The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tunyapa.ben, 2022-06-23 23:36:03

เล่มติดตาม

เล่มติดตาม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

1.1 ด้านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด ได้แก่ การจัดทา
แผนพัฒนาการศกึ ษา และแผนปฏิบตั ิการทช่ี ัดเจนและเป็นรูปธรรม รองลงมา ได้แก่ การบริหารจัดการศึกษาแบบมี
ส่วนร่วม การสร้างเครือข่ายหน่วยงานการศึกษา การจัดระบบกากับ ติดตาม ประเมินผลการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ การนาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียน้อย
ทสี่ ุด คอื การพฒั นาการศึกษาแบบบรู ณาการเพอื่ ใหก้ ารขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์บรรลุเปา้ หมาย

1.2 ด้านการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก เมือ่ พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด ได้แก่ การสร้างความรู้
ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติงาน รองลงมาได้แก่ การสร้างความรู้ ความ
เข้าใจให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพ้ืนท่ีเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา
แผนและการตดั สนิ ใจเชิงบริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดการความรู้ และแลกเปล่ียนเรียนรู้
จากประสบการณ์เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติสามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่
การเปิดโอกาสให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการ
จดั ทาแผน การแสวงหาและระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนท่เี ก่ยี วข้อง

1.3 ดา้ นการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติ ในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด ได้แก่ การวางแผน
ดาเนนิ งานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด รองลงมาได้แก่ การจัดอันดับความสาคัญ
ของเป้าหมาย กาหนดแนวทางการดาเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบของแผนปฏิบัติการ
การดาเนินการตามแผนงาน/โครงการที่กาหนด และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ การดาเนินงานโครงการ/
กจิ กรรมในรูปแบบขององค์คณะบคุ คล

1.4 ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด
ได้แก่ การติดตามความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรมเป็นระยะ รองลงมา ได้แก่ การประเมินผลการ
ดาเนินงานตามแผน การแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามประเมินผล และข้อที่มีการปฏิบัติน้อยที่สุด
ไดแ้ ก่ การนาผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ และพฒั นาแผนในปตี ่อไป

2. ข้อเสนอแนะต่อการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติระดับภาค
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ครอบคลุมกระบวนการ 4 ดา้ น มดี งั นี้

2.1 ดา้ นกลไกการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา
2.1.1 การจัดทาแผนงาน/โครงการ ตามยทุ ธศาสตร์ ตอ้ งผ่านกระบวนการมีสว่ น

ร่วมของทุกภาคส่วน สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกบั ทุกหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง บูรณาการหน่วยงานการศึกษาอย่าง
เปน็ รปู ธรรม เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรข์ องภาคไปสู่เป้าหมาย

2.1.2 ควรกาหนดโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการที่ชัดเจน เพื่อร่วม
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาให้สาเร็จ โดยพิจารณาว่ามีหน่วยงานใด บุคคลใดเกี่ยวข้องบ้าง
แต่ละสว่ นมีบทบาทหน้าทใ่ี นเรอื่ งใดบ้างที่จะร่วมขับเคลอื่ นไปด้วยกัน และส่ือสารไปยังผู้เก่ียวข้อง ท้ังนี้ควร

134

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

พิจารณาโครงสร้างท่ีสานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีองค์คณะบุคคลในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ไปสู่
ความสาเรจ็ ได้แก่ อนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ เขา้ มาเปน็ กลไกสาคัญ

2.1.3 ควรนาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ โดยนา Social
Network เช่น Line Application เป็นกลไกในการขับเคล่ือน โดยวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีส่งผลกระทบต่อ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVIC-19)
เพอื่ ลดการประชมุ เสวนา ลดภาระในการเดนิ ทาง

2.1.4 ควรมีการพัฒนาบุคลากรที่มีบทบาทหน้าที่ในการขับเคล่ือนฯ ให้มีความรู้
ความสามารถเพ่ือการพัฒนา มีการช้ีแจง หรือทาความเข้าใจให้เห็นถึงความสอดคล้องและเชื่อมโยงของ
ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติไปยังผู้ปฏิบัติหน้าท่ีจัดทาแผนของแต่ละหน่วยงาน เพ่ือสามารถนาความเช่ือมโยง
ไปสแู่ ผนทุกระดับเน้นเรื่องความสอดคลอ้ งระหว่างการวางแผนดาเนินงานกับยทุ ธศาสตร์กลุ่มจงั หวดั

2.2 ด้านการขับเคลอ่ื นแผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา
2.2.1 ควรมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่

การปฏิบัติในหลายรูปแบบตามความเหมาะสม เช่น ดาเนินการประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom
(ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคตดิ ต่อเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019) หรือใชแ้ บบสอบถามท่ีครอบคลุมทุกด้าน
ทีต่ ้องการ ฯลฯ

2.2.2 ควรพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพ้ืนที่ให้เป็นระบบ ถูกต้อง ครบถ้วน
และเป็นปัจจบุ ัน ใหม้ ีรูปแบบเดียวกัน เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาแผนและการตัดสินใจเชิงบริหารในการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.2.3 ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติและดาเนินการให้
สอดคล้องร่วมกันบูรณาการในการพัฒนาการศึกษาให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความจริงใจ จริงจัง
และความตั้งใจในการร่วมกันพัฒนาการศึกษา ไปสู่เด็ก-เยาวชน ทุกกลุ่มให้เป็นไปตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศกึ ษาธิการที่สอดคล้องกนั ส่งผลตอ่ การพัฒนาการศึกษาทยี่ ่งั ยืน

2.3 ดา้ นการแปลงแผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาสกู่ ารปฏิบัติ
2.3.1 ควรกาหนดแนวทางการแปลงแผนพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติท่ีชัดเจน

เช่น ประสาน สื่อสาร ข้ีแจง สรา้ งความเขา้ ใจทุกภาคส่วน ผลกั ดันโครงการเร่งด่วนตามนโยบาย
2.3.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกัดในจังหวัด

อย่างเป็นรปู ธรรมโดยการแปลงยทุ ธศาสตรส์ ู่โครงการ/กิจกรรม ทีจ่ ะนาไปสผู่ ลสาเรจ็ ทม่ี ีคา่ เปา้ หมายชดั เจน
2.3.3 ควรให้ความสาคัญกับกระบวนการประสานการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติระดับ

พื้นที่ เพื่อให้สามารถนาไปส่กู ารปฏิบตั ิได้อย่างเป็นรูปธรรมและสามารถประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผน ตามตัวช้ีวัด
และเป้าหมายได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

135

รายงานการติดตามการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2.4 ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา
2.4.1 พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานให้มีประสิทธิภาพ

รวดเร็ว เพ่ือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือการทบทวน ปรับปรุงการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทันเหตุการณ์ นาเสนอผลการติดตามและประเมินผลให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ และ
เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์

2.4.2 ควรใช้ระบบเทคโนโลยี ICT เข้ามาช่วยในการติดตามความก้าวหน้าของ
โครงการ โดยให้รับการติดตามรายงานผลโครงการผ่านระบบออนไลน์ กาหนดปฏิทินการรายงานที่ชัดเจน
และควรมีการบูรณาการร่วมกันในการกาหนดแบบติดตามและรายงานผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อลด
ภาระและลดการซา้ ซ้อนในการตดิ ตาม และเกดิ ผลเปน็ รูปธรรมชัดเจน

2.4.3 ควรมีการกากับติดตามและรายงานผลอย่างต่อเน่ืองและนาผลมาประเมิน
วเิ คราะห์ความสาเรจ็ ความคมุ้ คา่ คมุ้ ทุนใหช้ ัดเจน สามารถไปพัฒนา ปรบั ปรงุ หรือยกเลิกโครงการได้ในปีต่อไป

3. ผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ท่ีสอดคล้องตาม
แผนพัฒนาการศกึ ษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564

ผลการดาเนินงาน การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาคท่ีสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ.2564 พบว่า
ในภาพรวมสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ดาเนินโครงการตามยุทธศาสตร์ในพื้นที่ จานวน 286 โครงการ
โดยมีการขับเคลื่อนโครงการในยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาศักยภาพคนและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ตลอดชวี ิต มากท่ีสดุ จานวน 86 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 30.07 รองลงมาได้แก่ ยุทธ์ศาสตร์ท่ี 6 การบริหาร
จดั การศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพ จานวน 69 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 24.13 ยุทธ์ศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษา
เพ่ือความมั่นคงของชาติ จานวน 48 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 16.78 ยุทธ์ศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษา
เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 35
โครงการ คิดเป็นร้อยละ 12.24 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม
ที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ จานวน 26 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 9.09 และ
ยุทธศาสตร์ที่มีการขับเคล่ือนโครงการน้อยท่ีสุดคือ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับ
ผู้เรียนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม จานวน 22 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 7.69 รายละเอียดจาแนกเป็นราย
ยทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของชาติ มี 3 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ ที่มี
การขับเคลื่อนโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันและการพัฒนาทักษะชีวิตเพ่ือ
ความม่นั คงของชาติ จานวน 18 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 6.29 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริมและ
พัฒนาการจัดการศึกษาท่ีเสริมส ร้างคว ามมั่นคงของสถาบันหลั กของชาติและ การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จานวน 16 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.59 ส่วนกลยุทธ์

136

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ที่มีการขับเคล่ือนโครงการน้อยท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 3 การพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแล
ป้องกนั ภยั คุกคามในรปู แบบใหม่ จานวน 14 โครงการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.90

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มี 5 กลยุทธ์
โดยกลยุทธ์ ที่มีการขับเคล่ือนโครงการ มากที่สุดคือ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ
ความรู้ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมตามทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็นใน
ศตวรรษท่ี 21 จานวน 49 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 17.13 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 20 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 6.99 กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริม และ
สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต จานวน 9 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 3.15 กลยุทธ์ท่ี 5 ส่งเสริมและพัฒนา
แหล่งเรียนรู้/สื่อการเรียนรู/้ คลังข้อมลู /นวตั กรรมการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานมีความหลากหลาย
และเพียงพอกับประชาชนแต่ละช่วงวัย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัดเวลา และ
สถานท่ี จานวน 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 2.45 ส่วนกลยุทธ์ที่มีการขับเคลื่อนโครงการน้อยท่ีสุดคือ
กลยุทธ์ท่ี 2 สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการเรียนรทู้ ีส่ อดคล้องกับพหุปัญญา จานวน 1 โครงการ คดิ เป็นร้อยละ 0.35

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การสรา้ งโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม มี 3 กลยุทธ์
โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคล่ือนโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาท่ี
หลากหลายให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และเท่าเทียม จานวน 17 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.94 รองลงมา
ได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทับ หรือแพลตฟอร์มเพ่ือการศึกษา
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนทางไกลทุกระบบให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้สะดวก
และรวดเรว็ อยา่ งมีคุณภาพ จานวน 5 โครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ 1.75 ส่วนกลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน/
ยกระดับคุณภาพ การสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นท่ีสูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บ
ชายแดน ท้งั กลมุ่ ชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมกลุม่ ชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว ไม่มกี ารขบั เคล่อื น

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การผลิต และพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับความ
ต้องการของการพัฒนาประเทศ มี 3 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ที่มีการขับเคล่ือนโครงการมากท่ีสุดคือ กลยุทธ์ท่ี 1
ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ จานวน 16 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.59 รองลงมา ได้แก่ กลยุทธ์ท่ี 2
ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนท่ีมีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน จานวน 7 โครงการ
คดิ เปน็ ร้อยละ 2.45 สว่ นกลยทุ ธ์ท่ีมีการขับเคลื่อนโครงการน้อยท่ีสดุ คือ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ จานวน 3 โครงการ
คิดเปน็ ร้อยละ 1.05

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 4 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคลื่อนโครงการมากท่ีสุดคือ
กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการ
สร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการขับเคลื่อน จานวน 21 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 7.34
รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 คือ เสริมสร้าง สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม
จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีการ
ขับเคล่ือน จานวน 14 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.90 ส่วนกลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัยและ

137

รายงานการตดิ ตามการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

นวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และกลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาฐานข้อมูลด้าน
การศึกษาท่ีเกย่ี วข้องกับการสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ไมม่ ีการขบั เคล่ือนโครงการ

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มี 5 กลยุทธ์ โดยกลยุทธ์ที่มีการ
ขับเคลื่อนโครงการมากที่สุดคือ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริม พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล จานวน 55 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 19.23 รองลงมาได้แก่ กลยุทธ์ที่ 2
ส่งเสริม และพัฒนาระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผล จานวน 8 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 2.80
กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมและสร้างเครือข่ายในการจัดการศึกษา ตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนและพ้ืนท่ี จานวน 3 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 1.05 กลยุทธ์ท่ี 4 ส่งเสริมผู้บริหาร
ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ จานวน 2 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 0.70
ส่วนกลยุทธ์ท่ีมีการขับเคลื่อนโครงการน้อยท่ีสุด คือ กลยุทธ์ที่3 ส่งเสริมระบบบริการสุขภาพการจัดการ
ความปลอดภัยและอาชวี อนามัยระหวา่ งสาธารณสุขกบั สถานศึกษา เพอ่ื เสริมสรา้ งศักยภาพด้านความฉลาด
ทางอารมณต์ ลอดจนภมู คิ ุ้มกนั ดา้ นตา่ ง ๆ ในการดาเนินชวี ิตผู้เรียน จานวน 1 โครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.35

ผลการด าเนิ นงาน การขั บเคลื่อนยุ ทธศาสตร์ การพั ฒนาการศึ กษาในพ้ืนที่ของ
กระทรวงศึกษาธิการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์แผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1
(พ.ศ.2563 – 2565) ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564 ท้ัง 6 ยุทธศาสตร์ คือ 1) การจัดการศึกษาเพ่ือความ
มั่นคงของชาติ 2) การพฒั นาศักยภาพคน และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวิต 3) การสร้างโอกาส
ทางการศึกษาให้กับผู้เรียนอย่างท่ัวถึง และเท่าเทียม 4) การผลิต พัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม
ทีส่ อดคล้องกับความต้องการของการพฒั นาประเทศ 5) การจัดการศกึ ษา เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 6) การบริหารจัดการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ พบว่า หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาในพ้ืนที่ ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี
ราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนใหญ่สามารถดาเนินการได้ตามแผนงานท่ีกาหนด แต่อย่างไรก็ตาม
แผนงานโครงการดงั กลา่ ว เปน็ งานโครงการหรอื กจิ กรรมท่ีดาเนินการเพื่อตอบสนองนโยบายต้นสังกัด หรือ
จัดทาขึ้นตามท่ีต้นสังกัดกาหนด จึงทาให้โครงการ/กิจกรรมยังไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนา
การศกึ ษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕65) ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2564 ส่งผลให้การ
ขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติให้เห็นเป็นรูปธรรมยังไม่ชัดเจน และเพียงพอต่อการผลักดันให้การพัฒนาการศึกษา
ของพืน้ ท่ีบรรลุผลตามเปา้ หมายท่ีกาหนด

4. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ การดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา
การศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 3 มีดงั น้ี

4.1 ปญั หา อุปสรรค
4.1.1 เน่ืองจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019

(COVID-19) ทาให้การดาเนินงานขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมของหน่วยงาน สถานศึกษา ดาเนินการได้
ไม่เป็นไปตามแผนและปฏิทินการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถดาเนินกิจกรรมได้อย่างเต็มรูปแบบ
อาทิ การศกึ ษาดงู านจากแหล่งเรียนรู้ไม่สามารถจัดและดาเนินการได้ตามสภาวะปกติ การจัดอบรมต่าง ๆ

138

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ในด้านการส่งเสริมและให้ความรู้ก็ต้องดาเนินการภายใต้มาตรการป้องกัน โรงเรียนมีการเล่ือนวันเปิดภาคเรียน
ไม่ได้มีการเปิดการเรียนการสอนได้ตามปกติ การดาเนินโครงการ/กิจกรรมค่อนข้างช้ากว่าปกติ และมี
ข้อจากัดในเร่ืองการจัดกิจกรรม ซ่ึงมีผลต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบกับระยะเวลาน้อยเกินไป
ทาให้ขาดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ส่งผลให้เกิดปัญหาในการขับเคลื่อนการดาเนินงานไม่เป็นไปตาม
ปฏิทินการดาเนินกิจกรรมของสถานศึกษาและหน่วยงาน

4.1.2 รูปแบบและแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติราชการท่ีต้องมีการปรับเปลี่ยนให้
เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีและพระราชกฤกฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 เป็นเรื่องใหม่ และมีความซับซ้อน ต้องมีการสร้างการรับรู้และทาความเข้าใจกับ
ผมู้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง สง่ ผลใหก้ ารดาเนนิ การเป็นไปด้วยความยากลาบากและมีความล่าช้าไม่เป็นไปตามปฏิทิน
การดาเนนิ การท่กี าหนดไว้

4.1.3 การจัดการข้อมูลสารสนเทศเชิงพื้นที่ด้านการศึกษา ระบบฐานข้อมูล แบบเก็บ
ข้อมูล รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ยังขาดการเชื่อมโยงบูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ
ท่ีเกี่ยวข้อง ส่งผลให้ข้อมูลท่ีไดร้ ับล่าชา้ ขาดความครบถว้ น สมบรู ณ์

4.1.4 การปรบั เปล่ียนบุคลากรบอ่ ย ทาใหข้ าดความตอ่ เนอ่ื งและความเขา้ ใจในการ
จัดเก็บข้อมลู ฯ ทาให้การรวบรวมขอ้ มูลไมถ่ ูกต้องและไม่มปี ระสทิ ธิภาพเทา่ ทีค่ วร

4.1.5 บุคลากรผู้รับผิดชอบการรายงานโครงการขาดความรู้ความเข้าใจการรายงาน
ในระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลแห่งชาติ (eMENSCR)

4.1.6 การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบออนไลน์ยังประสบปัญหาเร่ืองเทคโนโลยีท่ี
ไม่พร้อมของผู้เข้าร่วมประชุม บางหน่วยงานขาดกล้องและไมค์ ทาให้ไม่เกิดการแลกเปลี่ยนซ่ึงกันและกัน
และขาดการปฏิสัมพนั ธต์ ่อกนั

4.1.7 การขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษายังดาเนินการได้ไม่มากนัก ส่งผล
ให้การประสานความร่วมมือในการดาเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การศึกษาในพ้ืนที่ ระหว่างหน่วยงาน
ดาเนินการได้ไม่มากเท่าที่ควร เห็นได้จากงานโครงการเชิงบูรณาการยังไม่ปรากฎชัดเจนเป็นรูปธรรม การ
กาหนดแผนงานโครงการของหน่วยงาน สถานศึกษาส่วนใหญ่ ไม่ตอบสนองกับแผนพัฒนาการศึกษาของ
พื้นท่ี สง่ ผลใหม้ ีหลายกลยุทธใ์ นแผนพฒั นาการศึกษาภาค/จงั หวดั ไมม่ กี ารนาไปขับเคล่ือนสู่การปฏบิ ัติ

4.1.8 สื่อคุณภาพ หรือแหล่งเรียนรู้ส่วนใหญ่ให้บริการผ่านระบบออนไลน์ ระบบ
อินเตอร์เน็ตไม่เสถียร ทาให้การสื่อสาร และการรับสัญญาณขัดข้อง ปัจจุบันความพร้อมในการเข้าถึง
สื่อเทคโนโลยี (Digital Divide) ของบุคลากรทางการศึกษา ครู นักเรียน ยังคงค่อนข้างจากัด ขาดความรู้
ความเขา้ ใจในการใช้สื่อคุณภาพ

139

รายงานการติดตามการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

4.2 ขอ้ เสนอแนะ
4.2.1 จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่มีการออกมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดตามนโยบายของ
รัฐบาล และปฏบิ ตั ติ ามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) และแก้ไขไปตามนโยบายและมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาด
โรคติดเชื้อที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด เช่น มาตรการงดเว้นการประชุม ฝึกอบรม และการจัดกิจกรรม
ที่มีการรวมตัวกัน การเว้นระยะห่าง บางโครงการ/กิจกรรม ต้องปรับเปลี่ยนการประชุมและตรวจเย่ียม
ในรูปแบบออนไลน์ ปรับกิจกรรมและงบประมาณให้มีความเหมาะสมของระยะเวลาการดาเนินงาน
ปรับวิธีการเรียนการสอนด้วยรูปแบบออนไซต์ (On site) ออนแอร์ (On air) ออนไลน์ (On line)
ออนดีมานด์ (On-demand) และออนแฮนด์ (On-hand) ตามความพร้อมของครูผู้สอนและนักเรียน
รายบุคคล และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบัติในหลาย
รปู แบบตามความเหมาะสม อาทิ ดาเนนิ การประชมุ ออนไลน์โดยใช้โปรแกรม Zoom โปรแกรม Microsoft
Teams หรือใช้แบบสอบถามท่ีครอบคลุมทุกด้านที่ต้องการ ฯลฯ มีการปรับเปลี่ยนและชี้แจงแนวทางการ
ปฏิบตั งิ านราชการให้สอดคล้องกับสถานการณ์เพ่ือให้การขับเคลื่อนการบริหารและจัดการศึกษาดาเนินต่อ
ได้อย่างเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ

4.2.2 สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ควรดาเนินการปรับปรุง Template ของ
แผนปฏิบัติราชการ ที่มีการบูรณาการแนวความคิดในการจัดทาแผน โดยใช้หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
(Causal Relationship : XYZ) ตามแนวทางของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่วมกับเกณฑ์
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA 4.0) ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดทุกแห่งใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีและพระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ
การจัดทาแผนปฏิบัติราชการการใช้โปรแกรมพื้นฐานในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล เพ่ือให้ได้ข้อมูล
ด้านการศกึ ษาทีถ่ ูกตอ้ ง แม่นยา มขี อ้ ผดิ พลาดนอ้ ยท่สี ดุ

4.2.3 หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ควรให้ความสาคัญของการจัดการระบบข้อมูล
สารสนเทศ เพื่อให้การจัดการระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีการ
วางกรอบแนวทาง/รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและง่ายต่อการรวบรวม ให้มีความ
สอดคล้องเป็นระบบเดียวกัน รวดเร็ว ครอบคลุม ทันสมัย ตรงกับความต้องการและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้
โดยทุกฝ่ายสามารถนาไปใชใ้ นการวางแผนใหเ้ ข้ากับงานของตนเองได้เป็นอย่างดี พัฒนากระบวนการบูรณา
การเชื่อมโยงข้อมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา และสานักงานศึกษาธิการภาค/ศึกษาธิการ
จังหวัด ควรจัดให้มีการประชุมสัมมนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศทาง
การศึกษาของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง เพอื่ การวางกรอบแนวทาง/รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลให้
เป็นไปในทิศทางเดียวกันและง่ายต่อการรวบรวมในภาพรวมของจังหวัด ร่วมกันวิเคราะห์และกาหนด

140

รายงานการติดตามการขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

รายการของข้อมูลที่ต้องการใช้ พร้อมท้ังวางแผนและทาปฏิทินในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
เพื่อทุกหนว่ ยงานจะสามารถวางแผนในการจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่ต้องมีและใช้ร่วมกัน
ทันกับความต้องการ ตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ และลดความซ้าซ้อนของการจัดระบบข้อมูลและ

สารสนเทศ

4.2.4 หน่วยงาน สถานศึกษาที่เกี่ยวข้องควรจัดบุคลากรท่ีมีความรู้ความเข้าใจและ

ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมพื้นฐานในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูล

ดา้ นการศกึ ษาที่มปี ระสิทธิภาพ

4.2.5 หน่วยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ ควรสร้างความรคู้ วามเข้าใจการรายงานในระบบติดตาม
และประเมนิ ผลแห่งชาติ (eMENSCR)

4.2.6 หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ งในพ้นื ท่ีควรให้ความสาคญั และสนับสนุนเทคโนโลยีท่พี ร้อม

ใชง้ านใหบ้ คุ ลากร สาหรบั การจดั ประชมุ แบบออนไลน์
4.2.7 หน่วยงานตน้ สงั กัดทุกสงั กดั ทจี่ ัดการศึกษา ต้องอาศยั ความรว่ มมือจากหน่วยงาน

ทุกภาคส่วน ท้ังหน่วยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และ

ภาคเอกชน ตลอดจนภาคประชาสังคมที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาการศึกษา ต้องร่วมกันขับเคล่ือน

แผนยุทธศาสตร์ชาติและดาเนินการให้สอดคล้องร่วมกัน บูรณาการในการพัฒนาการศึกษาให้เกิดผลอย่าง

เป็นรูปธรรม ด้วยความจริงใจ จริงจัง และความตั้งใจในการร่วมกันพัฒนาการศึกษา ไปสู่เด็ก-เยาวชน

ทุกกลุ่ม ให้เป็นไปตามเป้าหมายตัวช้ีวัด ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการที่สอดคล้องกัน

สง่ ผลต่อการพัฒนาการศึกษาทีย่ ่ังยืน

4.2.8 ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษา สถาบันทางการศึกษา และสถานศึกษาในพ้ืนท่ี
ต้องให้ความสาคัญส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ให้ท่ัวถึงทุกพื้นท่ี ในรูปแบบ

ท่ีหลากหลายตามความเหมาะสมท้ังรูปแบบออนไซต์ (On site) ออนแอร์ (On air) ออนไลน์ (On line)
ออนดีมานด์ (On-demand) และออนแฮนด์ (On-hand) และมีการพัฒนาส่งเสริมให้บุคลากรของ
หน่วยงาน สถานศึกษา นาเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน เพื่อเพ่ิม

ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาในพื้นท่ี อาทิ ควรมีการอบรมภายในหน่วยงาน สถานศึกษา
ในเนอื้ หาเก่ียวกบั การจดั ทาสอ่ื ออนไลนใ์ นรปู แบบที่มคี วามหลากหลาย เช่น เป็นแบบเว็บไซต์ แอพพลิเคช่ัน
ผ่านระบบมอื ถือ

4.2.9 ควรมีการพัฒนาบุคลากรที่มีบทบาทหน้าที่ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้มี
ความรู้ความสามารถเพ่ือการพัฒนา มีการช้ีแจง หรือทาความเข้าใจให้เห็นถึงความสอดคล้องและเช่ือมโยง
ของยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติไปยังผู้ปฏิบัติหน้าท่ีจัดทาแผนของแต่ละหน่วยงาน เพ่ือสามารถนาความ

เช่ือมโยงไปสู่แผนทุกระดับเน้นเร่ืองความสอดคล้องระหว่างการวางแผนดาเนินงานกับยุทธศาสตร์
กลมุ่ จังหวดั

141

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

บรรณานุกรม

คาส่งั หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 19/2560. การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร. ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 133 ตอนที่พเิ ศษ 68 ง. 3 เมษายน พ.ศ.2560.

นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี)
บุญชม ศรสี ะอาด. การวิจยั เบื้องต้น. พิมพค์ ร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน์ . 2545.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. นโยบายและจดุ เนน้ การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปี

งบประมาณ 2564. กระทรวงศึกษาธิการ. 2564.
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย. ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก. 6 เมษายน 2560.
สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาต.ิ รายงานผลการประเมนิ โครงการการสัมมนา

การปรับปรงุ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาใหส้ งู ข้นึ ปีงบประมาณ 2541. กรุงเทพฯ : สปช.. 2541.
-----------------------. รายงานผลการประเมนิ โครงการการสัมมนาการปรับปรุงตาแหน่งผู้บริหาร

สถานศกึ ษาใหส้ ูงขน้ึ ปีงบประมาณ 2541. กรุงเทพฯ : สปช.. 2541.
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2561-2580.

พมิ พค์ ร้งั ที่ 2 กรงุ เทพฯ : มกราคม 2562.
สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579.

กรงุ เทพฯ : 2560.
-----------------------. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. พมิ พค์ รั้งท่ี 1. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท

พริกหวานกราฟฟิค จากัด. 2560.
สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12

ได้รบั ความเห็นชอบจากที่ประชมุ ก.บ.ภ. ครัง้ ที่ 1/2561 วันที่ 26 ม.ี ค.61). ยุทธศาสตร์
การพัฒนาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(2560–2564). 2561.
-----------------------. แผนพัฒนาภาค ในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ไดร้ ับความเห็นชอบจากที่ประชมุ
ก.บ.ภ. ครง้ั ที่ 1/2561 วันท่ี 26 มี.ค.61). แผนพฒั นาภาคเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12(พ.ศ. 2560 - 2564). 2561.
-----------------------. แผนพัฒนาภาค ในชว่ งแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากที่ประชุม
ก.บ.ภ. ครง้ั ท่ี 1/2561 วันท่ี 26 ม.ี ค.61). แผนพัฒนาภาคกลางและพ้ืนทีก่ รงุ เทพมหานคร
ในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). 2561.
-----------------------. แผนพฒั นาภาค ในชว่ งแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 (ไดร้ ับความเห็นชอบจากทีป่ ระชมุ
ก.บ.ภ. ครงั้ ท่ี 1/2561 วนั ที่ 26 มี.ค.61). แผนพัฒนาภาคตะวนั ออกในช่วงแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). 2561.

142

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. แผนพฒั นาภาค ในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12
(ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากท่ปี ระชมุ ก.บ.ภ. ครง้ั ที่ 1/2561 วนั ที่ 26 มี.ค.61). แผนพฒั นาภาคใต้
ในชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). 2561.

-----------------------.แผนพฒั นาภาค ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชมุ
ก.บ.ภ. ครง้ั ท่ี 1/2561 วนั ท่ี 26 มี.ค.61). แผนพฒั นาภาคใต้ชายแดน ในชว่ งแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). 2561.

สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร,์ สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ. แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบับปรับปรุง)
ตามงบประมาณท่ไี ดร้ ับการจดั สรร. กรุงเทพฯ : 2563.

-----------------------. แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563. (ฉบบั ปรบั ปรุงตาม
งบประมาณท่ีไดร้ ับจดั สรร). เอกสารอัดสาเนา. 2563.

สานกั มาตรฐานและคุณภาพอุดมศกึ ษา, สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา. คมู่ ือการประกนั คุณภาพ
การศึกษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา ฉบับปกี ารศึกษา 2557. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นสว่ นจากดั
ภาพพิมพ์. 2558.

143

รายงานการติดตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภาคผนวก

144

รายงานการติดตามการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภาคผนวก ก
แบบสอบถาม

145

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

แบบติดตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่อื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาระดับในพ้ืนที่
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 3
***********

หน่วยงานทีต่ อบแบบสอบถาม.......................................................................................................

แบบติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ี
เปน็ แบบสอบถามเพือ่ ติดตามกระบวนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ จานวน
4 ด้าน ได้แก่

1. ด้านกลไกการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
2. ด้านการขบั เคลอื่ นแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
3. ดา้ นการแปลงแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ
4. ด้านการตดิ ตามและรายงานผลการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา

คาช้ีแจง : ใหท้ า่ นพิจารณาข้อความเกีย่ วกบั กระบวนการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา

ตามรายการวา่ หนว่ ยงานของท่านมีการปฏิบัตอิ ยใู่ นระดบั ใด โดย

ระดับ 5 มีการปฏิบัตอิ ยู่ในระดับมากที่สดุ
ระดบั 4 มกี ารปฏิบัตอิ ยูใ่ นระดับมาก
ระดับ 3 มกี ารปฏบิ ตั อิ ยใู่ นระดบั ปานกลาง
ระดับ 2 มีการปฏิบัตอิ ยใู่ นระดบั นอ้ ย
ระดบั 1 มีมีการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั นอ้ ยท่สี ดุ

ขอ้ ขอ้ รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321

1. ด้านกลไกการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษา
1 การจัดทาแผนพฒั นาการศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั กิ ารทชี่ ัดเจนและเปน็ รูปธรรม

2 การนาเทคโนโลยมี าใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือหลักในการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์
3 การบรหิ ารจดั การศกึ ษาแบบมสี ว่ นร่วม
4 การสรา้ งหนว่ ยงานเครือขา่ ยการศึกษา
5 การพฒั นาการศึกษาแบบบูรณาการ เพือ่ ให้การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์

บรรลุเป้าหมาย
6 การจัดระบบกากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์

146

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ข้อ ขอ้ รายการ 5 ระดบั การปฏบิ ัติ 1
432

2. ดา้ นการขบั เคลอ่ื นแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษา
1 การสรา้ งความรู้ ความเข้าใจให้กับหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
2 การสรา้ งความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับวิสยั ทัศน์ วิธคี ิดและวิธีปฏบิ ัติ

แกผ่ ู้ปฏิบัติงาน
3 การจัดการความรู้ และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้จากประสบการณ์

เพ่อื ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั สิ ามารถออกแบบแผนงาน/โครงการ
4 การเปิดโอกาสใหภ้ าครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม

แสดงความคดิ เห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจดั ทาแผน
5 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเชิงพืน้ ที่เพ่ือใช้เปน็ ข้อมลู ในการ

จดั ทาแผนและการตดั สนิ ใจเชิงบริหารในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
6 การแสวงหาและระดมทรพั ยากรจากทุกภาคสว่ นท่เี กย่ี วข้อง
3. ด้านการแปลงแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาส่กู ารปฏิบัติ
1 การวางแผนดาเนินงานสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา

ระดับภาค
2 การจัดอนั ดบั ความสาคัญของเป้าหมาย กาหนดแนวทาง

การดาเนนิ งาน ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบของแผนปฏบิ ัติการที่ชดั เจน
3 การดาเนนิ การตามแผนงาน/โครงการท่ีกาหนด
4 การดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม ในรูปแบบขององค์คณะบุคคล
4. ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา
1 การแต่งต้ังคณะกรรมการในการติดตาม ประเมินผล
2 การติดตามความก้าวหนา้ ของโครงการ/กิจกรรม
3 การประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผน
4 การนาผลการประเมินมาปรับปรงุ และพัฒนาแผนในปีต่อไป

ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาสู่การปฏิบตั ริ ะดับภาค
คาช้ีแจง : ทา่ นมีความคิดเห็นหรอื ขอ้ เสนอแนะต่อกระบวนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา

การศึกษาระดับภาคอย่างไร
1. ดา้ นกลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

147

รายงานการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

2. ดา้ นการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ดา้ นการแปลงแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาสูก่ ารปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ด้านการติดตามและรายงานผลการขับเคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………...........................................................................................................
................................................................................................................................................................

ผูป้ ระสานงาน นางสาวธนั ยาภา พลงั ศิลาวรกลุ โทร.063-4946453
ขอขอบคุณทใี่ ห้ความอนเุ คราะห์ในการกรอก
แบบสอบถาม

148

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ภาคผนวก ข

หนงั สอื ขอความอนเุ คราะหก์ รอกแบบสอบถามและแบบตดิ ตาม

149

รายงานการตดิ ตามการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ท่ี ศธ 0241/289 สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3
ถนนไกรเพชร อาเภอเมือง
จังหวัดราชบรุ ี 70000
9 สิงหาคม 2564

เรอื่ ง การตดิ ตามผลการดาเนินงานการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาประจาปีงบประมาณพ.ศ.2564

เรยี น ศึกษาธิการจงั หวัดกาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี

ส่ิงท่สี ่งมาดว้ ย แบบตดิ ตามผลการดาเนินงานการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 3 ชดุ

ด้วยสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จะติดตามผลการดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
การพฒั นาการศึกษาของจงั หวัดในพน้ื ที่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงเป็นกิจกรรมภายใต้โครงการ
ขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบตั ริ ะดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้
การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของจังหวัดในพื้นท่ี ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงใคร่ขอความ
อนุเคราะห์หน่วยงานของท่านดาเนินการดังนี้

1. ขอให้ท่าน ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล
และเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานด้านแผน กรอกข้อมูลแบบติดตามผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ของหน่วยงานท่าน รวมจานวน 4 ชุด และส่งกลับคืนสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ภายในวันท่ี 25 สิงหาคม
2564 หรอื ส่งเป็นไฟลท์ าง E-mail: [email protected]

2. ขอใหก้ ลุม่ นโยบายและแผน นาส่งรายงานผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในรอบ 12 เดือน (ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 ถึง เดือนกันยายน 2564)
ตามแบบท่ีหน่วยงานของท่านจัดทา และส่งกลับคืนสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ภายในวันที่ 15 กันยายน 2564
โดยขอความอนเุ คราะหส์ ง่ เป็นไฟลท์ าง E-mail: [email protected]

150

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

-2-
จงึ เรียนมาเพื่อทราบ และพจิ ารณาดาเนนิ การตอ่ ไป ขอขอบคุณลว่ งหน้ามา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ
(นางสาวพัฒนส์ รณ์ แยกผวิ ผอ่ ง)
นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่ง

ศกึ ษาธิการภาค 3
กลุ่มยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา
โทร 032-323384 ตอ่ 113 /063-4946453
โทรสาร 032-337343

151

รายงานการติดตามการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ที่ ศธ 0241/290 สานกั งานศึกษาธิการภาค 3

ถนนไกรเพชร อาเภอเมือง

จงั หวัดราชบรุ ี 70000

9 สิงหาคม 2564

เรื่อง การตดิ ตามผลการดาเนินงานการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาประจาปงี บประมาณพ.ศ.2564

เรยี น ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษากาญจนบรุ ี ราชบุรี สุพรรณบรุ ี

ส่ิงทีส่ ง่ มาด้วย แบบตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 3 ชุด

ด้วยสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จะติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศกึ ษาของหน่วยงานทางการศกึ ษาในพน้ื ท่ี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้
โครงการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาสู่การปฏบิ ัตริ ะดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดงั น้นั เพือ่ ใหก้ ารติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ระดับภาค ประจาปีงบประมาณ 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงใคร่ขอ
ความอนุเคราะห์จากท่าน ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน และเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงานด้านแผน รวมจานวน 3 คน
กรอกขอ้ มลู แบบติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานท่าน และส่งแบบติดตามฯ
กลับคืนสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ภายในวันท่ี 25 สิงหาคม 2564 หรือส่งเป็นไฟล์ทาง E-mail :
[email protected]

จึงเรยี นมาเพือ่ ทราบ และพจิ ารณาดาเนนิ การต่อไป ขอขอบคุณลว่ งหน้ามา ณ โอกาสน้ี

ขอแสดงความนบั ถือ

(นางสาวพฒั น์สรณ์ แยกผวิ ผอ่ ง)
นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่ง

ศึกษาธิการภาค 3
กลุ่มยุทธศาสตร์การศกึ ษา
โทร 032-323384 ตอ่ 113 / 063-4946453
โทรสาร 032-337343

152

รายงานการตดิ ตามการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ท่ี ศธ 0241/291 สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 3

ถนนไกรเพชร อาเภอเมอื ง

จงั หวัดราชบรุ ี 70000

9 สงิ หาคม 2564

เรอื่ ง การตดิ ตามผลการดาเนินงานการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาประจาปงี บประมาณพ.ศ.2564

เรียน ประธานกรรมการอาชีวศึกษาจงั หวัดกาญจนบุรี ราชบรุ ี สพุ รรณบรุ ี

สงิ่ ทสี่ ่งมาดว้ ย แบบตดิ ตามผลการดาเนินงานการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 3 ชดุ

ด้วยสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จะติดตามผลการดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศกึ ษาของหนว่ ยงานทางการศึกษาในพ้นื ท่ี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงเป็นกิจกรรมภายใต้
โครงการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ริ ะดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดงั น้นั เพ่ือใหก้ ารติดตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงใคร่ขอ
ความอนเุ คราะห์จากทา่ น เลขาอาชีวศกึ ษาจงั หวัด และบคุ ลากรท่เี กย่ี วข้องในการจดั ทาแผน รวมจานวน 3 คน
กรอกข้อมลู แบบติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานท่าน และส่งแบบติดตามฯ
กลับคืนสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ภายในวันท่ี 25 สิงหาคม 2564 หรือส่งเป็นไฟล์ทาง E-mail :
[email protected]

จึงเรียนมาเพือ่ ทราบ และพิจารณาดาเนินการต่อไป ขอขอบคุณลว่ งหน้ามา ณ โอกาสน้ี

ขอแสดงความนบั ถือ

(นางสาวพฒั นส์ รณ์ แยกผิวผอ่ ง)
นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการพเิ ศษ รักษาการในตาแหนง่

ศกึ ษาธิการภาค 3
กลมุ่ ยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา
โทร 032-323384 ตอ่ 113 / 063-4946453
โทรสาร 032-337343

153

รายงานการติดตามการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ที่ ศธ 0241/293 สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 3
ถนนไกรเพชร อาเภอเมือง
จงั หวัดราชบรุ ี 70000
9 สิงหาคม 2564

เรือ่ ง การตดิ ตามผลการดาเนินงานการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาประจาปีงบประมาณพ.ศ.2564
เรยี น ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาในพ้นื ท่ี
ส่งิ ท่สี ง่ มาดว้ ย แบบตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 3 ชุด

ด้วยสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จะติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การพัฒนาการศกึ ษาของหน่วยงานทางการศกึ ษาในพ้ืนที่ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงเป็นกิจกรรมภายใต้
โครงการขับเคลือ่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ริ ะดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดังน้ัน เพอ่ื ให้การติดตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงใคร่ขอ
ความอนุเคราะห์จากท่าน ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทาแผน รวมจานวน 4 คน กรอกข้อมูล
แบบติดตามการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานท่าน และส่งแบบติดตามฯ กลับคืน
สานักงานศกึ ษาธิการภาค3 ภายในวันที่ 25 สงิ หาคม2564 หรือสง่ เปน็ ไฟล์ทาง E-mail : [email protected]

จึงเรยี นมาเพ่ือทราบ และพจิ ารณาดาเนินการต่อไป ขอขอบคุณล่วงหน้ามา ณ โอกาสน้ี

ขอแสดงความนับถือ

(นางสาวพัฒน์สรณ์ แยกผิวผอ่ ง)
นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการพเิ ศษ รักษาการในตาแหนง่

ศกึ ษาธิการภาค 3

กลุ่มยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา
โทร 032-323384 ตอ่ 113 / 063-4946453
โทรสาร 032-337343

154

รายงานการติดตามการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ศธ 0241/292 สานักงานศกึ ษาธิการภาค 3

ถนนไกรเพชร อาเภอเมอื ง

จงั หวดั ราชบรุ ี 70000

9 สงิ หาคม 2564

เรอื่ ง การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาประจาปีงบประมาณพ.ศ.2564

เรยี น ผอู้ านวยการสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดในพืน้ ท่ี

สง่ิ ทีส่ ง่ มาด้วย แบบติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 3 ชดุ

ด้วยสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จะติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การพฒั นาการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษาในพ้ืนที่ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้
โครงการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาสู่การปฏิบตั ิระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดังนั้น เพื่อให้การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ระดับภาค ประจาปงี บประมาณ 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงใคร่ขอ
ความอนุเคราะห์จากทา่ น หวั หนา้ กลุม่ ยทุ ธศาสตร์และการพัฒนา และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาแผน
รวมจานวน3 คน กรอกขอ้ มลู แบบตดิ ตามการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานท่าน และ
ส่งแบบติดตามฯ กลับคืนสานักงานศึกษาธิการภาค 3 ภายในวันท่ี 25 สิงหาคม 2564 หรือส่งเป็นไฟล์ทาง E-mail :
[email protected]

จงึ เรียนมาเพือ่ ทราบ และพจิ ารณาดาเนนิ การต่อไป ขอขอบคณุ ลว่ งหนา้ มา ณ โอกาสน้ี

ขอแสดงความนับถือ

(นางสาวพฒั นส์ รณ์ แยกผิวผอ่ ง)
นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ รักษาการในตาแหน่ง

ศึกษาธิการภาค 3

กลุม่ ยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา
โทร 032-323384 ตอ่ 113 / 063-4946453
โทรสาร 032-337343

155

รายงานการตดิ ตามการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

ท่ี ศธ 0241/294 สานักงานศกึ ษาธิการภาค 3
ถนนไกรเพชร อาเภอเมือง
จงั หวัดราชบุรี 70000
9 สงิ หาคม 2564

เรื่อง การติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาประจาปีงบประมาณพ.ศ.2564

เรียน ประธานคณะกรรมการประสานและส่งเสรมิ การศึกษาเอกชนจงั หวัดในพืน้ ท่ี

ส่งิ ทส่ี ่งมาดว้ ย แบบติดตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 จานวน 3 ชดุ

ด้วยสานักงานศึกษาธิการภาค 3 จะติดตามผลการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การพฒั นาการศึกษาของหน่วยงานทางการศกึ ษาในพ้ืนท่ี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้
โครงการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ริ ะดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดงั น้นั เพือ่ ใหก้ ารตดิ ตามผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
ระดับภาค ประจาปีงบประมาณ 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานศึกษาธิการภาค 3 จึงใคร่ขอ
ความอนุเคราะห์จากท่าน และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาแผน รวมจานวน 2 คน กรอกข้อมูลแบบ
ติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานท่าน และส่งแบบติดตามฯ กลับคืน
สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค3 ภายในวันท่ี 25 สงิ หาคม2564 หรอื สง่ เป็นไฟล์ทาง E-mail : [email protected]

จงึ เรยี นมาเพอ่ื ทราบ และพิจารณาดาเนนิ การต่อไป ขอขอบคณุ ล่วงหน้า มา ณ โอกาสน้ี

ขอแสดงความนับถือ

(นางสาวพัฒนส์ รณ์ แยกผวิ ผ่อง)
นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ รักษาการในตาแหนง่

ศึกษาธิการภาค 3

กลุ่มยทุ ธศาสตร์การศกึ ษา
โทร 032-323384 ตอ่ 113 / 063-4946453
โทรสาร 032-337343

156

รายงานการตดิ ตามการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาระดับภาค ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ ศธภ.3

คณะทางาน

ท่ีปรึกษา รองศกึ ษาธกิ ารภาค
รกั ษาการในตาแหนง่ ศกึ ษาธิการภาค 3
ดร.รังสรรค์ อ้วนวจิ ติ ร

เก็บรวบรวมขอ้ มลู นลิ มานนท์ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ รกั ษาการในตาแหนง่
นกั วิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ
นางดรุณี เพ่งพนิ จิ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ
พลงั ศิลาวรกลุ นกั วิชาการศึกษาชานาญการ
นางรัตน์ติญาณ์ เพชรอาวธุ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ
นางสาวธนั ยาภา นามบุญเรือง นักวิชาการศึกษาชานาญการ
นางสาวพัชณี คาสุวรรณ นักวชิ าการศึกษาชานาญการ
นางรสรนิ ทร์
นางอังคณา

วเิ คราะหเ์ ขียนรายงาน

นางสาวธนั ยาภา พลังศลิ าวรกุล นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการ

การพิมพ์และรปู เลม่

นางสาวธนั ยาภา พลงั ศิลาวรกลุ นกั วิชาการศึกษาชานาญการ

157


Click to View FlipBook Version