The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประชา บุญมาก, 2019-11-20 23:18:58

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

สือ่ Power Point

เรอ่ื ง ภาพตัดเย้อื งแนว

เรื่อง ภาพตดั เยอ้ื งแนว

ภาพตดั เย้อื งแนว

ภาพตัดเยอื้ งแนวท่ไี ด้

ส่อื Power Point

เรอ่ื ง ภาพตัดเคลอื่ น และภาพตดั หมนุ

เร่ือง ภาพตดั เคลื่อนและภาพตดั หมุน

ภาพตัดเคล่อื น (มาตรฐาน ISO 128-1982)

เรื่อง ภาพตดั เคล่ือนและภาพตดั หมุน

ภาพตัดหมนุ

เรื่อง ภาพตดั เคลื่อนและภาพตดั หมุน

คานตวั ไอ แสดงเป็ นภาพฉาย
คานตวั ไอ แสดงเป็ นภาพตัดหมุน

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 15
วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบอ้ื งตน้ สอนครง้ั ท่ี 14 สปั ดาหท์ ี่ 17
ชอื่ หนว่ ย เขียนแบบด้วยการสเกตซ์ ช่วั โมงรวม 4
เรอ่ื ง การเขียนแบบดว้ ยการสเกตซ์ จานวนช่ัวโมง 4

หัวข้อเรอ่ื ง

1. ความหมายการสเกตซ์
2. การสเกตซเ์ สน้ ตรง
3. การสเกตซว์ งกลม

สาระสาคัญ
การสเกตซ์ หมายถึง การใช้ปากกาหรือดนิ สอขดี เขยี นเส้นด้วยมอื เปลา่ โดยไม่มีบรรทัด, วง
เวยี น หรืออุปกรณ์ชว่ ยในการเขยี นอน่ื ๆ ชว่ ยในการเขียน ซง่ึ มีประโยชนใ์ นการออกไปเขยี นแบบ
ภาคสนาม เชน่ การลอกแบบชน้ิ ส่วนกลไกตา่ ง ๆ ของเครอื่ งจกั ร

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. เขียนสเกตซ์เสน้ ตรงได้
2. เขยี นสเกตซ์วงกลมได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(ขนั้ สรปุ 30 นาที)
1. ครูส่งคนื ใบแบบฝึกหัดท่ี 13 และ14 แกน่ กั เรียน เฉลย สรุปและซกั ถามข้อสงสัย
(ขั้นสอน 30 นาท)ี
2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนเรอ่ื งการเขยี นแบบด้วยการสเกตซ์ ดว้ ยการกาหนดปญั หา เมอ่ื อุปกรณ์

เขียนแบบอ่นื ๆ ไม่มี นอกจากดนิ สอหรอื ปากกาด้ามเดียว และต้องการลอกแบบช้นิ ส่วนกลไกทีอ่ ยู่ใน
ภาคสนาม เพื่อนามาเขียนในห้องเขยี นแบบ

3. ครอู ธิบายพรอ้ มสาธติ วธิ ีการเขียนแบบด้วยการสเกตซ์ บนกระดานดา
(ขน้ั ประเมนิ ผล 120 นาที)
4. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ท่ี 15 เรือ่ ง การเขยี นแบบดว้ ยการสเกตซ์
5. ครเู ดินดูนกั เรียนสังเกตการทาแบบฝึกหัด ห้ามไมใ่ หล้ อกซึง่ กนั และกนั
6. ให้นกั เรียนสง่ แบบฝึกหัด ตามเวลาทก่ี าหนด

(ข้นั ตรวจประเมนิ 60 นาที)
7. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหดั และตรวจประเมินหลงั จากนักเรียนออกจากหอ้ งเรียน
8. ครบู ันทึกคะแนน เพอื่ เตรียมไวส้ รปุ ผลภายในชั่วโมงเรยี นต่อไป

งานที่มอบหมาย

ก่อนเรยี น ใหน้ ักเรยี นจัดเตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนังสือเขียนแบบเทคนคิ ให้พร้อม
ขณะเรียน ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 15 เรอ่ื ง การเขยี นแบบด้วยการสเกตซ์ ส่งในชัว่ โมงเรยี น

สอ่ื การเรยี นการสอน

1. สื่อส่งิ พมิ พ์
หนังสอื เขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น

2. ส่อื โสตทัศน์
สือ่ Power Point เรอ่ื ง การเขยี นแบบดว้ ยการสเกตซ์

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
321
เร่ือง การเขยี นแบบดว้ ยการสเกตซ์
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี

รายการประเมนิ
1. ความคงทขี่ องเสน้
2. ความชัดเจนของเสน้

สื่อ Power Point

เร่อื ง การเขียนแบบดว้ ยการสเกตซ์

การสเกตซ์เส้นตรง

การสเกตซว์ งกลม

การสเกตซภ์ าพสามมติ ิ

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ 16
วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น สอนคร้งั ที่ 15 สัปดาห์ท่ี 18
ชอื่ หน่วย สัญลักษณเ์ บ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม ชว่ั โมงรวม 4
เรื่อง สญั ลักษณ์เบือ้ งต้นในงานช่างอตุ สาหกรรม จานวนช่ัวโมง 4

หัวข้อเรอื่ ง

1. เกลยี ว
2. ความละเอยี ดผิวงาน
3. งานเชื่อม

สาระสาคญั
1.เกลียว เป็นช้ินส่วนมาตรฐานท่ีสาคัญของการจับยึดงานเข้าด้วยกัน ในทางวิศวกรรม เป็น

การยดึ แบบชวั่ คราว ซ่งึ สามารถถอดออกและประกอบใหม่ได้ โดยช้นิ งานประกอบจะไมม่ กี ารเสียหาย
2. ความละเอียดผิวงาน ในงานเขียนแบบทางด้านเคร่ืองกล การเขียนบอกความละเอียดผิว

งานมีความสาคัญมาก มีบทบาทต่อระบบการผลิต ผิวงานของชิ้นส่วนแต่ละช้ินจะมีความละเอียดไม่
เหมือนกัน ผิวท่ีละเอียดมากจะผลิตยากและราตาแพง ดังนั้นการเขียนแบบเบื้องต้นควรเรียนรู้
ความหมายของสญั ลักษณ์ความละเอียดผิวเบอื้ งตน้ และวิธกี ารเขียนสญั ลกั ษณล์ งในแบบ

3.งานเช่ือม ในงานประกอบชิน้ ส่วนโครงสร้าง ท่ีนาชนิ้ งาน 2 ช้ินมาประกอบเชื่อมประสานเข้า
ด้วยกนั จะต้องเขียนแบบส่งั งานแสดงให้ทราบถงึ คาสงั่ วา่ ต้องเช่อื มประสาน ดงั นั้นการเขยี นสญั ลกั ษณ์งาน
เชือ่ มลงในแบบจงึ มคี วามจาเปน็

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นสญั ลกั ษณ์เบื้องตน้ ของเกลียวในงานเขียนแบบได้
2. เขยี นสญั ลกั ษณพ์ ้นื ฐานของความละเอียดผวิ งานในงานเขียนแบบได้
3. เขียนสญั ลักษณ์เบื้องต้นของงานเชื่อมในงานเขยี นแบบได้

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
(ขั้นสรปุ 20 นาท)ี
1. ครสู ่งคนื ใบแบบฝึกหดั ท่ี 15 แกน่ กั เรยี น เฉลย สรปุ และซักถามขอ้ สงสัย

เร่ืองการเขียนสญั ลกั ษณเ์ กลยี ว
(ขัน้ สอน 30 นาที)

2. ครนู าเข้าสู่บทเรียนเร่อื งการเขยี นสญั ลักษณ์เกลียว ด้วยการแสดงของจริง คือ สลักเกลียวตัว
ใหญ่ ท้ังชุด และให้นกั เรียนตอบวา่ นคี่ อื อะไร

3. ครอู ธิบายเรอ่ื งส่วนประกอบของเกลยี ว และชนดิ ของเกลยี ว พร้อมฉายแผ่นโปร่งใส
4. ครอู ธบิ ายพรอ้ มสาธิตวิธีการเขียนแบบสญั ลักษณเ์ กลยี ว บนกระดานดา และฉายแผ่นโปร่งใส
เร่ืองสัญลกั ษณ์เกลยี ว พร้อมไปดว้ ย
5. ประเมนิ ผล

5.1 ใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดที่ 16 ตอนท่ี 1 เร่อื ง การเขียนสญั ลักษณเ์ กลยี ว
5.2 ให้เวลาทา 40 นาที
5.3 ครเู ดินดูนักเรียนสงั เกตการทาแบบฝกึ หัด ห้ามไมใ่ หล้ อกซ่ึงกันและกัน
5.4 ใหน้ ักเรยี นส่งแบบฝกึ หดั ตามเวลาทก่ี าหนด
6. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั และรอตรวจประเมินหลังจากนกั เรียนออกจากห้องเรยี น
เรอื่ งการเขยี นสญั ลักษณ์ความละเอียดของผิวงาน
(ขน้ั สอน 30 นาที)
7. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนเรื่องการเขียนสัญลักษณ์ความละเอียดของผิวงาน ด้วยการแสดงของจริง
คือ ฉากเหลก็ ผิวเจยี รนยั , เพลาเหลก็ ผวิ กลึง หรอื ตวั อยา่ งงานตะไบ
8. ครูอธบิ ายเรอื่ ง การเขยี นสัญลักษณ์ความละเอียดของผวิ งาน พรอ้ มฉายแผ่นโปร่งใส
9. ครอู ธบิ ายพร้อมสาธิตวิธีการเขยี นแบบสญั ลักษณ์ความละเอยี ดของผิวงานบนกระดานดา
10. ประเมนิ ผล
10.1 ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 16 ตอนท่ี 2 เร่ือง การเขียนสัญลักษณ์ความละเอียด
ของผวิ งาน
10.2 ใหเ้ วลาทา 30 นาที
10.3 ครูเดนิ ดนู ักเรียนสังเกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไมใ่ ห้ลอกซง่ึ กันและกัน
10.4 ใหน้ ักเรียนส่งแบบฝึกหัด ตามเวลาทีก่ าหนด
11. ครูเกบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั และรอตรวจประเมนิ หลังจากนักเรยี นออกจากห้องเรียน
เร่อื งการเขียนสัญลกั ษณ์งานเช่อื ม
(ขนั้ สอน 30 นาท)ี
12. ครูนาเข้าสู่บทเรียนเร่ืองการเขียนสัญลักษณ์งานเช่ือม ด้วยการแสดงของจริง คือ ตัวอย่าง
งานเชอ่ื มเหลก็
13. ครอู ธิบายเรอ่ื ง การเขียนสญั ลกั ษณ์งานเชอ่ื ม พรอ้ มฉายแผน่ โปรง่ ใส
14. ครอู ธบิ ายพรอ้ มสาธติ วิธีการเขยี นแบบสัญลักษณ์งานเชือ่ ม บนกระดานดา
15. ประเมินผล

15.1 ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ที่ 16 ตอนท่ี 3 เร่ือง การเขยี นสญั ลกั ษณ์งานเชื่อม
15.2 ให้เวลาทา 20 นาที

15.3 ครูเดินดูนักเรยี นสังเกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไม่ใหล้ อกซึ่งกันและกัน
15.4 ให้นักเรียนสง่ แบบฝึกหดั ตามเวลาทกี่ าหนด
16. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หดั และรอตรวจประเมินหลังจากนักเรียนออกจากห้องเรียน
(ข้ันสรุป 40 นาที)
17. ครูสรุป โดยเฉลยทลี ะเร่อื ง ฉายแผ่นใสเฉลยประกอบการอธบิ าย

งานทีม่ อบหมาย

ก่อนเรียน ใหน้ กั เรยี นจดั เตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบประจาตัว และหนงั สือเขียนแบบเทคนิคใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 16 เรอ่ื ง สัญลักษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม สง่ ในชั่วโมง
เรียน

สื่อการเรียนการสอน

1. สอ่ื ส่งิ พมิ พ์
หนังสือเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น

2. สอ่ื โสตทัศน์
ส่อื Power Point เร่ือง การเขียนสญั ลกั ษณ์เกลียว
สอ่ื Power Point เรอ่ื ง การเขียนสญั ลักษณ์ความละเอยี ดของผวิ งาน
ส่อื Power Point เร่ือง การเขียนสญั ลักษณง์ านเชอื่ ม

3. ของจรงิ
สลักเกลยี วตัวใหญ่ 1 ชุด
ฉากเหล็กผวิ เจยี รนัย , เพลาเหล็กผวิ กลงึ หรอื ตวั อย่างงานตะไบ
ตวั อย่างงานเชอื่ มเหล็ก

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด

เรอื่ ง การเขยี นสัญลักษณเ์ กลยี ว
มีเกณฑก์ ารให้คะแนนดังนี้

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
321
1. เขียนสัญลักษณเ์ กลยี วถกู ต้อง
2. บอกขนาดเกลียวถกู ต้อง

เรอ่ื ง การเขยี นสญั ลกั ษณค์ วามละเอยี ดของผวิ งาน
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี

รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรับปรุง
3 21
1. เขียนสญั ลกั ษณ์ความละเอียดของผิวงานลง
ในแบบงานถกู ตอ้ ง
2. เสน้ ถูกตอ้ ง

เรือ่ ง การเขียนสัญลักษณง์ านเชอื่ ม ดี พอใช้ ปรับปรุง
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี 321

รายการประเมนิ
1. เขียนสญั ลักษณ์งานเช่อื มลงในแบบงาน
ถูกตอ้ ง
2. เสน้ ถกู ต้อง

สื่อ Power Point

เรอื่ ง สญั ลกั ษณเ์ บ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ส่วนประกอบของเกลียว

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ตาราง มาตรฐานการกาหนดขนาดเกลียวชนดิ ต่างๆ

ชนดิ ของเกลยี ว ตัว การกาหนดขนาด ตัวอย่าง
ยอ่ W 28  ¼
เกลียววิทเวอรท์ - W เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางนอก
ละเอียด (เรียว) R 3/4
เป็น มม.  ระยะพิตช์ M 60
เกลยี วท่อ-วทิ เวอรท์ R เปน็ นว้ิ Tr 48  8
(ทรงกระบอก) ขนาดกาหนดของท่อเป็น
นิ้ว Rd40  5
เกลยี วเมตริก ISO M
(ขนาดกาหนด =  ใน ) S70  10
เกลียวเมตริก ISO ทรง Tr เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ
คางหมู เกลียว
เปน็ มม.
เกลียวฟนั กลม Rd เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ
เกลียว
เกลยี วฟันเลื่อย S
เป็น มม.  ระยะพิตช์
เปน็ มม
เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ
เกลียว

เป็น มม.  ระยะพิตช์
เป็น มม
เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ
เกลยี ว

เป็น มม.  ระยะพิตช์
เป็น มม

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลยี ว = 0.8 x เส้นผ่าศูนย์กลางยอดเกลยี ว

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ความโตรูเจาะ = ความโตโคนเกลียวของเกลียวนอก
ความโตของเกลยี ว = ความโตยอดเกลยี วของเกลยี วนอก

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เกลยี วนอก เกลยี วรูใน

ถูกต้อง ผดิ

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ตาราง คา่ และขั้นความหยาบละเอียดของผิวงาน

ค่าความหยาบ (Ra) ข้นั ความ
ไมโครเมตร หยาบ

50 N12
25 N11
12.5 N10
6.3 N9
3.2 N8
1.6 N7
0.8 N6
0.4 N5
0.2 N4
0.1 N3
0.05 N2
0.025 N1

Ra คอื ค่าความหยาบผวิ เฉลี่ย มหี น่วยเปน็ ไมโครเมตร

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ขนาดสัญลกั ษณ์พนื้ ฐาน

เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม
ความหมายของตาแหน่งตา่ งๆที่เขียนลงบนสญั ลักษณ์กาหนดความหยาบละเอียดของผิวงาน

a คือ ตาแหน่งท่ีจะระบุค่าความหยาบ (Ra) เป็นไมโครเมตร หรือข้ัน
ความหยาบต้งั แต่ N1 ถึง N12

b คือ ตาแหนง่ ท่จี ะระบุกระบวนการทากรรมวิธตี ่างๆ หรืองานชุบผิว
c คือ ตาแหน่งทจี่ ะระบุความยาวตัวอยา่ งตรวจสอบ
d คอื ตาแหน่งทจี่ ะระบุทศิ ทางรอยความหยาบ
e คอื ตาแหน่งทีจ่ ะระบคุ วามเผื่อเพอื่ การปรบั ผิวด้วยเครอ่ื งมือกลเป็น
มลิ ลเิ มตร
f คือ ตาแหนง่ ทจ่ี ะระบคุ ่าความหยาบอื่นๆ (ระบุในวงเลบ็

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ความหมายของสญั ลักษณ์ท่ไี ม่มีตวั เลขหรือขอ้ ความใดๆ

สัญลักษณ์ ความหมาย

สญั ลักษณพ์ ื้นฐาน จะใช้โดยไม่มีการระบเุ พิม่ เติมได้

ตอ่ เมอื่ มกี ารอธบิ ายความหมายโดยหมายเหตุ

เท่าน้นั

ผิวงานทต่ี อ้ งการใหม้ ีความหยาบละเอียดตามที่

กาหนด โดยเอาเนอ้ื วัสดุออกด้วยเคร่ืองมอื กลและ

ไม่มีการระบรุ ายละเอียดอื่นใด

ผวิ งานท่ตี อ้ งการใหม้ ีความหมายละเอยี ดตามท่ี

กาหนดโดยไม่ให้เอาเนอื้ วสั ดอุ อกหรือผวิ งานที่ถกู

ปล่อยไวใ้ นสภาพเดมิ ไมว่ า่ สภาพน้ันได้ผา่ น

กระบวนการทาอยา่ งใดอย่างหนึง่ มาแลว้ ก็ตาม

เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

กฎการเขียนสัญลักษณ์ระบคุ วามหยาบละเอยี ดลงในแบบ ตามมาตรฐาน ISO 1302

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

การใชส้ ัญลักษณก์ าหนดความหยาบผวิ ตามมาตรฐานเยอรมนั DIN 140

สญั ลกั ษณ์ผิวงาน ลกั ษณะคุณภาพของผิวงาน

ผวิ ดิบ ผิวงานของช้ินงานไม่ต้องการความละเอียดมาก
แต่ต้องการ ความสม่าเสมอของผิวงาน เช่น งานหล่อ
งานรดี งานทบุ ข้ึนรูป

ผวิ หยาบ รอยปาดผวิ ของเครื่องมือทใี่ ช้ในการตดั เฉือน
ยงั มองเหน็ ไดช้ ัดเจนด้วยตาเปลา่

ผวิ ละเอยี ดปานกลาง รอยปาดผิวของเครอ่ื งมือท่ใี ช้
ตัดเฉือนยังพอมองเห็นได้บ้างแต่ไม่ชัดเจนนัก

ผวิ ละเอยี ด รอยปาดผิวของเคร่อื งมอื ทีใ่ ชต้ ดั เฉือนจะ
มองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ หน็

ผวิ ละเอยี ดทส่ี ดุ ผวิ ของชน้ิ งานจะละเอียดเงาเปน็ มนั
มาก ซ่งึ ได้แก่ งานเจยี ระไนและงานขดั

เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เขยี นสญั ลกั ษณแ์ นวเช่อื มอยา่ งงา่ ย

เส้นโค้งเตม็ บาง

เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ตาราง แสดงสัญลกั ษณง์ านเช่อื ม ภาพชน้ิ งาน สัญลักษณ์

ช่อื รอยต่อแนวเชอ่ื ม
1. การเชื่อมตอ่ ชนระหว่างแผน่ ที่พบั ขอบ

(ขอบท่ีพบั จะหลอมละลายไปทัง้ หมด)

2. การเชอ่ื มตอ่ ชนแบบหน้าฉาก

3. การเชื่อมต่อชนแบบรปู V ด้านเดยี ว

4. การเชอ่ื มต่อชนแบบหนา้ เฉียงดา้ นเดยี ว

5. การเช่ือมต่อชนแบบรปู V ด้านเดยี ว
โดยมีหนา้ ประชิดกว้าง

6. การเช่อื มต่อชนแบบหน้าเฉยี งด้านเดียว
โดยมหี นา้ ประชิดกว้าง

7. การเชื่อมตอ่ ชนแบบรปู U ดา้ นเดียว
(หน้าขนานหรอื หน้าลาดเอยี ง)

8. การเชอื่ มตอ่ ชนแบบรปู J ด้านเดียว

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ช่อื รอยต่อแนวเชอ่ื ม ภาพชิ้นงาน สัญลกั ษณ์
9. การเชอ่ื มเปิดดา้ นหลัง

10. การเชือ่ มตอ่ ฉาก

11. การเช่ือมอุด

12. การเชือ่ มจุด

13. การเชอื่ มตะเขบ็

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เส้นลกู ศร และเส้นอ้างองิ

เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ภาพสามมิติ

ภาพฉาย ภาพฉายพร้อมลกู ศรชี้


Click to View FlipBook Version