The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasan197152, 2020-06-24 04:52:34

SAR 2562

SAR 2562

๙๓

2. ผลการดาเนินงาน
(1) สถานศกึ ษาบริหารจัดการเกย่ี วกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตรกจิ กรรมเสริมหลักสตู รท่ี

เนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้าน
(2) สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาและมกี ารจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา

พร้อมทง้ั ประเมนิ ผลการใช้และปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
(3) สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรเชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย หมายรวมถึง

การจัดการเรยี นการสอนของกลุ่มทีเ่ รียนแบบควบรวมหรือกลุ่มทีเรยี นรว่ มด้วยสร้างและขยายเครอื ขา่ ยของครู
ในด้านการจดั การเรยี นการสอนกบั หนว่ ยงานต่างๆท่เี ก่ียวขอ้ ง

3. จดุ เด่น
มนี วัตกรรมที่หลากหลายตอบสนองต่อความตอ้ งการของผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนได้ตรงต่อความถนัด

และความสามารถของผ้เู รยี น

4. จดุ ควรพัฒนา
ควรปรับหลักสูตรโครงสร้างการเรียนในแผนการเรียนที่มีจานวนหน่วยกิตเกินกาหนดโครงสร้างของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๙๔

ประเดน็ ท่ี 14

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชียวชาญทางวิชาชีพ

ระดบั คุณภาพ : ดีเยย่ี ม

1. กระบวนการพฒั นา

1. โรงเรียนตากพิทยาคมได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วยงานคุณภาพ แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนเข้ารับการอบรมสัมมนาประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ
พฒั นาพฒั นาวชิ าชีพไม่นอ้ ยกว่า 20 ชั่วโมงตอ่ ปี

โรงเรียนตากพิทยาคมได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วยระบบงานคุณภาพ มีแนวทางพัฒนา
สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน จัดทาแผนพัฒนาตนเองโดย ครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษาส่ง ID Plan ครบทกุ คน

เพอื่ ให้ทุกคนได้กาหนดการอบรมพฒั นาตนเองตลอดเวลา
จากการเขียน ID Plan ของครูบุคลากรทางการศึกษาจึงส่งผลให้ครู ได้เข้ารับการอบรมตาม
กระบวนการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบ
2. โรงเรียนตากพิทยาคม ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครูทกุ คนเข้ารับการอบรมตามโครงการคปู องครู
เพื่อพัฒนาวิชาชีพไมน่ อ้ ยกว่า 12 - 20 ช่ัวโมงตอ่ ปี
3. โรงเรียนตากพิทยาคมสง่ เสริมสนับสนุนให้ครูบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ คน จัดกจิ กรรมชุมชน

การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพอ่ื พฒั นางานไมน่ ้อยกวา่ 50 ชั่วโมงต่อปี เริ่มมีการจัดกิจกรรม PLC ต้งั แต่

ปกี ารศกึ ษา 256๒

4. โรงเรียนตากพทิ ยาคม สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคนใหม้ ีเล่ือน
วทิ ยฐานให้สงู ข้นึ

5. โรงเรียนตากพิทยาคม มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูมกี ารศกึ ษาวิจยั และพฒั นาการจดั การเรียนรใู้ น
รายวชิ ามีความรบี ผดิ ชอบและใชผ้ ลในการปรับการเรียนการสอน

2. ผลการพัฒนา

1. โรงเรียนตากพิทยาคมได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วยงานคุณภาพ แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนเข้ารับการอบรมสัมมนาประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ
พฒั นาพฒั นาวชิ าชีพไมน่ ้อยกว่า 20 ช่วั โมงตอ่ ปี

โรงเรียนตากพิทยาคมได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วยระบบงานคุณภาพ มีแนวทางพัฒนา

สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน จัดทาแผนพฒั นาตนเองโดย ครแู ละบุคลากรทางการ

ศึกษาสง่ ID Plan ครบทกุ คนเพอ่ื ใหท้ กุ คนไดก้ าหนดการอบรมพัฒนาตนเองตลอดเวลา

จากการเขียนID Plan ของครูบุคลากรทางการศึกษาจึงส่งผลให้ครู ได้เข้ารับการอบรมตาม

กระบวนการพฒั นาอย่างเป็นระบบ

ปีการศกึ ษา 2560 โรงเรยี นมกี ารพัฒนาส่งเสริมสนับสนนุ ใหค้ รูไดร้ ับการพฒั นาความรู้และสมรรถนะ

ของครูดงั น้ี

ผู้บริหาร จานวน 5 ราย ได้รับการพฒั นา 5 ราย คดิ เปน็ 100%

ครปู ระจาการ จานวน 132 ราย ได้รบั การพัฒนา 132 ราย คดิ เปน็ 100%

๙๕

ครมู าช่วยราชการ จานวน 3 ราย ได้รบั การพัฒนา 3 ราย คิดเป็น 100%

พนกั งานราชการ จานวน 5 ราย ไดร้ บั การพฒั นา 5 ราย คดิ เป็น 100%

ครูชว่ ยสอนชาวไทย จานวน 2 ราย ได้รับการพฒั นา 2 ราย คดิ เปน็ 100%

ครูช่วยสอนชาวต่างชาติ จานวน 11 ราย ได้รบั การพัฒนา 11 ราย คดิ เปน็ 100%

ปีการศกึ ษา 2561 โรงเรียนมีการพฒั นาส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะ

ของครูดังนี้

ผู้บริหาร จานวน 5 ราย ได้รบั การพฒั นา 5 ราย คดิ เป็น 100%

ครูประจาการ จานวน 133 ราย ได้รับการพัฒนา 133 ราย คิดเปน็ 100%

พนักงานราชการ จานวน 5 ราย ไดร้ บั การพัฒนา 5 ราย คิดเปน็ 100%

ครูชว่ ยสอนชาวไทย จานวน 2 ราย ได้รบั การพฒั นา 2 ราย คิดเป็น 100%

ครชู ่วยสอนชาวต่างชาติ จานวน 13 ราย ได้รบั การพฒั นา 13ราย คิดเป็น 100%

ปีการศกึ ษา 2562 โรงเรียนมกี ารพัฒนาส่งเสริมสนบั สนุนให้ครูได้รบั การพัฒนาความรแู้ ละสมรรถนะ

ของครูดังนี้

ผูบ้ ริหาร จานวน 4 ราย ไดร้ บั การพฒั นา 4 ราย คดิ เปน็ 100%

ครูประจาการ จานวน 133 ราย ไดร้ ับการพัฒนา 133 ราย คดิ เป็น 100%

ครูมาชว่ ยราชการ จานวน 1 ราย ไดร้ บั การพัฒนา 1 ราย คิดเป็น 100%

พนักงานราชการ จานวน 3ราย ได้รบั การพฒั นา 3 ราย คดิ เป็น 100%

ครชู ่วยสอนชาวไทย จานวน 3 ราย ไดร้ ับการพฒั นา 3 ราย คดิ เปน็ 100%

ครชู ว่ ยสอนชาวตา่ งชาติ จานวน 10 ราย ไดร้ ับการพัฒนา 10 ราย คิดเปน็ 100%

2. โรงเรียนตากพิทยาคม ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนเข้ารับการอบรมตามโครงการคูปองครูเพื่อ

พฒั นาวิชาชพี ไมน่ ้อยกว่า 12 - 20 ช่วั โมงตอ่ ปี

ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนตากพิทยาคมส่งเสริมสนับสนุนโดยให้มีครูบุคลากรทางการศึกษาของ

โรงเรียนเข้ารับการอบรม จานวน 8 ราย จากจานวนครูบุคลากรทางการศึกษา 134 ราย ไม่รวมผู้บริหาร

พนกั งานราชการ ครูช่วยสอนชาวไทย คิดเป็นรอ้ ยละ 5.97%

ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนตากพิทยาคมส่งเสริมสนับสนุนโดยให้มีครูบุคลากรทางการศึกษาของ

โรงเรียนเข้ารับการอบรม จานวน 106 ราย จากจานวนครูบุคลากรทางการศึกษา 133 ราย ไม่รวมผู้บริหาร

พนักงานราชการ ครูชว่ ยสอนชาวไทย คิดเป็นรอ้ ยละ 79.70%

ปีการศึกษา 256๒ กระทรวงศึกษาธิการงดอบรมครูปองครู ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา

ลงทะเบียนอบรมดว้ ยระบบออนไลน์ด้วยตนเอง

3. โรงเรียนตากพิทยาคมส่งเสริมสนับสนุนให้ครูบุคลากรทางการศึกษาทุกคน จัดกิจกรรมชุมชนการ

เรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพ่ือพฒั นางานไมน่ อ้ ยกวา่ 50 ช่ัวโมงต่อปี เริ่มมกี ารจัดกจิ กรรม PLC ต้งั แต่

ปีการศกึ ษา 2561

ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนตากพิทยาคม มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางได้มีการจัด

กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุกคน โดยระบบในตารางสอนให้ครูได้มีการจัดกิจกรรม

แลกเปล่ยี นเรียนรคู้ รบ 100%

๙๖

ปีการศกึ ษา 2562 โรงเรียนตากพิทยาคม มีการส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาได้

มีการจัดกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุกคน โดยระบบในตารางสอนให้ครูได้มีการจัดกิจกรรม

แลกเปล่ียนเรยี นร้คู รบ 100%

4. โรงเรียนตากพิทยาคม ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนให้มีเล่ือนวิทยฐาน

ใหส้ ูงข้นึ

ปกี ารศกึ ษา 2560

วทิ ยฐานชานาญการเชียวชาญ จานวน 0 ราย

วิทยฐานชานาญการพิเศษ จานวน 33 ราย

วทิ ยฐานชานาญการ จานวน 59 ราย

ครู ค.ศ.1 จานวน 19 ราย

ครูผชู้ ่วย จานวน 12 ราย

ปกี ารศกึ ษา 2561

วิทยฐานชานาญการเชียวชาญ จานวน 0 ราย

วทิ ยฐานชานาญการพเิ ศษ จานวน 40 ราย

วทิ ยฐานชานาญการ จานวน 56 ราย

ครู ค.ศ.1 จานวน 28 ราย

ครผู ้ชู ่วย จานวน 12 ราย

ปกี ารศึกษา 2562

วทิ ยฐานชานาญการเชยี วชาญ จานวน 0 ราย

วทิ ยฐานชานาญการพิเศษ จานวน 40 ราย

วิทยฐานชานาญการ จานวน 56 ราย

ครู ค.ศ.1 จานวน 28 ราย

ครูผู้ช่วย จานวน 12 ราย

5. โรงเรียนตากพิทยาคม มีการส่งเสรมิ สนับสนุนใหค้ รูมีการศกึ ษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรูใ้ น

รายวชิ ามคี วามรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการเรยี นการสอน

ปีการศึกษา 2560มีครูจานวน 142ราย โดยมีครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดทาวิจัยใน

การจัดการเรยี นการสอน จานวน 113 คดิ เปน็ ร้อยละ 81

ปกี ารศกึ ษา 2561มีครู140ราย โดยมคี รูและบคุ ลากรทางการศึกษาจดั ทาวิจยั ใน

การจดั การเรยี นการสอน จานวน 100 คิดเป็นรอ้ ยละ 73.53

ปีการศกึ ษา 2562มีครจู านวน 140ราย โดยมคี รแู ละบุคลากรทางการศึกษาจดั ทาวิจัย

ในการจดั การเรียนการสอน จานวน 111 คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.62

3. จุดเดน่

ครูที่ได้รับการอบรมสามารถนามาพฒั นาด้านการเรียนการสอน ให้เดก็ เข้าใจได้ง่าย และสามารถนามา

พฒั นาดา้ นการขอเพิ่มวทิ ยฐานะให้สูงขึน้ ได้ ทาให้กา้ วหนา้ ในการประกอบอาชพี ในภายภาคหน้า

4. จุดควรพัฒนา

ครูบางรายอาจจะไดร้ ับการอบรมไมต่ รงกับสายงานของตนเอง จึงไม่สามารถนามาต่อยอดในการ

พัฒนาให้ไดผ้ ลดี

๙๗

พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชยี วชาญทางวชิ าชพี
โดยใชร้ ูปแบบ SPSS-DSA

S: Sufficiency Economy S : SWOT S: School Based
Philosophy Management 1.มีการวิเคราะห์แผนพัฒนาตนเพื่อให้ไดร้ ับความรู้ Management
ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้เป็น
(SEPM) ระบบ2.เพมิ่ ประสิทธภิ าพกระบวนการจัดการเรียน (SBM)
การสอน
ครูใช้ทรัพยากรของโรงเรยี นโดยใช้ ครูพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี น
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ โดยใช้ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ของคณะครู การสอนของครูโดยครูเขา้ รบั การ
พอเพียง
P : Plan อบรมอย่างเปน็ ระบบ

-ก่าหนดการจัดอบรมครูและบุคลากรทางศึกษาได้รับ

ความรู้

-จั ด อ บ ร ม ค ณ ะ ค รู บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ให้ ได้ รั บ

ความรู้ในเรื่องเกย่ี วกบั การจัดการเรยี นการสอน

D : DO

-โรงเรียนก่าหนดให้ครจู ัดท่า Id plan เพ่ือพัฒนา
เกีย่ วกบั การอบรม

S : Study

- ส่งรายงานการเข้าอบรม

พฒั นาอย่างต่อเน่ือง ผา่ น A : Act ไม่ผา่ น ปรบั ปรงุ
สูค่ วามเป็นเลศิ ใหม้ ีความเหมาะสม
8. วเิ คราะห์ผลสา่ เรจ็ ของงาน
การอบรมพัฒนาตนเอง

๙๘

ประเดน็ ที่ 15

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้

ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนตากพิทยาคมได้จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญตามพระราชบญั ญัติ

การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็ม

ศกั ยภาพความพร้อมดา้ นส่อื อปุ กรณ์ สภาพห้องเรียน ระบบสาธารณูปโภค สภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ในโรงเรยี น

มีส่วนสาคัญท่ีเอื้อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ทาให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ มีร่างกายที่แข็งแรง

และมีจิตใจร่าเริงแจ่มใส โรงเรียนมีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ

สงั คมทเี่ ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพโดยยึดหลกั การบรหิ ารสถานศึกษา ภายใต้รูปแบบ SPSS –DSA

(SPSS–DSA Model)บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้สอดคล้องกับบริบทโรงเรียนเพ่ือให้เกิด

การพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน เหมาะสมการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นดงั น้ี

1.1 การวเิ คราะหส์ ภาพองค์กร (ตัวย่อ S : SWOT analysis) มกี ารวเิ คราะหส์ ภาพองคก์ ร ด้าน
อาคารสถานท่ีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โดยใน
การบริหารงาน จะต้องมีการจัดประชุมครู บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันสารวจ วิเคราะห์ สภาพปัญหาและ
ความต้องการของสถานศึกษา กาหนดเป้าหมายจัดทาโครงการ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการวางแผนบริหาร
จัดการด้านอาคารสถานท่ี โดยดาเนินงานในรูปแบบของคณะกรรมการบริหารงานด้านอาคารสถานท่ีและ
สง่ิ แวดล้อม มงุ่ สู่ความสาเร็จตามเปา้ หมาย โดยมผี บู้ รหิ ารสถานศึกษาเป็นผูม้ ีสว่ นรับผิดชอบท่สี าคัญทสี่ ุด

1.2 การวางแผน (ตัวย่อ P : Plan) เมื่อมีการวเิ คราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ
ด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมทางกายภาพจึงดาเนินการวางแผนการทางาน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล โดยขั้นตอนการวางแผนนั้นมีกระบวนการดาเนินงานภายใต้กระบวนการบริหารงานด้วย
ระบบคุณภาพ โดยการจัดทาแผน/โครงการ ได้แก่โครงการพัฒนาอาคารน่าใช้ โรงเรียนน่าอยู่ ปรับปรุงภูมิ
ทัศน์และระบบสาธารณูปโภค โครงการปรับปรุงซ่อมแซมแต่งต้ังคณะกรรมการรับผิดชอบในการดาเนินงาน
แต่ละโครงการ ตามความเหมาะสมตามความสามารถและความถนัดของแต่ละบุคคลเพื่อแก้ไข ปรับปรุง
พัฒนา โดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนรับผิดชอบในการประสานงาน การกากับดูแล และการช่วยเหลือสนับสนุน โดย
จะต้องยึดหลักการในการทางานเรื่องน้ัน ๆ ว่าจะมีอะไรบ้าง มีแนวทางการดาเนินงานอย่างไร มีการกาหนด
เกณฑ์ในการดาเนินงานอย่างไร จัดลาดับความสาคัญของเป้าหมายให้สาเร็จภายในเวลาท่ีกาหนด โดยในการ
กาหนดแนวทางในการดาเนินการน้ันจะต้องมีการพิจารณา/วิเคราะห์ ความเป็นไปได้ และต้องสอดคล้องกับ
เง่ือนไข 2 ประการคือ

1.2.1 หลักการบริหารจัดการโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน (ตวั ย่อ S: School-Based
Management)

ในการบริหารงานด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมจะต้องพิจารณาถึง
ความมสี ่วนร่วมในการบริหารงานกับบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง โดยยึดหลักการ 4 ประการ คือ หลกั กระจายอานาจ
(Decentralization) หลักการบริหารตนเอง (Self-Management) หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม
(Participation) และหลกั การความรับผดิ ชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability)

๙๙

๑.๒.๒ หลกั การบริหารโดยบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ตวั ยอ่ S :
Sufficiency Economy Philosophy Management) ก า ร ด า เนิ น งา น ด้ า น อ า ค าร ส ถ า น ท่ี แ ล ะ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพจะต้องพิจารณาถึงแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการวางแผนและ
ดาเนินการ ประกอบด้วย หลักการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข คือ หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล และ
หลักการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี บนเงื่อนไขความรู้คู่คุณธรรมเน้นการบริหารแบบกัลยาณมิตร เน้นการประหยัด
และพอเพยี งการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ต้องให้เกิดคุ้มคา่ และเกิดประโยชนต์ ่อโรงเรียนและผู้เรยี นมากท่ีสดุ

1.3 ร่วมทาร่วมปฏิบัติ (ตัวย่อ D : Do) การลงมือทา ปฏิบัติ ตามแผนที่กาหนดไว้ มุ่งเน้น
ประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งนี้ควรดาเนินการโดยใช้ TEPS Framework เป็นกรอบพิจารณาใน
กระบวนการทางานประกอบดว้ ย

1.3.1 T : Teamwork (การทางานเป็นทีม) มีบรรยากาศในการทางานรว่ มกนั แบบเปดิ

ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้บคุ ลากรทุกคนทางานอยา่ งมีความสขุ มุ่งสคู่ วามสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
1.3.2 E : Expertise (สรา้ งผเู้ ชี่ยวชาญ) จดั สงิ่ อานวยความสะดวก สนับสนนุ ทรพั ยากร

เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ท่ีมี
ความเชี่ยวชาญ โดดเด่น หรือมีทักษะระดับสงู ในเร่ืองนัน้ ๆ

1.3.3 P : Participative (การดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม) กระจายอานาจการทางานให้
ครู บุคลากรได้มีโอกาสเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางาน เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมใน
การดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรม

1.3.4 S : Self-evaluation (การประเมนิ ตนเองอยเู่ สมอ) มีการกากบั ตดิ ตามการ
ปฏิบัตงิ าน ประเมินผลการปฏิบตั ิงานในขณะดาเนินงานอยูเ่ สมอ มองเห็นจดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส และอปุ สรรค
ทเ่ี กิดข้ึนในระหว่างปฏิบัตงิ านเพอ่ื ใหด้ าเนินงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๑.๔ ศกึ ษาผลการดาเนินการ (ตวั ยอ่ S: Study) เมือ่ ดาเนนิ งานโครงการกิจกรรมใดเสรจ็ สน้ิ เป็นที่
เรียบร้อยแล้ว มีการวัด ประเมินผล วิเคราะห์ผลการดาเนินงานโดยพิจารณาถึงความสาเร็จที่ต้ังเป้าหมายไว้
ท้ังเป้าหมายเชิงปริมาณ และเป้าหมายเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ผลการดาเนินงานว่าประสบความสาเร็จตาม
วตั ถุประสงค์มากน้อยเพียงใด เพื่อนาการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนา ตามรูปแบบ
การประเมนิ TAKS Model ดงั น้ี

1.4.1 T : Target มีเป้าหมายในการทางานชัดเจน
1.4.2 A : Achievement การบรรลุเป้าหมายมีการเชื่อมโยงกับแผน/โครงการ

วัตถปุ ระสงค์
1.4.3 K : Knowledge การสร้างองค์ความรู้เกดิ การเรียนรูจ้ ากการทากิจกรรม
1.4.4 S : System การทางานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผนสู่การปฏิบัติ
1.5 การพัฒนาปรับปรุง (ตวั ย่อ A :Act)

๑๐๐

หลังจากการดาเนนิ งานตามแผน/โครงการ ดา้ นอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมทางกายภาพแล้ว ครู
บคุ ลากร ผรู้ ับผิดชอบ นาข้อมูลผลการดาเนนิ งานมาวิเคราะห์ในส่วนท่ีบกพร่องได้นาไปวางแผนปรับปรุง
พฒั นาในระยะต่อไป

๒. ผลการดาเนินงาน

(1) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนและสภาพแวดล้อม
ทางสังคมท่เี ออื้ ต่อการจัดการเรียนรู้

(2) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนและสภาพแวดล้อม
ทางสังคมท่ีมีความปลอดภยั

(3) สถานศึกษาจัดให้มีห้องปฏิบัติการ(ห้องพิเศษ) ต่างๆ เช่น ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องสมุด
ห้องพยาบาล ทเ่ี อ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ดา้ นการจัดสภาพแวดล้อมและสังคมทเี่ อ้อื ต่อการจัดการเรียนรอู้ ย่างมี
คุณภาพ

ผลการบริหารงานด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม โรงเรียนตากพิทยาคม ภายใต้รปู แบบ SPSS
–DSA MODEL ส่งผลให้บริเวณโดยรอบโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่รม่ รืน่ อาคารเรียน และสถานท่ที กุ แห่งเช่น
อาคารเรียน ห้องเรียน ห้องสุขาชาย สุขาหญิง อยู่ในสภาพที่ม่ันคง แข็งแรง ปลอดภัย น่าใช้และรองรับ
จานวนนักเรียนท่ีมีจานวนมากอย่างเพียงพอ ห้องประชุม ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ สภาพบริเวณภายในโรงเรยี น
ส่วนหย่อม สนามกีฬา มีความสะอาด ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย อาคารต่าง ๆมีความม่ันคงแข็งแรง และ มี
การสรา้ งสถานทพ่ี ักผ่อนเพ่ือใหน้ ักเรียนได้มีสถานที่พักผอ่ น อ่านหนังสอื ทากิจกรรมต่าง จัดสถานที่ให้นกั เรียน
ได้ทากิจกรรมเหมาะสมทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม มีการปรับปรงุ โรงอาหารท่ีถูกสุขลกั ษณะมีการตรวจสอบ
คุณภาพอาหารจากหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง

อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกประจาอาคารเช่นโต๊ะ เก้าอ้ี ป้ายนิเทศ อุปกรณ์ไฟฟ้า รอบ
บริเวณหรือมุมต่าง ๆ อยู่ในสภาพดี ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอ มีระบบการซ่อมบารุงและดูแลรักษา
อยา่ งเหมาะสม ทันต่อเหตกุ ารณ์ มรี ะบบสาธารณูปโภค เชน่ ไฟฟ้า น้าประปา อยใู่ นสภาพใช้การได้ดี
ปลอดภยั มีระบบการป้องกันอันตรายทีเ่ ตรียมพร้อมนามาใช้การได้ตลอดเวลา

๓. จดุ เดน่
- โรงเรียนใหก้ ารสนบั สนุนส่ือ วสั ดุอุปกรณ์ ห้องเรียน และห้องปฏิบัติการต่างๆ

๔. จุดควรพฒั นา
- งบประมาณการบรหิ ารงานยงั ไม่เพยี งพอ
- เจา้ หน้าท่แี ละคนงานไมเ่ พยี งพอ

๑๐๑

มกี ารจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
โดยใชร้ ูปแบบ SPSS-DSA

S : SWOT

วเิ คราะห์สภาพปัญหา/ความต้องการดา้ น
อาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ ม

S: Sufficiency Economy P : Plan S: School Based
Philosophy Management Management
๑. ก่าหนดแผนการด่าเนินงาน/ โครงการ (SBM)
(SEPM) ๒. แต่งต้ังคณะกรรมการบรหิ ารงานด้านอาคารสถานท่ี
และสภาพแวดลอ้ ม การบริหางานด้านอาคารสถานท่ี
การบรหิ ารงานดา้ นอาคารสถานท่ี ๓. สง่ เสริม สนับสนนุ และประสานงาน สร้างความ และสภาพแวดลอ้ มโดยใชโ้ รงเรยี น
และสภาพแวดล้อมโดยใชห้ ลัก เขา้ ใจให้แก่คณะครแู ละบุคลากรและนกั เรียนในการมี
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ส่วนร่วมในการพฒั นา เป็นฐานแบบทุกคนมีส่วนร่วม

D : DO

๔. ดา่ เนนิ การขับเคลอ่ื นด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ ม
๕. พัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมตามแผน/

โครงการ
๖. ด่าเนินการปรับปรุง ซอ่ มแซม อาคารสถานทแี่ ละ

สภาพแวดล้อมให้อยูใ่ นสภาพที่พรอ้ มใชง้ าน

S : Study

7. นิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบ
( วดั ประเมิน ผลสาเรจ็ ของงาน
โดยใชร้ ปู แบบ TAKS Model)

พัฒนางานดา้ นอาคาร ผา่ น A : Act ไมผ่ า่ น ปรับปรงุ ปรับซ่อม
สถานท่ีและสภาพแวดล้อม ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้
ให้มปี ระสิทธิภาพอย่าง 8. วิเคราะหผ์ ลสาเร็จของงานดา้ นอาคารสถานที่
งานตามความเหมาะสม
ต่อเนื่อง และสภาพแวดลอ้ ม

๑๐๒

ประเด็นท่ี 16

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.6 จดั ระบบสารสนเทศเพอื่ สนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้

ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม
1. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนตากพิทยาคมเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษท่ีมีแหล่งข้อมูลมากมายหลายประเภทจึงต้องนา
โปรแกรมเข้ามาจัดการข้อมูลเพ่ือนาไปใช้ในการบริหาร จึงมีการจัดทาโครงการเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีท่ีใช้ใน
การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน โดยมีการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เพ่ือช่วยในการประหยัดทรพั ยากร โดยสามารถเลือกใช้ทรพั ยากรใหเ้ หมาะสมกบั ข้อมลู สารสนเทศ
เปน็ การรวบรวมข้อมูลเพอื่ จัดทาระบบสารสนเทศและเผยแพร่เปน็ สาธารณะ พบว่ามีการจัดทาข้อมลู อยา่ งเป็น
ระบบช่วยให้ได้สารสนเทศที่นามาใช้ตัดสนิ ใจ เพื่อบริหารจัดการและสามารถเข้าถึงได้ง่าย จากการดาเนินงาน
สามารถนามาพัฒนาปรับปรุง การเพิ่มขอ้ มูลเพ่อื ให้ไดส้ ารสนเทศทีต่ รงตามความต้องการ
2. ผลการพัฒนา

2.1. ผู้บริหารสามารถนาสารสนเทศที่ได้ไปใช้ในการวางแผน ตดั สินใจ และแกป้ ัญหา ในการบริหาร
จัดการโรงเรียน

2.2. ครูสามารถนาสารสนเทศไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการจดั การชั้นเรียนให้เป็นไปด้วย
ความรวดเร็ว

2.3. นกั เรียนและผู้ปกครองสามารถเขา้ ถึงและรบั ทราบผลการเรียนและการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ภายใน
โรงเรียน ตลอดจนสามารถสะท้อนข้อมลู กลับได้อย่างเปน็ ระบบ

3. จุดเด่น
3.1. ระบบ 21ess มคี วามหลากหลายในการทางาน ซ่ึงทาใหส้ ามารถจัดการเรยี นการสอนได้อย่างเป็น
ระบบ ต่อเนื่อง และชดั เจน

4. จุดที่ควรพัฒนา
4.1. การเขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมลู ทีส่ ะดวกรวดเร็ว

4.2. สารสนเทศทแ่ี สดงผลบางเรื่องยากในการเขา้ ถึง

๑๐๓

ประเดน็ ที่ 17
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ

๓.๑ จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้
ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม
กระบวนการดาเนินการ

โรงเรียนตากพิทยาคมดาเนินการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจดั การเรียนรู้แบบ
Active learning ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้ ซ่ึงใชร้ ูปแบบ
การบริหารจัดการแบบ SPSS-DSA

๑๐๔

1. กระบวนการพฒั นา
1.1 S:SWOT วิเคราะห์ระบบภายในและภายนอกของโรงเรียน วิเคราะห์บรบิ ทของโรงเรยี น ทบทวน

วเิ คราะห์หลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรียน/โรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนตากพิทยาคมไดด้ าเนินการบรหิ าร
หลักสตู ร โดยมีการทางานร่วมกันมุง่ สู่ความสาเร็จตามเป้าหมาย มีคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงาน
วชิ าการ มีการประชุมคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน นักเรยี น ร่วมกันวิเคราะห์
หลกั สูตรโดยกระบวนการ SWOT หาจดุ แขง็ จุดอ่อนเพื่อนามาพัฒนาวางแผนปรับปรุงหลกั สตู รให้มคี วาม
เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรยี น และท้องถ่ิน วเิ คราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายบคุ คล

P:Planออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ในการจัดทาหลักสูตร ครูทุกคน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ร่วมกันวิเคราะห์มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ตัวช้ีวัด จัดทาหลักสูตรเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ครู
วางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ วางแผนในการผลิตสื่อ นาเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
กรรมการบริหารวิชาการร่วมกันวางแผนในการพัฒนาบุคลากรให้ตรงสายงาน คณะกรรมการนิเทศวางแผนใน
การนิเทศการจัดการเรียนรู้

โรงเรียนตากพิทยาคม มีกลไกท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนจบการศึกษาอย่างมี
คุณภาพตามหลักสตู รดังน้ี

1) ใช้นวัตกรรมโครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล
6 นวัตกรรมโครงการตามความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนนักเรียนทุกระดับชั้นได้เรียน
ภาษาอังกฤษรวมทั้งเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษซึ่งสอนโดยชาวต่างชาติ หรือเพ่ิม
รายวิชาเพิ่มเติมตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล เป็นวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1)
วิชาการส่ือสารและการนาเสนอ (IS2) วิชาการนาองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (IS3) มีการจัดสาระเพิ่มเติม
อาเซยี นศึกษาในกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

1) การจดั ทาหน่วยการเรยี นรบู้ ูรณาการหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่ือมุ่งส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักเรียนทุกกลุ่มตามความ
แตกต่างของบคุ คลอยา่ งเทา่ กันเทียมกัน

2) มีส่ือการเรียนรู้ครบถ้วนทั้งด้าน ICT ด้านวัสดุอุปกรณ์สถานท่ี แหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและ
ภายนอกโรงเรียน

3) มีวางแผนการบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
4) มกี ารกาหนดระเบียบการวัด และประเมินผลไวอ้ ยา่ งชดั เจน
S: Sufficiency Economy Philosophy (SEP)ในการดาเนนิ งานทุกข้ันตอนครูและบุคลากรใน
โรงเรียนทกุ คนบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งลงในการวางแผนและการจัดการเรยี นร้แู ละในทุก
งาน
S: School-based Management (SBM) การบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน ทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ น
รว่ มในการวางแผน
D:Do การจัดการเรยี นรู้
- ครจู ัดการเรยี นรโู้ ดยเน้นนักเรยี นเปน็ สาคัญ จดั การเรียนรู้แบบActive Learning เนน้ การพฒั นา
ทกั ษะการคิดการปฏิบัติจริงสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้
- บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- จดั กระบวนการเรียนรู้ตามความแตกตา่ ง และความสามารถรายบุคคลของนักเรยี น

๑๐๕

- จดั การเรยี นรู้ในรูปแบบโครงงาน STEM STEAM
S: Study วดั ผล/วเิ คราะห์/ประเมนิ ผล
- ประเมนิ สภาพจรงิ โดยใช้เครื่องมือตา่ งๆที่หลากหลาย
- แลกเปล่ียนเรยี นรู้ (PLC)
- วเิ คราะห์ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
- ผลการสารวจความพึงพอใจนักเรยี น/ผู้ปกครอง/ชมุ ชน - ทาการวจิ ัย เพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้
มกี ารตรวจสอบโดยใช้ TAKS MODEL
T : Target มเี ป้าหมายในการทางานชดั เจน
A : Achievementบรรลุเป้าหมายสอดคล้องเช่ือมโยงกับแผนงานพันธกิจ เปา้ ประสงค์
K : Knowledgeเกิดการเรยี นรู้จากการทากจิ กรรม
S : Systematicการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารวางแผนสู่ การปฏบิ ัติ
A:Actนาผลการประเมินปรบั ปรงุ และพัฒนาอย่างเปน็ ระบบตอ่ เน่ือง
โรงเรียนตากพิทยาคมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยอิงมาตรฐานและ
ตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุธศักราช 2551 เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน
ลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) อย่างหลากหลายเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและ
ปฏิบัตจิ ริง มีแผนการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ามารถนาไปจดั กิจกรรมได้จริงมรี ูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสาหรับผู้
ท่ีมีความจาเป็นและต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น
สรปุ องค์ความรู้ นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ใช้ในชวี ิตได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้และ
มีการเผยแพร่
2. ผลการพัฒนา
(1) ครรู ้อยละ 100 วิเคราะหข์ ้อมลู ผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลและนาผลจากการวิเคราะหม์ าใช้ในการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้
(2) ครรู ้อยละ 90 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐาน ตวั ช้ีวดั ของหลักสูตรสถานศึกษาท่เี น้นให้
ผู้เรยี นเกิดกระบวนการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะหค์ ดิ สรา้ งสรรค์ ฯลฯ และการปฏิบตั จิ รงิ ผา่ นการทาโครงงาน/
กจิ กรรม/การฝกึ ปฏิบตั ใิ นสถานการณจ์ รงิ และนักเรยี นขยายความคิดนาไปใชช้ วี ติ ได้
(3) ครรู ้อยละ 100 จดั กิจกรรมการเรยี นรกู้ ารปฏิบัติจรงิ ผ่านการทาโครงงาน เชน่ โครงงาน IS ,
โครงงานคณุ ธรรม เป็นตน้
(4) ครูร้อยละ 100 จัดกจิ กรรมการเรียนร้กู ารปฏบิ ัติจริง ตัวอยา่ งเข่น Stem , STEAM3 เป็นตน้
(5) ครรู อ้ ยละ 100 จดั กจิ กรรมการฝึกปฏิบัติในสถานการณจ์ ริง และนักเรียนขยายความคิดนาไปใช้
ชวี ิตได้
3. จดุ เด่น
- โรงเรยี นสง่ เสริมใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศึกษาได้พัฒนาตนเองมีคณุ ธรรมจริยธรรมตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพมคี วามมุ่งม่ันและอทุ ิศตนในการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนอยา่ ง
หลากหลายสามารถใช้สอื่ เทคโนโลยีสกู่ ารเรยี นการสอนไดด้ ี
- ครูมีความเป็นมืออาชีพสามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามมาตรฐาน ตัวชว้ี ดั ของหลกั สูตรสถานศึกษา
และการปฏิบัตจิ ริงผ่านการทาโครงงาน/กิจกรรม/การฝึกปฏิบัตใิ นสถานการณ์จริง สง่ ผลให้นักเรียนมีผลการ
ทดสอบระดบั ชาตสิ งู กวา่ ระดับเขตพ้ืนที่และระดบั ประเทศ

๑๐๖

4. จุดทค่ี วรพฒั นา
การสรา้ งและขยายเครอื ขา่ ยของครใู นด้านการจัดการเรยี นการสอนกบั หน่วยงานต่างๆที่เก่ยี วขอ้ ง

๑๐๗

ประเด็นท่ี 18

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีและแหล่งเรยี นร้ทู ่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้

ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนตากพิทยาคมได้ดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี

การศึกษา 2561 กลยุทธ์นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด โดยการทาวิเคราะห์เพ่ือนาโครงการ แผนงานมา
ดาเนินการให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน โรงเรียนได้มีการดาเนินงานตามแผนงาน เพื่อหาแนวทางใน
การพัฒนาสถานศึกษาด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญโดยนาหลักการบริหาร
แบบ SPSS-DSA Model เขา้ มาใช้ในการดาเนนิ งาน

ได้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยครูได้ทาการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อให้รู้จักผู้เรียน
เป็นรายบุคคล เช่น การวิเคราะห์ผลจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ลีลาการเรียนรู้ ความถนัด ความสนใจ เพื่อ
นามาเป็นข้อมลู ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรใู้ นแผนการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน, โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School),
โครงงานคุณธรรม, โรงเรยี นสีเขียว, โครงการแขง่ ขันทักษะภายนอก ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จุดเน้น และ
เปา้ หมายการพฒั นาของโรงเรยี น

ครูได้ศึกษาองค์ความรู้ ทั้งหลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรสถานศึกษา จุดเน้นเชิงบูรณาการ ความรู้เชิง
เน้ือหา เทคนิคการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การจัดทาส่ือการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล จิตวิทยาในการสอน
และจิตวิทยาในวัยรุ่น เพ่ือนามาเป็นข้อมูลในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ตาม
บรบิ ทและศักยภาพของผู้เรียน

ครูได้รับการนิเทศการสอนท้ังส่วนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการสังเกตการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ในชั้นเรียน ทาให้ครูนาข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback) มาปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละ
วิธีการจดั กิจกรรมการเรยี นร้อู ยา่ งเปน็ ระบบตอ่ ไป

จากนั้นครูได้นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ไปใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาครูมคี วามสามารถในการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยอาศัย
การวิเคราะห์ผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล ทาให้ผู้เรียนไดร้ บั ความร้เู ต็มตามศกั ยภาพของผู้เรียนแต่ละคนนอกจากน้ยี ัง
มีการส่งเสริมใหค้ รูพัฒนาอบรมเพม่ิ พนู ความรู้และประสบการณ์อยู่เสมอ โดยบูรณาการกับโครงการตา่ งๆ ของ
โรงเรียน เช่น โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน, หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, โรงเรียนคุณธรรม,
โรงเรียนสเี ขยี ว เป็นต้น

เมื่อดาเนินการเสร็จส้ินมีการตรวจสอบ โดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบประเมินการควบคุม
ภายในดว้ ยตนเองของแต่ละโครงการกับTAKS model พบว่า

T เปา้ หมายชัดเจน สนองกลยทุ ธ์ของโรงเรียน
A บรรลเุ ปา้ หมายตามทีก่ าหนดไว้
K การสรา้ งองคค์ วามรู้
S มีการทางานอย่างเป็นระบบ มีการประชุม วางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ มีการดาเนินการตามแผน
สรุป อภิปรายผลและสรปุ และนาผลการพฒั นามาต้งั ค่าเป้าหมายให้อยใู่ นระดับท่ีสงู ข้นึ

๑๐๘

2. ผลการพฒั นา
1. ครูร้อยละ 85 ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนสอดคล้องกับสาระท่ีสอนสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนสนุกใน
การเรียนรู้
2. ครูทุกคนพัฒนาสื่อการสอน สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสอดคล้องกับสาระที่สอนสร้างแรงจูงใจให้
นักเรียนสนกุ ในการเรยี นร้คู นละไม่นอ้ ยกวา่ 2 ชนิ้ ต่อปี
3. ครูร้อยละ 85 ใชว้ ิทยากร ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ปราชญ์ในชุมชนสอดคลอ้ งกับสาระที่สอนสร้างแรงจงู ใจ
ให้นักเรยี นสนุกในการเรียนรู้
4. ครูทุกคน มีการสืบค้นข้อมูลและใช้แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา หรือจากส่ือออนไลน์ต่างๆเป็น
แนวทางใหน้ ักเรยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง

3.จดุ เดน่
- โรงเรียนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้พัฒนาตนเองมีคุณธรรมจริยธรรมตาม

จรรยาบรรณวิชาชีพมีความมุ่งม่ันและอุทิศตนในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนอย่าง
หลากหลายสามารถใช้ส่อื เทคโนโลยสี ู่การเรียนการสอนไดด้ ี

- ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
พัฒนาส่ือการสอน จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญพฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน
ของสถานศึกษาและส่งเสริมศักยภาพ ของผู้เรียนให้สูงขึ้นตลอดจนครูมีการวิเคราะห์นักเรี ยนและจัดท า
ผลงานวจิ ยั ในชน้ั เรียน

- โรงเรียนไดร้ บั รางวลั ห้องสมดุ ดีเด่น
- ครูใหน้ ักเรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้

4. จดุ ควรพัฒนา
ควรพัฒนาห้องปฏบิ ัตกิ าร และสื่อโสตทัศนูปกรณ์ให้เพยี งพอกับจานวนนักเรียน เพือ่ ให้เป็นสังคมแห่ง

การเรียนรู้ เช่น ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์
หอ้ งศูนย์การเรียนรู้ของกล่มุ สาระต่างๆ การเพ่มิ จานวนหนังสอื ของหอ้ งสมุดโรงเรียน หอ้ งสมุด/มมุ หนังสือตาม
กลุ่มสาระฯ การจัดให้มีสัญญาณอินเตอร์เน็ตเพ่ือให้นักเรียนสามารถค้นคว้า และเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย
ตามความต้องการ

๑๐๙

รปู แบบการบริหารแบบ SPSS-DSA

ประเดS ็น: SทWี่ 1OT9

1. ทบทวนนโยบาย/การวางแผนพฒั นาบุคลากรและการ
จัดการเรียนการสอน
2. รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู สารสนเทศท่เี ก่ียวข้อง

Sufficiency Economy P :PLAN School Based
Management 1. วางแผนการบรหิ ารงาน Management
2. จัดท่าโครงการอบรมให้ความรแู้ กบ่ ุคลากร/ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี น
บูรณาการหลักปรัชญาของ โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ เป็นฐานและทกุ คนมีสว่ น
เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. วเิ คราะหผ์ ู้เรยี น/กา่ หนดตัวชี้วดั เพ่ือจัดท่าแผนการ
จัดการเรียนรู้ รว่ ม
4. น่าเทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรมู้ าใช้
5. ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา เพ่ือรว่ มกันวาง
แผนการจดั การแหล่งเรยี นรู้ในท้องถ่ินใหเ้ หมาะสมกบั
ผเู้ รยี น

D : DO
ดา่ เนินงานตามแผนการปฏิบัติงาน

TAK Model S : Study ผลการดาเนินงาน
Target มีเป้าหมายทช่ี ดั เจน วัด/ประเมิน/วิเคราะห์ขอ้ มลู ของ
Achievement บรรลตุ ามเป้าหมาย -ครพู ัฒนาสอื่ นวัตกรรมและ
Knowledgeสรา้ งองคค์ วามรู้ ผลการปฏบิ ตั ิงาน พัฒนาการจัดการเรยี นร้ทู เ่ี น้นผู้เรยี น
Systematicทางานอย่างเปน็ ระบบ เป็นสาคญั โดยสอดคล้องกับหลกั สตู ร
สถานศึกษา
y - มกี ารวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นเป็นรายบคุ คล
- ผูเ้ รยี นได้รับความร้เู ตม็ ตามศกั ยภาพ
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่องสคู่ วามเปน็ เลิศ ผ่าน A : Act ของผูเ้ รยี นแตล่ ะคน
อยา่ งยง่ั ยืน วเิ คราะหผ์ ลสา่ เรจ็ ของงาน - โรงเรียนได้รบั รางวลั หอ้ งสมุดดเี ดน่

ปรบั ปรุงใหม้ ีความเหมาะสมและ
ไม่ผา่ น พัฒนาอยา่ งเป็นระบบ

๑๑๐

ประเด็นที่ 1๙

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ
3.3 มีการบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก

ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
1. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนตากพิทยาคมวิเคราะห์สภาพการจดั การชั้นเรยี น มีการสรา้ งวินัยเชิงบวก การจัดกจิ กรรม
การจัดโต๊ะ เกา้ อี้ในห้องเรยี นว่ามคี วามเหมาะสม สะดวก สะอาดปลอดภยั และเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรียน
วิเคราะห์บรรยากาศการเรยี นการสอนว่าครผู ู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนอย่างเป็นระบบ โดนเน้นการมี
ปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี
ความสุข

แล้วจึงมีการวางแผนจัดการชั้นเรียนเป็นองค์รวมของการบูรณาการความรู้ ความสามารถ ของ
ครูผู้สอน พร้อมท้ังก่อให้เกิดแรงจูงใจ ให้ผู้เรียน เรียนอย่างมีความสุข การตัดระเบียบห้องเรยี น โดยการการ
มีส่วนร่วมของนักเรียน มีการประชุมแสดงความคิดเห็น สร้างข้อตกลงระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียนอย่างมี
เหตุผลตามหลัก บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แลว้ จึงดาเนินการ

1. จดั ระเบยี บและวธิ ปี ฏบิ ัติในห้องเรยี น
2. จัดการกับนักเรียนท่แี ตกตา่ งกนั
3. สร้างแรงจงู ใจในการเรยี น
เม่ือดาเนินการเสร็จส้ินมีการตรวจสอบ โดยการเทียบเคียงกับการวิเคราะห์แบบประเมินการควบคุมภายใน
ด้วยตนเองของแตล่ ะโครงการกบั TAKS model พบว่า
T เป้าหมายชดั เจน สนองกลยุทธ์ของโรงเรยี น
A บรรลเุ ปา้ หมายตามท่ีกาหนดไว้
K การสร้างองค์ความรู้
S มีการทางานอย่างเป็นระบบ มีการประชุม วางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ มีการดาเนินการตามแผน
สรปุ อภิปรายผลและสรุปและนาผลการพฒั นามาตงั้ ค่าเป้าหมายใหอ้ ยใู่ นระดบั ทสี่ งู ขึ้น พบว่า
1. โครงการหอ้ งเรียนคุณภาพ ผลคือสภาพห้องเรยี นมีอุปกรณ์และบรรยากาศให้องเรียนเชิงบวกมาก

ขน้ึ
2. ครูรกั เดก็ เด็กรักครู นกั เรียนมคี วามรักความสามัคคแี ละเรียนอย่างมีความสขุ
นาผลจากการวเิ คราะห์สภาพห้องเรียนและบรรยากาศในห้องเรยี นให้เออื้ ต่อการเรยี นการสอน ให้
ผู้เรียนมีความสขุ สนุกกับการเรียนมากข้ึน
2. ผลการพฒั นา
1. ครทู กุ คนมกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น โดยเน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวกเพื่อให้เด็กรักครู ครูรัก

เดก็ เด็กรักเดก็
2. ครูทกุ คนมีการบริหารจดั การชั้นเรยี น โดยเนน้ การมีปฏิสัมพนั ธเ์ ชิงบวกเพื่อให้เด็กสามารถเรยี นรู้

รว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ
3. จดุ เด่น

1. นกั เรียนมีความพึงพอใจในการจดั การเรยี นชัน้ เรยี นของครใู นแต่ละวิชา
2. นกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์สิ งู ข้ึน

๑๑๑

4. จดุ ควรพัฒนา
1. จานวนนกั เรยี นตอ่ หอ้ งมีมากเกินไปจงึ ทาใหก้ ารทากิจกรรมบางกจิ กรรมสภาพพื้นที่ไม่อานวย

S : SWOT
1. วิเคราะหส์ ภาพการจดั การช้นั เรยี น
2. วิเคราะห์บ7รรยากาศการเรียนการสอน

S: Sufficiency Economy P : Plan S: School Based
Philosophy Management Management
1. จดั การชน้ั เรยี นเปน็ องคร์ วมของการบรู (SBM)
(SEPM) ณาการความรู้ ความสามารถ ของ
ครูผสู้ อน พร้อมท้งั กอ่ ใหเ้ กดิ แรงจูงใจ - จัดประชมุ เน้นการมสี ่วน
บรู ณาการโดยใช้หลกั ปรัชญา ใหผ้ ู้เรียน เรยี นอยา่ งมีความสขุ ร่วมของครแู ลนักเรียน
ของเศรษฐกิจพอเพียง
2. จดั ระเบยี บห้องเรียน - สร้างขอ้ ตกลงระหว่างกบั
ผา่ น นักเรยี น

๑. พฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง D : DO ไม่ผา่ น
สคู่ วามเป็นเลิศ/ ผลการ
ทดสอบระดบั ชาต(ิ o-net) l ๑. จดั ระเบยี บและวิธปี ฏิบตั ใิ น
สงู กวา่ ระดบั เขต ประเทศ/ หอ้ งเรียน
-นกั เรียนมีความสขุ ในการ
๒. จัดการกบั นกั เรียนทีแ่ ตกต่างกัน
เรียน ๓. สรา้ งแรงจูงใจในการเรยี น
๔. โครงการหอ้ งเรียนคณุ ภาพ

S : Study ปรับปรุง
ให้มคี วามเหมาะสม/
๑. สภาพหอ้ งเรยี นมอี ุปกรณแ์ ละบรรยากาศ ผา่ นเกณฑ์
ในห้องเรยี นเชิงบวกมากขน้ึ

A : Act

๑. น่าผลจากการวิเคราะหส์ ภาพหอ้ งเรียนและ
บรรยากาศในห้องเรียนให้เออื้ ตอ่ การเรยี นการสอน

ใหผ้ ้เู รียนมีความสุขสนุกกบั การเรยี น

แผนผังกระบวนการการบริหารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก
โดยใชร้ ปู แบบ SPSS-DSA

๑๑๒

ประเดน็ ท่ี ๒๐

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น

ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม
๑. กระบวนการพัฒนา

กระบวนการวดั และประเมินผลผ้เู รยี น โดยใชร้ ปู แบบ SPSS-DSA

S : SWOT

1.วเิ คราะห์หลกั สูตร
2. วเิ คราะห์ผเู้ รียน /ประกันคณุ ภาพผู้เรียน

S: Sufficiency Economy P : Plan S: School Based
Philosophy Management Management
3.การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้/เคร่อื งมอื วัดและ (SBM)
(SEPM) ประเมนิ ผล
4.การออกแบบการเรียนรู้ การบริหารโดยใช้โรงเรียน
บรู ณาการโดยใช้หลกั ปรัชญา 5.การผลิตส่ือ/การนาเทคโนโลยี แหลง่ เรยี นรู้ไปใช้
เป็นฐานแบบทกุ คนมีส่วนร่วม
ของเศรษฐกิจพอเพียง D : DO

6. ดาเนินการตามแผนการจดั การเรียนรู้

S : Study ไมผ่ า่ น

พฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง 7.วัดและประเมนิ ผลตามแผนการจัดการเรียนรู้ ปรับปรุง
ส่คู วามเป็นเลศิ / ผลการ 8.ประเมินผลตามสภาพจริง/เครื่องมือต่างๆ / ให้มีความเหมาะสม/
ทดสอบระดบั ชาต(ิ o-net) l
สงู กวา่ ระดบั เขต ประเทศ/ test blueprint ผา่ นเกณฑ์
ผลการสอบเข้าเรียน ผา่ น 9.แลกเปลีย่ นเรยี นร(ู้ PLC)/ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ/
(อดุ มศกึ ษา)/ผลการแขง่ ขนั
ภายนอกระดบั ภาค/ชาติ วจิ ยั ในชัน้ เรียน

๒.ผลการพฒั นา A : Act

8. พัฒนา ปรับปรุง ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

๑๑๓

๑. ครทู ุกคน มกี ารใช้เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผลการเรียนท่มี คี ุณภาพและหลากหลายเหมาะสม
กบั เปา้ หมายในการจัดการเรยี นรู้

โรงเรียนตากพิทยาคมเป็นโรงเรียนท่ีได้รับคัดเลือกให้เป็นแกนนาเปิดหลักสูตรมาตรฐานสากล
(World Class Standard school) ปีการศึกษา ๒๕๕๔ กาหนดให้ครูผู้สอนดาเนินการวัดผลประเมินผลตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) และมีการประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบท่ีเป็นภาษาสากล(ภาษาอังกฤษ) ในรายวิชา
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โดยมีกรอบการดาเนินการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางและ
แนวทางดาเนินการในการวดั ผลประเมนิ ผลการเรียน ดงั น้ี

๑) โรงเรียนตากพิทยาคมเป็นผู้รับผิดชอบประเมินผลการเรียนของนักเรียน โดยเปิดโอกาสให้
ทกุ ฝา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งมีส่วนร่วม

๒) การวัดผลและประเมินผลการเรียนมีความสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาที่
กาหนดในหลักสูตร

๓) ได้นาการประเมินผลการเรียนมาใช้เพ่ือการปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรยี นการสอน
และการประเมินผลการเรียน

๔) การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง๘ กลุ่มสาระตามหลักสูตร
สถานศึกษา ด้วยวิธีการหลากหลายเหมาะสมกับสิ่งท่ีวัด ธรรมชาติของวิชา(ในรายวิชา คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และคอมพิวเตอร์มีแบบทดสอบที่เป็นข้อสอบวัดตามตัวชี้วัดและเป็นภาษาอังกฤษรวมอยู่ด้วยใน
แต่ละรหัสวชิ า) และระดบั ช่วงชั้น มีการปฏิบตั ิดังนี้

− กาหนดตัวช้ีวัดและผลการเรยี นรู้ โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ชว่ งช้ันของแต่ละ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้

− กาหนดเกณฑ์สาหรับตดั สินการประเมินการผ่านตวั ช้วี ดั แต่ละตัวช้ีวัดทุกตวั ต้องผ่านเกณฑ์
ขั้นตา่ รอ้ ยละ ๕๐

− กาหนดเกณฑ์การประเมินให้ระดบั ผลการเรยี นสาระการเรียนรูเ้ ป็นรายภาค

− การประเมนิ ผลการเรยี นระหวา่ งเรยี น

− การประเมนิ ตดั สนิ ผลการเรียนสาระการเรยี นร้รู ายภาค

− มกี ารประเมินสรปุ ผลการเรยี นสาระการเรียนร้ผู ่านชว่ งชัน้
๕) มีการประเมนิ ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาดังน้ี

− กาหนดจดุ ประสงค์การเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนแต่ละกจิ กรรม

− กาหนดเกณฑ์สาหรับตัดสินการผ่านกจิ กรรมแต่ละกิจกรรม

− ประเมินผเู้ รยี นระหว่างการรว่ มกิจกรรม

− ประเมนิ ตัดสนิ การผ่านกิจกรรม

− มกี ารประเมนิ สรุปผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผา่ นชว่ งชนั้
๖) มกี ารประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เกยี่ วกบั คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึง
ประสงค์ เพื่อแกป้ ัญหาหรือสรา้ งค่านิยมอนั ดีให้แกผ่ ู้เรยี นตามจดุ เนินของหลกั สตู รสถานศกึ ษา มกี ารปฏิบัติ
ดังนี้

− มีการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๒๕๕๑ จานวน ๘ ขอ้

๑๑๔

− กาหนดเกณฑส์ าหรับตดั สินการผ่านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ตล่ ะประการ
− กาหนดแนวทางและวิธีการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
− ดาเนนิ การประเมินการแสดงคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี นตามแนวทางการวธิ ีการท่ี
กาหนด
− มกี ารประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคร์ ายภาคโดยผสู้ อนทกุ รายวิชา
− มกี ารประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ผ่านชว่ งช้ัน
๗) มีการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น เป็นการประเมินความสามารถในการอ่าน
คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นของผู้เรียนตามจดุ เน้นของหลกั สูตร มีการปฏิบัติดงั นี้
− ประชมุ กรรมการบรหิ ารวิชาการ กาหนดมาตรฐานการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และการเขียน
สาหรับหลกั สตู รสถานศึกษาแต่ละช่วงชน้ั
− กาหนดเกณฑต์ ดั สนิ ผลการประเมนิ มาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นแตล่ ะ
ประการ
− กาหนดแนวทางและวธิ กี ารประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
− ประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนตามแนวทางและวิธีการท่ีกาหนด
− มีการประเมนิ ความสามารถการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนรายภาค
− มีการประเมินตดั สนิ ความสามารถการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นผ่านชว่ งช้ัน

๒. ครูทุกคน มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมีการกาหนด
เกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรียนที่ช่วยยกระดับคณุ ภาพนักเรยี น

การประเมินผลการเรียน เพ่ือตัดสินผลการเรียน ใช้เป็นข้อมูลสาหรับตัดสินผลสาเร็จในการ
เรยี นของนกั เรียนในการจบชว่ งชน้ั และจบการศึกษาแล้ว โรงเรียนตากพิทยาคมยังมจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือนาผลไปใช้
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่แสดงการพัฒนาความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ซึ่งเป็น
ประโยชน์ตอ่ การส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นเกิดการพัฒนาและเรยี นรู้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ มีแนวทางการดาเนนิ การดังนี้

๑) การตัดสินผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ครูผู้สอนจะทาการ
วัดผลประเมินผลผู้เรียนเป็นรายวิชาที่ครอบคลุมตัวช้ีวัดผลการเรียนรู้รายภาค ด้วยวิธีคิดท่ีหลากหลาย ให้
ไดผ้ ลการประเมินตามความสามารถท่ีแทจ้ ริงของผูเ้ รียน ซ่ึงสามารถอธิบายผลการตดั สินว่าผู้เรียนต้องมีความรู้
ทักษะและคณุ ลกั ษณะโดยรวมอยูใ่ นระดับใด จงึ จะยอมรับวา่ ผ่านการประเมนิ

ในการประเมินสาระการเรียนรู้ โรงเรียนตากพิทยาคมกาหนดคะแนนการวัดประเมินผู้เรียน
เปน็ รายวิชา ตามเกณฑ์การตัดสินระดับผลการเรียน ๘ ระดับ คอื

“๔” หมายถึง ผลการเรียนท่มี คี ะแนน ๘๐ – ๑๐๐
“๓.๕” หมายถึง ผลการเรียนท่มี ีคะแนน ๗๕ – ๗๙
“๓” หมายถึง ผลการเรียนที่มคี ะแนน ๗๐ – ๗๔
“๒.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นทีม่ ีคะแนน ๖๕ – ๖๙
“๒” หมายถึง ผลการเรียนทม่ี ีคะแนน ๖๐ – ๖๔
“๑.๕” หมายถงึ ผลการเรียนที่มีคะแนน ๕๕ – ๕๙
“๑” หมายถงึ ผลการเรยี นท่ีมีคะแนน ๕๐ – ๕๔
“๐” หมายถึง ผลการเรียนท่มี คี ะแนน ตา่ กว่า ๕๐ คะแนน

๑๑๕

๒) การตัดสินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาตัดสินโดยการ
กาหนดเกณฑ์การผา่ นกิจกรรม มีการกาหนดแนวทางดาเนินการดงั น้ี

− มกี ารประเมินผูเ้ รียนในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
− การตัดสินเป็นรายกิจกรรม ท่ีผู้เรียนทุกคนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมให้ครบถ้วน และผ่าน
การประเมนิ ตามเกณฑ์ที่กาหนด จงึ จะได้รับการพิจารณาให้ผา่ นชว่ งช้ัน

๓. ครูทุกคน มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก้ผู้เรียนเพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ โดยมีระบบ
รายงานผลการเรียนตอ่ นักเรียนผูป้ กครอง และชุมชน

โรงเรียนตากพิทยาคม มีระบบการรายงานผลการเรียนแจ้งผลการเรียนรู้และพัฒนาการใน
ดา้ นต่าง ๆ ให้นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวขอ้ งกับผู้เรียนใหป้ ระสบผลสาเรจ็ อย่างมปี ระสิทธิภาพ รวมท้ัง
ใช้เป็นข้อมูลสาหรับออกเอกสารหลักฐานการศึกษา ตรวจสอบ และรับรองผลการเรียน หรือวุฒิทาง
การศึกษาของนักเรียน กล่าวคือ ในการประกาศผลการเรียนในแต่ละภาคเรียน ได้จัดประชุมผู้ปกครองและ
แจกผลการเรียน พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองได้พบกับครูประจาช้ันเพ่ือสอบถามเร่ืองรายเก่ียวกับพฤติกรรมการ
เรียนของบุตรหลาน การรายงานระหว่างภาคเรียนเพื่อให้ผู้ปกครองรับทราบผลการเรียน และพัฒนาการ
ต่างๆ ของนักเรยี น ใช้เป็นข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุงพัฒนาการเรียน รวมท้ังการดูแลและส่งเสริมการเรียน
การเลือกแนวทางทางการศกึ ษาและอาชีพในอนาคตของนกั เรียน

๔. มีการนาผลการเรียนไปพัฒนานักเรยี น พฒั นาการสอน และพฒั นาหลักสตู ร
โรงเรียนตากพิทยาคม ได้กาหนดการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ตามมาตรฐานการ

เรียนรู้ของหลักสูตร และมีแนวปฏิบัติของครูผู้สอน นาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการแก้ไข
ปรบั ปรุง และพัฒนาการของผู้เรียน ที่จะนาไปจัดทาหลักสตู ร พัฒนาการเรยี นการสอน ดงั น้ี

๑) นักเรียนมีความก้าวหน้าด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการและค่านิยมอันพึงประสงค์จาก
การร่วมกจิ กรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

๒) นาข้อมูลในการปรับปรุงนักเรียนให้มีคุณภาพตามตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้และมาตรฐานการ
เรียนรู้ชว่ งชั้น

๓) การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติและกระตุ้นให้นักเรียนได้แสดงความสามารถใน
การประเมนิ อยา่ งเต็มศกั ยภาพ

๔) ในการดาเนนิ การ ตามนโยบาย / ยทุ ธศาสตร์ ของหนว่ ยงานตน้ สังกดั / รฐั บาล
− การจัดการศกึ ษาที่ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสังคม
− พัฒนางาน มีการช่วยเหลือในงาน/กิจกรรมต่างๆ ของชุมชน สังคม และหน่วยงานท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
− ผปู้ กครองนักเรยี น มีความเชื่อถอื พึงพอใจตอ่ การบรหิ าร
− การดาเนินงานของสถานศึกษาได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน
− มรี ะบบบรหิ ารงานทีม่ ีประสิทธภิ าพและโปร่งใส
− มีการกระจายอานาจหน้าท่ีให้ผู้อ่ืน รับผิดชอบได้อย่างเต็มท่ีและรับผิดชอบผลงานของ
ผู้ใต้บังคับบญั ชา

๑๑๖

๕) การจัดสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้สถานศึกษา พิจารณา นาไปปฏิบัติกาหนดสาระการ
เรียนรู้ในแต่ละภาคเรียนให้เหมาะสมกับเวลาเรียน ได้ใช้เวลาเรียนอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับนโยบายการ
จัดการเรียนรู้

− มแี ผนการกาหนดการจัดทาหลกั สตู รของสถานศกึ ษาสอดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรียน

− มีการส่งเสริมการจัดการเรียน พัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทา
สาระการเรียนรู้

− มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสม กับภูมิปัญญาท้องถ่ิน เศรษฐกิจพอเพียงและ
มาตรฐานสากล การจัดการเรียนการสอนที่ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ โดยโรงเรียนได้
สอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และมาตรฐานสากล

− มีการจัดทารายงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี นของครผู สู้ อน

− มีการปรบั ปรุงและพัฒนาแผนการจดั การเรียนร้ใู ห้สอดคลอ้ งมาตรฐานสากล

− มีการพัฒนาส่ือ และนวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและ
มาตรฐานสากล

− มีการประชุมเชิงปฏิบัติเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
วางแผนพัฒนาหลกั สตู ร

− มกี ารรายงานผลการใช้เครื่องมอื วัดและประเมินผลการเรยี นแต่ละรายวชิ า

− มกี ารรายงานผลการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นแต่ละภาคเรยี น/รายวิชา
ผลการพัฒนา

1. ครูทกุ คน มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ
2. ครทู กุ คน มีการใช้เคร่ืองมือและวิธกี ารวดั และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการ

เรยี นรู้
3. ครทู กุ คน มีการให้ข้อมูลยอ้ นกลบั แก้ผู้เรยี นเพ่อื นาไปใช้ในการพัฒนาการเรยี นรู้
๓. จดุ เด่น
สถานศึกษามีการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่คุณภาพอย่างหลากหลายทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้มีเครื่องมือและประเมินท่ีสอดคล้องกับตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้ ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย
เน้นคาถามกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า และวัดผลคลอบคลุมพฤติกรรมนักเรียนทุก
ด้านในสัดส่วนท่ีเหมาะสมทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและผลการผลทดสอบระดับชาติ (O-NET)ของผู้เรียน
สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนื่องทุกปี และสงู กว่าระดบั ภูมิภาคและระดบั ประเทศ (O-NET)

เอกสารสนับสนนุ

- แฟ้มสรุปผลงาน ดา้ นท่ี ๓ ข้อ ๓.๔
- สรปุ งานนเิ ทศและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
- รายงานผลการดาเนนิ งานการพัฒนาสานักงานวชิ าการ
- รายงานการประชุมฝ่ายบริหารงานวิชาการ
- รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
- รายงานการสรปุ โครงการฯ

๑๑๗

- บคุ ลากรท่เี กย่ี วข้อง เชน่ ผบู้ ริหาร ครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน
- การประชมุ ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารงานวิชาการ
๔. จุดที่ควรพฒั นา
ภาระการสอน อีกท้ังงานพิเศษท่ีได้รับมอบหมายของครูมาก ทาให้ครูอาจจะรายงานผลการใช้
เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล ไดไ้ มค่ รบทุกแผนการสอนหรือทุกคาบ

๑๑๘

ประเดน็ ที่ 21

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้

ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
1. กระบวนการพฒั นา

1. การวเิ คราะหส์ ภาพองคก์ ร
ดว้ ยพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ระบถุ ึงหลักการจัดการศึกษาว่าผูเ้ รยี นทกุ คน

สามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ ต้องจัดการศึกษาท่ีพัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซ่ึงครู
ทุกค นมี ความ จาเป็ น อย่างย่ิงท่ี ต้องแสวงห ากระบ วน การจัด การเรียน การส อนท่ี เน้น ผู้เรี ยนเป็น สาคั ญ
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การแลกเปลีย่ นเรยี นรูข้ องครู เพื่อให้มขี ้อมูลสะท้อนกลับ ในการพัฒนาและปรบั ปรุงการ
จัดการเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้PLC (Professional Learning Community)โรงเรียน
ตากพิทยาคมได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC เพ่ือให้มีข้อมูล
สะท้อนกลับ ในการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท้ังภายในสถานศึกษา
และนอกสถานศึกษา

2. การวางแผน
โรงเรียนตากพทิ ยาคมมีการวางแผนดว้ ยความร่วมมอื (Plan Cooperatively) ดงั น้ี

1. แต่งตัง้ คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC ระดบั สถานศึกษา
2. กาหนดแผนงานขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ระดบั สถานศกึ ษา ดังน้ี

2.1 สร้างทมี งาน PLC ในสถานศึกษา ท่ีสอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษา
2.2 สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการปฏิบัติใหก้ บั บุคลากรในสถานศึกษา
(พาดู พาคดิ พาทา)
2.3 สร้างเครือขา่ ยกับหน่วยงานอน่ื (ระดับบุคคล ระดับองค์การ ระดบั หนว่ ยงาน)
2.4 กากับ ตดิ ตาม นิเทศ และประเมินผล
2.5 สง่ เสริม สนบั สนุน และประสานงาน การพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษา
3. ร่วมทาร่วมปฏิบตั ิ

การขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติในโรงเรียนตากพิทยาคมไดม้ ีการดาเนนิ การ

ตามลาดบั ดังน้ี

1) ค้นหาปัญหา

2) หาสาเหตุ

3) แนวทางแก้ไข

4) ออกแบบกิจกรรม

5) นาสู่การปฏิบตั ิและสะท้อนผล

จากน้ันสรปุ รายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้

๑๑๙

4. ศึกษาผลการดาเนนิ การ
เมื่อจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้เสร็จส้ินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครูได้ดาเนินงานวัด ประเมินผล

วเิ คราะหผ์ ลการดาเนินงานโดยพิจารณาถึงความสาเร็จทต่ี ้ังเป้าหมายไว้ ท้ังเป้าหมายเชิงปรมิ าณ และเป้าหมาย

เชิงคุณภาพ วิเคราะห์ผลการดาเนินงานว่าประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด เพื่อนาการ

วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนา โดยควรพิจารณาตามรูปแบบการประเมิน TAKS

Model มีรายละเอยี ดคือ

T : Target มีเป้าหมายสนองแผนกลยทุ ธ์
A : Achievement การบรรลเุ ปา้ หมาย
K : Knowledge การสรา้ งองคค์ วามรู้
S : System การทางานอยา่ งเป็นระบบ
โดยมีรายละเอียดเพ่ือตรวจสอบและประเมินผล ดงั น้ี
๑. วางกรอบการประเมิน มีการประชุมรว่ มกันทกุ ฝ่าย ใหม้ กี ารเชื่อมโยงการประเมนิ กบั เป้าหมายให้
สอดคลอ้ งกนั
๒. จัดหาหรอื จดั ทาเครอ่ื งมือ ซง่ึ เครอื่ งมือควรมคี วามชัดเจน สัน้ เขา้ ใจง่าย มีคณุ ภาพ
๓. เก็บรวบรวมข้อมูล มีแนวทางแน่นอน กาหนดระยะเวลา กาหนดผู้เก็บข้อมูล มีเอกสารเป็น
หมวดหมู่
๔. วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ท้ังข้อมูลผู้เรียน ผู้สอน แนวโน้มความก้าวหน้า แนวโน้มท่ีต้องแก้ไข
ปรบั ปรงุ
๕. แปลความหมายกาหนดเกณฑ์การประเมิน เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินและแปลผลการ
ประเมิน
๖. ตรวจสอบ/ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน ตรวจสอบว่ากระบวนการประเมินและผลการประเมิน
มคี วามเหมาะสม ถกู ต้องและนา่ เชือ่ ถอื มากน้อยเพียงใด
5. การพฒั นาปรบั ปรุง
นาผลการประเมนิ การปฏบิ ัติงานมาเป็นข้อมูลสารสนเทศใชใ้ นการประกอบการตัดสินใจเร่ืองต่าง ๆ

เมือ่ พบข้อบกพรอ่ งของผลงาน แล้วนาไปปรับปรุง ดงั น้ี

๑. นาขอ้ มูลการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานในส่วนทบี่ กพรอ่ งใหผ้ รู้ บั ผิดชอบนาไปปรบั ปรุง
๒. ผรู้ ับผิดชอบทกุ คนวางแผนปรับปรงุ พัฒนาในระยะต่อไป โดยกาหนดจากผลการดาเนินงานท่ีเป็น

จุดเด่น แนวทางสง่ เสรมิ โครงการท่ีปรับปรุง ซึ่งจะดาเนินการตามกาหนดเวลา
๓. นาผลจากการประเมินท่เี กดิ ข้นึ หลงั จากปรบั ปรงุ พัฒนาแล้วจัดทาวจิ ยั ในชน้ั เรยี น
๒. ผลการพัฒนา
๑. ครูทุกคนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้และประสบการณ์ร่วมกันเพ่ือปรับปรุงและ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้
๒. ครทู กุ คนและผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งรว่ มกนั ใหข้ อ้ มลู ป้อนกลับเพอ่ื ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรู้
3. จุดเด่น
ครูโรงเรียนตากพิทยาคมมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ
จดั การเรียนรู้ดงั นี้

๑๒๐

3.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ได้แก่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้
การจดั การประชุมวชิ าการและการประชุมครปู ระจาเดือน

๓.๒ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ภายนอกสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ การทาบันทึกขอ้ ตกลงระหว่างโรงเรียนตาก
พิทยาคมกับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การทาบันทึกข้อตกลงระหว่าง
โรงเรียนตากพิทยาคมกับมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาตาก ด้านวิศวกรรม การทาบันทึกข้อตกลงระหว่าง
โรงเรยี นตากพทิ ยาคมกบั มหาวทิ ยาลยั ต่างประเทศ การศึกษา

4. จดุ ควรพัฒนา
ขยายเครือข่ายชุมขนแหง่ การเรียนรูใ้ หเ้ พิ่มขน้ึ เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาใหด้ ีย่ิงขึ้น
การแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับเพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
โดยใชร้ ูปแบบ SPSS-DSA

S : SWOT

1. วเิ คราะหก์ ระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้น
ผเู้ รียนเป็นสาคัญ
2. เพมิ่ ประสิทธภิ าพกระบวนการจดั การเรยี นการสอน
โดยใช้ชุมชนแหง่ การเรยี นรขู้ องคณะครู

S: Sufficiency Economy P : Plan S: School Based
Philosophy Management Management
3. แตง่ ตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (SBM)
(SEPM) ระดบั สถานศึกษา
4. กาหนดแผนงานขับเคลื่อนกระบวนการ PLC การบริหารโดยใช้โรงเรยี น
การบริหารงานโดยใชห้ ลักปรัชญา ระดับสถานศึกษา สร้างเครอื ข่ายชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ เปน็ ฐานแบบทุกคนมสี ่วนร่วม
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. สง่ เสริม สนับสนุน และประสานงาน สร้างความ
เข้าใจให้แกค่ ณะครูและบุคลากร

D : DO

6. ดาเนนิ การขบั เคล่ือนชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้

S : Study

7. นเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ
( วดั ประเมิน ผลสาเร็จของงาน

โดยใชร้ ปู แบบ TAKS Model)

พฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง ผา่ น A : Act ไมผ่ ่าน ปรับปรุง
สู่ความเป็นเลิศ ใหม้ ีความเหมาะสม
8. วเิ คราะห์ผลสาเร็จของงาน
:วิจยั ในช้ันเรียน

๑๒๑

ส่วนที่ 3 สรปุ ผลแนวทางการพฒั นาและความต้องการช่วยเหลอื

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเปน็ ข้อมูลสารสนเทศสาคญั ท่สี ถานศึกษาจะต้องนาไป
วิเคราะห์ สังเคราะหเ์ พื่อสรุปนาไปส่กู ารเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา (3-5 ปี) และนาไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผล
การดาเนนิ งานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจดุ เดน่ จุดควรพฒั นาของแต่ละ
มาตรฐาน พร้อมทงั้ แนวทางการพัฒนาในอนาคตและความตอ้ งการการชว่ ยเหลือได้ดงั นี้
สรปุ วิเคราะหจ์ ากผลการประเมิน

จดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนา

ดา้ นคณุ ภาพของผู้เรียน ด้านคุณภาพของผู้เรยี น

1. นักเรียนท้ังหมดของโรงเรียนตากพิทยาคม 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุ่มสาระ

ได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างตรงตามความต้องการส่งผล การเรียนรู้ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การ
ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น มีสมรรถนะที่จาเป็น งานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ ยังต่ากว่าค่าเป้าหมาย
ท่ีกาหนดไว้ สาเหตุจากโรงเรียนได้ปรับค่าเป้าหมาย
สะท้อนให้เห็นถึงการดาเนินงานอย่างมีระบบคุณภาพของ ให้สูงข้ึนเน่ืองด้วยเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลและ
หลกั สูตรสถานศึกษา และกระบวนการพัฒนานวัตกรรมการ จากการคาแนะนาของคณะกรรมการประเมินจาก
จัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตามกระบวนการ SPSS- สมศ.และ โรงเรียนได้ให้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
DSA Model จัดทาโครงการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่ม
สาระวิชาฯ การทา PLC โครงการพัฒนาครู และ
2. นักเรียนได้รบั การจัดการเรียนการสอนโดยใช้

นวตั กรรม 6 โครงการเพื่อพฒั นาคุณภาพนักเรียนโรงเรียน โครงการยกระดับระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนอย่าง
ตากพิทยาคม ซง่ึ เป็นนวตั กรรมทีจ่ ดั ตอ่ ยอดจากหลกั สตู ร เข้มขน้ ต่อไป
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน โรงเรียนมาตรฐานสากล และเปน็
2. เน่ืองจากการติดตามการพัฒนาทักษะ
นวัตกรรมที่จัดใหส้ าหรับนักเรยี นทกุ คนทีม่ ีศักยภาพ ความ และผลสัมฤทธิ์น้ันเป็นสิ่งท่ีต้องใช้เวลาในการพัฒนา

สนใจและความถนัดแตกต่างกัน แบ่งออกเปน็ 6 โครงการ ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง จึงต้องมีการติดตามอย่าง
ได้แก่ ESMTE, SME, Pre-Engineering, MEP, EIS และ ตอ่ เนื่องทุกระดับช้ันและประเมินผลทุกระดับชน้ั เพื่อ
SST ซ่งึ สามารถพฒั นานักเรยี นที่เขา้ มาศึกษาในโรงเรียน การแกป้ ัญหาและพฒั นาผเู้ รียนอยา่ งแทจ้ ริง
ตากพิทยาคมให้เปน็ นกั เรียนทมี่ คี ณุ ภาพการเรยี นรู้ทีด่ ี
สามารถพัฒนาต่อยอดสู่เวทีการแขง่ ขนั ระดบั ต่างๆและ 3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ของแต่ละ
ไดร้ ับรางวัลต่างๆมากมาย โครงการภายในนวัตกรรมมีความแตกต่างกันจึง
ให้ผลลัพธ์ต่อนักเรียนที่แตกต่างกัน ดังนั้น ในการ
3. ผู้เรียนมีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มคี ุณธรรม คัดเลือกนักเรียนเข้าสู่แต่ละโครงการควรมีความ
จรยิ ธรรมที่เหมาะสม มสี มรรถภาพทางกายและน้าหนัก เที่ยงตรงสูง ท้ังในด้านการใช้เคร่ืองมือ วิธีการ
สว่ นสูงตามเกณฑ์ มีระเบยี บ วนิ ัยจนเปน็ เอกลักษณข์ อง คัดเลอื ก เป็นต้น

สถานศกึ ษา เป็นท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเร่อื งความมี

วินยั เคารพกฎกติกา ระเบียบของสงั คม

๑๒๒

จดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา

4. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน

พื้ น ฐ า น (O-NET) ป ร ะ จ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2562 ชั้ น

มัธยมศึกษาปีที่ 3 และม.6 คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของ

นักเรียน สูงกว่าคะแนนเฉล่ียระดับจังหวัด ระดับสังกัด

ระดับประเทศและเปน็ อนั ดบั หน่ึงของ สพม. 38

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ม.1-3)

สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ ผู้เรียนมี

ผลสัมฤทธ์ิสูงกว่าค่าเป้าหมายทก่ี าหนด

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

1. โรงเรียนได้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบด้วย 1. พัฒนาปรบั ปรงุ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ระบบคุณภาพตามแนวทางการบริหารจัดการตามเกณฑ์ โดยมอบหมายให้ผู้รบั ผิดชอบจัดทาข้อมูลสารสนเทศ

รางวัลแห่งคุณภาพ OBECQA ด้วยรูปแบบการบริหาร ให้เป็นปจั จุบนั และใช้ข้อมลู เปน็ ฐานในการพฒั นา

สถานศึกษา SPSS DSA Model โดยดาเนินการวิเคราะห์ การศึกษาได้ตลอดเวลา

สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษา 2. ขยายเครอื ข่ายความร่วมมอื การ

ขอ้ มลู สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัด จัดการศกึ ษากับต่างประเทศใหเ้ พิม่ ขึ้น เพอื่ รว่ มกัน

การศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุม ขับเคล่อื นคุณภาพการจัดการศกึ ษา

ระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผน

รว่ มกันกาหนดเป้าหมาย ปรบั วิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กล

ยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนา

คุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา

แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา

ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา

พร้อมมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตาม

แผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้โดยมีกรอบการ

ทางานTEPS Framework มีการดาเนินการนิเทศ กากับ

ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน ด้วย TAKS Model

และสรุปผลการดาเนินงานซึ่งการบริหารจัดการศึกษาด้วย

ระบบคุณภาพ

2. แนวทางการบรหิ ารสถานศึกษาโดยใช้ SPSS-DSA

Modelมีความสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์

(Vision)ท่ีวา่ “ตากพทิ ยาคมเป็นโรงเรยี นคณุ ภาพช้ันนา

เทียบเคยี งมาตรฐานสากลบนพื้นฐานหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง”นอกจากน้ียงั สอดคล้องกับสมรรถนะ

หลักของโรงเรียน (Core competencies) ดงั นี้

1. การบรหิ ารจัดการทม่ี ีคณุ ภาพโดยใช้ SPSS DS

๑๒๓

จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา

Model

2. การบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนโดยใชน้ วตั กรรม 6

โครงการเพ่ือพฒั นานักเรียนอย่างรอบดา้ นตามมาตรฐานสากล

3. การจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

4. พัฒนาคุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา

อย่างต่อเน่ือง เพื่อเป็ นครูมืออาชีพ โดยการบริหาร

สถานศกึ ษาจะมีการบรู ณาการการดาเนินงานภายในองค์กร

ให้มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน โดยบูรณาการ Best

Practice ไปใชท้ ุกกลุ่มงาน โดยทุกกิจกรรมมคี วามเช่อื มโยง

สอดคล้องกนั

ทง้ั จัดหาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ

3. ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ คณะครู มีส่วนร่วมใน

การกาหนดทิศทางการพัฒนาผู้เรียนตามแนวสังคมแห่งการ

เรียนรู้ PLC อย่างสม่าเสมอมีการวิเคราะห์เพ่ือพัฒนาและ

ปรบั ปรงุ ผ่านกระบวนการ TAKS Model

4.โรงเรียนตากพิทยาคมได้รับรางวัล IQA AWARD

ประจาปีการศึกษา 2562 จากสานักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น ด้านกระบวนการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็

สาคญั สาคญั 1. ควรพั ฒ น าห้ องป ฏิบั ติการ และสื่อ

1. ครูทุกคนจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน โสตทัศนูปกรณ์ให้เพียงพอกบั จานวนนกั เรยี น เพอ่ื ให้

ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่เี น้นให้ผู้เรยี นเกิด
กระบวนการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์คิดสร้างสรรค์ ฯลฯ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เช่น ห้องปฏิบัติการ
คอ ม พิ วเต อร์ ห้ อ งป ฏิ บั ติก ารวิท ยาศ าส ต ร์
และการปฏิบตั จิ รงิ ผ่านการทาโครงงาน/กจิ กรรม/การฝึก ห้องปฏบิ ัติการคณิตศาสตร์ หอ้ งศูนยก์ ารเรียนรูข้ อง
กลุ่มสาระต่างๆ การเพ่ิมจานวนหนังสือของ
ปฏิบัติในสถานการณ์จริง และนักเรียนขยายความคิด ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุด/มุมหนังสือตามกลุ่ม
นาไปใชช้ วี ิตได้ สาระ การจัดให้มีสัญญาณอินเตอร์เน็ต เพ่ือให้
นักเรียนสามารถค้นคว้า และเรียนรู้ได้อย่าง
2. โรงเรียนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการ หลากหลายตามความต้องการ

ศึกษาได้พฒั นาตนเองมีคุณธรรมจริยธรรมตามจรรยาบรรณ

วิชาชีพมีความมุ่งม่ันและอุทิศตนในการจัดการเรียนการ

สอนโดยใช้เทคนิคการสอนอยา่ งหลากหลายสามารถใช้สอื่ 2. ภาระงานพิเศษที่ได้รับมอบหมายของครู

เทคโนโลยสี ู่การเรยี นการสอนไดด้ ี มาก ทาให้ครูอาจจะรายงานผลการใช้เคร่ืองมือวัด

3. ครจู ดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนเรยี นรูจ้ ากการคิดได้ และประเมินผล ไดไ้ มค่ รบทกุ แผนการสอนหรอื ทกุ

๑๒๔

จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา

ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย คาบ
พัฒนาส่ือการสอน จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น 3. ควรปรับหลกั สูตรโครงสร้างการเรียนในบาง
สาคญั พัฒนาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานของ แผนการเรียนที่มีจานวนหน่วยกิตเกินกาหนด
สถานศึกษาและส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนให้สูงข้ึน โครงสรา้ งของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ตลอดจนครูมีการวเิ คราะห์นักเรยี นและจัดทาผลงานวิจัยใน
ชั้นเรยี น

4. ครูมีการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการ
เรียนรู้ท่ีคุณภาพอย่างหลากหลายทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มี
เคร่ืองมือและประเมินที่สอดคล้องกับตัวช้ีวัดและผลการ
เรียนรู้ ใช้วิธีการประเมินท่ีหลากหลาย เน้นคาถาม
กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า และ
วัดผลคลอบคลุมพฤติกรรมนักเรียนทุกด้านในสัดส่วนที่
เหมาะสมทาใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและผลการ
ผลทดสอบระดับชาติ (O-NET)ของผู้เรียนสูงข้ึนอย่าง
ต่อเนื่องทุกปี และสูงกว่าระดับภูมิภาคและระดับประเทศ
(O-NET)

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
1. ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ ความสามารถในการใช้งานส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนาไปใช้ในการ

จัดการเรยี นการสอนทุกช่องทาง
2. พัฒนาระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตให้สะดวกท่วั ถึงใช้ได้จรงิ ทุกห้องเรียน
3. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงข้ึนโดยการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน ท่ีเน้นการจัดการ

เรียนร้แู บบ Active Learning ซงึ่ เปน็ การพัฒนาบุคลากรครูในเรื่องการออกแบบการจดั การเรียนรูท้ ี่เน้นผู้เรยี น
เป็นสาคญั และจัดการเรียนรู้เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนสามารถสรา้ งความรู้ สรปุ ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถนาความรู้ท่ี
ได้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

4. การใช้กระบวนการ PLC เพื่อการขับเคล่ือนบทเรียนร่วมกัน ในระดับชั้นและวิชาท่ีสอน เพ่ือให้
บุคลากรครูเกิดกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม มีการวางแผนเพ่ือพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ มีความม่ันใจใน
การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ รวมถึงมีการปรึกษาหารือกัน การให้ขอ้ เสนอแนะ ทาให้ครูรจู้ ุดอ่อนและจุดแข็งของ
ตน ส่งผลใหก้ ารจดั กจิ กรรมในหอ้ งเรยี นมคี ุณภาพมากขน้ึ

5. สถานศกึ ษาควรจัดทาบันทึกความร่วมมอื กับโรงเรียนในตา่ งประเทศที่มีความโดนเด่นในเรือ่ งการ
จัดการศกึ ษาเพม่ิ ขึน้ เพ่ือรว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นร้ใู นการพัฒนาการศกึ ษา

๑๒๕

ความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ
1. การสนบั สนุนงบประมาณในการสร้างอาคารเรียน หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ห้องเรียนคุณภาพ สื่อ

โสตทัศนปู กรณ์ตา่ งๆ ให้เพียงพอกับจานวนผู้เรยี น
2. การพฒั นาครผู ้สู อนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ทส่ี อดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี

21
3. การสร้างข้อสอบท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรตู้ ามแนวทางของการประเมิน O-NET และ

PISA
4. การจัดสรรบุคลากรสายสนบั สนุนการสอน ครผู ้สู อนและเจา้ หนา้ ที่ห้องปฏบิ ัตกิ ารให้ตรงตามที่

โรงเรยี นมคี วามตอ้ งการและจาเปน็

๑๒๖

ผลการประเมนิ ภายใน SAR ในภาพรวม คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐาน
มาตรฐาน ประเดน็ การพจิ ารณา ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 8๙.17

คานวณ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 96.16
ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 93.11
(1) ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 ของชั้น ม.1– ม.3 มผี ลการทดสอบการอ่าน ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 95.96
ออกเสยี งและการอ่านคิดวเิ คราะห์ตามแบบทดสอบวัดความรู้ภายใน รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 92.56
ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยแต่ละระดับ ได้คะแนนร้อยละ 70 รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 96.77
ข้ึนไป ร้อยละ 85 ร้อยละ 85.87
(2) ผเู้ รียนร้อยละ 85 ของชน้ั ม.4– ม.6มผี ลการทดสอบการอ่าน
ออกเสียง และการอ่านคดิ วเิ คราะห์ตามแบบทดสอบวดั ความรู้ภายใน ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 95.87
ของกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย แต่ละระดับได้คะแนนร้อยละ 70
ขึ้นไป
(3) ผ้เู รียนรอ้ ยละ 85 ของชัน้ ม.1 – ม.3 สามารถเขยี นส่อื สารตาม
รูปแบบ เขียนแสดงความคิดเหน็ และเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ ไดค้ ะแนน
ร้อยละ 70 ข้นึ ไป
(4) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 ของช้ัน ม.4– ม.6 สามารถเขียนสื่อสารตาม
รปู แบบ เขียนแสดงความคิดเห็น และเขียนเชงิ สร้างสรรค์ ได้คะแนน
รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป
(5) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของชน้ั ม.1 – ม.3 สามารถพดู ส่ือสารใน
สถานการณต์ ่าง ๆ ได้ถกู ต้องตามหลกั วิธกี ารพดู โดยมีคะแนนผลการ
ประเมินเฉลี่ยร้อยละ 70 ขึ้นไป
(6) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของชั้น ม.4– ม.6 สามารถพดู สือ่ สารใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ถูกต้องตามหลักวิธกี ารพูด โดยมีคะแนนผลการ
ประเมินเฉล่ยี ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป
(7) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 85 ของชน้ั ม.1– ม.3 มีผลการทดสอบการอา่ น
ออกเสียงและการสื่อสารตามแบบทดสอบวัดความร้ภู ายในของกลมุ่
สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ แต่ละระดบั ได้คะแนนร้อยละ 70
ขนึ้ ไป
(8) ผเู้ รยี นร้อยละ 85 ของชน้ั ม.4– ม.6 มผี ลการทดสอบการอ่าน
ออกเสียงและการส่ือสารตามแบบทดสอบวดั ความร้ภู ายในของกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ แต่ละระดบั ได้คะแนนร้อยละ 70
ขึ้นไป

๑๒๗

มาตรฐาน ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐาน ร้อยละ 85.58
(9) ผู้เรียนร้อยละ 85 ของชั้น ม.1– ม.3 มีผลการทดสอบการเขียน รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 85.58
สือ่ สารตามแบบทดสอบวัดความรูภ้ ายในของกลุม่ สาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ แตล่ ะระดับได้คะแนนร้อยละ 70 ขนึ้ ไป รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 65.17
(10) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของชนั้ ม.4– ม.6 มผี ลการทดสอบการเขยี น ร้อยละ 70.57
สื่อสารตามแบบทดสอบวดั ความรูภ้ ายในของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 70
ภาษาต่างประเทศ แตล่ ะระดับไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ขนึ้ ไป
(11) ผู้เรียนร้อยละ 70 ของชั้น ม.1 – ม.3 ผา่ นการทดสอบทกั ษะ ร้อยละ 70
การคิดคานวณ ได้คะแนนร้อยละ 70 ข้นึ ไป ตามแผนทดสอบแต่ละ
ระดับชั้นตามมาตรฐาน/ตัวช้ีวัดในกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
(12) ผู้เรียนรอ้ ยละ 70 ของช้นั ม.4 – ม.6 ผา่ นการทดสอบทกั ษะการ
คดิ คานวณ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป ตามแผนทดสอบแต่ละระดับชั้น
ตามมาตรฐาน/ตวั ช้วี ัดในกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม
ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 86
อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็น และแกป้ ัญหา
ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 89.5๐
(1) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของ ม.1-ม.3 ผา่ นการทดสอบความสามารถใน ร้อยละ 85 ร้อยละ 85
การคดิ วิเคราะห์ ได้คะแนนร้อยละ 70 ขน้ึ ไป ตามการประเมิน ร้อยละ 85
กจิ กรรมหรือโครงการที่โรงเรียนจดั ทาข้ึน รอ้ ยละ 87.5๐
รอ้ ยละ 85
(2) ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 ของ ม.4-ม.6 ผ่านการทดสอบความสามารถใน ร้อยละ 85 ร้อยละ 8๙
การคดิ วิเคราะห์ ได้คะแนนร้อยละ 70 ข้นึ ไป ตามการประเมนิ ร้อยละ 90.5๐
กิจกรรมหรือโครงการท่ีโรงเรียนจดั ทาข้ึน

(3) ผูเ้ รียนร้อยละ 85 ของ ม.1-ม.3 ผ่านการทดสอบความสามารถใน
การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ได้คะแนนร้อยละ70ข้นึ ไป ตามการ
ประเมนิ กิจกรรมหรือโครงการท่โี รงเรยี นจัดทาขึ้น

(4) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 85 ของ ม.4-ม.6 ผา่ นการทดสอบความสามารถใน
การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ ได้คะแนนร้อยละ70ขึ้นไป ตามการ
ประเมนิ กจิ กรรมหรือโครงการที่โรงเรยี นจัดทาขึ้น

(5) ผู้เรียนร้อยละ 85 ของ ม.1-ม.3 สามารถอภปิ รายแลกเปลี่ยนความ
คดิ เหน็ และแก้ปญั หาไดร้ ้อยละ70 ขึ้นไปตามการประเมินกิจกรรม
หรือโครงการท่โี รงเรยี นจดั ทาข้ึน

(6) ผเู้ รยี นร้อยละ 85 ของ ม.4-ม.6 สามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเหน็ และแก้ปญั ญาไดร้ ้อยละ 70 ข้ึนไปตามการประเมนิ กจิ กรรม
หรือโครงการท่ีโรงเรียนจัดทาขึ้น

๑๒๘

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐาน ยอดเย่ียม
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ยอดเยี่ยม ร้อยละ 100
รอ้ ยละ 85
1) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของ ม.1 - ม.3 สามารถรวบรวมความรู้ได้ ร้อยละ 100
ด้วยตนเองและการทางานเป็นทมี เชื่อมโยงองค์ความรู้ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 100
ร้อยละ 85
2) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของ ม.4 - ม.6 สามารถรวบรวมความรูไ้ ดด้ ว้ ย รอ้ ยละ 100
ตนเองและการทางานเป็นทมี เชือ่ มโยงองค์ความรู้ รอ้ ยละ 85
รอ้ ยละ 100
3) ผ้เู รยี นร้อยละ 85 ของ ม.1 - ม.3 สามารถนาประสบการณ์ใหมๆ่ ร้อยละ 85 ร้อยละ 100
สร้างสรรค์สงิ่ ใหมๆ่ มาใช้ในการจดั โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ร้อยละ 85 ยอดเย่ียม
ผลผลติ เป็นนวตั กรรมได้ ยอดเย่ียม ร้อยละ 85
ร้อยละ 85
4) ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85 ของ ม.4 - ม.6 สามารถนาประสบการณใ์ หมๆ่ รอ้ ยละ 85
สรา้ งสรรค์สิง่ ใหม่ๆมาใช้ในการจดั โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ร้อยละ 85
ผลผลิต เป็นนวัตกรรมได้ รอ้ ยละ 85
รอ้ ยละ 85
5) ผเู้ รยี นร้อยละ 85 ของ ม.1 - ม.3 นานวัตกรรมไปประยุกตใ์ ช้ใน รอ้ ยละ 85
วถิ ชี วี ติ และเผยแพร่ รอ้ ยละ 85
รอ้ ยละ 85
6) ผู้เรียนร้อยละ 85 ของ ม.4 - ม.6 นานวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ใน ร้อยละ 85
วิถชี ีวิต และเผยแพร่ รอ้ ยละ 85
รอ้ ยละ 85
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

(1.) ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85 ของ ม.1 - ม.3 สามารถใชเ้ ทคโนโลยีและ
การสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเองและสังคมดา้ นการเรียนรู้ มรี ะดับผล
การเรยี น 3.0 ขึน้ ไป

(2.) ผูเ้ รียนร้อยละ 85 ของ ม.4 - ม.6 สามารถใช้เทคโนโลยแี ละ
การสื่อสารเพื่อพฒั นาตนเองและสงั คมด้านการเรียนรู้ มีระดับ
ผลการเรียน 3.0 ขน้ึ ไป

(3.) ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 ของ ม.1- ม.3 สามารถใช้เทคโนโลยแี ละ
การสอื่ สารเพ่ือพัฒนาตนเองและสงั คมด้านการส่ือสาร มีระดับ
ผลการเรียน 3.0 ขน้ึ ไป

(4.) ผ้เู รียนร้อยละ 85 ของ ม.4- ม.6 สามารถใช้เทคโนโลยีและ
การส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมดา้ นการสอ่ื สาร มรี ะดับ
ผลการเรยี น 3.0 ขึน้ ไป

(5.) ผเู้ รียนร้อยละ 85 ของ ม.1- ม.3 มคี วามสามารถทางานเปน็
กล่มุ และมกี ระบวนทกั ษะตามคดิ สร้างสรรค์ มรี ะดบั ผลการ
เรียน 3.0 ขึ้นไป

(6.) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ของ ม.4- ม.6 มคี วามสามารถทางานเป็น
กลุ่มและมกี ระบวนทกั ษะตามคิดสร้างสรรค์ มรี ะดับผลการ
เรยี น 3.0 ข้ึนไป

๑๒๙

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน
มาตรฐาน
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ
ดีเลศิ ร้อยละ 50.26
(1) ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 ของ ม.1-ม.3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลมุ่
สาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามเปา้ หมายของโรงเรยี นที่กาหนดไว้ มรี ะดบั รอ้ ยละ 80
ผลการเรยี น 3.0 ข้นึ ไป
รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 65.58
(2) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยตามเป้าหมายของโรงเรยี นท่ีกาหนดไว้ มรี ะดบั ร้อยละ 80 ร้อยละ 42.32
ผลการเรียน 3.0 ข้นึ ไป
ร้อยละ 70 รอ้ ยละ 36.94
(3) ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกลุ่ม ร้อยละ 70 รอ้ ยละ 74.77
สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ตามเปา้ หมายของโรงเรียนทก่ี าหนดไว้ มี ร้อยละ 70 รอ้ ยละ 68.62
ระดับผลการเรียน 3.0 ขนึ้ ไป
ร้อยละ 80 ร้อยละ 84.41
(4) ผู้เรยี นร้อยละ 70 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่ม ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 88.05
สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตรต์ ามเป้าหมายของโรงเรียนทก่ี าหนดไว้ มี ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 90.76
ระดับผลการเรียน 3.0 ขึ้นไป รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 91.95
รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 89.53
(5) ผเู้ รียนร้อยละ 70 ของ ม.1-ม.3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ตามเปา้ หมายของโรงเรียนทก่ี าหนดไว้ มี
ระดบั ผลการเรยี น 3.0 ขน้ึ ไป

(6) ผู้เรียนรอ้ ยละ 70 ของ ม.4-ม.6 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่
สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ตามเป้าหมายของโรงเรยี นทกี่ าหนดไว้ มี
ระดับผลการเรยี น 3.0 ขึ้นไป

(7) ผู้เรยี นร้อยละ 80 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลมุ่
สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรมตามเป้าหมายของ
โรงเรยี นทก่ี าหนดไว้มรี ะดับผลการเรียน 3.0 ขนึ้ ไป

(8) ผเู้ รยี นร้อยละ 80 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมตามเป้าหมายของ
โรงเรียนทกี่ าหนดไว้ มรี ะดับผลการเรียน 3.0 ขึน้ ไป
(9) ผ้เู รียนร้อยละ 85 ของ ม.1-ม.3 มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลมุ่
สาระการเรียนรู้ สุขศกึ ษาและพลศึกษาตามเป้าหมายของโรงเรียนที่
กาหนดไว้ มีระดบั ผลการเรยี น 3.0 ขึ้นไป
(10) ผูเ้ รียนร้อยละ 85 ของ ม.4-ม.6 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่ม
สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษาตามเป้าหมายของโรงเรยี นท่ี
กาหนดไว้มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ขึ้นไป
(11) ผ้เู รยี นร้อยละ 85 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ศิลปะตามเป้าหมายของโรงเรยี นทก่ี าหนดไว้มีระดบั ผล
การเรยี น 3.0 ขน้ึ ไป
(12) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 85 ของ ม.4-ม.6 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกลุ่ม

๑๓๐

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน
มาตรฐาน ร้อยละ 81.63
สาระการเรยี นรู้ศิลปะตามเป้าหมายของโรงเรยี นกาหนดไว้ มรี ะดบั ผล ร้อยละ 85 ร้อยละ 77.72
การเรยี น 3.0 ขนึ้ ไป รอ้ ยละ 80
ร้อยละ 78.20
(13) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 ของ ม.1-ม.3 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นกลมุ่ รอ้ ยละ 80
สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยีตามเป้าหมายของโรงเรยี น รอ้ ยละ 64.80
ทกี่ าหนดไว้มรี ะดับผลการเรียน 3.0 ขนึ้ ไป ร้อยละ 70
รอ้ ยละ 73.27
(14) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 ของ ม.4-ม.6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่ม รอ้ ยละ 70
สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยีตามเปา้ หมายของโรงเรยี น รอ้ ยละ 63.02
กาหนดไว้ รอ้ ยละ 65 มรี ะดับผลการเรียน 3.0 ขึน้ ไป รอ้ ยละ 35 รอ้ ยละ 56.25
รอ้ ยละ 35
(15) ผู้เรยี นร้อยละ 70 ของ ม.1-ม.3 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกล่มุ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามเป้าหมายของโรงเรยี นทกี่ าหนดไว้ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 85
มีระดบั ผลการเรยี น 3.0 ขนึ้ ไป
ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 85
(16) ผเู้ รยี นร้อยละ 70 ของ ม.4-ม.6 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกลุ่ม รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 85
สาระการเรยี นรู้ ภาษาตา่ งประเทศตามเปา้ หมายของโรงเรียนทกี่ าหนดไว้ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 85
มรี ะดบั ผลการเรยี น 3.0 ขน้ึ ไป
ร้อยละ 85 ร้อยละ 85
(17) ผ้เู รียนรอ้ ยละ 35 ของ ม.3 มผี ลการทดสอบระดบั ชาติสูงกว่า รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 85
คา่ เฉลี่ยระดบั ประเทศหรอื ระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา

(18) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 35 ของ ม.6 มีผลการทดสอบระดบั ชาติสงู กวา่
ค่าเฉล่ียระดบั ประเทศหรือระดบั เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
6) มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ

(1) ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 85 ในระดบั ชั้น ม.1 -ม.3
มคี วามรทู้ ักษะในการจัดการในระดบั ชั้น

(2) ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 ในระดบั ชั้น ม.4-ม.6
มคี วามรู้ทักษะในการจดั การในระดับชั้น

(3) ผู้เรยี นร้อยละ 85 ในระดับชั้น ม.1 -ม.6
มเี จตคตใิ นการศึกษาต่อในระดับท่สี ูงข้นึ

(4) ผู้เรียนร้อยละ 85 ในระดบั ช้ัน ม.4-ม.6 มีเจตคติในการศึกษาต่อ
ในระดับท่สี งู ขนึ้

(5) ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 85 ในระดบั ชั้น ม.1 -ม.3
มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การทางานหรืองานอาชพี

(6) ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 ในช่วงชั้น ม.4-ม.6 มเี จตคติทด่ี ตี อ่ การทางาน
หรอื งานอาชีพ

๑๓๑

มาตรฐาน ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน
มาตรฐาน ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รยี น ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
1) มีคณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ีตามที่สถานศึกษากาหนด ยอดเยี่ยม
ร้อยละ 88.75
อัตลักษณ์ของโรงเรยี น : ใฝ่เรียนใฝ่รู้ เชดิ ชูสถาบัน รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 97.83
ใฝ่เรียนใฝ่รู้ รอ้ ยละ 85
1. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 85 มีนสิ ัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รอ้ ยละ 96.70
จากหอ้ งสมุดแหล่งเรียนรู้และสอ่ื ตา่ งๆรอบตัว ร้อยละ 85 ร้อยละ 98.55
2. ผเู้ รยี นร้อยละ 85 ผา่ นการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ใน ร้อยละ 85 ร้อยละ 72.50
ระดบั ดขี นึ้ ไป
เชิดชูสถาบัน รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 96.71
1. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 มคี วามรกั ในสถาบนั และเข้ารว่ มกจิ กรรมต่างๆ ร้อยละ 100
รอ้ ยละ 85
อย่างม่ันใจแสดงออกอย่างเหมาะสม สรา้ งชอ่ื เสียงทด่ี ใี ห้กับโรงเรียน รอ้ ยละ 85
2. ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 85 ปฏิบัตติ นตามกฎระเบยี บของโรงเรยี น มีการแต่ง

กายถูกต้องเหมาะสม ทรงผมถูกระเบียบวนิ ยั
เอกลกั ษณ์โรงเรียน :โรงเรยี นตากพทิ ยาคม เปน็ ผนู้ าทางวชิ าการ
1. ผู้เรียนรอ้ ยละ 85 มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเฉลย่ี แต่ละรายวชิ าใน
ระดบั 3.0 ขึน้ ไป
2. ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้
พ้นื ฐาน (O-NET) สงู กวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดบั จงั หวดั ระดบั สังกัด
ระดบั ประเทศทุกรายวิชา
3. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 ขน้ึ ไป มผี ลการประเมินการอา่ นคดิ วเิ คราะห์
และเขียนผ่านในระดับดีถึงดีเยี่ยม
4. ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 90 เม่ือจบการศึกษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 แลว้
สามารถสอบผา่ นการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวทิ ยาลยั ที่
ตอ้ งการได้

2) มีความภมู ใิ จในท้องถิน่ เหน็ คุณค่าของความเป็นไทย ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม
(1) ผ้เู รยี นร้อยละ 85 มีความภาคภูมใิ จในท้องถิ่น รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 89.86

(2) ผู้เรียนร้อยละ 85 เห็นคณุ คา่ ของความเป็นไทย รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 73.27
ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 85.83
(3) ผู้เรียนร้อยละ 85 มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรม ประเพณี
และภูมิปญั ญาไทย

๑๓๒

มาตรฐาน ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน
มาตรฐาน
3) มกี ารยอมรับที่จะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม
(1) ผ้เู รียนทุกคนยอมรบั และอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างระหว่าง รอ้ ยละ 100
บุคคลในดา้ นเพศ วยั เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี รอ้ ยละ 100

4) มสี ุขภาวะทางร่างกายและจติ สังคม ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม
ร้อยละ 100 ร้อยละ 100
(1) ผู้เรียนทุกคนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และ
สังคม รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 85
รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100
(2) ผ้เู รียนร้อยละ 85 ขนึ้ ไปมีการแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละ
ชว่ งวยั

(3) ผู้เรียนทุกคนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อ่ืน
ไม่มีความขดั แย้งกบั ผู้อนื่

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม
ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม
2.1มีเปา้ หมายวิสัยทัศน์และพันธกิจทสี่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน
(1) สถานศึกษากาหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ไว้อยา่ งชดั เจน

เป็นรปู ธรรม ปฏิบัติได้ สอดคลอ้ งกับบริบทของโรงเรียน ความ
ต้องการของชุมชนและท้องถ่ิน
(2) สถานศกึ ษากาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาล ตน้
สังกดั และทันต่อการเปลย่ี นแปลงของสงั คม

๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม

(1) สถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ
วางแผนจดั ทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

(2) สถานศกึ ษามีการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรงุ พฒั นา
งานนาผลการประเมนิ คุณภาพภายในไปใชใ้ นการวางแผนและพฒั นา
คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง

(3) สถานศึกษามกี ารบริหารอตั รากาลังและทรพั ยากรทางการศึกษาให้
เกดิ คุณภาพสูงสดุ

(4) สถานศึกษาจดั ระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นที่มปี ระสทิ ธภิ าพและ
ครอบคลุมถงึ ผู้เรียนทุกคน

(5) สถานศึกษามีระบบการนเิ ทศภายใน กากับตดิ ตามตรวจสอบและนา

๑๓๓

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐาน ยอดเยี่ยม
ข้อมลู มาใช้ในการพัฒนา ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
(6) คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชมุ ชน บคุ ลากรและผทู้ ่ี
ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม
เกย่ี วข้องมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาการศกึ ษาและร่วม
รับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา ยอดเยี่ยม
๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตาม
หลักสตู รสถานศึกษาและทุกกล่มุ เป้าหมาย
(1) สถานศึกษาบริหารจดั การเก่ยี วกับงานวชิ าการ ทงั้ ด้านการพัฒนา
หลกั สตู รกิจกรรมเสริมหลักสตู รท่เี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบด้าน
(2) สถานศกึ ษามีหลกั สตู รสถานศึกษาและมกี ารจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาพร้อมทั้งประเมนิ ผลการใช้และ
ปรับปรงุ หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง
(3) สถานศึกษามีการจดั หลกั สูตรเชื่อมโยงวถิ ีชวี ติ จริง และครอบคลมุ ทกุ
กลุ่มเปา้ หมาย หมายรวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มท่ีเรยี น
แบบควบรวมหรอื กลุ่มทีเรยี นร่วมดว้ ย
๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ

(1) สถานศึกษาส่งเสริม สนบั สนุนใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษาทุก
คน เขา้ รบั การอบรม สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนา
วิชาชีพไมน่ ้อยกวา่ 20 ชว่ั โมงตอ่ ปี

(2) สถานศกึ ษาส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครทู ุกคน เขา้ รบั การอบรมตาม
โครงการคปู องครเู พ่ือพฒั นาวิชาชพี ไม่น้อยกวา่ 12-20 ช่ัวโมงต่อปี

(3) สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนับสนุนให้ครู บุคลากรทางการศกึ ษาทุกคน
จัดกจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) เพอ่ื พัฒนางานไม่
นอ้ ยกวา่ 50 ช่ัวโมงตอ่ ปี

(4) สถานศึกษาสง่ เสริม สนับสนนุ ใหค้ รู บคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคน
ให้มีหรอื เลอื่ นวทิ ยฐานะสงู ขึ้น

(5) สถานศึกษาส่งเสริมสนบั สนุนใหค้ รูมีการศึกษาวจิ ัยและพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ในรายวิชาท่ีตนรับผดิ ชอบและใช้ผลในการปรับการสอน
๒. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจดั การ
เรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
(1) สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทง้ั ภายในและภายนอก
หอ้ งเรยี นและสภาพแวดล้อมทางสงั คมทเ่ี อ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้
(2) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอก
ห้องเรยี นและสภาพแวดล้อมทางสงั คมท่ีมคี วามปลอดภยั
(3) สถานศึกษาจัดใหม้ ีห้องปฏบิ ัติการ(หอ้ งพเิ ศษ) ต่างๆ เช่น
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์ หอ้ งสมุด หอ้ งพยาบาล ท่ีเอ้ือต่อการจดั การ

๑๓๔

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน
มาตรฐาน
เรยี นรู้
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
และการจัดการเรียนรู้

(1) สถานศกึ ษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศพ้ืนฐานที่ครอบคลุม
ถกู ต้องและสมบูรณ์

(2) สถานศกึ ษาการจดั เก็บข้อมูลและสารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ
ทันสมยั ทนั ต่อการใช้งานและพฒั นาต่อเน่ือง

(๓) สถานศกึ ษานาขอ้ มูลสารสนเทศไปใช้ในการบริหารจัดการ และ
การจัดการเรยี นรู้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม
สาคัญ ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม
รอ้ ยละ ๑๐๐ ร้อยละ ๑๐๐
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง และสามารถ
นาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้ ร้อยละ ๑0๐ ร้อยละ ๙๐

(1) ครูทุกคนวิเคราะห์ขอ้ มูลผู้เรียนเปน็ รายบุคคลและนาผลจากการ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ ๑0๐
วิเคราะหม์ าใช้ในการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ และจัดทา รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ ๑0๐
แผนการจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ ๑0๐ ร้อยละ ๑0๐

(2) ครทู กุ คนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน ตวั ช้วี ัดของหลักสูตร
สถานศกึ ษาท่ีเนน้ ให้ผู้เรยี นเกิดกระบวนการคดิ วเิ คราะห์
สังเคราะห์คิดสรา้ งสรรค์ ฯลฯ และการปฏิบัติจรงิ ผ่านการทา
โครงงาน/กิจกรรม/การฝกึ ปฏิบตั ใิ นสถานการณ์จริง และนักเรยี น
ขยายความคิดนาไปใชช้ วี ติ ได้

(3) ครูรอ้ ยละ 85 จัดกจิ กรรมการเรียนร้กู ารปฏิบัตจิ ริงผ่านการทา
โครงงาน เช่น โครงงาน IS , โครงงานคุณธรรม เป็นตน้

(4) ครรู อ้ ยละ 85 จดั กิจกรรมการเรยี นรูก้ ารปฏิบตั ิจริง ตัวอย่างเข่น
Stem , STEAM3 เป็นตน้

(5) ครทู ุกคน จดั กิจกรรมการฝึกปฏิบัตใิ นสถานการณจ์ รงิ และนักเรียน
ขยายความคิดนาไปใช้ชีวติ ได้

๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ี่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 85
(1) ครรู อ้ ยละ 85 ใช้แหล่งเรยี นรูใ้ นชมุ ชนสอดคล้องกับสาระท่ีสอน
สรา้ งแรงจูงใจให้นักเรียนสนุกในการเรยี นรู้ ร้อยละ ๑0๐ ร้อยละ ๑0๐

(2) ครูทุกคนพัฒนาส่ือการสอน ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศท่สี อดคลอ้ ง
กับสาระที่สอนสร้างแรงจูงใจใหน้ ักเรียนสนกุ ในการเรยี นร้คู นละไม่
นอ้ ยกว่า 2 ช้ินต่อปี

๑๓๕

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ
มาตรฐาน รอ้ ยละ 85
(3) ครูร้อยละ 85 ใช้วิทยากร ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ปราชญใ์ นชุมชน ร้อยละ 85
สอดคล้องกับสาระทส่ี อนสรา้ งแรงจงู ใจใหน้ ักเรยี นสนกุ ในการ รอ้ ยละ ๑0๐
เรียนรู้ รอ้ ยละ ๑0๐
ยอดเยี่ยม
(4) ครทู ุกคน มีการสบื ค้นขอ้ มูลและใชแ้ หลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม ร้อยละ ๑0๐
หรือจากสื่อออนไลน์ต่างๆ เป็นแนวทางใหน้ กั เรียนได้แสวงหา รอ้ ยละ ๑0๐ รอ้ ยละ ๑0๐
ความรู้ดว้ ยตนเอง ร้อยละ ๑0๐ ยอดเย่ียม
ยอดเย่ียม รอ้ ยละ ๑0๐
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวก รอ้ ยละ ๑0๐ ร้อยละ ๑0๐
ร้อยละ ๑0๐ รอ้ ยละ ๑0๐
(1) ครทู ุกคนมกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรยี น โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์ ร้อยละ ๑0๐ ยอดเยี่ยม
เชิงบวกเพอ่ื ใหเ้ ดก็ รักครู ครูรักเดก็ เด็กรักเด็ก ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ ๑0๐
ร้อยละ ๑0๐ รอ้ ยละ ๑0๐
(2) ครทู ุกคนมกี ารบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการมปี ฏสิ มั พันธ์ รอ้ ยละ ๑0๐ ยอดเย่ียม
เชงิ บวกเพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้ร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ ยอดเย่ียม

3.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมา
พัฒนาผู้เรียน

(1) ครทู ุกคน มีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การ
เรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบ

(2) ครูทกุ คน มีการใชเ้ คร่ืองมือและวิธีการวดั และประเมินผลที่
เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรยี นรู้

(3) ครทู กุ คน มีการให้ข้อมลู ย้อนกลบั แก้ผเู้ รียนเพอื่ นาไปใชใ้ นการ
พฒั นาการเรียนรู้

๓. มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพฒั นาและ
ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้

(1) ครแู ละผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละ
ประสบการณ์รว่ มกนั เพ่ือปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นรู้

(2) ครูและผู้มีส่วนเกย่ี วข้องรว่ มกันใหข้ ้อมูลปอ้ นกลบั เพ่ือปรับปรงุ
และพัฒนาการจดั การเรียนรู้
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

๑๓๖

สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก

1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ทกุ ระดับชน้ั ปีการศกึ ษา 256๒

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ สุขศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาต่างประเทศ

ระดับช้ัน นร.ทีไ่ ด้ระดับ นร.ทไ่ี ด้ระดับ 3.0 นร.ท่ไี ด้ระดับ 3.0 นร.ทไี่ ดร้ ะดับ 3.0 นร.ท่ีได้ระดับ 3.0 นร.ท่ีได้ระดับ 3.0 นร.ที่ไดร้ ะดับ 3.0 นร.ท่ีไดร้ ะดับ 3.0

3.0 ขึ้นไป ข้ึนไป ข้ึนไป ข้นึ ไป ขนึ้ ไป ข้ึนไป ข้นึ ไป ขนึ้ ไป

ชน้ั จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน จานวน จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

ทล่ี งทะเบยี น ท่ลี งทะเบียน ที่ลงทะเบียน ที่ลงทะเบียน ทล่ี งทะเบยี น ที่ลงทะเบียน ทลี่ งทะเบยี น ที่ลงทะเบียน

ม. ๑ 615 51.99 796 40.20 2127 71.52 2319 79.12 1678 91.39 896 87.84 1038 90.03 1714 63.65

ม. ๒ 438 47.10 903 45.74 2063 78.41 2195 87.45 1550 89.80 767 82.03 547 62.37 1449 64.37

ม. ๓ 496 51.19 789 40.99 1383 74.80 2528 87.11 1764 91.02 955 98.56 1533 77.35 1844 66.26

รวม ม.ต้น 1549 50.26 2488 42.32 5573 74.77 7042 84.41 4992 90.76 2618 89.53 3118 77.72 5007 64.80

ม. ๔ 818 63.02 512 33.57 2119 60.80 2704 83.33 1483 87.54 631 72.03 653 55.62 1119 53.24
ม. ๕ 558 63.41 648 43.72 2752 73.41 2737 90.18 1285 95.11 916 99.03 309 73.57 1830 77.38
ม. ๖ 867 69.81 241 30.66 1778 72.42 1453 93.74 1414 94.08 562 71.87 2126 90.28 2416 84.62

รวม ม.ปลาย 2243 65.58 1401 36.94 6649 68.62 6894 88.05 4182 91.95 2109 81.65 3088 78.20 5365 73.27

รวมทั้งหมด 3792 58.32 3889 40.21 12222 71.29 13936 86.17 9174 91.30 4727 85.84 6206 77.96 10372 68.92

1.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายระดบั ช้นั ม.1 ปกี ารศกึ ษา 256๒

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1-2 จานวน รอ้ ยละ นร.
นร.ท่ีได้ ทไ่ี ดร้ ะดบั
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จานวน นร. จานวนนักเรยี นทีม่ ีผลการเรียนรู้ ระดับ 3 3 ข้ึนไป
ขน้ึ ไป
ท่ีลงทะเบียน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 51.99
615 40.20
ภาษาไทย 1183 6 78 60 136 288 344 137 134 796 71.52
คณิตศาสตร์ 1980 0 284 351 322 227 209 123 464 2127
วทิ ยาศาสตร์ 2974 9 86 119 259 374 475 462 1190 79.12
สังคมศึกษาศาสนาและ 2319 91.39
วฒั นธรรม 2931 0 84 72 190 266 333 416 1570 1678 87.84
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1836 0 13 26 45 74 180 317 1181 896 90.03
ศลิ ปะ 1020 1 3 15 44 61 180 168 548 1038 63.65
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1153 5 12 12 18 68 134 174 730 1714 70.91
ภาษาตา่ งประเทศ 2693 4 101 193 338 343 396 330 988 11183
15770 25 661 848 1352 1701 2251 2127 6805
รวม

๑๓๗

1.3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ รายระดบั ชน้ั ม.2 ปีการศกึ ษา 256๒

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1-2 จานวน นร.ท่ี ร้อยละ นร.

กลุม่ สาระการเรียนรู้ จานวนที่ จานวนนกั เรียนทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ ไดร้ ะดบั 3 ท่ไี ด้ระดบั

เขา้ สอบ ๐ ๑ 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขน้ึ ไป 3 ขน้ึ ไป

ภาษาไทย 930 14 93 84 132 169 162 119 157 438 47.10

คณติ ศาสตร์ 1974 31 265 233 268 274 192 152 559 903 45.74

วิทยาศาสตร์ 2631 6 49 82 161 270 446 501 1116 2063 78.41

สงั คมศึกษาศาสนาและ

วัฒนธรรม 2510 6 40 31 66 172 517 493 1185 2195 87.45

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1726 5 8 18 40 105 168 245 1137 1550 89.80

ศิลปะ 935 8 25 31 52 52 106 139 522 767 82.03

การงานอาชีพและเทคโนโลยี 877 1 20 55 110 144 153 166 228 547 62.37

ภาษาต่างประเทศ 2251 12 133 139 226 292 305 248 896 1449 64.37

รวม 13834 83 633 673 1055 1478 2049 2063 5800 9912 71.65

1.4 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ รายระดับช้ัน ม.3 ปีการศึกษา 256๒

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1-2 จานวน รอ้ ยละ นร.
ทไ่ี ดร้ ะดับ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวนท่ี จานวนนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ นร.ท่ไี ด้ 3 ข้นึ ไป

เข้าสอบ ๐ ๑ 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดบั 3 51.19
ขึ้นไป 40.99
74.80
ภาษาไทย 969 26 138 83 104 122 133 136 227 496
87.11
คณติ ศาสตร์ 1925 25 279 182 284 366 324 210 255 789 91.02
98.56
วิทยาศาสตร์ 1849 16 147 57 98 148 225 295 863 1383 77.35
66.26
สงั คมศกึ ษาศาสนาและ 73.72

วฒั นธรรม 2902 16 68 55 93 142 286 307 1935 2528

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1938 12 22 38 45 57 82 140 1542 1764

ศลิ ปะ 969 8 0 0 0 6 46 195 714 955

การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1982 16 66 74 124 169 188 185 1160 1533

ภาษาต่างประเทศ 2783 32 270 161 247 229 321 315 1208 1844

รวม 15317 151 990 650 995 1239 1605 1783 7904 11292

๑๓๘

1.5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ รายระดบั ช้นั ม.4 ปกี ารศกึ ษา 256๒

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1-2 จานวน นร.ที่ ร้อยละ นร.

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวนที่ จานวนนกั เรียนทีม่ ีผลการเรยี นรู้ ได้ระดบั 3 ทไี่ ด้ระดบั

เขา้ สอบ ๐ ๑ 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ข้นึ ไป 3 ข้นึ ไป

ภาษาไทย 1298 62 119 80 97 122 213 239 366 818 63.02

คณิตศาสตร์ 1525 27 91 154 422 319 188 103 221 512 33.57

วทิ ยาศาสตร์ 3485 108 197 182 352 527 749 568 802 2119 60.80

สงั คมศึกษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 3245 53 109 100 126 153 283 481 1940 2704 83.33

สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1694 44 22 28 49 68 100 158 1225 1483 87.54

ศิลปะ 876 39 70 28 57 51 98 143 390 631 72.03

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1174 33 94 76 138 180 194 225 234 653 55.62

ภาษาตา่ งประเทศ 2102 47 208 212 244 272 287 240 592 1119 53.24

รวม 15399 413 910 860 1485 1692 2112 2157 5770 10039 65.19

1.6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายระดับชนั้ ม.5 ปกี ารศึกษา 256๒

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1-2 จานวน นร.ที่ รอ้ ยละ นร.

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จานวนที่ จานวนนกั เรียนที่มผี ลการเรียนรู้ ได้ระดบั 3 ที่ไดร้ ะดบั

เข้าสอบ ๐ ๑ 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป 3 ข้ึนไป

ภาษาไทย 880 16 19 42 94 151 207 196 155 558 63.41

คณิตศาสตร์ 1482 26 97 192 275 244 205 147 296 648 43.72

วิทยาศาสตร์ 3749 30 90 132 251 494 627 694 1431 2752 73.41

สงั คมศกึ ษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 3035 33 24 26 95 120 242 329 2166 2737 90.18

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1351 12 9 3 15 27 38 85 1162 1285 95.11

ศลิ ปะ 925 7 0 0 2 0 4 12 900 916 99.03

การงานอาชีพและเทคโนโลยี 420 10 11 9 30 51 78 111 120 309 73.57

ภาษาต่างประเทศ 2365 59 75 96 141 164 304 342 1184 1830 77.38

รวม 14207 193 325 500 903 1251 1705 1916 7414 11035 77.67

๑๓๙

1.7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายระดบั ช้ัน ม.6 ปีการศึกษา 256๒

ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1-2 จานวน นร.ที่ รอ้ ยละ นร.

กลุม่ สาระการเรียนรู้ จานวนที่ จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ ไดร้ ะดับ 3 ทไี่ ด้ระดบั

เข้าสอบ ๐ ๑ 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขนึ้ ไป 3 ข้ึนไป

ภาษาไทย 1242 14 121 44 87 109 195 204 468 867 69.81

คณติ ศาสตร์ 786 7 132 114 138 154 96 56 89 241 30.66

วทิ ยาศาสตร์ 2455 17 131 106 161 262 323 442 1013 1778 72.42

สงั คมศกึ ษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 1550 2 5 3 18 69 137 328 988 1453 93.74

สุขศึกษาและพลศึกษา 1503 9 13 3 20 44 85 87 1242 1414 94.08

ศลิ ปะ 782 6 28 30 70 86 152 221 189 562 71.87

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 2355 14 57 27 43 88 147 211 1768 2126 90.28

ภาษาตา่ งประเทศ 2855 13 75 57 102 192 360 616 1440 2416 84.62

รวม 13528 82 562 384 639 1004 1495 2165 7197 10857 80.26

2. ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคป์ ีการศึกษา 2562
2.1 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์)

คณุ ลกั ษณะฯ รักชาติ ศาสน์ ซ่อื สัตย์ สจุ รติ มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ยา่ ง มงุ่ ม่ันในการ รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ
กษตั ริย์ พอเพียง ทางาน
นร.ทง้ั หมด
2,641 คน นร.ท่ีได้ระดับ ดี นร.ท่ีได้ระดับ ดี นร.ท่ีไดร้ ะดับ ดี นร.ทไ่ี ดร้ ะดับ ดี นร.ทไี่ ดร้ ะดับ ดี นร.ที่ได้ระดับ ดี นร.ท่ีได้ระดับ ดี นร.ท่ไี ดร้ ะดับ ดี
ช้นั
ม. 1 ข้ึนไป ขึ้นไป ข้ึนไป ขึ้นไป ขนึ้ ไป ข้ึนไป ข้ึนไป ขน้ึ ไป
ม. 2
ม. 3 จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
ม. 4
ม. 5 457 99.66 457 99.57 456 99.28 456 99.24 457 99.57 455 99.13 457 99.57 457 99.59
ม. 6
421 99.80 420 99.45 417 98.79 417 98.79 420 99.45 417 98.79 421 99.78 421 99.79
รวม
475 98.75 468 97.30 466 96.88 463 96.26 469 97.51 464 96.47 472 98.13 470 97.71

423 97.24 422 97.01 420 96.55 421 96.78 418 96.09 414 95.17 415 95.40 411 94.48

423 98.34 424 98.58 423 98.29 422 98.14 424 98.58 422 98.15 424 98.58 424 98.58

388 99.14 388 99.17 385 98.46 385 98.43 388 99.17 385 98.59 388 99.35 388 99.34
๒๕๘๗ ๙๘.๘๒ ๒๕๗๙ ๙๘.๕๑ ๒๕๖๗ ๙๘.๐๕ ๒๕๖๔ ๙๗.๙๔ ๒๕๗๖ ๙๘.๔๐ ๒๕๕๗ ๙๖.๖๗ ๒๕๗๗ ๙๘.๔๓ ๒๕๗๑ ๙๘.๒๐

๑๔๐

2.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์)

จานวนนกั เรยี น จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดับคุณภาพ
ทั้งหมด
ระดบั ชนั้ (รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์)

ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเย่ียม

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 459 2 76 381

มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 422 1 93 329

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 481 6 118 357

มัธยมศึกษาปที ี่ 4 435 12 59 363

มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 430 7 49 374

มัธยมศึกษาปีที่ 6 391 3 50 338

รวม 2618 2 76 381

เฉล่ยี ร้อยละ 1.18 16.97 81.85

2.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (ซ่ือสัตย์ สุจรติ )

จานวนนกั เรียน จานวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพ
ทัง้ หมด
ระดบั ช้ัน (ซื่อสตั ย์ สุจริต)

ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ดเี ย่ียม

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 459 2 91 366

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 422 2 105 315

มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 481 13 123 345

มธั ยมศึกษาปีที่ 4 435 13 84 337

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 430 6 110 314

มัธยมศึกษาปที ่ี 6 391 3 56 331

รวม 2618 40 570 2008

เฉล่ยี ร้อยละ 1.53 21.78 76.69

2.4 ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (มีวนิ ัย)

จานวนนักเรยี น จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั คุณภาพ
ท้งั หมด
ระดบั ชนั้ ( มวี ินัย)

ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดเี ยี่ยม

มัธยมศึกษาปีท่ี 1 459 3 124 332

มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 422 5 113 304

มธั ยมศึกษาปีที่ 3 481 15 129 338

มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 435 15 132 288

มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 430 7 100 322

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 391 6 58 327

รวม 2618 52 656 1910

เฉล่ียร้อยละ 1.99 25.06 72.95

๑๔๑

2.5 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ใฝ่เรียนรู้)

จานวนนักเรียน จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดบั คุณภาพ
ทั้งหมด
ระดับชน้ั ( มวี ินัย)

ไมผ่ ่าน ผ่าน ดี ดีเยย่ี ม

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 459 3 139 316

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 422 5 153 264

มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 481 18 147 315

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 435 14 145 275

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 430 8 103 319

มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 391 6 82 302

รวม 2618 55 770 1792

เฉลยี่ รอ้ ยละ 2.12 29.42 68.46

2.6 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (อยู่อยา่ งพอเพียง)

จานวนนกั เรยี น จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดับคณุ ภาพ
ทง้ั หมด
ระดับชั้น ( อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง)

ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดเี ยีย่ ม

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 459 3 110 347

มัธยมศึกษาปีท่ี 2 422 4 135 282

มัธยมศึกษาปีท่ี 3 481 12 158 312

มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 435 17 102 316

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 430 6 81 342

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 391 4 49 338

รวม 2618 46 635 1937

เฉลยี่ ร้อยละ 1.76 24.27 73.97

2.7 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (มุ่งม่นั ในการทางาน)

จานวนนกั เรียน จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ
ทั้งหมด
ระดบั ชน้ั ( มงุ่ มนั่ ในการทางาน)

ไม่ผ่าน ผา่ น ดี ดเี ยย่ี ม

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 459 4 139 316

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 422 5 152 264

มัธยมศึกษาปที ่ี 3 481 17 158 305

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 435 21 150 265

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 430 8 139 283

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 391 6 77 309

รวม 2618 61 816 1742

เฉลีย่ ร้อยละ 2.32 31.16 66.53

๑๔๒

2.8 ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (รักความเป็นไทย)

จานวนนกั เรียน จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
ทง้ั หมด
ระดบั ชนั้ ( รกั ความเป็นไทย)

ไมผ่ ่าน ผ่าน ดี ดเี ยีย่ ม

มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 459 2 87 370

มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 422 1 121 300

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 481 9 105 366

มัธยมศึกษาปที ่ี 4 435 20 80 335

มัธยมศึกษาปที ี่ 5 430 6 53 371

มัธยมศึกษาปที ี่ 6 391 3 47 341

รวม 2618 40 494 2084

เฉล่ียร้อยละ 1.54 18.86 79.60

2.9 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (มจี ิตสาธารณะ)

จานวนนักเรยี น จานวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดบั คุณภาพ
ทง้ั หมด
ระดับชั้น ( มจี ติ สาธารณะ)

ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเย่ียม

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 459 2 99 358

มัธยมศึกษาปที ี่ 2 422 1 122 300

มัธยมศึกษาปีที่ 3 481 11 147 323

มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 435 19 94 322

มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 430 6 78 346

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 391 3 43 345

รวม 2618 41 582 1994

เฉลยี่ ร้อยละ 1.57 22.25 76.18

3. ผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี นปีการศึกษา 256๒

จานวน จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั คณุ ภาพ
นักเรยี น
ระดับชน้ั ทง้ั หมด ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ย่ยี ม
459
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 422 7 126 326
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 481 6 155 260
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 435 31 134 316
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 430 16 131 288
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 391 14 126 291
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 2618 13 80 298
86 752 1780
รวม 3.29 28.73 67.98
เฉลยี่ รอ้ ยละ


Click to View FlipBook Version