The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasan197152, 2020-06-24 04:52:34

SAR 2562

SAR 2562

๔๓

ประเด็น ผลการดาเนนิ งาน

2. ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของ ม.4 – ม.6 สามารถ 1. นักเรียนระดบั ชนั้ ม.4- 6 นวัตกรรม ESMTE
รวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการทางานเปน็ ทีม รอ้ ยละ 100 เข้าร่วมกจิ กรรมการนาเสนอผลงาน
เชื่อมโยงองคค์ วามรู้ วชิ าการ ของนกั เรียนหอ้ งเรยี นพิเศษ ชั้นมัธยมศกึ ษา
ปที ี่ 4/1, 5/1 และ 6/1
2. นักเรียนระดับชนั้ ม.4- 6 นวตั กรรม ESMTE
รอ้ ยละ 100 สรา้ งสรรค์และนาเสนอผลงานวชิ าการ
ในรูปโครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
คอมพวิ เตอร์
3. นกั เรียนระดับชน้ั ม.2 และ ม.5 รอ้ ยละ 100
ผา่ นกจิ กรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ย
ตนเอง
4. นักเรยี นระดับชน้ั ม.4 รอ้ ยละ 80.74เข้ารว่ ม
กจิ กรรมทางวิทยาศาสตร์ และมคี วามรู้ ทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยบรู ณาการกบั งาน
สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน

3. ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของ ม.1 – ม.3 สามารถนา 1. นกั เรียนระดบั ชน้ั ม.2 และ ม.5 ร้อยละ 100

ประสบการณ์ใหมๆ่ สร้างสรรคส์ ิ่งใหมๆ่ มาใชใ้ นการ ผา่ นกจิ กรรมการนาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ ด้วย

จดั โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลติ เป็น ตนเอง

นวตั กรรมได้

4. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 85 ของ ม.4 – ม.6 สามารถนา 1. นกั เรยี นระดับชน้ั ม.4- 6 นวตั กรรม ESMTE

ประสบการณ์ใหม่ๆ สร้างสรรค์สิ่งใหมๆ่ มาใช้ในการ รอ้ ยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมการนาเสนอผลงาน

จัดโครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลติ เป็น วิชาการของนักเรยี นห้องเรยี นพเิ ศษ ช้นั มธั ยมศึกษา

นวัตกรรมได้ ปีท่ี 4/1, 5/1 และ 6/1

2. นกั เรียนระดบั ชน้ั ม.4- 6 นวตั กรรม ESMTE

รอ้ ยละ 100 สรา้ งสรรคแ์ ละนาเสนอผลงานวชิ าการ

ในรูปโครงงานวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

คอมพวิ เตอร์

3. นกั เรยี นระดบั ชน้ั ม.2 และ ม.5 ร้อยละ 100

ผ่านกิจกรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ย

ตนเอง

4. นกั เรยี นระดบั ชัน้ ม.4- 6 นวตั กรรม Pre –

Engineering ร้อยละ 100 เข้าร่วมกจิ กรรมอบรม

เชงิ ปฏิบัตกิ าร “หุ่นยนต์”ของนักเรียนหอ้ งเรียน

พิเศษ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4/๓, 5/3 และ 6/3

๔๔

ประเด็น ผลการดาเนินงาน

5. ผูเ้ รียนร้อยละ 85 ของ ม.1 – ม.3 นานวัตกรรม 1. นักเรยี นระดบั ชนั้ ม.2 และ ม.5 ร้อยละ 100

ไปประยุกตใ์ ช้ในวถิ ีชีวิต และเผยแพร่ ผ่านกจิ กรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ย

ตนเอง

2. นักเรียนระดับช้ัน ม.1 – 3 ทุกคนมีสว่ นรว่ มใน

การนาเสนอผลการดาเนินงานของชมุ นุม

6. ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 85 ของ ม.4 – ม.6 นานวัตกรรม 1. นักเรยี นระดับช้ัน ม.4- 6 นวตั กรรม ESMTE

ไปประยุกตใ์ ช้ในวิถีชีวติ และเผยแพร่ รอ้ ยละ 100 เข้าร่วมกจิ กรรมการนาเสนอผลงาน

วชิ าการ ของนักเรียนห้องเรยี นพิเศษ ช้ันมธั ยมศึกษา

ปีที่ 4/1, 5/1 และ 6/1

2. นกั เรยี นระดบั ชั้น ม.4- 6 นวัตกรรม ESMTE

รอ้ ยละ 100 สร้างสรรคแ์ ละนาเสนอผลงานวิชาการ

ในรปู โครงงานวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

คอมพวิ เตอร์

3. นักเรียนระดับชน้ั ม.2 และ ม.5 รอ้ ยละ 100

ผ่านกจิ กรรมการนาเสนอผลการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ย

ตนเอง

4. นักเรยี นระดับชั้น ม.4 รอ้ ยละ 80.74เขา้ รว่ ม

กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตร์ และมีความรู้ ทกั ษะ

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยบูรณาการกบั งาน

สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

5. นักเรียนระดับชนั้ ม.4 – 6 ทกุ คนมีส่วนรว่ มใน

การนาเสนอผลการดาเนนิ งานของชุมนุม

๔๕

แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 มีผลการประเมินการอ่าน
คิดวเิ คราะห์และเขียนของนกั เรยี นในระดบั ดีข้นึ ไป

รอ้ ยละของนักเรียนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 มีผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์
และเขียนของนกั เรียนในระดบั ดีขน้ึ ไปจาแนกตามนวัตกรรม 6 โครงการ

การอา่ น คิด วิเคราะหข์ องนกั เรียนชน้ั มั ยมศึกษาปท่ี1 การอา่ น คดิ วิเคราะหข์ องนักเรยี นชัน้ มั ยมศกึ ษาปที่ 1
โครงการ ESMTE
โครงการ SME
100 100
100 98.45 100 100 ร้อยละของนร ได้
100 99.13
ร้อยละของนร ได้
95 ระดบั ดขี ้ึนไป 98 ระดับดขี นึ้ ไป
ปปป
ปปป

การอ่าน คิด วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมั ยมศึกษาปที่1 การอ่าน คิด วิเคราะหข์ องนักเรียนชน้ั มั ยมศึกษาปท่ี1

โครงการ Pre-Engineering โครงการ MEP

100 96.52 98.29 100 100 100

รอ้ ยละของนร ได้ 100 95.2 รอ้ ยละของนร ได้

90 ระดบั ดีขน้ึ ไป 90 ระดบั ดขี ้นึ ไป
ปปป ปปป

การอา่ น คิด วเิ คราะห์ของนกั เรยี นช้ันมั ยมศกึ ษาปท่ี1 การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ของนกั เรียนช้ันมั ยมศกึ ษาปที่1
โครงการ EIS โครงการ ASEAN และ SST

100 93.81 ร้อยละของนร ได้ 50 30.56 34.41 39.20 รอ้ ยละของนร ได้
86.24 86.55 ระดับดขี น้ึ ไป ระดับดขี ึ้นไป
0
80 ปปป
ปปป

๔๖

๔๗

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET)

นกั เรยี นชน้ั ม.3/1-2โครงการ ESMTE (ปีการศึกษา 2560-2562)

วชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

ปกี ารศึกษา 2560 66.39 68.71 49.65 59.09

ปีการศึกษา 2561 75.51 70.10 52.00 49.43

ปีการศึกษา 2562 77.31 70.00 46.90 64.85

๔๘

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET)
นกั เรียนชั้นม.3/3 โครงการ MEP (ปกี ารศกึ ษา 2560-2562)

วิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

ปีการศกึ ษา 2560 55.35 34.82 37.41 46.12
ปกี ารศกึ ษา 2561 64.57 38.29 41.00 42.14
ปีการศกึ ษา 2562 73.71 43.86 37.48 64.93

แผนภมู แิ สดงผลการเปรยี บเทยี บคะแนน o-net ปการศึกษา
ระดบั นวตั กรรม ระดบั โรงเรยี น ระดบั จังหวดั ระดบั ระบบสังกดั ระดับภาค และระดบั ประเทศ

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 คณติ องั กฤษ วทิ ย์

ไทย

ระดับนวตั กรรม 73.71 43.86 64.93 37.48

ระดบั โรงเรยี น 63.14 36.48 42.21 33.12

ระดับจังหวดั 52.70 24.19 30.52 29.11

ระดับสงั กัด 54.95 26.29 32.07 29.69

ระดับภาค 55.91 26.98 32.98 30.22

ระดับประเทศ 55.14 26.73 33.25 30.07

๔๙

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)

นักเรยี นชน้ั ม.3/4-3/7 โครงการ EIS (ปกี ารศึกษา 2560-2562)

ปกี ารศกึ ษา คะแนนเฉล่ีย

วชิ า วชิ าภาษาไทย วิชาคณติ ศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตร์ วชิ าภาษาองั กฤษ

2560 58.11 35.80 36.12 34.36

2561 66.51 38.60 42.10 32.86

2562 67.24 34.26 32.05 40.42

แผนภมู ิแสดงผลการเปรียบเทียบคะแนน o-net ปการศึกษา
ระดับนวตั กรรม ระดับโรงเรียน ระดบั จงั หวดั ระดับ ระบบสงั กัด ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ

100.00 ไทย คณติ อังกฤษ วิทย์
80.00
60.00
40.00
20.00
0.00

ระดบั นวตั กรรม 67.24 34.26 40.42 32.05

ระดับโรงเรยี น 63.14 36.48 42.21 33.12

ระดับจังหวดั 52.70 24.19 30.52 29.11

ระดับสงั กดั 54.95 26.29 32.07 29.69

ระดบั ภาค 55.91 26.98 32.98 30.22

ระดับประเทศ 55.14 26.73 33.25 30.07

๕๐

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET)
นกั เรยี นชนั้ ม.6/1 โครงการ ESMTE (ปกี ารศกึ ษา 2560-2562)

วชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ
ปกี ารศึกษา 2560 72.20 66.43 56.38 48.32 60.36
ปกี ารศึกษา 2561 73.76 83.95 55.65 49.68 64.07
ปีการศึกษา 2562 66.02 69.14 51.81 46.21 56.25

๕๑

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
นกั เรยี นชัน้ ม.6/2 โครงการ SME (ปีการศกึ ษา 2560-2562)

วิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ ภาษาองั กฤษ
ปกี ารศึกษา 2560 65.47 44.50 44.49 43.63 44.93
ปกี ารศึกษา 2561 68.35 67.74 53.81 45.05 53.81
ปีการศึกษา 2562 57.49 46.19 43.25 43.63 43.25

๕๒

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
นกั เรยี นชัน้ ม.6/3 โครงการ Pre-Engineering (ปีการศกึ ษา 2560-2562)

วชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ
ปีการศึกษา 2560 59.70 37.09 36.29 39.14 31.99
ปกี ารศึกษา 2561 59.86 52.94 36.95 40.78 41.38
ปีการศกึ ษา 2562 47.11 30.76 31.78 35.89 32.40

๕๓

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET)
นักเรยี นช้ันม.6/4 โครงการ MEP (ปกี ารศกึ ษา 2560-2562)

วชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ
ปกี ารศึกษา 2560 55.85 27.75 33.90 35.50 37.25
ปีการศกึ ษา 2561 58.59 38.38 38.45 39.76 51.32
ปีการศึกษา 2562 44.32 28.23 29.84 36.58 39.15

๕๔

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นโครงการ EIS

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/5-6/7 ปกี ารศกึ ษา 2560-2562

ปกี ารศึกษา คะแนนเฉล่ีย

วิชา วชิ าภาษาไทย วชิ าคณติ ศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วชิ าสงั คมศกึ ษาฯ วชิ าภาษาองั กฤษ

2560 53.36 25.76 31.72 36.29 26.31

2561 57.97 41.84 33.84 39.05 35.07

2562 48.35 33.41 34.57 40.24 30.97

แผนภูมิแสดงผลการเปรยี บเทียบคะแนน o-net ปการศกึ ษา
ระดบั นวัตกรรม ระดบั โรงเรียน ระดับจังหวดั ระดบั ระบบสงั กัด ระดบั ภาค และระดับประเทศ

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 คณิต อังกฤษ วทิ ย์ สังคม
40.24
ไทย 38.28
34.64
ระดับนวตั กรรม 48.35 33.41 30.97 34.57 36.10
35.66
ระดับโรงเรียน 46.73 31.67 33.01 33.32 35.70

ระดับจงั หวัด 38.33 21.89 25.54 27.87

ระดับสงั กดั 43.02 25.62 28.97 29.40

ระดับภาค 41.91 25.16 27.73 28.69

ระดับประเทศ 42.21 25.41 29.20 29.20

๕๕

ปกี ารศึกษา ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET)
นักเรยี นชน้ั ม.3/8-3/11 โครงการ ASEAN (ปกี ารศึกษา 2560-2562)
2560
2561 คะแนนเฉลี่ย
2562 วิชา วิชาภาษาไทย วชิ าคณติ ศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาองั กฤษ

44.43 22.16 24 22.00

50.18 24.94 31.61 26.15

51.68 23.45 31.16 27.79

แผนภมู ิเปรียบเทียบคะแนน o-net โครงการ ASEAN
ระดับช้ันมั ยมศกึ ษาปท่ี 3 8-3 ระหวา่ งปการศึกษา 5 - 5

60 วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตร์ วชิ าภาษาองั กฤษ
50
40
30
20
10
0

วิชาภาษาไทย

2560 44.43 22.16 24 22

2561 50.18 24.94 31.61 26.15

2562 51.68 23.45 31.16 27.79

๕๖

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ของนักเรียนโครงการ ASEAN

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/8-6/11 ปกี ารศกึ ษา 2560-2562

ปกี ารศกึ ษา คะแนนเฉลย่ี

วิชา วชิ าภาษาไทย วิชาคณติ ศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์ วิชาสงั คมศกึ ษาฯ วชิ าภาษาองั กฤษ

2560 44.84 16.95 24.08 30.92 22.65

2561 42.27 22.87 26.42 31.96 25.59

2562 35.96 18.6 27.94 33.56 23.60

แผนภูมเปรียบเทียบคะแนน o-net โครงการ ASEAN
ระดับช้ันมั ยมศกึ ษาปท่ี 8- ระหวา่ งปการศกึ ษา 5 - 5

3344505050
25
20
15
10
05

วชิ าภาษาไทย วชิ าคณติ ศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ วิชาสงั คมศกึ ษา วชิ าภาษาอังกฤษ

25 44.84 16.95 24.08 30.92 22.65
25 1 42.27 22.87 26.42 31.96 25.59
25 2 35.96 18.6 27.94 33.56 23.6

๕๗

๓. จดุ เดน่
1. นักเรียนท้ังหมดของโรงเรียนตากพิทยาคม ได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างตรงตามความต้องการ

ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีสมรรถนะจาเป็น สะท้อนให้เห็นถึงการดาเนินงานอย่างมีระบบ
คุณภาพของหลักสตู รสถานศึกษา และกระบวนการพัฒนานวัตกรรมการจดั การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตาม
กระบวนการ SPSS-DSA Model

2. มีการวัดและประเมินผลจากเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพโดยมีการวัดผลท้ังในระดับโรงเรียนและ
ระดับชาติ

3. ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ คณะครู มีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางการพัฒนาผู้เรียนตามแนวสังคม
แหง่ การเรียนรู้:PLC อย่างสมา่ เสมอมีการวิเคราะหเ์ พ่ือพัฒนาและปรับปรุง ผา่ นกระบวนการ TAKS Model

4. จุดควรพฒั นา
1. เน่ืองจากการติดตามการพัฒนาทักษะและผลสัมฤทธิ์น้ันเป็นส่ิงท่ีต้องใช้เวลาในการพัฒนาผู้เรียน

อย่างต่อเน่อื ง จงึ ต้องมีการตดิ ตามอย่างต่อเนื่องทุกระดับช้ันและประเมนิ ผลทุกระดับชั้นเพ่อื การแก้ปัญหาและ
พฒั นาผเู้ รียนอยา่ งแท้จริง

2. แนวทางการจัดการเรียนรู้ของแต่ละโครงการภายในนวัตกรรมมีความแตกต่างกันจึงให้ผลลัพธ์ต่อ
นักเรียนท่ีแตกต่างกัน ดังน้ัน ในการคัดเลือกนักเรียนเข้าสู่แต่ละโครงการควรมีความตรงสูง ทั้งในด้านการใช้
เคร่ืองมอื วธิ กี ารคดั เลอื ก เป็นต้น

๕๘

ประเดน็ ที่ 4

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รียน
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน

4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นตากพิทยาคมดาเนนิ การจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั โดยจัดการเรียนรู้ผ่าน

กระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ ซงึ่ ใชร้ ูปแบบการบรหิ ารจัดการแบบ
SPSS-DSA โดยมีกระบวนการดังน้ี

1. S:SWOT วเิ คราะห์ระบบภายในและภายนอกของโรงเรียน วเิ คราะหบ์ ริบทของโรงเรียน ทบทวน
การจัดกิจกรรม/โครงการ และการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนตากพิทยาคม โดยมกี ารกาหนดเปา้ หมาย
ใหน้ ักเรียนร้อยละ 65 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร และมรี ะดบั ผลการเรยี น
2.5 ขน้ึ ไป เพอื่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การทางาน และการดารงชวี ิตอยา่ งฉลาด สร้างสรรค์และมีคุณธรรม

2. P:Plan ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ครูทุกคน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันวิเคราะห์
มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ตัวชี้วัด ท่ีสอดคล้องกับการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและรู้จัก
หลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ กิจกรรม/โครงการ เพื่อให้
นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติจริงจนเกิดทักษะและรู้จักหลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้

3. S: Sufficiency Economy Philosophy (SEP) ในการดาเนินงานทุกข้ันตอนครูและนักเรียน
ทกุ คนบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งลงในการวางแผนและการจดั การเรียนรู้และในทุกงาน

4. S: School-based Management (SBM) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ทุกภาคส่วนมี
ส่วนร่วมในการวางแผน

5. D:Do การจดั การเรียนรู้
- มีการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยครูมุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติ

จริงจนเกิดทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการทางาน และการดารงชีวิต
อยา่ งฉลาด สรา้ งสรรค์และมคี ณุ ธรรม สามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการส่อื สารในชวี ติ ประจาวนั ได้

- มีการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ
อย่อู ยา่ งพอเพียงในการใชเ้ ทคโนโลยี

- มีการจดั กิจกรรม/โครงการ ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนไดใ้ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ท่ีหลากหลาย

- ส่งเสริมใหน้ ักเรียนได้แสดงออกถึงความสามารถและทักษะทางด้านเทคโนโลยี โดยสง่ เสริม
ใหน้ กั เรยี นเขา้ รว่ มการแขง่ ขันทกั ษะทางดา้ นเทคโนโลยีทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

6. S: Study วดั ผล/วิเคราะห์/ประเมนิ ผล
- ประเมนิ สภาพจรงิ โดยใช้เครอื่ งมอื ต่างๆทีห่ ลากหลาย
- วเิ คราะหข์ ้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
- เข้าร่วมแข่งขนั ทักษะทางด้านเทคโนโลยี

๕๙

7. A:Act นาผลการประเมนิ ปรบั ปรงุ และพัฒนาอยา่ งเป็นระบบตอ่ เนอ่ื ง
โรงเรียนตากพทิ ยาคมไดน้ าผลการประเมนิ มาดาเนนิ การพฒั นาและปรับปรงุ กิจกรรม/โครงการ
การจดั การเรียนการสอนให้ดยี ่งิ ๆขน้ึ ไป จึงส่งผลสะท้อนให้ผเู้ รียนมีสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร มคี ุณภาพอยู่ในระดบั สูงขึ้น เป็นไปตามเป้าหมาย คอื ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม

2. ผลการพฒั นา
จากการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเกิดทักษะและรู้จักหลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ส่งผลให้เกิดผลการพัฒนาตามมาตรฐานด้านคุณภาพ
ผเู้ รียน ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม โดยมผี ลความสาเรจ็ ดังนี้

(1) ผเู้ รยี นร้อยละ 85.0 ของ ม.1 - ม.3 สามารถใชเ้ ทคโนโลยแี ละการสอ่ื สารเพือ่ พัฒนา
ตนเองและสงั คมดา้ นการเรยี นรู้ มีระดับผลการเรียน 3.0 ข้ึนไป

(2) ผู้เรียนร้อยละ 85.0 ของ ม.4 - ม.6 สามารถใช้เทคโนโลยีและการสือ่ สารเพือ่ พัฒนา
ตนเองและสงั คมด้านการเรยี นรู้ มรี ะดับผลการเรียน 3.0 ข้ึนไป

(3) ผู้เรียนร้อยละ 85.0 ของ ม.1- ม.3 สามารถใช้เทคโนโลยีและการส่ือสารเพ่อื พัฒนา
ตนเองและสังคมดา้ นการสื่อสาร มรี ะดับผลการเรียน 3.0 ขน้ึ ไป

(4) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85.0 ของ ม.4- ม.6 สามารถใช้เทคโนโลยแี ละการส่ือสารเพอ่ื พัฒนา
ตนเองและสงั คมดา้ นการสือ่ สาร มรี ะดบั ผลการเรียน 3.0 ขึ้นไป

(5) ผู้เรียนรอ้ ยละ 85.0 ของ ม.1- ม.3 มีความสามารถทางานเปน็ กลมุ่ และมีกระบวน
ทกั ษะตามคดิ สร้างสรรค์ มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ขนึ้ ไป

(6) ผ้เู รียนร้อยละ 85.0 ของ ม.4- ม.6 มีความสามารถทางานเปน็ กลุ่มและมกี ระบวน
ทักษะตามคิดสร้างสรรค์ มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ข้นึ ไป

เม่ือดาเนินการเสร็จสิ้นมีการตรวจสอบ โดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบประเมินควบคุม
ภายในด้วยตนเองของแตล่ ะกจิ กรรม/โครงการกบั TAKS MODEL พบวา่

T เปา้ หมายของกจิ กรรม/โครงการสนองกลยทุ ธ์ของโรงเรยี น
A มกี ารบรรลุเปา้ หมาย ตามคา่ เป้าหมายทกี่ าหนดไว้
K ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
S ผเู้ รียนมกี ารทางานอย่างเป็นระบบ มกี ารประชมุ วางแผน สกู่ ารปฏิบตั ิ
3. จุดเดน่
จากการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงจนเกิดทักษะและรู้จักหลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลและใช้เทคโนโลยีในการนาเสนอผลงานจึงทาให้
โรงเรียนตากพิทยาคมได้รับป้ายสนองพระราชดาริฯ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และยังนาความรู้และ
ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ทีไ่ ด้จากการเรียนรู้นาไปจัดทาสงิ่ ประดิษฐแ์ ละนวตั กรรม และ
จัดทารูปเล่มและการนาเสนนอผลงาน Independent Study (IS) จนได้รับรางวัลภาคเหนือตอนล่าง ระดับ
เหรียญทอง ในการประกวด IS งานเวทีศักยภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับชาติ ครั้งท่ี 3 และจากการ
ฝึกฝนทักษะดา้ นการใช้เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องนกั เรยี นสามารถเข้าแขง่ ขันทักษะภายนออกจนไดร้ ับรางวัลเชิง
ประจักษ์จากหน่วยงานต่างๆ ทั้งในระดับเขต ระดับภาค และระดับชาติ มากมาย และนักเรียนยังได้
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน ในการเปิดโลกวิชาการ, ตลาดนัดชุมนุม
เปน็ ต้น

๖๐

4. จดุ ควรพัฒนา
- การจดั สรรเงนิ งบประมาณให้กับ แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ยังไมเ่ พียงพอตอ่ การเรียนการสอน

แผนภาพการบริหารจัดการด้วย SPSS-DSA Model
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

โดยใช้รูปแบบ SPSS-DSA

S : SWOT
๑. วเิ คราะหร์ ะบบภายในและภายนอกของโรงเรียน
๒. วเิ คราะหบ์ รบิ ทของโรงเรยี น ทบทวน การจดั
กจิ กรรม/โครงการ

S: Sufficiency Economy P : Plan School Based
Philosophy ครูทกุ คน ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรรู้ ่วมกนั Management
วเิ คราะหม์ าตรฐานการจดั การเรยี นรู้ วเิ คราะห์
Management (SEPM) (SBM)
ตวั ชวี้ ดั ทสี่ อดคล้องกบั การส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ กึ
ครแู ละนักเรียนทกุ คนบรู ณา ทักษะและรจู้ ักหลกั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็น
การหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ และการสือ่ สาร เพ่ือพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ ฐาน ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มใน
พอเพียงลงในการวางแผนและ การวางแผน
การจัดการเรยี นรู้และในทุกงาน กิจกรรม/โครงการ

DO
จดั การเรียนรู้แบบ Active Learning
นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาใช้ในการ
เรยี นรจู้ ดั กิจกรรม/โครงการ ท่มี งุ่ เน้นให้นกั เรยี นได้
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารท่ี
หลากหลาย

โดยใช้รปู แบบ TAKS Model
S : Study

- ประเมินสภาพจรงิ โดยใช้เคร่ืองมอื ตา่ งๆที่
หลากหลาย
- วเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
- เข้ารว่ มแข่งขนั ทกั ษะทางด้านเทคโนโลยี

พฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผา่ น A : Act ไมผ่ ่าน ปรบั ปรงุ กิจกรรม/
ผ้เู รยี นมสี ามารถในการ โครงการ การจัดการ
นาผลการประเมนิ วเิ คราะห์
ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการ เรียนการสอนใหด้ ี

สื่อสาร มคี ุณภาพอยู่ ยง่ิ ๆข้ึนไป

ในระดบั สงู ข้ึนอย่าง

ต่อเนอ่ื ง

๖๑

ประเดน็ ท่ี 5

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผูเ้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น

5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
1.กระบวนการพฒั นา

โรงเรยี นไดม้ ีการบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพตามแนวทางการบริหารจดั การตามเกณฑร์ างวัลแห่ง
คุณภาพ OBECQA ด้วยรูปแบบการบริหารสถานศึกษา SPSS DSA Model ดาเนินการพัฒนาตามแผนงาน
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้โดยมีกรอบการทางาน TEPS Framework มีการดาเนินการนิเทศ กากับ
ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงาน ด้วย TAKS Model และสรปุ ผลการดาเนนิ งาน โดยมงุ่ เน้นการบริหารจดั การ
เรยี นการสอนโดยใช้นวตั กรรม 6 โครงการเพื่อพัฒนานักเรยี นอย่างรอบด้านตามมาตรฐานสากล จัดการเรียนการสอน
โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาคุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่าง
ต่อเน่ือง เพ่อื เป็นครูมอื อาชีพ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมาย ถือว่าเป็น
การพัฒนาความสามารถ ความสาเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนท่ีได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลจาก
จัดการเรียนการสอน การฝึกฝนหรือการฝึกประสบการณ์ ท่ีโรงเรียนดาเนินการตามโครงสร้างหลักสูตร
เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานและตวั ชี้วัดของหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมผู้เรียน
สู่ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ วัดและ
ประเมินผลเพื่อการพัฒนาผู้เรียนควบคู่กระบวนการวิจัย ที่เหมาะสมกับวิธีการเรียนรู้ ผู้เรียน โดยการจัดการ
เรียนรู้ ครูผู้สอนแต่ละรายวิชามุ่งพัฒนาความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะ
ชีวิต และการใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

การบริหารจัดการที่มีคุณภาพ มีการนิเทศ กากับ ติดตามการปฏิบัติการ และประเมินผล
การดาเนินงาน โดยใช้ TAKS Model ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม/ภาระงาน และ
ประเมินผลการดาเนินงานจากฝ่ายบริหารโดยผ่านกระบวนการประชุม หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ หัวหน้าโครงการ 6 นวัตกรรม หัวหน้างานแนะแนว หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน และเป็นประจาทุกสัปดาห์ และมีการประชุมครูเพ่ือชี้แจ้ง สะท้อนผลการปฏิบัติงาน เพื่อติดตามผล
การดาเนิน กาหนดแนวทางการพัฒนา และรายงานสรุปผลการดาเนินงานตามโครงการประกอบด้วยโครงการ
อาทิเช่น กิจกรรมประกันคุณภาพและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียนโดย
ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) เป็นฐาน กิจกรรมพัฒนาส่ือและเทคโนโลยีเพื่อใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมส่งเสริมทักษะภาษาไทย กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของงานกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักเรียนทางด้าน
วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพนักเรียนสู่ความเป็นประชาคม
อาเซียน กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา กิจกรรมส่งเสริมการใช้สื่อและ
เทคโนโลยีและอุปกรณ์ในการเรียนรู้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีสุขภาวะท่ีดีและมี
สุนทรียภาพด้านนาฏศิลป์และดนตรี กิจกรรมพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ กิจกรรม
พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ กิจกรรมจัดซื้อสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้สุขศึกษาและพล
ศกึ ษา และกิจกรรมส่งเสริมใฝร่ รู้ ักเรียนและการใช้หอ้ งสมดุ โรงเรยี น

๖๒

หลังจากคณะกรรมการของแต่ละโครงการดาเนินงาน มีการนิเทศ กากับติดตาม สังเกตปัญหาท่ี
เกิดขึ้นและหาแนวทางในการพัฒนาอย่างเป็นระบบ มีการตรวจสอบ โดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบ
ประเมนิ การควบคมุ ภายในด้วยตนเองของแตล่ ะโครงการกับTAKS model พบว่า

T เป้าหมายของโครงการสนองกลยุทธ์ของโรงเรียน
A มีการบรรลเุ ป้าหมาย ตามค่าเป้าหมายทก่ี าหนดไว้
K ผู้เรยี นไดร้ ับการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
S ทางานอย่างเป็นระบบ มีการประชุม วางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ มีการดาเนินการตามแผน สรุป
อภปิ รายผลและสรปุ และนาผลการพัฒนามาตัง้ ค่าเป้าหมายใหอ้ ยู่ในระดบั ทสี่ ูงขนึ้

2. ผลการพัฒนา
(1) ผเู้ รยี นร้อยละ 50.26 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ตา่ กวา่ ค่าเป้าหมายของโรงเรยี นทก่ี าหนดไว้ (ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 มีระดบั ผลการเรียน 3.0 ขนึ้ ไป)
(2) ผ้เู รียนร้อยละ 65.58 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ต่ากว่าคา่ เปา้ หมายของโรงเรยี นที่กาหนดไว้ (ผู้เรียนร้อยละ 80 มีระดบั ผลการเรียน 3.0 ข้นึ ไป)
(3) ผู้เรยี นร้อยละ 42.32 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ตา่ กวา่ ค่าเปา้ หมายของโรงเรียนทก่ี าหนดไว้ (ผเู้ รยี นร้อยละ 70 มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ข้นึ ไป)
(4) ผเู้ รยี นร้อยละ 36.94 ของ ม.4-ม.6 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ต่ากว่าค่าป้าหมายของโรงเรียนท่กี าหนดไว้ (ผู้เรยี นร้อยละ 70 มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ข้ึนไป)
(5) ผ้เู รียนร้อยละ 74.77 ของ ม.1-ม.3 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

สงู กว่าค่าเป้าหมายของโรงเรียนที่กาหนดไว้ (ผเู้ รยี นร้อยละ 70 มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ข้ึนไป)
(6) ผ้เู รียนรอ้ ยละ 68.62 ของ ม.4-ม.6 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ต่ากวา่ คา่ เปา้ หมายของโรงเรยี นทก่ี าหนดไว้ (ผเู้ รียนร้อยละ 70 มีระดบั ผลการ เรยี น 3.0 ขึน้ ไป)
(7) ผเู้ รียนร้อยละ 84.41 ของ ม.1-ม.3 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา

ศาสนาและวัฒนธรรม สงู กว่าเป้าหมายของโรงเรยี นท่ีกาหนดไว้ (ผ้เู รยี นร้อยละ 80 มีระดบั ผลการเรียน
3.0 ขน้ึ ไป)

(8) ผเู้ รยี นร้อยละ 88.05 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม สงู กว่าเปา้ หมายของโรงเรียนทก่ี าหนดไว้ (ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 มีระดบั ผลการเรียน
3.0ขน้ึ ไป)

(9) ผูเ้ รยี นร้อยละ 90.76 ของ ม.1-ม.3 มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและ
พลศึกษา สงู กวา่ ค่าเป้าหมายของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ (ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 มรี ะดับผลการเรยี น 3.0 ขนึ้ ไป)

(10) ผเู้ รียนรอ้ ยละ 91.95 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและ
พลศกึ ษา สูงกวา่ เป้าหมายของโรงเรยี นที่กาหนดไว้ (ผเู้ รียนร้อยละ 80 มีระดับผลการเรยี น 3.0 ข้ึนไป)

(11) ผเู้ รียนรอ้ ยละ 89.53 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
สงู กว่าค่าเปา้ หมายของโรงเรียนที่กาหนดไว้ (ผู้เรยี นร้อยละ 85 มีระดับผลการเรียน 3.0 ขนึ้ ไป)

(12) ผู้เรียนรอ้ ยละ 81.63 ของ ม.4-ม.6 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
สงู กว่าค่าเปา้ หมายของโรงเรียนกาหนดไว้ (ผู้เรียนร้อยละ 85 มีระดบั ผลการเรียน 3.0 ข้ึนไป)

(13) ผเู้ รียนร้อยละ 77.72 ของ ม.1-ม.3 มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี
และเทคโนโลยีต่ากวา่ ค่าเป้าหมายของโรงเรียนทก่ี าหนดไว้ (ผ้เู รียนร้อยละ 80 มีระดบั ผลการเรยี น 3.0

๖๓

ขน้ึ ไป)
(14) ผเู้ รยี นร้อยละ 78.20 ของ ม.4-ม.6 มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ
และเทคโนโลยีต่ากวา่ ค่าเป้าหมายของโรงเรียนกาหนดไว้ (ผู้เรียนร้อยละ 80 มีระดับผลการเรยี น 3.0
ขนึ้ ไป)
(15) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 64.80 ของ ม.1-ม.3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศต่ากวา่ ค่าเป้าหมายของโรงเรยี นที่กาหนดไว้ (ผเู้ รียนร้อยละ 70 มรี ะดบั ผลการเรียน 3.0
ขนึ้ ไป)
(16) ผู้เรียนร้อยละ 73.27 ของ ม.4-ม.6 มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศตา่ กว่าคา่ เป้าหมายของโรงเรยี นทีก่ าหนดไว้ (ผ้เู รยี นร้อยละ 70 มีระดบั ผลการเรียน 3.0
ขึ้นไป
(17) ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 63.02 ของ ม.3 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET)
สงู กวา่ ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ (เป้าหมาย:ผูเ้ รยี นร้อยละ 35)
(18) ผเู้ รียนร้อยละ 56.25 ของ ม.6 มีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET)
สูงกว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศ (เปา้ หมาย:ผ้เู รียนร้อยละ 35)

จากผลการดาเนินการพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ การงานอาชีพ ภาษาตา่ งประเทศ ยังต่ากวา่ ค่าเป้าหมายทกี่ าหนดไว้ สาเหตุจากโรงเรยี นได้ปรับ
ค่าเป้าหมายให้สูงข้ึนเนื่องด้วยเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลและจากการคาแนะนาของคณะกรรมการประเมิน
จาก สมศ.และ โรงเรียนได้ให้ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้จัดทาโครงการเพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอนทุกกลุ่มสาระ
วิชาฯ การทา PLC โครงการพัฒนาครู และโครงการยกระดบั ระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นอย่างเขม้ ขน้ ต่อไป

3.จดุ เด่น
1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ ม.6 คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของนักเรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ระดับ
สังกัด ระดบั ประเทศ

2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562 ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ในภาพรวมของ สพม.38 โรงเรียนตากพิทยาคมได้คะแนนเฉล่ียรวม 4 วชิ าเป็นลาดับที่ 1
และคะแนนเฉล่ียรวมในรายวชิ าภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ เปน็ ลาดับท่ี 1 และมคี ะแนน พฒั นาการใน
วิชาภาษาตา่ งประเทศ เป็นลาดบั ที่ 1

3. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 นกั เรียนไดค้ ะแนนสูงสุดระดับ ของ สมพ.38 ดังนี้

-วชิ าคณติ ศาสตร์ เตม็ 100 คะแนน จานวน 7 คน ด.ญ.นาถนภา สิรมาศ ด.ช.อิงคศรุ ัฐ ทาปนิ
ด.ช.ผดุงเดช ดลสา ด.ช.วสุ อนิ ทะโย ด.ญ.อุรัสยา วงต๊ะ ด.ช.ปิตวิ ัฒน์ กจิ สมานมิตร

- วิชาวทิ ยาศาสตร์ ด.ญ.ศรวี ลี สุขนันตพงศ์ 86 คะแนน
- วชิ าภาษาองั กฤษ ด.ช.วสุ อินทะโย 90 คะแนน

๖๔

4. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ประจาปกี ารศกึ ษา 2562
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในภาพรวมของ สพม.38 โรงเรยี นตากพิทยาคมได้คะแนนเฉล่ียรวม 4 วิชาเปน็ ลาดับที่
3 และคะแนนเฉลยี่ รวมในรายวชิ าภาษาตา่ งประเทศ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เปน็ ลาดบั ท่ี 1

5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562
ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 นกั เรยี นไดค้ ะแนนสูงสุดระดบั ของ สมพ.38 ดงั น้ี

-วชิ าคณิตศาสตร์ เต็ม 100 คะแนน จานวน 2 คน นายธนาธิป ศรีกาวี นายพุฒิพงศ์ พิพัฒนา
นิมิตร

6. โรงเรยี นไดร้ ับรางวัล IQA AWARD ระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประจาปี ๒๕๖๒
7. กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ม.1-3) สังคมศกึ ษาฯ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ ผู้เรียนมี
ผลสมั ฤทธ์ิสงู กว่าคา่ เปา้ หมายท่กี าหนด

4. จดุ ท่ีควรพัฒนา
ควรพัฒนางานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอย่างเข้มข้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีต่า

กว่าเป้าหมาย ได้แก่กลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ม.4-6) การงานอาชีพและเทคโนโลยี
และภาษาต่างประเทศ

๖๕

แผนภาพการบรหิ ารจัดการด้วย SPSS-DSA Model
ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

โดยใชร้ ปู แบบ SPSS-DSA
S : SWOT

1. วิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของสถานศึกษา
2. วิเคราะห์ผลการทดสอบการศกึ ษาระดบั ชาติ

ขั้นพ้ืนฐาน

S: Sufficiency Economy P : Plan School Based
Philosophy Management Management
3. แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการเรียนรู้ ตามโครงสร้าง
(SEPM) หลักสตู ร และประกนั คุณภาพการศกึ ษาแต่ละรายวชิ า (SBM)
4. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ โครงการพฒั นาคุณภาพ
การบรหิ ารงานโดยใชห้ ลกั ปรัชญา นกั เรยี นโดยใช้คะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การบริหารโดยใช้โรงเรยี น
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (O-NET) เปน็ ฐาน เปน็ ฐานแบบทุกคนมีส่วนรว่ ม

DO

5. ดาเนนิ การจดั การเรียนการสอน/โครงการ/กิจกรรม
6. สง่ เสริม สนับสนุน และประสานงาน สร้างความเข้าใจ

ใหแ้ ก่คณะครู นกั เรยี น และผู้ปกครอง

โดยใชร้ ปู แบบ TAKS Model)

S : Study

7. นิเทศ กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ
( วดั ประเมิน ผลสาเร็จของงาน

โดยใชร้ ูปแบบ TAKS Model)S : Study

7. นิเทศ กากบั ติดตาม ตรวจสอบ
( วัด ประเมิน ผลสาเร็จของงาน

พัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง ผา่ น A : Act ไม่ผ่าน ปรับปรงุ
ส่คู วามเป็นเลศิ พัฒนา ให้มีความเหมาะสม
8. วเิ คราะห์ผลสาเรจ็ ของงาน
อย่างต่อเนือ่ ง กระบวนการวจิ ัย

๖๖

ประเด็นท่ี 6

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผูเ้ รยี น
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน

6) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี ่องานอาชีพ
ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพัฒนา
๑. การวิเคราะหส์ ภาพองค์กร (ตวั ยอ่ S : SWOT analysis)

1.1 วิเคราะห์ผู้เรียน เกี่ยวกับความสนใจในอาชีพและทักษะการปฏิบัติงานของอาชีพแต่ละ

อาชพี

๒. การวางแผน (ตวั ยอ่ P : Plan)
2.1 จัดรูปแบบการเรียนรขู้ องผู้เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบโครงงาน เน้นการสร้างช้ินงาน

และทกั ษะการปฏิบตั งิ านอาชพี
2.๒ จดั กลุม่ ผู้เรยี นตามความสนใจ
2.3 ประเมนิ ผลโดยการประเมนิ คุณภาพชิ้นงาน และทักษะการทางาน

๓. ร่วมทาร่วมปฏบิ ตั ิ (ตวั ยอ่ D : Do)

3.1 จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้กิจกรรมแบบ Learning by

doing

3.2 เน้นกระบวนการทักษะการทางาน โดยให้ผู้เรียนได้ทาตามแผนที่วางไว้ ลงมือปฏิบัติ และ

จัดทาแบบโครงงาน

4. ศกึ ษาผลการดาเนินการ (ตวั ย่อ S: Study)
เม่ือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จส้ินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครูได้ดาเนินงานวัด ประเมินผล

วิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานโดยพิจารณาถงึ ความสาเร็จท่ีตงั้ เปา้ หมายไว้ ทัง้ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ และเปา้ หมาย
เชิงคุณภาพ วิเคราะห์ผลการดาเนินงานว่าประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด เพื่อนาการ
วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนา โดยควรพิจารณาตามรูปแบบการประเมิน TAKS
Model มีรายละเอยี ดคือ

1) T : Targetมเี ป้าหมายสนองแผนกลยุทธ์
2) A : Achievement การบรรลุเป้าหมาย
3) K : Knowledge การสร้างองค์ความรู้
4) S : System การทางานอย่างเป็นระบบ
โดยมีรายละเอียดเพ่ือตรวจสอบและประเมินผล ดงั นี้
1) วางกรอบการประเมิน มีการประชุมร่วมกันทุกฝ่าย ให้มีการเช่ือมโยงการประเมินกับ
เปา้ หมายใหส้ อดคล้องกัน
2) จดั หาหรอื จัดทาเครอื่ งมอื ซงึ่ เครื่องมือควรมคี วามชดั เจน สนั้ เขา้ ใจงา่ ย มีคณุ ภาพ
3) เก็บรวบรวมข้อมูล มีแนวทางแน่นอน กาหนดระยะเวลา กาหนดผู้เก็บข้อมูล มีเอกสารเป็น
หมวดหมู่

๖๗

4) วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ทั้งข้อมูลผู้เรียน ผู้สอน แนวโน้มความก้าวหน้า แนวโน้มท่ีต้องแก้ไข
ปรบั ปรุง

5) แปลความหมายกาหนดเกณฑ์การประเมิน เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินและแปลผลการ
ประเมนิ

6) ตรวจสอบ/ปรับปรงุ คณุ ภาพการประเมิน ตรวจสอบวา่ กระบวนการประเมินและผลการประเมิน
มีความเหมาะสม ถูกต้องและน่าเชื่อถือมากนอ้ ยเพยี งใด

5. การพัฒนาปรับปรุง (ตวั ยอ่ A :Act)
นาผลการประเมินการปฏิบัติงานมาเป็นข้อมูลสารสนเทศใช้ในการประกอบการตัดสินใจเรื่อง

ต่างๆ เมอ่ื พบขอ้ บกพร่องของผลงาน แล้วนาไปปรับปรุง ดังน้ี
๑) นาข้อมูลการวเิ คราะห์ผลการดาเนนิ งานในสว่ นที่บกพร่องใหผ้ ู้รับผดิ ชอบนาไปปรับปรงุ
๒) ผรู้ ับผดิ ชอบทกุ คนวางแผนปรบั ปรงุ พฒั นาในระยะตอ่ ไป โดยกาหนดจากผลการดาเนนิ งานที่
เป็นจดุ เดน่ แนวทางสง่ เสรมิ โครงการท่ีปรับปรุง ซงึ่ จะดาเนินการตามกาหนดเวลา

2. ผลการพัฒนา
1) ผเู้ รียนร้อยละ 85 ในระดับชน้ั ม.1 -ม.3 มีความร้ทู กั ษะในการจดั การในระดับช้ัน
2) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 ในระดับช้นั ม.4-ม.6 มีความรู้ทักษะในการจดั การในระดบั ช้ัน
3) ผเู้ รียนร้อยละ 85 ในระดับชน้ั ม.1 -ม.6 มเี จตคตใิ นการศกึ ษาต่อในระดบั ทสี่ ูงข้นึ
4) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ในระดับชั้น ม.4-ม.6 มีเจตคติในการศกึ ษาต่อในระดับทส่ี งู ขน้ึ
5) ผู้เรียนร้อยละ 85 ในระดับชั้น ม.1 -ม.3 มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การทางานหรืองานอาชีพ
6) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ในระดับชั้น ม.4-ม.6 มีเจตคติทด่ี ตี ่อการทางานหรืองานอาชพี

3. จดุ เด่น
3.1 โรงเรียนตากพิทยาคมมีการจัดการเรียนการสอนโดยร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลลา้ นนาตาก ในโครงการห้องเรียน Pre-Engineering
3.2 มีการฝึกทักษะวิชาชีพให้แก่นักเรียนท่ีมีความสนใจในสาขาวิชาชพี ที่เกี่ยวกับสุขภาพ โดยจัด

ในช่วงปดิ ภาคเรียนให้นักเรียนเข้าฝึกประสบการณ์ท่ีโรงพยาบาลสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช

4. จดุ ควรพัฒนา
4.1 การจัดการเรยี นการสอนที่มุ่งเน้นไปสู่สาขาวชิ าชพี เฉพาะ มนี กั เรียนส่วนหนึ่งท่ไี ม่ได้ศกึ ษาต่อ

ในสาขาวิชาชีพท่ีไดเ้ ลอื กไวใ้ นการเรียนระดบั มัธยมศึกษา เชน่ นกั เรยี นหอ้ งเรียนPre-Engineeringเมือ่ เรียนจบ
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว ในระดับมหาวิทยาลัยไม่ได้เลือกเรียนในสาขาวิชาชีพที่เก่ียวกับวิศวกรรม
เป็นต้น

๖๘

ประเดน็ ท่ี 7

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน
๑.๒ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น

๑) ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมตามที่สถานศึกษากาหนด
ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

1. กระบวนการพัฒนา
1. การวิเคราะหส์ ภาพองคก์ ร (ตัวยอ่ S : SWOT analysis)
โรงเรียนตากพิทยาคมได้กาหนดให้ครูวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน

ทุกรายวิชาโดยวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ตามเกณฑ์การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่ึงระบุไว้ ๘ ประการ ได้แก่ ๑)รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ๒)ซื่อสัตย์สุจริต ๓)มีวินัย ๔)ใฝ่เรียนรู้ ๕)อยู่อย่างพอเพียง ๖)มุ่งม่ันในการทางาน ๗)รักความเป็นไทย
๘)มีจิตสาธารณะ ประกอบกับค่านิยมท่ีสถานศึกษากาหนดอัตลักษณ์ของผู้เรียนโรงเรียนตากพิทยาคมต้องยึดม่ัน
ใน “ใฝ่เรียนใฝ่รู้ เชิดชูสถาบัน” พัฒนาอย่างต่อเนื่องตามบรหิ ารงานแบบ SPSS-DSA Model และมีระบบกากับ
ตรวจสอบ TAKS Model โดยการจัดกิจกรรม/โครงการท่ีส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น โครงการ
โรงเรยี นคุณธรรม โรงเรียนสขี าว และกจิ กรรมวันสาคญั ทางศาสนา เป็นตน้

2. การวางแผน (ตวั ย่อ P : Plan)
โรงเรยี นตากพิทยาคมมกี ารวางแผนดว้ ยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) ดังนี้
1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการขบั เคลอื่ นกิจกรรมและ โครงการทสี่ ง่ เสรมิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. กาหนดแผนงานขับเคล่ือนกจิ กรรมและ โครงการที่สง่ เสริมคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดังน้ี
2.1 กาหนดกจิ กรรมและ โครงการทสี่ ง่ เสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในสถานศึกษา ที่
สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา
2.2 สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และแนวทางการปฏิบตั ิให้กบั บุคลากรในสถานศึกษา
2.3 สร้างเครอื ขา่ ยกับหน่วยงานอ่นื (ระดับบคุ คล ระดับองคก์ าร ระดับหน่วยงาน)
2.4 กากบั ติดตาม นเิ ทศ และประเมนิ ผล
2.5 สง่ เสรมิ สนับสนนุ และประสานงาน เพื่อใหก้ ิจกรรมและ โครงการทส่ี ง่ เสริม
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ บรรลจุ ามวัตถุประสงค์

3. รว่ มทาร่วมปฏิบตั ิ (ตัวยอ่ D : Do)
การขับเคลื่อนกิจกรรมและ โครงการที่ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สู่การปฏิบัติใน

โรงเรียนตากพทิ ยาคมไดม้ กี ารดาเนนิ การตามลาดบั ดังนี้
1) คน้ หาปัญหา
2) หาสาเหตุ
3) แนวทางแก้ไข
4) ออกแบบกิจกรรม
5) นาสู่การปฏิบตั แิ ละสะท้อนผล
จากนั้นสรปุ รายงานผล และจัดกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

๖๙

4. ศึกษาผลการดาเนินการ (ตวั ย่อ S: Study)
เมื่อจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครูได้ดาเนินงานวัด ประเมินผล

วเิ คราะห์ผลการดาเนินงานโดยพิจารณาถึงความสาเร็จท่ตี ั้งเปา้ หมายไว้ ทง้ั เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ และเป้าหมาย
เชิงคุณภาพ วิเคราะห์ผลการดาเนินงานว่าประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด เพ่ือนาการ
วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนา โดยควรพิจารณาตามรูปแบบการประเมิน TAKS
Model มรี ายละเอียดคอื

1) T : Targetมีเปา้ หมายสนองแผนกลยุทธ์
2) A : Achievement การบรรลเุ ป้าหมาย
3) K : Knowledge การสร้างองคค์ วามรู้
4) S : System การทางานอย่างเป็นระบบ
โดยมีรายละเอยี ดเพ่ือตรวจสอบและประเมนิ ผล ดังนี้
1) วางกรอบการประเมนิ มีการประชุมร่วมกนั ทุกฝ่าย ให้มีการเช่อื มโยงการประเมนิ กับ
เป้าหมายใหส้ อดคล้องกัน
2) จดั หาหรือจดั ทาเครอื่ งมอื ซ่ึงเคร่ืองมือควรมีความชัดเจน สน้ั เข้าใจง่าย มคี ุณภาพ
3) เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล มีแนวทางแนน่ อน กาหนดระยะเวลา กาหนดผู้เกบ็ ข้อมลู มีเอกสารเป็น
หมวดหมู่
4) วิเคราะหข์ ้อมลู วเิ คราะห์ทง้ั ข้อมูลผูเ้ รยี น ผสู้ อน แนวโนม้ ความก้าวหน้า แนวโน้มทีต่ ้องแกไ้ ข
ปรบั ปรงุ
5) แปลความหมายกาหนดเกณฑก์ ารประเมิน เปรยี บเทยี บกับเกณฑ์การประเมินและแปลผลการ
ประเมนิ
6) ตรวจสอบ/ปรบั ปรุงคณุ ภาพการประเมิน ตรวจสอบวา่ กระบวนการประเมินและผลการประเมนิ มี
ความเหมาะสม ถกู ต้องและน่าเช่ือถือมากน้อยเพยี งใด

5. การพฒั นาปรับปรุง (ตัวยอ่ A :Act)
นาผลการประเมินการปฏบิ ัติงานมาเป็นข้อมลู สารสนเทศใช้ในการประกอบการตดั สนิ ใจเรอื่ งต่าง ๆ

เมอ่ื พบข้อบกพร่องของผลงาน แลว้ นาไปปรบั ปรงุ ดังน้ี
1) นาข้อมลู การวิเคราะห์ผลการดาเนนิ งานในสว่ นที่บกพร่องให้ผู้รับผดิ ชอบนาไปปรับปรุง
2) ผ้รู ับผดิ ชอบทุกคนวางแผนปรบั ปรงุ พัฒนาในระยะต่อไป โดยกาหนดจากผลการดาเนินงานทีเ่ ป็น

จุดเด่น แนวทางส่งเสริม โครงการที่ปรบั ปรุง ซึ่งจะดาเนนิ การตามกาหนดเวลา
3) นาผลจากการประเมินท่ีเกิดขึ้นหลังจากปรบั ปรงุ พฒั นาแล้วจัดทาวิจัยในชั้นเรยี น

2. ผลการพัฒนา
นกั เรียนตากพทิ ยาคมผ่านการประเมินสูงกวา่ ค่าเปา้ หมายที่กาหนดทกุ รายการประเมนิ

อัตลักษณ์ของโรงเรยี น : ใฝ่เรียนใฝ่รู้ เชิดชูสถาบนั
ใฝ่เรยี นใฝ่รู้
1. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 88.75 มีนิสยั รกั การอา่ นและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากหอ้ งสมุดแหล่ง
เรียนรู้และสื่อต่างๆรอบตวั

๗๐

2. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 97.83 ผา่ นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ดีข้นึ ไป
เชิดชสู ถาบนั
1. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 96.70 มีความรกั ในสถาบันและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆอย่างมั่นใจแสดงออกอย่าง

เหมาะสม สรา้ งชื่อเสยี งท่ดี ีให้กับโรงเรียน
2. ผเู้ รยี นร้อยละ 98.55 ปฏิบตั ิตนตามกฎระเบียบของโรงเรียน มกี ารแต่งกายถูกต้องเหมาะสม

ทรงผมถกู ระเบียบวนิ ยั
เอกลกั ษณ์โรงเรียน : โรงเรียนตากพทิ ยาคม เป็นผู้นาทางวิชาการ
1. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 72.50 มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเฉลย่ี แต่ละรายวิชาในระดับ 3.0 ขน้ึ ไป
2. ผเู้ รยี นมีคะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) สงู กวา่ คะแนน

เฉลยี่ ระดบั จงั หวดั ระดบั สังกัด ระดับประเทศทุกรายวชิ า
3. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 96.71 มผี ลการประเมินการอ่านคดิ วิเคราะห์และเขียน ผ่านในระดับดีถงึ ดเี ย่ยี ม
4. ผ้เู รียนร้อยละ 100 เมื่อจบการศกึ ษาระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 แลว้ สามารถสอบผา่ นการคดั เลือก

เข้าศกึ ษาต่อในระดับมหาวทิ ยาลยั ท่ีตอ้ งการได้

3. จุดเดน่
นักเรียนโรงเรียนตากพิทยาคมเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ

กิจกรรมสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมทุกกิจกรรม เช่น กิจรรมส่งเสริมใฝ่รู้รักเรียนและการใช้ ห้องสมุด
โครงการโรงเรียนคุณธรรม กิจกรรมเด็กคิด เด็กทา เด็กสร้างสรรค์พัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมวันสาคัญ และ
ส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น กจิ กรรมส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมผู้เรียน ส่งเสริมให้ใฝ่เรียนรูใ้ นห้องสมุด
เป็นประจาตลอดปี การสวดมนต์ทานองสรภัญญะ ทุกวันจันทร์ การแต่งกายผ้าไทยในวนั ศุกร์ อีกท้ังประเพณี
การห่มผ้าเจดีย์ อันเป็นเป็นการสืบสานประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา อีกทั้งส่งนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
สวดมนต์ทานองสรภัญญะ และนักเรียนยังได้รับรางวัลผู้ทาคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ประเภทเด็ก
หรือเยาวชน “วัฒนคุณาธร”รางวัลเด็กประพฤติดี มคี ่านิยม รางวัลผู้มีความประพฤติดี มีคณุ ธรรม และรางวัล
เยาวชนคนดศี รีสงั คม

4. จดุ ควรพัฒนา
ส่งเสริมการทาโครงงานคุณธรรมให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ส่วนแหล่งการเรียนรู้ควรพัฒนา

ห้องปฏิบัติการ และส่ือโสตทัศนูปกรณ์ให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน เพื่อให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เช่น
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องศูนย์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระต่างๆ การเพ่ิม
จานวนหนังสือของห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุด/มุมหนังสือตามกลุ่มสาระฯ การจัดให้มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต
เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถคน้ คว้า และเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งหลากหลายตามความตอ้ งการ

๗๑

การแลกเปลี่ยนเรยี นร้แู ละให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพ่อื พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
โดยใช้รปู แบบ SPSS-DSA

S : SWOT

1. วเิ คราะห์กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. เพ่ิมประสิทธภิ าพกระบวนการจัดการเรยี นการสอน

S: Sufficiency Economy P : Plan S: School Based
Philosophy Management Management
3. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC ระดับ (SBM)
(SEPM) สถานศึกษา
4. กาหนดแผนงานขบั เคลือ่ นกระบวนการ PLC ระดับ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียน
การบริหารงานโดยใชห้ ลกั ปรัชญา สถานศึกษา สรา้ งเครือข่ายชมุ ชนแห่งการเรยี นร5ู้ . สง่ เสริม เป็นฐานแบบทุกคนมีส่วนร่วม
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง สนบั สนุน และประสานงาน เขา้ ใจให้แก่คณะครู
S: School Based S:
S: Sufficiency Economy

D : DO
6. ดาเนนิ การขับเคล่อื นชุมชนแหง่ การเรียนรู้D :

พฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง ผ่าน S : Study ไมผ่ า่ น ปรับปรุง
สคู่ วามเป็นเลศิ พัฒนา ให้มคี วามเหมาะสม
7. นิเทศ กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ( วัด ประเมิน ผลสาเร็จของงาน :วจิ ัยในช้ันเรียน

โดยใช้รปู แบบ TAKS Model)S : Study

7. นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ
( วัด ประเมิน ผลสาเร็จของงาน

A : Act
8. วิเคราะห์ผลสาเร็จของงานA : Act

๗๒

ประเด็นท่ี 8

มาตรฐานท่ี ๑ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน
1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรียน

๒) ความภาคภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย
ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม
1. กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนตากพิทยาคมให้ความสาคัญกับส่ิงดีงามในท้องถิ่น ท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี และภูมิปัญญาของปราชญ์ชาวบ้านท่ีมีในท้องถ่ินที่อยู่อาศัย จึงกาหนดให้มีการวางแผนการ
ดาเนินงานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โครงการ ภาระงานอื่นๆท่ีได้รับมอบหมายตามภาระหน้าท่ี
รับผิดชอบ มกี ารประเมนิ ผล ติดตาม การดาเนินงานอยา่ งสม่าเสมอ เพ่ือหาแนวทางในการปรบั ปรงุ และพัฒนา
อย่างต่อเนื่องตามระบบบริหารตามรูปแบบ SPSS-DSA Model และมีระบบกากับตรวจสอบคือ TAKS
Model

S (SWOT) นาข้อมลู ผลการดาเนินโครงการ นโยบาย บริบทภายใน ภายนอก วิสัยทัศน์ นโยบาย
โรงเรยี นมาวเิ คราะห์ เพื่อได้ข้อสรปุ

P (Plan) นาข้อสรุปท่ีได้มาวางแผนการกิจกรรมการเรียน การสอน โครงการ ภาระงานอ่ืนๆที่ได้รับ
มอบหมายตามภาระหน้าที่รับผิดชอบกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายตัวชี้วัดกิจกรรมการดาเนินการของ
โครงการ ปฏิทินปฏบิ ัติงาน ผู้รับผดิ ชอบ งบประมาณ คณะกรรมการนิเทศ กากบั ติดตามประเมินผลให้ชัดเจน
โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(S-Sufficiency Economy Philosophy)เข้าใจถึงศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี และภูมิปัญญาของท้องถ่ิน นักเรียนได้ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มีการต่อยอดองค์ความรู้ได้
และการบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานแบบทุกคนมีส่วนร่วม (S – School Based Management and
Participatory Administration) ในการวางแผนการทางานทกุ ขนั้ ตอน

D (Do) ลงมือปฏิบัติตามปฏิทิน และบทบาทภาระหน้าที่รับผิดชอบ โดยมีคณะกรรมการนิเทศ
ตรวจสอบ ติดตาม ประเมนิ ผล เป็นผู้กากับ

S (Study) คณะกรรมการนิเทศ ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล ดาเนินการแล้วนาผลการประเมิน มา
ตรวจสอบตามระบบกากับ (TAKS Model) คือ เทียบผลการดาเนินการกับเป้าหมาย (T - Target) ว่ามี
ผลสัมฤทธ์ิเพียงใด (A - Achievement) ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลแล้วนาผลที่ได้จากการศึกษาวิเคราะห์ (K -
Knowledge) มาสู่วงจรการดาเนินการพัฒนา (S - System) A (Action) โรงเรียนนาผลการศึกษาวิเคราะห์
มาวางแผนสู่การพัฒนาต่อไปหากบรรลุเป้าหมายก็มีการส่งเสริม แต่ถ้าไม่บรรลุเป้าหมายจานาผลการศึกษา
วิเคราะหเ์ พอ่ื ปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป
2. ผลการพฒั นา

จากการดาเนินงานโดยใช้ระบบบริหารตามรูปแบบ SPSS-DSA Model และมีระบบกากับตรวจสอบ
คอื TAKS Model ส่งผลใหผ้ ู้เรียนโรงเรียนตากพทิ ยาคม

1. ผเู้ รยี นร้อยละ 89.86 มีความภาคภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ
2. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100 เหน็ คุณคา่ ของความเป็นไทย
3. ผูเ้ รยี นร้อยละ 85.83มสี ่วนรว่ มในการอนุรักษว์ ฒั นธรรม ประเพณี และภูมปิ ัญญาไทย
สูงกวา่ ค่าเป้าหมายที่กาหนดทุกรายการประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการที่โรงเรยี นกาหนด
จึงมีผลการพัฒนาในระดับคุณภาพดีเยี่ยม ดังปรากฏในรายการโครงการ เช่น โครงการวันภาษาไทย ร้อยละ
86.65 โครงการวนั สนุ ทรภู่ ร้อยละ 93.08 โครงการตามรอยประวตั ิศาสตร์ รอ้ ยละ 91.67โครงการพฒั นา

๗๓

ผู้เรียนมีสุขภาวะท่ีดีและมีสุนทรียภาพด้านนาฏศิลป์ดนตรี ร้อยละ 80 และมีผลการประเมินคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ ข้อท่ี 7 รักความเป็นไทย สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก ร้อยละ 59.12 ในปีพ.ศ. 2560 ร้อยละ
76.88 ในปี พ.ศ. 2561 และร้อยละ 98.46 ในปี พ.ศ. 2562

3. จดุ เด่น
นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทยมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์

วฒั นธรรม ประเพณี และภูมปิ ญั ญาไทยนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั สังคม ชุมชน ภายนอกได้

4. จุดควรพฒั นา
การส่งเสริมที่ต่อเน่ืองในการสร้างความตระหนัก เห็นความสาคัญของความเป็นไทย การอนุรักษ์

วฒั นธรรม ประเพณี และภูมปิ ญั ญาไทย

๗๔

ประเด็นที่ 9

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรียน
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น

3) มีการยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกับบนความแตกต่างและหลากหลาย
ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนตากพิทยาคมเป็นโรงเรียนที่มีนักเรียนมีความแตกต่างหลากหลายทางด้านเช้ือชาติ ศาสนา

และเพศโดยมาจากหลากหลายพ้ืนที่ในจังหวัดตากและพื้นท่ีจังหวัดใกล้เคียง ส่งผลให้การดารงชีวิต
ความเป็นอยแู่ ละวัฒนธรรมทแี่ ตกต่างกนั

โรงเรียนได้จัดให้ครูที่ปรึกษาทุกคนมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล เพ่ือให้รู้จัก เข้าใจและเข้าถึง
ผู้เรยี นมากขน้ึ โดยผา่ นกระบวนการของระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน

โดยมีการประชุมเครือข่ายทวิภาคี การประชุมผู้ปกครองในทุกภาคเรียนและจัดให้มีการเย่ียมบ้าน
นักเรียนเกิดขึน้

ซึ่งได้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยครูที่ปรึกษาได้ทาการวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อให้
รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล เช่น การวิเคราะห์ผลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ลีลาการเรียนรู้ ความถนัด
ความสนใจ ทาให้เข้าใจถงึ ความแตกต่างและความหลากหลายของผู้เรียนแตล่ ะคน

ทาให้โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและเหมาะสมกับผู้เรียน เกิดการยอมรับและอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างท่ีหลายหลายโดยไม่แบ่งแยกเช้ือชาติ ศาสนา วัฒนาธรรม เพศและวัย เช่น กิจกรรมกีฬาสี
กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมวันครบรอบสถาปนาโรงเรียน
กิจกรรมสง่ เสริมวันสาคัญตา่ งๆ เป็นตน้

เมื่อดาเนินการเสร็จส้ินมีการตรวจสอบ โดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบประเมินการควบคุม
ภายในด้วยตนเองของแต่ละกจิ กรรมกบั TAKS Model พบวา่

T เป้าหมายของโครงการสนองกลยุทธข์ องโรงเรยี น
A มกี ารบรรลเุ ปา้ หมายตามคา่ เปา้ หมายทกี่ าหนดไว้
K ผเู้ รียนเขา้ ใจถึงความแตกตา่ งและหลากหลายของแตล่ ะบุคคล
S ผู้เรียนร่วมกันทางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ มีการประชุม วางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ มีการ
ดาเนินการตามแผน สรปุ อภิปรายผลและสรุป
และนาผลการพฒั นามาตัง้ ค่าเป็นหมายให้อยู่ในระดบั ทสี่ งู ขน้ึ

2. ผลการพฒั นา
ผ้เู รียนทุกคนยอมรับที่จะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายโดยไม่แบ่งแยกเช้ือชาติ ศาสนา

วัฒนาธรรม เพศและวัย

๗๕

3. จดุ เด่น
จึงส่งผลให้ผู้เรียนเป็นท่ียอมรับแก่สังคมภายนอก และถูกคัดเลือกให้เป็นตัวแทนในกิจกรรมสาคัญ

ต่างๆ ในระดับโรงเรียน ระดบั ชมุ ชน ระดับจงั หวัด ระดบั ภาคและระดบั ประเทศ เช่น
- เข้าร่วมการเดินขบวนในงานตากสนิ ราชานุสรณ์
- เข้ารว่ มการเดนิ ขบวนในงานลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง
- เปน็ ตวั แทนนกั กีฬาในการเข้ารว่ มงานหรือกิจกรรมตา่ ง ๆ
- ถูกคัดเลือกให้เป็นตัวแทนนักกีฬาแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติในระดับจังหวัด ระดับภาคและ

ระดบั ประเทศ
- ได้รับคดั เลือกให้เป็นตัวแทนเข้ารว่ มในกจิ กรรมลูกเสอื โลก
- ไดร้ ับคดั เลอื กใหเ้ ปน็ นักเรียนแลกเปลย่ี นระหวา่ งประเทศในโครงการต่างๆ
- ได้รบั คัดเลือกใหเ้ ป็นตัวแทนระดบั ประเทศเพ่ือไปศกึ ษาดงู านและแลกเปลย่ี นวฒั นธรรม
- ไดร้ บั คดั เลอื กใหเ้ ป็นตัวแทนระดับประเทศเพ่ือนาเสนอโครงงานต่างๆ
ฯลฯ

4. จุดควรพฒั นา
- จัดกิจกรรมหรือโครงการอย่างตอ่ เนื่อง

๗๖

ประเดน็ ท่ี 10

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผ้เู รียน
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น

4) มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนไดจ้ ดั กจิ กรรมส่งเสริมให้ผ้เู รียนมีทักษะความสามรถด้านการแสดงออก โดยสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียน

ได้เข้าร่วมกิจกรรมฝึกจิตด้านศาสนา ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ เกิดความรักความศรัทธา
จงึ ได้มกี ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหลกั สตู รพลศึกษา (มวยไทย) จัดกิจกรรมวนั คลา้ ยวนั สถาปนาโรงเรียน
โดยนาศิลปะป้องกันตัว ราบวงสรวง และเป็นการเผยแพร่สู่ภายนอก และมีการประชาสัมพันธ์ โดยการมีส่วน
รว่ มจากทุกฝ่ายท้ังบุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง และผู้เรียน ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้สามารถบูรณาการหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขกับสังคม ส่ิงแวดล้อม และยังอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
มีวัฒนธรรมท่ดี งี าม รักและเห็นคุณคา่ ในความเป็นไทย

โรงเรียนได้ดาเนินโครงการส่งเสรมิ ความสามารถและแก้ปัญหาของผู้เรียนอยา่ งหลากหลายกาหนดให้
ครจู ัดทาแผนจัดการเรียนรู้บูรณาการร่วมกับโครงการต่างๆ มีการตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้
การนิเทศการจัดการเรียนการสอน และชุมชนการเรียนรู้ เพ่ือนามาเป็นข้อมูลในการออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรใู้ นแผนการจดั การเรยี นรู้ตามบรบิ ทและศักยภาพของผู้เรยี น

ครูได้รับการนิเทศการสอนท้ังส่วนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการสังเกตการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ในชั้นเรียน ทาให้ครนู าข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback) มาปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละ
วิธกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู้อย่างเป็นระบบต่อไป

จากนั้นครูได้นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ไปใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นการส่งเสริม
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปญั หาของ
ผู้เรียนอย่างหลากหลาย รวมทั้งสังเกตปัญหาท่ีเกิดขึ้นและหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความเป็นเลิศใน
ด้านสขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม

เม่ือดาเนินการเสร็จส้ินมีการตรวจสอบ โดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบประเมินการควบคุม
ภายในด้วยตนเองของแต่ละโครงการกับTAKS model พบว่านักเรียนและครูมีความพึงพอใจ สามารถนาไปใช้
และพัฒนาทกั ษะและความสามารถและนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ไป

และนาผลการพัฒนามาตั้งค่าเปา้ หมายให้อย่ใู นระดับท่ีสูงขึน้

2. ผลการพัฒนา
การจดั กิจกรรม เป็นการสรา้ งแรงบันดาลใจให้ผู้เรยี นมีความภาคภูมิใจในศลิ ปวัฒนธรรมประจาชาติ

ในเรือ่ งของการต่อสู้ เพอื่ สบื ทอดและอนุรักษ์ โดยการนาความเชอื่ ความศรัทธาส่ิงศักดส์ิ ทิ ธ์ิท่เี คารพ มา
สอดแทรกกบั กิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมตา่ งๆในโรงเรยี น และสู่ภายนอก
ผู้เรยี นมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม

1. ผู้เรยี นร้อยละ ๑๐0 ขน้ึ ไปมกี ารรกั ษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจิต อารมณ์ และสงั คมตามการประเมิน
กจิ กรรมหรือโครงการทโ่ี รงเรยี นจัดทาขน้ึ

2. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 ขนึ้ ไปมีการแสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั ตามการประเมนิ กจิ กรรม

๗๗

หรือโครงการท่ีโรงเรียนจัดทาข้ึน
3. ผ้เู รียนร้อยละ 100 สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่นื อย่างมีความสขุ เขา้ ใจผู้อ่นื ไม่มคี วามขัดแย้งกับผู้อ่ืน

ประเมนิ กิจกรรมหรือโครงการท่ีโรงเรยี นจัดทาข้ึน

3. จดุ เดน่
โรงเรียนตากพิทยาคมไดร้ ับรางวัลเชิงประจักษ์ระดับประเทศ ซงึ่ ได้ต่อยอดจากกิจกรรมการเรียนสอน

และจากการราบวงสรวง(มวยไทย)ในกิจกรรมวันคล้ายวันสถาปนาโรงเรียนตากพิทยาคม และการแข่งขัน
ทกั ษะภายนออกผเู้ รียนไดร้ บั รางวัลเชิงประจักษ์จากหนว่ ยงานต่างๆ ทัง้ ในระดับเขต ระดบั ภาค และระดับชาติ
ผลงานทไี่ ด้รบั

๑. การแขง่ ขนั มวยไทยมวยสากลสมคั รเลน่ ชงิ ชนะเลิศจังหวัดตาก ประจาปี 2562 ไดร้ บั รางวัล 2
เหรียญทอง 2 เหรยี ญเงนิ 1 เหรยี ญทองแดง

๒.การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติคร้ังท่ี 36 ภาค 5 ชนิดกีฬากอล์ฟ ประเภทบุคคลหญิง ประจาปี
2562 ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 2

๓. การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติครั้งท่ี 36 ภาค 5 ชนิดกีฬากอล์ฟ ประเภททีมหญิง ประจาปี
2562 ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศ

๔. การแข่งขันทักษะพื้นฐานด้านกีฬา(มวยสากลสมัครเล่น) ม.4-ม.6 การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรม
นกั เรยี น ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 69 ปกี ารศึกษา 2562 ภาคเหนือ ไดร้ างวัลระดบั เหรยี ญเงนิ

๕. การแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชาติ ประจาปี 2562 ได้รับเหรียญทองแดง
ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

๖. การแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ี ประจาปี 2562 ได้รับเหรียญเงิน
ในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

๗. การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติภาค 5 ครั้งที่ 36 “ตากเกมส์” ชนิดกีฬาเปตองประเภทคู่หญิง
ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศ

๘. การแขง่ ขันกฬี าเยาวชนแห่งชาติภาค 5 ครง้ั ที่ 36 “ตากเกมส์” ชนดิ กีฬาจักรยาน ครอสคันทรี
ชาย ได้รับรางวัลชนะเลศิ

๙. การแข่งขนั กฬี าเยาวชนแห่งชาติภาค 5 ครง้ั ท่ี 36 “ตากเกมส์” ชนิดกีฬามวยสากลสมคั รเล่น
ได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับท่ี 2

๑๐. การแข่งขันกีฬานักเรยี น นกั ศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 41 รอบคดั เลือกตวั แทนเขต 6 จังหวัด
พจิ ติ ร ชนิดกฬี าแบดมนิ ตนั ประเภททีมหญิง ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับที่ 2

๑๑. การแข่งขนั กีฬานักเรยี น นกั ศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 41 รอบคดั เลอื กตวั แทนเขต 6 จังหวัด
พจิ ติ ร ชนิดกฬี าแบดมนิ ตันประเภทบุคคลหญิง ได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 2

๑๒. การแข่งขนั กีฬานักเรยี น นกั ศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 41 รอบคดั เลือกตัวแทนเขต 6 จังหวัด
พจิ ิตร ชนดิ กฬี าวา่ ยนา้ หญิง ฟรีสไตล์ 5,000 เมตร 800 เมตรและท่าผีเสอ้ื 200 เมตร ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ
เหรียญทอง

๑๓. การแขง่ ขนั กีฬานักเรียน นกั ศกึ ษาแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 41 รอบคดั เลือกตัวแทนเขต 6 จงั หวดั
พิจิตร ชนิดกฬี าวา่ ยนา้ หญิง ฟรสี ไตล์ 200 เมตร ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 เหรยี ญเงิน , ฟรีสไตล์
400 เมตร ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 2 เหรยี ญทองแดง

๗๘

๑๔. การแขง่ ขนั กีฬานักเรยี น นกั ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 41 รอบคัดเลอื กตวั แทนเขต 6 จังหวดั
พิจิตร ชนดิ กฬี าวา่ ยน้าหญิงเด่ียวผสม 400 เมตร ได้รบั รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 เหรียญเงนิ

๑๕. การแข่งขันกีฬานักเรยี น นักศึกษาแห่งชาติ ครั้งท่ี 41 รอบคดั เลือกตัวแทนเขต 6 จงั หวดั
พิจิตร ชนดิ กฬี าวา่ ยนา้ ชาย

ชนะเลศิ เหรยี ญทอง ฟรีสไตล์ 5,000 เมตร และฟรสี ไตล์ 1,500 เมตร
รองชนะเลิศอนั ดบั 1 เหรียญเงิน ฟรสี ไตล์ 400 เมตรและกรรเชยี ง 200 เมตร
รองชนะเลิศอนั ดบั 2 เหรียญทองแดง เด่ียวผสม 400 เมตรและเด่ยี วผสม 200 เมตร
๑๖. การแขง่ ขันกีฬานักเรียน นักศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 41 รอบคัดเลอื กตัวแทนเขต 6 จงั หวัด
พจิ ติ ร ชนิดกฬี าวา่ ยน้าหญิง
รองชนะเลิศอันดับ 1 เหรยี ญเงิน ฟรสี ไตล์ 400 เมตรและกรรเชียง 200 เมตร
รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 เหรียญทองแดง ฟรีสไตล์ 5,000 เมตร และฟรีสไตล์ 800
เมตร
๑๗. การแขง่ ขันกีฬานักเรยี น นกั ศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 41 รอบคัดเลือกตัวแทนเขต 6 จงั หวัด
พิจติ ร ชนิดกฬี าวา่ ยน้าชาย
รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 เหรยี ญเงิน กรรเชียง 100 เมตร
รองชนะเลิศอันดบั 2 เหรยี ญทองแดง กรรเชียง 200 เมตรและผีเส้อื 200 เมตร
๑๘. การแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาแหง่ ชาติ ครั้งที่ 41 รอบคดั เลอื กตัวแทนเขต 6 จงั หวดั
พจิ ิตร ชนิดกฬี าวา่ ยน้าชาย
รองชนะเลิศอนั ดับ 1 เหรยี ญเงนิ การแข่งขันกฬี าจักรยาน ครอสคันทรี

4. จุดควรพฒั นา
- ด้านการจัดการเรียนการสอน โดยสังเกตจากบันทึกหลังการสอน และผลสัมฤทธิท์ างการเรียนยังไม่

โดดเด่นเน่ืองจาก เวลา กิจกรรมมีมาก นักเรียนมีภาระงานมาก ปัญหาเร่ืองวัสดุอุปกรณ์ ด้านโครงการ ทุก
โครงการเป็นโครงการที่ดี แต่นักเรียนไม่ได้เข้าร่วมครบทุกโครงการ โครงการควรมีการจัดแบบต่อเน่ือง

- ด้านสถานทีใ่ นการฝึกซ้อม และอุปกรณ์ ไมเ่ พยี งพอตอ่ ผู้เรยี น

๗๙

ประเดน็ ที่ 11
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

2.1 มเี ป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากาหนดชัดเจน
ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนตากพทิ ยาคมมกี ารกาหนดเปา้ หมายวิสัยทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ของโรงเรียนโดยใช้รูปแบบบริหารสถานศึกษา
บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง SPSS–DSA (SPSS–DSA Model)ดังน้ี

S : SWOT

1.ทบทวนกระบวนการทางาน
2. รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมลู และสารสนเทศที่เกีย่ วขอ้ ง

S: Sufficiency Economy P : Plan S: School Based
Philosophy Management Management
3.กาหนดความท้าทายและความได้เปรียบ (SBM)
(SEPM) (วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กาหนดกลยุทธ)์
4. การจัดทาแผนกลยทุ ธ์(กลั่นกรองและเห็นชอบ) การบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี น
การบริหารงานโดยใชห้ ลักปรัชญา 5. การจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี
เป็นฐานแบบทุกคนมสี ่วนร่วม
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

D : DO

6. ดาเนินการตามแผนปฏบิ ัติการประจาปี

S : Study

7. นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ
( วดั ประเมิน ผลสาเร็จของงาน
โดยใช้รูปแบบ TAKS Model)

พัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง ผา่ น A : Act ไม่ผา่ น ปรับปรุง
สู่ความเป็นเลิศ ใหม้ คี วามเหมาะสม
8. วิเคราะหผ์ ลสาเรจ็ ของงาน

ภาพที่ 2.1 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ
๑. การวิเคราะห์สภาพองคก์ ร (S : SWOT analysis)

โรงเรียนมีการแต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือตรวจสอบสภาพองค์กรจากท้ังปัจจัยภายในและปัจจัย
ภายนอกทบทวนกระบวนการทางาน รวบรวมวิเคราะห์ สารสนเทศที่เก่ียวข้องเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล
สารสนเทศ แล้วนาไปวิเคราะหด์ ้วยเทคนิค SWOT ซึ่งเปน็ รปู แบบการวิเคราะห์โดยใช้การประเมินสถานการณ์
และวางแผนกลยุทธ์ ของโรงเรยี น

๒. การวางแผน (P : Plan)เมื่อคณะกรรมการได้วเิ คราะหส์ ภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ
ของโรงเรียนแล้ว จึงมีการดาเนินการวางแผนการทางาน เพื่อให้การทางานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
โดยกาหนดความท้าทายและความได้เปรียบ และจัดทาวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน ให้

๘๐
คณะกรรมการบริหารโรงเรียนพิจารณาปรับปรุง/แก้ไข แล้วคณะกรรมการร่วมกันจัดทาแผนกลยุทธ์ 5 ปี
โดยผ่านการกล่ันกรองและเห็นชอบจากผู้บริหารและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียนและ
แจ้งคณะครูทุกคนได้รับทราบกรอบทิศทางการบริหารงานของโรงเรียน เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทา
โครงการ/กิจกรรมที่จะรวบรวมเป็นแผนปฏิบัติการประจาปีต่อไป ในการวางแผนการดาเนินการโรงเรียนมี
การจัดทาโดยมีความสอดคล้องกับหลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และหลักการบริหารโดย
บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดงั น้ี

๑) หลกั การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน (S: School-Based Management)
ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพ่ือจัดทากลยุทธ์ของโรงเรียนน้ัน ได้รับความ
ร่วมมือจาก คณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียน ผู้ปกครองและครู โดยยึดหลักการ 4 ประการ คือ หลัก
กระจายอานาจ (Decentralization) หลักการบริหารตนเอง (Self-Management) หลักการบริหารแบบมี
ส่วนรว่ ม (Participation) และหลกั การความรบั ผดิ ชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability)

๒) หลักการบริหารโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (S : Sufficiency
Economy Philosophy Management) ในการดาเนินการคณะกรรมการมีการคานึงถึงแนวคิดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอ่ื ใช้ในการวางแผนและดาเนนิ การ ประกอบด้วย หลักการ 3 ห่วง 2 เง่อื นไข
คือ หลักความพอประมาณ: มีการดาเนินการโดยกาหนดระยะเวลาของการดาเนินโครงการ/กิจกรรมใน
แผนปฏิบัติการประจาปีที่ชัดเจนและมีการจัดสรรงบประมาณมีความเหมาะสม หลักความมีเหตุผล:
การดาเนินโครงการ/กิจกรรมมีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และมีเป้าหมายเพื่อบรรลุตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน
หลักการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี: การดาเนินการมีความเป็นระบบ ทาให้การดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายของ
โครงการ/กิจรรมที่ตั้งไว้ ในกรณีที่ไม่สาเร็จก็มีการปรับปรุงการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองทุกปีเง่ือนไขความรู้:
ผู้ท่เี กยี่ วข้องในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมมกี ารเรียนรู้ในโครงการและกิจกรรมทีจ่ ัดทาและมีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง คณุ ธรรม : บคุ ลากรทกุ คนเข้ามามีสว่ นรว่ มและรบั ผิดชอบในการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆของโรงเรยี น

๓. ร่วมทาร่วมปฏิบัติ (D : Do) ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมมีการปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติการ
ประจาปีท่ีกาหนดไว้ มุ่งเน้นประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ ท้ังนี้มีการดาเนินการโดยใช้ TEPS
Frameworkเป็นกรอบพจิ ารณาในกระบวนการทางานประกอบดว้ ย

๑) T : Teamwork (การทางานเป็นทีม) สร้างบรรยากาศในการทางานร่วมกันแบบเปิด
ส่งเสริม สนับสนุนใหค้ ณะครูทางานอย่างมคี วามสขุ มุ่งสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายและวิสัยทัศนข์ องโรงเรียน

๒) E : Expertise (สร้างผู้เชี่ยวชาญ) จัดหาสิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากร
เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ท่ีมี
ความเชีย่ วชาญ โดดเดน่ หรือมที ักษะระดบั สงู ในเรอ่ื งน้นั ๆ

๓) P : Participative (การดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม) กระจายอานาจการทางานให้ครู
บุคลากรได้มีโอกาสเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางาน เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนได้มีส่วนร่วมในการ
ดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม

๔) S : Self-evaluation (การประเมินตนเองอยู่เสมอ) มีการกากับ ติดตามการปฏิบัติงาน
ประเมินผลการปฏิบัติงานในขณะดาเนินงานอยู่เสมอ เพื่อให้มองเห็นจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคท่ี
เกดิ ขนึ้ ในระหวา่ งปฏบิ ัตงิ านและหลงั การดาเนินงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๔. ศึกษาผลการดาเนินการ (S : Study) เม่ือดาเนินงานโครงการกิจกรรมใดเสร็จส้ินเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ทุกโครงการ/กิจกรรมมีการดาเนินการวัด ประเมินผล วเิ คราะห์ผลการดาเนินงานโดยพิจารณา
ถงึ ความสาเร็จทตี่ ้ังเปา้ หมายไว้ ท้ังเป้าหมายเชิงปริมาณ และเปา้ หมายเชิงคุณภาพ วเิ คราะห์ผลการดาเนินงาน
ว่าประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด เพ่ือนาการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานไปใช้ในการ
ปรบั ปรงุ พัฒนา โดยควรพิจารณาตามรปู แบบการประเมนิ TAKS Model มรี ายละเอยี ดคอื

๑) T : Target มีเปา้ หมายสนองแผนกลยุทธ์

๘๑
๒) A : Achievement การบรรลุเป้าหมาย
๓) K : Knowledge การสรา้ งองค์ความรู้
๔) S : System การทางานอยา่ งเปน็ ระบบ

โดยมีรายละเอียดเพื่อตรวจสอบและประเมนิ ผล ดงั น้ี
1. วางกรอบการประเมนิ มีการประชมุ ร่วมกันทุกฝา่ ย ให้มีการเชอ่ื มโยงการประเมินกบั

เป้าหมายให้สอดคลอ้ งกนั
2.จัดหาหรอื จัดทาเครื่องมือ ซง่ึ เคร่อื งมือควรมีความชดั เจน ส้ัน เขา้ ใจง่าย มคี ุณภาพ
3.เก็บรวบรวมข้อมูล มีแนวทางแน่นอน กาหนดระยะเวลา กาหนดผ้เู ก็บข้อมูล มเี อกสารเป็น

หมวดหมู่
4.วเิ คราะห์ขอ้ มูล วิเคราะหท์ ั้งข้อมูลผูเ้ รียน ผูส้ อน แนวโน้มความก้าวหน้า แนวโน้มทตี่ ้องแก้ไข

ปรับปรุง
5.แปลความหมายกาหนดเกณฑก์ ารประเมิน เปรียบเทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ และแปลผลการ

ประเมนิ
6.ตรวจสอบ/ปรับปรุงคณุ ภาพการประเมนิ ตรวจสอบวา่ กระบวนการประเมินและผลการประเมนิ

มคี วามเหมาะสม ถูกต้องและนา่ เช่ือถือมากน้อยเพียงใด
. การพัฒนาปรับปรงุ (A : Act) นาผลการประเมนิ การปฏิบัตงิ านมาเป็นขอ้ มูลสารสนเทศใช้ใน

การประกอบการตดั สนิ ใจเร่ืองต่าง ๆ เมื่อพบข้อบกพร่องของผลงาน แล้วนาไปปรบั ปรงุ ดงั น้ี
1) นาข้อมลู การวิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานในส่วนทบี่ กพร่องให้ผู้รับผิดชอบนาไปปรับปรุง
2) ผู้รับผิดชอบทกุ คนวางแผนปรับปรงุ พัฒนาในระยะต่อไป โดยกาหนดจากผลการ

ดาเนนิ งานทเ่ี ป็นจุดเด่น แนวทางสง่ เสริม โครงการทป่ี รบั ปรุง ซ่ึงจะดาเนนิ การตามกาหนดเวลา
3) จดั ทาข้อมลู สารสนเทศ โดยให้นาผลจากการประเมินทเ่ี กิดขึ้นหลงั จากปรับปรุงพฒั นา

แล้วมาจัดทาเป็นข้อมลู สารสนเทศ
ผลการพัฒนา

2.1 โรงเรียนมีการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ
พัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความต้องการของชุมชนทอ้ งถ่ินและสอดคลอ้ งกบั
แนวทางการปฏริ ปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบตั ิทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง

2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2559 - 2563แผนปฏิบัติการประจาปีสอดคล้องกับ
การพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญ
ตามมาตรฐานตาแหน่งข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้องครบถ้วนทันสมัยนาไปประยุกต์ใช้ได้ดาเนินการอย่าง
เปน็ ระบบและมีกจิ กรรมจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีกระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรยี นรู้

2.3 โรงเรียนมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา2559 - 2563แผนปฏิบตั ิการประจาปี
ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยความร่วมของ
ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่าย มีการนาขอ้ มูลมาใช้ในการปรับปรงุ พัฒนางานอยา่ งต่อเน่ืองและเป็นแบบอย่างได้

2.4 ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน
พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและรบั ทราบรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา

2.5 โรงเรียนมีการนิเทศกากับติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม
เปน็ ระบบและต่อเนื่องเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กี่ยวข้องมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา

2.6 โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจดั การเชิงระบบโดยทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาล
บริหารจัดการโดยเน้นโรงเรียนเป็นฐานและแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งพัฒนาผู้เรียน
ตามแนวทางปฏริ ูปการศึกษา

๘๒
2.7 โรงเรียนมีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ส่งผลให้
สถานศกึ ษามสี ่ือและแหล่งเรยี นรู้ทมี่ ีคุณภาพ
3. จุดเด่น
โรงเรียนตากพิทยาคมมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่ชัดเจน ดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์สอดคล้อง
กับบริบทของโรงเรียนและความต้องการของชุมชน มีรูปแบบกระบวนการบริหารโดยใช้ SPSS DSA รวมทั้งมี
ระบบกากับดูแลกระบวนการทางาน (TAKS Model) โดยฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการนาข้อมูลเหล่านี้ไป
วิเคราะห์เพ่ือปรับปรุงกระบวนการทางานต่างๆ พัฒนาหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านและ
ทุกกลุ่มเป้าหมายให้เช่ือมโยงกับชีวิตจริงและเป็นแบบอย่างได้ ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทุกคนให้ได้รับ
การพัฒนาและมีชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี เพื่อพัฒนางาน จดั สภาพแวดล้อมท่ีส่งเสรมิ และเอ้ือต่อการเรยี นรู้
อย่างมคี ุณภาพและปลอดภัย มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมยั และมคี ุณภาพ
4. จดุ ควรพัฒนา
๑. กาหนดแผนงานปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมอบหมายให้ผ้รู ับผดิ ชอบจัดทาขอ้ มลู
สารสนเทศใหเ้ ป็นปจั จุบนั และใช้ข้อมลู เป็นฐานในการพัฒนาการศึกษาไดต้ ลอดเวลา
๒. ขยายเครอื ขา่ ยความรว่ มมือการจัดการศึกษากับต่างประเทศใหเ้ พ่ิมขึ้น เพอื่ รว่ มกันขับเคลือ่ นคุณภาพ
การจัดการศึกษา

๘๓

ประเดน็ ท่ี 12

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา

ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วยระบบคุณภาพตามแนวทางการบริหารจัดการตาม
เกณฑ์รางวัลแห่งคุณภาพ OBECQA ด้วยรูปแบบการบริหารสถานศึกษา SPSS DSA Model โดยดาเนินการ
วเิ คราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผา่ นมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม
ประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรใน
สถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน มกี ารปรับแผนพัฒนาคณุ ภาพจดั การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมท้ังจัดหาทรพั ยากร
จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ี
กาหนดไว้โดยมีกรอบการทางานTEPS Framework มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการ
ดาเนินงาน ด้วย TAKS Model และสรุปผลการดาเนินงานซ่ึงการบริหารจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
โรงเรียนตากพิทยาคม แบ่งการบริหารงานเปน็ 4 กลุ่มงาน ดงั นี้

1. กลมุ่ บริหารงานวิชาการ
2. กลุ่มบริหารงานงบประมาณ
3. กลุม่ บริหารงานบุคคล
4. กลุ่มบรหิ ารงานท่ัวไป
แนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยใช้ SPSS-DSA Modelมีความสอดคล้องกับเป้าหมาย วิสัยทัศน์
(Vision)ที่ว่า “ตากพิทยาคมเป็นโรงเรียนคุณภาพชั้นนา เทียบเคียงมาตรฐานสากลบนพ้ืนฐานหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง”นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกับสมรรถนะหลักของโรงเรียน (Core competencies)ดงั นี้
1. การบรหิ ารจดั การทมี่ คี ุณภาพโดยใช้ SPSS DSA Model
2. การบริหารจัดการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรม 6 โครงการเพ่ือพัฒนานักเรียนอย่างรอบด้านตาม
มาตรฐานสากล
3. การจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. พัฒนาคณุ ภาพของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง เพ่อื เปน็ ครูมอื อาชีพ
โดยการบริหารสถานศึกษาจะมีการบูรณาการการดาเนินงานภายใน องค์กรให้มีความ
เก่ียวเน่ืองสัมพันธ์กัน โดยบูรณาการ Best Practice ไปใช้ทุกกลุ่มงาน โดยทุกกิจกรรมมีความเชื่อมโยง
สอดคลอ้ งกนั โดยการดาเนนิ งานการบรหิ ารจดั การศกึ ษาดว้ ยระบบคณุ ภาพ มีข้ันตอนดังตอ่ ไปน้ี
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ
2. ประชมุ ครแู ละบคุ ลากรเพอื่ วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกของสถานศึกษา
3. นาขอ้ มูลจากการวิเคราะห์มากาหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ และเปา้ ประสงค์ของสถานศึกษา
4. กาหนดกลยุทธ์ ในการดาเนนิ งาน เพ่ือนาไปส่กู ารบรรลุความสาเร็จตามกลยทุ ธท์ ี่กาหนดโดย
มีกรอบระยะเวลาและตวั ช้ีวัดความสาเร็จ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางสู่ความสาเร็จ
5. เสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน

๘๔

6.จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปตี ามกรอบงบประมาณและระยะเวลาที่กาหนด
7. ฝา่ ยแผนงานดาเนินการทบทวนตรวจสอบแผนปฏิบตั ิการ และเสนอขอรับความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานโรงเรยี นตากพิทยาคม
8. ดาเนินตามแผนปฏิบัติการประจาปตี ามกรอบเวลาท่ีกาหนด
9. โรงเรียนมีการนิเทศ กากับ ติดตามการปฏิบัติการ และประเมินผลการดาเนินงานโดยใช้
TAKS Model ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของแต่ละกิจกรรม/ภาระงาน และประเมินผลการ
ดาเนินงานจากฝ่ายบริหารโดยผ่านกระบวนการประชุมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ได้แก่การประชุมคณะกรรมการ
สถานศึกษาขึ้นพ้ืนฐานฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิชาการ หัวหน้างาน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการประชุมกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระเป็นประจาทุกสัปดาห์ และมีการประชุมครูทุกเดือน โดยมีตารางการประชุมไว้
อย่างชัดเจน เพ่ือติดตามผลการดาเนิน กาหนดแนวทางการพัฒนา และประเมินผลการดาเนินงาน มีการนิเทศ
การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนเป็นประจาทุกภาคเรียน โดยหัวหน้ากลุ่มสาระ เพ่ือนครู และนักเรียนมี
สว่ นร่วมในการประเมินครูมีปฏิทินปฏิบัติงาน ตารางนิเทศไว้อยา่ งชดั เจน ครทู ุกได้รับการนิเทศ มีการรายงาน
ผลการปฏิบัติต่อฝา่ ยบริหารทุกกิจกรรม
10.นาผลการดาเนินงานไปปรับปรงุ พฒั นาการดาเนนิ โครงการ
11. รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการ
ตามแผนภาพขั้นตอนการดาเนินงานโครงการการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
นาไปสคู่ วามสอดคล้องกับวสิ ัยทัศน์ นโยบาย และเปา้ หมายการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

๘๕
แผนภาพการบริหารจัดการด้วย SPSS-DSA Model โดยผู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายปฏิบัติงาน

แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การ

ประชมุ ครูและบุคลากรเพ่อื วิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอก S
ของสถานศึกษา
PSS
ขอรบั ความเห็นชอบจาก นาขอ้ มูลจากการวิเคราะหม์ ากาหนดวิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และเปา้ ประสงค์ D
คณะกรรมการสถานศึกษา ของสถานศกึ ษากาหนดความสาเร็จรว่ มกนั ระหวา่ งบคุ ลากร S
และผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ ง

กาหนดกลยุทธ์ ในการดาเนนิ งาน เพอื่ นาไปสู่การบรรลุความสาเร็จตามกลยทุ ธท์ ีก่ าหนด
โดยมกี ารจดั การเรียนการสอนโดยใช้นวตั กรรมการพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียนสู่

มาตรฐานสากล และมกี ารบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพตามแนวทาง OBECQA
การดาเนินงานของโรงเรียนตากพิทยาคมไดม้ ีการดาเนินการตาม SPSS DSA Model

ดาเนินงาน ตามเป้าหมายที่วางไว้ตามกรอบการทางาน
TEPS Framework

ไม่ผา่ น

ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน TAKS Model
ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน/นิเทศ กากบั

ตดิ ตาม

ผ่าน
นาผลการดาเนนิ งานไปปรบั ปรุงพฒั นาการดาเนนิ โครงการ

รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติการ A

๘๖

กลไกการดาเนินงานของรปู แบบการบริหารสถานศึกษาโดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
โรงเรียนตากพทิ ยาคม รูปแบบ SPSS-DSA (SPSS-DSA)

S-SWOT
= วเิ คราะห์
สภาพองค์กร

A-ACT P-PLAN S:SBM
=การพัฒนา =การวางแผน
ปรบั ปรุง โรงเรยี นเป็นฐาน
พฒั นาอยา่ งต่อเน่อื งสู่
ความสาเร็จอยา่ งยง่ั ยืน โรงเรยน

S:SEPM

บรู ณาการหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โรงเรยน

ไม่

ไมผ่ า่ น ผา่ ผ่าน


S-STUDY D-DO
=ศกึ ษาผลการ =รว่ มทารว่ ม
ดาเนินงาน
ปฏบิ ตั ิ

T AK S T E P S
Target
Achivement Knowledge System Teamwork Expertise Participative Self-Evaluation

หลกั ในการประเมินผลการดาเนินงาน กรอบการทางาน

๘๗

กลไกการดาเนินงานของรปู แบบ ในการจดั ระบบกลไกการดาเนินงานของรูปแบบการบรหิ าร
สถานศึกษา โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนตากพิทยาคม โดยใช้รูปแบบ SPSS-
DSA มขี นั้ ตอน และวิธีการตามรายละเอยี ดต่อไปนี้

๑. การวิเคราะห์สภาพองค์กร (ตัวยอ่ S : SWOT analysis)สาหรบั ขน้ั ตอนการวเิ คราะห์สภาพ
องค์กรนั้น รูปแบบ SPSS-DSA ได้นาข้ันตอนการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SWOT Analysisซ่ึงเป็นรูปแบบการ
วิเคราะห์โดยใช้การประเมินสถานการณ์และวางแผนกลยุทธ์ รวมทั้งตรวจสอบสภาพองค์กรจากทั้งปั จจัย
ภายในและปัจจยั ภายนอกโดยในการบริหาร จัดทาโครงการ กิจกรรมใดของโรงเรียน ผู้บรหิ ารพร้อมท้งั คณะผู้
ดาเนินงานโครงการ จะต้องมีการจัดประชุมทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง เพื่อรว่ มกันสารวจ วิเคราะห์ สภาพปัญหาและ
ความต้องการของสถานศึกษา กาหนดเป้าหมายให้รับรู้ร่วมกัน โดยมีผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีส่วน
รบั ผิดชอบที่สาคญั ที่สุด

๒. การวางแผน (ตัวย่อ P : Plan)เมื่อโรงเรียนได้วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความ
ต้องการของโรงเรียนแล้ว โรงเรียนจะดาเนินการวางแผนการทางาน เพื่อให้การทางานเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล โดยข้ันตอนการวางแผนนั้นมีกระบวนการดาเนินงานภายใต้กระบวนการบริหารงานด้วยระบบ
คุณภาพ โดยแต่งตัง้ คณะกรรมการรบั ผิดชอบในการดาเนินงานเพ่ือแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา โดยให้ทุกฝ่ายมสี ่วน
รับผิดชอบในการประสานงาน การกากับดูแล และการช่วยเหลือสนับสนุน โดยจะต้องยึดหลักการในการ
ทางานเรื่องน้ัน ๆ ว่าจะมีอะไรบ้าง มีแนวทางการดาเนินงานอย่างไร มีการกาหนดเกณฑ์ในการดาเนินงาน
อย่างไร จัดลาดับความสาคัญของเป้าหมายให้สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด โดยในการกาหนดแนวทางในการ
ดาเนินการน้ันจะต้องมีการพิจารณา/วเิ คราะห์ ความเป็นไปได้ และต้องสอดคลอ้ งกับเงอ่ื นไข 2 ประการคือ

1) หลักการบ ริห ารจัดการโดยใช้โรงเรียน เป็ น ฐาน (ตัวย่อ S: School-Based
Management) จะต้องพิจารณาถึงความมีส่วนร่วมในการบริหารงานกับภาคีท่ีเก่ียวข้อง โดยยึดหลักการ 4
ประการ คือ หลกั กระจายอานาจ (Decentralization) หลักการบรหิ ารตนเอง (Self-Management) หลักการ
บริหารแบบมสี ่วนรว่ ม (Participation) และหลักการความรับผิดชอบทตี่ รวจสอบได้ (Accountability)

2) หลักการบริหารโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ตัวย่อ S :
Sufficiency Economy Philosophy Management) จะต้องพิจารณาถึงแนวคิดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ในการวางแผนและดาเนินการ ประกอบด้วย หลักการ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข คือ หลักความ
พอประมาณ หลักความมีเหตผุ ล และหลกั การมีภมู ิคมุ้ กันในตวั ที่ดี บนเง่ือนไขความรคู้ ู่คุณธรรม

๓. รว่ มทาร่วมปฏิบัติ (ตวั ยอ่ D : Do) การลงมือทา ปฏบิ ตั ิ ตามแผนท่กี าหนดไว้ มงุ่ เนน้ ประโยชน์
ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งนี้ควรดาเนินการโดยใช้ TEPS Frameworkเป็นกรอบพิจารณาใน
กระบวนการทางานประกอบดว้ ย

๑) T : Teamwork (การทางานเป็นทมี ) มีบรรยากาศในการทางานร่วมกนั แบบเปดิ
ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหบ้ คุ ลากรทกุ คนทางานอยา่ งมีความสขุ มุ่งสูค่ วามสาเร็จตามเป้าหมาย

๒) E : Expertise (สรา้ งผ้เู ชี่ยวชาญ) จัดสิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากร
เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่มี
ความเชีย่ วชาญ โดดเด่น หรอื มีทักษะระดบั สูงในเรอ่ื งนน้ั ๆ

๓) P : Participative (การดาเนนิ งานแบบมสี ่วนรว่ ม) กระจายอานาจการทางานให้ครู
บุคลากรได้มีโอกาสเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางาน เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการ
ดาเนินงาน

๔) S : Self-evaluation (การประเมนิ ตนเองอยู่เสมอ) มีการกากับ ติดตามการปฏิบตั ิงาน

๘๘

ประเมินผลการปฏิบัตงิ านในขณะดาเนินงานอยู่เสมอ มองเห็นจุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาส แลtอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นใน
ระหว่างปฏบิ ตั งิ านเพอื่ ให้ดาเนนิ งานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

๔. ศึกษาผลการดาเนนิ การ (ตัวย่อ S: Study) เมอ่ื ดาเนินงานโครงการกจิ กรรมใดเสรจ็ สน้ิ เป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ควรดาเนินงานวัด ประเมินผล วิเคราะห์ผลการดาเนินงานโดยพิจารณาถึงความสาเร็จที่
ตั้งเป้าหมายไว้ ท้ังเป้าหมายเชิงปริมาณ และเป้าหมายเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ผลการดาเนินงานว่าประสบ
ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด เพ่ือนาการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานไปใช้ในการปรับปรุง
พัฒนา โดยควรพิจารณาตามรปู แบบการประเมนิ TAKS Model มีรายละเอยี ดคือ

T : Targetมเี ป้าหมายสนองแผนกลยทุ ธ์
A : Achievement การบรรลุเปา้ หมาย
K : Knowledge การสร้างองคค์ วามรู้
S : System การทางานอย่างเปน็ ระบบ
โดยมีรายละเอยี ดเพอื่ ตรวจสอบและประเมินผล ดังน้ี
1) วางกรอบการประเมนิ มีการประชมุ รว่ มกันทุกฝ่าย ใหม้ กี ารเชือ่ มโยงการประเมินกบั
เป้าหมายใหส้ อดคลอ้ งกัน
2) จดั หาหรือจัดทาเครอ่ื งมอื ซง่ึ เครื่องมือควรมคี วามชัดเจน ส้ัน เข้าใจงา่ ย มีคณุ ภาพ
3) เก็บรวบรวมข้อมูล มีแนวทางแน่นอน กาหนดระยะเวลา กาหนดผู้เก็บข้อมูล มีเอกสารเป็น
หมวดหมู่
4) วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ท้ังข้อมูลผู้เรียน ผู้สอน แนวโน้มความก้าวหน้า แนวโน้มที่ต้องแก้ไข
ปรบั ปรุง
5) แปลความหมายกาหนดเกณฑ์การประเมิน เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินและแปลผลการ
ประเมนิ
6) ตรวจสอบ/ปรับปรุงคุณภาพการประเมนิ ตรวจสอบว่ากระบวนการประเมินและผลการประเมิน
มีความเหมาะสม ถูกตอ้ งและน่าเช่ือถอื มากน้อยเพียงใด
5. การพัฒนาปรับปรุง (ตัวย่อ A :Act) นาผลการประเมินการปฏิบัติงานมาเป็นข้อมูลสารสนเทศ
ใชใ้ นการประกอบการตัดสนิ ใจเรื่องต่าง ๆ เม่อื พบข้อบกพรอ่ งของผลงาน แลว้ นาไปปรับปรุง ดังนี้
1) นาขอ้ มลู การวิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานในสว่ นท่ีบกพร่องใหผ้ ู้รบั ผดิ ชอบนาไปปรบั ปรุง
2) ผรู้ บั ผิดชอบทกุ คนวางแผนปรับปรุงพัฒนาในระยะตอ่ ไป โดยกาหนดจากผลการ
ดาเนินงานทีเ่ ปน็ จดุ เดน่ แนวทางสง่ เสริม โครงการทป่ี รับปรงุ ซึ่งจะดาเนนิ การตามกาหนดเวลา
3) จัดทาข้อมูลสารสนเทศ โดยให้นาผลจากการประเมินที่เกิดข้ึนหลังจากปรับปรุงพัฒนา
แล้วมาจดั ทาเปน็ ข้อมูลสารสนเทศ

2. ผลการพัฒนา

1. สถานศึกษามกี ารบริหารจัดการคุณภาพสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ วางแผน จัดทาและดาเนนิ การ
ตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดย
สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารด้วยระบบคุณภาพ SPSS DSA Model ตามแนวทางการบริหารจัดการด้วย
ระบบคุณภาพ OBECQA โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักโรงเรียนเป็นฐานและแนวคิดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา จึงทาให้โรงเรียนมีผลการพัฒนา

๘๙

ระบบงานโรงเรียนตากพิทยาคมด้วยระบบคุณภาพมาตรฐานสากล โดยผลการดาเนินงาน ทาให้ได้รับรางวัล
คุณภาพตามเกณฑ์ ScQAในปี พ.ศ.2557 และได้รับรางวัลคุณภาพตามเกณฑ์ OBECQA รุ่นท่ี 1 Intensive
School ในปี พ.ศ. 2558 ซ่ึงเป็น 1 ใน 63 โรงเรยี นของประเทศทไ่ี ดร้ ับรางวัลนี้ และรางวัลอื่นๆดงั นี้

1) พ.ศ. 2557 ได้รับคัดเลือกเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้าน
การศึกษา)

2) พ.ศ. 2558 ไดร้ ับรางวลั MOE AWARDS ผลงานระดบั ดเี ดน่ ประเภทสถานศกึ ษา สาขาหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3) พ.ศ. 2560 ได้รับรางวัลระดับประเทศ เป็นโรงเรียนคาร์บอนต่า (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าท่ีบ้าน
นักเรยี น) จานวนนกั เรียน 2000 คนขน้ึ ไป

4) พ.ศ. 2560 ได้รบั รางวลั ระดับชาติ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) รองชนะเลิศระดับ
เหรียญทอง สถานศึกษายอดเย่ียม ประเภทมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ด้านบริหารจัดการ จากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

5) พ.ศ. 2561 โรงเรียนตากพิทยาคมได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษา ขนาด
ใหญ่

6) พ.ศ. 2561 โรงเรียนตากพิทยาคมได้เข้ารับพระราชทานป้ายสนองพระราชดาริฯ งานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน พระราชทาน ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งโรงเรียนตากพิทยาคม เปน็ 1 ใน
26 โรงเรียนทวั่ ประเทศ

7) พ.ศ. 2561 โรงเรียนตากพิทยาคม ได้รับการคัดเลือก จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยใน
พระราชปู ถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี จากโครงการประกวดหอ้ งสมดุ ดีเด่น
ประจาปี 2561 ประเภทรางวลั หอ้ งสมุดโรงเรียนดเี ดน่ ระดับประเทศ

8) พ.ศ. 2561 โรงเรียนตากพิทยาคม ได้รับรางวัลชนะเลิศโรงเรียนคาร์บอนต่าลดการใช้พลังงาน
ยอดเยยี่ ม ระดบั ประเทศ จาก กฟผ. รว่ มกบั สพฐ. วนั ที่ 9 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562

9) พ.ศ. 2562 ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARD) ด้านบริหารจัดการสถานศึกษายอด
เย่ยี ม ประเภทมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ่ รางวัลระดบั เหรยี ญทอง ประจาปีการศึกษา 2561 ระดบั ชาติ

10) พ.ศ. 2562 โรงเรยี นตากพิทยาคมไดร้ ับคัดเลอื กจาก สพฐ. ให้ได้รบั รางวลั IQA AWARD ระดับ
ยอดเย่ียม ประจาปี พ.ศ. 2562

2. สถานศึกษามีการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางาน นาผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในไปใชใ้ นการวางแผนและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอย่างต่อเน่อื ง

3. สถานศึกษามีการบริหารอัตรากาลังและทรัพยากรทาการศึกษาให้เกิดคุณภาพสูงสุดการจัดสรร
งบประมาณตามแผนปฏิบัติการโรงเรียนก่อให้เกิดงานตามกิจกรรม/งาน/โครงการ ท่ีมีผลการดาเนินงาน
ครอบคลุมทุกตัวช้ีวัด มีการรายงานผลตามวงจรคุณภาพ(Deming cycle) ผลลัพธ์สูงกว่าเป้าหมายและมี
แนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเน่ืองทุกโครงการนอกจากน้ีโรงเรียนยังได้รับการส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วมจาก
ผู้ปกครองและชุมชน ให้โรงเรียนมีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการศึกษานอกจากงบประมาณรายได้ เป็นเงิน
นอกงบประมาณท่ีเพิ่มขึน้ อย่างต่อเน่ืองถือเป็นตัวชี้วัดความม่ันคง แข็งแกร่งทางการเงินของโรงเรียนได้อีกทาง
หนึง่

4. สถานศึกษาจัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและครอบคลุมถงึ ผู้เรยี นทุกคน
5. สถานศกึ ษามกี ารนเิ ทศภายใน กากับติดตามตรวจสอบและนาข้อมูลมาใชใ้ นการพัฒนา

๙๐

6. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน บุคลากรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ
วางแผน ปรบั ปรุงพัฒนาการศกึ ษาและร่วมรับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา
3. จุดเด่น

- โรงเรียนตากพิทยาคมมีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ SPSS DSA Model และมีการพัฒนา
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ส่งผลให้ไดร้ บั รางวัลท่เี ก่ียวขอ้ งกับระบบการบริหารจานวนมาก

- โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการทเี่ ปน็ ระบบ มขี ั้นตอนทีช่ ดั เจน

๔. จุดควรพัฒนา
ควรศึกษาผลลัพธแ์ ละพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ ให้ความรเู้ กี่ยวกบั ระบบบริหารจดั การกับครูรนุ่

ใหม่

๙๑

ประเดน็ ที่ 1๓

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๓ ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทุก

กลุม่ เปา้ หมาย
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพฒั นา

ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย
ของโรงเรียนตากพิทยาคม โดยใช้รูปแบบ SPSS DSA Model

๙๒

การดาเนนิ งานของรปู แบบ ในการจัดระบบกลไกการดาเนินงานดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคณุ ภาพ

ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมายของรูปแบบการบริหารสถานศึกษา โดยบูรณา

การหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนตากพทิ ยาคม โดยใช้รูปแบบ SPSS-DSA มีขัน้ ตอน และวิธีการ

ตามรายละเอยี ดต่อไปน้ี

1. การวเิ คราะห์สภาพองค์กร (ตวั ย่อ S : SWOT analysis)สาหรับข้นั ตอนการวิเคราะห์
สภาพองค์กรนั้น รูปแบบ SPSS-DSA ได้นาขน้ั ตอนการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SWOT Analysis ซ่ึงเป็นรูปแบบ
การวิเคราะห์บริบทโรงเรียนตากพิทยาคม ทบทวน วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560 หลักสูตรสถานศึกษา/โรงเรียนมาตรฐานสากล
หลักสูตรท้องถิ่นทบทวน วิเคราะห์สภาพ ปัญหา จุดเน้น ความต้องการของชุมชนและสถานศึกษาวิเคราะห์
เปรียบเทยี บผลการดาเนินงานทผ่ี ่านมา

2. การวางแผน (ตัวย่อ P:Plan)เมื่อได้วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียแล้ว ฝ่ายวิชาการจะดาเนินการวางแผนการทางาน เพ่ือให้การทางานเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล โดยขั้นตอนการวางแผนนั้นได้มีการกาหนดมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนตามตัวชี้วัด/มาตรฐาน/
เป้าหมายมาตรฐานสากลประสานการเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวชี้วัดมาตรฐาน/เป้าหมายมาตรฐานสากลและ
จัดทาข้อเสนอเพ่ือใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดกิจกรรม/โครงการ/งานเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและต้อง
สอดคล้องกับเง่ือนไข 2 ประการคือหลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (ตัวย่อ S: School-Based
Management) และหลักการบริหารโดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ตัวยอ่ S : Sufficiency
Economy Philosophy Management)

3. ร่วมทาร่วมปฏิบัติ (ตัวย่อ D : Do) การลงมือทา ปฏิบัติ ตามแผนทีก่ าหนดไว้ มุ่งเน้นประโยชน์
ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งน้ีควรดาเนินการโดยใช้ TEPS Frameworkเป็นกรอบพิจารณาใน
กระบวนการทางาน

4. ศึกษาผลการดาเนินการ (ตัวย่อ S: Study) เมื่อดาเนินงานโครงการกิจกรรมใดเสร็จส้ินเป็นท่ี
เรียบร้อยแล้ว ทาการประเมินสภาพจริง/ ประเมินโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์วิเคราะห์ข้อมูลผลการ
ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการสารวจความพึงพอใจนกั เรยี น/ผปู้ กครอง/ชมุ ชน ทาการวจิ ัย เพอื่ พัฒนาการเรยี นรู้
และประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษาโดยควรพิจารณาตามรปู แบบการประเมนิ TAKS Model มรี ายละเอยี ดคือ

1. T : Targetมีเป้าหมายสนองแผนกลยุทธ์
2. A : Achievement การบรรลเุ ป้าหมาย
3. K : Knowledge การสร้างองคค์ วามรู้
4. S : System การทางานอย่างเป็นระบบ
5. การพัฒนาปรับปรุง (ตัวย่อ A :Act) นาผลการประเมินการปฏิบัติงานมาเป็นข้อมูล
สารสนเทศใช้ในการประกอบการตัดสนิ ใจเร่ืองต่าง ๆ เมือ่ พบข้อบกพรอ่ งของผลงาน แล้วนาไปปรับปรุงพัฒนา
ใหด้ ีข้นึ


Click to View FlipBook Version