The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tunyapa.ben, 2022-06-23 23:36:03

เล่มติดตาม

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ความเข้าใจเกี่ยวกับการปูองกันการปฏิบัติตนเมื่อเกิดสาธารณภัย และสามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินเกย่ี วกบั สาธารณภัย

สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
โรงเรียนสุพรรณบุรีปัญญานุกูล สังกัด สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ไดด้ าเนินโครงการการเข้าคา่ ยพักแรมลกู เสือและเนตรนารี นักเรียนได้รับการพัฒนา
ตามกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับประเภทและระดับความพิการ นักเรียนมีการ
พัฒนาการตามท่ีกาหนดไวใ้ นแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล

โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ ได้ดาเนินโครงการดังน้ี

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน กิจกรรม การปลูกพืชผัก การเลี้ยงสัตว์ สหกรณ์นักเรียน หลักสูตร
สมเด็จยา่ และสถาบนั พระมหากษัตริย์ นักเรยี นและผู้ปกครองได้รับความรกู้ ารทาเกษตรผสมผสานตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติในกระบวนการสหกรณ์ มีความจงรักภักดีต่อ
สถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โครงการส่งเสริม
อนามัยแม่และเด็กในถิน่ ทรุ กนั ดาร กจิ กรรม อสม.นอ้ ย กิจกรรมหลักครูแดร์ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผล
การดาเนินงาน ร้อยละ 100 นักเรียนได้รับความรู้เร่ืองปัญหายาเสพติด และการปูองกันการตั้งครรภ์ก่อน
วัยอันควร ด้านความรุนแรง ภัยจากไซเบอร์ นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพการดูแลสุขภาพ และการ
รับประทานอาหารท่ีดไี ดร้ ับการตรวจสขุ ภาพทกุ คน รอ้ ยละ 70 ผปู้ กครองไดร้ ับความร้เู รอื่ งการปูองกันและ
เฝาู ระวังเรือ่ งยาเสพติด และการดูแลหญิงต้งั ครรภ์

กลยุทธ์ท่ี 3 : พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลปูองกันภัยคุกคามใน
รูปแบบใหม่

สานกั งานศึกษาธิการจังหวัด
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินการดังน้ี โครงการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

และอบายมุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สถานศึกษาในสังกัด ร่วมกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
(26 มิถุนายน 2564) วันต่อต้านยาเสพติดโลก ประจาปี 2564 และจัดทาส่ือเพื่อเผยแพร่ผ่านส่ือสังคม
ออนไลน์ (Social Medial) ด้วยการจัดทาส่ือให้นักเรียนได้เข้าไปหาความรู้และมอบเกียรติบัตร กิจกรรม
การประกวดสุนทรพจน์ “เราช่วยกันปูองกันยาเสพติด” ในระบบออนไลน์ ด้วยวิธีการ live สด ผ่าน Facebook
นักเรียน นักศึกษา มีทักษะในการพูด กล้าแสดงออก และได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติดและ
มีภูมิคุ้มกันทาให้ไม่มีพฤติกรรมยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดหรือเป็นผู้เสพยาเสพติด โครงการสถานศึกษาสีขาว
ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ปอู งกนั ยาเสพตดิ ในสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานปูองกันยาเสพติดใน
พื้นท่ีมีส่วนร่วมในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการสร้างภูมคุ้มกันและปูองกันยาเสพติด

84

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

เป็นการสร้างการรบั รู้ในการปอู งกนั และเฝูาระวังปญั หายาเสพตดิ ให้นักเรียน นักศึกษา ได้รับรู้ถึงโทษพิษภัย
จากยาเสพตดิ โดยสื่อสารผา่ นชอ่ งทางโซเซียลมีเดยี เน่อื งจากอย่ใู นช่วยการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรน่า 2019 จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมท่ีมีการรวมกลมุ่ ที่มผี ู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมจานวนมากได้ เน่ืองจากเสี่ยง
ตอ่ การแพร่ระบาดของโรค

สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี ขับเคลื่อนการดาเนินงาน

ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และภัยคุกคามรูปแบบต่างๆ ในสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 90
เยาวชน มีภูมิคุ้มกันยาเสพติด และได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด มีเครือข่ายนักเรียนใน
การปอู งกนั และแกไ้ ขต่อต้านยาเสพตดิ ลดการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดยาเสพติด
ในสถานศึกษา เยาวชนมีจิตสานึก มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดท่ีมีผลต่อร่างกาย
สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมตลอดจนความม่ันคงของชาติ สถานศึกษามีความเข้มแข็ง
และสามารถปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ได้ โครงการรณรงค์ เฝาู ระวงั และสง่ เสริมสรา้ งสรรคว์ นั วาเลนไทน์
รณรงค์ภายใต้หัวข้อ รักได้แต่ให้ปลอดภัย ในวันวาเลนไทน์“Safety Valentine Safety Sex” นักเรียน
ในสถานศึกษาในสังกัดมีความปลอดภัยจากภัยทางสังคมทุกรูปแบบ และมีทักษะในการดูแลตนเอง อัตรา
การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร และโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ลดน้อยลง นักเรียนมีสุขภาวะสุขภาพกายและใจท่ีดี
โครงการปอู งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด กิจกรรมการรณรงค์ ปูองกัน เฝูาระวังและแก้ไขปัญหายาเสพ
ติดในสถานศึกษา ติดตามผลการขับเคลื่อนการดาเนินงานยาเสพติด การส่งเสริมสนับสนุนโครงการ
TO BE NUMBER ONE ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด การบริหารจัดการระบบข้อมูลการรายงานด้านยาเสพติด
ในสถานศึกษา (NISPA) ผลการดาเนินงาน นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะชีวิต มีความรู้ความเข้าใจ
เปน็ แกนนาตา้ นยาเสพตดิ มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และสถานศกึ ษามีการดาเนินงานการสร้างภูมิคุ้มกัน
ปอู งกันและเฝาู ระวงั ปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา และดาเนินงานอยา่ งตอ่ เน่ืองและเข้มแข็ง

สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินการโครงการรณรงค์ ปูองกัน เฝูาระวังและ

แก้ไขปัญหายาเสพตดิ ของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และการเสริมสร้างองค์ความรู้ การปูองกันภัยคุกคาม
ในรูปแบบใหม่ เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ไม่สามารถจัดอบรมได้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จึงดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้
โรงเรียน เพื่อเป็นการสนับสนนุ วัสดุ/อุปกรณ์ หรือการประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ ดาเนินการส่งเสริม
ให้หน่วยงาน สถานศึกษา ผู้บริหาร/ครู/บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ในการรณรงค์ ปูองกัน เฝูาระวัง
และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด และการเสริมสรา้ งองค์ความรู้การปอู งกันภยั คกุ คามในรูปแบบใหม่ ทางออนไลน์
และจดั อบรม “ค่ายทกั ษะชวี ติ ” (On line) ผา่ นระบบ ZOOM Meeting

สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังนี้

โครงการ กศน.รู้พิษภัย รู้ห่างไกลยาเสพติด อบรมออนไลน์ นักศึกษา กศน.มีความรู้เก่ียวกับการสร้าง

85

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภูมิคุ้มกันจากภัยยาเสพติด นักศึกษามีความรู้เท่าทันภัยยาเสพติด ตระหนักถึงพิษภัย มีภูมิคุ้มกันและ
จิตสานึกไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติดและอบายมุข โครงการคุณธรรมสร้างวินัย ห่างไกลโควิด ให้ความรู้เชิง
ปฏิบัติการการปูองกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
อบรมให้ความรู้โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 พร้อมกับการทาสเปรย์แฮลกอฮอล์ล้างมือด้วยตัวเองทางออนไลน์
และปลูกพืชสมุนไพรต้านภัยโควิด 19 โครงการ “กศน.ห่วงใยร่วมต้านภัยโควิด 19” โครงการพัฒนา
คณุ ภาพผเู้ รียน กิจกรรมวัยรุ่น วัยใส ห่างไกลยาเสพติด เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ผู้เรียน
กศน. ได้รับความรเู้ รื่องวิธกี ารปอู งกนั และลดความเส่ียงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) ตามแนวทางการปฏิบัติสาหรับผู้เรียนในสถานศึกษา สามารถนาความรู้จากการเข้าร่วมโครงการไป
ปรับใช้ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างเหมาะสม

มหาวทิ ยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบงึ
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง สังกัด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ

นวัตกรรม ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กและ
เยาวชนถิ่นทุรกันดาร อบรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กและเยาวชน
ถิ่นทุรกันดารโดยการให้ความรู้ด้านโภชนาการในเด็ก การส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน การปูองกัน
ยาเสพติด และการปฐมพยาบาลพ้ืนฐาน ทาให้นักเรียน และเยาวชนถ่ินทุรกันดารพื้นที่อาเภอสวนผึ้ง
สามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครวั ให้มีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรงมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งเกิดความรู้ และ
นาไปสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง อีกทั้งนาความรู้และ
ประสบการณ์จากการอบรมไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด

ไมผ่ ดิ วนิ ยั จราจร การอบรมให้ความรู้เร่อื งยาเสพตดิ และความปลอดภัยทางการจราจร ในรูปแบบ online
นักศกึ ษามีความรแู้ ละเขา้ ในในเรื่องยาเสพตดิ และวนิ ยั จราจร

โรงเรยี นกีฬาจังหวัดสุพรรณบรุ ี
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดสถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้

ดาเนนิ โครงการโรงเรียนสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข นกั เรียน และเยาวชนในจังหวัด มีภูมิคุ้มกันทาง
จิตใจ ไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติดและเป็นเยาวชนคนรุ่นใหม่ท่ีมีศักยภาพและมีคุณภาพมีความเชื่อม่ันและ
ภาคภูมิใจในตนเองเป็นหน่งึ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด

86

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การพฒั นาศักยภาพคน และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต

กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ และการพัฒนา
คุณภาพชีวติ อยา่ งเหมาะสมตามทักษะและคณุ ลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21

สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการ Innovation For Thai Education

(IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อให้มีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษา 2) เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน
พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 3) เพื่อวิเคราะห์
สังเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม 4) เพ่ือสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาให้สถานศึกษามีคะแนน
ผลการทดสอบทางศึกษาระดับชาติข้ึนพ้ืนฐานผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้น ผลการดาเนินงาน สานักงานศึกษาธิการ
จังหวัดมีศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับจังหวัด จานวน ๑ ศูนย์
มีรูปแบบ/แนวทาง/นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล จานวน ๑ รูปแบบ มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการด้านการจัดการ
เรียนรู้ ด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล จานวน ๑ รูปแบบ มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาระดบั จังหวัด จานวน 1 เครอื ขา่ ย มขี อ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยในระดับ
จังหวัด มีความครอบคลุม ชัดเจน เป็นปัจจุบัน สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่าง
มีประสทิ ธิภาพ สามารถนารูปแบบ/แนวทาง/นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการ
นิเทศ ติดตามและประเมินผล ไปใช้ในการพัฒนาได้จริงในระดับพื้นท่ี และสถานศึกษากลุ่มเปูาหมาย
มีรูปแบบ/แนวทางการพฒั นานกั เรยี น และ/หรอื แนวทางการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ และตอ้ งการต่อยอดการ
พัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ และการนิเทศ โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ
มีความตระหนักและนาความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปดาเนินการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 3 ด้าน ด้านการบริหาร
จัดการศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้และด้านกระบวนการนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนการ
สอนต่อไป โครงการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล สาหรับโรงเรียน
เอกชนในจังหวัดราชบุรี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดาเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้าง
ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักสูตรฐานสมรรนถะการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผลการศกึ ษา โดยใชร้ ปู แบบการอบรมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings ผู้บริหาร
และครูเอกชนสามารถนาองค์ความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปพัฒนาคุณภาพวิชาการได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ โครงการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563
ดาเนินการจัดสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-NET ปีการศึกษา 2563 นักเรียน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนเอกชนในจังหวัดราชบุรี และโรงเรียนสังกัด
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดราชบุรี ผลการดาเนินงาน 1) ร้อยละ 100 ของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ของโรงเรยี นเอกชนในจังหวัดราชบุรี และโรงเรียนสังกัดกรม
ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดราชบุรี ท่ีสมัครใจเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดั บชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 2) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของ

87

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

โรงเรียนเอกชนในจังหวัดราชบุรี และโรงเรียนสังกัดกรมส่งเสริม การปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดราชบุรี
ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาด้วยเครื่องมือที่มีคุณภาพ และมีการบริหารจัดการสอบท่ีมี
ประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน รวมท้ังผลท่ีได้จากการประเมินมีความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับ
3) ครู สามารถใช้เคร่ืองมือมาตรฐานในการประเมินคุณภาพผู้เรียนเป็นตัวอย่างในการพัฒนาเคร่ืองมือใน
ช้ันเรียนให้มีความน่าเช่ือถือ และสอดคล้องกับแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติและระดับ
นานาชาติ 4) สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดราชบุรี และ
โรงเรียนสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดราชบุรี สามารถพัฒนาเคร่ืองมือที่ใช้ในการ
ประเมินคุณภาพผู้เรียนและมีการตรวจให้คะแนนที่ได้มาตรฐาน มีความน่าเช่ือถือ และสอดคล้องกับแนว
ทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติและระดับนานาชาติ โครงการ การประเมินคุณภาพผู้เรียน
(NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผลการดาเนินงาน 1) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
ในโรงเรียนเอกชนในจังหวัดราชบุรี ได้รับการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วยเคร่ืองมือมาตรฐานระดับชาติ
จานวน ๓๐ โรงเรียน 2) สานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีและสถานศึกษาได้ข้อมูลผลการประเมิน
คุณภาพผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการกาหนดนโยบายและแผนพัฒนาผู้เรียนเป็น
รายบุคคล จานวน ๓๐ โรงเรียน เชิงคุณภาพ 1) ร้อยละ ๑๐๐ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของ
โรงเรียนเอกชนไดร้ ับการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาด้วยเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพ และมีการบริหารจัดการสอบที่
มีประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน รวมท้ังผลที่ได้จากการประเมินมีความน่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับ
2) ร้อยละ ๑๐๐ ครูโรงเรียนเอกชน สามารถใช้เคร่ืองมือมาตรฐานที่เน้นการเขียนตอบในการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียน เป็นตัวอย่างในการพัฒนาเคร่ืองมือในชั้นเรียนให้มีความน่าเช่ือถือ และสอดคล้องกับแนวทาง
การประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียนระดบั ชาติและระดับนานาชาติ โครงการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาการจัดการศึกษา
ปฐมวัยในระดับพื้นท่ี ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการดูแลและพัฒนาในการจัดการศึกษา
ปฐมวัยอย่างท่ัวถึง และมีพัฒนาการสมวัย ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาสถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนัก
ถึงความสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแล พัฒนาและ
การจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กปฐมวัย การคดั เลือกหรอื สรรหารปู แบบ/วิธปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practices)

สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการการจัดสอบผลการ

ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563
นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 ที่ยนื ยนั สิทธ์ใิ นการเข้าสอบโดยสมคั รใจ ผลการดาเนินงาน
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี และสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษากาญจนบุรี นาผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน
โครงการการขับเคลอ่ื นคณุ ภาพจากการประเมินผลทางการศึกษา สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหสูงข้ึนในทุกระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา และ
ระดับชาติ และ ได้รับการนิเทศจากศึกษานิเทศก์เก่ียวกับยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนให
สูงขึ้นในทุกระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับชาติ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

88

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการศึกษา และการซ่อมบารุงสื่ออุปกรณ์ปลายทาง
ออนไลน์ ให้กับครูโรงเรียนขนาดเล็ก และดาเนินการสารวจและซ่อมบารุงรักษา สื่อและอุปกรณ์ปลายทาง
ของโรงเรียนขนาดเลก็ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาการใช้สือ่ DLTV และสอื่ DLIT

สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการพัฒนาคุณภาพ

การจัดการศึกษาปฐมวัย โดยมีกิจกรรมดังน้ี กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัยกิจกรรม
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนาเชิงวิชาการ การจัด
ประสบการณ์รูปแบบต่างๆ เช่น การสอนแบบมอนเตสซอรี่ ,ไฮสโคป, วอลดอร์ฟ และการสอนแบบ
โครงการระดับปฐมวัย พร้อมจัดทาสื่อสาหรับเด็กปฐมวัย กิจกรรมประเมินพัฒนาการตามหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ผลการดาเนินงาน 1) สถานศึกษาในสังกัด มีความรู้ความเข้าใจ
หลกั สูตรและมีแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย คิดเป็นร้อยละ 100 2) สถานศึกษา
ศูนย์เด็กปฐมวัยต้นแบบ/เครือข่าย ร้อยละ 100 สามารถจัดการเรียนการสอนปฐมวัยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ 3) นักเรียนปฐมวัยได้รับการประเมินพัฒนาการผ่านเกณฑ์การประเมินโดยอยู่ ในระดับ 3
ร้อยละ 85 4) สถานศึกษา ร้อยละ 100 จัดประสบการณ์ระดับปฐมวัยได้ตามมาตรฐานหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1,3,6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เพื่อยกระดับผลการประเมินความสามารถด้านการ
อ่านของผเู้ รียน (RT) (ดา้ นการอา่ นออกเขยี นได้และการอา่ นรู้เรอ่ื ง) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ให้สูงขึ้น ผลการ
ดาเนินงาน ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ
ผู้เรียน (RT) เพ่ิมขึ้น ยกระดับผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้สูงข้ึน
ยกระดับผลการทดสอบทางการศีกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนขั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้สูงขึ้น และสนับสนุนโรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรียน มีสื่อนวัตกรรมในการนาไป
พฒั นาผเู้ รยี นในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) โครงการ
พัฒนาและยกระดับคุณภาพการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทยทักษะการอ่าน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
เปูาหมาย ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและนักเรียนขั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ผลการดาเนินงาน
1) ครผู ู้สอนภาษาไทยใช้เทคนคิ กระบวนการสอนท่ีหลากหลาย มีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เน้นทักษะการอ่านภาษาไทยของนักเรียนข้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ได้ร้อยละ 100 2) ครูผู้สอน
ภาษาไทย มีคู่มือ/แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในระดับดี 100% 3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินความสามารถในการอ่านภาษาไทย ร้อยละ 100 โครงการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียน
การสอนปฐมวัย มีครูปฐมวัยที่ทาการสอนในสังกัด มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการศึกษาปฐมวัยตาม
วิธีการสอนแบบโครงงาน ดาเนินงานจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเด็กปฐมวัย

89

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ไดร้ ับการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ-์ จิตใจ สังคมและสติปญั ญาอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ โครงการขับเคล่ือน
นโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ ร้อยละ 85 สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม
“ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” เชิงบูรณาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผู้เรียนมีคุณลักษณะและทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ทุกโรงเรียนโดยใช้สื่อวิดิทัศน์การอบรมและการ
อบรมออนไลน์ (การขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา (STEM Education) ร้อยละ 90 ของ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพครู โครงการยกระดับ
มาตรฐานการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการส่ือสารพัฒนาคุณภาพชีวิตในยุค
ดิจิทัล กิจกรรม Team work for Develop English Teaching Activities ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาท่ีมี
การจัดการเรียนการสอนเพ่ือการสื่อสารมากกว่า 2 ภาษา โดยการใช้เคร่ืองมือสารวจ การจัดกิจกรรมใน
โรงเรียน/ชน้ั เรียน สารวจและจดั ทาสารสนเทศครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
โดยจัดทาช่องทางการติดต่อ ประชาสัมพันธ์ ความรู้ ข่าวสาร ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 กรุ๊ปไลน์ T.English RB1 จัดทาหลักสูตร online
English Communication และประชาสัมพันธ์ให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษเข้ามาศึกษาหลักสูตรดังกล่าว
ประกอบด้วยเนื้อหาการฝึกพูดภาษาอังกฤษเบื้องต้น คาศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยออกเสียงผิด ประโยค
สนทนาเวลาไปพบแพทย์ ประโยคสนทนาทางโทรศัพท์ภาษาอังกฤษ ผลการดาเนินงาน ครูผู้สอนกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ท่ีได้รับการพัฒนามีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษและสามารถ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานศึกษาในสังกัดได้รับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา และสถานศึกษาที่มีการจัดการ
เรยี นการสอนเพือ่ การสอื่ สารมากกวา่ 2 ภาษา สามารถจดั การเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ
ขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล และโรงเรียน CONNEXT- ED ผลการดาเนินงาน 1) ผู้บริหาร ครู
และบุคลากรทางการศึกษาได้รับความรู้ และมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนแบบเชิงรุก (Active
Learning) และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต ได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามนโยบาย และ
จุดเน้น 2) โรงเรียน CONNEXT- ED จานวน 33 โรงเรียน ได้รับการพัฒนาจาก School Partner และมี
รายงานผลการพัฒนาตามแนวทางโรงเรียน CONNEXT- ED เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและกระบวนการเรียนรู้
ผู้บริหาร ครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความสามารถในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้
สอดคลอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 นักเรียนในสังกัดได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะการ
เรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 และมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะและสมรรถนะอัน
พงึ ประสงค์ ทักษะและสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช
2551 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่ม
สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) อบรมให้ความร้กู ารสอนภาษาองั กฤษตามแนวการสอน

90

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภาษาเพื่อการส่อื สารครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษใช้วิธีการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการ
สอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารได้อย่างมั่นใจ โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย อบรม
เชิงปฏิบัติการแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาการคานวณระดับปฐมวัย ครูปฐมวัยมีความรู้
ความเข้าใจข้ันพ้ืนฐานเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาการคานวณ โดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์
สาหรับเดก็ ปฐมวยั และนาไปพัฒนาเดก็ เพ่ือให้มคี วามสามารถและทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 และครูมี
ความพึงพอใจในการส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาการคานวณ อยู่ในระดับมาก โครงการ
ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประชุมทบทวนความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ด้วยรูปแบบ
ออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Google meet เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาและหน่วยงาน
ทางการศึกษา สถานศกึ ษาทกุ แหง่ จัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และสามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสม
กับผู้เรียนและท้องถ่ิน ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความถนัด และความสามารถของผู้เรียน
และจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนอยา่ งรอบดา้ น พัฒนาผู้เรียนให้มีความรทู้ กั ษะในศตวรรษที่ 21

สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังน้ี

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือไทย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้ไม่รู้
หนังสือ/ลืมหนังสือไทย โดยมีเน้ือหาสาระ ครอบคลุมท้ังการอ่าน การเขียน การคิดเลขเป็น และการ
วิเคราะห์เนื้อหาสาระอื่น ที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต สนับสนุนหนังสือและส่ือการเรียนรู้ภาษาไทย
โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้เรียน กศน. มีโอกาสได้รับการศึกษา
ทุกระดับช้ันอย่างเสมอภาค ได้รับความรู้ ฝึกทักษะความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา
และพัฒนาคณุ ชีวิตตามศกั ยภาพ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อพัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาติ (N-Net) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 (ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดาเนินการ
จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพ่ือพัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (N-Net) โครงการ
จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอน พบกลุ่ม และการเรียนแบบ
ออนไลน์ ผู้เรียน กศน.ได้รับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรและมาตรฐาน กศน. โครงการ
จัดดาเนินการสอบวัดผลประเมินผลการสอบปลายภาคและการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ด้านการศึกษานอกระบบ (N-Net) มีการทดสอบปลายภาคเรียน ทดสอบ N-Net จาก สทศ. รายงานผล
การดาเนินงานในระบบ DMIS ของสานักงาน กศน. และนิเทศติดตามผลการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง
โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้เรียน กศน.มีโอกาสได้รับการศึกษา
ทุกระดับชั้นอย่างเสมอภาค ได้รับความรู้ ฝึกทักษะ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา

91

รายงานการติดตามการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

และพฒั นาคณุ ชวี ติ ตามศกั ยภาพ โครงการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจัดตาม
กระบวนการข้ันตอนของ กศน.อยา่ งเป็นระบบ

โรงเรยี นโสตศึกษาจงั หวัดกาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบรุ ี สงั กัด สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ ส่งเสรมิ และพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางด้านวทิ ยาศาสตร์ นักเรียนใช้เทคนิค STEM ในการ
เรียนรู้ สามารถสร้างนวัตกรรมจากเรียนรู้ได้ ร้อยละ 85 พัฒนาเด็กปฐมวัยสู่มาตรฐานการศึกษา ผ่าน
กิจกรรมอาทิ กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามยั เดก็ ปฐมวัย กิจกรรมพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์ กิจกรรมสอนหนรู ู้คุณ
ธรรม กิจกรรมอนรุ กั ษ์ความเปน็ ไทย กิจกรรมวันสาคัญต่าง ๆ กิจกรรมปฐมวัยสู่แหล่งเรียนรู้ ทาให้นักเรียน
มีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม มีพัฒนาการด้านสติปัญญาที่ดีขึ้น พัฒนา
ศักยภาพผู้เรียน ผ่านกจิ กรรม อาทิ กิจกรรมภาษามือน่ารู้ กิจกรรมศิลปะบาบัด กิจกรรมพัฒนาทักษะการ
ดารงชีวิตประจาวัน กิจกรรมเก็บออมเพื่อการประหยัดของนักเรียน กิจกรรมออกกาลังกาย กิจกรรมคู่พี่
ดูแลน้อง กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาระเบียบวินัย กิจกรรมส่งเสริมอาชีพในหอนอน กิจกรรมแหล่งเรียนรู้
เพิ่มพูนปัญญาในหอนอน กิจกรรมประกวดหอนอนสะอาด ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 ของนักเรียน
มีทักษะในการดาเนินชีวิตประจาวัน มีทักษะอาชีพ และหอนอนได้รับการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ
การดารงชีวิต

สานกั งานพระพทุ ธศาสนา
สานกั งานพระพุทธศาสนา ไดด้ าเนินงานส่อื เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ ร้อยละ 100 ของนักเรียน

ได้รับสอื่ นวัตกรรมเทคโนโลยี ทสี่ อดคลอ้ งกบั แผนการจดั การเรียนรู้

โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ ได้ดาเนินการดังน้ี โครงการ

ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาความสามารถตามศักยภาพและผ่านการ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเด็กปฐมวัยผ่านการประเมินพัฒนาการของหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนมีหลักสูตรการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ทั้งการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีวิจัยและสร้างนวัตกรรมที่เพ่ิมศักยภาพ
ความสามารถของผู้เรียน นักเรียนได้ฝึกและส่งเสริมความมีคุณธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต ความพอเพียง
ความสามัคคี ได้ฝกึ และสง่ เสริมวินัย ความกตัญญู รับผิดชอบ และจติ อาสา คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ
มหาวิทยาลัยราชภัฎ สังกัด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริม

และสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกตามบริบทพ้ืนท่ีเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นตาม

92

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎ ยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของ
นกั เรยี นระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พฒั นาทักษะการอ่านและการเขียนสาหรับผู้เรียนในระดับปฐมวัยตาม
สมรรถนะเด็กปฐมวัย แก้ปัญหาการอ่านและเขียนในระดับประถมศึกษา เชื่อมโยงการจัดการเรียนรู้ระดับ
ปฐมวัยสู่ประถมศึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านและการเขียนและพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสริมการอ่าน
การเขียนและการวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัยและประถมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน
และการคิดวเิ คราะหใ์ หด้ ีข้ึน

วิทยาลัยนาฎศิลปสพุ รรณบรุ ี
วิทยาลัยนาฎศิลปสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการค่ายทักษะวิชาการ ส่งเสริมการเรียนรู้รูปแบบ

CDASP Model ตามแนวคิด STEAM education ผลการดาเนินงาน ผู้เรียนสร้างสรรค์นวัตกรรมด้วย
รูปแบบ CDASP Model ตามแนวคิด STEAM education เป็นผลให้เกิดนวัตกรรม ได้แก่ นวัตกรรม
1) ช่ืนนาสาผกวรรณคดี 2) พระแสง 3) นาฎย3 D 4) เครื่องช่วยถีบเหลี่ยมอัตโนมัติ 5) น้ายาสระผม
ซ่อนกลิ่น 6) ไม้ระนาดอานวยความสะดวก และต่อยอดเป็นผลงานคัดสรร หน่ึงโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม
เหรียญเงิน ระดับภูมิภาค ปี 2564 โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตผู้เรียนเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
และไทยแลนด์ 4.0 : ยุวสภาประชาธิปไตย นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาคุณลักษณะและทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อาทิ ทกั ษะชีวิตและอาชพี (มีความยดื หย่นุ รู้จักปรับตัว ริเริ่มส่ิงใหม่ ใส่ใจดูแล
ตวั เอง รู้จักเขา้ สังคม เรียนร้วู ัฒนธรรม มีความเป็นผ้นู า รบั ผดิ ชอบหนา้ ที่พฒั นาอาชีพ หมนั่ หาความรูร้ อบด้าน)

มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ วิทยาเขตสพุ รรณบรุ ี
มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ฝึกอบรม

การประดษิ ฐ์ผลติ ภณั ฑ์ของท่รี ะลึกจากผ้าลายไทย (ประดิษฐ์พวงกุญแจสตอเบอร่ี พวงกุญแจทิวลิป) “ตลาดสินค้า
เกษตรปลอดภัย” โดยจาหน่ายสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย รวมทั้งสาธิตวิธีการทาขนมต่าง ๆ จัด
กิจกรรมให้บริการยื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์ ประจาปีภาษี 2563 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการ
ปฏิบัติงานจริงในการให้บริการย่ืนภาษีผ่านระบบออนไลน์ให้แก่คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของวิทยาเขต
สุพรรณบุรี ผลการดาเนินงาน ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานพลเมืองไทย และทักษะคุณลักษณะ
ท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มหาวิทยาลัยสามารถจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมี
คุณภาพและมาตรฐาน แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดย
ไม่จากัดเวลาและสถานที่ มรี ะบบและกลไกการวดั การติดตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ มีระบบการ
ผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
คหกรรมศาสตร์แบบบูรณาการสู่ความสาเร็จในอนาคต นักเรียนได้เรียนรู้การทาอาหารจากภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นและถา่ ยทอดความรู้ในการทาเคร่ืองหอมไทยสู่ชมุ ชน

93

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด ได้ดาเนนิ การดังน้ี โครงการกิจกรรมพัฒนาเด็ก ส่งเสริมให้

ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความสาคัญของเด็ก สนใจในการเลี้ยงดูอบรมส่ังสอนและช่วยเหลือสงเคราะห์
เด็กเป็นพิเศษอย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและ
สติปัญญาตามช่วงวัยตลอดจนรู้จักบทบาทหน้าท่ี มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ โครงการ
แขง่ ขันทกั ษะทางดา้ นการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ หอ้ งเรยี นต้นแบบเป็นศูนย์ฝึกทักษะภาษาอังกฤษ Kanpao
English Room ส่งผลให้เด็กและเยาวชนมีทักษะการฟัง การอ่าน การพูด และการเขียนภาษาอังกฤษ
เพิ่มข้นึ มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ สามารถนาไปใช้ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพได้อย่าง
มคี วามสขุ รวมทงั้ กลา้ แสดงออก และมีประสบการณ์สาหรับตอ่ ยอดไปในเวทที ่สี ูงขนึ้ ต่อไป

กลยทุ ธ์ท่ี 2 : ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรูท้ ่ีสอดคล้องกับพหปุ ัญญา

โรงเรียนโสตศกึ ษาจังหวดั กาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวดั กาญจนบุรี ได้ดาเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการภาษามือขั้นพื้นฐาน

กิจกรรมการเรียนรทู้ กั ษะภาษามือขน้ั พน้ื ฐาน การทาหนังสือภาพและเพลงภาษามือ กลุ่มเปูาหมาย ครูและ
บุคลากรโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ผลการดาเนินงานงาน ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
อบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้ภาษามือขั้นพื้นฐาน มีทักษะในการใช้ภาษามือและสามารถ
นาไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยนิ

กลยทุ ธท์ ี่ 3 : ส่งเสรมิ และสนับสนุนการเรียนรตู้ ลอดชีวิต

สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการการติดตามเพื่อส่งเสริมการจัด

การศึกษาของโรงเรยี นนอกระบบ จังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
เพ่ือส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนนอกระบบ และตรวจติดตามการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เอกชนนอกระบบ ผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนในจงั หวดั ราชบุรี ที่ไดร้ ับการพัฒนา มีความรู้ ความเข้าใจ
เรอ่ื งการใช้จา่ ยเงนิ อุดหนนุ ทกุ ประเภทของโรงเรยี นเอกชน การขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอน และการ
เลกิ ล้มกิจการของโรงเรียนเอกชนตามระเบยี บที่กาหนด และรว่ มขบั เคล่ือนการดาเนินการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนเอกชนในสังกัด โครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทารูปแบบและการพัฒนา
หลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ประชุมสร้างความเข้าใจเก่ียวกับการดาเนินงานโครงการฯ ของผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง เช่น
ผู้บริหารสถานศึกษา แจ้งเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพเพ่ือการพัฒนาโครงการ และนิเทศ กากับ
ติดตาม และประเมินผล โดยลงพ้ืนท่ีติดตามการดาเนินงานของ ศธจ. ผลการดาเนินงาน 1) มีคณะทางาน
CLC ระดับจังหวัด 2) มี Best Practice การสร้างและพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษา

94

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ข้นั พื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาระดับจังหวัด โดยมีโรงเรียนต้นแบบการสร้างและพัฒนาหลักสูตร
ต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา จานวน 3 โรงเรียน ผู้เรียนที่จบ
การศึกษาในแต่ละระดับสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ตามความถนัด
และความสนใจ ทกั ษะการเรยี นรู้ ทักษะอาชีพ และทกั ษะชีวติ ในศตวรรษท่ี 21

สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดาเนินโครงการดังน้ี

โครงการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย การพัฒนาห้องสมุดประชาชน ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ของชุมชน เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง มีหนังสือและส่ือการเรียนรู้ท่ีดีหลากหลายตรงตามความต้อง
ของผู้ใช้บริการ มีบรรยากาศที่เอ้ือต่อการศึกษาเรียนรู้สอดรับและสร้างความพอใจให้กับประชาชนในการ
ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชน มีนิสัยรับการอ่านใฝุเรียนรู้
โครงการจัดหลักสตู รการดูแลผู้สูงอายุ ผู้มีจิตอาสาได้เข้ารับการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้
ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกวิธี โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ให้กับประชาชน
กลุ่มเปูาหมายผู้ไม่รู้หนังสือได้มีความรู้ อ่านออก เขียนได้ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ
การศึกษาให้กับประชาชนกลุ่มเปูาหมาย โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้เรียนและประชาชนได้มี
โอกาสเรียนรู้

มหาวทิ ยาลัยราชภฎั หมบู่ ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง สังกัด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ

นวัตกรรม ดาเนินโครงการโรงเรียนสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์พระราชาและภูมิ
ปัญญาไทย รุ่นที่ 2 ดาเนินการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาวะผู้สูงอายุด้วยศาสตร์
พระราชา และภูมิปัญญาไทย เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีสมรรถภาพทางกาย และคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น
นอกจากน้ียังดาเนินการสร้างหลักสูตรสร้างเสริมสุขภาพวะผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์พระราชาแล ะ
ภูมปิ ญั ญาไทย

กลยทุ ธ์ท่ี 4 : พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา

สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรใน

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กิจกรรมหลัก การฝึกทักษะการใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม (Digital Platform) เพื่อสริมสร้างศักยภาพบุคลากร
ด้าน ICT (Information and Communication Technology บุคลากรสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
ราชบุรี มีความรู้ ความสามารถ ในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ของ
หน่วยงาน และคุณธรรม จริยธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะด้านดิจิทัล และความรอบรู้ให้ทันต่อ
การเปล่ียนแปลง มีกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ในการปฏิบัติงานที่มุ่งเพิ่มสมรรถนะ ในการ
ปฏิบัติงานท่มี ปี ระสิทธิภาพ มคี วามพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมโครงการฯ อยู่ในระดับมาก โครงการขับเคลื่อน

95

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและประสทิ ธิภาพการศึกษาจังหวดั โดยผ่านกลไก ของ กศจ. สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี โดยใช้รูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจังหวัดราชบุรี (RB TEAM
Model) โดยมีกิจกรรมดังน้ี กิจกรรม การขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพ
การศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไก ของ กศจ. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี โดยใช้รูปแบบการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาจังหวัดราชบุรี (RB TEAM Model) กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลสารสนเทศการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษา รูปแบบวีดิทัศน์สารสนเทศ ผลการดาเนินงาน
1) บุคลากรสานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี มีทักษะด้านดิจิทัล และความรอบรู้ให้ทันต่อการ
เปล่ียนแปลง มีกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ในการปฏิบัติงานท่ีมุ่งเพิ่มสมรรถนะในการ
ปฏิบตั ิงานท่ีมีประสิทธภิ าพ มคี วามพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการฯ ในระดับมาก 2) ประชาชนมีโอกาส
เข้าถึงการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพทเ่ี ป็นมาตรฐานเสมอกันอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง โครงการส่งเสริมและพัฒนา
ระบบฐานข้อมลู ด้านลูกเสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จัดอบรม
เชิงปฏิบัติการส่งเสริมศักยภาพผู้ปฏิบัติงานส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา และการจัดเก็บ
ข้อมูลด้านลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน (พสน.) ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ผ่านระบบ
Zoom ผู้เข้ารับการอบรมรอ้ ยละ 87.59 มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศ
ในการบันทึกข้อมูล ระบบสารสนเทศผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และลูกเสือ-เนตรนารี สามารถบันทึกข้อมูล
สารสนเทศ ผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสอื ลกู เสอื -เนตรนารี แต่ละประเภท ทถ่ี ูกตอ้ ง เป็นปัจจุบัน สามารถขยายผล
การบันทึกข้อมูล สู่สถานศึกษาในสังกัดได้และสามารถนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการวางแผน โครงการ
พัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ประจาปีงบประมาณ 2564
ผู้บริหารและครูวิชาการ ศึกษานิเทศก์ และคณะทางาน ได้รับความรู้และสามารถบริหารจัดการงาน
วิชาการในโรงเรียนทั้งด้านหลักสตู ร การจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมนิ ผล

สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการส่งเสริมการจัด

การศึกษาแนวพุทธด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในโรงเรียนวิถีพุทธ ผู้เข้าร่วมการ
ประชุมได้รับฟงั การบรรยายให้ความรู้ ในหัวข้อ “การจัดการศึกษาแนวพุทธแบบ Active Learning” โดย
พระวิทยากรจากสานักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และในหัวข้อ “การพัฒนา
โรงเรียนวิถีพุทธให้เป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนา”โรงเรียนวิถีพุทธในสังกัด ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้การพัฒนา
โรงเรียนวิถีพุทธตามบริบทท่ีแตกต่างกัน มีเครือข่ายในการดาเนินงานพัฒนาโรงเรียนวิถีพุทธ มีการสร้าง
กลุ่มทางแอพพลิเคช่ันไลน์ เพ่ือเป็นเครือข่ายและสถานที่แลกเปล่ียนเรียนรู้การดาเนินงานพัฒนาโรงเรียน
วถิ พี ทุ ธ โครงการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศกิจกรรมหลัก โดยมกี ิจกรรมดังน้ี 1) กิจกรรม
นาเสนอและแลกเปลี่ยนเทคนิค แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 2) กิจกรรมการนิเทศ
ติดตามการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ผลการดาเนินงาน 1) ครูผู้สอนภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า ๕๕ คน
(จากโรงเรียนในจังหวัดราชบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี รวม ๕๕ โรงเรียน) ร่วมส่งผลงานเทคนิค แนวคิดในการ
จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 2) ครูผู้สอนภาษาอังกฤษของโรงเรียนในจังหวัดราชบุรี จานวน 26 โรงเรียน

96

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ได้รับการนิเทศ อย่างน้อยโรงเรียนละ 1 คน โดยมีแผนการนิเทศ ตั้งแต่วันท่ี 24 สิงหาคม ถึง 10 กันยายน 2564
รวม 13 วัน

สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพ

ในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมการพัฒนาเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
แลกเปล่ียนเรียนรู้และศึกษาดูงาน ได้รับการพัฒนา เพ่ิมพูนความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงาน
ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาสมรรถนะการ
ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ เกิดการประสานงานและร่วมมือของบุคลากร มีความคิดสร้างสรรค์ในการทางานเป็นทีม
มคี วามสามัคคี มีขวัญกาลงั ในการปฏิบตั ิงาน ทางานเป็นทีมมีความสามัคคี มีขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงาน
โครงการฝึกอบรมครผู ู้ช่วยส่กู ารเป็นครูมืออาชีพ ครผู ชู้ ว่ ยเป็นผ้มู ีความรู้ ความสามารถ มีทักษะเจตคติที่ดี
มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้มีคุณภาพตามมาตรฐานของครูมืออาชีพ สามารถปฏิบัติหน้าที่
การจดั การเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และมีทกั ษะของความเป็นครใู นศตวรรษที่ 21

สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังนี้

โครงการอบรมพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หลักสูตรการเตรียมความพร้อมและ
พัฒนาอย่างเข้ม ตาแหน่งครูผู้ช่วย ครูผู้ช่วยมีความรู้ ความสามารถ เจตคติ และบุคลิกลักษณะของครู
ผู้ช่วยตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัด
สานักงาน กศน. สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ท่ีตนเองรับผิดชอบได้อย่างมีคุณภาพ โครงการ ตลาดนัดการ
เรียนรู้ออนไลน์วังจันทรเกษม เสริมสร้างศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ
บรู ณาการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบท่ีหลากหลาย สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดทาแอปพลิเคชัน และส่ือการเรียนรู้ โครงการ
ฝึกอบรมหลักสูตรเชิงปฏิบัติการ เร่ือง นวัตกรรมการเรียนรู้ : การจัดทาแผนการเรียนรู้และเอกสาร
ประกอบการเรียนรู้ สาหรับครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอโพธาราม (สถานศึกษานาร่อง) ครู กศน.ตาบล
สามารถจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ สามารถวเิ คราะห์หลักสูตรและเขียนแผนการเรียนรู้และจัดทาเอกสาร
ประกอบการจัดการเรียนรู้ได้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการห้องเรียนออนไลน์เพ่ือพัฒนาทักษะการ
จดั การเรียนการสอน สาหรับครู กศน. ครูได้รับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถจัดการเรียนการ
สอนในรปู แบบออนไลนไ์ ด้ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา-2019 โครงการพัฒนาบุคลากร
กศน. โครงการพฒั นาบุคลากรด้านการจัดการเรียนเพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กิจกรรมอบรมการ
จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี แผนการเรียนรู้ อบรมการจัดทาส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ อบรม
คุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู บุคลากร กศน. ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถด้าน

97

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การจดั กระบวนการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สามารถนาความรู้ความสามารถ
ดังกล่าวมาใชใ้ นการปฏิบัติงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพตามมาตรฐาน กศน.

โรงเรยี นโสตศกึ ษาจงั หวดั กาญจนบรุ ี
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการจัดการเรียนรู้ตาม

แนวทางการศึกษาวอลดอร์ฟ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการจัดการเรียนรู้
ตามแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟ ในระดับปฐมวัยถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 และ
พัฒนาความสามารถของนกั เรยี นในระดับปฐมวัยถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 อย่างรอบด้าน ทุกมิติของความ
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ และให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบ วินัย มีจิตสานึกของการทาประโยชน์ เพื่อสังคมสามารถจัดการตนเองได้ และอยู่
รว่ มกับผอู้ น่ื ในสังคมได้อย่างมีความสขุ ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 95 ของครูมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ
การจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟ ในระดับปฐมวัยถึง
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ครูมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบสองภาษาสาหรับ
เด็กหูหนวก ร้อยละ 95 ของนักเรียนในระดับปฐมวัยถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้รับการพัฒนา
ความสามารถอย่างรอบด้านทุกมิติของความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม
และจิตวิญญาณ และได้รับการพัฒนาให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกของการทา
ประโยชน์ เพ่ือสังคมสามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข โครงการ
พัฒนาศักยภาพครูสู่ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
ร้อยละ 85 ครูและบุคลากรมีการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC ในโรงเรียน สร้างความรู้ ความเข้าใจและ
แนวทางการปฏิบัติ PLC มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถอดบทเรยี นการขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC ในโรงเรียน
โครงการนิเทศการจัดการเรียนรู้ภายในโรงเรียน ร้อยละ 85 ของครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
วิธีการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ และทักษะเก่ียวกับวิธีการจัดการเรียนรู้ โดยเน้น
ผู้เรยี นเป็นสาคญั โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากรเพ่ือเสรมิ สรา้ งประสิทธภิ าพการปฏิบัติงาน ร้อยละ 85
ของครูและบคุ ลากรเกิดความรัก ความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจ เสริมสร้างการปฏิบัติงานเป็นทีมนาไปสู่การ
ปฏิบตั ิงานที่มปี ระสิทธิภาพ

สานกั งานอาชวี ศกึ ษาจังหวัด
สานักงานอาชีวศกึ ษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิ Textile and

Garment Merchandiser ในอตุ สาหกรรมส่ิงทอ นกั ศึกษาระดับชั้น ปวส. 2 สาขาเคร่อื งนุ่มห่ม สาขา
เทคโนโลยีแฟช่นั และสงิ่ ทอ ครสู าขาเทคโนโลยแี ฟช่ันและส่ิงทอ ได้รบั การยกระดับความรู้ในเรอื่ ง Textile
and Garment Merchandiser ในตาแหนง่ Merchandiser และประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน

98

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สงั กัดสานกั งานตารวจแห่งชาติ ได้ดาเนินการส่งเสริมคุณภาพ

การศึกษา กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมีหลักสูตรการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นตามศักยภาพของผู้เรียน นักเรียนทุกคน
ได้รับได้รับการพัฒนาความสามารถตามศักยภาพ คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมพัฒนาครูผู้สอน คิดเป็น
ร้อยละ 80

กลยุทธ์ที่ 5 : ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้/ส่ือการเรียนรู้/คลังข้อมูล/นวัตกรรมการ
เรียนรู้ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานมีความหลากหลาย และเพียงพอกับประชาชนแต่ละช่วงวัย โดย
ประชาชนสามารถเขา้ ถึงแหลง่ เรยี นรูไ้ ด้โดยไมจ่ ากดั เวลา และสถานที่

สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา ไดด้ าเนนิ โครงการดังน้ี โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

ประเทศไทย ผลการดาเนินงาน 1) ครูปฐมวัยท่ีได้รับการพัฒนาสามารถจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ถ่ายทอด
ความรู้ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง 2) เด็กปฐมวัยของโรงเรียนท่ีเข้าร่วม
โครงการได้เรยี นรูแ้ ละมีประสบการณใ์ นการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 3) ทุกโรงเรียนที่เข้ารับการประเมินโครงการ
บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ผ่านการประเมินเพ่ือรับตราพระราชทานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย 4) สถานศึกษาปฐมวัยทุกแห่งได้รับการนิเทศติดตามการดาเนินงาน และนาผลไปพัฒนาตาม
แนวทางโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวัดกาญจนบรุ ี
โรงเรยี นโสตศกึ ษาจังหวัดกาญจนบรุ ี ได้ดาเนินโครงการดงั นี้ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 ครูและบุคลากรมีความรู้
ความเข้าใจในการใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์เวิร์ด (Microsoft Word) ในการสรา้ งส่อื การเรยี นการสอน

มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการบริการวิชาการการปฐมวัยเพ่ือ

ท้องถิ่นและชุมชน โดยอบรม”การจัดการศึกษาสาหรับเด็กในรูปแบบ New Normal” เพื่อพัฒนาครูใน
โรงเรียนเครือข่าย ครปู ฐมวัยทุกสงั กดั

สานกั งานอาชวี ศึกษาจังหวดั
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการส่ือการสอน Smart TV แผนกเทคนิค

คอมพิวเตอร์ ได้ส่ือการสอน Smart TV เพื่อทดแทนโปรเจคเตอร์ท่ีชารุด มี Smart TV ท่ีง่ายต่อการ
ถา่ ยทอดเรียนรู้

99

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษากาญจนบุรี
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษากาญจนบุรี ได้ดาเนินโครงการพัฒนาเครือข่ายศูนย์วิทยาศาสตร์

เพื่อการศึกษากาญจนบุรี ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ภารกิจการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดล้อมในรูปแบบท่ีหลากหลาย ผ่านกิจกรรมวิทยาศาสตร์เคล่ือนท่ี กิจกรรมเสริมประสบการณ์แก่
ผู้สูงอายุ กิจกรรมเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านส่ือมัลติมีเดียร กิจกรรมรวมพลคนรักว่ิงพัฒนาคุณภาพชีวิต
กิจกรรมสานสัมพันธ์เครือข่ายศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษากาญจนบุรี กลุ่มเปูาหมาย 1.นักเรียนในระบบ
2.ครูในระบบ 3.นกั ศกึ ษา กศน. 4.ครู กศน. 5.ประชาชนท่ัวไป พ้ืนท่ีเปูาหมาย จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี
สุพรรณบุรี นครปฐม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปพัฒนา
คุณภาพชีวิตทีด่ ีขน้ึ

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการ ดังน้ี

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. ผ่านระบบ Application Meet พัฒนา
แหล่งเรียนรู้ กศน.ตาบล กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้เทคโนโลยีผ่าน Digital Library ได้จัดสื่อการ
เรยี นรู้ในแหล่งเรียนรู้หอ้ งสมดุ ประชาชน ส่งเสริมการอ่าน จัดแหล่งเรียนรู้ กศน.ตาบล ส่งเสริมให้นักศึกษา
กศน.เข้าร่วมกิจกรรม การใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการรับบริการ โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และทีวี ช่อง ETV ของสานักงาน กศน. จัดกิจกรรม
การเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ Google Classroom ผู้เรียน กศน. มีโอกาสได้รับการศึกษาทุกระดับชั้น
อย่างเสมอภาค ได้รับความรู้ ฝึกทักษะ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และพัฒนา
คุณภาพชวี ติ ตามศกั ยภาพ

มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ วิทยาเขตสุพรรณบุรี
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการปลูกฝัง ส่งเสริม ความเป็นสวนดุสิต

อบรมให้ความรู้เก่ียวกับภาพลักษณ์และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
โดยตระหนักถึงการพัฒนาตนเองได้อย่างเด่นชัด กล้าแสดงออกอย่างถูกต้องบนพ้ืนฐาน SDU Spirit
ได้พฒั นาความสามารถตามอัตลักษณ์ที่สาคัญ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสรา้ งโอกาสทางการศึกษาให้กบั ผู้เรียนอยา่ งทัว่ ถึง และเท่าเทียม

กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาท่ีหลากหลายให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึง
และเท่าเทียม

สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด
สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด ไดด้ าเนนิ โครงการดังนี้ โครงการ ส่งเสริมศักยภาพการตรวจ ติดตาม

ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ การเฝูาระวังปัญหาและสถานการณ์

100

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ความประพฤตนิ ักเรยี นและนกั ศกึ ษา ดูแลและชว่ ยเหลือนกั เรียนและนกั ศึกษา โดยศูนย์เสมารักษ์สานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาและเครือข่ายในจังหวัด
ตลอดปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจ เฝูาระวัง สอดส่อง ดูแล ส่งเสริมและคุ้มครอง
ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา จัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนงานของศูนย์เสมารักษ์และการส่งเสริม
ความประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศกึ ษา การเฝาู ระวังปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของศูนย์เสมารักษ์
สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั นักเรยี นและนักศกึ ษาในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ได้รับการดูแล คุ้มครอง ปูองกัน
แก้ไขปัญหาความประพฤติเหมาะสม ได้รับการดูแลช่วยเหลือจากเหตุภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ และ
สถานการณ์ฉุกเฉิน การปฏิบัติการออกตรวจ เฝูาระวังบริเวณแหล่งม่ัวสุม และจุดเสี่ยงต่าง ๆ ตามปกติ
และในชว่ ง เทศกาลต่าง ๆ คณะกรรมการฯ ร่วมกับหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวง ศึกษาธิการ เครือข่าย และ
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ไม่พบนักเรียนกระทาความผิด แต่อย่างใด นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง ได้รับ
การช่วยเหลือ ใหค้ าแนะนา คาปรกึ ษา การคมุ้ ครอง ปอู งกนั และแกไ้ ขปญั หา

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการเสริมสร้างความ

เขม้ แขง็ การรับนักเรียน ปกี ารศกึ ษา 2564 กิจกรรม 1) ดาเนินการแจ้งปฏิทินการดาเนินงาน ปฏิทินการ
รับสมัครนักเรียน รวมถึงนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียน สังกัด สพฐ.ปีการศึกษา 2564
ให้โรงเรยี นในสังกัดทราบและถอื ปฏิบตั ิอยา่ งเครง่ ครดั 2) ดาเนินการจดั ทาแผนการรับนักเรียน สัดส่วนการ
รับนักเรียน แนวปฏิบัติการรับนักเรียน เสนอผ่านคณะกรรมการทุกระดับ ตามท่ีระบุในนโยบายและแนว
ปฏิบตั ิ 3) ดาเนินการบันทกึ ข้อมูลการรายงานการรับนักเรียนในระบบรายงานการรับนักเรียน ปีการศึกษา
2564 ตามระยะเวลาที่กาหนด และแผนการรับนักเรียนท่ีกาหนดไว้ 4) ดาเนินการแจ้งโรงเรียนในสังกัด
เกี่ยวกับมาตรการเกี่ยวกับการรับนกั เรยี นของสังกัด สพฐ.ปูองกนั การทจุ ริตในการดาเนินการรับนักเรียน 5)
ดาเนินการแจ้งโรงเรียนในสังกัดเกี่ยวกับการรับนักเรียนเก่ียวกับมาตรการการปูองกันการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) 6) ดาเนินการจัดการประชุมคณะกรรมการรับนักเรียนระดับ
เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 7) ดาเนินการติดต้ังปูายไวนิลเพ่อื ประชาสมั พันธ์สาหรับการย่ืนความจานงจัดหาท่ีเรียน
สาหรบั นักเรยี นที่ไม่สามารถผา่ นการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปี
ท่ี 4 โดยติดต้ังปูายประชาสัมพันธ์ และยื่นความจานงทางระบบ Online และรับยื่นความจานง
ณ ศูนย์ประสานการรับนักเรียน เด็กที่ยื่นความประสงค์ ให้จัดสรรที่เรียนให้ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1
และมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ได้เข้าเรียนครบทุกคน ผลการดาเนินงาน 1) โรงเรียนในสังกัด สพม. มีการ
ดาเนนิ งานรับนกั เรียนเปน็ ไปดว้ ยความเปน็ ธรรม สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเสมอภาค ตามหลักธรรมาภิบาล
2) ประชากรในวัยเรียนท่ีอยู่ในเขตพื้นท่ีบริการของ สพม. ได้รับการจัดสรรโอกาสทางการศึกษา อย่างท่ัวถึง
ในรปู แบบทีเ่ หมาะสม ไดเ้ ขา้ รับการศึกษาภาคบังคับครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 3) ผู้เรียนในเขตพ้ืนที่
บริการทุกกลุ่ม ทุกระดับ มีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียนที่มีคุณภาพ เรียนจนจบหลักสูตร มีโอกาสเรียนต่อ มีอาชีพ
ท่ีสุจริต และมีความมั่นคงในชีวิต โครงการเฝูาระวังและปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

101

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2019 (COVID-19) กิจกรรม 1 เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักให้แก่สถานศึกษา
ในสังกัดในการเฝูาระวังและปูองกันตนเองจากโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่สถานศึกษาใน
สงั กดั ผา่ นระบบการประชมุ ทางไกล (Video Conference) 2) นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือดูแล และสร้างขวัญ
กาลังใจ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในสังกัด ผลการดาเนินงาน 1) ร้อยละ 90
ของสถานศึกษาในสงั กัดมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก ในการเฝูาระวังปูองกันตนเองจากโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) 2) รอ้ ยละ 90 ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญ
และกาลังใจ ในการปฏบิ ัตงิ าน อย่างเต็มศักยภาพ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในสถานศึกษา 3) ร้อยละ 90 ของผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูบุคลากรทางการศึกษา
และนักเรยี น มีสุขภาวะ สุขภาพกายและใจท่ีดี 4) ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในสถานศึกษาลดน้อยลง โครงการส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา
สถานศกึ ษาในสงั กัดมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง เต็มตามศักยภาพมีประสิทธิภาพมีกระบวนการ
วิธกี าร และเครอื่ งมือท่มี คี ณุ ภาพ และมีมาตรฐาน ผลการดาเนินงาน 1) นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะ
ในการดาเนินชวี ิต สามารถดารงตนอยใู่ นสงั คมได้อย่างเหมาะสม นักเรียนได้รับการดูแลอย่างท่ัวถึงและตรงตาม
สภาพปัญหา 2) ครูในสังกัด ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ อย่างสมศักดิ์ศรี และปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความวิริยะ
อุตสาหะ อุทิศตน และเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้อ่ืนนักเรียนในสังกัดได้รับการส่งเสริม การดูแลช่วยเหลือและ
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมอย่างทั่วถึง ตรงตามสภาพปัญหามากข้ึน 3) สถานศึกษาในสังกัดมีข้อมูล
สารสนเทศ มีแนวปฏิบัติงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและงาน
สง่ เสรมิ ความประพฤตินักเรียนท่ีเป็นระบบ เข้มแข็งและย่ังยืนมากขึ้น 4) นักเรียนท่ีมีพฤติกรรมเสี่ยง ได้รับ
การดูแลช่วยเหลืออย่างเป็นรูปธรรม และปัญหาอัตราการออกกลางคันของนักเรียนลดน้อยลง โครงการ
พัฒนาความเข้มแข็งระบบดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนในสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน ระบบ
การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมีความเข้มแข็งและยั่งยืน นักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่าง
ใกล้ชดิ ท่ัวถึงและพัฒนาให้เป็นบุคคลที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ มีทักษะชีวิตท่ีดีสามารถอยู่ใน
สังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ อตั ราการออกกลางคันของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงลดลง นักเรียนได้รับโอกาสและความ
เสมอภาคทางการศึกษาและการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นจนจบการศึกษา นักเรียนมีความปลอดภัยในชีวิตทั้ง
ในและนอกสถานศึกษา

สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการส่งเสริมพัฒนา

โรงเรยี นและเครือข่ายในการขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างเป็นระบบให้ทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้า
ผ้เู รยี นไดร้ บั โอกาสในการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ ผลการดาเนนิ งาน ๑) เด็กทีม่ ีอายุย่างเขา้ ปีทีเ่ จด็ จนถึงอายยุ า่ ง
เข้าปีที่สิบหก ได้รับการศึกษาภาคบังคับเก้าปีอย่างทั่วถึงทุกคนรวมท้ังเด็กตกหล่น เด็กพิการ ๒) เด็กนักเรียน
ช้ัน ม.๓ เข้าเรียนต่อชั้น ม.๔ (ต่อเน่ือง) เพิ่มข้ึนร้อยละ ๒ ประชากรท่ีมีอายุอยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ

102

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ได้รับโอกาสทางการ ศกึ ษาอย่างทว่ั ถึง และได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ โครงการระบบการ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรณีได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) มอบถุงยังชีพ
นักเรียนกรณีได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) และได้รับการดูแลช่วยเหลือให้มี
สภาพเศรษฐกิจและมีการดารงชีวติ ทดี่ ขี น้ึ สามารถอยรู่ ่วมในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกติสขุ

โรงเรยี นโสตศึกษาจงั หวัดกาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินโครงการพัฒนาระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้รับการดูแลจากครูประชาช้ัน ครูหอนอน อย่างทั่วถึง มีผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานและองค์กรท่ีเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กลุ่มเปาู หมาย คอื นกั เรียนที่มคี วามบกพร่องทางการได้ยิน นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา โดยมี
กิจกรรมคัดกรองนักเรียน กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาและแก้ไขพฤติกรรมนักเรียน กิจกรรมอบรมนักเรียน
ประจาสัปดาห์ กิจกรรมประชุมผู้ปกครองช้ันเรียน กิจกรรมเย่ียมบ้านนักเรียน กิจกรรมอบรมพัฒนาคู่มือ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมศึกษาดูงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร้อยละ 85 ของนักเรียน
ไดร้ ับการดแู ลจากครปู ระจาชน้ั ครหู อนอน

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินการจัดการศึกษา

พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและปรับพ้ืนฐานการศึกษาของผู้เรียนโดยการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ
กิจกรรมพัฒนาวิชาการ กิจกรรมสอนเสริม ค่ายวิชาการ รวมท้ังสร้างโอกาสในการส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลายให้สอดคล้องกับความต้องตามศักยภาพและความพร้อมของผู้เรียน ทาให้
นกั ศึกษามีความกระตอื รือรน้ ในกจิ กรรมการเรียนการสอน เกิดความรู้ความสามารถของตนเองในการเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ได้อย่างเกิดประสิทธิภาพ โครงการ
จัดการศึกษาต่อเน่ือง (การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสาคัญที่จะต้องเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มี
ทัศนคติ ค่านิยมท่ีถูกต้อง ได้ฝึกทักษะชีวิตที่จาเป็นเพื่อปูองกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โครงการสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน จัดการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ และยกระดับการศึกษาให้กับประชากรวัยแรงงานที่ยังไม่จบ
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน โดยเฉพาะผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษากลุ่มตา่ ง ๆ จัดการเรียนการสอนผู้เรียนและปรับ
พ้ืนฐานการศึกษาของผู้เรียน รวมท้ังสร้างโอกาสในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
สอดคล้องกับความต้องการตามศักยภาพและความพร้อมของผู้เรียน โครงการจัดการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เยาวชนและประชาชนนอกระบบโรงเรียนได้รับการศึกษา เพื่อยกระดับ
การศกึ ษาทสี่ ูงขนึ้ และเป็นชอ่ งทางในการศึกษาให้กบั ประชาชน และได้รบั การยอมรบั ทางสงั คมมากข้ึน

103

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

โรงเรียนกีฬาจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
โรงเรียนกฬี าจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ได้ดาเนินโครงการเทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรมสาหรับนักเรียน

ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเทคนิคการสอน
เชงิ พฤตกิ รรมนาไปใช้ให้เหมาะสมกับนกั เรยี นที่มีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

กลยุทธท์ ่ี 2 : ส่งเสริม สนับสนุน/ยกระดับคุณภาพการสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา
ในพื้นท่ีพิเศษ (พ้ืนที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน ท้ังกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ
และแรงงานตา่ งดา้ ว)

ไม่มกี ารขับเคลื่อนโครงการ

กลยุทธ์ที่ 3 : ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยี ดิจิทัล หรือแพลตฟอร์มเพื่อ
การศึกษาพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนทางไกลทุกระบบ ให้ผู้เรียนสามารถ
เขา้ ถงึ ได้สะดวกและรวดเร็วอยา่ งมคี ณุ ภาพ

สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินการพัฒนาทักษะและส่งเสริมการใช้ดิจิทัล

เพ่ือการศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา ผ่านการประเมินทักษะความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ในระดับพ้ืนฐาน ตามหลักสูตรอบรมออนไลน์ ของสานักงาน
เขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาราชบุรี https://sites.google.com/sesao8.go.th/e-learning 2) ได้ประชาสัมพันธ์
ขยายผลเก่ียวกบั ระบบ OBEC Content Center แกค่ รผู ู้สอน และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผ่านทางเว็บไซต์
ศูนย์สื่อการเรียนรู้, Facebook Page กลุ่มนิเทศฯ, การประชุมทางไกลผู้บริหารโรงเรียน และการนิเทศ
ติดตาม การจัดการเรียน การสอน 3) โรงเรียนและครูผู้สอน ส่งผลงานส่ือ นวัตกรรมในสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เขา้ ร่วมประกวด จานวน ๘0 ชิ้นงาน 4) จากการนิเทศ
ติดตาม ท้งั การลงพน้ื ที่ และการนิเทศออนไลน์ พบว่า ทกุ โรงเรยี น ได้ส่งเสริม สนับสนุนการใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือ
การศึกษาให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ครูผู้สอนมีการพัฒนาตนเองด้านทักษะเทคโนโลยี และการจัดทาสื่อดิจิทัลเพ่ือการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ
ตามบรบิ ทและความพร้อม คิดเป็นรอ้ ยละ 60.55

มหาวทิ ยาลัยราชภฎั หมบู่ ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ได้ดาเนินโครงการพัฒนาสมรรถนะด้านนวัตกรรมการ

จัดการเรียนรู้กับการทางาน และ Active learning อยู่ระหว่างดาเนินการยกระดับนวัตกรรมดิจิทัล
พัฒนาความสามารถระบบ MCRU MOOC สร้างสรรค์และเผยแพร่นวัตกรรม อบรม
เชิงปฏิบัติการการยกระดับคุณภาพการศึกษาเพ่ือการพัฒนา e-content ยกระดับบุคลากรเป็นผู้ประเมิน
คุณภาพการบริหารงานและกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 อบรมเชิงปฏิบัติการ

104

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

การออกแบบและพัฒนา Digital Content บนพ้ืนฐาน Viual Thinking สาหรับการจัดการเรียนการสอน
และ Digital Content MCRU Award 2021 เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนและสนับสนุนงาน
นวัตกรรมในยุคดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 70 โครงการสนับสนุนส่ือวีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนเพ่ือ
แก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้โรงเรียนขนาดเล็ก (DLTV) สนับสนุน DLTV เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครู
ใหโ้ รงเรยี นขนาดเลก็

สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินการโครงการประชุม

เชิงปฏิบัติการการจัดทาแอปพลิเคชันเพ่ือการบริหารจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานและส่ือการเรียนรู้
สาหรบั ครู กศน. ผลการดาเนินงาน ครู กศน. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาแอปพลิเคชันเพ่ือการ
บรหิ ารจัดการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและสื่อการเรียนรู้สาหรับครู กศน. และเพ่ือฝึกทักษะและประสบการณ์
ครู กศน. ในการจดั ทาสือ่ การเรยี นการสอนออนไลน์มาปรับใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนสาหรับนกั ศกึ ษา

โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ ได้ดาเนินการโครงการ

ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) เด็กและเยาวชนทุกระดับทุกประเภทได้รับโอกาสทาง
การศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถงึ มีคณุ ภาพและต่อเน่ืองตลอดชีวิต 2) ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาผ่าน
เทคโนโลยีดิจิทัล 3) สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายและท่ัวถึง มีการจัดการเรียนการสอน
ผ่านระบบ DLTV มีการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา 4) นักเรียนได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาจากทุกภาคส่วนในการส่งเสริมให้ได้รับ
การศกึ ษาในระดบั พ้ืนฐานและการศึกษาต่อ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 : การผลิต พฒั นากาลังคน การวิจยั และนวตั กรรม ที่สอดคล้องกับความต้องการของ
การพฒั นาประเทศ

กลยุทธ์ที่ 1 : ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของ
ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

สานักงานอาชีวศกึ ษาจังหวัด
สานักงานอาชีวศกึ ษาจงั หวดั ได้ดาเนนิ โครงการดังนี้ โครงการเตรียมความพร้อมในการสอบ

V-net ในระดับชั้น ปวช. และ ปวส. ทดสอบความรู้และความคิดรวบยอดของนักเรียนนักศึกษามีผลการทดสอบ
ร้อยละ 65 ขึ้นไป โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการก่อนการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ นักศึกษาระดับชั้น
ปวส.2 ทุกแผนกวิชามีความรู้ ทักษะและความพร้อม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพและ
สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามข้อกาหนดความปลอดภัยและปฏิบัติได้ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงาน
โครงการส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจาปีการศึกษา 2564 นักเรียน นักศึกษา ได้องค์ความรู้และ

105

รายงานการติดตามการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประสบการณ์ในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ของแต่ละสาขาวิชา ได้จัดทาสิ่งประดิษฐ์ท่ีสามารถเข้าประกวดได้
อย่างมีคุณภาพและสอดคล้องกับสาขาวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพ และ
ทักษะพื้นฐาน ระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด และระดับภาคกลาง นักเรียน นักศึกษา มีทักษะในการ
แข่งขันทักษะวิชาชีพ และมีความรู้ความสามารถในการแข่งขันทักษะวิชาชีพของแผนกวิชา คิดเป็นร้อยละ 100
โครงการจัดแข่งขันทักษะวิชาชีพ ประเภททักษะการออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และทักษะ
ประยุกต์ออกแบบตัดเย็บเคร่ืองแต่งกายสู่สากล นักเรียน นักศึกษา มีทักษะการออกแบบและตัดเย็บ
เครื่องนุ่งห่ม และทักษะประยุกต์ออกแบบตัดเย็บเครื่องแต่งกายสู่สากลในการแข่งขันทักษะวิชาชีพและ
มีความรู้ความสามารถในการแข่งขันทักษะวิชาชีพของแผนกวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการพัฒนา
ทักษะการเป็นผู้ประกอบการและการเขียนแผนธุรกิจ กิจกรรมการจัดการอบรมทักษะการเป็น
ผู้ประกอบการและการเขยี นแผนธรุ กจิ นักเรียน นักศึกษา มีทักษะการเป็นผู้ประกอบการและพัฒนาทักษะ
ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ตามสาขาวิชาชีพ และต่อยอดการเป็นผู้ประกอบการได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน
คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน รุ่นที่ 8 การทาเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ
นักเรียนสามารถนาความรู้ทไี่ ด้จากการทาเจลแอลกอฮอล์ไปประกอบอาชพี ได้ และสามารถปูองกันการแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 โครงการ"มหกรรมผ้าไหม เพื่อการออกแบบและ
ตัดเย็บชุดเส้ือผ้าสาหรับตัวแทนนายแบบและนางแบบทูตกิตติมศักดิ์" นักเรียน นักศึกษา ได้เรียนรู้
รูปแบบการประชาสัมพันธ์ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสาขาวิชาของตนเอง และสามารถฝึกปฏิบัติการ
จัดแสดงผลงานแฟช่ันโชว์ และจัดนิทรรศการผลงานได้จริงชุดเสื้อผ้าสาหรับตัวแทนนายแบบและนางแบบ
ทูตกิตติมศักดิ์ โครงการจัดต้ังศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สาขา
เทคโนโลยีสิ่งทอ ได้ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการศึกษา (Excellent Center) สาขาเทคโนโลยีส่ิงทอ มีส่ือการ
เรยี นรู้ วัสดุ อุปกรณ์ ประกอบศนู ยอ์ ยา่ งเหมาะสม ครอบคลุม คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการปรับปรุงและ
พัฒนาหลักสูตรสาขาเทคโนโลยีสิ่งทอร่วมกับสถานประกอบการ ตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF)
และกรอบคุณวุฒิอา้ งอิงอาเซยี น (AQRF) ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ครูผู้สอนแผนก
วิชาเทคโนโลยีส่ิงทอได้พัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับสมรรถนะที่สถานประกอบการต้องการ และ
สมรรถนะอาชพี ตามกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ จานวน 1 หลักสูตร

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการอบรม

ทักษะการเรียนรู้เสริมหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ภายใต้กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการจัด
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยเป็นศูนย์กลางในการฝึกอาชีพ พัฒนา สาธิต และ
สร้างอาชีพของผูเ้ รียนและชุมชนโดยเนน้ กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้ง
เป็นที่จัดเกบ็ แสดง จาหน่าย และกระจายสินค้า และบริการของชุมชนอย่างเป็นระบบครบวงจรต่อไป และ
ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาทักษะความรู้ความสามารถและความคิดสร้างสรรค์มาในการ
นาเสนอผลงาน/นวัตกรรม ได้ฝึกทักษะเพ่ือนาไปพัฒนาการประกอบอาชีพเสริมหรืออาชีพหลักได้ตามความพร้อม
และศกั ยภาพของตนเอง

106

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการสานฝันงานอาชีพโรงเรียน

ขยายโอกาสทางการศึกษา ขับเคล่ือนงานอาชีพสร้างรายได้โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โรงเรียน
ขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัด สามารถจัดการเรียนการสอนส่งเสริมงานอาชีพเพ่ือสร้างรายได้ให้กับ
นกั เรยี นระหว่างเรยี น

กลยุทธท์ ี่ 2 : ส่งเสริมการผลติ และพัฒนากาลงั คนที่มีความเช่ียวชาญและเปน็ เลศิ เฉพาะด้าน

สานักงานอาชีวศึกษาจงั หวดั
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการฝึกทักษะภาษาอังกฤษผ่าน

แอพพลิเคชั่น Duolingo ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านแอพพลิเคชั่น
Duolingo และห่างไกลจากโรค Covid-19 นักเรียน นักศึกษามีทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ และยกระดับขีด
ความสามารถดา้ นภาษาให้กบั นักเรยี น

สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังนี้

โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการฟัง พูด อ่าน เขียน
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพให้กับประชาชนในพ้ืนที่ สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน
การประกอบอาชีพ และดาเนินชีวิตประจาวันได้ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล จัดอบรมให้ความรู้
เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศเบือ้ งต้น สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ และ
ส่งเสรมิ ให้ประชาชนสามารถดาเนินการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสินค้าและบริการของตนเองและชุมชนผ่าน
ระบบออนไลน์ โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา และจัดการศึกษาอาชีพ
ที่สอดคล้องกับศักยภาพผู้เรียน ผลการดาเนินงาน ผู้จบหลักสูตรการศึกษาอาชีพระยะสั้นสามารถเห็น
ช่องทางในการประกอบอาชีพ หรือสามารถนาไปต่อยอดอาชีพของตนเองหรือนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทัลสู่ชมุ ชน อบรมประชาชนให้มีความรู้ และทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
เพ่อื การขายสินค้าออนไลน์ ผเู้ ขา้ รับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล มาใช้ในการขายสินค้าออนไลน์ได้
โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับผู้เรียน ด้านนาฎศิลป์ ดนตรี และทัศนศิลป์ ผู้เรียนระดับช้ัน
ปวช. ปวส. และปริญญาตรี มที กั ษะภาษาองั กฤษทส่ี งู ขน้ึ จากการวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน ตอบสนองการ
ขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษเฉลี่ยของ
ผู้สาเรจ็ การศึกษาในแตล่ ะระดบั ซงึ่ ผลทดสอบตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) สูงข้ึน

107

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

มหาวิทยาลัยราชภฎั หมู่บา้ นจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ได้ดาเนินโครงการพัฒนาสมรรถนะที่เป็นเลิศสาหรับ

นักศึกษาวิชาชีพครู ดาเนินการพัฒนาความรู้ทางภาษาเพื่อสอบวัดความรู้มาตรฐานภาษาอังกฤษ ให้กับ
นักศึกษาวิชาชีพครูที่มีความพร้อมในการสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ และมีเจตคติท่ีดีต่อวิชา
ภาษาอังกฤษ ดาเนินการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตประจาวัน เพ่ือให้นักศึกษาสายครูมีความสามารถใน
การสนทนาภาษาองั กฤษ คดิ เปน็ ร้อยละ 100

กลยุทธ์ที่ 3 : ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้าง
ผลผลิตและมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจ

สานักงานอาชวี ศึกษาจงั หวัด
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงาน

วจิ ัย ครสู ามารถเขยี นรายงานการวจิ ัยในช้ันเรยี นไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และสามารถปรับใชใ้ นการเขียนรายงาน
การวิจยั ของตนเองได้ คิดเป็นรอ้ ยละ 100

สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการประกวด

โครงงานนักศึกษา กศน. ให้ความรู้เก่ียวกับการจัดทาโครงงานการสร้างสรรค์นวัตกรรมจากขยะในการ
สร้างประโยชน์ต่อสังคมจากการทาช้ินงานโครงงาน นักศึกษา กศน. เกิดทักษะในกระบวนการคิดและมี
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์จากการปฏิบัติงานกลุ่มของผู้เรียนและสามารถสร้างสรรค์ชิ้ นงานโครงงานจาก
การศึกษาโครงงานได้อย่างเหมาะสมและสามารถนาไปเป็นแบบอย่างและสามารถเผยแพร่โครงงาน
สู่ชมุ ชนได้

สานกั งานพระพทุ ธศาสนา
สานักงานพระพุทธศาสนา ได้ดาเนินงานวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพ ร้อยละ 100 ของครู

มงี านวิจัยเพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาที่สามารถนาไปเปน็ แนวทางในการพฒั นานักเรียนได้อยา่ งเหมาะสม

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 : การจัดการศึกษา เพื่อสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อมตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กลยุทธ์ที่ 1 : เสริมสร้าง สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม
จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิในการดาเนินชีวิต

สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัด
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม น้อมนาศาสตร์พระราชา

ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 80 ของบุคลากรสานักงานศึกษาธิการจังหวัด และผู้รับใบอนุญาตของโรงเรียน

108

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

เอกชนหรือผู้แทนท่ีเขา้ รบั การอบรม มคี วามรู้ความเข้าใจในศาสตร์พระราชา นามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ
และการดาเนนิ ชีวติ ผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก

สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ

การขับเคล่ือนสถานศึกษาพอเพียงและศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน
การศึกษาสู่สถานศึกษา ปี 2564 ผู้เข้ารับการอบรมเป็นครูผู้รับผิดชอบโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง
สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดาเนินงานด้านสถานศึกษาพอเพียง และศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ทาให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจแนวทางใน
การดาเนนิ งาน และสามารถนาไปปรบั ใช้กับสถานศึกษาได้จริง โครงการสร้างจิตสานึกความรู้ในการผลิต
และบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม สถานศึกษาในสังกัดดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ในการเสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ
พฤติกรรม ที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง การปรับตัว นักเรียนได้รับการส่งเสริมการพัฒนา
สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมให้สามารถเป็นอาชีพและสร้างรายได้ ผู้บริหาร
ข้าราชการและบุคลากรในสังกัด สามารถลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะ
ที่ถกู ต้องเหมาะสม

โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวัดกาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดาเนินการส่งเสริมอาชีพเพ่ือการมีงานทา ตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมเจียระไนนิล-พลอย กิจกรรมน้าหมักชีวภาพ
กจิ กรรมเพาะเหด็ กจิ กรรมปลูกผกั สวนครวั รั้วกินได้ กิจกรรมเบเกอร่ี/งานอาหาร กิจกรรมเครป กิจกรรมผ้าทอมือ
ชาโอริ กิจกรรมผ้ามัดย้อม กิจกรรมทักษะการโรงแรม กิจกรรมกาแฟ และเครื่องดื่ม กิจกรรมเสริมสวย
กิจกรรมทาน้ายาล้างจาน สบู่ กิจกรรมผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าร้อยสี กิจกรรมพรมเช็ดเท้าทอมือ กิจกรรมงานไม้
กิจกรรมงานไฟฟูาเบ้ืองต้น กิจกรรมผลิตภัณฑ์กระดาษม้วน กิจกรรมสมุดทามือ ผลการดาเนินงาน
ร้อยละ 85 ของผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการทางาน พึ่งพาตนเอง ทางานร่วมกับผู้อ่ืนมุ่งม่ัน
ทางานจนสาเร็จ และภูมิใจในผลงานของตนเอง ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีพท่ีสนใจ นาหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้

สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินการ

จดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีกจิ กรรมสารวจชมุ ชน หมบู่ ้าน ตาบล ที่มี
โครงการตามพระราชดาริหรือพื้นท่ีทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถอดองค์ความรู้จากสิ่งท่ี
พระองค์ทรงงานร่วมกับประชาชนและภาคีเครือข่ายในพื้นท่ี ทาให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการ

109

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่
โคก หนอง นา โมเดล ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน อบรมให้ความรู้แนวทางการดารงชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยคุณเกษมชัย แสงสว่าง และศึกษาดูงานจากศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีชุมชน
หนองกระโดนมน ต.หนองโพธิ์ อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี เป็นการจัดการเรียนการสอนจัดตาม
กระบวนการขั้นตอนของ กศน.อย่างเปน็ ระบบโดยยดึ แนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โรงเรยี นกีฬาจงั หวดั สพุ รรณบุรี
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษสามารถดารงชีวิตประจาวัน โดยใช้กิจกรรมตาม
หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการจัดกิจกรรมจากสถานการณ์จริง และลงมือปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
ตามความต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคลอย่างเต็มศักยภาพ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมและมีแนวทางใน
การใช้กิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของเด็กท่ีมีความต้องการ
จาเปน็ พิเศษ

สานกั งานอาชีวศึกษาจังหวัด
สานกั งานอาชวี ศกึ ษาจงั หวัด ไดด้ าเนนิ โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน นักศึกษาใหม่

ประจาปีการศึกษา 2563 เสริมสร้าง พัฒนาจิตและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรมอันดีแก่
นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรมอันดี รู้หน้าที่ มีวินัย รู้รักสามัคคี และ
ห่างไกลยาเสพตดิ คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

โรงเรยี นสพุ รรณบุรีปญั ญานกุ ลู จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
โรงเรียนสุพรรณบุรีปัญญานุกูลจังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริในโรงเรียน ผ่านกิจกรรม อาทิ กิจกรรมเกษตรอินทรีย์ โรงเรียนคุณธรรม
ส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีส่วนร่วมใน
การจัดกิจกรรม พัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ ได้ โครงการศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษาและงานสวนพฤกษศาสตร์ ผู้บริหาร ครู และนกั เรียน มีองค์
ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาและสวน
พฤกษศาสตร์ ร่วมสร้างศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาและ “งานสวน
พฤกษศาสตร์ของโรงเรียน” ใหเ้ กดิ ข้ึนในโรงเรยี น

110

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

มหาวิทยาลัยสวนดุสติ วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี ได้ดาเนินกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์และรักษา

สิ่งแวดลอ้ ม ทาใหน้ กั ศกึ ษา บคุ ลากร มจี ิตสานึกรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ได้พัฒนาในด้านคุณธรรม จริยธรรม มารยาท ทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะของบัณฑิตทีพ่ ึงประสงค์

กลยุทธ์ท่ี 2 : ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ
ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม

สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา ไดด้ าเนนิ การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล

ในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) ผลการดาเนินงาน ทาให้บุคลากรในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา มีวัฒนธรรมค่านิยมสุจริต มีทัศนคติ และพฤติกรรมในการต่อต้านการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบในการปูองกันการทุจริต ร้อยละ 90 ข้ึนไป ผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรียนสุจริตพัฒนา
นวัตกรรม และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถานศึกษาต่าง ๆ เพ่ือการปูองกัน
และปราบปรามการทุจริตโดยใช้ระบบ VDO Conference หน่วยงานในสังกัดผ่านเกณฑ์การประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานและมีการปรับปรุงหรือพัฒนาในเรื่องคุณธรรมและความ
โปรง่ ใสในการดาเนินงาน อยู่ในระดับ AA สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฯ พัฒนากิจกรรม
สร้างความตระหนักรู้ในการปูองกันและปราบปรามการทุจริต เพื่อพัฒนาผลการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาออนไลน์ (ITA Online) และสถานศึกษา
(Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา ไดด้ าเนนิ การโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และ

ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โรงเรียนสุจริต) นักเรียนครูผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด
มพี ฤตกิ รรมทีย่ ดึ มั่นความซอ่ื สตั ย์สจุ ริตรวมถึงครูผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัด มีวัฒนธรรม
คา่ นิยมสุจรติ มีทศั นคติ และพฤติกรรมในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ โรงเรียนในสังกัดผ่านเกณฑ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment:
ITA) และมีการปรับปรุงหรือพัฒนาในเร่ืองคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีการดาเนินงานตามภารกิจอย่างโปร่งใสมีกลไกและ
กระบวนการปูองกันการทุจริตท่ีเข้มแข็งและรู้เท่าทันต่อสถานการณ์การทุจริต โครงการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 90 ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียนในสังกัด ผ่านการพฒั นาด้านคุณธรรม จริยธรรม

111

รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

โรงเรยี นโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวัดกาญจนบรุ ี ไดด้ าเนินโครงการดงั น้ี โรงเรียนวิถีพุทธ ส่งเสริมให้นักเรียน

มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมสามารถทางานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร
มศี ลี ธรรม คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม มจี ติ สานกึ และความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย ยึดม่ันการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พัฒนาผู้เรียนโดยใช้หลักไตรสิกขา นักเรียน
ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ใ น วั น ส า คั ญ ท า ง ศ า ส น า แ ล ะ วั น ส า คั ญ ท า ง ส ถ า บั น พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง
โครงการสายน้าแห่งความดี ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 ของนักเรียนรักษ์ความเป็นไทยและอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทย นาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และมีความสุขในการ
ดาเนินชีวิต นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 8 ข้อ โครงการห้องสมุดเพ่ือการศึกษา
ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 ของห้องสมุดโรงเรียน มีหนังสือและสื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพและเพียงพอ
ต่อความต้องการและเหมาะสมกับนักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรในโรงเรียน นักเรียนได้รับการ
สง่ เสรมิ ใหม้ นี สิ ยั รกั การอ่านและการเรียนร้อู ยา่ งตอ่ เนื่อง

สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังนี้

โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน) กิจกรรมสารวจภูมิปัญญา
นวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม และสอดคล้องกับแนวโน้มการพัฒนาของพ้ืนท่ี จัดทาหลักสูตรและ
ดาเนนิ การจัดกิจกรรมตามรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเปูาหมายได้มีการวิเคราะห์และค้นหา
ศักยภาพของชุมชน เกิดการเรียนรู้ตามความต้องการอย่างต่อเนื่อง มีความรู้ความสามารถในการบริหาร
จัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณธรรมจริยธรรมรวมทั้งใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนอกห้องเรียน ส่งเสริม
คุณธรรม 9 ประการ ตามคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของสถานศึกษาให้กับผู้เรียน นักศึกษา กศน.ได้รับการ
ปลูกฝัง เสริมสร้างคุณธรรมจากการปฏิบัติและเรียนรู้จากพระวิทยากร โครงการอนุรักษ์พลังงานและ
ส่ิงแวดล้อม กิจกรรมอบรมประชาชน หลักสูตรอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประชาชนได้เรียนรู้
ผลกระทบของการใช้พลังงานต่อสิ่งแวดล้อม และเรียนรู้กิจกรรมการอนุรักษ์พลังงาน โครงการบริหาร
จดั การขยะในชมุ ชน กิจกรรมอบรมประชาชนหลักสตู รการบรหิ ารจดั การขยะในชุมชน ประชาชนได้เรียนรู้
การบริหารจัดการขยะในครัวเรือนเพื่อลดปัญหาขยะในชุมชนและนาขยะในชุ มชนมาใช้ประโยชน์ได้
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ การปลูกพืชสมุนไพร “ล้านเมล็ดพืชสมุนไพร” สู้ภัยโควิด-19 นักศึกษาได้
ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้การปลูกพืชสมุนไพรต้านไวรัสโคโรน่า 2019 มีโอกาสได้พัฒนาทักษะชีวิตของ
ผ้เู รียน สร้างอาชพี และรายไดท้ ีเ่ หมาะสม โครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น สง่ เสรมิ คุณธรรม “เราทาดีด้วย
หัวใจ”นักศึกษา กศน.ร่วมใจทาความดีด้วยหัวใจ ร่วมแสดงความสามัคคี ความเสียสละประโยชน์ส่วนตน
เพื่อประโยชน์ส่วนรวม กิจกรรมอบรมให้ความรู้เร่ืองการอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรและส่งเสริมการใช้

112

รายงานการติดตามการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

พลังงานทดแทน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจัดตามกระบวนการขั้นตอนของ กศน.อย่างเป็นระบบ
โดยยึดแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สานักงานอาชวี ศกึ ษาจงั หวดั
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการเวียนเทียนเนื่องในวันมาฆบูชา ผลการดาเนินงาน

ร้อยละ 100 ของคณะครู บุคลากรและนักเรียน นักศึกษา ร่วมกันอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีให้
คงอยู่สืบไป โครงการปลูกจิตสานึกรักษาทรัพยากรปุาไม้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 บุคลากรทางการศึกษา
และนักเรียน นักศึกษา มีจิตสานึกท่ีดีในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและปุาไม้ สถานศึกษา
มีสภาพแวดล้อมท่ีดี ร่มร่ืน น่าอยู่อาศัยเหมาะแก่การเรียน การสอน บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน
นักศกึ ษา มีจิตสานกึ ท่ีดีในการอนุรกั ษท์ รพั ยากร ธรรมชาติและปาุ ไม้

โรงเรียนกฬี าจังหวัดสพุ รรณบุรี
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ดาเนินโครงการคัดแยกขยะรักษาส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน

นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยท่ีถูกต้อง โครงการโรงเรียนคุณธรรม สร้างความ
เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะสาหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่ม
ผู้ด้อยโอกาส นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร ผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 5 จังหวัด
สุพรรณบุรี มีความเข้าใจกระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. สามารถจัดทาโครงงานในระดับ
หอ้ งเรียน

มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ดาเนิน

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี ดาเนินงานสารวจสิ่งมีชีวิตในอุทยานธรรมชาติวิทยาตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี อาเภอสวนผ้ึง จงั หวัดราชบุรี พบพรรณพืชทั้งหมด 106 ชนิด ท้ังท่ีเป็นไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และ
ไมล้ ม้ ลุก และพบปลาจานวน 6 ชนิด

โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สานักงานตารวจแห่งชาติ ได้ดาเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ

ผลการดาเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 100 สารวจทารหัสประจาต้นไม้ ทาป้ายพรรณไม้ การเก็บรวบรวม
พรรณไม้ท้องถิ่นที่หายาก จัดทาแผนผังพันธ์ุไม้ในโรงเรียนท้ังที่มีอยู่เดิมและปลูกเข้ามาใหม่ การนาไปใช้ในการ
เรียนการสอนแบบบรู ณาการวิชาอืน่ ๆ

113

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สานกั งานพระพทุ ธศาสนา
สานกั งานพระพทุ ธศาสนา ได้ดาเนนิ โครงการดงั นี้ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนธรรม

ศกึ ษาในสถานศกึ ษา สนบั สนุนครสู อนพระปรยิ ัติธรรม แผนกธรรม เข้าสอนธรรมศึกษาในสถานศึกษา

กลยุทธท์ ่ี 3 : พฒั นาองคค์ วามรู้ งานวจิ ยั และนวัตกรรมด้านการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ
ที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม

ไมม่ ีการขบั เคลื่อนโครงการ

กลยทุ ธท์ ่ี 4 : พฒั นาฐานข้อมูลด้านการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น
มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

ไมม่ ีการขบั เคลื่อนโครงการ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 : การบริหารการจดั การศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพ

กลยทุ ธท์ ่ี 1 : สง่ เสริม พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพตามหลัก
ธรรมาภิบาล

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินโครงการดังนี้ โครงการขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพ

การศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไกของ กศจ. จัดทาฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อ
การวางแผนในการกากับ ติดตามและรายงานความก้าวหน้า การดาเนินงานตามแนวทางการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและตัวช้ีวัดการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ติดตามความก้าวหน้าการ
ดาเนินงานตามแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาและตัวชี้วัดการดาเนิน ตามแผนพัฒนาการศึกษา
จังหวัด โครงการส่งเสริม สนับสนุนการบริหารและการจัดการศึกษาในจังหวัด เสริมสร้างและพัฒนา
ความเข้มแข็งงานการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัด และ
สนับสนุนให้องค์คณะบุคคลทั้ง 4 องค์คณะ ได้แก่ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวั ด (กศจ.)
คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (อกศจ.) คณะอนุกรรมการเก่ียวกับการพัฒนาการศึกษา และ
คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ ปฏิบัติงานตามอานาจหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ท่ีสอดคล้อง
เช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ และกรอบนโยบายด้านการศึกษาทุกระดับ เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนา
การศึกษาในพื้นที่ มีแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพื่อการบริหารจัดการศึกษาที่มี
คุณภาพ มีเอกสารขอ้ มลู พืน้ ฐานดา้ นการศกึ ษาของจังหวัด เพื่อการบริหารจัดการที่ถูกต้อง โครงการประชุม
คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดาเนินการจัดอบรม
เชิงปฏิบัติการคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน และผู้บริหารโรงเรียนเอกชน โดยใช้
รูปแบบการอบรมออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meetings ผลการดาเนินงาน ผู้บริหารโรงเรียน

114

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

เอกชนในระบบ และผบู้ ริหารโรงเรียนเอกชนนอกระบบ ในสังกดั ไดร้ ับความรู้และได้แลกเปล่ียนเรียนรู้แนวทางการ
ปฏิบัติที่ดีของการจัดการศึกษาเอกชน โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินอุดหนุนโรงเรียน
เอกชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดาเนินการจัดประชุมผู้บริหารโรงเรียนเอกชนทั้งในระบบ และนอก
ระบบเพื่อสรรหาคณะกรรมการประสานและส่งเสริมสถานศึกษาเอกชนจังหวัด ผู้บริหารและครูโรงเรียน
เอกชนในจังหวัด ที่ได้รับการพัฒนา มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้จ่ายเงินอุดหนุนทุกประเภทของ
โรงเรียนเอกชน การขอจัดตั้ง การจัดการเรียนการสอน และการเลิกล้มกิจการของโรงเรียนเอกชนตาม
ระเบียบที่กาหนด และร่วมขับเคลื่อนการดาเนินการจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนในสังกัด โครงการ
ขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดโดยผ่านกลไกของ กศจ.
(กิจกรรมมหกรรมวิชาการ โรงเรยี นเอกชน) ดาเนินการจัดกิจกรรมมหกรรมวิชาการ โรงเรียนเอกชนจังหวัด
ประจาปี 2564 รูปแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM นักเรียน เยาวชน และขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ได้มีโอกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้ และได้แสดงศักยภาพด้วยความภาคภูมิใจ โครงการพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ผูบ้ ริหารและครูโรงเรียนเอกชนได้รับการนิเทศ ติดตาม และมีความรู้
ความเข้าใจใน การดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามกฎกระทรวงการประกันคุณภา พ
การศกึ ษา พ.ศ.2561 อย่างถูกตอ้ ง ผู้บริหารและครูโรงเรียนเอกชนสามารถดาเนินการพัฒนาระบบประกัน
คุณภาพภายในเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการทุนการศึกษา
พระราชทาน ม.ท.ศ. นกั เรยี นท่ีจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ท่ีมีผลการเรียนดี มีคะแนนเฉล่ียไม่ต่ากว่าระดับ
๓.๐๐ ประพฤติดี และพร้อมที่จะเข้ารับการฝึกและพัฒนาศักยภาพ เยาวชนท่ีมีภูมิลาเนาหรือศึกษาใน
สถานศึกษา มีโอกาสในการศึกษาต่อระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ และศึกษาต่อเนื่องไปจน
จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาท่ีเป็นความต้องการของประเทศ สาขาที่ขาดแคลน สาขาด้านความ
ม่ันคงและเข้าสู่การมีอาชีพได้อย่างมั่นคง ตามที่คณะกรรมการ ม.ท.ศ. จะเห็นสมควรเป็นบัณฑิตที่มี
คุณภาพ สามารถเติบโตเป็นคนดีเพ่ือนาความรู้กลับไปทางานพัฒนาท้องถ่ินชุมชน มีสัมมาชีพม่ันคงและ
เป็นพลเมืองท่ีทาประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติ โครงการการบูรณาการด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
การดาเนินการบูรณาการด้านการศึกษาตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
บรรลุวัตถุประสงค์ตามเปูาหมาย และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน เพิ่มศักยภาพและคุณภาพทางการศึกษา
ของโรงเรยี นคุณภาพชุมชน สามารถนานกั เรยี นมารวมเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพใหเ้ กิดความมั่นใจต่อชุมชนและ
ผู้ปกครอง เพม่ิ ศักยภาพและคณุ ภาพทางการศึกษา ของโรงเรยี นมัธยมดีสี่มุมเมือง สามารถรองรับนักเรียน
ระดับประถมศึกษา และดึงนักเรียนโรงเรียนแข่งขันสูงกลับคืนสู่ชุมชน จังหวัดราชบุรี มีโรงเรียนคุณภาพ
ชุมชน 2 โรงเรียน และโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง 1 โรงเรียน ดังน้ี 1) โรงเรียนอนุบาลเมืองราชบุรี เป็น
โรงเรียนคุณภาพชุมชน ในสังกัด สพป.ราชบุรี เขต 1 2) โรงเรียนวัดโพธ์ิบัลลังก์ เป็นโรงเรียนคุณภาพ
ชมุ ชน ในสงั กัด สพป. ราชบรุ ี เขต 2 3) โรงเรียนปากทอ่ พิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง ในสังกัด สพม.
ราชบุรี โครงการตรวจราชการ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ประจาปีงบประมาณ

115

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

พ.ศ.2564 ผลการดาเนินงาน ๑) สถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาในสังกัด ดาเนินงานตามนโยบายและ
จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) ศึกษานิเทศก์ดาเนินการ
นิเทศ ติดตามและประเมินผลตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔
อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๓) หนว่ ยงานการศกึ ษาจังหวดั สังกดั โรงเรียนเอกชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ดาเนินงาน
พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔) หนว่ ยงานการศึกษาจงั หวดั ราชบุรี สงั กดั โรงเรียนเอกชน กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน มีความพร้อมในการรับการประเมิน
จากองค์กรภายนอกเพื่อนาไปสู่การรับรองคุณภาพการศึกษา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคล่ือน
การยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัด โดยผ่านกลไกองค์คณะบุคคลของ
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด องค์คณะบุคคลของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีส่วนร่วมในการกาหนด
แนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึงตามบริบทของ
จังหวัด กาหนดตัวช้ีวัดผลการดาเนนิ งาน รวมทงั้ กากับ เรง่ รดั ตดิ ตามและประเมินผล จังหวดั มีแนวทางการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและท่ัวถึงของจังหวัดให้มีคุณภาพและ
ความเท่าเทียมตามบริบทของแต่ละจังหวัด โครงการจัดเก็บข้อมูลด้านลูกเสือ ยุวกาชาด หน่วยงาน/
สถานศึกษาท่ีจัดกิจกรรมลูกเสือยุวกาชาดและกิจการนักเรียนในสถานศึกษาทุกสังกัด เข้าร่วมการประชุม
ทบทวนการจัดทาฐานข้อมูลสารสนเทศลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียนผ่านระบบ ZOOM
หน่วยงาน/สถานศึกษาของจังหวัด มีข้อมูลสารสนเทศด้านลูกเสือ ยุวกาชาดและพนักงานเจ้าหน้าที่เสริม
ความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมต่อการพัฒนางานด้าน
ลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา
2564 ผู้บริหาร ครู มีกระบวนการประกันคุณภาพภายในและการนิเทศ ติดตามงานประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับการศึกษาภาค
บังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดาเนินงานทดสอบ RT ระดับชัน้ ป.1 สอบ NT ระดบั ชน้ั ป.3

สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการธุรการครบวงจร

โรงเรียนในสังกัดมีเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานธุรการโรงเรียนครบทุกโรงเรียน ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้
อย่างเต็มท่ี นักเรียนได้เรียนกับครูเต็มเวลา ส่งผลให้นักเรียนมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
เพิ่มขึ้น มีทักษะที่จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสารและทางานร่วมกับผู้อ่ืน
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธผิ ลเพมิ่ ข้ึน มนี ิสัยใฝุเรยี นรอู้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวิต โครงการครูผู้ทรงคุณค่าแห่งแผ่นดิน
ทาให้มีครูดี ครูเก่ง ท่ีมีผลการสอนในเชิงประจักษ์ มีจิตวิญญาณ ความเป็นครูสูง และเป็นต้นแบบในการ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับครูจากรุ่นสู่รุ่น ทาให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สนับสนุน

116

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จัดสรรงบประมาณสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๕ รายการ ใหก้ ับโรงเรียนในสังกดั ครบทุกโรงเรียน ทาให้นักเรยี นทกุ คนได้รบั การสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการ
จดั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ได้รบั การคมุ้ ครองและมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มขึ้น
โครงการการศึกษาสภาพปัจจุบันและความเหมาะสมในการบริหารและการจัดการศึกษาของสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีแนวทางในการ
วางแผนกาหนดกลยุทธ์ มาตรการในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ได้อย่าง
เป็นระบบ และสอดคล้องกับบริบทของเขตพ้ืนที่ 2) สถานศึกษามีแนวทางในการวางแผนกาหนดกลยุทธ์
มาตรการในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ได้อย่างเป็นระบบ และสอดคล้อง
กับบริบทของสถานศึกษา โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสาหรับผู้บริหารสถานศึกษา
ข้าราชการครูและลูกจ้างในสังกัด ผู้บริหารสถานศึกษาข้าราชการและลูกจ้างในสังกัด ทุกระดับ ได้รับ
ทราบนโยบายอย่างถูกต้องสม่าเสมอ มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการคิดที่เป็นระบบ เพื่อนาไปสู่
การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมท้ัง น้อมนาพระราชดารัสและ พระบรม
ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแนวทางสู่การปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา
ขา้ ราชการและลกู จา้ งในสงั กดั โครงการสร้างความเข้มแขง็ ในการรายงานผลความก้าวหน้าของบุคลากร
ในสังกัด ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงาน
ราชการ ลกู จา้ งประจา และลูกจ้างชั่วคราว (ทุกตาแหน่ง) มีการพัฒนาความรู้และทักษะ และสมรรถนะใน
การปฏิบัติหน้าท่ีของตนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือความก้าวหน้าทางวิชาชีพด้วยระบบและวิธีการท่ีหลากหลาย
และเหมาะสมในการพัฒนาแต่ละกลุ่ม โดยคานึงถึงการปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีห่างไกล เสี่ยงภัย ยากลาบาก
และทุรกันดารใหไ้ ดร้ ับความสะดวกในการพฒั นา โครงการประชาสัมพนั ธ์เพ่อื การศึกษา สื่อต่าง ๆ จะเป็น
สว่ นช่วยส่งเสริมความเข้าใจและภาพลักษณข์ ององคก์ ร ตลอดจนโรงเรียนในสังกัด ให้สมาชิกในองค์กรและ
ประชาชน เกิดทัศนคติในทางที่ดีเกิดความร่วมมือร่วมใจทาให้การดาเนินงานขององค์กรสาเร็จลุล่วงด้วยดี
โครงการพัฒนาการบริหารเขตพื้นที่การศึกษาสู่มาตรฐานความเป็นเลิศ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาที่เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ มุ่งสู่การเป็นองค์การท่ีมี
ขีดสมรรถนะสูง บุคคลมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้
อย่างเหมาะสมตอ่ สถานการณ์ตา่ งๆ โครงการติดตาม ตรวจสอบด้านการบริหารงานการเงินการคลังและ
เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการตรวจสอบภายในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน
1) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในสงั กัด มรี ะบบการควบคมุ ภายในด้านการเงินการคลังที่ดี
โปร่งใส ตรวจสอบได้ ลดความเส่ียงการทุจริตและประพฤติมิชอบ 2) ครู บุคลากรทางการศึกษา
ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานด้านการเงินเงินการบัญชี และพัสดุ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยกระดับความรู้
ความสามารถให้เป็นมืออาชีพ โครงการประชุมคณะกรรมการในการบริหารงานบุคคล ประชุม
คณะกรรมการบริหารงานบุคคล คณะกรรมการที่เป็นบุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทางานเพ่ือ

117

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ประชาชน ยดึ หลกั คุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ สรรหาและ
คดั เลือกบคุ คลทม่ี ีความรคู้ วามสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม มีการประเมินผลและเล่ือนระดับตาแหน่งของ
บุคลากรภาครัฐตามผลสัมฤทธิ์ได้บุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน
โครงการจัดทาแผนที่นาทางขับเคล่ือนเปูาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap)
จังหวัดมีแผนท่ีนาทางการขับเคล่ือนเปูาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนด้านการศึกษาระดับจังหวัด ท่ีสอดคล้อง
เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ และกรอบนโยบายด้านการศึกษาทุกระดับ เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนา
การศึกษาในพ้ืนที่ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่
นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะชีวิต มีความรู้ความเข้าใจ โรงเรียนมีรูปแบบและกระบวนการนิเทศติดตาม
และประเมินผลภายในดรงเรียนอย่างเป็นระบบ เข้มแข็ง มีวิธีปฎิบัติท่ีเป็นเลิศ โรงเรียนมีระบบการบริหาร
จัดการท่ีเป็นเลิศท่ีสอดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้เรียน โครงการพัฒนาบุคลากรทาง
การศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฎิบัติงาน บุคลากรในสังกัด ได้รับความรู้และประสบการณ์ใน
การศึกษาดูงานและนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างแรงจูงใจ เป็นขวัญ
และกาลังใจและเปน็ สวัสดิการอันดใี ห้กบั บคุ ลากรในองคก์ ร

สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา

สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาสู่ความเข้มแข็งผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการ
ขับเคล่ือนงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาสถานศึกษาในสังกัดฯ มีความพร้อมรับการประเมิน
คณุ ภาพภายนอกจากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

โรงเรยี นโสตศึกษาจงั หวดั กาญจนบุรี
โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวัดกาญจนบรุ ี ไดด้ าเนินโครงการดงั นี้ โครงการพัฒนาบคุ ลากรการเงิน

บัญชี และพัสดุ ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และพัสดุ มี
ความรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกบั กฎหมาย แนวปฏบิ ตั แิ ละระเบียบท่เี กี่ยวข้องในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องมี
ประสิทธิภาพ โครงการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน ดาเนินการประกับคุณภาพภายในโรงเรียนและ
ส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน ได้ทราบจุดเด่น จุดที่ความปรับปรุง
และแนวทางในการพัฒนาของโรงเรียนในปีการศึกษาต่อไป สามารถจัดทารายงานการประเมินตนเองและ
นาเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัดและหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 แต่ละกลุ่มงานมีระบบจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ท่ีมีความถูกต้อง ทันสมัย
และเป็นปัจจบุ ัน พัฒนา website ของโรงเรียนให้เอ้ือต่อการใช้ประโยชน์ ครูและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องมีความพึงพอใจ
ในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียน โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ผลการ
ดาเนนิ งาน ร้อยละ 85 ของงานการเงินและบัญชีมีความถูกต้องตามระเบียบแนวปฏิบัติ เป็นปัจจุบัน และ
ตรวจสอบได้ งานพัสดุเอ้ือประโยชน์ต่อทุกฝุายได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานสารบรรณมีความเรียบร้อย

118

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ถูกต้องตามระเบียบแบบแผน งานทะเบียนสถิติมีความถูกต้อง สมบูรณ์ ทันสมัย ครอบคลุมทุกภารกิจ
โครงการสานสัมพันธ์ส่ือสารความเข้าใจอันดี เสริมสร้างความเข้าใจอันดีและประสานความร่วมมือ
ระหว่างโรงเรยี นกับชุมชน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารความเคล่ือนไหวของโรงเรียน ร้อยละ 85
ของผู้ปกครองมที ัศนคติทด่ี ตี ่อโรงเรยี น

สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ไดด้ าเนินโครงการดังน้ี โครงการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติหน้าท่ี

ของเจ้าหน้าที่การเงินบัญชีและเจ้าหน้าท่ีพัสดุของสถานศึกษา พัฒนาทักษะด้านวิชาการเงินบัญชีและ
พสั ดุเพอื่ สร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานด้านการเงินบัญชีและพัสดุให้เจ้าหน้าท่ีการเงินบัญชีและ
เจ้าหน้าท่ีพัสดุของสถานศึกษาในสังกัด เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการและการดาเนินการเบิก
จ่ายเงินงบประมาณเป็นไปด้วยความถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โครงการประเมินความพร้อมและตรวจ
เย่ียมโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ช่วงเปิดภาคเรียนโดยทีมนิเทศ
การศึกษาและศึกษานิเทศก์ สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่งมีการนิเทศภายในที่เป็นระบบ และได้รับการ
นิเทศทมี่ ีคณุ ภาพ สามารถดาเนินการต่างๆ ตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน/
สานกั งานเขตพ้ืนที่ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

สานักงานพระพุทธศาสนา
สานักงานพระพุทธศาสนา ได้ดาเนินโครงการดังน้ี โครงการนิเทศ ติดตาม กากับคุณภาพ

เพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กิจกรรมส่งเสริม
การพฒั นาสือ่ การเรียนร้แู ละนวัตกรรมทางการศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) ครูได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้
และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตของสามเณรอย่างเหมาะสมตาม
คณุ ลกั ษณะทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 2) ครูมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและพัฒนาเพื่อ
สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพหุปัญญา 3) ผู้บริหาร ครู และ
เจ้าหนา้ ที่ได้ร่วมกันสร้างสรรค์ความคิดในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้/สื่อการเรียนรู้/คลังข้อมูล/นวัตกรรมการ
เรียนรู้ให้คุณภาพและมาตรฐานท่ีหลากหลายและเพียงพอกับประชาชนทุกช่วงวัย โดยประชาชนสามารถ
เข้าถึงไดโ้ ดยไม่จากบั เวลาและสถานท่ี 4) ผู้บริหารและครูตลอดจนเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาความ
รว่ มมอื ระหว่างโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษาให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น

สานักงานอาชวี ศกึ ษาจังหวดั
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด ได้ดาเนินโครงการจัดซ้ือเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบพกพา

(Note Book) เพอ่ื ใช้จัดการเรียนรู้ด้านโปรแกรมสาเร็จรูป เพื่องานบัญชี" การเรียนการสอนของแผนก
วิชาการบัญชีมีคุณภาพและส่งผลดีต่อผู้เรียนด้านโปรแกรมสาเร็จรูปเพื่องานบัญชี คิดเป็นร้อยละ 100
โครงการจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สาหรับเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ครู นักเรียน และ

119

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

บคุ ลากรทางการศึกษามีอินเตอร์เน็ตใช้งานและครอบคลุมต่อการดาเนินการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการขุดบ่อเพ่ือปรับหน้าดินบริเวณหน้าโรงอาหารพระดาบส ขนาด 8ม.x 10ม.
วิทยาลัยเทคนิคโพธาราม ขุดบ่อเพื่อปรับหน้าดินบริเวณหน้าโรงอาหารพระดาบสเพ่ือปรับภูมิทัศน์และ
สถานที่ ให้เหมาะสมและใช้ในการเล้ียงปลาทาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจาปี ๒๕๖4 ครูและบุคลากรได้มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษา
จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี ๒๕๖4 ท่ีใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 100
โครงการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐาน
ของสถานศึกษา สถานศึกษามีระบบและกลไกการประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เป็นท่ียอมรับในการเป็น
ต้นแบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาที่มีประสทิ ธภิ าพ

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินโครงการดังนี้

ประชมุ ปฏบิ ตั ิการจดั ทาแผนปฏิบัติการการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 อบรมให้ความรู้การเขียนโครงการและจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี แผนปฏิบัติการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 สามารถเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและจัดทาโครงการ/กิจกรรมให้
บรรลุวัตถุประสงค์เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้อง โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อการ
ประชาสัมพันธ์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ครู
และบุคลากรที่เกี่ยวข้องจัดทาข่าวสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีได้ครบทุกคนและ
นาเสนอผลการจัดการศึกษาเผยแพร่สู่สาธารณะ โครงการประชุมปฏิบัติการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรีและแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา พ.ศ.
2565-2567 สถานศึกษาในสงั กดั สานกั งาน กศน.จังหวัด มีแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของผู้เรียน/ผู้รับบริการเพ่ือเป็นกรอบแนวทางเพื่อนาไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี และสามารถ
ขับเคลื่อนการปฏิบัติงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เก่ียวข้อง ให้เกิดประสิทธิผลแก่กลุ่มเปูาหมาย
ผู้รับบริการ โครงการประชุมเพ่ือติดตามผลการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน และงานตามนโยบายจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ผู้บริหาร ข้าราชการ ครู กศน. และบุคลากรทางการศึกษาสังกัด สานักงาน กศน. มีความรู้ความ
เข้าใจในนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบ และงานตามนโยบายจุดเน้นการ
ดาเนินงานของสานักงาน กศน. อย่างชัดเจน นาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สถานศึกษาได้
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ร่วมกันเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และการศึกษา
ตลอดชีวิต โครงการพัฒนาความรู้เรื่องระบบประกันคุณภาพการศึกษา สถานศึกษามีระบบประกัน
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษามีการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและจัดทารายงานการ
ประเมินตนเองทุกปี โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีระบบข้อมูลผู้เรียน ITW

120

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

มีระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษา ที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพ่ือการวาง
แผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมินและรายงานผล โครงการบริหารของสถานศึกษา มีระบบ
การปฏบิ ัตกิ ารจดั ทาแผนการปฏิบตั งิ าน การรายงานผล การดาเนินงานอยา่ งเปน็ ระบบ ระบบบรหิ ารงานบุคคล
ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติได้
อย่างเตม็ ตามศักยภาพ ระบบการบริหารจดั การศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา

โรงเรยี นสุพรรณบรุ ีปัญญานกุ ลู จงั หวัดสพุ รรณบุรี
โรงเรียนสุพรรณบุรีปัญญานุกูลจังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินงานประกันคุณภาพ
การศกึ ษา ครูและบุคลากรนาระบบประกันคุณภาพภายในไปใช้ในการปฏิบัติงานให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร
มีความต่อเน่ือง และมีความพร้อมเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากหน่วยงานต้นสังกัดและ
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.)

โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวดั กาญจนบรุ ี
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดาเนินโครงการพัฒนาบุคลากรการเงิน บัญชี และ

พัสดุ ร้อยละ 85 ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และพัสดุ มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับ
กฎหมาย แนวปฏิบตั ิและระเบียบท่ีเก่ยี วขอ้ งในการปฏิบตั ิงานได้อย่างถูกต้องมีประสิทธภิ าพ

กลยทุ ธท์ ่ี 2 : สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล

สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัด
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินโครงการนิเทศการจัดกิจกรรมยุวกาชาดในสถานศึกษา

นิเทศให้ความรู้ เจา้ หน้าที่และผู้บังคับบัญชายุวกาชาด สมาชิกยุวกาชาดจากสถานศึกษาทุกสังกัด มีความรู้ ความ
เข้าใจ และมีทักษะเป็นอย่างดี สามารถดาเนินกิจกรรมยุวกาชาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเกิด
ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อสมาชกิ ยุวกาชาด

สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินการส่งเสริมการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการ

จัดการศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) โรงเรียนทุกแห่งได้รับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา อย่างนอ้ ยจานวน 2 ครง้ั /1 ภาคเรยี น 2) โรงเรยี นทุกแหง่ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
และดาเนนิ งานตามโครงการไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ 3) ศึกษานิเทศก์ทุกคน มีแผนปฏิบัติการนิเทศ ส่ือเคร่ืองมือ
ในการนิเทศและนาไปใชใ้ นการนเิ ทศได้ 4) บคุ ลากรของโรงเรยี นในสังกัดมคี วามรู้ ความเข้าใจในการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนตามจุดเน้นและเปูาหมายของ สพฐ.

121

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สามารถนากระบวนการยกระดับคุณภาพไปพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สามารถพัฒนาความรู้ โครงการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การพัฒนาการศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา มีแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน(พ.ศ. 2563 – 2565) ท่ีได้รับการทบทวนให้สอดคล้อง
เชื่อมโยงกับแผนระดับที่ 1 แผนระดับท่ี 2 แผนระดับท่ี 3 และนโยบายรัฐบาลท่ีเก่ียวข้องด้านการศึกษา
ตามหลักการความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (XYZ) ท่ีเกิดจากการบูรณาการและการมีส่วนร่วมจากทุกภาค
สว่ นท่เี กี่ยวขอ้ ง สามารถตอ่ ยอดขยายผลสูก่ ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับเขตพ้ืนท่ีได้อย่างเป็นรูปธรรม
2) บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์โครงการท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงกับแผนระดับท่ี 1 แผน
ระดับท่ี 2 แผนระดับท่ี 3 และนโยบายรัฐบาลท่ีเกี่ยวข้องด้านการศึกษาตามหลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
(XYZ) 3) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มีการดาเนินงานโครงการที่สอดคล้องเชื่อมโยง
เปาู หมายยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนระดบั ตา่ งๆ ทเี่ ก่ียวข้อง และรายงานผลการดาเนินงานผ่านระดับติดตาม
และประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ตามระยะเวลาที่กาหนด โครงการส่งเสริมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.,อ.ก.ต.ป.น.) ผลการดาเนินงาน 1) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษา มีเคร่ืองมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาที่มีมาตรฐานเช่ือถือได้
2) สถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง ได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบริหารและจัด
การศึกษา โดยคณะกรรมการ/อนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น./
อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรยี นละ 1 ครง้ั 3) สถานศึกษาในสังกัด มีการบริหารและจัดการศึกษา ด้านวิชาการ ด้าน
งบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไปอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการประชุม
กรรมการประเมนิ ผลงานทางวิชาการเพ่ือให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีหรือเล่ือนวิทยฐานะ
ชานาญการพิเศษ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดได้มีวิทยฐานะที่สูงข้ึน โครงการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีและสถานศึกษาในสังกัดได้รับการ
พัฒนาจากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาจากคณะกรรมการ ก.ต.ป.น.
ผู้ทรงคุณวุฒิอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง สามารถนาข้อมูลมาใช้วางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาแบบ
มสี ่วนร่วม

สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ได้ดาเนินการ โครงการ พัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่ยั่งยืน

Connect ED ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โรงเรียนในโครงการ Connect ED ของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 จานวน 31 โรงเรียน มีการพัฒนาและยกระดับการจัดการศึกษาใน
สถานศึกษา บุคลากรแกนนารุ่นใหม่ (School Partner – SP) หรือคณะทางานจากภาคเอกชนอื่นๆ
มีข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และสังเคราะห์เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
มีคุณลักษณะและสมรรถนะความเป็นผู้นาในการบริหารสถานศึกษาท้ังด้านคุณธรรม จริยธรรม และ
สัมฤทธิผลทางการศึกษา โครงการพัฒนางานเลขานุการคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล

122

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

นิเทศการศึกษา ผลการดาเนินงาน 1) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา มีการพัฒนาระบบการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งผลให้ทุก
โรงเรียนในสังกัดสามารถจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานการศึกษา 2) สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษา มีเครือข่ายการนิเทศและทุกโรงเรียนในสังกัดได้รับการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศระบบบริหาร และการจัดการศึกษา 3) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
มีคุณภาพตามมาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาระดับ ดีเยี่ยม โครงการนิเทศติดตามการเตรียม
ความพร้อมในการเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัด ทุกโรงเรียนในสังกัดได้รับการนิเทศเพื่อการเตรียม
ความพร้อมในการเปิดเรียน สถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมในการเปิดเรียนในแต่ละภาคเรียน และ
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครูผู้เรยี นและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีขวญั และกาลังใจในการจดั การศึกษา

สานักงานเทศบาล
สานักงานเทศบาล หน่วยงานในสังกัด หน่วยงานราชการตามการปกครองส่วนท้องถิ่น

ได้ดาเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ให้คาปรึกษาทางวิชาการและส่งเสริม
สนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมกับผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดเทศบาล การนิเทศ
การเขยี นแผนการจัดการเรียนร้แู ละเพม่ิ ทักษะทางการสอนของพนักงานครูเทศบาลในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดีข้ึน เป็นการเตรียมความพร้อมงานนิเทศการสอนรองรับการประเมิน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาสังกัดเทศบาล และรับทราบปัญหาความต้องของสถานศึกษาในสังกัดและ
ดาเนนิ การแกไ้ ข/ชว่ ยเหลอื ผลการดาเนนิ งาน 1) สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษาเหมาะสมกับการจัดการเรียน
การสอน รอ้ ยละ 95 2) พนักงานครู ครูผู้ดูแลเด็ก และบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 90 มีขวัญกาลังใจ
ท่ีดีในการปฏิบัติหน้าท่ีในระดับดีข้ึนไป 3) มีแบบประเมินผลหลังการสอนและช่วยเหลือนักเรียนที่เรียนช้า
ไมผ่ า่ นเกณฑ์ทางการเรยี น ไดผ้ า่ นเกณฑ์ มีกระบวนการสอนซอ่ มเสริม ร้อยละ 91.10

กลยุทธ์ท่ี 3 : ส่งเสริมระบบบริการสุขภาพ การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ระหวา่ งสาธารณสุขกับสถานศึกษา เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพด้านความฉลาดทางเชาว์ปัญญาและความ
ฉลาดทางอารมณ์ ตลอดจนภูมิคมุ้ กันด้านต่าง ๆ ในการดาเนนิ ชีวติ ของผ้เู รยี น
โรงเรียนโสตศึกษาจงั หวดั กาญจนบุรี

โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ได้ดาเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste
School) ส่งเสริมและสนับสนุน ปลูกฝัง ให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ
เกีย่ วกบั การลดขยะ การคัดแยกขยะ เห็นความสาคัญและสามารถปฏิบัติได้ในเร่ืองการลดขยะ การคัดแยก
ขยะ และการนาขยะกลับมาใชป้ ระโยชน์ใหม่

123

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กลยุทธท์ ี่ 4 : สง่ เสริมผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหนา้ ในวิชาชพี

สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินโครงการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษา สายงานบริหารสถานศึกษา พิจารณาคาร้องขอย้ายประจาปีและคาร้องขอย้ายเพ่ิมเติมหลังจากมี
ตาแหน่งว่างของผู้ประสงค์ขอย้าย โดยจัดทาข้อมูลรายละเอียดค่าคะแนนและประเมินศักยภาพการ
พจิ ารณาย้ายผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาตามองค์ประกอบการประเมิน ให้กับผู้ท่ีย่ืนคาร้องขอย้ายและมีคุณสมบัติ
ครบถ้วนโดยพิจารณาตามกรอบระยะเวลาที่ ก.ค.ศ. กาหนด เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ ยุติธรรม โปร่งใส
ถกู ต้อง ไม่มีผู้ยน่ื คัดคา้ นการยา้ ย/ไม่มเี รอ่ื งรอ้ งเรียน

สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ได้ดาเนินโครงการ โครงการพัฒนา

ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเพอ่ื เสริมสร้างประสิทธิภาพในการขอมีวิทยฐานะและ
เลื่อนวิทยฐานะ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาทุกโรงเรียนในสังกัด มีความรู้และมีความเข้าใจในหลักเกณฑ์และ
วิธีการสามารถดาเนินการขอมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะตามที่ ก.ค.ศ.กาหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องและตอบสนองกับบริบทของ
สถานศึกษา

กลยุทธ์ท่ี 5 : ส่งเสริมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมและสร้างเครือข่ายในการจัดการศึกษา
ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพ้นื ท่ี

สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้ดาเนินการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ

หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่ มีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปัญหาการมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาในพื้นที่ ร้อยละ 100 มีแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของหนว่ ยทางการศกึ ษาในพน้ื ท่ี
สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ดาเนินการส่งเสริม
โครงการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาได้รับการ
สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษา เช่น สถานท่ีตั้ง กศน.ตาบล สถานที่จัดกิจกรรม
การศึกษา สนับสนุนงบประมาณในการจัดหาวัสดุครุภัณฑ์ ให้ความร่วมมือแสดงความคิดเห็นและเข้าร่วม
กิจกรรมอย่างต่อเน่อื ง

124

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ ได้ดาเนิน โครงการ

ทนุ การศกึ ษา นักเรียนได้รับการสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษาจากทุกภาคส่วนในการส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาใน
ระดับพื้นฐานและการศึกษาต่อ โครงการการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมการบริหาร
จดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล รอ้ ยละ 100 สง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมใน
การจัดการศึกษา และสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ร้อยละ 80 ส่งเสริมการใช้เครือข่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สารเพือ่ การบริหารจดั การศึกษา รอ้ ยละ 80

4. ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ การดาเนนิ งานการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา ระดับภาค

การดาเนนิ งานการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค มปี ัญหา อุปสรรค และ
ข้อเสนอแนะ จาแนกรายยทุ ธศาสตร์ดังนี้

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความมน่ั คงของชาติ

ปัญหา อปุ สรรค ในภาพรวม ไดแ้ ก่
1. สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้การดาเนิน
กิจกรรมค่อนข้างช้ากว่าปกติ และมีข้อจากัดในเร่ืองการจัดกิจกรรม บางโครงการ/กิจกรรม ต้องปรับเปล่ียนการ
ประชุมและตรวจเย่ียม แบบออนไลน์ ปรับวิธีการเรียนการสอนเป็นออนไลน์ ประกอบกับระยะเวลา
นอ้ ยเกนิ ไป ทาใหข้ าดประสิทธิภาพในการดาเนนิ งาน
2. งบประมาณในการดาเนินงาน มีจานวนจากัด ทาให้ไม่สามารถจัดทาโครงการที่เป็นประโยชน์
กบั กลุ่มเปูาหมายซึง่ มีจานวนมากได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
3. โครงการคัดเลือกหมู่ยุวกาชาดต้นแบบภายในจังหวัดสุพรรณบุรี สถานศึกษาส่วนมากไม่ส่งผลงาน
เข้าร่วมการพิจารณาคัดเลือก ผู้บริหารสถานศึกษาส่วนมากไม่ให้ความสนใจกิจกรรมยุวกาชาดในสถานศึกษา
เท่ากิจกรรมลูกเสือ และครูยุวกาชาดขาดความรู้ความเข้าใจในการดาเนินการกิจกรรมยุวกาชาดใน
สถานศกึ ษา
4. การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคดรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้การดาเนินงาน
ขบั เคล่อื นงานโครงการปอู งกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาประจาปี 2564 ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติ
การ ต้องปรับเปลี่ยนกิจกรรมแนวทางการดาเนินงานและงบประมาณท่ีใช้ในการขับเคลื่อนโครงการการ
ปอู งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาจัดสรรล่าช้า โรงเรียนดาเนินการได้ไม่เป็นไปตามแผนและ
ปฏทิ นิ การดาเนนิ งานของโรงเรยี น ซง่ึ มผี ลต่อการเบกิ จา่ ยงบประมาณ การดาเนินกิจกรรมลูกเสือต้านภัยยา
เสพติดของโรงเรียนขาดการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภายนอก/ชุมชน เน่ืองจากอยู่ในช่วงสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคดรนา 2019 (COVID-19)

125

รายงานการติดตามการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

5. การออกมาตรการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
ตามนโยบายของรัฐบาล ทาให้โรงเรียนมีการเลื่อนวันเปิดภาคเรียน ไม่ได้มีการเปิดการเรียนการสอน และ
เปลยี่ นแปลงวธิ กี ารสอนในรปู แบบของ ON line On air และมาตรการงดเว้นการประชุม ฝึกอบรม และการ
จัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน ส่งผลให้เกิดปัญหาในการขับเคล่ือนการดาเนินงานไม่เป็นไปตามปฏิทินการ
ดาเนนิ กิจกรรมของโรงเรยี นและหน่วยงาน

ข้อเสนอแนะ ในภาพรวม ไดแ้ ก่
1. ดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการโดยใช้ระบบทางไกล หรอื online ตามช่วงเวลาท่ีเหมาะสม
2. เน่ืองจากสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ระบาด มีการกาหนด
นโยบายมาตรการในการปูองกันการติดเชื้อ การเว้นระยะห่าง จึงไม่สามารถจัดอบรมบุคลากรท้ังหมดใน
ห้องประชุมได้ จงึ ทาให้ต้องขออนุมัติปรับเปล่ียนกิจกรรมการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ โดยการจากดั จานวนผเู้ ขา้ ร่วมประชุม การประชุมผา่ นทางระบบ Application Zoom เปน็ ต้น
3. ปรับกิจกรรมและงบประมาณให้มคี วามเหมาะสมกับระยะเวลาการดาเนินงบของปีงบประมาณ
2564 และมีความสอดคล้องตามแนวทางขับเคลื่อนงานปูองกันยาเสพติดในเด็กและเยาวชนในช่วง
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
4. ปรับเปล่ียนกิจกรรมเพื่อรองรับสถานการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019
(COVID-19) โดยการจัดโครงการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ประจาปี 2564 เช่น
กิจกรรมการลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ตามแนวทางการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน และปรับตามสถานการณ์ภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
หรือในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ครู บุคลากร นักเรียน มีความปลอดภัย ตามมาตรการของกระทรวง
สาธารณสุข อย่างเครง่ ครัด

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การพฒั นาศกั ยภาพคนและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ

ปญั หา อปุ สรรค ในภาพรวม ไดแ้ ก่
1. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบ
ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม ของหน่วยงาน สถานศึกษา
ดงั นี้

1.1 การจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา ต้องมีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
และเป็นกิจกรรมฝึกปฏิบัติร่วมกันของผู้เรียน การท่ีสถานศึกษาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนท่ี
สถานศึกษาไดต้ ามปกติ จึงไมส่ ามารถจดั การศึกษาตามแนวทางดังกล่าวได้

1.2 สถานศกึ ษาไมส่ ามารถจดั การเรียนการสอนที่สถานศึกษาได้ ส่งผลให้นักเรียนต้องเรียนรู้ที่
บ้านด้วยรูปแบบ On Hand, On Air, On Line, On Demand ตามความพร้อมของครูผู้สอนและนักเรียน
รายบคุ คล

1.3 การออกนิเทศสถานศกึ ษา ดาเนนิ การไดเ้ ฉพาะบางโรงเรียนและบางเครือขา่ ยเท่าน้ัน

126

รายงานการติดตามการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

1.4 การดาเนินงานตามโครงการ บางกิจกรรม ไม่สามารถดาเนินการได้ เช่น การเย่ียมชม
โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธชน้ั นา เป็นต้น

1.5 การจัดกิจกรรมบางอย่าง ต้องปรับเปล่ียนกาหนดการ และรูปแบบในการจัดประชุม เป็น
ลกั ษณะการประชมุ ออนไลน์

1.6 ครูมีภาระงานเพ่ิมมากข้ึนจากการเตรียมการสอนออนไลน์ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ี
ขาดความพร้อมให้ได้เข้าเรียนออนไลน์ และยังอยู่ในช่วงระยะทดลองใช้วิธีการสอนหรือนวัตกรรมท่ี
เหมาะสม

1.7 ศึกษานิเทศก์ มีภารกิจเร่งด่วนเพิ่มมากขึ้น ทาให้การนิเทศล่าช้า หรือไม่เป็นไปตามแผนท่ี
กาหนดไว้

1.8 การดาเนินการจัดสอบ O-Net ดาเนินการได้เฉพาะนักเรียนที่สมัครใจ และไม่สามารถจัด
ห้องสอบไดต้ ามแนวทางการดาเนินการของ สทศ.

2. บางโครงการไม่ได้รับงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรม หรือบางโครงการได้รับสนับสนุน
ไมเ่ พยี งพอตอ่ การดาเนนิ งาน

3. การจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากรไม่เป็นไปตามแผนท่ีกาหนด และบางกิจกรรมมีการอบรม
ซ้าซ้อนเรอื่ งเวลา

4. ความพรอ้ มด้านอปุ กรณ์ IT และความใส่ใจของนักศกึ ษา กศน.ค่อนข้างจากดั
5. การปรับเปลี่ยนครูผู้รับผิดชอบในการทาหลักสูตรสถานศึกษา เน่ืองจากการย้ายโรงเรียน ทาให้
มีความเข้าใจคลาดเคลอ่ื นในการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา
6. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในเครือข่ายบางเครือขา่ ยไมม่ ีความรู้ ความชานาญในการผลติ ส่อื
ที่เป็นวดี ีโอและภาพเคลอื่ นไหว
7. ผลการทดสอบ O-NET ในปีการศึกษาที่ผ่านมา วิชาสังคมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาของ
โรงเรียนบางแห่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยังไม่น่าพึงพอใจ ควรให้สาขาวิชาสังคมศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการให้
ความรู้เกีย่ วกับเทคนคิ และกลยุทธใ์ นการทาแบบทดสอบ O-NET วชิ าสงั คมศึกษา ทั้ง 5 สาระ
8. กลุม่ เปาู หมายผู้ไม่รู้หนังสือ มีปญั หาเกีย่ วกับสุขภาพ เช่น สายตา หู และไม่มีเวลาในการเรียนรู้
ปัญหาด้านการเขียนหนังสอื (มือแขง็ ) และครูไมม่ กี ารกากับตดิ ตามอย่างต่อเนื่อง

ขอ้ เสนอแนะ ในภาพรวม ไดแ้ ก่

1. ดาเนินกิจกรรมตามโครงการโดยใช้ระบบทางไกล หรอื online
2. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จึงต้องปรับเปลี่ยนในบาง
กิจกรรมเพ่ือให้สอดคล้องตามมาตรการของจังหวัด และรูปแบบการจัดอบรมซ่ึงเดิมผู้เข้ารับการอบรม
จะต้องได้พบกับคณะวิทยากรและวิทยากรพ่ีเลี้ยงและมีการทากิจกรรมร่วมกันจึงปรับเปล่ียนเป็นจัดอบรม
ผา่ นระบบออนไลน์และปรบั เปล่ียนรูปแบบเน้ือหาหลกั สูตรการอบรม
3. เพ่ิมช่องทางการเผยแพร่เอกสารที่เกี่ยวข้อง ทั้งทางเว็บไซต์สานักงาน และช่องทางที่
หลากหลายและเขา้ ถึงไดง้ ่าย
4. ใช้เทคโนโลยีในการดาเนนิ งานให้บรรลุตามเปูาหมายและมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. ควรจัดหางบประมาณในการจัดซ้ืออปุ กรณ์มาใช้ในการจัดทาสอ่ื การเรยี นการสอนออนไลน์
6. ประชุมสรา้ งความรู้ความเข้าใจเพ่ิมเติม ผ่านกลุ่มไลน์ผูร้ ับผดิ ชอบงานหลกั สตู รสถานศกึ ษาในสงั กัด

127

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

7. ปรับคู่มือการสอบโอเน็ตเป็นการจาแนกข้อสอบตามกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตาม
หลกั สตู รแกนกลางเพือ่ ใหค้ รผู ู้เขา้ อบรม สามารถนาไปใชป้ ระกอบการสอนในคาบเรียนได้

8. จัดหาอาสาสมัครหรือสมาชิกในครัวเรือนเป็นผู้สอนหนังสือการอ่านและเขียนให้กับประชาชน
กลมุ่ เปูาหมายผูไ้ ม่ร้หู นังสือ

9. ครูมีแผนการกากับติดตามการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และพัฒนาส่ือให้น่าสนใจ และน่าเรียนรู้
น่าอา่ นมากย่งิ ข้ึน

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาใหก้ บั ผู้เรยี นอยา่ งท่วั ถึง และเท่าเทียม
ปญั หา อุปสรรค ในภาพรวม ไดแ้ ก่

1. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบ
ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม ของหน่วยงาน สถานศึกษา
ดังนี้

1.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการประกาศเล่ือนปฏิทินการรับนักเรียน
ทาให้การรับนักเรียนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ไม่เป็นไปตามกาหนดวันที่ระบุไว้ในปฏิทินการรับ
นกั เรยี น เกิดความล่าชา้ ในการดาเนินงาน กระทบตอ่ การดาเนินงานการรับนักเรียนของโรงเรยี น

1.2 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ไม่สามารถ
ดาเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ เนื่องจากเจ้าหน้าที่มีภารกิจเร่งด่วนในการปฏิบัติงานในช่วงการแพร่
ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID-19)

1.3 จังหวัดท่ีอยู่ในประกาศให้เป็นพ้ืนที่สีแดงเข้ม การจัดกิจกรรมตามที่กาหนดไว้ ต้องมีการ
ปรับเปล่ยี นกิจกรรมของโครงการโดยใชร้ ะบบออนไลน์ เพอื่ ลดการรวมกลุ่มของคนเป็นจานวนมาก

2. กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กลมุ่ เปาู หมายมพี ืน้ ฐานการเรียนร้ทู แ่ี ตกตา่ งกนั นกั ศกึ ษาบางคนไม่สามารถมาพบกลมุ่ เวลากลางวนั ได้

3. ครูผู้สอนอยู่ระหว่างการปรับตัว และพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี ซึ่งอาจต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่ง
จงึ จะสามารถใชง้ าน หรอื ผลิตสือ่ การเรยี นรทู้ ม่ี ีคุณภาพได้มากขึ้น

4. สอ่ื คุณภาพ หรือแหล่งเรยี นรู้ส่วนใหญใ่ ห้บริการผา่ นระบบออนไลน์ ซึง่ ความพรอ้ มในการเข้าถึงสอื่
เทคโนโลยี (Digital Divide) ของนักเรียนยังคงค่อนข้างจากัด รวมท้งั ศักยภาพในการปรับปรุง พฒั นาของ
โรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็กดว้ ย

5. ไมไ่ ด้รับงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรม หรอื ไดร้ บั ไมเ่ พียงพอ ต้องควบคุมค่าใช้จา่ ยเฉพาะ
ส่วนทจี่ าเป็น

6. มีขอ้ จากัด ในเรื่องเวลา สภาพพ้นื ที่ และงบประมาณ ตลอดจนสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงไมส่ ามารถดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

ขอ้ เสนอแนะ ในภาพรวม ไดแ้ ก่
1. กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
วิทยากรจะต้องมีแผนการจดั กจิ กรรมท่ีหลากหลายตามพน้ื ฐานความรู้ของผู้เรียน และจัดตารางการพบกลุ่ม
ใหน้ กั ศึกษาเลือกตามความตอ้ งการและความสะดวก

128

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2. ควรจัดใหม้ ีรถยนตต์ รวจการณก์ ารออกปฏบิ ัติหนา้ ที่ของพนักงานเจา้ หนา้ ทีส่ ง่ เสริมความ
ประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ใหค้ รบทกุ จังหวดั

3. ควรมีการอบรมภายในสานักงานในเนอ้ื หาเก่ียวกบั การจัดทาส่อื ออนไลน์ในรูปแบบที่มีความ
หลากหลาย เชน่ เปน็ แบบเว็บไซน์ แอพพลเิ คชัน่ ผ่านระบบมอื ถือ

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การผลิต พัฒนากาลงั คน การวจิ ยั และนวัตกรรม ทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการของ
การพฒั นาประเทศ

ปัญหา อปุ สรรค ในภาพรวม ไดแ้ ก่
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) สถานศึกษาไม่
สามารถดาเนินกจิ กรรมได้อย่างเต็มรปู แบบ เชน่
1. การศกึ ษาดงู านจากแหล่งเรียนรู้ ไม่สามารถจดั และดาเนนิ การได้ตามสภาวะปกติ
2. การจัดอบรมต่างๆ ท้ังในด้านการส่งเสริมและให้ความรู้ ต้องดาเนินการภายใต้มาตรการของ
กระทรวงสาธารณสขุ การเวน้ ระยะห่าง
3. การจดั การศึกษาในรูปแบบช้นั เรยี น ยังไมส่ ามารถดาเนนิ งานได้ตามเปูาหมาย
4. ปญั หาดา้ นเวลาเรยี นท่ีมจี ากดั
5. นักเรียนไมม่ ีโอกาสได้รบั การพัฒนาความรู้ ทกั ษะอย่างเต็มสมรรถนะ

ข้อเสนอแนะ ในภาพรวม ได้แก่
ควรมกี ารจัดอบรม และการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบทีม่ คี วามหลากหลาย เช่น เปน็ แบบ
เว็บไซต์ แอพพลเิ คช่นั ผ่านระบบมอื ถือ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อมตามหลักของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปัญหา อปุ สรรค ในภาพรวม ไดแ้ ก่
1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนสถานศึกษาพอเพียงและศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาสู่สถานศึกษา ผู้เข้ารับการอบรมบางส่วนยังไม่ค่อย
ให้ความสาคญั เท่าทค่ี วร
2. ขาดการมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมของทุกเครอื ขา่ ยโรงเรียนในสังกดั
3. เน่อื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้
สถานศึกษาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ อาทิ การจัดกิจกรรมในโครงการโรงเรียนสุจริต
ไม่สามารถดาเนินการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และการจัดการเรียนการสอนธรรมศึกษาในสถานศึกษา มี
จานวนผูเ้ ข้าสอบและผู้สอบผ่านลดลงและสถานศกึ ษาบางแหง่ งดจัดสอบธรรมศกึ ษา

129

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

4. โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) มีกิจกรรมการประกวดคัดเลือก โรงเรียน
ปลอดขยะตน้ แบบ และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ซง่ึ ต้องนาเสนอผลงานจริง จงึ ไมส่ ามารถดาเนินการผา่ นระบบ
ออนไลน์ได้

5. ระบบอนิ เตอร์เน็ตไมเ่ สถยี ร ทาใหก้ ารสอื่ สาร และการรับสัญญาณขดั ข้อง

ข้อเสนอแนะ ในภาพรวม ได้แก่
1. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการขับเคล่อื นสถานศึกษาพอเพยี งและศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษาสู่สถานศึกษา ควรดาเนนิ การอบรมเพือ่ สร้างแนวทางใหเ้ ห็น
อย่างชดั เจน และมกี ิจกรรมสอดแทรกตลอดเวลา รวมทงั้ สร้างความสนุกสนานในการอบรม เพอื่ ไม่ให้การ
อบรมน่าเบ่ือจนเกินไป
2. ระบบอินเตอรเ์ น็ตไมเ่ สถยี ร ทาให้การสอ่ื สาร และการรับสัญญาณขดั ข้อง ควรปรับปรงุ ระบบ
เครือข่าย สญั ญาณ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การบรหิ ารการจดั การศกึ ษาให้มีประสิทธิภาพ

ปญั หา อปุ สรรค ในภาพรวม ไดแ้ ก่
1. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบ
ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม ของหน่วยงาน สถานศึกษา
ดงั น้ี

1.1 การดาเนนิ การนิเทศการศึกษา การติดตาม ตรวจสอบประเมินผล เกิดความล่าช้า หรือไม่
สามารถออกเยีย่ มสถานศกึ ษาได้ ต้องการดาเนนิ การจดั อบรมผ่านระบบออนไลน์

1.2 ทาให้ต้องมีการปรับเปล่ียนแนวทางการปฏิบัติราชการ และการจัดการเรียนการสอนให้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์เพ่อื ให้การขบั เคลื่อนการบรหิ าร และการจดั การศึกษาดาเนินต่อได้อย่างเหมาะสม
และมปี ระสิทธิภาพ

1.3 การขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ แผนงานที่
กาหนดไว้ ต้องปรบั เปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรม วิธีการ แนวทางการดาเนินงาน และงบประมาณท่ีใช้ใน
การขับเคลื่อนโครงการ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์

1.4 การดาเนินงานในบางโครงการไม่สามาถดาเนินการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น การ
ประชุมเชิงปฏบิ ัติการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา ไม่สามารถจัดประชุมได้ท้ัง 4 องคค์ ณะบุคคล

2. โครงการนิเทศ ติดตาม กากับคุณภาพเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนพระ
ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ระยะเวลาในการดาเนินกิจกรรมน้อย เนื่องจากได้รับจัดสรรงบประมาณ
ไม่เพียงพอสาหรบั จดั กจิ กรรมหลายวัน

3. หน่วยงานด้านการศึกษาในบางจังหวดั มจี านวนมาก ต้องใชร้ ะยะเวลาการประสานงาน
คอ่ นข้างมาก ทาใหส้ ง่ ผลต่อการรวบรวมขอ้ มูลด้านการศึกษาใหเ้ ป็นภาพรวมของจังหวัด

4. รปู แบบในการจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั

130

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

5. การปรบั เปล่ียนบคุ ลากรบ่อย ทาให้ขาดความต่อเนื่องและความเข้าใจในการจัดเกบ็ ข้อมลู ฯ ทา
ให้การรวบรวมข้อมูลไม่ถูกต้องและไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพเท่าท่ีควร

6. รูปแบบและแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติราชการท่ีต้องมีการปรับเปล่ียนให้เป็นไปตามมติ
คณะรัฐมนตรีและพระราชกฤกฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื งท่ดี ี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2562
เป็นเร่ืองใหม่ และมีความซับซ้อน ควรต้องมีการสร้างการรับรู้และทาเข้าใจกับผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ส่งผลให้
การดาเนนิ การเป็นไปดว้ ยความยากลาบากและมีความลา่ ชา้ ไมเ่ ป็นไปตามปฏทิ ินการดาเนนิ การทกี่ าหนดไว้

7. โครงการการศึกษาสภาพปัจจุบันและความเหมาะสมในการบริหารและการจัดการศึกษาของ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา เป็นกิจกรรมที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
สุ่มคัดเลือกเขตพื้นที่ดาเนินการ และกาหนดช่วงระยะเวลาดาเนินการ/การรายงานผลอย่างกระช้ันชิด
ส่งผลให้ต้องเร่งดาเนินการในช่วงระยะเวลาจากัด และการจัดสนทนากลุ่มผู้นาการสนทนากลุ่ม ไม่ทราบ
บริบทงานที่ชัดเจนทุกด้าน จึงอาจไม่สามารถกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มได้
ครบถ้วนหรือละเอียดพอ ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มบางท่าน ไม่ใช่ผู้ปฏิบัติงานบางเรื่องโดยตรง จึงอาจแสดงความ
คิดเหน็ หรอื สะทอ้ นปญั หาได้ไม่ชัดเจนเท่าทค่ี วร ยังไมก่ ล้าแสดงความคิดเหน็ อยา่ งเตม็ ท่ี

8. บคุ ลากรผ้รู บั ผิดชอบขาดความร้คู วามเขา้ ใจการรายงานในระบบตดิ ตามและประเมนิ ผล
แหง่ ชาติ (eMENSCR)

9. ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีสง่ ผลงาน เข้าประกวด/พิจารณา มจี านวนนอ้ ย
เนือ่ งจากส่วนใหญ่ข้าราชการครู มภี าระหนา้ ท่ใี นการจัดการเรยี นการสอนเตม็ เวลา จงึ ใหค้ วามสาคัญกับ
การจัดส่งผลงานเข้าประกวดน้อย

10. โรงเรยี นทเ่ี ปน็ เครือขา่ ยไม่สามารถนานักเรยี นเข้ามาเรียนในโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชนและ
โรงเรยี นมธั ยมดสี ี่มุมเมือง

11. การเพมิ่ คณุ ภาพของผู้เรียนไมส่ ามารถเพิ่มไดต้ ามที่กาหนด
12. เนอื่ งจากสถานการณโ์ รคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID-19) ทาใหไ้ ม่สามารถจัดประชุม
เชิงปฏิบตั ิการขับเคล่อื นการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและประสิทธภิ าพฯ ได้ทง้ั 4 องคค์ ณะบุคคล

ขอ้ เสนอแนะ ในภาพรวม ได้แก่
1. กระตุ้นให้สถานศึกษาเห็นถึงความสาคัญของงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการ
บรหิ ารงานบุคคล ด้านการบริหารทัว่ ไป และการนานโยบายสู่การปฏิบัติ
2. หน่วยงานผู้รับผิดชอบ ควรสร้างความรู้ความเข้าใจการรายงานในระบบติดตามและประเมินผล
แห่งชาติ (eMENSCR)
3. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ควรดาเนินการปรับปรุง Template ของแผนปฏิบัติ
ราชการ ที่มีการบรู ณาการแนวความคิดในการจัดทาแผน โดยใช้หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Causal
Relationship : XYZ) ตามแนวทางของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่วมกับเกณฑ์คุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA 4.0) ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดทุกแห่งใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีและพระราช

131

รายงานการติดตามการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 ในส่วนที่เก่ียวข้องกับ
การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ การใช้โปรแกรมพื้นฐานในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูล
ด้านการศึกษาทถ่ี ูกตอ้ ง แม่นยา มีข้อผดิ พลาดน้อยที่สุด

4. ควรวางกรอบแนวทาง/รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและง่ายต่อการ
รวบรวมในภาพของจังหวัด

5. หน่วยงานควรจัดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจและทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม
พื้นฐานในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลด้านการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การ
ขบั เคลือ่ นการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศึกษาดาเนินต่อไปได้อย่างราบรนื่

6. ควรนาผลงานของผู้ได้รับรางวัล เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ยกย่องเชิดชูเกียรติในหลาย ๆ ช่องทาง
เพ่ือยกย่องเชิดชเู กยี รติ ใหเ้ ป็นแบบอย่าง กระตุ้น สรา้ งแรงจงู ใจ ให้ข้าราชการครู สง่ ผลงานเข้าร่วมประกวด
เพิ่มมากขึ้น โดยควรกาหนดให้สามารถนาผลงาน/รางวัลที่ได้รับไปใช้ประกอบในการพิจารณา เพ่ือสร้างขวัญและ
กาลังใจ เช่นการเลอ่ื นขนั้ เงนิ เดือน การยา้ ย การเปล่ียนตาแหน่ง การเลอื่ นวิทยฐานะ ฯลฯ

7. ควรจดั สรรงบประมาณพัฒนาบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพ่ิม

132

บทที่ 5
สรุปผลการตดิ ตาม ปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือติดตามกระบวนการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหน่วยงานการศึกษาในพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3
2) เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะที่มีต่อกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของหน่วยงาน
การศึกษาในพ้นื ทรี่ บั ผิดชอบของสานกั งานศึกษาธิการภาค 3 3) เพ่ือติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของหน่วยงานการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงาน
ศึกษาธิการภาค 3 และ 4) เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดาเนินงานการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของหน่วยงานการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของ
สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 3

ดาเนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู ด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ของหน่วยงานการศกึ ษาในพ้นื ที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 3
ในกระบวนการขับเคลือ่ น 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 2) การขับเคล่ือน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา 3) การแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ และ
4) การติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ผู้ติดตามได้ดาเนินการรวบรวม
ข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคล่ือน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา จากหน่วยงานการศึกษาในพื้นท่ีดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการภาค 3
จานวน 81 ฉบบั โดยศึกษาจากประชากรท้ังหมด ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา 74 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ
91.36 ในส่วนของการติดตามผลการดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค
เปน็ การตดิ ตามฯ จากแบบรายงานผลการดาเนินงานตามแผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัด ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 ของหน่วยงานทางการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบ ได้แก่ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี
จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วน
เบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์เชงิ เน้ือหา (Content Analysis)

สรุปผลการตดิ ตาม
การติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4

ของสานักงานศึกษาธิการภาค 3 สรุปผลการตดิ ตามฯ ได้ดงั น้ี
1. ผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค ครอบคลุม

กระบวนการ 4 ด้าน ในภาพรวมมีการขับเคลื่อนอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มี
คา่ เฉล่ียมากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ ด้านกลไกการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา รองลงมา ได้แก่ ด้านการ
ติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ด้านการแปลงแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ และด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์
การพฒั นาการศึกษา โดยสรปุ ผลแต่ละดา้ นได้ดังนี้


Click to View FlipBook Version