair and Reynolds 2001 : 4)
• สารสนเทศ คอื ข้อมูลทีไ่ ดร้ ับการประมวลผล หรือปรงุ แต่ง เพือ่ ให้มคี วามหมาย และเปน็ ประโยชน์ต่อ

ผใู้ ช้ (เลาว์ดอน และเลาว์ดอน 2545 : 6)
• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ท่ไี ดร้ บั การประมวลผลให้อยู่ในรปู แบบทม่ี ีความหมายตอ่ ผรู้ บั และมคี ณุ ค่าอัน

แทจ้ รงิ หรอื คาดการณ์ว่าจะมคี า่ สำหรับการดำเนนิ งาน หรือการตดั สินใจใน ปัจจบุ นั หรอื อนาคต
(ครรชติ มาลยั วงศ์ 2535 : 12)
• สารสนเทศ คือ เรื่องราว ความรตู้ า่ งๆ ท่ีได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผลดว้ ยวิธีการอย่างใดอยา่ ง
หน่ึง และมี การผสมผสานความรู้ หรือหลกั วชิ าทเ่ี กี่ยวข้อง หรือความคิดเหน็ ลงไปด้วย (กัลยา อดุ ม
วิทติ 2537 :3)
• สารสนเทศ คือ ข้อความรทู้ ่ีประมวลได้จากข้อมลู ต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งในเรอ่ื งนน้ั จนได้ ข้อสรุป เปน็
ข้อความร้ทู ี่ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเน้นทีก่ ารเกิดประโยชน์ คอื ความรู้ที่เกิดข้ึนเพม่ิ ขน้ึ กบั
ผใู้ ช(้ สชุ าดา กรี ะนนั ท์ 2542 : 5)
• สารสนเทศ คือ ข่าวสาร หรือการชแ้ี จงข่าวสาร (ปทปี เมธาคุณวุฒิ 2544 : 1)
• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ท่ผี า่ นการประมวลผล ผา่ นการวิเคราะห์ หรือสรปุ ให้อยู่ในรูปท่มี ีความหมายท่ี
สามารถนำไป ใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ (จติ ติมา เทียมบุญประเสรฐิ 2544 : 4)
• สารสนเทศ คือ ผลลพั ธ์ทเี่ กดิ จากการประมวลผลข้อมูลดบิ ที่ถกู จดั เก็บไว้อยา่ งเปน็ ระบบ ที่สามารถ
นำไป ประกอบการทำงาน หรอื สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ าร ทำใหผ้ ู้บรหิ ารสามารถแก้ไข
ปัญหา หรือทางเลือกในการ ดำเนนิ งานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (ณฏั ฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์
เกยี รตโิ กมล 2545 : 40)
• สารสนเทศ คอื ข้อมูลทไ่ี ด้ผา่ นการประมวลผล หรือจัดระบบแลว้ เพอื่ ให้มีความหมายและ คุณค่า
สำหรับผู้ใช้ (ทิพวรรณ หลอ่ สุวรรณรตั น์ 2545 : 9)

• สารสนเทศ คือ ผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการประมวลผลของข้อมลู ดิบ (Raw Data) ประกอบไปดว้ ย ขอ้ มลู
ต่างๆ ที่เปน็ ตวั อักษร ตวั เลข เสยี ง และภาพ ที่นำไปใชส้ นับสนนุ การ บรหิ ารและการตดั สินใจของ
ผ้บู รหิ าร (นิภาภรณ์ คำเจรญิ 2545 : 14)

สรปุ สารสนเทศ คอื ข้อมลู ข่าวสาร ข่าว ข้อเท็จจริง ความคดิ เหน็ หรอื ประสบการณ์ อยู่ในรปู แบบที่
แตกตา่ งกนั ออกไป เช่น ตวั อักษร ตวั เลข รูปภาพ เสยี ง สัญลักษณ์ หรือกล่นิ ท่ีถูกนำมาผา่ นกระบวนการ
ประมวลผล ดว้ ยวิธีการที่ เรียก วา่ กรรมวธิ ีจดั การข้อมูล (Data Manipulation) และผลทีไ่ ด้อาจแสดงผล
ออกมาในรปู แบบของสื่อประเภทตา่ ง เชน่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ แผนท่ี แผ่นใส ฯลฯ และเปน็ ผลลัพธ์
ท่ผี ใู้ ชส้ ามารถนำไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ตรงและทนั กบั ความต้องการหรือ สารสนเทศ คือ ผลลพั ธ์ท่มี ี
ความถกู ตอ้ ง ตรงตามต้องการ และทันต่อความต้องการของผใู้ ช้ หรอื ผทู้ ่ีเกีย่ วข้อง เปน็ ผลลัพธ์ท่ีไดม้ าจากการ
นำขอ้ มูลมาประมวลผลด้วยกรรมวิธีจดั การข้อมูล หรือ สารสนเทศ คอื ผลลพั ธท์ ่ีไดม้ าจากการนำข้อมูลมา
ประมวลผลด้วยกรรมวธิ ีจดั การข้อมูล ซึ่งจะต้องเป็น ผลลัพธ์ท่มี ี คณุ สมบตั ิถกู ต้อง ตรงตามตอ้ งการ และทันต่อ
ความตอ้ งการของผใู้ ช้ หรอื ผู้ที่เกีย่ วข้อง

2.12 หลักเกณฑ์การประเมินผลลพั ธ์ หรอื ผลผลติ

ข้อมูลของบางคนอาจเป็นสารสนเทศสำหรับอีกคนหน่งึ (Nickerson 1998 : 11) การที่จะบ่งบอกว่า
ผลผลิต หรือ ผลลัพธ์มีคณุ ค่า หรอื สถานภาพเปน็ สารสนเทศ หรอื ไม่นั้น เราใช้หลกั เกณฑ์ต่อไปน้ปี ระกอบการ
พจิ ารณา

1. ความถูกต้อง (Accuracy) ของผลผลิต หรอื ผลลัพธ์

2. ตรงกบั ความต้องการ (Relevance/pertinent)

3. ทันกบั ความต้องการ (Timeliness)

การพจิ ารณาความถกู ต้องดูที่เน้ือหา (Content) ของผลผลิต โดยพิจารณาจากขัน้ ตอนของการ
ประมวลผล (Process; verifying, calculating) ข้อมูล สำหรบั การตรงกบั ความต้องการ หรอื ทนั กบั ความ
ต้องการ มผี ูใ้ ชผ้ ลผลติ เป็น เกณฑใ์ นการพจิ ารณา หากผใู้ ชเ้ ห็นว่าผลผลติ ตรงกบั ความต้องการ หรอื ผลผลติ
สามารถตอบปัญหา หรอื แก้ไขปญั หา ของผู้ใช้ได้ และสามารถเรยี กมาใช้ได้ในเวลาทีเ่ ขาต้องการ (ทนั ต่อความ
ตอ้ งการใช)้ เราจึงจะสรปุ ได้ว่า ผลผลิต หรือ ผลลัพธน์ ้นั มสี ถานภาพ เปน็ สารสนเทศ

คุณภาพ หรือคุณคา่ ของสารสนเทศ ขึน้ อย่กู บั ข้อมลู (Data) ทน่ี ำเข้ามา (Input) หากข้อมูลทีน่ ำเข้ามา
ประมวลผล เป็นข้อมลู ท่ีดี ผลลพั ธท์ ไี่ ด้ก็จะมีคุณภาพดี หรอื มีคุณค่า ผู้ใช้ หรอื ผบู้ ริโภคสามารถนำมาใช้

ประโยชน์ได้ แตห่ ากข้อมลู ท่ี นำเข้ามาประมวลผลไมด่ ี ผลผลิต หรอื ผลลัพธก์ ็จะมีคุณภาพไม่ดี หรอื ไมม่ คี ุณค่า
สมดงั่ กบั วลีท่วี า่ GIGO (Garbage In Garbage Out) หมายความว่า ถา้ นำขยะเข้ามา ผลผลิต (สง่ิ ทไ่ี ดอ้ อกไป)
กค็ อื ขยะนั่นเอง

2.13 คณุ ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ในการจัดการเพ่ือให้องค์การบรรลุถงึ ประสิทธิผลและประสทิ ธิภาพท่ีองค์การตั้งไวน้ ัน้ ดังท่กี ลา่ วมาแล้ววา่
ข้อมูลและสารสนเทศเปน็ ปัจจัยหนึ่งท่ีมีความสำคญั อย่างมากต่อทกุ องค์การ ทัง้ นสี้ ารสนเทศทีด่ ีควรมีลกั ษณะ
ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ความเทยี่ งตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดจี ะต้องมีความเทีย่ งตรงและเช่ือถือได้ โดยไม่ให้
มีความคลาดเคลือ่ นหรือมคี วามคลาดเคลื่อนนอ้ ยทส่ี ดุ ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสนิ ใจจึงขึน้ อยู่กบั ความ
ถกู ต้องหรอื ความเท่ยี งตรง ย่อมสง่ ผลกระทบทำให้การตัดสนิ ใจมคี วามผดิ พลาดตามไปด้วย

2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรง
หรือความถกู ต้องแล้ว ยังจะต้องมีคณุ สมบัติของการทีส่ ามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมือ่ ตอ้ งการใช้ขอ้ มูล
หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการ
เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้า
ผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการ
ดำเนนิ งานของผบู้ ริหารทจี่ ะลดลงตามไปด้วย

3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององคก์ ารทดี่ ี จะต้องมีความสมบรู ณ์ที่จะช่วยทำให้การ
ตัดสินใจเปน็ ไปดว้ ยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพ่ิมประสิทธิผล
ของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมี
สารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้
อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100
เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ
ราคาตอ่ หนว่ ย แหลง่ ผู้ผลติ คา่ ใช้จ่ายในการส่ังซ้ือ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละ
ชนิด ดังนั้นจะตัดสนิ ใจเกี่ยวกับการบริหารสนิ ค้าคงเหลือใหม้ ีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศ
ในทกุ เร่อื ง การขาดไปเพยี งบางเร่ืองจะส่งผลกระทบต่อการตัดสนิ ใจอยา่ งมากเปน็ ต้น จากตวั อย่างจะเห็นได้ว่า
ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อ
การตดั สนิ ใจ แตจ่ ะต้องไดร้ ับสารสนเทศท่สี ำคัญครบในทุกดา้ นท่ีทำการตดั สนิ ใจ

4. การสอดคล้องกบั ความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การท่ดี ีจะต้องมีคุณลักษณะ
ที่สำคัญอีกประการหนึ่งกค็ ือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจได้ ดังนั้น

ในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของ
สารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด
และการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ เปน็ ตน้

5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะ
แหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่
ผบู้ ริหารมองเหน็ สารสนเทศบางเรอ่ื งแลว้ พบวา่ ทำไมจึงมีคา่ ท่ตี ่ำเกนิ ไป หรือสงู เกนิ ไป อาจต้องตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งของสารสนเทศท่ีไดม้ า ทง้ั นก้ี ็เพื่อมิให้การตดิ สนิ ใจเกิดความผิดพลาด

คุณลักษณะดังกล่าวขา้ งต้น มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหารงานบุคคลจะต้องพยายามจัดระบบใหม้ ีความ
พร้อมครบถ้วนและพร้อมที่จะใช้งานได้ ปัญหาสำคัญที่องค์การส่วนมากมักจะต้องเผชิญ คือ การไม่สามารถ
สนองข้อมูลที่เกี่ยวกับบุคคลให้ทันกับความจำเป็นใช้ในการที่จะต้องดำเนินการหรือตัดสินปัญหาบางประการ
ดังเช่น ถ้าหากมีเหตุเฉพาะหน้าที่ต้องการบุคคลที่มี คุณสมบัติอย่างหนึ่งในการบรรจุเข้าตำแหน่งหนึ่ง
อยา่ งรวดเรว็ ในเวลาอนั ส้ัน ซึง่ หากผู้จัดเตรียม ข้อมลู จะตอ้ งใชเ้ วลาประมวลข้ึนมานานเป็นเดือนก็ย่อมถือได้
ว่า ข้อมูลที่สนองให้นั้นช้ากว่าเหตุการณ์ หรือในอีกทางหนึง่ บางครั้งแม้จะเสนอข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่เปน็
ขอ้ มลู ท่เี ปน็ รายละเอียดมากเกินไปที่ไม่อาจพิจารณาแยกแยะคุณสมบตั ิทส่ี ำคัญ หรอื ขอ้ มูลท่ีสำคัญท่ีเกี่ยวข้อง
กับบุคคลอย่างเด่นชัด ก็ยอ่ มทำใหก้ ารใชข้ ้อมลู นัน้ เปน็ ไปด้วยความยากลำบาก

นอกจากลักษณะที่ดีของสารสนเทศดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีคุณสมบัติที่แอบแฝงของสารสนเทศอีกบาง
ลกั ษณะทส่ี ัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ และวธิ ีการดำเนนิ งานของระบบ สารสนเทศ ซงึ่ จะมคี วามสำคัญ
แตกตา่ งกันไปตามลักษณะงานเฉพาะอย่าง ซึ่งไดแ้ ก่

1. ความละเอียดแม่นยำ คือ สารสนเทศจะต้องมีความละเอียดแม่นยำในการวัดข้อมูล ให้ความเชื่อถือได้
สูง มรี ายละเอยี ดของข้อมลู และแหล่งท่มี าของข้อมูลท่ีถกู ตอ้ ง

2. คุณสมบัติเชิงปริมาณ คือความสามารถที่จะแสดงออกมาในรูปของตัวเลขได้ และสามารถเปรียบเทียบ
ในเชิงปรมิ าณได้

3. ความยอมรับได้ คือ ระดับความยอมรับได้ของกลุ่มผู้ใช้สารสนเทศอย่างเดียวกัน สารสนเทศควรมี
ลักษณะเดยี วกันในกลมุ่ ผ้ใู ช้งาน หรือใกล้เคียงกันโดยสามารถใชร้ ่วมกันได้ เชน่ การใชเ้ ครื่องมือเพื่อวัดคุณภาพ
การผลติ สินค้า เครอื่ งมอื ดังกลา่ วจะต้องเป็นที่ยอมรับไดว้ า่ สามารถวดั ค่าของคณุ ภาพได้อยา่ งถูกต้อง

4. การใช้ได้ง่าย คือ ความสามารถนำไปใช้งานได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทั้งในส่วนของผู้บริหารและ
ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน

5. ความไม่ลำเอียง ซึ่งหมายถึง ไม่เป็นสารสนเทศทีม่ ีจดุ ประสงค์ที่จะปกปดิ ข้อเท็จจรงิ บางอย่าง ซึ่งทำให้
ผู้ใชเ้ ขา้ ใจผิดไปจากความเปน็ จริง หรอื แสดงขอ้ มลู ทีผ่ ิดจากความเปน็ จริง

6. ชดั เจน ซึง่ หมายถงึ สารสนเทศจะต้องมคี วามคลุมเครือน้อยท่ีสุด สามารถทำความเขา้ ใจไดง้ ่า

2.14 คณุ ภาพของสารสนเทศ

คุณภาพของสารสนเทศ จะมีคุณภาพสูงมาก หรือน้อย พิจารณาที่ 3 ประเด็น ดังนี้ (Bentley 1998 : 58-59)
1. ตรงกับความต้องการ (Relevant) หรือไม่ โดยดูว่าสารสนเทศนั้นผู้ใช้สามารถนำไปใช้เพิ่ม

ประสิทธิภาพได้ มากกว่าไม่ใช้สารสนเทศ หรือไม่ คุณภาพของสารสนเทศ อาจจะดูที่มันมีผลกระทบต่อ
กิจกรรมของผใู้ ช้ หรอื ไม่ อย่างไร

2. น่าเชื่อถือ (Reliable) เพียงใด ความน่าเชื่อถือมีหัวข้อที่จะใช้พิจารณา เช่น ความทันเวลา
(Timely) กับผู้ใช้ เมื่อ ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้มีสารสนเทศนั้น หรือไม่ สารสนเทศที่นำมาใช้ต้องมีความถูกต้อง
(Accurate) สามารถพิสูจน์ (Verifiable) ได้ว่าเป็นความจริง ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

3. สารสนเทศนั้นเข้มแข็ง (Robust) เพียงใด พิจารณาจากการที่สารสนเทศสามารถเคลื่อนตัวเองไป
พร้อมกับกาลเวลาที่เปลี่ยนไป (Rigorous of Time) หรือพิจารณาจากความอ่อนแอของมนุษย์ (Human
Frailty) เพราะมนุษย์ อาจทำความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล หรอื การประมวลผลข้อมูล เพราะฉะน้ันจะต้อง
มีการควบคุม หรือตรวจสอบ ไม่ให้มีความผดิ พลาดเกิดขึ้น หรือพิจารณาจากความผิดพลาด หรือล้มเหลวของ
ระบบ (System Failure) ที่จะส่งผล เสียหายต่อสารสนเทศได้ ดังนั้นจึงต้องมีการป้องกันความผิดพลาด (ที่
เนื้อหา และไม่ทันเวลา) ที่อาจเกิดขึ้นได้ หรือ พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลง การจัดการ (ข้อมูล)
(Organizational Changes) ที่อาจจะส่งผลกระทบ (สร้างความเสียหาย) ต่อสารสนเทศ เช่น โครงสร้าง แฟ้ม
ข้อมูล วธิ ีการเข้าถึงขอ้ มลู การรายงาน จักตอ้ งมกี ารป้องกนั หากมกี าร เปลีย่ นแปลงในเรื่องดังกลา่ ว

2.15. ความสำคญั ของสารสนเทศ

สารสนเทศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของคนในสังคมปัจจุบัน ในองค์กรต่างๆ
สารสนเทศได้กลายเป็นทรัพย์สินอันมีค่า จนมีคำกล่าวว่าสารสนเทศ คือ อำนาจ (Information is power)
ใครที่มีสารสนเทศมากก็จะสามารถควบคุมหรือต่อรองได้ ฝ่ายที่มีสารสนเทศมากกว่ามักจะได้เปรียบคู่แข่ง
เสมอ จนอาจนำไปสู่ยุค “ สงครามข้อมูลขา่ วสาร ” ได้

ดังนั้น สารสนเทศจึงมีประโยชน์มากมาย เช่น ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย ช่วยแก้ปัญหา
ช่วยวางแผนและการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง สารสนเทศจึงช่วยพัฒนาบุคคล ช่วยการปฏิบัติงาน ช่วยในการ
ดำเนินชีวิต ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาสังคมและประเทศ สารสนเทศจึงมีความสำคัญต่อบคุ คล องค์กร และสังคม
ดังนี้


Click to View FlipBook Version