The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tunyapa.ben, 2022-06-23 23:36:03

เล่มติดตาม

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เป้าหมายท่ี 4 สร้างหลักประกันให้
การศึกษามีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและครอบคลุม และส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับทุกคน
ประกอบด้วย เป้าประสงค์ 10 ข้อ (ข้อมูล : เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการจัดทาตัวช้ีวัดเป้าหมายการ
พัฒนาท่ียั่งยืนด้านการศึกษาในส่วนของประเทศไทย SDG 4 National Indicators วันที่ 7-8 สิงหาคม
2562 ณ โรงแรมรอยลั รเิ วอร์ กรงุ เทพมหานคร) และจาแนกเป็น 2 ส่วนคือ (1) ส่วนท่ีเป็นตัวชี้วัดระดับโลก
ทที่ กุ ประเทศจะต้องรายงาน และ (2) ส่วนทก่ี าหนดตัวชว้ี ัดทดแทนและตัวชี้วัดเพ่ิมเติม เพ่ือให้สอดคล้องกับ
ความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูลในประเทศและการจัดทาฐานข้อมูลของประเทศท่ีมีอยู่แล้ว รวมท้ัง
มอบหมายผู้รบั ผิดชอบในการดาเนินการในแตล่ ะประเด็นด้วย

ภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเกี่ยวข้องกับเป้าหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายท่ี 4 สร้างหลักประกันให้การศึกษามีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและครอบคลุม
และส่งเสรมิ โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชวี ติ สาหรบั ทุกคน (SDG4) ใน 6 เปา้ ประสงค์ ดังน้ี

เป้าประสงค์ท่ี 4.1 (SDG 4.1) : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสาเร็จ
การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ผลลัพธ์
ทางการเรียนท่มี ีประสทิ ธิผล ภายในปี พ.ศ.2573 ประกอบด้วยตัวช้วี ัด ดงั นี้

4.1.1) ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 (ป.3) ท่ีมีค่าคะแนนเฉล่ียผลการ
ทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) ระดับ ป. 3 ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด :
ตัวช้ีวัดทดแทน : ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ. 2565 (สพฐ. : หน่วยจัดเก็บข้อมูลหลัก / สช. :
หน่วยร่วมสนับสนุน)

4.1.4) อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษา ตัวช้ีวัดเพิ่มเติม : ค่าเป้าหมายไว้ท่ี
รอ้ ยละ 100 ภายในปี พ.ศ. 2564 (สกศ. : หน่วยจดั เกบ็ ข้อมูลหลัก / ศทก. : หน่วยสนับสนุน)

4.1.5) อตั ราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษา ตัวช้ีวัดเพ่ิมเติม : ค่าเป้าหมายระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 100 มัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 80 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ. : หน่วยจัดเก็บ
ข้อมลู หลัก / ศทก. : หน่วยสนบั สนุน)

4.1.6 อัตราการสาเร็จการศึกษาของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตัวชี้วัด
เพิ่มเติม : ค่าเป้าหมายระดับประถมศึกษา ร้อยละ 100 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 100 ส่วนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ ร้อยละ 90 สายอาชีวศึกษา ร้อยละ 80 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ. :
หนว่ ยจัดเกบ็ ข้อมูลหลกั / ศทก. : หนว่ ยสนบั สนนุ )

เป้าประสงค์ท่ี 4.2 (SDG 4.2) : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการ
พัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ ภายในปี
2573 เพือ่ ใหเ้ ด็กเหลา่ นน้ั มีความพร้อมสาหรบั การศึกษาระดบั ประถมศึกษา ประกอบดว้ ยตัวช้วี ัด ดงั น้ี

4.2.1 ร้อยละของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ท่ีมีพัฒนาการทางด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และ
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัย ตัวช้ีวัดหลัก : ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 92 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ. : หน่วย
จัดเก็บข้อมลู หลัก สสช. และ UNICEF สธ. / สป. : หน่วยสนับสนนุ )

4.2.2 อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย (อย่างน้อย 1 ปี ก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียน
ประถมศึกษา) ตัวช้ีวัดหลัก : ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 90 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ., สสช. : หน่วยจัดเก็บ
ข้อมูลหลกั / สป. : หนว่ ยร่วมสนบั สนนุ )

๓๔

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

เป้าประสงค์ที่ 4.3 (SDG 4.3) : สร้างหลักประกันให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษา
ระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพในราคาท่ีสามารถจ่ายได้ ประกอบด้วยตัวชี้วัด
ดงั น้ี

4.3.1 อตั ราการเข้าเรยี นของเยาวชนและผ้ใู หญ่ ทง้ั ในระบบนอกระบบการศึกษา ตัวช้ีวัดหลัก
ประกอบด้วยตวั ชวี้ ดั ย่อยตอ่ ไปน้ี

4.3.1.1 อัตราการเขา้ เรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดย่อย
เทยี บตวั ชว้ี ดั ทดแทน : ค่าเป้าหมาย สดั ส่วนผเู้ รยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายสายอาชีวศึกษา : สายสามัญ
ศกึ ษา 45 : 55 ภายในปี พ.ศ. 2564 (สกศ., ศทก. : หนว่ ยจัดเกบ็ ข้อมลู หลัก / สป. : หน่วยร่วมสนบั สนุน)

4.3.1.2 อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ตัวชี้วัดย่อยเทียบตัวชี้วัดทดแทน :
ค่าเป้าหมาย ระดับอนุปริญญา ประเภทอาชีวศึกษา 60 ระดับอุดมศึกษา 50 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ., ศทก. :
หน่วยจัดเก็บข้อมลู หลัก)

4.3.1.3 จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ ปวช. ตัวชี้วัดทดแทน : ค่าเป้าหมาย
ระหวา่ งกาหนด (ศทก. : หน่วยจัดเก็บข้อมูลหลัก / กศน. : หน่วยสนบั สนนุ )

4.3.1.4 จานวนนักศึกษา/ผู้รับบริการหลักสูตรการอบรม ตัวช้ีวัดย่อยภายใต้ตัวชี้วัด
หลัก : ค่าเปา้ หมายระหว่างกาหนด (สศก., ศทก. : หนว่ ยจดั เก็บขอ้ มลู หลกั / สป. : หน่วยรว่ มสนับสนนุ )

เป้าประสงค์ที่ 4.7 (SDG 4.7) : สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะ
ทีจ่ าเป็น สาหรบั ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมไปถึงการศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการมีวิถี
ชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุข และไม่ใช้
ความรนุ แรง การเปน็ พลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมีส่วนร่วม
ของวัฒนธรรมตอ่ การพฒั นาที่ยงั่ ยืน ภายในปี 2573 ประกอบดว้ ยตัวชว้ี ดั ดังนี้

4.7.1 มีการดาเนินการเกยี่ วกับ (i) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก และ (ii) การจัด
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึงความเสมอภาคทางเพศ และสิทธิมนุษยชน ซ่ึงถูกให้ความสาคัญ
ทุกระดับใน (a) นโยบายการศึกษาของประเทศ (b) หลักสูตร (c) ระดับการศึกษาของครูและ (d) การประเมินผล
นกั เรียน ตวั ชวี้ ดั หลัก (สป. : หน่วยจดั เกบ็ ขอ้ มูลหลกั )

เป้าประสงค์ท่ี 4.A (SDG 4.A) : สร้างและยกระดับอุปกรณ์และเครือ่ งมือทางการศึกษา
ที่อ่อนไหวต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความ
รนุ แรง ครอบคลุมและมีประสิทธผิ ลสาหรับทกุ คน ประกอบด้วยตัวช้ีวัด ดังน้ี

4.A.1 สดั สว่ นของโรงเรียนที่มีการเข้าถึง (a) ไฟฟ้า (b) อินเทอร์เน็ตท่ีใช้ในการเรียนการสอน
(c) เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ในการเรียนการสอน (d) โครงสร้างพื้นฐานและวัสดุอุปกรณ์ท่ีได้รับการปรับให้
เหมาะสมกบั นกั เรยี นท่ีมคี วามบกพร่องทางรา่ งกาย ตัวช้ีวัดหลัก (ศทก.สป. : หน่วยจัดเก็บข้อมูลหลัก / สป.
หนว่ ยร่วมสนบั สนนุ )

เป้าประสงค์ท่ี 4.C (SDG 4.C) : เพ่ิมจานวนครูที่มีคุณวุฒิ รวมถึงการดาเนินการผ่าน
ทางความร่วมมือระหว่างประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศ
พัฒนานอ้ ยท่สี ุด และรฐั กาลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเลก็ ภายในปี 2573 ตวั ชว้ี ัดที่กาหนด ประกอบด้วย

4.C.1 สัดส่วนของครูในระดับ (a) ก่อนประถมศึกษา (b) ประถมศึกษา (c) มัธยมศึกษาตอนต้น
และ (d) มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษา) ท่ีอย่างน้อยได้รับการอบรมครู

๓๕

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

(เช่น การฝึกอบรมการสอน) ทั้งก่อนประจาการ (Pre-Service) หรือระหว่างประจาการ (In-Service) ในระดับ/เกณฑ์
มาตรฐานของประเทศ ตวั ช้ีวดั หลัก : ค่าเปา้ หมาย 100 (สกศ., สป. : หนว่ ยจัดเกบ็ ข้อมูลหลัก)

8. นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี)

ตามท่ีนายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันท่ี
25 กรกฎาคม 2562 ประกอบดว้ ยนโยบายหลักไว้ 12 ดา้ น ดังนี้

นโยบายท่ี 1 ปกปูองและเชดิ ชสู ถาบนั พระมหากษัตริย์
นโยบายที่ 2 สรา้ งความม่ันคงและปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
นโยบายที่ 3 ทานุบารงุ ศาสนาและวฒั นธรรม
นโยบายที่ 4 การสร้างบทบาทของไทยในเวทโี ลก
นโยบายท่ี 5 การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขนั ของไทย
นโยบายที่ 6 การพัฒนาพืน้ ทเี่ ศรษฐกจิ และการกระจายความเจริญสูภ่ ูมิภาค
นโยบายท่ี 7 การพัฒนาสรา้ งความเขม้ แข็งจากฐานราก
นโยบายท่ี 8 การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาศักยภาพของไทยทกุ ชว่ งวยั
นโยบายท่ี 9 สาธารณสุขความเสมอภาคและสวัสดกิ ารทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มประชาชน
นโยบายท่ี 10 การฟนื้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการรกั ษาส่ิงแวดล้อมเพอื่ สร้างการเตมิ โตอยา่ งยัง่ ยืน
นโยบายที่ 11 การปฏิรูปการบรหิ ารจดั การภาครัฐ และ
นโยบายท่ี 12 การป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบและกระบวนการยตุ ธิ รรม
รัฐบาลได้กาหนดนโยบายในการพัฒนาที่มุ่งพัฒนาคนในทุกมิติตามความเหมาะสมในแต่ละ
ช่วงวัยให้มีความสมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม โดยมีนโยบายการพัฒนาที่สาคัญ
ตามนโยบายท่ี 8 การปฏิรปู กระบวนการเรียนรแู้ ละการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวยั ดังนี้

นโยบายท่ี 8 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนร้แู ละการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย
8.1 สง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
8.1.1 จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึง เด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนา

ตามศักยภาพ เพื่อสร้างคนไทยที่มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพผ่านครอบครัวที่อบอุ่นในทุกรูปแบบ
ครอบครัว

8.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคานึงถึงพหุปัญญาที่หลากหลายของเด็กแต่ละคน
ให้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับ
ระบบโรงเรียนปกติทเ่ี ปน็ ระบบและมีทศิ ทางท่ชี ัดเจน

8.2 พฒั นาบณั ฑิตพนั ธ์ุใหม่
8.2.1 ปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ และอาชีพของคนทุกช่วง

วัยสาหรับศตวรรษที่ 21 และปรับระบบดึงดูดการคัดเลือก การผลิตและพัฒนาครู ท่ีนาไปสู่การมีครู
สมรรถนะสูง เป็นครูยุคใหม่ท่ีสามารถออกแบบและจัดระบบการสร้างความรู้ สร้างวินัย กระตุ้น และสร้าง
แรงบันดาลใจ เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครูด้วยการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นให้มากข้ึน ควบคู่
กับหลกั การทางวชิ าการ

๓๖

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

8.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน
ท้ังในส่วนฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับความต้องการของประเทศ
ในอนาคต และเป็นผเู้ รยี นที่สามารถปฏิบตั ิได้จรงิ และสามารถกากับการเรียนรู้ของตนเองได้ รวมถึงมีทักษะ
ด้านภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสามท่ีสามารถสื่อสารและแสวงหาความรู้ได้ มีความพร้อมท้ังทักษะความรู้
ทักษะอาชพี และทักษะชีวติ ก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน

8.3 พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม ๔.๐
โดยการจัดระบบและกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ชัดเจนเป็นระบบ
ในการพัฒนากาลังคนที่มีทักษะขั้นสูงให้สามารถนาความรู้และทักษะมาใช้ในการแก้ไขปัญหา รวมถึง
การสร้างและพัฒนานวัตกรรม และเตรียมการสาหรับผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพื่อรองรับ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในอนาคต รวมท้ังเร่งรัด และขยายผลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การยกระดับฝีมือ
แรงงานในกลุ่มอตุ สาหกรรมท่ีมีศกั ยภาพ และอุตสาหกรรมทีใ่ ชแ้ รงงานเขม้ ขน้

8.4 ดึงดูดคนเก่งจากท่ัวโลกเข้ามาร่วมทางานกับคนไทย และส่งเสริมผู้มีความสามารถสูง
สนับสนุนให้ธุรกิจชั้นนาในประเทศดึงดูดบุคคลที่มีความสามารถระดับสูงจากท่ัวโลกโดยเฉพาะคนไทย
เพ่ือกลับมาเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงและถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ ความเชี่ยวชาญให้แก่บุคลากร
ในองค์กร รวมทัง้ มีพืน้ ท่ีให้กลุม่ ผ้มู คี วามสามารถพิเศษที่มีศักยภาพสูงได้ทางานร่วมกัน หรือร่วมกับ เครือข่ายอื่น ๆ
เพ่ือสร้างองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กบั ประเทศ

8.5 วิจัยและพฒั นานวตั กรรมท่ีตอบโจทยก์ ารพฒั นาประเทศ
8.5.1 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อขจัด ความเหลื่อมล้าและความยากจน

ยกระดบั คุณภาพชีวิตของประชาชน
8.5.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีขั้นสูง

เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของ
ประเทศในอนาคต โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพฒั นานวัตกรรมเพือ่ นามาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในเชงิ ธรุ กจิ

8.5.3 สร้างเครือข่ายการทาวิจัยระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ปฏิรูปและบูรณาการ
ระบบการเรียนการสอนกับระบบงานวิจัยและพัฒนา ให้เอื้อต่อการเพิ่มศักยภาพด้านนวัตกรรมของ
ประเทศ

8.6 ส่งเสรมิ การเรยี นรู้และพฒั นาทกั ษะทุกช่วงวัย
8.6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหาร

จัดการศึกษาในทุกระดับบนพ้ืนฐานการสนับสนุนที่คานึงถึงความจาเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษา
แต่ละแห่ง

8.6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนา
เทคโนโล ยีสารสนเทศและการสร้างสร รค์ที่เหมาะสมมาใช้ ในการเรี ยนการสอนออนไลน์ แบบเปิดท่ี
หลากหลาย เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนา
แหล่งเรียนรู้และอุทยานการเรียนรู้สาหรับเยาวชนท่ีเชื่อมโยงเทคโนโลยีกับวิถีชีวิต และส่งเสริมการเรียน
การสอนทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผู้ทเี่ ขา้ สู่สงั คมสงู วยั

8.6.3 ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา ปรับเปล่ียนการจัดสรรงบประมาณให้
สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพ้ืนที่ของสถานศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชน

๓๗

รายงานการติดตามการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ชุมชนในพนื้ ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาในพ้ืนที่ สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถแต่ไม่มีทุน
ทรัพยเ์ ปน็ กรณีพิเศษ ตลอดจนแกไ้ ขปญั หาหนี้สินทางการศึกษา

8.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกาหนดระบบท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาทักษะและ
เพ่ิมประสิทธิภาพของทุกช่วงวัย

8.6.5 ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลูกฝังวินัยและอุดมการณ์
ท่ีถูกต้องของคนในชาติ หลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีจิตสาธารณะ การเคารพกฎหมาย
และกติกาของสังคมเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไก สร้าง
ความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวในทุกมิติอย่างเป็นระบบและมปี ระสิทธภิ าพ

8.7 จัดทาระบบปรญิ ญาชมุ ชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น เน้นออกแบบหลักสูตร
ระยะสั้นตามความสนใจ พัฒนาทักษะต่าง ๆ ท่ีใช้ในการดารงชีวิตประจาวันและทักษะอาชีพของคน
ทุกช่วงวยั ในพ้ืนท่แี ละชมุ ชนเป็นหลกั พร้อมทัง้ ศึกษาแนวทางการพัฒนาเป็นรปู แบบธนาคารหนว่ ยกิต

9. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560-2579)

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เพื่อใช้เป็น
แผนยุทธศาสตร์ระยะยาวสาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ ทั้งที่อยู่ใน
กระทรวงศึกษาธิการและนอกกระทรวงศึกษาธิการ ได้นาไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนา
การศึกษาและเรยี นรู้ สาหรับพลเมืองทุกชว่ งวยั ต้งั แตแ่ รกเกดิ จนตลอดชีวติ โดยมสี าระสาคญั ดังนี้

วสิ ยั ทัศน์ของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลย่ี นแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21”
โดยมีวตั ถุประสงคใ์ นการจดั การศกึ ษา 4 ประการ คอื
1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
2) เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ
บทบัญญตั ิ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติและยทุ ธศาสตรช์ าติ
3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคีและ
ร่วมมอื ผนกึ กาลังมุ่งส่กู ารพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4) เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า
ภายในประเทศลดลง
เพ่ือให้บรรลวุ ิสัยทัศน์และจดุ มุ่งหมายในการจดั การศึกษาดงั กล่าวขา้ งต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ
ได้วางเปูาหมายไว้ 2 ด้าน คือ เปูาหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน
ให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทักษะ และคุณลักษณะ
ต่อไปน้ี✥3 Rs ได้แก่การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคิดเลขเป็น (Arithmetics)

✥8 Cs ไดแ้ ก่
1) ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และทักษะในการแกป้ ญั หา
2) ทักษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม
3) ทกั ษะด้านความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์
4) ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเปน็ ทมี และภาวะผ้นู า

๓๘

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

5) ทักษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศ และการรูเ้ ทา่ ทันสือ่
6) ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
7) ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้
8) ความมเี มตตา กรณุ า มีวินยั คุณธรรม จริยธรรม
โดยมี 6 ยทุ ธศาสตร์หลักท่สี อดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ดังนี้
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มเี ปูาหมาย ดังนี้

1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษ
ได้รบั การศกึ ษาและเรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ

1.3 คนทุกช่วงวยั ได้รับการศกึ ษา การดแู ลและปูองกนั จากภยั คกุ คามในชีวติ รปู แบบใหม่
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มเี ปูาหมาย ดงั น้ี

2.1 กาลงั คนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน
และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความ เชี่ยวชาญและ
เปน็ เลิศเฉพาะด้าน

2.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรา้ งองคค์ วามรู้ และนวตั กรรมที่สรา้ งผลผลิตและ มูลค่าเพ่ิม
ทางเศรษฐกิจ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มเี ปาู หมาย ดงั น้ี

3.1 ผ้เู รียนมที กั ษะและคุณลักษณะพ้นื ฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะท่ี
จาเป็นในศตวรรษที่ 21

3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา
และ มาตรฐานวชิ าชพี และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ

3.3 สถานศึกษาทกุ ระดับการศกึ ษาสามารถจดั กจิ กรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร
อยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน

3.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน
และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี

3.5 ระบบและกลไกการวดั การติดตาม และประเมินผลมีประสิทธภิ าพ
3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดบั สากล
3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
มเี ปูาหมาย ดงั นี้
4.1 ผู้เรยี นทกุ คนได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพ
4.2 การเพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ช่วงวัย

๓๙

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

4.3 ระบบขอ้ มูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน
เพ่อื การวางแผนการบริหารจดั การศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
มเี ปาู หมาย ดงั นี้

5.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัติ

5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม คณุ ธรรม จริยธรรม และการน าแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การปฏิบัติ

5.3 การวจิ ยั เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กบั ส่ิงแวดล้อม

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา มเี ปูาหมาย ดงั นี้
6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน

และ สามารถตรวจสอบได้
6.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษา
6.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ

ประชาชนและพ้ืนท่ี
6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ

ทแี่ ตกต่างกนั ของผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ
6.5 ระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม

สรา้ งขวญั กาลังใจ และสง่ เสรมิ ให้ปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพ

10. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาค

ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค มี 6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง
ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคใต้ชายแดน โดยที่สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้เสนอโครงการเพื่อ
ขอรับงบประมาณในแผนงานบูรณาการพื้นที่ระดับภาค ภายใต้เปูาหมายทิศทางการพัฒนาภาคท้ัง 6 ภาค
ดังนี้

ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื : ศนู ย์กลางเศรษฐกิจของอนภุ มู ิภาคลุม่ แมน่ ้าโขง
ภาคเหนือ : ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง เชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุ
ภมู ภิ าคลมุ่ แมน่ ้าโขง
ภาคกลางและพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร : พัฒนากรุงเทพมหานครสู่มหานครทันสมัย และภาคกลาง
เป็นฐานการผลติ สินค้าและบริการท่ีมีมลู ค่าสงู
ภาคตะวนั ออก : ฐานเศรษฐกจิ ชน้ั นาของอาเซียน
ภาคใต้ : ภาคใตเ้ ป็นเมืองทอ่ งเทย่ี วพกั ผอ่ นตากอากาศระดับโลกเป็นศูนยก์ ลางผลิตภัณฑ์
ยางพาราและปาล์มน้ามันของประเทศและเมืองเศรษฐกิจเช่ือมโยงการค้าการลงทุนกับภมู ิภาคอืน่ ของโลก

๔๐

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภาคใต้ชายแดน : เป็นแหล่งผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสาคัญของประเทศ
และเป็นเมืองชายแดนเชื่อมโยงการค้าและการท่องเที่ยวกับพ้ืนที่ภาคใต้และการพัฒนาเศรษฐกิจ ของมาเลเซีย
และสิงคโปร์

1. ทศิ ทางการพฒั นาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
1.1บรหิ ารจดั การน้าให้เพยี งพอต่อการพฒั นาเศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ิตอยา่ งยง่ั ยืน
1.2 แก้ปญั หาความยากจนและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผมู้ ีรายได้น้อยเพื่อลดความเหล่ือม

ลา้ ทางสงั คม
1.3 สรา้ งความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกิจภายในควบคกู่ ับการแกป้ ัญหา

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
1.4 พัฒนาการท่องเท่ยี วเชิงบูรณาการ
1.5 ใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งท่ีเช่ือมโยงพ้ืนท่ีเศรษฐกิจหลัก

ภาคกลางและพ้ืนทร่ี ะเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) เพ่ือพฒั นาเมือง และพนื้ ท่ีเศรษฐกจิ ใหม่ๆของภาค
1.6 พัฒนาความร่วมมือและใช้ประโยชน์จากข้อตกลงกับประเทศเพื่อนบ้านในการ

สรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ ตามแนวชายแดนและแนวระเบียงเศรษฐกจิ

2. ทศิ ทางการพัฒนาภาคเหนอื
2.1 พัฒนาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพ สามารถสร้าง

มูลค่าเพิ่มอย่างย่ังยืน และกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง รวมท้ังต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการท่ีมี
ศกั ยภาพสูงดว้ ยภูมิปัญญาและนวตั กรรม

2.2 ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเชื่อมโยงกับอนุภูมิภาค GMS
BIMSTEC และ AEC เพอ่ื ขยายฐานเศรษฐกจิ ของภาค

2.3 ยกระดบั เปน็ ฐานการผลิตเกษตรอินทรียแ์ ละเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่-
อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่สี ร้างมูลค่าเพ่ิมสูง

2.4 พัฒนาคณุ ภาพชีวติ และแก้ไขปัญหาความยากจน พฒั นาระบบดูแลผู้สงู อายุอย่าง
มีส่วนรว่ มของครอบครวั และชุมชน ยกระดบั ทักษะฝีมือแรงงานภาคบริการ

2.5 อนุรักษ์และฟื้นฟูปุาต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้าอย่าง
เหมาะสมและเชอ่ื มโยงพ้นื ทเ่ี กษตรใหท้ วั่ ถึง ปูองกนั และแก้ไขปญั หามลพิษหมอกควันอยา่ งยงั่ ยืน

3. ทิศทางการพัฒนาภาคกลางและพ้นื ทีก่ รงุ เทพมหานคร
3.1 พัฒนากรุงเทพฯ เปน็ มหานครทันสมัยระดบั โลกควบคู่กบั การพัฒนาคุณภาพชวี ิต

และแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อมเมอื ง
3.2 พฒั นาคุณภาพแหลง่ ท่องเที่ยวท่มี ชี อ่ื เสียงระดบั นานาชาตแิ ละสรา้ งความเช่ือมโยง

เพอ่ื กระจายการท่องเท่ยี วทวั่ ท้ังภาค
3.3 ยกระดับการผลิตสนิ คา้ เกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้นวตั กรรมเทคโนโลยี และ

ความคิดสรา้ งสรรค์ เพอื่ ใหส้ ามารถแข่งขนั ได้อย่างยัง่ ยืน
3.4 บริหารจัดการน้าและทรัพยากรธรรมชาติเพ่อื แก้ไขปัญหานา้ ท่วม ภยั แลง้ และคง

ความสมดลุ ของระบบนิเวศอย่างยั่งยนื

๔๑

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

3.5 เปิดประตกู ารค้า การลงทุน และการทอ่ งเท่ยี ว เชือ่ มโยงเขตเศรษฐกจิ พิเศษ
ทวาย-ภาคกลาง-ระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก

3.6 พัฒนาความเชอ่ื มโยงเศรษฐกจิ และสังคมกับทุกภาคเพ่ือเสริมสรา้ งเสถยี รภาพ
และลดความเหลื่อมล้าภายในประเทศ

4 ทิศทางการพัฒนาภาคตะวนั ออก
4.1 พัฒนาพน้ื ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษท่ีมี

ความทันสมยั ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน
4.2พฒั นาภาคตะวนั ออกใหเ้ ป็นแหล่งผลิตอาหารทม่ี ีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล
4.3ปรับปรงุ มาตรฐานสินคา้ และธุรกิจบริการด้านการท่องเทีย่ ว
4.4 พัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกจิ ชายแดนให้เป็นประตูเศรษฐกจิ เชือ่ มโยงกบั ประเทศเพื่อนบ้าน

ใหเ้ จริญเตบิ โตอย่างย่ังยนื
4.5แกไ้ ขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและจัดระบบการบรหิ ารจัดการมลพิษให้มี

ประสทิ ธภิ าพเพ่ิมขึ้น

5. ทิศทางการพัฒนาภาคใต้
5.1 พฒั นาการท่องเทีย่ วของภาคให้เปน็ แหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชน้ั นาของโลก
5.2 พฒั นาอุตสาหกรรมการแปรรปู ยางพาราและปาล์มน้ามันแหง่ ใหม่ของประเทศ
5.3 พัฒนาการผลติ สินค้าเกษตรหลักของภาคและสรา้ งความเขม้ แข็ง สถาบัน

เกษตรกร
5.4 พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานสนับสนนุ การท่องเที่ยว การพัฒนาเขตอุตสาหกรรม และ

การเชอ่ื มโยงการคา้ โลก

6 ทศิ ทางการพัฒนาภาคใตช้ ายแดน
6.1 พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร เพื่อความม่ันคง

ใหก้ ับภาคการผลิต
6.2 พัฒนาเมืองสุไหงโก-ลก และเมอื งเบตง ใหเ้ ป็นเมอื งการคา้ และเมอื งท่องเทีย่ ว

ชายแดน
6.3 เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งให้กบั ชุมชน

11. แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2563 – 2565)

1. วิสัยทศั น์
กระทรวงศึกษาธกิ ารวางระบบเพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ - ทักษะ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
มีพ้ืนฐานชีวติ ทม่ี น่ั คง มีคุณธรรม มีงานทา มีอาชีพ และเปน็ พลเมืองที่เขม้ แข็ง”
“วางระบบ” หมายถึง วางระบบการจัดการเรียนรู และระบบการบริหารจัดการการศึกษาที่
บูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการให มีความคลองตัว เพื่อดาเนินการ

๔๒

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ปฏิรปู การศกึ ษารว่ มกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม “ผู้เรียน” หมายถึง เด็กปฐมวัย เยาวชน
นกั เรียน นักศึกษา และประชาชนทุกชวงวยั ทีไ่ ดร้ บั บริการจากกระทรวงศึกษาธกิ าร

“มีความรู – ทักษะ” หมายถึง ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงคของการจัดการเรียนรู และการบริหาร
จัดการการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการทจี่ ะเกิดกับผู้เรียน ได้แก 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ 2) ทักษะท่ีจาเป็น
ในศตวรรษที่ 21 (ทักษะการเรยี นรูและนวตั กรรม/ทักษะดานสื่อ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล/ทกั ษะชีวติ และอาชพี

“มีทศั นคติท่ีถกู ตองตอบานเมอื ง”หมายถึง1)ความรูความเขาใจตอชาติบานเมือง 2) ยึดม่ันในศาสนา
3) ม่นั คงในสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และ 4) มีความเออ้ื อาทรตอครอบครวั และชมุ ชนของตน

“มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม” หมายถึง 1) รูจักแยกแยะสิ่งท่ีผิด – ชอบ /ชั่ว – ดี
2) ปฏบิ ตั แิ ตส่ ่ิงท่ีถูกตองดงี าม 3) ปฏิเสธสิ่งทีไ่ ม่ถูกตอง 4) มรี ะเบยี บวนิ ยั และ 5) มสี ขุ ภาพท่แี ขง็ แรง

“มีงานทา มีอาชีพ” หมายถึง 1) การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาตองมุงใหเด็ก เยาวชน
รักการทางาน สู้งาน อดทนทางานจนสาเร็จ 2) การเรียนการสอนทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมี
จุดมุ่งหมายใหผ้เู รียนทางาเป็น 3) ตองสนับสนนุ ผสู้ าเร็จหลกั สูตรใหมีอาชีพ และมงี านทา

“เป็นพลเมืองที่เขมแข็ง” หมายถึง การเป็นผู้มีสวนร่วมในการพัฒนาชาติ มีจิตอาสา การอยู
รว่ มกันและยอมรับความแตกต่างในสังคมไทยบนหลกั การประชาธิปไตย ตามมาตรฐานการศกึ ษา ของชาติ

2. เปา้ หมายหลกั
2.1 คุณภาพการศกึ ษาของไทยดขี น้ึ ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
2.2 ครูมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ
2.3 สถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐานในภมู ิภาคมีทรพั ยากรพ้ืนฐานท่ีเพยี งพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.4 ผูเ้ รียนทุกกลมุ่ ทุกช่วงวัยได้รับโอกาสในการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต
2.5 ระบบและวิธีการคัดเลอื กเพอ่ื การศกึ ษาต่อได้รบั การพฒั นาปรับปรงุ แก้ไข
2.6 ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาได้รับการเพิ่มเติมความรู้ทักษะในการประกอบอาชีพ

ทีต่ รงกบั สภาพตลาดแรงงานในพ้นื ทช่ี มุ ชน สังคม จังหวัด และภาค
2.7 กาลังคนได้รับการผลติ และพฒั นาตามกรอบคุณวุฒิแหง่ ชาติ
2.8 ผู้เรียนปฐมวัยได้รับการเตรียมความพร้อมในด้านสุขภาพและโภชนาการ ร่วมกับ

หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
2.9 มีองค์ความรู้ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ที่สนับสนุนการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี

จงั หวดั และภาค
2.10 ระบบบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการปรับปรุงให้มี

ประสทิ ธภิ าพ เพอื่ รองรับพน้ื ที่นวัตกรรมการศึกษาร่วมกบั ทกุ ภาคสว่ น

3. พันธกิจ
3.1 ยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษา
3.2 ลดความเหลอื่ มลา้ ทางการศกึ ษา
3.3 มุ่งความเป็นเลศิ และสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
3.4 ปรับปรุงระบบบริหารจัดการการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร

เพ่มิ ความคล่องตวั ในการรองรบั ความหลากหลายของการจดั การศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาล

๔๓

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

4. ยทุ ธศาสตร์
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมทั้งงานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการ

ของประเทศ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 เพมิ่ โอกาสใหค้ นทุกชว่ งวัยเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ การศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ

จัดการศกึ ษา

12. นโยบายการจัดการศึกษา ของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนชุ เทยี นทอง)

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) ได้ประกาศนโยบายการจัด
การศึกษา เม่ือวนั ที่ 29 มีนาคม 2564 จานวน 12 ข้อ ประกอบด้วย

(1) การปรับปรุงหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทนั การเปลย่ี นแปลงของโลก
ในศตวรรษท่ี 21

(2) การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดจิ ิทลั

(3) การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP)
และการส่งเสรมิ การฝึกทกั ษะดจิ ิทัลในชวี ิตประจาวนั

(4) การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้
จังหวดั เป็นฐาน

(5) การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัด
ความรู้ และทกั ษะท่จี าเป็นในการศึกษาตอ่ ระดับอุดมศึกษาทัง้ สายวิชาการและสายวชิ าชีพ

(6) การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเปูาหมาย รวมถึงการระดม
ทรพั ยากรทางการศึกษาจากความรว่ มมือทุกภาคส่วน

(7) การนากรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาติ (NQF) และกรอบคณุ วฒุ อิ า้ งองิ อาเซียน (AQRF) สกู่ ารปฏิบตั ิ
(8) การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหไ้ ด้รบั การดูแลและพฒั นาก่อนเข้ารับการศึกษา
(9) การศึกษาเพ่ืออาชีพและสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
(10) การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทย ด้วยการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใช้
ในการจดั การศึกษาทกุ ระดับการศึกษา
(11) การเพม่ิ โอกาสและการเข้าถงึ การศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทางการศึกษา
และผู้เรียนท่มี ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ

๔๔

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

(12) การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอด
ชวี ติ และการมสี ว่ นรว่ มของผมู้ ีส่วนเกยี่ วข้อง

13. แผนพฒั นาการศกึ ษาภาคกลาง
แผนพฒั นาการศึกษาภาคกลาง (พ.ศ.2563-2565) มสี าระสาคญั ดังน้ี
วสิ ัยทศั น์ : การศึกษาภาคกลาง สรา้ งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต มีความเป็นเลิศทางวชิ าการ

และทกั ษะวิชาชีพ เปน็ ฐานรองรับการผลิตและการบรกิ ารช้ันนา พร้อมสู่การเปลย่ี นแปลงของโลกใน
ศตวรรษท่ี 21 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อการดารงชีวิตอย่างเปน็ สุข

พันธกิจ (MISSION) :
1.เสริมสรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาของผู้เรียนอยา่ งทัว่ ถึงเทา่ เทยี มและ
ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเลิศทางวชิ าการและทักษะวิชาชพี สู่
มาตรฐานสากลรองรบั การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั ศึกษาเพอื่ พัฒนาผู้เรยี นใหด้ ารงชีวิตอยา่ งเปน็ สขุ บนวถิ ีพหุ
วัฒนธรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. ส่งเสริม สนบั สนุน พฒั นาศกั ยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาตามสมรรถนะ
มาตรฐานวิชาชพี ระดบั นานาชาติ
5. พัฒนาประสิทธภิ าพระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาตามหลักธรรมาภิบาล
6. สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของเครือข่ายและทุกภาคสว่ นในการสนบั สนนุ การจัดการศึกษา
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ :
1. การจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ
2. สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ
3.การผลติ พฒั นากาลงั คน งานวิจัย และนวัตกรรม ทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของการ
พัฒนาประเทศ
4.พัฒนาศักยภาพของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตามสมรรถนะมาตรฐานวชิ าชพี ระดบั
นานาชาติ
5. การพฒั นา และเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้มที ักษะในศตวรรษท่ี 21
6. การจัดการศกึ ษา เพื่อสง่ เสริมคุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
7. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาและสง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

๔๕

รายงานการตดิ ตามการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

14. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (กาญจนบรุ ี ราชบุรี สพุ รรณบรุ ี) พ.ศ. 2562 – 2565
(ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2565) กลุ่มงานบรหิ ารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1
กระทรวงมหาดไทย

สรปุ ข้อมลู แผนพฒั นากลุม่ จงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง
1) จดุ มุง่ เนน้

1.1 การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ (ข้าว พืชผัก ผลไม้ พืชสมุนไพร พืชไร่
ปศุสัตว์ และการประมง)

1.2 การท่องเทีย่ วเชิงธรรมชาติ เชิงประวตั ศิ าสตร์และเชงิ ศิลปวัฒนธรรม ภายใต้อตั ลักษณ์ทม่ี ีคุณภาพ
1.3 การพฒั นาและสง่ เสริมศักยภาพการค้าชายแดน และการคา้ ผ่านแดนภาคตะวันตก
2) เป้าหมายการพฒั นา “ศนู ยก์ ลางการผลิตและการตลาดสินคา้ ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม
ปลอดภยั การท่องเทยี่ วคุณภาพ และการคา้ ภาคตะวนั ตก”
3) พนั ธกิจ
3.1 ปรับโครงสรา้ งการดาเนินงานทางเศรษฐกิจของชุมชน เกษตรกร วสิ าหกิจชมุ ชนสหกรณ์
และ วิสาหกจิ ขนาดกลางขนาดย่อม ให้มีความสามารถในการแข่งขัน ก้าวทันเทคโนโลยีรู้ทนั บรบิ ทโลกรอดพน้
กบั ดัก รายไดป้ านกลางสกู่ ารมรี ายได้ท่ีมั่นคง มัง่ คั่งและยัง่ ยนื
3.2 สร้างและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเครือขา่ ยระหว่างภาคเอกชน ชุมชนประชาคม
และ ภาครัฐรวมถึงเครือข่ายภายใน ในการพัฒนาส่งเสริมระบบดาเนินงานทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในกลุ่มจังหวัด
3.3 ปรับปรุง สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและกิจกรรมอื่นๆ
ท่ีเก่ียวข้อง ทม่ี กี ารเช่ือมโยงกัน และการพฒั นาทางเศรษฐกิจร่วมกันของกลมุ่ จังหวดั
3.4 พัฒนาระบบติดตามและประเมนิ ผล รวมถงึ กลไกในการขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมของ
กลุม่ จงั หวัดใหบ้ รรลุผลตามวตั ถปุ ระสงค์
4) เปา้ ประสงคร์ วม เศรษฐกิจม่นั คง ประชาชนมง่ั คง่ั และความสขุ ทย่ี ง่ั ยนื โดย
4.1 เศรษฐกิจมน่ั คง ประเมินจากอตั ราการขยายตัวมลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์กลุ่มจังหวดั รอ้ ยละ 3.5
4.2 ประชาชนมัง่ คัง่ ประเมนิ จากมลู คา่ ผลติ ภณั ฑก์ ลุ่มจงั หวดั เฉลย่ี ต่อหวั เพ่มิ ขน้ึ ร้อยละ 5
4.3 ความสขุ ท่ีย่งั ยืน ประเมินจากค่าดชั นีความก้าวหน้าของคน (HAI) เฉลย่ี ของกลมุ่ จงั หวดั
ต้องไม่น้อยกว่าคา่ เฉลย่ี ของปี 2562 (หรือไม่น้อยกวา่ 0.6000)
ประเดน็ การพัฒนา
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1 พัฒนาสนิ ค้าเกษตร อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม และบริการดว้ ย
นวตั กรรมสมู่ าตรฐานสากล
ประเดน็ การพฒั นาที่ 2 ศนู ย์กลางการท่องเท่ียวคุณภาพเชิงอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ภาคตะวันตก
และอารยธรรมทวารดี

๔๖

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประเด็นการพัฒนาที่ 3 พัฒนาและส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนให้มีศักยภาพ
ผลกั ดนั เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษนาไปส่กู ารกระตนุ้ ให้เกดิ การค้า การลงทุนระหว่างประเทศ

15. แผนพัฒนาการศึกษากล่มุ จงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563 – 2565)
ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 3

วิสยั ทศั น์
ภาคสามบุรี สรา้ งคนดี มงี านทา มีทกั ษะทีจ่ าเป็นสาหรับโลกในศตวรรษท่ี 21 ตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พันธกจิ
1. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ อย่างทั่วถึง และมีคณุ ภาพ
2. สง่ เสรมิ การผลิต พัฒนากาลังคน ให้สอดคล้องความตอ้ งการของท้องถ่ิน ตลาดแรงงาน และ
รองรบั การพฒั นาประเทศ
3. สง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม การดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. ส่งเสริม พัฒนาระบบบริหารจดั การศึกษาโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์
1. ประชากรทุกชว่ งวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพตามมาตรฐานอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทยี ม
2. ประชากรมที กั ษะอาชพี มีงานทา สอดคล้องกบั บรบิ ทและความต้องการของตลาดแรงงาน
3. ผูเ้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม ดาเนนิ ชีวติ อยา่ งมีความสขุ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. หน่วยงานการศกึ ษามีระบบบริหารจดั การทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ เน้นการมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล

ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมนั่ คงของชาติ
2. การพัฒนาศกั ยภาพคน และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต
3. การสรา้ งโอกาสทางการศึกษาให้กบั ผูเ้ รียนอยา่ งทัว่ ถงึ และเทา่ เทียม
4. การผลติ พัฒนากาลังคน การวจิ ัย และนวตั กรรม ที่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของการพฒั นาประเทศ
5. การจัดการศกึ ษา เพอ่ื สร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. การบริหารจัดการศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คงของชาติ

เป้าประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์
1.1 คนทกุ ชว่ งวัยมีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดมัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
1.2 คนทุกช่วงวัยไดร้ ับการศึกษาการดูแลและปูองกนั จากภัยคุกคามในชีวติ รูปแบบใหม่

๔๗

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยุทธ์ท่ี 1 สง่ เสริมและพัฒนาการจดั การศึกษาทเ่ี สรมิ สรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและ
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข

ตัวชี้วดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

1. ร้อยละของสถานศกึ ษาทจ่ี ัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การ 1. สร้างจิตสานกึ ของคนไทยทุกชว่ งวัยให้มคี วามรัก
เรยี นรู้ใหผ้ ูเ้ รยี นแสดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลัก ในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ของชาติ ยึดมัน่ การปกครองระบบประชาธปิ ไตยอันมี 2. เสรมิ สรา้ งความรู้ความเข้าใจท่ถี กู ตอ้ งเกี่ยวกับ
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์
3. ปลูกฝงั และส่งเสรมิ วิถปี ระชาธิปไตย ความสามัคคี
2. รอ้ ยละของผู้เรียนท่มี พี ฤตกิ รรมทีแ่ สดงออก สมานฉนั ท์ และยดึ ม่นั ระบบประชาธปิ ไตยอันมี
ถงึ ความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มั่น พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
การปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์
ทรงเป็นประมขุ

กลยทุ ธท์ ี่ 2 สง่ เสริมการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันและการพฒั นาทกั ษะชีวิตเพ่ือความม่นั คงของชาติ

ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

3. รอ้ ยละของสถานศึกษาทนี่ ้อมนาพระบรมราโชบาย 4. สง่ เสรมิ สถานศกึ ษาในการจดั การศึกษา โดยน้อมนา

ด้านการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และ พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรชั กาล

หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปพฒั นาผูเ้ รียน ที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับ

ให้มคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามท่กี าหนดได้ พฒั นาผู้เรยี น

อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

4. ร้อยละของนักเรียนท่ีนาแนวทางกระบวนการลกู เสอื 5. สง่ เสริมสนบั สนนุ การนาหลกั การของกระบวนการ

ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั และมที กั ษะชวี ิตเพ่มิ ขนึ้ ลกู เสอื มาบูรณาการกับการเรยี นการสอนและการจัด

กจิ กรรมใหก้ บั ผูเ้ รียน

5. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรยี นการสอน/ 6. พัฒนาหลักสตู รการจัดการเรียนการสอน และจดั

กจิ กรรมเพื่อเสรมิ สรา้ งความเปน็ พลเมือง (Civic กจิ กรรมสร้างเสรมิ ความรูแ้ ละทกั ษะความเป็นพลเมอื ง

Education) เพมิ่ ข้นึ (Civic Education)

6. ร้อยละของผูเ้ รียนทม่ี คี วามเข้าใจในพหุวฒั นธรรม 7. ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรยี นรู้เชงิ บูรณาการเพอ่ื

เสริมสรา้ งความร้คู วามเข้าใจในการอยูร่ ว่ มกันในสังคม

พหวุ ัฒนธรรม

7. ร้อยละของสถานศกึ ษาทม่ี กี ารจัดการเรยี นการสอน/ 8. ปรบั หลกั สตู ร/กระบวนการจดั การเรยี นการสอน/

กิจกรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม จดั กิจกรรม เพ่อื ส่งเสรมิ การอยู่รว่ มกันในสงั คม

พหวุ ัฒนธรรมเพมิ่ ขนึ้ พหวุ ฒั นธรรม

8. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรยี นการสอน/ 9. ปรับหลกั สตู ร/กระบวนการจดั การเรียนการสอน/

กิจกรรมที่สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั หรอื ปูองปรามการทจุ รติ จัดกิจกรรม เพื่อปลกู ฝังและเสริมสร้างความรู้

คอร์รัปชั่นเพ่ิมข้ึน ความเขา้ ใจ/ภูมิคุ้มกนั /ปูองปรามการทจุ ริตคอร์รปั ชนั่

๔๘

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนนิ งาน

9. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทไี่ ด้รบั การประเมิน 10. พัฒนา/สรา้ งศนู ยก์ ารเรียนรู/้ โรงเรียนตน้ แบบ
สถานศึกษาพอเพียงตน้ แบบ ทจ่ี ัดการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10. จานวนสถานศึกษาท่ีเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ในแตล่ ะพน้ื ที่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา
11. จานวนสถานศกึ ษาทจ่ี ดั การเรียนการสอนและ
กิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนา
แนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การ
ปฏิบตั เิ พ่มิ ข้ึน

กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาการจดั การศึกษาเพือ่ การจัดระบบการดูแลปอ้ งกนั ภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ อาทิ
อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบตา่ ง ๆ ยาเสพตดิ ภัยพิบตั ิจากธรรมชาติ ภยั โรคอบุ ัตใิ หม่ ภยั จากสังคม
ออนไลน์ ภยั คุกคามจากไซเบอร์ เปน็ ตน้

ตัวช้วี ัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

12. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีม่ กี ารจดั การเรียนการ 11. สง่ เสริมกระบวนการเรียนร/ู้ จัดกิจกรรมรณรงค์

สอน/กิจกรรม เพือ่ เสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจที่ถูกต้อง และปูองกนั ภยั และสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเร่ืองภัย

เก่ียวกับภยั คกุ คามในรปู แบบใหม่เพิม่ ข้ึน คกุ คามรูปแบบใหม่

13. หน่วยงาน/สถานศึกษา มีระบบ กลไก และมาตรการที่ 12. สร้าง และพฒั นาระบบ กลไก และมาตรการท่ี
เข้มแข็งในการปอู งกนั และแกไ้ ขภยั คกุ คามในรูปแบบใหม่ เขม้ แข็งในการปูองกนั และแกไ้ ขภัยคุกคามรูปแบบใหม่

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพฒั นาศกั ยภาพคน และการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ

เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์

2.1 ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย มีทักษะและคุณลักษณะทจี่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21
2.2 ระบบการศึกษาทุกระดับมคี ุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลขุ ีดความสามารถในศตวรรษท่ี 21
และได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านพหุปัญญา
2.3 สถานศึกษาทุกระดับสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน
2.4 ประชากรทกุ ชว่ งวัยไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพตามความตอ้ งการอย่างเหมาะสมกับช่วงวยั
2.5 แหล่งเรยี นรู้ สอื่ นวตั กรรม และส่อื การเรยี นรู้ มคี ุณภาพและมาตรฐาน

๔๙

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยทุ ธ์ท่ี 1 ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหค้ นทกุ ช่วงวยั มีทักษะความรู้ความสามารถและการพัฒนาคณุ ภาพ
ชวี ิตอย่างเหมาะสมตามทกั ษะและคณุ ลกั ษณะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ 21

ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

1. รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ ที ักษะและคณุ ลกั ษณะ 1. พัฒนาหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทั้งในระบบ

ท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 นอกระบบและตามอธั ยาศยั ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน เพ่ือ

2. ร้อยละของนกั เรยี นท่มี คี ะแนนผลการทดสอบ พฒั นาทักษะและคณุ ลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และ
ทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET, ทักษะคณุ ลักษณะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs)
N-NET, V-NET) แตล่ ะวชิ าผ่านเกณฑค์ ะแนน 2. พัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นรูท้ ่ีจาเปน็ สาหรบั ผู้เรยี น
ร้อยละ 50 ข้ึนไป ในศตวรรษที่ 21 ส่งเสรมิ การเรียนรแู้ บบคดิ วิเคราะห์
ทกั ษะกระบวนการ การนาหลักการไปประยกุ ต์ใชแ้ ละขยาย
สู่การสรา้ งความรเู้ ชิงวจิ ัยและการพัฒนานวตั กรรม เพอื่
พัฒนาตนเองและสรา้ งประโยชนต์ ่อสงั คม

3. ร้อยละของเด็กแรกเกิด – 5 ปมี พี ฒั นาการสมวยั 3. ส่งเสริม สนับสนนุ และพฒั นาการบรหิ ารจัดการศูนย์
เพิ่มข้ึน พัฒนาเดก็ เลก็ และการศกึ ษาปฐมวยั (3 – 5 ปี) ใหม้ ี

คณุ ภาพและมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ
4. ร้อยละของศูนย์เดก็ เล็ก/สถานศกึ ษาระดับปฐมวยั 4. สร้างความร้คู วามเข้าใจท่ถี ูกต้องในการจดั ประสบการณ์

ทีจ่ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้ไดค้ ณุ ภาพและมาตรฐาน การเรียนรเู้ พื่อเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาเด็กปฐมวยั

5. จานวนสถาบนั การศกึ ษาในระดับอาชวี ศึกษา 5. สง่ เสริมสนับสนนุ การผลติ และพฒั นากาลงั คนในสาขา
ทีจ่ ดั การศึกษาตามหลักสตู รทีม่ งุ่ พฒั นาผ้เู รียนให้มี และกลมุ่ อุตสาหกรรมเปาู หมายให้มคี วามรูแ้ ละสมรรถนะ
สมรรถนะทส่ี อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ท่ีไดม้ าตรฐาน ตรงกบั ความตอ้ งการของผู้ใช้ สอดคลอ้ งกับ

เพ่มิ ขึ้น ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ
6. พัฒนาหลักสตู ร/กจิ กรรม ทมี่ งุ่ พฒั นาผูเ้ รียนระดบั
อาชีวศึกษา ใหม้ สี มรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์

ประเทศไทย 4.0

6. จานวนสถานศึกษา/สถาบนั การศึกษาทีจ่ ัด 7. สง่ เสริมให้สถานศึกษามีวชิ าเลือก เรียนภาษาของ
การเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกอาเซียน (+3) ตามบรบิ ทของพื้นที่
อาเซยี น (+3)

๕๐

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยุทธท์ ี่ 2 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั พหปุ ัญญา

ตัวชวี้ ัดความสาเร็จ แนวทางการดาเนนิ งาน

7. ร้อยละของผู้เรียนท่ีได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ 8. พฒั นาการเรยี นการสอนสาหรับผูเ้ รยี นตามความสามารถ

ท่ีสอดคล้องกับพหุปัญญาในแต่ละด้าน พเิ ศษ (พหุปญั ญา) อยา่ งมรี ะบบและมาตรฐาน

9. สรา้ งและพฒั นาส่ือนวตั กรรมในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ

การจัดการเรยี นร้สู าหรับผเู้ รยี นตามความสามารถพเิ ศษ

(พหุปัญญา)

10. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ กลไกการคดั กรองและการสง่ ตอ่

เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนตามพหุปัญญาให้เต็มตาม

ศักยภาพ

8. รอ้ ยละของสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ทจ่ี ดั 11. ส่งเสริมการจดั กระบวนการเรยี นรู้เชงิ บูรณาการ

กระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ บรู ณาการเพือ่ พฒั นาการคิด เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์

วิเคราะหแ์ ละความคิดสรา้ งสรรค์ ในมิติคุณธรรมจริยธรรม ค่านยิ ม สงั คมพหุวัฒนธรรม

หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปน็ พลเมือง

ในศตวรรษท่ี 21

9. รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ 12. การคัดกรองและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนท่ีมี

ไดร้ ับการพฒั นาดา้ นทักษะอาชพี ทกั ษะการดารงชีวติ ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ

และมจี ิตสาธารณะ 13. สรา้ งและพัฒนาระบบการแนะแนวการศึกษาด้านอาชีพ

และทักษะชีวิต เพื่อการศึกษาต่อ การทางาน หรือ

การดารงชีวิตท่มี คี ณุ ภาพ

กลยทุ ธ์ท่ี 3 ส่งเสริมและสนับสนนุ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต

ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

10. รอ้ ยละของประชากรทกุ ชว่ งวยั มีทักษะในการ 14. พฒั นารูปแบบกระบวนการจัดการเรยี นรู้/หลักสตู ร
เรยี นรไู้ ด้ด้วยตนเอง ทีต่ อบโจทย์การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ให้เหมาะสมสาหรบั
11. ร้อยละของประชากรทกุ ชว่ งวัยเป็นผู้ทีส่ นใจ ประชากรทกุ ชว่ งวัย
ใฝเุ รียนรู้ตลอดชีวิต 15. พฒั นาระบบคลงั หน่วยกติ (Academic Credit Bank)
ต้งั แตร่ ะดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เพื่อสนบั สนนุ กระบวนการ
12. รอ้ ยละของสถานศึกษาทส่ี ง่ เสรมิ ทกั ษะ เรยี นร้ทู ีห่ ลากหลาย
ในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง

13. จานวนผสู้ งู วยั ท่ีไดร้ บั บรกิ ารการศกึ ษาเพ่ือ
พัฒนาทักษะอาชพี และทักษะชวี ติ ตามความจาเปน็
เพิม่ ข้ึน

๕๑

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยุทธท์ ี่ 4 พฒั นาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

ตัวช้ีวดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

14. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา สามารถพัฒนา 16. พัฒนาครผู สู้ อนในการจัดการการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
หลกั สูตรการจัดการเรียนรู้ และการวดั ประเมินผล เพื่อยกระดับสมรรถนะครสู ูร่ ะดบั นานาชาติ
อยา่ งมคี ณุ ภาพในรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามศกั ยภาพ
ของผเู้ รียนแตล่ ะบคุ คล (พหุปัญญา)

กลยุทธ์ที่ 5 สง่ เสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ /ส่ือการเรียนร้/ู คลงั ขอ้ มลู / นวตั กรรมการเรียนรู้
ใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน มีความหลากหลาย และเพียงพอกบั ประชาชนแต่ละช่วงวัย โดยประชาชน
สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรูไ้ ดโ้ ดยไม่จากัดเวลา และสถานท่ี

ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

15. จานวนศนู ยก์ ารเรยี นรู/้ แหล่งเรียนร้/ู สอื่ การ 18. พัฒนาศนู ย์การเรียนร/ู้ แหล่งเรียนรู้ ใหม้ ีคุณภาพ
เรยี นรู้ ท่ไี ดร้ บั การพฒั นา มาตรฐาน และมที ี่ตงั้ เหมาะสมเพยี งพอในชุมชน
ตามสดั สว่ นของประชากรในแตล่ ะพืน้ ที่
16. รอ้ ยละของแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีจดั การเรยี นรู้ และ
บรรยากาศส่ิงแวดล้อม ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การพฒั นาทกั ษะ
อาชพี ตามความถนัด

17. ร้อยละของชมุ ชนทมี่ ีการจดั การแหลง่ เรยี นรทู้ ม่ี ี
คุณภาพเพมิ่ ข้นึ

18. จานวนสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม ท่ีไดร้ บั การ 19. ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการบรู ณาการภาครฐั กับภาคเอกชน
พัฒนา โดยการมสี ว่ นร่วมจากภาครฐั และเอกชน ในแต่ละพน้ื ท่ี ใหม้ สี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา และ
สนับสนนุ การนาเข้าเทคโนโลย/ี องคค์ วามรขู้ องภาคเอกชน
ท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทพน้ื ทน่ี ามาพฒั นากระบวนการจัดการ
เรียนการสอน

19. จานวนสือ่ ดิจทิ ัลเพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน และ 20. พัฒนารปู แบบสือ่ ดิจทิ ลั ทสี่ ง่ เสริมความรู้ในการพัฒนา

การส่งเสรมิ ความรู้ และการมอี าชีพเพ่มิ ขึน้ อาชีพ ความรู้สถานการณ์เศรษฐกิจในพน้ื ท/่ี ชุมชน

ใหเ้ หมาะสมตามบริบทในแตล่ ะพืน้ ท่ี

20. มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการศึกษา 21. สร้างการเรยี นรู้ MOOC (Massive Open Online
ทท่ี นั สมัย สนองตอบความต้องการของผู้ใชบ้ ริการ Courses) สาหรับนกั เรยี นในระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และสายอาชีพ
22. พฒั นาแอพพลิเคชน่ั การศึกษาออนไลน์ สาหรับทุกคน
21. ร้อยละของผู้ใช้บริการเครือขา่ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
เพ่อื การศึกษาเพิม่ ข้ึน

๕๒

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผเู้ รียนอยา่ งทั่วถึง และเท่าเทียม

เปา้ ประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
3.1 คนทุกชว่ งวัยไดร้ ับการศึกษาและเรียนรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ
3.2 เพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่อื การศึกษาสาหรบั ประชากรทุกช่วงวยั

กลยุทธท์ ี่ 1 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาทห่ี ลากหลายให้กบั ผ้เู รียนอยา่ งทัว่ ถึงและเทา่ เทียม

ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนนิ งาน

1. ร้อยละของผเู้ รยี นต่อประชากรวยั เรียน 1. การอบรมพฒั นาทกั ษะการดารงชีวิตสาหรบั
 ปฐมวยั ประชากรทุกช่วงวยั

 ประถมศกึ ษา 2. พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนในทกุ ระดับชน้ั
 มัธยมศึกษาตอนตน้

 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (สายสามญั และอาชพี ) 3. พัฒนาระบบฐานข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษา
 อดุ มศกึ ษา ของผู้เรียนทุกระดับ และทุกประเภท รวมถงึ ผเู้ รียนท่ี
ขาดทุนทรพั ย์ และผูเ้ รยี นทมี่ ีความตอ้ งการจาเปน็
2. อตั ราการเรยี นตอ่ ระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา
อาชวี ศึกษา และอดุ มศกึ ษา พิเศษทค่ี รอบคลุม ครบถว้ น ทันสมัย

 ประถมศึกษา

 มัธยมศึกษา

 อาชีวศกึ ษา

 อดุ มศกึ ษา

3. รอ้ ยละของนกั เรียนออกกลางคัน

 ประถมศึกษา

 มัธยมต้น

 มัธยมปลาย (สายสามญั )

 มัธยมปลาย (สายอาชีพ)

4. ปกี ารศึกษาเฉลย่ี ของประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ปี)

5. ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมคี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ
มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพนื้ ฐานของแตล่ ะระดับ

6. จานวนผเู้ รียนการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศยั

7. ร้อยละของสถานศึกษาท่มี กี ารพฒั นาหลักสูตร
สถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรียนและ
พื้นท่ี

8. ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป)ี มจี านวนปีการศกึ ษา
เฉลยี่ เพ่ิมขึน้

๕๓

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

9. จานวนผสู้ ูงวยั ท่ไี ดร้ บั บรกิ ารการศึกษาเพอื่ พัฒนา
ทักษะอาชีพและทกั ษะชวี ติ เพม่ิ ข้ึน
10.จานวนสาขาและวชิ าชพี ท่ีเปดิ โอกาสให้ผูส้ งู วยั ได้รบั
การส่งเสรมิ ใหท้ างานและถา่ ยทอดความรู้/ประสบการณ์
เพม่ิ ขน้ึ

กลยทุ ธ์ท่ี 2 ส่งเสริม สนบั สนนุ /ยกระดบั คณุ ภาพ การสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษา
ในพนื้ ทีพ่ เิ ศษ (พ้นื ท่ีสูง พืน้ ที่ตามแนวตะเข็บชายแดน ทั้งกล่มุ ชนตา่ งเชอ้ื ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุม่ ชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว)

ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

11. จานวนผ้เู รียนในพื้นทีช่ ายแดน ไดร้ บั การส่งเสรมิ 4. สง่ เสรมิ การเพ่มิ โอกาสทางการศึกษา เพ่ือลด

การเรียนรู้ทมี่ ีคณุ ภาพ ในดา้ นทกั ษะวิชาการ ทกั ษะชวี ิต ความเหล่ือมล้าทางการศึกษาในพนื้ ทชี่ ายแดน

และทักษะอาชีพ ทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ท

12. ร้อยละของผเู้ รยี น และประชาชนในเขตจงั หวัด 5. ส่งเสริมการเข้าถงึ การศึกษาที่มีคุณภาพของเดก็
และเยาวชนดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาในบรบิ ททม่ี ี
ชายแดนไดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพหรือทกั ษะ
ด้านอาชีพ สามารถประกอบอาชพี ในทอ้ งถน่ิ เพ่ิมขึน้ ความหลากหลาย (กลุ่มชนตา่ งเชอื้ ชาติ ศาสนา
13. ร้อยละของผู้เรียนในเขตชายแดนเขา้ รว่ มโครงการ วัฒนธรรม เศรษฐกจิ ความเปน็ เมืองและชนบท)

ดา้ นการพฒั นาศักยภาพหรอื ความสามารถพเิ ศษ

เฉพาะด้านเพิ่มขน้ึ

14. ร้อยละของสถานศึกษาในเขตจังหวัดชายแดนมี

การจัดเรยี นการสอนโดยบรู ณาการหลักสูตรให้

สอดคล้องกับสงั คม วฒั นธรรมและภาษาถ่นิ เพม่ิ ขน้ึ

15. จานวนสถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษาสาหรับกล่มุ ชน

ตา่ งเชื้อชาติศาสนาภาษาและวฒั นธรรมกลุ่มชนชายขอบ

และแรงงานตา่ งดา้ วเพ่ิมขนึ้

กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั หรอื แพลตฟอร์ม เพื่อการศึกษาพัฒนา
คณุ ภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนทางไกลทุกระบบใหผ้ ู้เรียนสามารถเข้าถึงไดส้ ะดวกและ
รวดเร็วอยา่ งมีคณุ ภาพ

ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ แนวทางการดาเนินงาน

16. ร้อยละของสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มีการจัดการ 6. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั หรือแพลตฟอรม์
เรียนการสอนทางไกลดว้ ยระบบ DLIT, DLTV, ETV ด้านการศึกษา เพอ่ื ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน

๕๔

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ตัวช้ีวัดความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

17. รอ้ ยละของสถานศึกษามรี ะบบโครงขา่ ยสือ่ สาร 7. สนับสนุบรูปแบบการจัดการแอพพลิเคชั่น
โทรคมนาคมทส่ี ามารถเช่อื มตอ่ กบั โครงขา่ ย การศึกษาออนไลน์ เพ่อื เปดิ โอกาสการเขา้ ถงึ สาหรบั
อินเทอร์เนต็ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และปลอดภยั ทกุ คน
8. การพัฒนาระบบฐานข้อมลู ดา้ นการศึกษา เพ่ือสร้าง
18. ร้อยละของระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื โอกาสการเขา้ ถึงบรกิ าร
การศกึ ษาทีม่ ีประสิทธิภาพ ทนั สมยั และสนองตอบ
ความตอ้ งการของผเู้ รยี นได้อย่างทวั่ ถึง

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การผลติ และพัฒนากาลังคน, การวจิ ยั และนวัตกรรม ทสี่ อดคล้องกบั
ความตอ้ งการของการพฒั นาประเทศ

เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์

4.1 กาลงั คนมที กั ษะทสี่ าคญั จาเปน็ และมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

4.2ผูเ้ รียนและผูส้ าเร็จการศึกษามที กั ษะอนาคต
4.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่ม
ทางเศรษฐกิจ

กลยุทธท์ ี่ 1 ผลิตและพฒั นากาลงั คนใหม้ ีสมรรถนะในสาขาทต่ี รงตามความต้องการของตลาดงาน
และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนนิ งาน

1. จานวนสาขาวิชาท่เี ปดิ สอนตรงกบั ความต้องการของ 1. พฒั นาหลักสูตรการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกบั

ตลาดแรงงาน และพ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ พเิ ศษ ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและเขตเศรษฐกจิ พิเศษ

2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาให้

2. ร้อยละของผู้สาเร็จการศกึ ษาในสาขาวชิ าทเี่ ปดิ สอน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและ
ตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และพนื้ ท่ี เขตเศรษฐกจิ พิเศษ
เศรษฐกจิ พิเศษ 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การต่อยอดองคค์ วามร้ภู ูมิปญั ญา
3. สดั สว่ นผู้เรยี นอาชวี ศึกษาตอ่ สายสามญั ทอ้ งถน่ิ ดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม

4. รอ้ ยละของผู้เรยี นทเี่ รยี นในระบบทวภิ าคี/สหกจิ 4. ปลกู ฝงั คา่ นยิ มการเรยี นตอ่ สายอาชวี ศกึ ษา/พฒั นาสอ่ื
ศกึ ษาในสถานประกอบการทม่ี มี าตรฐานเพมิ่ ข้นึ ดจิ ทิ ลั เผยแพรค่ วามรู้ความเข้าใจทีถ่ ูกต้องถงึ ความสาคญั
ของผูเ้ รยี นอาชีวศึกษาท่ีเปน็ กาลงั หลกั ในการขับเคล่ือน
5. รอ้ ยละของสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาทจ่ี ดั ตลาดแรงงานของประเทศ
การศกึ ษารปู แบบทวภิ าคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตร
ในโรงงาน ตามมาตรฐานทก่ี าหนด 5. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นร้/ู จดั กิจกรรมสรา้ ง
เยาวชนรุ่นใหม่ให้มีทักษะและจิตวิญญาณในการเป็น
ผู้ประกอบการ

๕๕

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ตวั ช้ีวัดความสาเร็จ แนวทางการดาเนนิ งาน

6. อัตราการไดง้ านทา/ประกอบอาชพี อิสระของผสู้ าเรจ็
การศกึ ษาระดับอาชีวศึกษา (ไมน่ บั ศกึ ษาต่อ) ภายใน
ระยะเวลา 1 ปี เพ่มิ ขึ้น

7. จานวนของแรงงานทข่ี อเทียบโอนความรู้และ
ประสบการณ์เพ่อื ยกระดับคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา

8. รอ้ ยละของผูส้ าเร็จการศึกษามสี มรรถนะที่ตรงกบั
ความต้องการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ
เพ่มิ ข้ึน

9. มีฐานขอ้ มูลความต้องการกาลงั คน (Demand) 6. สรา้ งฐานข้อมลู ความตอ้ งการกาลงั คน โดยจาแนก
จาแนกตามกลุม่ อุตสาหกรรมอย่างครบถว้ น ตามกลุ่มอตุ สาหกรรม

10. จานวนผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาในสาขาตามกลมุ่ 7. จัดทาแผนผลิตและพฒั นากาลงั คนใหต้ รงกับ
อตุ สาหกรรมเปาู หมายทตี่ รงตามข้อมูลความต้องการ ความตอ้ งการของตลาดงานในกลมุ่ อุตสาหกรรม
กาลังคน (Demand) ในกลุ่มอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ เปาู หมาย

กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสรมิ การผลติ และพัฒนากาลังคนที่มคี วามเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น

ตัวชี้วดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

11. ระดบั ความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษเฉลี่ย 8. ยกระดบั ทกั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษของผเู้ รยี นและ
ของผู้สาเรจ็ การศึกษาในแตล่ ะระดบั เมอื่ ทดสอบ ประชาชน
ตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR)
สงู ข้ึน (ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /ระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนปลาย/ระดบั ปริญญาตร)ี

12. ร้อยละของกาลังแรงงานในสาขาอาชีพตา่ ง ๆ ทีไ่ ดร้ ับ 9. พัฒนารปู แบบการเรียนรู้เพื่อเสริมศักยภาพด้าน

การยกระดับคณุ วุฒวิ ชิ าชีพเพ่มิ ขนึ้ อาชีพดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล

13. รอ้ ยละของผสู้ าเร็จการศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา 10. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การพฒั นากาลงั คนให้มที ักษะ
มีสมรรถนะเปน็ ที่พอใจของสถานประกอบการเพิ่มขนึ้ พ้ืนฐานท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21
11. พัฒนามาตรฐานการจดั การศกึ ษาด้านอาชีพของ
14. ร้อยละความพงึ พอใจของผู้ประกอบการต่อผู้สาเรจ็ สถานศึกษาและสถานประกอบการ
การศึกษาในระดบั อาชวี ศึกษาและอดุ มศกึ ษาเพิม่ ขน้ึ 12. สง่ เสรมิ และพฒั นาหลักสตู รต่อเนอื่ งเชื่อมโยง

(การศึกษาขั้นพน้ื ฐานสายสามญั -อาชีวะ-อุดมศกึ ษา)

๕๖

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยทุ ธ์ที่ 3 สง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้และนวตั กรรมท่ีสรา้ งผลผลติ และ
มูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกจิ

ตวั ชี้วัดความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

15. จานวนโครงการ/งานวจิ ยั เพ่ือสร้างองค์ความร้/ู 13. สนบั สนนุ การดาเนนิ งานวิจยั ผา่ นศูนยว์ ิจัยและพฒั นา
นวตั กรรมทนี่ าไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาพนื้ ท่/ี นวตั กรรม
ประเทศ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษา เพ่ือสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เป้าประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์

5.1 คนทกุ ช่วงวัยมีจติ สานึกรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคิดตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ

5.2 หลักสตู ร แหล่งเรียนรู้ และส่อื การเรยี นรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับ
ส่ิงแวดล้อม และมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จากการนาแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติ

กลยทุ ธ์ที่ 1 เสรมิ สรา้ ง สนบั สนนุ การสรา้ งจติ สานึกรักษส์ ิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม
และนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัตใิ นการดาเนนิ ชีวิต

ตวั ชี้วดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

1. รอ้ ยละของศูนย์เด็กเลก็ และสถานศึกษาระดับ 1. การน้อมนาศาสตร์พระราชาสกู่ ารพฒั นาและเพิ่ม

ปฐมวัยทจ่ี ัดกจิ กรรมทีส่ รา้ งความตระหนกั ใน ศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั

ความสาคัญของการดารงชีวิตทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม 2. จดั ทาแผนงาน/โครงการสง่ เสริมสนับสนนุ การจัด

เพ่มิ ขึ้น การศึกษาและการใหค้ วามรู้ทกั ษะ และทัศนคติให้กับคน

2. ร้อยละของผ้เู รยี นทกุ ระดบั การศึกษา ผ่านเกณฑ์ ทกุ ชว่ งวัยในเรือ่ งการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตร
การประเมนิ พฤตกิ รรม ทตี่ ระหนักถึงความสาคญั ของ กบั สง่ิ แวดล้อม
การดารงชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม 3. จดั ทาแผนงาน/โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และ
จริยธรรมและการประยกุ ต์ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ การนาแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สูก่ ารปฏิบตั ิ
พอเพยี งในการดาเนนิ ชวี ติ เพม่ิ ขน้ึ

3. ร้อยละของนกั เรียนที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงงาน
ท่ีเก่ยี วข้องกบั การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ ร
กบั สง่ิ แวดล้อมเพิ่มข้นึ

4. ร้อยละของครู/บุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการ
อบรม/พัฒนาในเรอื่ งการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ป็น
มติ รกับส่งิ แวดล้อมเพมิ่ ข้ึน

5. รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีมีพฤตกิ รรมแสดงออกถงึ
การดาเนนิ ชีวิตที่เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

๕๗

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยทุ ธ์ท่ี 2 สง่ เสริมและพฒั นาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การ
สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม

ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

6. รอ้ ยละของจานวนโรงเรียนทใี่ ช้กระบวนการเรยี นรู้ 4. ปลูกฝังใหผ้ ูเ้ รยี นตระหนักถึงความสาคญั ของโครงการ

สร้างเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม เพื่อดาเนินชวี ิตอยา่ งมี โรงเรยี นคุณธรรม / โครงการโรงเรยี นสเี ขียว / โครงการ

ความสขุ เพิ่มขนึ้ หอ้ งเรยี นอนุรักษพ์ ลังงาน / โครงการรักษโ์ ลก

7. จานวนสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนสีเขยี ว รกั ษ์พลังงาน และนาไปสูก่ ารปฏิบัตไิ ด้อยา่ งย่ังยนื
5. พฒั นาหลกั สูตรและการเรียนการสอนเกยี่ วกับ
หอ้ งเรียนสเี ขียว และโรงเรยี นคุณธรรมเพ่ิมข้นึ
8. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่จัดการเรยี นการสอนและ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบจากภัย
กจิ กรรมท่เี กยี่ วข้องกับการเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวติ ที่เปน็ ธรรมชาตแิ ละภัยพบิ ตั จิ าการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ
มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
9. จานวนแหล่งเรยี นรู้ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาให้สามารถจัด 6. พัฒนาหลกั สูตรการเรียนการสอน เพือ่ สง่ เสริมให้
การศึกษา/จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่สี ่งเสรมิ ในเรือ่ งการสร้าง ผเู้ รยี นสามารถพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกับ
สงิ่ แวดล้อมไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม
เสรมิ คุณภาพชวี ติ ที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมเพิม่ ขน้ึ
10. จานวนส่ือการเรยี นรใู้ นส่อื สารมวลชนที่เผยแพร่ 7. จดั ต้ังแหล่งเรยี นรู้ในเร่ืองภัยพิบตั ิและพลังงาน
หรอื ให้ความรู้เกยี่ วกับการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวิตท่ีเปน็ ทางเลอื ก

มติ รกบั ส่งิ แวดล้อมเพม่ิ ขน้ึ

กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาองคค์ วามรู้ งานวจิ ยั และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ป็นมิตรกบั
ส่งิ แวดลอ้ ม

ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ แนวทางการดาเนินงาน

11. จานวนองคค์ วามรู้ งานวิจยั นวัตกรรมด้านการ 8. สนับสนุนการดาเนนิ งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้องกับการสร้าง
สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมในสถานศึกษา/
ของผู้เรยี น

กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาฐานขอ้ มูลดา้ นการศกึ ษาท่เี กย่ี วข้องกบั การสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกบั
สิง่ แวดลอ้ ม

ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

12. จานวนฐานข้อมูลดา้ นการศึกษาทีเ่ กี่ยวข้องกบั การ 9. พฒั นาฐานข้อมูล/แหล่งเรียนร/ู้ สื่อการเรียนการสอน
สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม อาทิ ด้านการศกึ ษาทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่

ฐานขอ้ มูลแหลง่ เรียนรู้ ส่ือการเรียนการสอน เปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อม

๕๘

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการศึกษาใหม้ ีประสิทธภิ าพ

เป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์
6.1 ระบบการบริหารจัดการศึกษามปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล ส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
6.2 ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพน้ื ที่

กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภบิ าล

ตวั ชวี้ ดั ความสาเรจ็ แนวทางการดาเนินงาน

1. มคี ลงั ข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาและดา้ นอ่นื 1. ส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการข้อมลู

ทเ่ี ก่ียวข้องท่สี ามารถอ้างองิ ได้เพื่อใช้ประโยชน์ ทางการศึกษา (Big Data)

ในการวางแผน การบริหารจดั การศึกษา การติดตาม

ประเมนิ และรายงานผล

2. ร้อยละของสถานศกึ ษาขนาดเลก็ /สถานศกึ ษาท่ี 2. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก

ต้องการความชว่ ยเหลือและพฒั นาเปน็ พเิ ศษอย่าง 3. เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

เร่งดว่ นทไี่ ม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพภายนอก ขน้ั พื้นฐาน

ลดลง 4. เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศึกษาระดับ

3. ร้อยละของสถานศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพตามเกณฑป์ ระกนั อาชีวศกึ ษา
5. เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
คุณภาพการศกึ ษาเพม่ิ ขึน้
4. คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ระดบั อุดมศึกษา
6. พัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาและ
ขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของผเู้ รียนทเี่ รยี นในกลมุ่
สถานศกึ ษาท่ีเข้าส่รู ะบบการบริหารจัดการรปู แบบใหม่ การประเมนิ ประสิทธิภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
ทุกระดบั /ประเภทการศึกษา
สูงขน้ึ (พ้ืนท่ีนวตั กรรม)

5. จานวนสถานศกึ ษา และหนว่ ยงานทางการศึกษา
ทบ่ี ริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลเพิ่มข้ึน

กลยทุ ธ์ที่ 2 สง่ เสริม และพฒั นาระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมนิ ผล

ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

6. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั การนิเทศ ดว้ ยรูปแบบ 7. พฒั นาระบบการติดตามและประเมินประสทิ ธิภาพ

ท่หี ลากหลาย ทนั สมัยและสมา่ เสมอ การจัดสรรและใช้งบประมาณเพอ่ื การศึกษา

๕๙

รายงานการติดตามการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยทุ ธท์ ่ี 3 สง่ เสริมระบบบริการสขุ ภาพ การจัดการความปลอดภัยและอาชวี อนามัยระหว่าง
สาธารณสขุ กบั สถานศึกษา เพ่ือเสริมสรา้ งศกั ยภาพด้านความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา และความฉลาด
ทางอารมณ์ ตลอดจนภูมิค้มุ กนั ดา้ นต่างๆ ในการดาเนนิ ชีวิตของผ้เู รยี น

ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ แนวทางการดาเนนิ งาน

7. ร้อยละของสถานศึกษาท่จี ัดใหม้ ีระบบจดั การความ 8. พฒั นาระบบการจัดการความปลอดภยั และ
ปลอดภยั และอาชีวอนามัย เพอื่ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพดา้ น อาชีวอนามัยในสถานศกึ ษา
ความฉลาดทางเชาวน์ปญั ญา และความฉลาด

ทางอารมณ์

กลยุทธท์ ่ี 4 สง่ เสริมผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีความก้าวหน้าในวชิ าชีพ

ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ แนวทางการดาเนินงาน

8. ร้อยละของผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 9. พัฒนาและปรบั ปรุงกระบวนการประเมนิ ทกั ษะ ความรู้

ท่ีผา่ นการประเมนิ ทักษะ ความรูค้ วามสามารถ และ ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี และ

สมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพและวิทยฐานะ วทิ ยฐานะ

9. รอ้ ยละของผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 10. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาตามหลักสตู ร
ได้เข้ารบั การพัฒนาตามหลักสูตรที่กาหนดใหเ้ ชอื่ มโยง ท่กี าหนดใหเ้ ชือ่ มโยงความกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี (Career
Path)
ความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Path)

กลยุทธท์ ่ี 5 สง่ เสริมทกุ ภาคส่วนใหม้ สี ่วนรว่ มและสรา้ งเครอื ข่ายในการจดั การศึกษา ตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนและพน้ื ท่ี

ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ แนวทางการดาเนินงาน

10. จานวนสถานศกึ ษาท่ีเขา้ รว่ มโครงการโรงเรียน 11. ส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาเข้ารว่ มโครงการโรงเรียน

ประชารัฐ ประชารัฐ

11. ระดับความพงึ พอใจของผปู้ กครองและชุมชนที่มี 12. พฒั นารปู แบบ/แนวทาง/กลไก การบรู ณาการของ
ตอ่ การให้บรกิ ารการศกึ ษาของสถานศึกษา ทกุ ภาคส่วนให้มีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
ทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ทความตอ้ งการของประชาชนและพืน้ ที่
12. จานวนหน่วยงาน องคก์ รภาครัฐ/เอกชน/สถาน 13. สร้างมาตรการจงู ใจให้ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม
ประกอบการ ที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ชมุ ชนให้การสนับสนนุ ทรัพยากรทางการศกึ ษา
ท่ีตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพนื้ ท่ี

13. จานวนมาตรการ/แนวทาง การสนบั สนนุ ทรัพยากร
ทางการศึกษา เพ่อื สร้างแรงจูงใจในการมสี ่วนร่วมของ
ทกุ ภาคสว่ นในสงั คมเพิ่มขึน้

๖๐

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

15. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
ความหมายของการตดิ ตาม
การติดตาม เป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการหน่ึงของระบบการบริหารของหน่วยงานหรือ

องค์การ เป็นกลไกในการควบคุมคุณภาพการทางานเพื่อประกันให้การดาเนินงานเป็นไปตามแผนงาน
โครงการและบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในบางครั้งยังเป็นการช่วยให้มี
การปรับปรุงแก้ไขแผนงาน โครงการและวิธีปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ
ต้องการย่ิงข้ึน การติดตามและประเมินผล จึงเป็นส่วนสาคัญที่ต้องระบุในแผนงานการติดตามและ
ประเมินผล และจะไดท้ ราบวา่ สิ่งท่ที าไปแลว้ ไดร้ บั ผลตอบแทนคุ้มกับค่าใชจ้ ่ายเพียงไร

การติดตาม เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนที่มีการกาหนดไว้แล้ว เพื่อนา
ข้อมลู มาใช้ในการตัดสินใจ แก้ไข ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนหรือกาหนดวิธีการดาเนินงานให้
เกดิ ผลดียงิ่ ขน้ึ ดังนัน้ จดุ ที่สาคัญของการติดตาม คอื การปฏบิ ัตกิ ารต่าง ๆ เพ่ือการตรวจสอบ ควบคุม กากับ
การปฏิบัตงิ านของโครงการ การตดิ ตามจะเกดิ ขนึ้ ในขณะท่โี ครงการกาลงั ดาเนินงานตามแผนท่ีกาหนด

ความหมายของการประเมนิ ผล
การประเมินผล เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และ
นาผลมาใช้ในการเพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพของการดาเนินโครงการ การประเมินผลจะเกิดขึ้นใน
ทุกขั้นตอนของโครงการ นับต้ังแต่ก่อนตัดสินใจจัดทาโครงการ ในขณะดาเนินงานในช่วงระยะต่าง ๆ และ
เมื่อโครงการดาเนนิ งานเสร็จแล้ว หรือประเมินผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ บางมิตินามาใช้
ในการประเมินความสาเร็จของโครงการว่า บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายของโครงการท่ีตั้งไว้หรือ
ไมม่ ปี ัญหา อุปสรรคอะไรบา้ ง
ความหมายและขอบข่ายการติดตามและประเมินผล
ความหมายของการติดตามและประเมินผล ได้ให้ความหมายของการติดตามผล หมายถึง
กระบวนการทใี่ หไ้ ดม้ าซ่ึงขอ้ มลู เกีย่ วกับการดาเนินงานตามแผนงานโครงการ เพ่ือบริหารแผนงาน/โครงการ
ให้มีประสิทธภิ าพย่งิ ข้ึน และเปน็ เทคนคิ ท่ีสาคญั ในการเรง่ รดั ใหแ้ ผนงาน โครงการดาเนนิ การได้แลว้ เสร็จทันเวลา
ขอบขา่ ยของการตดิ ตามและประเมนิ ผล
โดยหลกั การ การติดตามเป็นมาตรการที่จะกากบั และสนบั สนุนในการปฏบิ ัตงิ านตามแผนงาน
โครงการ มปี ระสิทธภิ าพ บรรลุวัตถปุ ระสงคท์ ี่กาหนดไว้และทนั ตามกาหนดเวลา โดยมีขอบข่ายงาน
ติดตามและประเมนิ ผลทงั้ ดา้ นปัจจัย กิจกรรมและผลการดาเนนิ งาน ดังนี้

การปฏบิ ัติงาน การติดตามและ ดา้ นปัจจยั ผลการ
ตามแผนงาน/ ประเมินผล ดาเนินงาน
ด้านกิจกรรม ปัญหาและ
โครงการ อปุ สรรค
ดา้ นผลการ
การปรับปรงุ และ ดาเนนิ งาน
พัฒนางาน

ภาพท่ี 2 แผนภมู ิขอบข่ายการตดิ ตามและประเมนิ ผล
ทีม่ า : สานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ, 2541: 477

๖๑

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การติดตามด้านปัจจัย เป็นการตรวจสอบว่า งาน/โครงการน้ันได้รับปัจจัยหรือทรัพยากร
ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพภายในเวลาที่กาหนดหรือไม่ การติดตามด้านกิจกรรมเป็นการตรวจสอบว่า
ได้ปฏิบัติงานตามกิจกรรม ขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแผนหรือปฏิทินการปฏิบัติงานท่ีกาหนดไว้หรือไม่
ส่วนการตดิ ตามด้านผลการดาเนนิ งานเป็นการตรวจสอบการดาเนินงานน้ันได้ผลงานตามที่ตั้งเปูาหมายหรือ
ตรงตามแผนหรือไม่ ข้อมูลท่ีได้จากการติดตามผลจะนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนางาน ช่วยเหลือ
แก้ไขปัญหา อุปสรรคให้ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี

จากความหมายของการติดตามและประเมินผล พอสรุปได้ว่า การติดตาม เป็นการเก็บ
รวบรวมข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า ได้มีการดาเนินการในข้ันตอนต่าง ๆ ของโครงการท่ีกาหนดได้อย่างไร
ข้อมูลท่ีได้จะนามาประกอบเป็นเคร่ืองมือ ควบคุม กากับ การดาเนินงานในขณะปฏิบัติโครงการโดยตรง
ท้งั ในดา้ นปจั จยั (Input) ดา้ นกระบวนการดาเนินงาน (Process) และด้านผลผลิต (Output) สาหรับการประเมิน
มีขอบข่ายกว้างขวาง ขึ้นอยู่ว่าจะประเมินในขั้นตอนใดของโครงการ เช่น ก่อนเริ่มโครงการ ขณะดาเนิน
โครงการซึ่งอาจดาเนินการเป็นช่วง เป็นระยะต่าง ๆ เช่น ทุก 3 เดือน ทุก 6 เดือน ทุกปี ประเมินเมื่อ
โครงการดาเนินงานไประยะคร่งึ โครงการ เป็นต้น หรือเปน็ การประเมินผลเม่ือโครงการดาเนินการเสร็จสิน้

รายงานการติดตามผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติระดับภาค
และจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงเป็นข้ันตอนการตรวจสอบกลไกการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา การสร้างการรับรู้ การขับเคลื่อนแผน การแปลงแผนสู่การ
ปฏิบัติของหน่วยงานทางการศึกษา โดยพิจารณาความสอดคล้อง ความเช่ือมโยงเชิงยุทธศาสตร์ ตลอดจน
การตดิ ตามประเมินผลการดาเนนิ งานของแผนงานโครงการ ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา ว่าได้
ปฏิบัติตามขั้นตอน กิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนงานโครงการหรือไม่ การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
หรือไม่ อยู่ในระยะเวลา งบประมาณท่ีใช้ในการดาเนินงานตามที่กาหนดไว้ ตลอดจน มีข้อมูลเพื่อ
ประกอบการตัดสนิ ใจและทบทวนเชิงนโยบายและยทุ ธศาสตร์ด้านการศกึ ษาในพื้นท่ีให้มีความเชื่อมโยงและ
สอดคลอ้ งกับทิศทางการพัฒนาประเทศนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์การ
พฒั นากลมุ่ จังหวดั และบริบทอ่ืน ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง

16. ระบบกลไก

ระบบ หมายถึง ข้ันตอนการปฏิบัติงานที่มีการกาหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้างเพื่อให้
ได้ผลออกมาตามท่ีต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทั่วกัน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ
เอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยวิธีอื่น ๆ องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยนาเข้า
กระบวนการ ผลผลิต และขอ้ มลู ปูอนกลับ ซึ่งมีความเชือ่ มโยงกนั

กลไก หมายถึง สิ่งที่ทาให้ระบบมีการขับเคล่ือนหรือดาเนินอยู่ได้ โดยมีการจัดสรรทรัพยากร
มีการจัดองค์การ หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ดาเนินงาน เพ่ือให้เป็นแนวปฏิบัติของข้ันตอนหรือระบบ
สอดคล้องกับการดาเนนิ งานขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค จึงได้กาหนด
รปู แบบ เอกสารที่แสดงข้ันตอนของระบบและกลไกต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน และสอดคล้องกับ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค สาหรับกลไกท่ีแต่ละส่วน อาจเขียน
เพมิ่ เตมิ ตามบรบิ ทและการดาเนินงานจรงิ เพ่ือสนบั สนุนใหร้ ะบบทแ่ี ต่ละระดบั เกย่ี วขอ้ งดาเนินงานได้สาเร็จ
ตามเปูาหมาย ได้แก่

๖๒

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

1. การจัดบุคลากร (Man) เช่น คาส่ังคณะกรรมการดาเนินงานหรือคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ
ผบู้ ริหารทร่ี ับผิดชอบ

2. การจดั ทรัพยากรหรอื วัสดุ (Materials) ได้แก่ การจดั สถานท่ี สภาพแวดล้อม หรือ
ทรพั ยากร วสั ดุ อุปกรณ์ ในการดาเนินงานในระบบ

3. การจัดงบประมาณ (Money) ได้แก่ การกาหนดแผน โครงการหรือกิจกรรม โดยสนับสนุน
งบประมาณเพือ่ ดาเนินงานระบบ

4. การบริหารจัดการ (Management) ได้แก่ การประชุมกรรมการ การอบรม การเผยแพร่
หรือประชาสมั พนั ธ์ การจดั กจิ กรรมตามแผนงานหรือโครงการ การติดตามและประเมินผล

๖๓

บทที่ 3

วธิ ีดาเนนิ การ

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 คร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อติดตาม
กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหน่วยการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ
สานักงานศึกษาธิการภาค 3 2) เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะท่ีมีต่อกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การ
พัฒนาการศึกษา ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 3) เพ่ือติดตาม
ผลการดาเนนิ งานการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ของหนว่ ยงานการศึกษาในพ้ืนที่
รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 และ 4) เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการ
ดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนท่ี
รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3 ซง่ึ ผ้ตู ิดตามไดก้ าหนดแนวทางในการดาเนินการ ดังนี้

1. วิธีดาเนินการ
2. เป้าหมาย
3. เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการตดิ ตาม
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถติ ิทีใ่ ช้

1. วธิ ดี าเนนิ การ

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 คร้ังน้ี ใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม
(Questionnaire) เกี่ยวกับ 1. กระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของ
หน่วยงานการศกึ ษาในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ครอบคลุมกระบวนการ 4 ด้าน ดังนี้
1) กลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 2) การขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษา 3) การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ และ 4) การติดตามและรายงาน
ผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา และ 2. การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคล่ือน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค เป็นการติดตามฯ จากแบบรายงานผลการดาเนินงานตาม
แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของหน่วยงานการศึกษาในพื้นท่ีรับผิดชอบ
ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั กาญจนบุรี จงั หวัดราชบรุ ี และจังหวดั สุพรรณบุรี

2. ประชากร

ประชากรที่ใชใ้ นการดาเนนิ การตดิ ตามกระบวนการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
สกู่ ารปฏบิ ตั ริ ะดับภาค คือ ผู้บรหิ ารหนว่ ยงานการศกึ ษา และผูม้ ีสว่ นเกย่ี วข้องในการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์
การพฒั นาการศึกษา จากหน่วยงานการศึกษาในพ้นื ที่รบั ผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จานวน 81 คน
ประกอบดว้ ย ดังนี้

รายงานการติดตามการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

1. สานักงานศึกษาธิการจังหวดั จานวน 3 จังหวดั ประกอบด้วย

1.1 ศกึ ษาธิการจงั หวัด จานวน 3 คน

1.2 ผู้อานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน จานวน 3 คน

1.3 ผู้อานวยการกล่มุ นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผล จานวน 3 คน

1.4 เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้ปฏิบตั งิ านแผน จานวน 3 คน

2. สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 3 จงั หวดั

ประกอบดว้ ย

2.1 ผู้อานวยการสานักงาน กศน. จังหวดั จานวน 3 คน
2.2 หัวหน้ากล่มุ ยุทธศาสตร์และการพัฒนา จานวน 3 คน

2.3 เจ้าหนา้ ทผี่ ปู้ ฏิบัตงิ านแผน จานวน 3 คน

3. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา จานวน 9 เขต ประกอบด้วย

3.1 ผู้อานวยการสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา จานวน 9 คน

3.2 ผอู้ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน จานวน 9 คน

3.3 ผอู้ านวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล จานวน 9 คน
การจดั การศึกษา จานวน 9 คน

3.4 บุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งในการจัดทาแผน

4. สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา จานวน 3 จังหวดั ประกอบดว้ ย

4.1 ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา จานวน 3 คน

4.2 ผ้อู านวยการกลมุ่ นโยบายและแผน จานวน 3 คน

4.3 บุคลากรท่ีเกีย่ วขอ้ งในการจัดทาแผน จานวน 3 คน

5. สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 3 จังหวัด ประกอบดว้ ย

5.1 ประธานคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน (ปส.กช.) จานวน 3 คน

5.2 บุคลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ งในการจดั ทาแผน จานวน 3 คน

6. สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาจังหวัด (อศจ.) จานวน 3 จงั หวดั

ประกอบด้วย

6.1 ประธานกรรมการอาชีวศกึ ษาจงั หวดั จานวน 3 คน

6.2 เลขาอาชีวศึกษาจังหวัด จานวน 3 คน
6.3 บุคลากรท่ีเก่ยี วขอ้ งในการจัดทาแผน จานวน 3 คน

3. เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการติดตาม

เครอื่ งมือที่ใช้ในการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ได้แก่
1. แบบสอบถามเก่ียวกับกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค
มลี กั ษณะเป็นคาถามเลือกตอบ (Check list) ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ด้าน รวมจานวน 20 ข้อ ได้แก่
ดา้ นกลไกการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษา จานวน 6 ข้อ ด้านการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศึกษา จานวน 6 ข้อ ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัติ

65

รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

จานวน 4 ข้อ และด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา จานวน
4 ขอ้ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั (Rating scale)

2. แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะที่มีต่อกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษาในพืน้ ที่ จานวน 4 ดา้ น เป็นคาถามปลายเปิด (Open-ended)

3. การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค
หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ จัดเก็บขอ้ มลู จากแบบรายงานผลการดาเนินงานทไ่ี ด้นามาวิเคราะห์/สังเคราะห์ ตาม
แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ประจาปีงบประมาณ 2564 ของหน่วยงานการศึกษาในพื้นท่ีรับผิดชอบ
ไดแ้ ก่ สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั กาญจนบุรี จงั หวดั ราชบุรี และจงั หวดั สพุ รรณบุรี

4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการภาค 3 ดาเนนิ การ ดงั นี้

4.1 จดั ทาหนงั สือราชการจากสานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 3 ส่งถึงผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา
และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงาน
ศึกษาธิการ ภาค 3 ทางไปรษณีย์ และ E-mail : [email protected] เพื่อขอความอนุเคราะห์
ตอบแบบสอบถาม และรายงานผลการดาเนินงานฯ ส่งคืนสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ทางไปรษณีย์ และ
E-mail : [email protected]

4.2 ระยะเวลาท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 9 สงิ หาคม – 15 กันยายน 2564
4.3 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบติดตามผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 และแบบรายงานผลการดาเนนิ งานฯ ทกุ ฉบบั ที่ได้รับกลับคืนมา
4.4 วเิ คราะห/์ สงั เคราะห์ สรุปผล จากแบบสอบถาม และแบบรายงานผลการดาเนินงานตาม
แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ลงในตารางวเิ คราะห/์ สงั เคราะหข์ ้อมลู
4.5 จัดทาเอกสารรายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค

5. การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ่ใี ช้

การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ผู้ติดตามนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากแบบสอบถามและ
แบบรายงานมาดาเนินการวเิ คราะห์และคานวณค่าสถิติ ตามขัน้ ตอนดงั น้ี

1. ตรวจนบั แบบสอบถามและตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา
จากแบบสอบถามที่ส่งไปยังผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคล่ือน
ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาในพื้นทีร่ บั ผดิ ชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 3 จานวน 81 ฉบับ ได้รับ
กลับคนื มา จานวน 74 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 91.36

2. นาแบบสอบถามเก่ียวกับกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การ
ปฏิบัติระดับภาค 3 ด้าน ได้แก่ 1) กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 2) การขับเคล่ือน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3) การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ
4) การตดิ ตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ซึ่งเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน

66

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประมาณค่า (rating scale) มาตรวจนับคะแนนแต่ละข้อ วิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน็ รายข้อ รายด้าน และเฉลีย่ รวมทกุ ข้อในแต่ละด้าน และ
นาเสนอในรูปแบบตารางประกอบคาบรรยาย โดยหาค่าเฉล่ียตามเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินตามแบบวิธี
ของ Likert ดังน้ี

5 คะแนน หมายถึง มกี ารปฏิบัตอิ ยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ
4 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบตั ิอย่ใู นระดับมาก
3 คะแนน หมายถึง มีการปฏบิ ัติอยใู่ นระดบั ปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง มีการปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดบั นอ้ ย
1 คะแนน หมายถึง มีการปฏบิ ัติอยู่ในระดับนอ้ ยท่ีสุด
การแปลความหมายค่าเฉล่ยี แปลความ ดงั น้ี
4.51 - 5.00 หมายความว่า มกี ารปฏบิ ัตอิ ยูใ่ นระดับมากทสี่ ดุ
3.51 - 4.50 หมายความว่า มกี ารปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดบั มาก
2.51 - 3.50 หมายความว่า มกี ารปฏิบัติอยใู่ นระดบั ปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายความวา่ มกี ารปฏิบัติอยใู่ นระดับนอ้ ย
1.00 - 1.50 หมายความว่า มีการปฏิบตั ิอยู่ในระดบั น้อยท่สี ุด
3. ข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ซ่ึงมี
ลักษณะเปน็ คาถามปลายเปิด (Open-ended) จานวน 4 ด้าน เกี่ยวกับกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค และแบบรายงานผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษา
จังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยพิจารณาผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่ตอบสนอง
ตามเป้าหมาย กลยุทธ์ สอดคล้องตามแผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563-2565)
ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 ภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์ นาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis)
แลว้ นาเสนอเป็นความเรียง

67

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

สานักงานศึกษาธิการภาค 3 ขอนาเสนอรายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การ
พัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ในคร้ังนี้
โดยวิธกี ารเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) จากหน่วยงานการศกึ ษา ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการ
ขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา ในพืน้ ทดี่ าเนินงานของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ซ่ึงผู้ติดตาม
ไดก้ าหนดแนวทางในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดังนี้

การนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
การนาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู จะนาเสนอโดยเรยี งลาดบั ดังน้ี
1. ผลการติดตามกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ี ครอบคลุม

กระบวนการ 4 ดา้ น ดังน้ี
1.1 ดา้ นกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
1.2 ดา้ นการขับเคล่ือนแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา
1.3 ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ
1.4 ด้านการตดิ ตามและรายงานผลการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา

2. ขอ้ เสนอแนะต่อกระบวนการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาในพน้ื ท่ี
3. ผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค
4. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ การดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษาระดบั ภาค

1. ผลการตดิ ตามกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาในพนื้ ที่
ผลการติดตามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ี ดาเนินการ

วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมาจากผู้บริหารการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ
ขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนท่ี จานวน 81 ฉบับ ได้รับกลับคืนมา
จานวน 74 ฉบบั คดิ เปน็ ร้อยละ 91.36 ครอบคลุมกระบวนการ ๔ ด้าน คือ 1) ด้านกลไกการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 2) ด้านการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3) ด้านการ
แปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ และ 4) ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือน
ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษา ดังตารางที่ 1-5

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษาส่กู ารปฏิบตั ริ ะดับภาค โดยภาพรวม 4 ดา้ น และจาแนกเปน็ รายดา้ น

กระบวนการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา ระดบั การปฏิบตั ิ
ในพื้นท่ี
̅ S.D. ระดบั
1. ดา้ นกลไกการขับเคลือ่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
2. ดา้ นการขับเคลอื่ นแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา 4.44 0.54 มาก
3. ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา
สู่การปฏบิ ตั ิ 4.24 0.62 มาก
4. ดา้ นการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์
การพัฒนาการศึกษา 4.35 0.61 มาก

รวม 4.36 0.67 มาก

4.35 0.58 มาก

จากตารางท่ี 1 พบว่า ในภาพรวม กระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนที่
มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.35, S.D=0.58) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน
ด้านทีม่ ากท่ีสุด คือ ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ( ̅=4.44, S.D=0.54) รองลงมา
ได้แก่ ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ( ̅=4.36, S.D=0.67)
ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ ( ̅=4.35, S.D=0.61) และด้านที่น้อยท่ีสุด คือ
ดา้ นการขับเคล่ือนแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ( ̅=4.24, S.D=0.62)

ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานดา้ นกลไกการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นา
การศกึ ษา โดยภาพรวม และจาแนกเปน็ รายขอ้

ดา้ นกลไกการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา ระดับการปฏิบตั ิ
̅ S.D. ระดบั

1. การจดั ทาแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน 4.58 0.55 มากท่ีสดุ
และเปน็ รูปธรรม
4.36 0.63 มาก
2. การนาเทคโนโลยี มาใช้เปน็ เครื่องมือหลักในการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ 4.47 0.60 มาก
4.45 0.62 มาก
3. การบริหารจดั การศกึ ษาแบบมีสว่ นรว่ ม 4.34 0.67 มาก

4. การสร้างเครอื ข่ายหนว่ ยงานการศึกษา 4.43 0.68 มาก
5. การพฒั นาการศึกษาแบบบูรณาการ เพ่อื ให้การขับเคล่ือน 4.44 0.54 มาก
ยุทธศาสตรบ์ รรลเุ ปาู หมาย

6. การจดั ระบบกากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์

รวม

69

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

จากตารางท่ี 2 พบว่า ในภาพรวมด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
มีการปฏบิ ัติอยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.44, S.D=0.54) เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติ
อยู่ในระดับมาก ข้อท่ีมีระดับการปฏิบัติมากท่ีสุด คือ การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการ
ท่ีชัดเจนและเป็นรูปธรรม ( ̅=4.58, S.D=0.55) รองลงมาได้แก่ การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม
( ̅=4.47, S.D=0.60) การสรา้ งเครอื ขา่ ยหนว่ ยงานการศกึ ษา ( ̅=4.45, S.D=0.62) การจัดระบบกากับติดตาม
ประเมินผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ( ̅=4.43, S.D=0.68) การนาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือหลัก
ในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ ( ̅=4.36, S.D=0.63) และข้อที่มีระดับการปฏิบัติน้อยที่สุด คือ การพัฒนา
การศึกษาแบบบูรณาการเพอื่ ให้การขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์บรรลุเปูาหมาย ( ̅=4.34, S.D=0.67)

ตารางท่ี 3 แสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศึกษา โดยภาพรวม และจาแนกเปน็ รายขอ้

ด้านการขับเคลื่อนแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา ระดับการปฏบิ ตั ิ
̅ S.D. ระดับ

1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจใหก้ ับหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 4.31 0.68 มาก
2. การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั วสิ ัยทัศน์ วิธีคิดและ 4.39 0.74 มาก
วธิ ีปฏิบตั แิ กผ่ ปู้ ฏบิ ัติงาน 4.26 0.68 มาก
4.09 0.76 มาก
3. การจัดการความรู้ และแลกเปลย่ี นเรียนรจู้ ากประสบการณ์ 4.29 0.71 มาก
เพ่อื ให้ผ้ปู ฏิบตั สิ ามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ
4. การเปดิ โอกาสให้ภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาสงั คม 4.09 0.76 มาก
แสดงความคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะในการจดั ทาแผน 4.24 0.63 มาก

5. การพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเชงิ พนื้ ท่ีเพ่ือใช้เปน็
ขอ้ มูลในการจดั ทาแผนและการตดั สินใจเชงิ บรหิ ารในการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

6. การแสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วน
ท่ีเกี่ยวข้อง

รวม

จากตารางท่ี 3 พบว่า ในภาพรวมด้านการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา

มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.24, S.D=0.63) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีการปฏิบัติอยู่ใน
ระดับมากทุกข้อ ข้อท่ีมีระดับการปฏิบัติมากท่ีสุด ได้แก่ การสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิด

และวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน ( ̅=4.39, S.D=0.74) รองลงมาได้แก่ การสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับ

หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ( ̅=4.31, S.D=0.68) การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพ้ืนที่เพื่อใช้เป็นข้อมูล

ในการจัดทาแผนและการตดั สินใจเชิงบรหิ ารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ( ̅=4.29, S.D=0.71) การจัดการ
ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติสามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ

( ̅=4.26, S.D=0.68) และข้อที่มีระดับการปฏิบัติน้อยท่ีสุด คือ การเปิดโอกาสให้ภาครัฐ ภาคเอกชน

70

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดทาแผน ( ̅=4.09, S.D=0.76)
การแสวงหาและระดมทรพั ยากรจากทุกภาคส่วนท่ีเก่ยี วข้อง ( ̅=4.09, S.D=0.76)

ตารางที่ 4 แสดงคา่ เฉล่ียและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานดา้ นการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา
สู่การปฏบิ ัติ โดยภาพรวม และจาแนกเปน็ รายข้อ

ดา้ นการแปลงแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษา ระดับการปฏิบตั ิ
ส่กู ารปฏบิ ตั ิ ̅ S.D. ระดบั

1. การวางแผนดาเนินงานสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์พฒั นา 4.43 0.68 มาก
การศึกษากลุ่มจังหวัด
2. การจดั อันดบั ความสาคญั ของเปูาหมาย กาหนดแนวทาง 4.35 0.71 มาก
การดาเนินงาน ระยะเวลา ผูร้ บั ผดิ ชอบของแผนปฏิบัติการ
ทช่ี ัดเจน 4.33 0.69 มาก
3. การดาเนินการตามแผนงาน/โครงการท่กี าหนด 4.31 0.68 มาก
4. การดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมในรปู แบบขององค์คณะบุคคล 4.36 0.61 มาก

รวม

จากตารางที่ 4 พบว่า ในภาพรวมด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
สู่การปฏิบัติ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.36, S.D=0.61) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีการปฏิบัติมากที่สุด คือ การวางแผนดาเนินงานสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด ( ̅=4.43, S.D=0.68) รองลงมาได้แก่ การจัดอันดับความสาคัญ
ของเปาู หมาย กาหนดแนวทางการดาเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบของแผนปฏิบัติการ ( ̅=4.35, S.D=0.71)
การดาเนินการตามแผนงาน/โครงการที่กาหนด ( ̅=4.33, S.D=0.69) และข้อที่มีการปฏิบัติน้อยที่สุด คือ
การดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมในรูปแบบขององคค์ ณะบุคคล ( ̅=4.31, S.D=0.68)

ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานด้านการติดตามและรายงานผลการขบั เคลอื่ น
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา โดยภาพรวม และจาแนกเป็นรายขอ้

ดา้ นการตดิ ตามและรายงานผลการขับเคลอ่ื น ระดบั การปฏบิ ัติ
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา ̅ S.D. ระดับ

1. การแตง่ ต้ังคณะกรรมการในการติดตาม ประเมนิ ผล 4.32 0.79 มาก
2. การตดิ ตามความก้าวหน้าของโครงการ/กจิ กรรมเปน็ ระยะ 4.42 0.68 มาก
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามแผน 4.38 0.63 มาก
4. การนาผลการประเมินมาปรบั ปรุงและพฒั นาแผนในปตี ่อไป 4.32 0.74 มาก
4.36 0.68 มาก
รวม

71

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

จากตารางที่ 5 พบว่า ในภาพรวมด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศกึ ษา มกี ารปฏบิ ัติอยู่ในระดับมาก ( ̅= 4.36, S.D=0.68) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อท่ีมีการปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ การติดตามความก้าวหน้าของ
โครงการ/กิจกรรมเป็นระยะ ( ̅= 4.42, S.D=0.68) รองลงมาได้แก่ การประเมินผลการดาเนินงานตามแผน
( ̅=4.38, S.D=0.63 การแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามประเมินผล ( ̅= 4.32, S.D=0.79) และ
ขอ้ ทมี่ ีการปฏิบัติน้อยท่สี ดุ คือ การนาผลการประเมนิ มาปรับปรุงและพฒั นาแผนในปตี อ่ ไป ( ̅= 4.32, S.D=0.74)

2. ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาในพนื้ ท่ี

การวิเคราะห์ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นท่ี
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากคาถามปลายเปิด (Open ended) ตามกระบวนการ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านกลไก
การขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา 2) ดา้ นการขบั เคล่อื นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
3) ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ และ 4) ด้านการติดตามและรายงานผล
การขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา โดยสรุปประเดน็ ความคดิ เหน็ ได้ ดังนี้

1. ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา
1.1 การจัดทาแผนงาน/โครงการ ตามยุทธศาสตร์ ต้องผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของ

ทุกภาคส่วน สร้างความเข้าใจร่วมกับทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง บูรณาการหน่วยงานการศึกษาอย่างเป็น
รูปธรรม เพือ่ ขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ของภาคไปส่เู ปาู หมาย

1.2 ควรกาหนดโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการท่ีชัดเจน เพ่ือร่วมขับเคลื่อน
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาให้สาเร็จ โดยพิจารณาว่ามีหน่วยงานใด บุคคลใดเกี่ยวข้องบ้าง แต่ละส่วน
มีบทบาทหน้าที่ในเรื่องใดบ้างที่จะร่วมขับเคลื่อนไปด้วยกัน และส่ือสารไปยังผู้เก่ียวข้อง ท้ังน้ีควรพิจารณา
โครงสร้างท่ีสานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีองค์คณะบุคคลในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ไปสู่ความสาเร็จ
ไดแ้ ก่ อนกุ รรมการบรหิ ารราชการเชิงยุทธศาสตร์ เข้ามาเปน็ กลไกสาคญั

1.3 ควรนาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ โดยนา Social Network
เช่น Line Application เป็นกลไกในการขับเคลื่อน โดยวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีส่งผลกระทบต่อการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
เพ่อื ลดการประชุมเสวนา ลดภาระในการเดนิ ทาง

1.4 ควรมีการพัฒนาบุคลากรท่ีมีบทบาทหน้าท่ีในการขับเคล่ือนฯ ให้มีความรู้ความสามารถ
เพอ่ื การพฒั นา มกี ารชี้แจง หรอื ทาความเขา้ ใจให้เห็นถึงความสอดคล้องและเช่ือมโยงของยุทธศาสตร์สู่การ
ปฏิบัติไปยังผู้ปฏิบัติหน้าที่จัดทาแผนของแต่ละหน่วยงาน เพ่ือสามารถนาความเช่ือมโยงไปสู่แผนทุกระดับ
เน้นเรอื่ งความสอดคลอ้ งระหว่างการวางแผนดาเนินงานกบั ยทุ ธศาสตรก์ ลุม่ จังหวัด

72

รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2. ดา้ นการขบั เคลื่อนแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา
2.1 ควรมกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาสู่การปฏิบัติ

ในหลายรปู แบบตามความเหมาะสม เช่น ดาเนนิ การประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom (ในสถานการณก์ าร
แพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019) หรือใชแ้ บบสอบถามที่ครอบคลมุ ทกุ ด้านท่ีตอ้ งการ ฯลฯ

2.2 ควรพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพ้ืนท่ีให้เป็นระบบ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็น
ปัจจุบัน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ

2.3 ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ชาติและดาเนินการให้สอดคล้อง
ร่วมกัน บูรณาการในการพัฒนาการศึกษาให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความจริงใจ จริงจัง และความ
ตั้งใจในการร่วมกันพัฒนาการศึกษา ไปสู่เด็ก-เยาวชน ทุกกลุ่มให้เป็นไปตามเปูาหมายตัวช้ีวัด ยุทธศาสตร์ชาติ
ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงศกึ ษาธกิ ารที่สอดคล้องกนั ส่งผลต่อการพฒั นาการศึกษาท่ียง่ั ยืน

3. ด้านการแปลงแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
3.1 ควรกาหนดแนวทางการแปลงแผนพัฒนาการศึกษาสกู่ ารปฏิบัตทิ ชี่ ดั เจน เช่น ประสาน

สือ่ สาร ข้ีแจง สรา้ งความเข้าใจทกุ ภาคสว่ น ผลกั ดันโครงการเร่งดว่ นตามนโยบาย
3.๒ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกัดในจังหวัดอย่างเป็น

รปู ธรรมโดยการแปลงยุทธศาสตร์สโู่ ครงการ/กจิ กรรม ทจ่ี ะนาไปสูผ่ ลสาเรจ็ ทีม่ คี า่ เปาู หมายชัดเจน
3.3 ควรให้ความสาคัญกับกระบวนการประสานการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติระดับพ้ืนที่

เพื่อให้สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผน ตามตัวชี้วัดและ
เปูาหมายได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล

4. ดา้ นการติดตามและรายงานผลการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา
4.1 พัฒนาระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ รวดเร็ว

เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือการทบทวน ปรับปรุงการดาเนินงานให้บรรลุเปูาหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทันเหตุการณ์ นาเสนอผลการติดตามและประเมินผลให้ทุกฝุายที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ และ
เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์

4.2 ควรใช้ระบบเทคโนโลยี ICT เข้ามาช่วยในการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ
โดยใหร้ บั การตดิ ตามรายงานผลโครงการผา่ นระบบออนไลน์ กาหนดปฏิทินการรายงานที่ชัดเจน และควรมี
การบูรณาการร่วมกันในการกาหนดแบบติดตามและรายงานผลกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อ ลดภาระและ
ลดการซ้าซ้อนในการตดิ ตาม และเกิดผลเปน็ รปู ธรรมชัดเจน

4.3 ควรมีการกากับติดตามและรายงานผลอย่างต่อเน่ืองและนาผลมาประเมินวิเคราะห์
ความสาเรจ็ ความค้มุ คา่ ค้มุ ทนุ ให้ชดั เจน สามารถไปพฒั นา ปรบั ปรงุ หรือยกเลกิ โครงการไดใ้ นปตี อ่ ไป

73

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

3. ผลการดาเนนิ งานการขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค
การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค

เป็นการติดตามฯ ผลการดาเนินงานของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3
ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
กาญจนบุรี สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดราชบุรี และสานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผู้รายงาน
ขอ้ มลู สรปุ ผลการดาเนนิ งานเปน็ รายยทุ ธศาสตร์ตามแผนพัฒนาการศกึ ษากลุ่มจังหวดั ภาคกลางตอนล่าง 1
(พ.ศ.2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 ดังนี้

ตารางที่ 6 แสดงจานวนโครงการ/กิจกรรม จาแนกตามยุทธศาสตร์ และกลยทุ ธ์

ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ จานวนโครงการ/กิจกรรม คิดเปน็
1 การจัดการศกึ ษาเพื่อ ภาพรวม ศธภ.3 รอ้ ยละ
ความม่ันคงของชาติ 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาการจัด 16 5.59
การศึกษาที่เสรมิ สรา้ งความม่ันคง
2 การพฒั นาศกั ยภาพคน ของสถาบนั หลกั ของชาตแิ ละ 18 6.29
และการสรา้ งสังคมแห่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย 14 4.90
การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ 48 16.78
ประมขุ 49 17.13
2.ส่งเสริมการสรา้ งภูมิคมุ้ กนั และ
การพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความ 1 0.35
ม่นั คงของชาติ
3.พฒั นาการจัดการศึกษาเพื่อการ
จัดระบบการดูแลปูองกันภัยคุกคาม
ในรปู แบบใหม่

รวม
1. สง่ เสริมสนับสนุนใหค้ นทกุ ช่วง
วัยมีทักษะความรู้ความสามารถและ
การพฒั นาคุณภาพชีวิตอย่าง
เหมาะสมตามทักษะและคุณลักษณะ
ท่จี าเป็นในศตวรรษท่ี 21

2.สง่ เสริมและสนบั สนนุ การเรียนรู้
ที่สอดคล้องกับพหุปญั ญา

3.สง่ เสริมและสนบั สนุนการเรียนรู้ 9 3.15
ตลอดชีวิต

4.พฒั นาคุณภาพครแู ละบุคลากร 20 6.99
ทางการศึกษา

74

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ จานวนโครงการ/กิจกรรม คดิ เป็น
ภาพรวม ศธภ.3 รอ้ ยละ
3. การสรา้ งโอกาสทาง
การศกึ ษาใหก้ บั ผเู้ รียน 5. ส่งเสรมิ และพฒั นาแหล่งเรียนร/ู้ 7 2.45
อยา่ งทว่ั ถึงและเท่าเทียม
สอื่ การเรยี นร/ู้ คลงั ขอ้ มูล/นวัตกรรม
4. การผลิต และพฒั นา
กาลังคน, การวิจัย และ การเรยี นรู้ ให้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
นวัตกรรม ทส่ี อดคล้องกบั
ความต้องการของการ มคี วามหลากหลาย และเพียงพอกับ
พฒั นาประเทศ
ประชาชนแตล่ ะชว่ งวัย โดยประชาชน

สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดย

ไม่จากัดเวลา และสถานที่

รวม 86 30.07
1. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั 17 5.94

การศกึ ษาท่ีหลากหลายให้กบั ผู้เรียน

อยา่ งทั่วถึง และเท่าเทียม

2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ /ยกระดับ - -

คุณภาพ การสร้างโอกาสในการ

เข้าถงึ การศึกษาในพ้นื ท่ีพิเศษ

(พ้นื ทส่ี ูง พืน้ ท่ตี ามแนวตะเขบ็

ชายแดน ทัง้ กล่มุ ชนตา่ งเช้ือชาติ

ศาสนา และวฒั นธรรมกล่มุ ชน

ชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว

3. ส่งเสริมโอกาสทางการศกึ ษาผา่ น 5 1.75

เทคโนโลยีดจิ ิทัล หรอื แพลตฟอรม์ เพ่ือ

การศึกษา พฒั นาคุณภาพและมาตรฐาน

การจดั การเรียนการสอนทางไกล

ทกุ ระบบให้ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงได้

สะดวกและรวดเรว็ อยา่ งมคี ุณภาพ

รวม 22 7.69
16 5.59
1. ผลติ และพัฒนากาลงั คนให้มี
สมรรถนะในสาขาท่ตี รงตามความ 7 2.45
ตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

2. สง่ เสริมการผลิตและพัฒนา
กาลงั คนที่มีความเชยี่ วชาญและเปน็ เลิศ
เฉพาะด้าน

75

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ จานวนโครงการ/กจิ กรรม คดิ เปน็
ภาพรวม ศธภ.3 ร้อยละ
5. การจดั การศึกษาเพือ่
สรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิต 3. สง่ เสรมิ การวิจยั และพัฒนาเพือ่ 3 1.05
ทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตามหลกั ปรัชญาของ สรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรมทสี่ ร้าง
เศรษฐกิจพอเพียง
ผลผลติ และมลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ
6. การบริหารจัดการศกึ ษา
ให้มีประสทิ ธิภาพ รวม 26 9.09

1. เสรมิ สร้าง สนับสนนุ การสรา้ ง 14 4.90
จติ สานึกรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั 21 7.34
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่
การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต - -
- -
2. ส่งเสริมและพัฒนาหลกั สูตร 35 12.24
กระบวนการเรียนรู้ และสือ่ การ 55 19.23
เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับการ 8 2.80
สร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตร
กบั สิ่งแวดล้อม

3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวจิ ยั และ
นวัตกรรมด้านการสร้างเสริม
คุณภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกบั
สง่ิ แวดล้อม

4. พฒั นาฐานข้อมูลดา้ นการศึกษา
ทเ่ี กยี่ วข้องกับการสร้างเสรมิ
คณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกบั
สิง่ แวดล้อม

รวม

1. ส่งเสริม พัฒนาระบบการบรหิ าร
จัดการศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพตาม
หลักธรรมาภบิ าล

2. ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบ

การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม และ

ประเมินผล

3. ส่งเสรมิ ระบบบรกิ ารสุขภาพ 1 0.35

การจดั การความปลอดภัยและ

อาชวี อนามยั ระหว่างสาธารณสุขกับ

สถานศกึ ษา เพ่อื เสริมสรา้ งศกั ยภาพ

76

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ จานวนโครงการ/กิจกรรม คิดเป็น
ภาพรวม ศธภ.3 ร้อยละ

ด้านความฉลาดทางเชาวนป์ ัญญา

และความฉลาดทางอารมณ์

ตลอดจนภูมิค้มุ กันดา้ นต่างๆ

ในการดาเนนิ ชวี ติ ผเู้ รยี น

4. ส่งเสรมิ ผู้บริหาร ครู และ 2 0.70

บคุ ลากรทางการศึกษาให้มี

ความกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพ

5. ส่งเสรมิ ทกุ ภาคส่วนให้มีสว่ นร่วม 3 1.05

และสร้างเครือข่ายในการจัด

การศึกษา ตอบสนองความต้องการ

ของประชาชนและพื้นที่

รวม 69 24.13

รวมท้งั สิ้น 286 100

จากตารางท่ี 6 พบว่า หนว่ ยงานทางการศกึ ษาในพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3

ไดด้ าเนินการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการศึกษา
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ.2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 รวมจานวน 286
โครงการ โดยมีการขับเคลอ่ื นโครงการในยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนและการสร้างสังคมแห่งการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต มากที่สุด จานวน 86 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 30.07 รองลงมาได้แก่ ยุทธ์ศาสตร์ท่ี 6

การบรหิ ารจดั การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ จานวน 69 โครงการ คิดเป็น ร้อยละ 24.13 ยุทธ์ศาสตร์ท่ี 1
การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของชาติ จานวน 48 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 16.78 ยุทธ์ศาสตร์ที่ 5
การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จานวน 35 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 12.24 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และ
นวัตกรรม ที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ จานวน 26 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 9.09 และ
ยุทธศาสตร์ที่มีการขับเคลื่อนโครงการน้อยที่สุดคือ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับ
ผู้เรียนอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม จานวน 22 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 7.69 รายละเอียดจาแนกเป็น

รายยทุ ธศาสตร์ และกลยุทธ์ ดงั น้ี
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของชาติ มี 3 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ ที่มีการ

ขบั เคลือ่ นโครงการมากทีส่ ุดคอื กลยทุ ธ์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันและการพัฒนาทักษะชีวิตเพ่ือความ
ม่ันคงของชาติ จานวน 18 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 6.29 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริมและ
พัฒนาการจัดการศึกษาที่เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบ

77

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จานวน 16 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.59 ส่วนกลยุทธ์
ที่มีการขับเคล่ือนโครงการน้อยท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 3 การพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแล
ปอู งกนั ภยั คกุ คามในรปู แบบใหม่ จานวน 14 โครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ 4.90

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มี 5 กลยุทธ์
โดยกลยุทธ์ ที่มีการขับเคล่ือนโครงการ มากที่สุดคือ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ
ความรู้ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมตามทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็น
ในศตวรรษท่ี 21 จานวน 49 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 17.13 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนา
คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 20 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 6.99 กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริม
และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต จานวน 9 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 3.15 กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมและ
พัฒนาแหล่งเรียนรู้/สื่อการเรียนรู้/คลังข้อมูล/นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานมีความ
หลากหลาย และเพียงพอกับประชาชนแต่ละช่วงวัย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดย
ไม่จากัดเวลา และสถานท่ี จานวน 7 โครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.45 สว่ นกลยทุ ธ์ทม่ี ีการขบั เคลอื่ นโครงการ
น้อยท่ีสุดคือ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับพหุปัญญา จานวน 1 โครงการ
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.35

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มี 3 กลยุทธ์
โดยกลยุทธ์ที่มีการขับเคลื่อนโครงการมากที่สุดคือ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาท่ี
หลากหลายให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึง และเท่าเทียม จานวน 17 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.94 รองลงมา
ได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล หรือแพลตฟอร์มเพื่อการศึกษา
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนทางไกลทุกระบบให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้สะดวก
และรวดเรว็ อยา่ งมคี ุณภาพ จานวน 5 โครงการ คดิ เปน็ ร้อยละ 1.75 สว่ นกลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริม สนับสนุน/
ยกระดับคุณภาพ การสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นท่ีพิเศษ (พื้นที่สูง พ้ืนท่ีตามแนวตะเข็บชายแดน
ทัง้ กล่มุ ชนตา่ งเชือ้ ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรมกลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว ไมม่ กี ารขับเคลอ่ื น

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การผลิต และพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับความ
ต้องการของการพัฒนาประเทศ มี 3 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ที่มีการขับเคลื่อนโครงการมากที่สุดคือ กลยุทธ์ท่ี 1
ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จานวน 16 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.59 รองลงมา ได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 2
ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน จานวน 7 โครงการ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.45 ส่วนกลยทุ ธ์ท่ีมกี ารขบั เคลอื่ นโครงการนอ้ ยทส่ี ดุ คอื กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ จานวน 3 โครงการ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.05

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 4 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคล่ือนโครงการมากท่ีสุดคือ
กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ
สร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการขับเคล่ือน จานวน 21 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 7.34
รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 คือ เสริมสร้าง สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม
จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีการ
ขับเคล่ือน จานวน 14 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.90 ส่วนกลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัยและ

78

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

นวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และกลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาฐานข้อมูลด้าน
การศกึ ษาท่ีเก่ียวข้องกับการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ไมม่ ีการขบั เคลื่อนโครงการ

ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มี 5 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ท่ีมีการ
ขับเคลื่อนโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล จานวน 55 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 19.23 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 2
ส่งเสริม และพัฒนาระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผล จานวน 8 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 2.80
กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมและสร้างเครือข่ายในการจัดการศึกษา ตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนและพ้ืนท่ี จานวน 3 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 1.05 กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมผู้บริหาร
ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ จานวน 2 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 0.70
ส่วนกลยุทธ์ที่มีการขับเคลื่อนโครงการน้อยที่สุด คือ กลยุทธ์ที่3 ส่งเสริมระบบบริการสุขภาพการจัดการ
ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ระหวา่ งสาธารณสขุ กับสถานศึกษา เพ่อื เสริมสร้างศกั ยภาพด้านความฉลาด
ทางอารมณต์ ลอดจนภูมคิ มุ้ กันด้านต่าง ๆ ในการดาเนนิ ชวี ติ ผู้เรยี น จานวน 1 โครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.35

การดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค มีหน่วยงาน
การศึกษาในพื้นทรี่ บั ผิดชอบ ดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม สรุปเปน็ รายยุทธศาสตร์/กลยทุ ธ์ ดงั น้ี

ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความมนั่ คงของชาติ

กลยทุ ธท์ ี่ 1 : สง่ เสริมและพัฒนาการจดั การศกึ ษาที่เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบนั หลกั
ของชาตแิ ละการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา ไดด้ าเนนิ โครงการดังนี้ โครงการจิตอาสา "เราทาความ

ดีด้วยหัวใจ" โดยมีกิจกรรมน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระชนกธิเบศรมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี 9 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 กิจกรรมจิตอาสา
บาเพ็ญประโยชน์ทาความสะอาดพัฒนาสิ่งแวดล้อม และปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ
ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 90 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์
และนักศึกษาวิชาทหาร ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ พิทักษ์รักษาไว้ซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข มีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างในการบาเพ็ญ
ตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคมและประเทศชาติ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคม
และสาธารณประโยชน์ตามความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ตาม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงการขับเคลื่อนศาสตร์พระราชา (หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง)
สู่สถานศกึ ษา พฒั นาสถานศึกษาพอเพียงให้พร้อมรับการประเมินผ่านเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาอย่างน้อย ๓ แห่ง สถานศึกษาพอเพียงทุกแห่งรักษาสภาพสถานศึกษา

79

รายงานการติดตามการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

พอเพียงท่ีเป็นแบบอย่างได้สู่เปูาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (SEP for SDGs) มีการบูรณาการ “ศาสตร์พระราชา”
มาใชใ้ นการจัดกระบวนการเรียนรสู้ เู่ ปาู หมายการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน (SEP for SDGs)

สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการพัฒนาความยั่งยืนโรงเรียนใน

โครงการกองทุนการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร
ผู้บริหารสถานศึกษาและครู โรงเรียน ในโครงการกองทุนการศึกษา เป็นผู้ตระหนักรู้ มีความเข้าใจ และมี
กระบวนการในการขับเคล่ือนโครงการโรงเรียนกองทุนการศึกษาให้เป็นไปตามเปูาหมาย ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โรงเรียนจัดกิจกรรมท่ีแสดงถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น วันเฉลิมพระ
ชนมพรรษาของราชวงศจ์ ักรี ไดด้ าเนนิ การการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้เหมาะสม โครงการ “ค่ายเยาวชน...รักษ์พงไพร” เฉลิมพระเกียรติ
60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดฯ สยามบรมราชกุมารี ปีท่ี 6 ปลูกฝังค่านิยม รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ กับนักเรียนทุกระดับ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning และส่งเสริมการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผ่านสื่อ Online ได้ดาเนินงานตามนโยบายและมาตรการการแพร่
ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

สานกั งานอาชีวศกึ ษาจงั หวดั
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินการส่งเสริมให้สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษามีความ

จงรักภกั ดแี ละสานกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ การรักสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยจัดโครงการ ดังนี้ โครงการ
น้อมราลึกในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร่วมพิธีวางพวงมาลาและ
ถวายบงั คมเบอื้ งหนา้ พระบรมรปู ทรงม้า โครงการสานกั งานยุติธรรมจังหวัดเคลื่อนทพี่ บประชาชน กิจกรรม
อบรมให้กับนักเรียนนักศึกษาจากสานักงานยุติธรรมจังหวัดเคลื่อนท่ีพบประชาชน คณะครู บุคลากรและ
นักเรียน นักศึกษา ตระหนักถึงความความสาคัญของความยุติธรรมในชีวิตประจาวันและมีความรู้ในเรื่อง
กฎหมายในชวี ติ ประจาวันสาหรับประชาชน โครงการเรียนรตู้ ามรอยพระยุคลบาท คณะครู และนักเรียน
นักศึกษา เข้ารับการอบรมได้ตระหนักเห็นความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ท่ีมีต่อประเทศไทยและ
วิธีการทรงงานนามาใช้เป็นต้นแบบสามารถนามาเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ท่ีเข้มแข็งและยึดเป็นแบบในการ
พฒั นาตนเองและรว่ มกัน

สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังน้ี อบรม

ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย อบรมออนไลน์ บุคลากรและนักศึกษา
มีความรู้ความเข้าใจ เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในชาติ สานึกบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์
โครงการส่งเสรมิ ประชาธิปไตยสาหรับนกั ศึกษา อบรมออนไลน์ ผ้เู ขา้ อบรมนักศกึ ษา กศน.กลุ่มทหารกอง
ประจาการ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามวิถีประชาธิปไตย โครงการขยายผลหลักสูตร
จิตอาสา กจิ กรรม อบรมทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ อบรมมีจิตสาธารณะท่ีพร้อมอาสาสมัครในการ

80

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

บาเพ็ญประโยชนต์ ่อส่วนรวม ครู บุคลากรและนักศกึ ษา ผูเ้ ข้ารับการอบรมมีความปรองดองสมานฉันท์ เกิด
ความสมัครสมานสามัคคี และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข มีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และมีจิตสาธารณะท่ีพร้อมอาสาสมัครในการ
บาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม โครงการ 99 สู่ 100 ปีต่อยอดการอบรมอาสายุวกาชาด เรื่อง การปฐม
พยาบาลเบื้องต้น อบรมอาสายุวกาชาด ออนไลน์ หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น หลักสูตรการการ
ดูแลผู้สูงอายุ สร้างอาสายุวกาชาดท่ีมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในเร่ืองการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
โครงการลูกเสือจิตอาสา นักศึกษา กศน.ได้รับการปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย มีจิตอาสาบาเพ็ญประโยชน์
ด้วยกระบวนการลกู เสือ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนจิตอาสา ทาความดี เพ่ือบาเพ็ญประโยชน์ ชุมชน
สังคม ภายใต้กิจกรรมการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้
ประวัตศิ าสตร์ชาติไทยและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โครงการจิตอาสา “เราทาดีความดีด้วยหัวใจ” โครงการ
จัดการเรียนรู้ และวันสาคัญเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้เรียนสังกัด กศน. ร่วมแสดงความ
จงรักภักดี และสานึกในพระมหากรุณาธิคุณของสถาบันหลักของชาติและยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามัคคีในหมู่คณะ และ
รจู้ กั การทางานเปน็ กลมุ่ เสยี สละเวลาส่วนตวั เพอ่ื บาเพ็ญประโยชนต์ ่อส่วนรวม ชุมชน สงั คม

มหาวิทยาลัยราชภฎั หมูบ่ า้ นจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง สังกัด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ

นวัตกรรม ไดด้ าเนินการส่งเสริมความรัก ความสามัคคี ความมรี ะเบียบวนิ ัย เข้าใจในสิทธิหน้าท่ีของตนเอง
และผู้อื่นภายใต้ของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ลงพ้ืนที่อบรมส่งเสริมความรัก
สามคั คใี ห้กับชุมชนตาบลรางบวั อาเภอจอมบึง ด้านการพฒั นาทักษะอาชีพเพื่องานสาธารณะ และด้านการ
ออกแบบสรรค์สร้างลวดลายและอนุรักษ์ลายผ้าไทยเพื่องานอาชีพชุมชน ส่งเสริมความรักความสามัคคี
ให้กบั ชุมชนท้องถ่นิ

สานกั งานพระพทุ ธศาสนา
สานกั งานพระพทุ ธศาสนา ไดด้ าเนินการสง่ เสริมสนับสนนุ การดาเนินงานวนั สาคญั อาทิ วันเฉลิม

พระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี วันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10)
วันเฉลมิ พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันพ่อ
แหง่ ชาติ วันไหว้ครู วันภาษาไทย วันสุนทรสู่ ผลการดาเนนิ งาน นักเรียนแสดงออกถึงความรักและการธารง
รกั ษาสถาบนั หลกั ของชาติและการยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมขุ เพม่ิ มากขนึ้

81

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยทุ ธท์ ่ี 2 : ส่งเสรมิ การสรา้ งภมู คิ ุ้มกันและการพัฒนาทักษะชีวิตเพ่ือความมัน่ คงของชาติ

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั
สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด ได้ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานดังน้ี โครงการส่งเสริม

การจัดงานวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย (99 ปี ยุวกาชาดไทย) ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ Zoom
และ Facebook เจ้าหน้าท่ีและผู้บังคับบัญชา ยุวกาชาด สมาชิกยุวกาชาด ท้ังในสถานศึกษา ท้ังภาครัฐ
และเอกชนได้มีส่วนร่วมกิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์ วันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย (99 ปี ยุวกาชาดไทย)
และมีสว่ นรว่ มบาเพญ็ ประโยชน์ในการปอู งกนั เช้อื ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) ทาให้รู้จักแบ่งปัน และ
ช่วยเหลือผู้อื่น โครงการสร้างและส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติ จัดทา
คลิปวีดโี อแบบเรยี นสรา้ งและส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดตี ามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติ เพ่ือเผยแพร่ให้
สถานศึกษานาไปประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษาทุกสังกัด ประกอบด้วย เน้ือหา/
กิจกรรมใต้รม่ พระบารมีจักรีวงศ์ เนื้อหา/กิจกรรม “สิทธิและหน้าท่ีความเป็นพลเมืองดี” การปลูกฝังความ
รักชาติและทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง เป็นการส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีสู่การปฏิบัติและขับเคลื่อน
สถานศึกษาพอเพียงและการประเมินสถานศึกษาพอเพียงระดับจังหวัด โครงการ ศธ.จิตอาสาบาเพ็ญ
ประโยชน์ สมาชกิ ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการทุกสังกัด เข้าร่วมกิจกรรม
จิตอาสาบาเพ็ญประโยชน์ ได้รับการปลูกฝังและสร้างจิตสานึกที่ดีได้รู้คุณค่าของการแบ่งปันและช่วยเหลือ
ผู้อื่นรวมท้ังการสร้างความสัมพันธ์ด้านสังคม โครงการคัดเลือกหมู่ยุวกาชาดต้นแบบภายในจังหวัด
สุพรรณบุรี คัดเลือกสถานศึกษาท่ีส่งหมู่ยุวกาชาดเข้าร่วมการพิจารณาคัดเลือกระดับจังหวัด ผลการ
คัดเลือก โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรีได้รับการ
คดั เลือกให้เป็นสถานศึกษาที่มีผลงานจัดกิจกรรมยุวกาชาดดีเด่น ระดับจังหวัด โครงการประกวดระเบียบ
แถวลูกเสือ เนตรนารี ระดับจังหวัด ลูกเสือ เนตรนารี ลูกเสือ เนตรนารี มีความสนใจและเห็นคุณค่าของ
กิจกรรมลูกเสือ มีคุณธรรม จริยธรรม โดยมีระเบียบวินัย มีความเข้มแข็ง อดทน รู้จักบาเพ็ญประโยชน์
ช่วยเหลือครอบครัว ชุมชน และสังคม ตามกฎและคาปฏิญาณของลูกเสือ และนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างมีความสุข พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองดี โครงการ คัดเลือกโรงเรียนดีวิถีลูกเสือ
ระดบั จงั หวดั สถานศกึ ษาใหค้ วามสาคัญและใส่ใจในการนาหลักการของลูกเสือมาใช้ในการพัฒนานักเรียน
ในสถานศกึ ษา ได้ตัวแทนโรงเรียนดีวิถลี ูกเสือ ระดับจงั หวัด ประจาปี 2564 เพื่อเข้ารบั รางวัลโรงเรียนดีวิถี
ลูกเสือ ประจาปี 2564 ได้แก่ โรงเรียนวังหว้าราษฎร์สามัคคี สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาสุพรรณบุรี โครงการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือของ
กระทรวงศึกษาธิการ ระดับจังหวัด สถานศึกษา คณะบุคคล ครูผู้สอน บุคลากรทางการลูกเสือ ลูกเสือ
เนตรนารี และผู้ให้การสนับสนุนกิจการลูกเสือ ให้ความสาคัญและใส่ใจในกิจกรรมลูกเสือของ
กระทรวงศึกษาธิการและมีจิตอาสาด้วยความเต็มใจอย่างสม่าเสมอมากข้ึน ได้ตัวแทนผู้มีผลงานดีเด่นต่อ
การพัฒนากิจกรรมลูกเสือของกระทรวงศึกษาธิการ ระดับจังหวัด ประจาปี 2564 จานวน 3 ประเภท
ดังน้ี ประเภทผู้บริหาร ได้แก่ นายสิน อารยะจารุ ผู้อานวยการโรงเรียนตล่ิงชันวิทยา ประเภทครูผู้สอน
ได้แก่ นายศิริชัย คชวงษ์ ครู โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 20 (บ้านหนองมะค่าโมง) ประเภทผู้ให้การสนับสนุน
ได้แก่ นายทานอง ดวงแก้ว ขา้ ราชการบานาญ

82

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการราลึกวันสาคัญ
ลูกเสือไทย จัดงาน “วันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า” “วันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ลูกเสือ
เนตรนารี ผบู้ ังคบั บญั ชาและประชาชน เข้าร่วมพิธีน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัวพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และบาเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์เนื่องในโอกาส “วันพระ
มหาธีราชเจ้า” ลกู เสือ เนตรนารี ผูบ้ ังคับบญั ชา และประชาชนมคี วามจงรักภกั ดี ซอื่ สัตย์ พรอ้ มธารงรักษาไว้
ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ โครงการรณรงค์ เฝูาระวัง และส่งเสริมสร้างสรรค์วันวาเลนไทน์ ประจาปี
๒๕๖๔ ภายใต้มาตรการการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ดาเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ เฝูาระวัง และส่งเสริมสร้างสรรค์วันวาเลนไทน์ ประจาปี ๒๕๖๔ ภายใต้
มาตรการการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กิจกรรมประกาศผลการ
ประกวดคลิปวิดีโอ ผลการดาเนินงาน ร้อยละ ๗๐ ของสถานศึกษาดาเนินงานเฝูาระวัง และส่งเสริมความ
รักอย่างสร้างสรรค์ ทุกรูปแบบ มีความปรารถนาดี ความห่วงใยและรู้จักการให้กาลังใจในวันวาเลนไทน์
แหง่ ความสุขในสถานศึกษาอย่างมคี ณุ ภาพและมคี วามสร้างสรรค์

สานักงานอาชวี ศกึ ษาจังหวดั
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการดังน้ี ปรับปรุงพ้ืนท่ีและฟ้ืนฟูโครงการเศรษฐกิจ

พอเพียงของนักเรียนโครงการกองทุนการศึกษาและนักเรียนโครงการอาชีวะสร้างช่างฝีมือ กิจกรรม
ปรับปรุงพื้นท่ีและฟ้ืนฟูโครงการเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนโครงการกองทุนการศึกษาและนักเรียน
โครงการอาชวี ะสรา้ งช่างฝมี ือ ทาให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมโดยนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกต์ใช้ มีความรัก ความสามัคคี ให้ความช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน

สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการเรียนรู้ความ

พอเพียงตามรอยพ่อหลวง รัชการที่ 9 นักศึกษาได้เรียนรู้หลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ตามแนวของ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากสถานที่จริง ศูนย์เรียนรู้พอเพียงวิถีไทยรามัญ และศูนย์เรียนรู้วิถี
ชีวติ และจิตวญิ ญาณชาวนาไทย (นาเฮยี ใช)้ สามารถนาไปปรับใช้กบั ตนเอง

โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวดั กาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ดาเนินโครงการการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย อบรมการ
ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 ของผู้เรียน ครู และบุคลากร มีความรู้

83


Click to View FlipBook Version