The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประชา บุญมาก, 2019-11-20 23:18:58

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

การเขยี นภาพฉายระบบมมุ มองท่ี 1
ชนิดแสดงภาพฉายเพียง 3 ดา้ น

วธิ กี ารมองภาพฉายด้านขา้ ง

หมุนช้ินงานดูดา้ นขา้ ง

เบนหนา้ ไปดู
ดา้ นขา้ ง

ภาพฉายดา้ นขา้ ง

วธิ ีการมองภาพฉายด้านบน

หมุนช้ินงานเขา้ หาตวั
ดูดา้ นบน

ภาพฉายดา้ นบน

ตัวอย่างการแสดงภาพฉายระบบมุมมองท่ี 1

วธิ ีการเขยี นภาพฉายระบบมุมมองท่ี 1
(แสดงภาพฉายเพยี ง 3 ด้าน)

การฉายภาพระบบมุมมองที่ 3 ภาพฉาย

ภาพสามมิติ

การเขยี นภาพฉายระบบมมุ มองที่ 3 ชนิดแสดงภาพฉายเพียง 3 ดา้ น

ตวั อยา่ งการแสดงภาพฉายวธิ มี ุมมองท่ี 3

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 8
วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบื้องตน้ สอนครง้ั ท่ี 8.2 สัปดาหท์ ี่ 8
ชอ่ื หนว่ ย วิธฉี ายภาพในงานเขยี นแบบ ชั่วโมงรวม 8
เรื่อง วิธฉี ายภาพในงานเขียนแบบ จานวนชว่ั โมง 4

หัวข้อเร่อื ง

ปฏบิ ัตกิ ารเขียนภาพฉาย (ต่อ)

สาระสาคญั
ระบบการฉายภาพตามมาตรฐานสากล แบ่งออกเป็น 2 วธิ ี คอื การฉายภาพตามวิธีมุมมองท่ี 1
และการฉายภาพตามวิธีมุมมองที่ 3 ในปัจจุบันการฉายภาพตามวิธีมุมมองท่ี 1 เป็นที่นิยมมาก ซ่ึงเป็น
ระบบทก่ี ารมองภาพฉายจะสอดคล้องตามหลกั ธรรมชาตมิ ากท่สี ุด

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1.เขียนแบบภาพฉายระบบมมุ มองท่ี 1 จากภาพสามมิตทิ ี่กาหนดใหไ้ ด้
2.เขยี นแบบภาพฉายระบบมุมมองที่ 3 จากภาพสามมติ ิที่กาหนดใหไ้ ด้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
(ขั้นสรปุ 20 นาที)
1. ครูส่งคืน ใบแบบฝึกหัดท่ี 8 ตอนที่ 1 และ 2 แก่นักเรยี น เฉลย สรปุ และซักถามขอ้ สงสยั
(ขน้ั สอน 40 นาท)ี
2. ครูทบทวนการฉายภาพตามระบบมมุ มองที่ 1 แบบแสดงเพียง 3 ด้าน โดยใช้แบบจาลอง
3. ครอู ธิบายทบทวนพร้อมสาธิตเทคนคิ การเขียนภาพฉายตามระบบมมุ มองที่ 1
4. ครอู ธิบายพร้อมสาธติ การเขยี นภาพฉายตามระบบวธิ ีที่ 3
(ขั้นทาแบบฝึกหดั 120 นาท)ี
5. ใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 8 ตอนที่ 2 ข้อ 3 ถึง 6 และตอนที่ 3 ทุกข้อ และกาหนดเวลา

สง่ แบบฝกึ หัด ภายใน 120 นาที
6. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณ์เขยี นแบบของนักเรยี นทกุ คน
7. ครเู ดนิ ดูนกั เรยี นสงั เกตการเขยี นภาพฉาย วา่ ถูกต้องหรอื ไม่
8. ใหน้ กั เรียนสง่ แบบฝึกหดั ตามเวลาท่กี าหนด
(ข้นั ตรวจแบบฝึกหดั 60 นาที)

8. ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัด และทาการตรวจประเมินหลังจากนักเรียนออกจากห้องเรียน
แล้ว

9. ครบู นั ทกึ คะแนน เพ่ือเตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในชว่ั โมงเรียนต่อไป

งานท่มี อบหมาย

ก่อนเรียน ให้นกั เรยี นจดั เตรยี มอุปกรณ์เขยี นแบบประจาตัว และหนังสอื เขียนแบบเทคนิคใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ให้นักเรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 8 ตอนที่ 2 และ3 ส่งในช่วั โมงเรียน

ส่อื การเรียนการสอน

1. ส่ือส่งิ พิมพ์
หนงั สือเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งตน้

2. ส่อื โสตทศั น์
สื่อ Power Point เรอ่ื ง การฉายภาพมุมมองท่ี 3

3. แบบจาลอง
กลอ่ งสเ่ี หลย่ี มลกู บาศก์แบบมบี ่าฉาก

การประเมินผลแบบฝึกหดั
เรอื่ ง การเขยี นภาพฉาย
มีเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อมีดงั นี้

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
210
1. ความถูกตอ้ งของภาพฉาย
ดา้ นหนา้ ……………………………….. ………. ………. ……….
ดา้ นข้าง………………………………... ………. ………. ……….
ด้านบน……………………………….. ………. ………. ……….

2. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา
3. เสน้ เตม็ หนาและเส้นร่างหรือเส้นฉาย มี

ความแตกต่างกนั อย่างชดั เจน

หมายเหตุ ถ้าไมไ่ ด้เขียนเสน้ รา่ งและเสน้ ฉายจะไมม่ ีการตรวจประเมินในข้อน้นั

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 9
สัปดาหท์ ี่ 9
วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบอ้ื งต้น สอนครั้งที่ 9.1 ช่วั โมงรวม 16
จานวนชว่ั โมง 4
ชือ่ หนว่ ย การกาหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราส่วนใน
งานเขียนแบบ

เรื่อง การกาหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราสว่ นในงานเขียนแบบ

หัวข้อเรอ่ื ง
1. มาตราสว่ น (Scale) ตามมาตรฐาน ISO 5455 (1979-12)
2. การกาหนดขนาดของมิติ ตามมาตรฐาน DIN 406-11 (1992-12) และ
DIN ISO 128-22 (1999-11)

2.1 มาตรฐานการกาหนดขนาดในงานเขียนแบบเบ้อื งตน้
2.2 กฎการบอกขนาดช้นิ งานท่มี ขี อบเหลี่ยมตรง

สาระสาคญั
การเขียนแบบชิ้นงานต่าง ๆ ควรเขียนให้เท่าขนาดจริง แต่ขนาดช้ินงานบางชิ้นอาจจะมีขนาด
เล็กมากไม่สามารถเขียนให้เห็นชัดเจนได้ หรือใหญ่มากไม่สามารถเขียนลงในกระดาษได้ ดังน้ัน มาตรา
สว่ นในงานเขยี นแบบ แบ่งออกเป็น 3 ชนดิ คอื มาตราส่วนเท่าของจริง มาตรส่วนย่อ และมาตราส่วน
ขยาย
การกาหนดขนาดมิตลิ งในแบบงาน มคี วามสาคัญคือ ทาใหผ้ อู้ ่านแบบมคี วามเขา้ ใจในแบบมากขึ้น
สามารถทราบขนาดของช้ินงานจริง ซ่ึงมีผลต่อการผลิตในการจัดเตรียมขนาดและจานวนของวัสดุที่
นามาใช้การผลิตชิ้นงานนั้น มาตรฐานการกาหนดขนาดลงในแบบไดอ้ า้ งองิ ตามมาตรฐาน DIN และISO

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. คานวณหาค่าจากมาตราส่วนทก่ี าหนดใหไ้ ด้
2. แสดงการใช้กฎการบอกขนาดเบื้องต้นในแบบได้
3. เขียนตัวเลขบอกขนาดตามมาตรฐานลงในแบบที่กาหนดให้ได้
4. เขียนตัวเลขบอกขนาดลงในแบบ ตามกฎการบอกขนาดได้
5. เขียนแบบตามมาตราสว่ นท่ีกาหนดได้

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
(สรปุ 20 นาที)
1. ครสู ง่ คืน ใบแบบฝึกหดั ที่ 8 ตอนที่ 3 แกน่ ักเรียน เฉลย สรปุ และซกั ถามข้อสงสัย

(สอนเรอื่ งมาตราส่วน 15 นาท)ี
2. ครูนาเข้าสู่บทเรียนเร่ืองมาตราส่วน โดยนาเอาชิ้นงานจริงแสดง เช่น โต๊ะเรียน หรือ ไส้
ปากกาขนาดเลก็ เพอ่ื ชกั นาความคดิ นกั เรียน วา่ สามารถเขยี นแบบช้ินงานเหล่าน้ี ลงในกระดาษเขียนแบบ
A4 นี้ไดอ้ ยา่ งไร
3. ครูอธบิ ายประกอบแผ่นโปร่งใส พรอ้ มการสาธติ บนกระดานดาเรื่องมาตราส่วนตามมาตรฐาน
ISO และให้นกั เรยี นทอ่ งจาความหมายของตัวเลขมาตราส่วน
(ทาแบบฝกึ หดั 20 นาที)
4. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 9 ตอนท่ี 1 เรอื่ ง มาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ
5. ครเู ดินดูนักเรยี นสงั เกตการทาแบบฝึกหดั หา้ มไมใ่ หล้ อกซึ่งกนั และกนั
6. เมอื่ ครบเวลาตามท่ีกาหนด ให้นักเรียนส่งแบบฝึกหัด ที่เพ่ือนด้านข้างเพื่อให้เพ่ือนช่วยตรวจ
ตามท่ีครูเฉลย และครเู ฉลยดว้ ยวธิ ีซกั ถามนักเรียนใหช้ ว่ ยตอบ ทีละขอ้
(สอนเร่ืองการกาหนดขนาดของมิติ 60 นาท)ี
7. ครนู าเข้าสู่บทเรยี นเร่อื งการกาหนดขนาดของมิติ ตามมาตรฐานISO อธิบายร่วมกับการฉาย
แผ่นโปร่งใส เรอ่ื ง การกาหนดขนาดของมิติ
8. ครูอธิบายร่วมกับการฉายแผ่นโปร่งใส เรื่อง กฎการบอกขนาดชิ้นงานที่มีขอบเหลี่ยมตรง
พร้อมสาธติ การเขียนบนกระดานดา
(ทาแบบฝกึ หดั 90 นาท)ี
9. ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดท่ี 9 ตอนท่ี 2 ข้อ 1-3 และตอนที่ 3 ขอ้ 1
10. ครูตรวจสอบการเตรยี มอุปกรณเ์ ขียนแบบของนักเรียนทุกคน
11. ครเู ดินดูนกั เรียนสงั เกตการทาแบบฝกึ หัด หา้ มไม่ใหล้ อกซึง่ กันและกัน
12. ให้นักเรียนส่งแบบฝกึ หดั ตามเวลาที่กาหนด
(ขนั้ ตรวจประเมนิ ผล 35 นาที)
13. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝึกหดั และทาการตรวจประเมินหลังจากนักเรียนออกจากห้องเรียน
แล้ว
14. ครูบนั ทกึ คะแนน เพ่ือเตรียมไว้สรุปผลภายในชั่วโมงเรียนตอ่ ไป

งานทม่ี อบหมาย

กอ่ นเรยี น ใหน้ ักเรียนจดั เตรยี มอปุ กรณเ์ ขียนแบบประจาตัว และหนังสือเขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 9 ตอนท่ี 1 และ 2 ส่งในชวั่ โมงเรียน

ส่ือการเรียนการสอน

1. สื่อสง่ิ พมิ พ์
หนังสอื เขยี นแบบเทคนคิ เบือ้ งตน้

2. สือ่ โสตทัศน์
สอื่ Power Point เร่อื ง การกาหนดขนาดของมิติ และมาตราส่วน

3. ของจรงิ
โตะ๊ เรียน , ไมท้ ี , ไส้ปากกา

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

1. เร่ือง มาตราสว่ น
มีเกณฑ์การให้คะแนนแตล่ ะขอ้ มีดังน้ี
ขอ้ ที่ 1 ตอบถกู ทั้งหมดใหเ้ ต็ม 4 คะแนน ตอบผดิ 1 ที่ ตัด 1 คะแนน
ข้อท่ี 2 มีขอ้ ยอ่ ยทั้งหมด 4 ข้อ ตอบถกู ข้อละ 2 คะแนน ตอบผดิ ได้ 0

2. เร่ือง การกาหนดขนาดของมิติ
มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ มดี ังนี้

รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ไมผ่ า่ น
5310

1. ความถูกต้องของเส้นบอกขนาด 0.25

(หา่ งขอบรูป 10 หา่ งซ่งึ กนั และกัน 7 )

2. ความถูกตอ้ งของเสน้ ช่วยบอกขนาด 0.25

(ปลายเส้นช่วยฯ เขยี นเลยปลายลูกศรไมเ่ กนิ

2 ม.ม. )

3. ความถูกต้องของตวั เลขบอกขนาด

(ดาชดั เจน สูง 3.5 )

4. ความถกู ตอ้ งของลูกศรบอกขนาด

(ระบายทบึ มุม 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมินเรอ่ื งภาพฉาย
มีเกณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรับปรุง ไมผ่ า่ น
5310
1. ความถูกต้องของภาพฉาย
ดา้ นหนา้ ……………………………….. ………. ………. ………. ……….
ด้านข้าง………………………………... ………. ………. ………. ……….
ดา้ นบน……………………………….. ………. ………. ………. ……….

2. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา
3. เสน้ ร่างหรือเสน้ ฉาย มีความแตกตา่ งกัน
อยา่ งชดั เจนกับเส้นเต็มหนา

หมายเหตุ ถา้ ไม่ไดเ้ ขียนเส้นร่างและเสน้ ฉายจะไม่มีการตรวจประเมินในขอ้ น้ัน

สือ่ Power Point

เรื่อง การกาหนดขนาดของมิติ

เรื่อง การกาหนดขนาดของมิติ

ความหมายของการบอกขนาด

เร่ือง การกาหนดขนาดของมิติ

กฎการบอกขนาดช้นิ งานที่มขี อบเหล่ยี มตรง

เรื่อง การกาหนดขนาดของมิติ

เรื่อง การกาหนดขนาดของมิติ

การกาหนดขนาดมมุ

เร่ือง การกาหนดขนาดของมิติ

ตวั อย่างการบอกขนาดลงในแบบท่ีไม่ถกู ต้อง

ผิด
ถูก
ผิด ผิด

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 9
สัปดาห์ท่ี 10
วชิ า เขยี นแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ สอนครง้ั ที่ 9.2 ช่ัวโมงรวม 16
ชอื่ หน่วย การกาหนดขนาดของมิตแิ ละมาตราส่วนใน จานวนช่วั โมง 4
งานเขยี นแบบ
เรอื่ ง การกาหนดขนาดของมติ ิและมาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ

หวั ขอ้ เรอ่ื ง
การเขยี นภาพฉายจากโจทยท์ ่กี าหนดให้ ตามระบบมุมมองท่ี 1 พรอ้ มบอกขนาดให้ถกู ต้องตามกฏ
การบอกขนาด

สาระสาคัญ
การกาหนดขนาดมติ ิลงในแบบงาน มีความสาคญั คือ ทาใหผ้ อู้ ่านแบบมคี วามเข้าใจในแบบมากข้นึ
การเขียนใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจจงึ จาเป็นตอ้ งเขยี นใหถ้ กู ต้องตามมาตรฐานการกาหนดขนาด

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นตัวเลขบอกขนาดตามมาตรฐานลงในแบบทีก่ าหนดใหไ้ ด้ถกู ต้อง
2. เขยี นตวั เลขบอกขนาดลงในแบบ ตามกฎการบอกขนาดไดถ้ ูกตอ้ ง
3. เขียนภาพฉายตามวิธีมมุ มองที่ 1 พร้อมเขยี นบอกขนาดลงในภาพได้ถูกตอ้ ง
4. เขียนแบบตามมาตราส่วนทกี่ าหนดได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(สรปุ 20 นาที)
1. ครูสง่ คนื ใบแบบฝึกหัดที่ 9 ตอนท่ี 1 และ 2 แก่ นักเรียน เฉลย สรุปและซกั ถามข้อสงสยั
(ขั้นสอน 40 นาท)ี
2. ครูฉายแผน่ โปร่งใสเป็นรูปในแบบฝึกหดั ที่ 9 ตอนท่ี 3 ข้อ 2 และ 3
3.ครูอธิบายพร้อมสาธิตทบทวนการเขียนภาพฉาย 3 ดา้ น และกฎการบอกขนาดเบื้องต้น
(ทาแบบฝึกหดั 120 นาที)
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ท่ี 9 ตอนท่ี 3 ข้อ 2 และ 3
5. ครูตรวจสอบการเตรียมอปุ กรณ์เขียนแบบของนกั เรยี นทุกคน
6. ครเู ดนิ ดนู กั เรียนสงั เกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไมใ่ หล้ อกซึง่ กันและกนั
7. ให้นักเรียนสง่ แบบฝกึ หัด ตามเวลาทก่ี าหนด

(ขัน้ ตรวจประเมินผล 60 นาที)
8. ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หดั และทาการตรวจประเมนิ หลังจากนกั เรียนออกจากหอ้ งเรียน
แลว้
9. ครบู ันทึกคะแนน เพ่อื เตรยี มไว้สรปุ ผลภายในชั่วโมงเรยี นตอ่ ไป

งานท่ีมอบหมาย

ก่อนเรียน ใหน้ กั เรียนจดั เตรียมอุปกรณ์เขยี นแบบประจาตวั และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนคิ ให้พรอ้ ม
ขณะเรยี น ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 9 ตอนท่ี 3 ขอ้ ที่ 2 และ 3 ส่งในช่ัวโมงเรียน

สื่อการเรียนการสอน

1. สือ่ สิ่งพิมพ์
หนงั สอื เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น

2. สื่อโสตทัศน์
ส่ือ Power Point เรือ่ ง การกาหนดขนาดของมติ ิ ตอนท่ี 3 ข้อ 2และ3

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

มเี กณฑ์การให้คะแนนแต่ละดา้ นดงั นี้

การประเมินเรื่องกฏการบอกขนาด

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ไมผ่ ่าน
5310

1. ความถูกต้องของเส้นบอกขนาด 0.25

(หา่ งขอบรูป 10 หา่ งซ่ึงกันและกนั 7 )

2. ความถกู ตอ้ งของเสน้ ช่วยบอกขนาด 0.25
(ปลายเสน้ ช่วยฯ เขียนเลยปลายลูกศรไม่เกิน

2 ม.ม. )

3. ความถกู ต้องของตวั เลขบอกขนาด

(ดาชัดเจน สงู 3.5 )

4. ความถกู ตอ้ งของลูกศรบอกขนาด
(ระบายทึบ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมนิ เรอ่ื งภาพฉาย
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังน้ี

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรับปรุง ไม่ผา่ น
5310

1. ความถกู ต้องของภาพฉาย

ดา้ นหนา้ ……………………………….. ………. ………. ………. ……….

ดา้ นข้าง………………………………... ………. ………. ………. ……….

ด้านบน……………………………….. ………. ………. ………. ……….

2. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา

3. เสน้ ร่างหรือเสน้ ฉาย มคี วามแตกตา่ งกัน

อยา่ งชดั เจนกับเส้นเต็มหนา

หมายเหตุ ถา้ ไม่ได้เขยี นเส้นร่างและเสน้ ฉายจะไมม่ กี ารตรวจประเมนิ ในขอ้ นนั้

สื่อ Power Point

เรื่อง การกาหนดขนาดของมิติ (ต่อ)

ขอ้ ท่ี 2

ขอ้ ท่ี 3

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 9
สปั ดาหท์ ่ี 11
วิชา เขยี นแบบเทคนคิ เบื้องต้น สอนครัง้ ที่ 9.3 ชว่ั โมงรวม 16
ชอ่ื หนว่ ย การกาหนดขนาดของมิติและมาตราสว่ นใน จานวนช่ัวโมง 4
งานเขยี นแบบ
เร่อื ง การกาหนดขนาดของมิตแิ ละมาตราส่วนในงานเขียนแบบ

หวั ขอ้ เรือ่ ง
1. การเขียนบอกขนาดชน้ิ งานทีม่ ีขอบโคง้
2. การเขยี นภาพฉายจากโจทย์ที่กาหนดให้ ตามระบบมุมมองท่ี 1 พร้อมบอกขนาดให้ถูกตอ้ งตาม
กฎการบอกขนาด

สาระสาคัญ
การบอกขนาดส่วนโคง้ ให้บอกเป็นรศั มี โดยเขียนตวั อักษร R นาหนา้ ตัวเลขบอกขนาดการขนาด
วงกลม ใหบ้ อกเปน็ เสน้ ผ่าศนู ย์กลางเทา่ น้ัน และเขยี นสัญลกั ษณ์ Ø นาหนา้ ตัวเลขบอกขนาด

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นตวั เลขบอกขนาดตามมาตรฐานลงในแบบทก่ี าหนดใหไ้ ด้ถูกต้อง
2. เขยี นตัวเลขบอกขนาดลงในแบบ ตามกฎการบอกขนาดไดถ้ กู ต้อง
3. เขียนภาพฉายตามวธิ มี มุ มองท่ี 1 พรอ้ มเขียนบอกขนาดลงในภาพไดถ้ ูกต้อง
4. เขียนแบบตามมาตราส่วนทีก่ าหนดได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(สรุป 20 นาท)ี
1. ครูส่งคนื ใบแบบฝกึ หัดท่ี 9 ตอนท่ี 3 ขอ้ 2และ 3 แกน่ กั เรียน เฉลย สรุปและซกั ถามข้อ

สงสัย
(ขัน้ สอน 40 นาท)ี
2. ครบู รรยาย หวั ข้อกฎการบอกขนาดชิ้นงานทีม่ ีขอบโค้งและวงกลม ร่วมกบั การฉายแผน่

โปร่งใส
(ทาแบบฝกึ หดั 120 นาที)
3. ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 9 ตอนท่ี 2 ข้อ 4 ตอนท่ี 3 ข้อ 4
4. ครูตรวจสอบการเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบของนักเรียนทกุ คน
5. ครูเดินดูนกั เรียนสังเกตการทาแบบฝึกหัด ห้ามไมใ่ ห้ลอกซง่ึ กันและกนั

6. ใหน้ ักเรียนส่งแบบฝกึ หัด ตามเวลาท่ีกาหนด

(ข้ันตรวจประเมินผล 60 นาท)ี
7. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัด และทาการตรวจประเมินหลงั จากนักเรยี นออกจากหอ้ งเรยี น
แลว้
8. ครูบันทกึ คะแนน เพอ่ื เตรียมไว้สรปุ ผลภายในช่ัวโมงเรยี นต่อไป

งานทมี่ อบหมาย
ก่อนเรยี น ใหน้ ักเรยี นจัดเตรียมอปุ กรณเ์ ขียนแบบประจาตัว และหนงั สือเขียนแบบเทคนิคใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั ท่ี 9 ตอนที่ 2 ข้อ 4 ตอนท่ี 3 ขอ้ ที่ 4 สง่ ในชั่วโมงเรียน

สื่อการเรียนการสอน
1. สอ่ื สิง่ พิมพ์
หนังสือเขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น
2. สื่อโสตทัศน์
ส่ือ Power Point เรื่อง การกาหนดขนาดชิ้นงานท่มี ีขอบโคง้ และวงกลม

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด
เรอื่ ง การกาหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราส่วนในงานเขียนแบบ
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะด้านดังน้ี

การประเมินเรือ่ งกฎการบอกขนาด

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
4321

1. ความถกู ตอ้ งของเสน้ บอกขนาด 0.25

(ห่างขอบรปู 10 หา่ งซึง่ กนั และกัน 7 )

2. ความถกู ตอ้ งของเส้นชว่ ยบอกขนาด 0.25

(ปลายเส้นชว่ ยฯ เขยี นเลยปลายลกู ศร1…2)

3. ความถูกตอ้ งของตวั เลขบอกขนาดและ Ø

(ดาชัดเจน สงู 3.5 )

4. ความถูกต้องของลูกศรบอกขนาด
(ระบายทบึ มุม 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมินเร่ืองภาพฉาย

มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั น้ี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
321
รายการประเมิน
………. ………. ……….
1. ความถูกตอ้ งของภาพฉาย ………. ………. ……….
ด้านหน้า……………………………….. ………. ………. ……….
ดา้ นขา้ ง………………………………...
ด้านบน………………………………..

2. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา
3. เสน้ เตม็ หนาและเส้นรา่ งหรือเสน้ ฉาย มี

ความแตกตา่ งกันอยา่ งชัดเจน

หมายเหตุ ถ้าไม่ไดเ้ ขยี นเสน้ รา่ งและเสน้ ฉายจะไม่มกี ารตรวจประเมนิ ในข้อนัน้

สอ่ื Power point

เร่อื ง การกาหนดขนาดชนิ้ งานทมี่ ีขอบโคง้ และวงกลม

เร่ือง การกาหนดขนาดของมิติ

กฎการบอกขนาดชิ้นงานท่มี ีขอบโคง้ และวงกลม

การบอกขนาดรศั มี

เร่ือง การกาหนดขนาดของมิติ

การบอกขนาดวงกลม

เรื่อง การกาหนดขนาดของมิติ

การบอกขนาดวงกลม

การเขียนแบบชิ้นงานทรงกระบอก

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 9
สปั ดาหท์ ี่ 12
วชิ า เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น สอนครั้งที่ 9.4 ชั่วโมงรวม 16
ชอ่ื หนว่ ย การกาหนดขนาดของมติ ิและมาตราส่วนใน จานวนชัว่ โมง 4
งานเขยี นแบบ
เรอื่ ง การกาหนดขนาดของมติ ิและมาตราสว่ นในงานเขียนแบบ

หัวขอ้ เรือ่ ง
1. การเขียนบอกขนาดชนิ้ งานทมี่ ขี อบโคง้
2. การเขยี นภาพฉายจากโจทยท์ ีก่ าหนดให้ ตามระบบมมุ มองที่ 1 พร้อมบอกขนาดให้ถกู ตอ้ งตาม
กฎการบอกขนาด

สาระสาคญั
การบอกขนาดสว่ นโค้ง ใหบ้ อกเป็นรศั มี โดยเขียนตวั อักษร R นาหน้าตัวเลขบอกขนาดการขนาด
วงกลม ใหบ้ อกเป็นเสน้ ผ่าศนู ย์กลางเทา่ น้ัน และเขยี นสัญลกั ษณ์ Ø นาหน้าตัวเลขบอกขนาด

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. เขยี นตัวเลขบอกขนาดตามมาตรฐานลงในแบบท่กี าหนดให้ได้
2. เขยี นตวั เลขบอกขนาดลงในแบบ ตามกฎการบอกขนาดได้
3. เขยี นภาพฉายตามวธิ ีมุมมองที่ 1 พร้อมเขียนบอกขนาดลงในภาพได้ถูกตอ้ ง
4. เขยี นแบบตามมาตราส่วนท่ีกาหนดได้

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
(สรปุ 20 นาที)
1. ครูส่งคนื ใบแบบฝกึ หัดท่ี 9 ตอนท่ี 3 ขอ้ 4 แกน่ กั เรียน เฉลย สรุปและซกั ถามขอ้ สงสัย
(ขัน้ สอน 30 นาที)
2. ครบู รรยายทบทวนกฎการบอกขนาดช้นิ งานที่มขี อบโค้งและวงกลม
3. ครูฉายแผ่นใส เปน็ ภาพในโจทยข์ อ้ 5 และ 6 พรอ้ มอธบิ ายทบทวนการมองภาพฉายมุมมอง

วิธที ่ี 1 ทบทวนการเขียนภาพของชน้ิ งานทรงกระบอกและการบอกขนาดวงกลม
(ขนั้ ประเมินผล 140 นาท)ี
4. ให้นักเรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 9 ตอนที่ 3 ข้อ 5 และ 6
5. ครตู รวจสอบการเตรยี มอุปกรณ์เขียนแบบของนักเรียนทุกคน
6. ครเู ดนิ ดูนกั เรียนสังเกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไมใ่ หล้ อกซงึ่ กันและกัน

7. ใหน้ กั เรียนส่งแบบฝึกหัด ตามเวลาทกี่ าหนด
(ขน้ั ตรวจประเมนิ ผล 50 นาท)ี
8. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หดั และทาการตรวจประเมินหลังจากนกั เรยี นออกจากหอ้ งเรยี น
แล้ว
9. ครูบนั ทึกคะแนน เพ่อื เตรียมไว้สรุปผลภายในช่ัวโมงเรียนต่อไป

งานท่มี อบหมาย
กอ่ นเรยี น ให้นกั เรยี นจัดเตรียมอปุ กรณ์เขยี นแบบประจาตัว และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนิคให้พรอ้ ม
ขณะเรียน ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 9 ตอนที่ 3 ขอ้ ที่ 5 และ 6 ส่งในชว่ั โมงเรียน

ส่ือการเรยี นการสอน
1. สื่อส่ิงพมิ พ์
หนังสือเขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น
2. สือ่ โสตทัศน์
ส่ือ Power Point เร่ือง การกาหนดขนาดชน้ิ งานท่ีมขี อบโคง้

การประเมนิ ผลแบบฝึกหัด

เร่ือง การกาหนดขนาดของมิติและมาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ
มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะด้านดังนี้

การประเมินเรอ่ื งกฎการบอกขนาด ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
4 3 21
รายการประเมนิ

1. ความถูกตอ้ งของเส้นบอกขนาด 0.25
(ห่างขอบรูป 10 ห่างซงึ่ กันและกัน 7 )
2. ความถูกต้องของเสน้ ชว่ ยบอกขนาด 0.25
(ปลายเสน้ ชว่ ยฯ เขียนเลยปลายลูกศร1…2)
3. ความถูกต้องของตัวเลขบอกขนาดและ Ø
(ดาชัดเจน สงู 3.5 )

4. ความถกู ต้องของลกู ศรบอกขนาด
(ระบายทบึ มุม 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมินเรือ่ งภาพฉาย

มเี กณฑก์ ารให้คะแนนดงั น้ี ดี พอใช้ ปรับปรงุ
321
รายการประเมิน
………. ………. ……….
1. ความถกู ต้องของภาพฉาย ………. ………. ……….
ด้านหน้า……………………………….. ………. ………. ……….
ด้านข้าง………………………………...
ด้านบน………………………………..

2. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา
3. เสน้ เต็มหนาและเสน้ รา่ งหรอื เสน้ ฉาย มี

ความแตกตา่ งกนั อย่างชัดเจน

หมายเหตุ ถา้ ไมไ่ ด้เขยี นเสน้ ร่างและเส้นฉายจะไม่มีการตรวจประเมินในขอ้ นั้น

ส่ือ Power Point

เรื่อง การกาหนดขนาดชิ้นงานทม่ี ีขอบโคง้ และวงกลม

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 10
วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้ สอนครัง้ ที่ 10 สปั ดาหท์ ่ี 13
ชื่อหน่วย ภาพตดั เต็ม ช่ัวโมงรวม 4
เรื่อง ภาพตัดเต็ม จานวนชั่วโมง 4

หวั ข้อเร่ือง

1. ภาพตัดเต็ม (Full Section)
2. กฎการเขียนภาพตัดทั่วไป
3. การเขียนภาพตัดเตม็

สาระสาคญั
การเขยี นภาพฉายทวั่ ไป รายละเอยี ดหรอื ขอบรปู ของส่วนที่ถูกบงั จะถูกแสดงด้วยเส้นประ ทาให้
การมองภาพฉายมีความลาบากในการตคี วามสว่ นท่ีถกู บัง และมปี ัญหาอีกลักษณะหนึ่งคือไม่สามารถเขียน
บอกขนาดในรายละเอียดส่วนที่ถูกบังได้ การเขียนภาพตัดเต็มจะแสดงเป็นภาพฉายที่ไม่มีเส้นประ
รายละเอียดหรือขอบรูปของส่วนที่ถูกบังจะถูกแสดงด้วยเส้นขอบรูป (เส้นเต็มหนา) เป็นการเขียนภาพ
ฉายในลกั ษณะเหมือนกับวา่ ภาพนน้ั หรอื ชิน้ งานนนั้ ถูกตัดออกเป็นสองส่วนตรงก่งึ กลางนั้นจริงๆ

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. เขียนภาพฉายเป็นภาพตัดเตม็ ได้
2. เขยี นบอกขนาดในภาพตัดเตม็ ได้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
(ข้ันสรุป 20 นาที)
1. ครสู ง่ คนื ใบแบบฝึกหัดท่ี 9 ตอนท่ี 3 ข้อ 5 และ6 แกน่ กั เรยี น เฉลย สรุปและซกั ถามขอ้

สงสัย
(ข้นั สอน 30 นาท)ี
2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนด้วยการยกตัวอยา่ ง ลกู มะละกอ โดยตง้ั คาถามว่า

“การจะมองเห็นภายในของลูกมะละกอไดจ้ ะตอ้ งทาอยา่ งไร” แล้วฉายแผน่ โปร่งใส 1 เรื่อง ภาพตดั เตม็
พรอ้ มอธบิ ายประกอบ

3. ครูอธิบายกฎการเขียนภาพตัดทว่ั ไป พร้อมฉายแผน่ โปรง่ ใส 2 และ 3
4. ครอู ธิบายกฎการเขยี นภาพตดั เตม็ พร้อมฉายแผน่ โปรง่ ใส 2 และ 4

(ขั้นประเมินผล 120 นาที)
5. ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ที่ 10 เรื่อง การเขียนภาพตัดเต็ม

5.1 ให้ทาขอ้ 1-5 กอ่ น และส่งภายใน 30 นาที
5.2 ใหท้ าข้อ 6 ต่อ และสง่ ภายใน 45 นาที
5.3 ให้ทาข้อ 7 ต่อ และส่งภายใน 45 นาที
6. ครูตรวจสอบการเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบของนกั เรยี นทกุ คน
7. ครเู ดนิ ดนู ักเรยี นสังเกตการทาแบบฝกึ หัด หา้ มไมใ่ ห้ลอกซง่ึ กันและกัน
8. ใหน้ กั เรียนส่งแบบฝึกหดั ตามเวลาท่ีกาหนด
(ข้นั ตรวจประเมิน 70 นาท)ี
9. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหัด และทาการตรวจประเมินหลงั จากนักเรียนออกจากห้องเรียน
แลว้
10. ครบู ันทึกคะแนน เพือ่ เตรียมไว้สรุปผลภายในชัว่ โมงเรยี นตอ่ ไป

งานทมี่ อบหมาย

ก่อนเรียน ให้นกั เรียนจดั เตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนังสอื เขยี นแบบเทคนิคให้พร้อม
ขณะเรยี น ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ที่ 10 สง่ ในช่วั โมงเรยี น

สือ่ การเรียนการสอน

1. ส่อื สิ่งพมิ พ์
หนังสือเขียนแบบเทคนิคเบ้ืองต้น

2. สื่อโสตทศั น์
สื่อ Power Point เรื่อง การเขียนภาพตัดเต็ม

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรับปรุง
เรอ่ื ง การเขยี นภาพตดั เต็ม ขอ้ ท่ี 1 ถึงขอ้ ที่ 5 321
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังน้ี

รายการประเมิน

1. ความถูกต้องของเส้นขอบรปู
2. ความถกู ตอ้ งของเสน้ ลายตัด

หมายเหตุ ถา้ เขยี นภาพฉายเปน็ ภาพตัดเตม็ ไมถ่ ูกต้อง จะไมต่ รวจประเมนิ ข้อนนั้

ขอ้ ท่ี 6 ถึงขอ้ ที่ 7
มีเกณฑก์ ารให้คะแนนดงั นี้

การประเมินเรื่อง กฎการบอกขนาด

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
4321

1. ความถกู ต้องของเสน้ บอกขนาด 0.25

(ห่างขอบรูป 10 ห่างซึง่ กันและกัน 7 )

2. ความถูกตอ้ งของเส้นชว่ ยบอกขนาด 0.25

(ปลายเสน้ ช่วยฯ เขียนเลยปลายลกู ศร1…2)

3. ความถูกต้องของตวั เลขบอกขนาด

(ดาชดั เจน สงู 3.5 )

4. ความถูกตอ้ งของลูกศรบอกขนาด
(ระบายทบึ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมนิ เรื่องภาพตัด
มเี กณฑก์ ารให้คะแนนดังน้ี

รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
4321
1. เขยี นภาพฉายถูกตอ้ ง
2. ความถูกต้องของเส้นขอบรูป
3. ความถกู ตอ้ งของเสน้ ลายตดั

หมายเหตุ ถ้าเขียนภาพฉายเปน็ ภาพตัดเต็มไมถ่ ูกตอ้ ง จะไมต่ รวจประเมนิ ขอ้ นน้ั

สื่อ Power Point

เรอื่ ง ภาพตัดเต็ม

เร่ือง ภาพตดั เตม็

ภาพตดั เต็ม

ภาพแสดงการตัดเตม็ ตามจนิ ตนาการ

ภาพฉาย ภาพตดั เตม็

เรื่อง ภาพตดั เตม็

กฎการเขียนภาพตดั ทั่วไป อา้ งองิ มาตรฐาน ISO 128-1982

เส้นลายตัด

ตวั อกั ษรแสดงตาแหน่ง เส้นแสดงแนวการตัด
แนวตดั

ลกู ศรชีท้ ศิ ทางการมอง

เร่ือง ภาพตดั เตม็

กฎการเขยี นภาพตดั ทวั่ ไป

เส้นเต็มหนา เส้นลกู โซ่บาง เส้นเต็มหนา

เรื่อง ภาพตดั เตม็

ตวั อย่างการแสดงภาพฉายเปน็ ภาพตัดเตม็

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 11
วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบือ้ งต้น สอนคร้ังท่ี 11 สปั ดาห์ที่ 14
ชอื่ หน่วย ภาพตดั ครึง่ ชั่วโมงรวม 4
เรื่อง ภาพตัดครง่ึ จานวนชวั่ โมง 4

หัวขอ้ เร่อื ง

1. ภาพตดั ครึง่ (Half Section)
2. การเขยี นภาพตดั คร่ึง
3. กฎการเขยี นภาพตดั ครึ่ง

สาระสาคัญ
ภาพตัดคร่งึ (Half Section) หมายถงึ ภาพฉายที่แสดงเป็นภาพตัดเพียงครงึ่ เดยี ว ส่วนอกี ครงึ่ ที่
ไม่ถกู ตดั จะคงเสน้ ขอบรปู ไว้ แตไ่ มแ่ สดงเส้นประของขอบรูปทถ่ี กู บงั การแสดงภาพฉายเปน็ ภาพตดั คร่ึง
ทาให้สามารถแสดงใหเ้ หน็ รายละเอียดส่วนที่ถูกบังและรายละเอียดขอบรูปภายนอก พร้อมกนั ในภาพฉาย
เดียวกนั

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นแบบภาพตัดครึ่งได้
2. เขียนบอกขนาดในภาพตัดคร่งึ ได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(ขนั้ สรปุ 20 นาท)ี
1. ครูส่งคืน ใบแบบฝกึ หัดที่ 10 แกน่ ักเรยี น เฉลย สรปุ และซักถามขอ้ สงสยั
(ขน้ั สอน 30 นาท)ี
2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนด้วยการฉายแผ่นโปรง่ ใส 1 เรือ่ ง ภาพตัดคร่ึง พรอ้ มอธบิ ายประกอบ
3. ครอู ธิบายวธิ กี ารเขียนภาพตดั ครงึ่ ด้วยการสาธติ บนกระดานดา และฉายแผ่นโปรง่ ใส 2

เรอื่ ง ภาพตดั ครงึ่ ประกอบการบรรยาย
4. ครูอธบิ ายกฎการเขียนภาพตดั ครง่ึ ประกอบแผ่นโปรง่ ใส 3
(ข้ันประเมนิ ผล 130 นาที)
5. ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 11 เร่อื ง การเขยี นภาพตัดคร่งึ
5.1 ให้ทาข้อ 1-3 กอ่ น และส่งภายใน 20 นาที

5.2 ใหท้ าข้อ 4-8 ต่อ และสง่ ภายใน 35 นาที
5.3 ใหท้ าข้อ 9 ต่อ และสง่ ภายใน 45 นาที
5.3 ให้ทาข้อ 11 ตอ่ และส่งภายใน 30 นาที
6. ครตู รวจสอบการเตรยี มอุปกรณ์เขียนแบบของนักเรียนทกุ คน
7. ครูเดนิ ดูนกั เรยี นสงั เกตการทาแบบฝกึ หัด ห้ามไม่ให้ลอกซงึ่ กันและกัน
8. ใหน้ กั เรยี นส่งแบบฝกึ หัด ตามเวลาทกี่ าหนด
(ข้นั ตรวจประเมนิ 60 นาที)
9. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หัด และทาการตรวจประเมนิ หลงั จากนกั เรยี นออกจากห้องเรยี น
แล้ว
10. ครบู นั ทึกคะแนน เพอื่ เตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในชั่วโมงเรยี นตอ่ ไป

งานท่มี อบหมาย

กอ่ นเรยี น ใหน้ ักเรียนจัดเตรียมอุปกรณ์เขียนแบบประจาตวั และหนังสอื เขยี นแบบเทคนคิ ใหพ้ รอ้ ม
ขณะเรยี น ให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ที่ 10 ส่งในชวั่ โมงเรยี น

สือ่ การเรียนการสอน

1. สือ่ ส่งิ พมิ พ์
หนังสอื เขยี นแบบเทคนคิ เบื้องตน้

2. ส่อื โสตทัศน์
ส่ือ Power Point เร่อื ง การเขียนภาพตัดครึง่

การประเมินผลแบบฝึกหัด ดี พอใช้ ปรับปรุง
เร่อื ง การเขียนภาพตัดครง่ึ 321
ขอ้ ที่ 1 ถึงขอ้ ท่ี 3
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี้

รายการประเมิน

1. ความถกู ต้องของเส้นขอบรูป
2. ความถูกตอ้ งของเส้นลายตดั

หมายเหตุ ถ้าเขียนภาพฉายเปน็ ภาพตัดครึง่ ไม่ถูกต้อง จะไมต่ รวจประเมินข้อนน้ั

ขอ้ ท่ี 4 ถึงข้อท่ี 8 ดี พอใช้ ปรับปรงุ
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังน้ี 321

รายการประเมนิ

1. ความถูกตอ้ งของภาพตดั
2. ความชัดเจนของเสน้ ขอบรูป

ขอ้ ที่ 9 ถงึ ขอ้ ท่ี 10
มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั นี้

การประเมนิ เรื่อง กฎการบอกขนาด

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
4321

1. ความถกู ตอ้ งของเส้นบอกขนาด 0.25

(ห่างขอบรปู 10 หา่ งซ่งึ กันและกนั 7 )

2. ความถกู ต้องของเสน้ ชว่ ยบอกขนาด 0.25

(ปลายเสน้ ชว่ ยฯ เขยี นเลยปลายลกู ศร1…2)

3. ความถกู ตอ้ งของตัวเลขบอกขนาด

(ดาชดั เจน สงู 3.5 )

4. ความถกู ตอ้ งของลกู ศรบอกขนาด
(ระบายทึบ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมินเร่อื งภาพตดั ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี 4321

รายการประเมิน

1. เขียนภาพฉายถกู ต้อง
2. ความถกู ต้องของเสน้ ขอบรปู
3. ความถูกตอ้ งของเส้นลายตดั

ส่ือ Power Point

เรอ่ื ง ภาพตัดคร่งึ

เร่ือง ภาพตดั คร่ึง

ภาพตัดครึง่

ภาพแสดงการตดั เต็มตามจนิ ตนาการ

เรื่อง ภาพตดั คร่ึง

ภาพตัดคร่งึ

เส้นประไม่มี

ภาพฉาย ภาพตดั คร่ึง

เรื่อง ภาพตดั คร่ึง

กฎการเขยี นภาพตดั ครึ่ง

การบอกขนาดขอบรูปท่ี
เหน็ เพยี งข้างเดยี ว

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 12
วชิ า เขยี นแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้ สอนครั้งท่ี 12 สัปดาห์ที่ 15
ชือ่ หน่วย ภาพตัดยน่ ระยะและภาพตัดเฉพาะส่วน ช่ัวโมงรวม 4
เร่ือง ภาพตัดยน่ ระยะและภาพตดั เฉพาะสว่ น จานวนชั่วโมง 4

หัวข้อเรอ่ื ง
1. ภาพตดั ย่นระยะ (Reduction Length Section)
2. ภาพตดั เฉพาะส่วน (Partial Section)

สาระสาคัญ
ภาพตดั ย่นระยะ ใชส้ าหรบั การเขยี นตัดส่วนกลางของชน้ิ งานออก ย่นระยะความยาวของช้ินงาน
ท่ียาวมาก โดยที่รายละเอียดตรงส่วนบริเวณกลางชิ้นงานนั้นไม่มีรายละเอียดใด ๆ เลย เพ่ือช่วย
ประหยัดเวลาในการเขยี นภาพฉาย
ภาพตดั เฉพาะส่วน เปน็ การเขยี นภาพตัดเฉพาะตาแหน่งที่ต้องการแสดงรายละเอียดส่วนท่ีถูกบัง
เทา่ น้นั สว่ นอื่นทีไ่ ม่จาเป็นก็ไม่แสดงภาพตัด ทาใหป้ ระหยัดเวลาในการเขยี นแบบลงได้มาก

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. เขียนภาพตดั ย่นระยะได้
2. เขียนภาพตดั เฉพาะสว่ นได้
3. เขยี นบอกขนาดในภาพตัดได้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
(ขั้นสรปุ 20 นาท)ี
1. ครสู ง่ คืน ใบแบบฝกึ หัดท่ี 11 แกน่ กั เรียน เฉลย สรปุ และซกั ถามขอ้ สงสัย
(ขน้ั สอน 20 นาที เรอ่ื ง ภาพตดั ย่นระยะ)
2. ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นด้วยการฉายแผน่ โปรง่ ใส 1 เรอื่ ง ภาพตัดย่นระยะ พรอ้ มอธิบายประกอบ
3. ครูอธิบายวธิ กี ารเขียนภาพตัดย่นระยะ พร้อมดว้ ยการสาธิตบนกระดานดา
4. ครูอธบิ ายกฎการเขียนภาพตดั ย่นระยะ ประกอบแผ่นโปร่งใส 2
(ขน้ั ประเมินผล 40 นาที)
5. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 12 ตอนที่ 1 เรือ่ ง ภาพตดั ย่นระยะ
6. ครเู ดินดนู ักเรยี นสงั เกตการทาแบบฝึกหัด ห้ามไมใ่ ห้ลอกซ่ึงกันและกัน

7. ให้นกั เรยี นส่งแบบฝกึ หัด ตามเวลาที่กาหนด
8. ครูเกบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หัด และรอการตรวจประเมนิ
(ขนั้ สอน 20 นาที เรือ่ ง ภาพตดั เฉพาะสว่ น)
9. ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นดว้ ย การเขยี นภาพฉายเพลาทมี่ ีการบอกขนาดรูเจาะทีถ่ ูกบงั บรเิ วณปลาย
เพลา และถามวา่ ผิดกฎการบอกขนาดหรือไม่
10. ครสู าธิตการเขียนภาพตดั รูเจาะที่ถูกบังโดยเขียนเป็นภาพตัดเฉพาะสว่ น
11. ครอู ธิบายกฏการเขียนภาพตัดเฉพาะสว่ น
(ขนั้ ประเมนิ ผล 90 นาท)ี
12. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 12 ตอนท่ี 2 ขอ้ 1 และ 2
13. ครเู ดนิ ดนู กั เรียนสงั เกตการทาแบบฝกึ หดั หา้ มไมใ่ หล้ อกซึ่งกนั และกนั
14. ให้นกั เรยี นส่งแบบฝกึ หัด ตามเวลาทก่ี าหนด
(ขัน้ ตรวจประเมิน 50 นาท)ี
15. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หัด และรอการตรวจประเมนิ หลงั จากนกั เรียนออกจากห้องเรียน
ไปแลว้
16. ครบู นั ทึกคะแนน เพ่ือเตรียมไวส้ รุปผลภายในชั่วโมงเรยี นต่อไป

งานทมี่ อบหมาย
ก่อนเรียน ให้นกั เรียนจดั เตรียมอปุ กรณเ์ ขียนแบบประจาตัว และหนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ ร้อม
ขณะเรียน
ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดที่ 12 ตอนท่ี 1 เรอ่ื ง ภาพตดั ยน่ ระยะ ข้อ 1 ถึง 4 ส่งในช่วั โมงเรยี น
ตอนท่ี 2 เรอ่ื ง ภาพตัดเฉพาะสว่ น ข้อ 1 และ 2 สง่ ในช่ัวโมงเรียน

สื่อการเรียนการสอน
1. สอ่ื ส่งิ พมิ พ์
หนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้
2. สอ่ื โสตทัศน์
สือ่ Power Point เรอ่ื ง การเขยี นภาพตดั ย่นระยะและภาพตดั เฉพาะส่วน

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด
1. เร่ือง ภาพตดั ย่นระยะ
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้

รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรับปรุง
210
1. เขยี นภาพฉายถูกตอ้ งตามมาตราส่วน
2. ความถูกต้องของเสน้ ขอบรูป
3. ความถกู ต้องของเสน้ ลายตดั

2. เรื่องภาพตัดเฉพาะสว่ น ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี 3210

รายการประเมนิ ……….. ……….. ……….. ………..
……….. ……….. ……….. ………..
1. เขียนภาพตดั ถูกตอ้ ง ……….. ……….. ……….. ………..
ภาพตัดเฉพาะส่วนรเู จาะ 8……………...
ภาพตดั เฉพาะสว่ นรูเจาะมุม 60…………
ภาพตัดเฉพาะสว่ น R8…………………..

2. ความถูกตอ้ งของเส้นขอบรปู
3. ความถกู ตอ้ งของเส้นลายตดั

การประเมนิ เร่อื ง กฎการบอกขนาด

รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรับปรงุ
210

1. ความถูกตอ้ งของเสน้ บอกขนาด 0.25

(หา่ งขอบรปู 10 ห่างซง่ึ กันและกัน 7 )

2. ความถูกต้องของเส้นช่วยบอกขนาด 0.25

(ปลายเสน้ ชว่ ยฯ เขยี นเลยปลายลกู ศร1…2)

3. ความถูกตอ้ งของตัวเลขบอกขนาด

(ดาชดั เจน สูง 3.5 )

4. ความถูกต้องของลกู ศรบอกขนาด
(ระบายทบึ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 )

ส่ือ Power Point

เรื่อง ภาพตัดยน่ ระยะและภาพตดั เฉพาะส่วน

เร่ือง ภาพตดั ยน่ ระยะ

ภาพตดั ยน่ ระยะ

ตวั เลขบอกขนาดยงั
เขยี นเหมอื นเดมิ

ภาพตดั ยน่ ระยะ

เรื่อง ภาพตดั ยน่ ระยะ

ภาพตัดยน่ ระยะ

ระยะห่าง

เพลาตนั

เพลากลวง
เพลากลวง
งานแท่งเหลี่ยม

เร่ือง ภาพตดั เฉพาะส่วน

ภาพตดั เฉพาะสว่ น

ภาพตดั เฉพาะ
ส่ วน

แสดงรูเจาะ

ภาพตดั เฉพาะส่วน
ท่อกลวง

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 13 และ14

วชิ า เขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้ สอนคร้งั ที่ 13 สัปดาหท์ ี่ 16

ชอื่ หนว่ ย ภาพตดั เยอื้ งแนว ชวั่ โมงรวม 4
ภาพตดั เคล่ือน และภาพตัดหมุน

เรื่อง ภาพตดั เยือ้ งแนว, ภาพตดั เคลอ่ื น และภาพตดั หมุน จานวนชว่ั โมง 4

หัวข้อเร่ือง
1. ภาพตดั เยอ้ื งแนว (Offset Section)
2. ภาพตัดเคลอ่ื น(Removed Section)
3. ภาพตดั หมนุ (Rotate Section)

สาระสาคญั
ภาพตัดเยื้องแนว ลักษณะภาพตัดเขียนคล้ายภาพตัดเต็ม แต่จะใช้กับชิ้นงานที่ไม่มีความ
สมมาตร ซ่งึ ไม่สามารถตัดเตม็ แนวเสน้ ศนู ย์กลางได้
ภาพตดั เคลื่อน เปน็ การเขยี นภาพฉายของหนา้ ตดั ช้นิ งาน ท่ีหมุนออกมาแสดงท่ีตาแหน่งด้านข้าง
หรอื บรเิ วณใตข้ องภาพฉายนน้ั โดยเส้นขอบรูปของภาพตดั จะตอ้ งแสดงดว้ ยเสน้ เตม็ หนา
ภาพตดั หมนุ เป็นการเขียนภาพฉายของหน้าตัดชนิ้ งาน ท่ีหมุนแสดงไปบนตาแหน่งที่ตัดของภาพ
ฉายน้ัน ใช้กบั ชนิ้ งานท่ีสามารถหมุนหน้าตัดตรงบริเวณตาแหน่งท่ตี ดั ได้ทันที ทาให้สะดวกรวดเร็วในการ
แสดงภาพตัด

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นแบบภาพตัดเยอ้ื งแนวได้
2. เขียนแบบภาพตัดหมนุ ได้
3. เขยี นแบบภาพตัดเคล่ือนได้

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
(ขั้นสรุป 30 นาท)ี
1. ครูส่งคนื ใบแบบฝกึ หัดท่ี 12 แก่นักเรียน เฉลย สรุปและซกั ถามขอ้ สงสัย
(ข้นั สอน 30 นาที เรื่อง ภาพตดั เยือ้ งแนว)
2. ครูนาเขา้ สู่บทเรยี นดว้ ยการฉายแผ่นโปร่งใส 1 เรือ่ ง ภาพตดั เยื้องแนว พรอ้ มอธบิ ายประกอบ

กับแบบจาลองภาพตัดเยอ้ื งแนว

3. ครูอธบิ ายวธิ กี ารเขยี นภาพตัดเยื้องแนว ดว้ ยการสาธิตบนกระดานดา และฉายแผน่ โปรง่ ใส 1
เร่ือง ภาพตัดเย้ืองแนว ประกอบการบรรยาย

4. ครอู ธิบายกฎการเขยี นภาพตัดเยือ้ งแนว ประกอบกบั แผน่ โปรง่ ใส
(ขนั้ ประเมนิ ผล 40 นาที)
5. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 13 เร่ือง ภาพตัดเยอ้ื งแนว
6. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบของนกั เรยี นทุกคน
7. ครเู ดนิ ดูนกั เรียนสังเกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไมใ่ ห้ลอกซ่ึงกนั และกัน
8. ให้นกั เรยี นส่งแบบฝึกหดั ตามเวลาที่กาหนด
9. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หัด และรอตรวจประเมนิ หลังจากสอนเรอ่ื งตอ่ ไป
(ขั้นสอน 40 นาที เรอื่ ง ภาพตัดหมนุ และภาพตัดเคลื่อน)
10. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนเร่ืองภาพตัดเคลอ่ื น ดว้ ยการฉายแผน่ โปร่งใส เร่อื งภาพตัดเคลือ่ น
พรอ้ มอธบิ ายประกอบ
11. ครอู ธบิ ายพร้อมสาธติ วิธีการเขยี นภาพตดั เคล่ือน บนกระดานดา
12. ครูอธบิ ายกฎการเขียนภาพตดั เคลื่อน ตามมาตรฐาน ISO 128-1982 ด้วยการฉายแผน่
โปร่งใส 1 เรื่องภาพตัดเคล่อื น
13. ครอู ธบิ ายเรือ่ งการเขยี นภาพตดั หมนุ ตอ่ ทนั ที และเน้นยา้ ขอ้ แตกต่างกับภาพตัดเคลื่อน ท่ี
เหน็ ชดั เจน
(ข้นั ประเมินผล 40 นาที)
14. ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 14 เร่อื ง ภาพตดั เคล่อื นและภาพตัดหมุน
15. ครูเดนิ ดนู กั เรียนสงั เกตการทาแบบฝกึ หดั ห้ามไม่ใหล้ อกซ่ึงกนั และกัน
16. ใหน้ กั เรยี นสง่ แบบฝึกหัด ตามเวลาทกี่ าหนด
(ข้ันตรวจประเมนิ 60 นาที)
17. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝึกหดั และตรวจประเมินหลงั จากนกั เรยี นออกจากหอ้ งเรยี น
18. ครูบนั ทกึ คะแนน เพ่ือเตรยี มไวส้ รุปผลภายในชั่วโมงเรียนตอ่ ไป

งานท่ีมอบหมาย

ก่อนเรียน ใหน้ ักเรยี นจัดเตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ ให้พรอ้ ม
ขณะเรยี น ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 13 และแบบฝึกหัดท่ี 14 สง่ ในชว่ั โมงเรยี น

สื่อการเรยี นการสอน

1. สอ่ื สิ่งพมิ พ์
หนังสือเขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งตน้

2. สื่อโสตทศั น์
สอ่ื Power Point เร่อื ง ภาพตดั เยื้องแนว, ภาพตดั เคลอ่ื น และภาพตัดหมนุ

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หดั ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
เรอ่ื ง ภาพตดั เยอ้ื งแนว 321
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั น้ี

รายการประเมิน

1. เขียนภาพตดั ไดส้ มบรู ณ์
1. ความถกู ตอ้ งชดั เจนของเสน้ ขอบรปู
2. ความถกู ต้องชัดเจนของเส้นลายตดั
สาหรบั ข้อ 1
เขียนเสน้ แสดงการตัดไดถ้ กู ตอ้ ง

เรือ่ ง ภาพตดั เคล่อื นและภาพตัดหมุน
มีเกณฑ์การให้คะแนนดงั นี้

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
321
1. เขียนภาพตดั ได้สมบรู ณ์
2. ความชัดเจนของเสน้ ขอบรปู
2. ความถูกต้องของเส้นลายตัด


Click to View FlipBook Version