The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประชา บุญมาก, 2019-11-20 23:18:58

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

แผนการสอนเขียนแบบเทคนิคเบื้องค้น1-2562อ.ประชา

แผนการจดั การเรยี นรู้

ช่ือวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองตน้ รหัสวชิ า 20100 – 1001
หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2556
ประเภทวิชาชา่ งอุตสาหกรรม
แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน

จัดทาโดย

นายประชา บุญมาก

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562
วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งระยอง

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั สตู รรายวชิ า

ช่ือวิชา เขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งตน้ รหัสวิชา 20100-1001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ปวช.

จุดประสงค์รายวชิ า
1. เพ่ือใหม้ คี วามเข้าใจหลักการเขยี นแบบเทคนคิ การใช้เครื่องมือ อปุ กรณเ์ ขียนแบบ
2. มีทักษะเกี่ยวกับการอ่านแบบและเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเก่ียวกับภาพฉาย ภาพตัด และ
ภาพสามมติ ิ ตามมาตรฐานเขียนแบบเทคนิค
3. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ัยที่ดีในการทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อ

เวลา มีความซื่อสัตย์ รับผดิ ชอบ และรักษาสภาพแวดลอ้ ม
สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงวิธีเขยี นแบบเทคนคิ การใชเ้ คร่อื งมือ อุปกรณ์เขียนแบบ
2. อา่ นและเขียนแบบภาพช้ินสว่ นสองมิติ
3. อ่านและเขียนแบบภาพสามมติ ิ
4. เขยี นภาพฉาย ภาพชว่ ยและภาพตัด

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการอ่านแบบ เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองต้น การใช้และการ

บารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ มาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิค เส้น ตัวเลข ตัวอักษร การสร้างรูป
เรขาคณิต การกาหนดขนาดของมิติ มาตราส่วน ภาพสามมิติ หลักการฉายภาพมุมท่ี 1 และมุมท่ี 3
ภาพสามมติ ิ ภาพสเกตซ์ ภาพตดั และสัญลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

หนว่ ยการเรียนรู้

ช่ือวิชา เขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งตน้ รหสั วิชา 20100-1001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ปวช.

หน่วยที่ ช่ือหน่วย จานวน ทม่ี า
คาบ A B C D E F G
1 บทนา 4/
2 เครือ่ งมือที่ใช้ในงานเขยี นแบบ 4/
3 การเขยี นตัวเลขและตัวอกั ษร 4/
4 การเขยี นรปู เรขาคณิต 4/
5 มาตรฐานในงานเขยี นแบบ 4/
6 การกาหนดขนาด 8/
7 ภาพสามมติ ิ 8/
8 ภาพฉาย 12 /
9 ภาพตดั 12 /
10 ภาพสเกตช์ 4/
11 สญั ลักษณ์เบอ้ื งตน้ ในงานชา่ ง 4/

อุตสาหกรรม 68
รวม

หมายเหตุ B = วิชาเขียนแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้
A = หลกั สูตรรายวชิ า D = ………………………….
C = ………………… F = …………………………
E = ………………….
G =………………….

โครงการจดั การเรยี นรู้

ช่อื วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบื้องต้น รหัสวิชา 20100-1001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ปวช.

สปั ดาหท์ ่ี หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย/รายการสอน จานวนคาบ
1 4
2 1 บทนา 4
3 4
4 2 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นงานเขยี นแบบ 4
5 4
3 การเขยี นตัวเลขและตวั อกั ษร 8
6-7 8
8–9 4 การเขียนรปู เรขาคณิต 12
10 - 12 12
13 - 15 5 มาตรฐานในงานเขียนแบบ 4
16 4
17 6 การกาหนดขนาด 4
18
7 ภาพสามมติ ิ

8 ภาพฉาย

9 ภาพตดั

10 ภาพสเกตช์

11 สญั ลกั ษณเ์ บ้อื งตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

สอบปลายภาคเรียน

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบ้อื งตน้ รหัสวิชา 20100-1001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ปวช.

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

หน่วยที่ 1 บทนา สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

1.1 วิวฒั นาการของงานเขียนแบบ แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับวิวัฒนาการของงานเขยี นแบบ เห็น

1.2 ความสาคัญของงานเขียนแบบ ความสาคญั ของงานเขยี นแบบ และลกั ษณะของแบบทางเทคนิค

1.3 ลักษณะของแบบทางเทคนิค

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

1. บอกวิวัฒนาการของงานเขยี นแบบ

2. อธิบายความสาคญั ของงานเขยี นแบบ

3. บอกลักษณะของแบบทางสถาปัตยกรรม

4. บอกลักษณะของแบบไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

5. บอกลักษณะของแบบงานท่อ

6. บอกลกั ษณะของแบบเคร่อื งกล

7. บอกลกั ษณะของแบบโครงสร้าง

8. บอกลักษณะของแบบสิทธบิ ตั ร

9. บอกลักษณะของแบบแผนที่

10. บอกลกั ษณะของแบบกาลงั ของไหล

11. บอกลกั ษณะของแบบเคร่ืองมือ

12. บอกลกั ษณะของแบบสาหรบั การผลิตผลติ ภัณฑ์

13. บอกลกั ษณะของแบบงานโลหะแผ่น

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
มีความรบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย และส่งงาน
ตรงเวลาท่ีกาหนด

ชือ่ เร่อื ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 2 เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
เขียนแบบ
2.1 ความหมายของเครือ่ งมอื เขยี น 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับการใชเ้ ครื่องมอื และอปุ กรณ์
แบบ เขยี นแบบ
2.2 เครื่องมือทใ่ี ช้ในงานเขียนแบบ
2.2.1 กระดานเขียนแบบ 2. ใช้เคร่อื งมือเขยี นแบบเบือ้ งต้นตามที่กาหนด
2.2.2 โต๊ะเขียนแบบ
2.2.3 ไม้ที จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
2.2.4 ฉากสามเหลยี่ ม 1. บอกความหมายของเครือ่ งมอื เขียนแบบ
2.2.5 บรรทดั มาตราส่วน 2. บอกช่อื เครื่องมอื เขยี นแบบ
2.2.6 วงเวยี น 3. อธบิ ายการใช้งานของเครอื่ งมือเขยี นแบบ
2.2.7 ดไิ วเดอร์ 4. บอกวธิ ีการบารุงรกั ษาเครือ่ งมอื เขยี นแบบ
2.2.8 บรรทดั เขียนส่วนโคง้ 5. บอกขนาดของกระดาษเขยี นแบบตามมาตรฐาน ISO
2.2.9 ปากกาเขยี นแบบ 6. ใช้เครอื่ งมอื เขียนแบบชนิดตา่ ง ๆ
2.2.10 ดนิ สอเขียนแบบ
2.2.11 บรรทัดวดั มุม ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
2.2.12 อุปกรณ์ช่วยทาความ 1. มีความรับผิดชอบตอ่ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย และส่งงาน
สะอาด
2.3 กระดาษเขียนแบบ ตรงเวลาที่กาหนด
2. ใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยัด

ใบงานท่ี 1 การใช้เครอื่ งมอื เขียน
แบบ

ช่อื เรอ่ื ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
หน่วยท่ี 3 การเขียนตวั เลขและ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
ตัวอักษร
1. แสดงความรู้เก่ยี วกับการเขยี นตัวเลข และตวั อักษรใน
3.1 ความสาคญั ของ งานเขียนแบบ
ตวั อกั ษร
2. เขยี นตัวเลขและตัวอักษรตามมาตรฐานงานเขียนแบบ
3.2 ขนาดของตัวอักษร ทีก่ าหนด
3.3 มุมเอียงของตวั อักษร
3.4 ตัวอักษรภาษาอังกฤษ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
3.5 ตวั อกั ษรภาษาไทย 1. บอกความสาคัญของตัวเลขและตัวอกั ษร
3.6 การเขียนตวั เลขและ 2. บอกขนาดความสูงของเลขและตวั อักษรตาม
ตวั อักษร
มาตรฐาน ISO
ใบงานท่ี 2 การเขยี นตัวเลข และ 3. บอกมุมเอียงของตวั เลขและตัวอกั ษร
ตัวอักษร 4. บอกชนิดของตัวอักษรภาษาองั กฤษ
5. อธบิ ายวธิ กี ารเขียนตัวอกั ษรภาษาอังกฤษ
6. บอกขนาดความสงู ของตวั อักษรภาษาไทย
7. บอกวิธีการเขียนตัวเลขและตัวอกั ษร
8. เขียนตัวเลขและตัวอักษรตามมาตรฐาน

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. มีความรบั ผิดชอบต่องานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย และส่งงาน

ตรงเวลาทกี่ าหนด
2. ใชเ้ ครอื่ งมือและอุปกรณ์เขยี นแบบอย่างประหยัด
3. รจู้ กั แบ่งปนั เครื่องมอื และอปุ กรณเ์ ขยี นแบบ

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ
หน่วยท่ี 4 การเขยี นรปู เรขาคณิต สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
4.1 ความสาคญั ของรูปเรขาคณิตใน
งานเขยี นแบบ 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับการเขยี นรูปเรขาคณิต
4.2 การสรา้ งรปู เรขาคณติ 2. เขยี นรูปเรขาคณติ ตามแบบที่กาหนด

จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
1. บอกความสาคญั ของรูปเรขาคณติ ในงานเขียนแบบได้
2. อธิบายวิธกี ารเขยี นรูปเรขาคณติ ตามทก่ี าหนด

ใบงานท่ี 3 การเขยี นรูปเรขาคณติ 3. เขียนรปู เรขาคณติ ตา่ ง
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
หนว่ ยที่ 5 มาตรฐานในงานเขียน
แบบ 1. มีความรับผดิ ชอบต่องานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย และส่งงาน
5.1 เสน้ ตรงเวลาท่ีกาหนด
5.2 มาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ
2. ใชเ้ คร่อื งมือและอปุ กรณ์เขยี นแบบอยา่ งประหยดั
3. รู้จักแบง่ ปนั เครอื่ งมือและอปุ กรณเ์ ขยี นแบบ
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1. แสดงความร้เู กี่ยวกบั เสน้ ท่ีใช้ในงานเขียนแบบ
2. แสดงความรู้เกี่ยวกบั มาตราสว่ นทใ่ี ชใ้ นงานเขียนแบบ
3. เขียนแบบโดยใช้เสน้ ตามท่ีกาหนด
4. เขยี นแบบโดยใช้มาตราส่วน

จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1. บอกขนาดความกว้างของเส้นท่ีใช้ในงานเขยี นแบบ
2. บอกชนดิ ของเส้นทใ่ี ช้ในงานเขียนแบบ
3. อธิบายกล่มุ เสน้ ท่ีใช้ในงานเขยี นแบบ
4. บอกความยาวของเส้นที่ใชใ้ นงานเขยี นแบบ
5. บอกมาตราสว่ นทีใ่ ช้ในงานเขียนแบบ

ช่อื เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ใบงานท่ี 4 เขยี นเสน้ ต่าง ๆ ที่ใช้ 6. เขยี นเสน้ ตา่ งๆท่ใี ชใ้ นงานเขยี นแบบ

ในงานเขียนแบบ

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1. มีความรบั ผิดชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมาย และสง่ งาน

ตรงเวลาท่ีกาหนด

2. ใชเ้ ครอ่ื งมือและอปุ กรณเ์ ขยี นแบบอย่างประหยัด

3. รจู้ กั แบง่ ปนั เครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ

หน่วยท่ี 6 การกาหนดขนาด สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.1 องค์ประกอบของการกาหนด 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการกาหนดขนาดในงานเขียน

ขนาด แบบ

6.1.1 เสน้ กาหนดขนาด 2. กาหนดขนาดลงในแบบงานตามทก่ี าหนด

6.1.2 ตวั เลขบอกขนาด

6.1.3 หวั ลกู ศร

6.1.4 เสน้ ชว่ ยกาหนด

ขนาด

6.1.5 เส้นชช้ี ่วยกาหนด

ขนาด

6.1.6 เส้นโยง

6.2 การกาหนดขนาดเส้นผ่าน

ศนู ย์กลาง

6.3 การกาหนดขนาดงานทรงกลม

6.4 การกาหนดขนาดส่วนโคง้ และ

คอร์ด

6.5 การกาหนดขนาดมมุ

6.6 การใช้สญั ลักษณร์ ูปสเ่ี หล่ยี ม

จตั รุ ัสและเส้นทแยงมมุ

6.7 การกาหนดขนาดรศั มแี ละ

การกาหนดขนาดแบบงาน

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)
ใบงานที่ 5 การกาหนดขนาด
1. บอกองค์ประกอบของการกาหนดขนาด
หน่วยที่ 7 ภาพสามมิติ 2. กาหนดขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลางลงในแบบงานตาม
7.1 ความหมายของภาพสามมติ ิ คาส่งั ท่ีกาหนด
7.2 ชนิดของภาพสามมติ ิ 3. กาหนดขนาดงานทรงกลมลงในแบบงานตามคาสัง่ ที่
7.3 การเขียนภาพไอโซเมตริก กาหนด
7.4 การเขียนภาพออบลิก 4. กาหนดขนาดส่วนโคง้ และคอรด์ ลงในแบบงานตาม
7.5 การสรา้ งวงรีในภาพสามมติ ิ คาสง่ั ทกี่ าหนด
5. กาหนดขนาดมมุ ลงในแบบงานตามคาส่ังที่กาหนด
6. ใช้สญั ลกั ษณ์รปู ส่ีเหล่ียมจัตุรัสและเส้นทแยงมุม
7. กาหนดขนาดรัศมีลงในแบบงานตามคาส่งั ทีก่ าหนด
8. บอกวิธีการกาหนดขนาดแบบงาน
2. กาหนดขนาดลงในแบบงาน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย และส่งงาน
ตรงเวลาที่กาหนด
2. มีกจิ นสิ ยั ในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ
เปน็ ระเบยี บ สะอาด
3. ใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบอย่างประหยัด
4. รจู้ กั แบ่งปันเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์เขยี นแบบ
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1. แสดงความรเู้ กี่ยวการเขยี นภาพสามมิติ
2. อ่านและ เขียนแบบภาพสามมิติ
3. เขียนวงรใี นภาพสามมิติ ตามท่ีกาหนด
จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
1. บอกความหมายของภาพสามมติ ิ
2. บอกชนดิ ของภาพสามมิติ
3. อธิบายวิธีการเขยี นภาพไอโซเมตริก
4. อธบิ ายวธิ ีการเขยี นภาพออบลิก
5. อธิบายวิธกี ารเขียนวงรใี นภาพสามมิติ

ช่อื เร่ือง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
ใบงานที่ 6 ภาพสามมิติ 6. เขยี นภาพสามมิติตามท่ีกาหนด
7. เขยี นวงรใี นภาพสามมติ ิ
หน่วยท่ี 8 ภาพฉาย
8.1 ความหมายของภาพฉาย ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
8.2 ลกั ษณะของภาพฉาย 1. มีความรบั ผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย และสง่ งาน
8.3 ภาพฉายมมุ ท่ี 1
8.4 ภาพฉายมมุ ที่ 3 ตรงเวลาที่กาหนด
8.5 การฉายภาพวธิ ใี ชศ้ รชี้ 2. มกี ิจนสิ ัยในการทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ

ใบงานที่ 7 ภาพฉาย เป็นระเบียบ สะอาด
3. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์เขยี นแบบอยา่ งประหยดั
4. รจู้ กั แบ่งปนั เครอื่ งมือและอปุ กรณ์เขียนแบบ

สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
1. แสดงความรู้เกยี่ วกับการเขยี นแบบภาพฉาย
2. เขยี นแบบภาพฉายตามท่กี าหนด

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
1. บอกความหมายของภาพฉาย
2. บอกลกั ษณะของภาพฉาย
3. บอกทิศทางการมองภาพฉายมมุ ท่ี 1
4. อธิบายวธิ ีการเขียนแบบภาพฉายมมุ ที่ 1
5. บอกทศิ ทางการมองภาพฉายมมุ ที่ 3
6. อธบิ ายวธิ ีการเขียนแบบภาพฉายมมุ ท่ี 3
7. เขียนแบบภาพฉายตามที่กาหนด

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. มีความรบั ผดิ ชอบต่องานทีไ่ ด้รับมอบหมาย และส่งงาน

ตรงเวลาทกี่ าหนด
2. มีกิจนสิ ัยในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ

เป็นระเบยี บ สะอาด
3. ใช้เคร่ืองมือและอปุ กรณ์เขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. รู้จักแบ่งปันเครือ่ งมอื และอุปกรณเ์ ขยี นแบบ

ชือ่ เรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
หนว่ ยที่ 9 ภาพตดั สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
9.1 ระนาบตดั
9.2 รูปแบบของเส้นแสดงระนาบตดั 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั ภาพตดั
9.3 เสน้ ลายตดั 2. เขยี นแบบภาพตดั ตามแบบทกี่ าหนด
9.4 ชนิดของภาพตดั
จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
9.4.1 ภาพตดั เตม็ 1. บอกความหมายของระนาบตัด
9.4.2 ภาพตัดครึ่ง 2. อธบิ ายการเขียนเสน้ ลายตัด
3. เขยี นแบบภาพตัดชนดิ ต่างๆ
9.4.3 ภาพตัดเฉพาะส่วน
9.4.4 ภาพตดั เล่ือนแนว ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มีความรบั ผิดชอบต่องานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย และสง่ งาน
9.4.5 ภาพตัดหมุน
9.4.6 ภาพตดั เคล่ือน ตรงเวลาท่กี าหนด
9.4.7 ภาพตดั ประกอบ 2. มีกิจนสิ ยั ในการทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ
9.4.8 ภาพตดั ชว่ ย
9.4.9 ภาพตัดชนิดพิเศษ เปน็ ระเบียบ สะอาด
ใบงานที่ 8 ภาพตัด 3. ใช้เครื่องมอื และอุปกรณเ์ ขียนแบบอยา่ งประหยดั
4. ร้จู กั แบ่งปันเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
หนว่ ยท่ี 10 ภาพสเกตซ์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
10.1 ความหมายของภาพสเกตซ์
10.2 ชนดิ ของภาพสเกตซ์ 1. แสดงความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกบั การเขยี นแบบภาพ
10.3 ลกั ษณะของภาพสเกตซ์ สเกตช์
10.4 เสน้ สเกตซ์
10.5 หลกั ในการสเกตซ์ภาพ 2. เขียนภาพสเกตช์ตามแบบที่กาหนด
10.6 วิธีเขียนเส้นในการสเกตซ์
10.7 การสเกตซภ์ าพสามมิติ จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
10.8 การสเกตซภ์ าพฉาย 1. บอกความหมายของภาพสเกต็ ช์
2. บอกชนดิ ของภาพสเกต็ ช์
ใบงานท่ี 8 ภาพสเกตซ์ 3. อธบิ ายลกั ษณะของภาพสเก็ตช์
4. อธิบายเสน้ สเกต็ ช์
5. อธิบายหลักการสเก็ตชภ์ าพ
6. อธบิ ายวธิ กี ารเขยี นเส้นสเก็ตช์
7. อธบิ ายวิธกี ารสเกต็ ชภ์ าพสามมติ ิ
8. อธบิ ายวธิ กี ารสเกต็ ช์ภาพฉาย
9. เขียนภาพสเกตช์

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย และสง่ งาน

ตรงเวลาทกี่ าหนด
2. มีกจิ นิสัยในการทางานด้วยความละเอียดรอบคอบ

เปน็ ระเบยี บ สะอาด
3. ใช้เครอื่ งมอื และอุปกรณเ์ ขยี นแบบอยา่ งประหยัด
4. รจู้ กั แบ่งปันเครอื่ งมือและอุปกรณเ์ ขียนแบบ

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ

หน่วยท่ี 11 สญั ลกั ษณ์เบอื้ งต้นใน สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

งานช่างอตุ สาหกรรม 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สัญลกั ษณ์เบือ้ งตน้ ในงานชา่ ง

11.1 ความสาคัญของสัญลกั ษณ์ อุตสาหกรรม

11.2 สญั ลกั ษณค์ ุณภาพผิว 2. เขยี นสัญลักษณ์คณุ ภาพผวิ ลงในแบบงานท่ีกาหนด

11.2.1 การวัดคา่ ความ

หยาบผวิ งาน จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)

11.2.2 การกาหนด 1. บอกความสาคัญของสัญลกั ษณ์

สัญลกั ษณ์ความหยาบผิวตาม 2. บอกวธิ ีการวัดคา่ ความหยาบผิว

มาตรฐาน DIN 140 3. อธิบายการกาหนดสัญลักษณ์ความหยาบผิวตาม

11.2.3 การกาหนด มาตรฐาน DIN 3141

สัญลกั ษณค์ วามหยาบผิวตาม 4. อธิบายการกาหนดสัญลักษณ์ความหยาบผิวตาม

มาตรฐาน ISO 1302 มาตรฐาน ISO 1302

11.2.4 การระบุตาแหนง่ ใน 5. อธิบายสญั ลักษณ์ทิศทางการตัดเฉือนผวิ งาน

แบบงาน 6. อธิบายการระบตุ าแหน่งสญั ลักษณ์ในแบบงาน

ใบงานที่ 9 สญั ลักษณ์เบ้ืองต้นใน 7. เขยี นสัญลกั ษณ์คณุ ภาพผิวในแบบงาน

งานช่างอุตสาหกรรม

ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. มคี วามรับผิดชอบต่องานที่ไดร้ บั มอบหมาย และสง่ งาน

ตรงเวลาที่กาหนด

2. มีกิจนสิ ัยในการทางานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ

เป็นระเบียบ สะอาด

3. ใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์เขยี นแบบอยา่ งประหยัด

4. ร้จู กั แบง่ ปันเครอ่ื งมอื และอุปกรณเ์ ขยี นแบบ

ตารางวิเคราะห์หลกั สตู รรายวิชา

ชื่อวิชา เขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น รหสั วชิ า 20100-1001

ท.ป.น. 1 – 3 - 2 จานวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับ ปวช.

พุทธพิ ิสยั

พฤติกรรม ความ ู้รความจา
ความเ ้ขาใจ
ชอ่ื หน่วย ประยุก ์ต-นาไปใช้
ิวเคราะห์
ูสงก ่วา
ทักษะพิสัย
จิตพิสัย
รวม
ลา ัดบความสา ัคญ

บทนา 2 26
1 45
เคร่อื งมือท่ีใช้ในงานเขียนแบบ 1 1 1 1 45
1 45
การเขียนตัวเลขและตัวอกั ษร 1 1 1 2 73
2 64
การเขียนรูปเรขาคณิต 111 2 82
2 91
มาตรฐานในงานเขียนแบบ 1 2 2 2 82
1 45
การกาหนดขนาด 112 1 45

ภาพสามมติ ิ 222 15 60
2
ภาพฉาย 223

ภาพตัด 2 2 2

ภาพสเกตช์ 111

สญั ลกั ษณเ์ บ้อื งตน้ ในงานช่าง 1 1 1

อุตสาหกรรม

รวม 15 14 16

ลาดบั ความสาคญั 231

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1

วชิ า เขียนแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้ สอนคร้ังที่ 1.1 สปั ดาห์ท่ี 1
ชอ่ื หนว่ ย การใชแ้ ละการบารงุ รักษาเคร่ืองมือเขียน ช่วั โมงรวม 2
แบบเบื้องตน้ จานวนชว่ั โมง 2
เร่ือง การใช้และการบารงุ รกั ษาเคร่ืองมอื เขียนแบบเบ้อื งต้น

หวั ข้อเรอื่ ง

1. กระดานเขยี นแบบ
2. บรรทัดตัวทหี รือไม้ที
3. บรรทัดเลอ่ื นหรอื ทีสไลด์
4. บรรทัดฉากสามเหล่ียม
5. บรรทดั เขยี นสว่ นโค้ง
6. วงเวียนดนิ สอ
7. ดนิ สอเขียนแบบ
8. ยางลบดนิ สอ

สาระสาคญั
การใช้และการบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ เป็นส่ิงจาเป็นมากที่ช่างเขียนแบบทุกคนจะต้อ ง
เรียนรู้การใช้และการบารุงรักษาเคร่ืองมือเขียนแบบท่ีถูกต้อง เพื่อให้ได้คุณภาพงานเขียนแบบออกมาดี
เคร่ืองมือเขียนแบบเบื้องต้นทจี่ าเปน็ จะต้องเรยี นรมู้ ีดงั นี้
1. กระดานเขียนแบบ
2. บรรทัดตัวทหี รอื ไม้ที
3. บรรทัดฉากสามเหล่ียม
4. บรรทัดเขยี นส่วนโคง้
5. วงเวียนดินสอ
6. ดินสอเขียนแบบ
7. ยางลบดนิ สอในงานเขียนแบบ

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. แสดงการใช้และการบารุงรักษากระดานเขยี นแบบได้
2. แสดงการใชแ้ ละการบารุงรกั ษาไมท้ ีหรอื ทสี ไลด์ได้

3. แสดงการใช้และการบารุงรกั ษาบรรทดั ฉากสามเหลี่ยมได้
4. แสดงการใชแ้ ละการบารงุ รกั ษาบรรทัดเขยี นส่วนโคง้ ได้
5. แสดงการใช้และการบารุงรกั ษาวงเวียนดนิ สอได้
6. แสดงการใช้และการบารุงรักษาดินสอเขยี นแบบได้
7. แสดงการใช้และการบารงุ รักษายางลบดินสอในงานเขียนแบบได้
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครูปฐมนิเทศโดยแนะนาหลักสูตร การเตรียมอุปกรณ์เขียนแบบประจาตัว การประเมินผล
การเรียน การเขา้ เรยี น และการแต่งกาย ใช้เวลา 30 นาที
2. ครูนาเข้าสู่บทเรยี นโดยการยกตวั อย่างถามนักเรยี นดังนี้ “ถ้าเราตอ้ งการจ้างชา่ งทาเก้าอ้ีนั่งตัว
นี้ จะตอ้ งทาอย่างไร ถ้าไมส่ ามารถยกเก้าอี้ไปได้” “ถา้ วาดรูปใสก่ ระดาษจะต้องวาดอยา่ งไร”
(ขั้นสอน 30 นาที)
3. ครใู ชว้ ิธีแสดงอุปกรณ์เขียนแบบทีละช้นิ และถามนักเรียนให้ตอบเพ่ือทดสอบพน้ื ฐานความร้เู ดิม
4. ครแู สดงประกอบการบรรยายการใชแ้ ละการบารงุ รักษาอปุ กรณ์เขยี นแบบทลี ะช้ิน
(ข้ันทาแบบฝกึ หดั 40 นาท)ี
5. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์เขียนแบบ ให้ทาแบบฝึกหัดที่ 1 โดยให้นักเรียนทาตาม
ข้นั ตอนดังนี้

5.1 ดงึ ใบแบบฝึกหดั ออกจากเล่มหนังสอื
5.2 นาใบแบบฝกึ หดั วางติดบนโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขียนแบบโดยใช้แผ่นกาวใสแปะ
ยดึ ตดิ ทม่ี ุมทัง้ 4 ของกระดาษ
5.3 ขณะยึดติดแผ่นกาวจะต้องนาไม้ทีมาวางทับกระดาษแบบฝึกหัดให้ขอบกระดาษวาง
ขนานกับขอบไมท้ ี
5.4 ใหท้ าแบบฝึกหัดทลี ะข้อ และควบคุมการใช้ดินสอเขียนแบบในการเขียนเส้น ให้ตั้งฉาก
กบั ผิวกระดาษเสมอ กดดนิ สอด้วยแรงกดทหี่ นักและคงท่ี
5.5 ครูเดนิ ดูนักเรียนสังเกตการใชอ้ ปุ กรณว์ ่าถูกตอ้ งหรือไม่
6. ครเู ก็บใบแบบฝกึ หดั ท่ีนกั เรยี นส่งไว้ รอการตรวจประเมินเม่อื สอนหนว่ ยที่ 2 จบแล้ว
7. เมอ่ื หมดเวลาการทาแบบฝึกหัด ครเู ตรียมการสอนหนว่ ยท่ี 2 ต่อไปทนั ที

งานทมี่ อบหมาย

กอ่ นเรยี น ให้นักเรยี นจดั เตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนังสอื เขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั ที่ 1 ให้ส่งภายใน 40 นาที

ส่อื การเรียนการสอน

1. สอ่ื ส่ิงพิมพ์
หนงั สอื เขียนแบบเทคนิคเบ้ืองต้น

2. ของจริง
-โต๊ะเขยี นแบบ
-กระดานเขยี นแบบ A3
-บรรทดั ฉากสามเหลีย่ ม
-วงเวยี นดนิ สอ
-ดินสอกดแบบเปลยี่ นไส้ได้
-ยางลบดินสอ
-วงเวียนไม้ , และบรรทัดไมฉ้ ากสามเหลีย่ ม 45o และ 30o-60o

การประเมินผล
1. ประเมินผลความเข้าใจเรื่องการใชเ้ ครอ่ื งมือเขียนแบบได้ถูกต้อง โดยการประเมินจากการสังเกต

และการตรวจประเมินการทาใบงานตามแบบประเมนิ ใบงาน
2. ประเมนิ ผลความเขา้ ใจเรื่องการบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ โดยการสังเกตการใช้ และการ

ถาม-ตอบ
3. การประเมินดา้ นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการเข้าเรียนแต่ละคร้ัง ตามแบบบันทึกการประเมิน

ดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

1. เรอื่ ง การเขียนเส้นตามแบบท่กี าหนด

มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละข้อมีดังน้ี

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง
2 1.5 1 0.5

1. ความดาสมา่ เสมอของเส้น

2. ความคงท่ีของระยะห่างระหว่างเสน้

3. ความตรงของเสน้

2. เรอื่ ง การเขียนวงกลมดว้ ยวงเวยี น

มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
2 1.5 1 0.5

1. ความดาสมา่ เสมอของเสน้

2. ความคงทข่ี องเสน้ โค้ง

3. การตอ่ ชนของปลายเสน้ โค้ง

เรอ่ื ง การใช้เครอ่ื งมอื เขยี นแบบ

ใช้ได้ถกู ตอ้ งใน มขี ้อบกพร่อง
บางจุด
รายการ ระดบั ดี 1

2

1 กระดานเขยี นแบบ

2 ไมท้ ีหรือทสี ไลด์

3 ดินสอ

4 วงเวยี น

5 ยางลบ

6 บรรทัดฉากสามเหล่ยี ม

7 บรรทัดสว่ นโคง้

14

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 2
สปั ดาหท์ ี่ 1
วิชา เขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น สอนคร้งั ที่ 1.2 ชวั่ โมงรวม 2
ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานเส้น และมาตรฐานตัวอกั ษรใน จานวนชั่วโมง 2
งานเขียนแบบ
เรื่อง มาตรฐานเส้น และมาตรฐานตัวอักษรในงานเขยี นแบบ

หวั ข้อเรอื่ ง
1. มาตรฐานเส้น ตามมาตรฐาน DIN ISO 128-24 (1999-12)
2. มาตรฐานตัวอกั ษร ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11)

สาระสาคัญ
มาตรฐานขนาดเสน้ ในงานเขยี นแบบเทคนิค จะแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ใหญๆ่ คอื

เสน้ เตม็ หนา (เสน้ หนา 0.5 ม.ม.) และเส้นเตม็ บาง ( เส้นหนา 0.25 ม.ม.)
มาตรฐานตัวอักษร ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11) แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ

แบบ A กับแบบ B มาตรฐานความสูงของตัวอักษร คอื 2.5 , 3.5 , 5 , 7 , 10 ,14 ,20 ม.ม.

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. เขียนเส้นเต็มหนา เส้นเต็มบางและเส้นประตามมาตรฐาน ด้วยดินสอกดชนิดเปลี่ยนไส้

มาตรฐานได้
2 . เขียนตัวอกั ษรตามมาตรฐาน ด้วยดนิ สอกดชนิดเปลี่ยนไส้มาตรฐานได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครูนาเข้าสู่บทเรียน ด้วยการแสดง แผน่ โปรงใสเรือ่ งมาตรฐานของเสน้ (5 นาท)ี
(ขั้นสอน 30 นาท)ี
2. ครบู รรยายเรื่องมาตรฐานของเส้น ประกอบกับแผ่นใส พร้อมแสดงการเขียนเส้นชนิดต่างๆที่

ถกู วิธี
3. ครูบรรยายเร่ืองมาตรฐานของอักษร ตามมาตรฐาน ISO ประกอบกับแผ่นใส พร้อมแสดง

วธิ กี ารเขยี นตัวเลข 1-10 ทถี่ ูกต้อง และไมถ่ กู ตอ้ ง
(ขนั้ ทาแบบฝกึ หัด 60 นาท)ี
4.มอบหมายงานใหน้ กั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิ ให้ทาแบบฝึกหดั ที่ 2 โดยให้นกั เรยี นทาตามขน้ั ตอนดงั น้ี
4.1 ดึงใบแบบฝกึ หดั ออกจากเลม่ หนงั สอื

4.2 นาใบแบบฝกึ หัดวางติดบนโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขียนแบบโดยใช้แผ่นกาวใสแปะ
ยดึ ตดิ ทมี่ มุ ท้งั 4 ของกระดาษ

4.3 ขณะยึดติดแผ่นกาวจะต้องนาไม้ทีมาวางทับกระดาษแบบฝึกหัดให้ขอบกระดาษวาง
ขนานกบั ขอบไมท้ ี

4.4 ให้ทาแบบฝกึ หดั ทีละข้อ และควบคุมการใช้ดินสอเขยี นแบบในการเขยี นเส้น ใหต้ ้ังฉาก
กับผวิ กระดาษเสมอ กดดนิ สอดว้ ยแรงกดท่ีหนักและคงที่

4.4 ครเู ดนิ ดูนกั เรียนสังเกตการใช้ดนิ สอเขยี นแบบวา่ ถกู ต้องหรอื ไม่
5. ขณะทน่ี กั เรียนกาลังทาแบบฝกึ หดั อยนู่ ั้น ครูนาแบบฝึกหดั ท่ี 1 ของนักเรียน ข้นึ มาตรวจ
ประเมิน
(ขนั้ ตรวจประเมนิ 45 นาที)
6. เมื่อถึงเวลาสง่ ใบแบบฝึกหัด ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หดั ท่ี 2 และทาการตรวจประเมิน
หลงั จากนกั เรียนออกจากห้องเรยี นแลว้
7. ครูตรวจและบันทกึ คะแนน เพ่อื เตรยี มไวส้ รุปผลภายในช่วั โมงเรยี นตอ่ ไป

งานท่ีมอบหมาย
กอ่ นเรียน ให้นกั เรยี นจัดเตรยี มอุปกรณ์เขียนแบบประจาตวั และหนังสอื เขียนแบบเทคนิคใหพ้ รอ้ ม
ขณะเรยี น ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี 2 ให้ส่งภายใน 1 ชว่ั โมง

ส่ือการเรยี นการสอน
1. สอ่ื ส่ิงพิมพ์
หนงั สือเขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้
2. ส่อื โสตทัศน์
สือ่ Power Point เรื่อง มาตรฐานขนาดเสน้ พืน้ ฐาน และมาตรฐานตัวอักษรในงานเขียนแบบ

เทคนิค

การประเมนิ ผลแบบฝึกหดั

1. เรอ่ื ง มาตรฐานเสน้

มเี กณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อมีดังน้ี

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
2 1.5 1 0.5

1. ความดาสม่าเสมอของเสน้

2. ความคงทขี่ องระยะหา่ งระหว่างเส้น

3. ความตรงและถูกต้องของเส้น

2. เร่อื ง การเขียนตัวอกั ษร

มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละบรรทัดดังน้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
2 1.5 1 0.5

1. ความดาสม่าเสมอของเสน้

2. ความคงท่ีของเสน้

3. รปู แบบถกู ตอ้ งตามมาตรฐาน

สอ่ื การสอน Power Point

เรอื่ ง มาตรฐานเสน้ และมาตรฐานตวั อกั ษร
ในงานเขยี นแบบเทคนคิ

ชนิดของเส้นในงานเขียนแบบ
ตามมาตรฐาน DIN ISO 128-24 (1999-12)

ชนดิ ของเสน้ และการใชง้ าน

ประเภทของเส้น ความหนา การใช้งาน
A เสน้ เต็มหนา ของเส้น

0.5 เสน้ ขอบรปู ท่ีมองเห็น

B เสน้ เต็มบาง 0.25 เส้นบอกขนาด , เส้นชว่ ยบอก
ขนาด , เส้นลายตัด
C เส้นประ
(บาง) 0.25 เส้นขอบรปู ท่ถี ูกบัง

D เสน้ ลูกโซ่บาง 0.25 เส้นศนู ยก์ ลาง

E เส้นมอื เปลา่ 0.25 เส้นแสดงตดั ย่นระยะ, เส้น
แสดงตดั เฉพาะส่วน

มาตรฐานตวั อกั ษร
ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-0 (1998-04)

และ DIN EN ISO 3098-2 (2000-11)

ตัวอกั ษรแบบ B ตวั ตรง

ตวั อักษรแบบ B ตัวเอียง
ตัวอกั ษรแบบ A ตัวตรง
ตัวอกั ษรแบบ A ตัวเอียง

มาตรฐานการเขยี นตัวอกั ษร

ตวั อกั ษรสูง 2.5 มลิ ลิเมตร เสน้ ของตัวอักษรจะหนา เท่ากับ 0.25 มิลลิเมตร
ตัวอักษรสูง 3.5 มิลลเิ มตร เส้นของตัวอักษรจะหนา เท่ากบั 0.35 มิลลเิ มตร
ตวั อกั ษรสงู 5.0 มิลลิเมตร เส้นของตวั อักษรจะหนา เทา่ กบั 0.5 มลิ ลเิ มตร

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 3
วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น สอนครั้งท่ี 3 สัปดาหท์ ี่ 2
ช่อื หน่วย การสรา้ งรูปเรขาคณติ ชัว่ โมงรวม 4
เรอ่ื ง การสร้างรปู เรขาคณิต จานวนชว่ั โมง 4

หัวขอ้ เรอ่ื ง
1. การแบ่งคร่ึงเส้นตรงด้วยวงเวยี น
2. การครึง่ แบ่งมุมดว้ ยวงเวยี น
3. การสรา้ งเสน้ ขนานดว้ ยวงเวยี น
4. วิธีแบ่งเสน้ ตรงออกเป็นหลายส่วนเทา่ ๆ กันด้วยวงเวียน
5. การเขียนสว่ นโค้งสมั ผัสเสน้ ตรงท่ีตงั้ ฉากกนั
6. การเขียนส่วนโคง้ สัมผัสมมุ (ทไี่ มใ่ ช่มุมฉาก)
7. การสร้างรูปห้าเหลีย่ มดา้ นเทา่
8. การสร้างรูปหกเหลี่ยมดา้ นเทา่
9. การสร้างรูปแปดเหล่ียมด้านเทา่
10. การสรา้ งรูปวงรีในรปู ส่เี หลยี่ มด้านขนาน

สาระสาคญั
การสร้างรปู เรขาคณิต เปน็ การประยุกตก์ ารฝึกการใช้เคร่ืองมือเขียนแบบให้มีความชานาญ และ
ชว่ ยเพมิ่ ทกั ษะประสบการณ์ด้านการเขียนรูปทรงเชิงเส้น ต่างๆ เช่นการสร้างรูปห้าเหล่ียมด้านเท่า, การ
สร้างรปู หกเหล่ยี มดา้ นเทา่ ,การสร้างรูปแปดเหลี่ยมดา้ นเท่าเปน็ ต้น โดยใชด้ นิ สอและวงเวียนเป็นอุปกรณ์
หลกั

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. แสดงวธิ กี ารแบง่ คร่ึงเส้นตรงดว้ ยวงเวยี นได้
2. แสดงการแบ่งครง่ึ มมุ ด้วยวงเวยี นได้
3. แสดงการสรา้ งเสน้ ขนานด้วยวงเวยี นได้
4. แสดงวธิ ีแบ่งเส้นตรงออกเป็นหลายส่วนเท่าๆกันด้วยวงเวยี นได้
5. แสดงการเขยี นสว่ นโคง้ สมั ผัสเสน้ ตรงท่ีตง้ั ฉากกันได้
6. แสดงการเขยี นสว่ นโคง้ สมั ผสั มมุ ได้
7. แสดงการสรา้ งรปู หา้ เหลย่ี มด้านเท่าได้

8. แสดงการสรา้ งรูปหกเหลี่ยมด้านเท่าได้
9. แสดงการสร้างรปู แปดเหล่ียมด้านเทา่ ได้
10. แสดงการสรา้ งรูปวงรใี นรปู ส่ีเหลยี่ มด้านขนานได้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครสู ง่ คืนใบแบบฝึกหัดท่ี 1 และ 2 แกน่ กั เรยี น และซกั ถามข้อสงสัย (10นาที)
2. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นหนว่ ยที่ 3 ด้วยการฉายแผน่ โปรงใสเรื่องตัวอย่างรปู เรขาคณิต

ตา่ ง ๆ ให้นักเรียนดู (5นาที)
(ข้ันสอน+ ข้นั ทาแบบฝึกหดั รวม 165 นาท)ี
3. ครูสั่งให้นักเรียนเตรียมแบบฝึกหัดติดบนโต๊ะเขียนแบบและเตรียมดินสอ วงเวียนให้พร้อม

และฟังครูอธบิ าย
4. ครูแสดงประกอบการบรรยาย การเขียนเส้นรูปเรขาคณิตทีละข้อ เม่ืออธิบายจบในแต่ละ

หัวขอ้ สง่ั ให้นักเรียนฝึกปฏิบตั ติ าม ทาแบบฝกึ หดั ท่ี 3 ทีละขอ้
5. การมอบหมายงานให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 3 ทาตามคาส่ังทีละข้อ โดยก่อนลงมือ

ปฏบิ ัติ ให้นักเรยี นตดิ ใบแบบฝกึ หดั บนโต๊ะเขยี นแบบตามวิธที ่ีถกู ตอ้ งเช่นเดยี วกบั คร้ังกอ่ น
6. ครูเดนิ ดูนกั เรยี นสงั เกตการณใ์ ช้วงเวียนดินสอและเขยี นรูปเรขาคณิตว่าถกู ต้องหรือไม่
(ขนั้ ตรวจประเมนิ 60 นาท)ี
7. เม่ือนักเรียนทาเสร็จในข้อสุดท้ายแล้ว ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัดที่ 3 และให้นักเรียน

เตรียมพร้อมเลกิ เรยี น
8. หลังจากนั้น มีเวลาเหลือช่วงท้าย (ประมาณ 60 นาที ) ครูทาการตรวจประเมิน และบันทึก

คะแนน เพ่อื เตรียมไวส้ รุปผลภายในช่วั โมงเรียนต่อไป

งานท่มี อบหมาย
กอ่ นเรียน ให้นักเรยี นจดั เตรยี มอปุ กรณ์เขยี นแบบประจาตวั และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนคิ ใหพ้ รอ้ ม
ขณะเรียน ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี 3 ใหส้ ่งในชว่ั โมงเรยี น

ส่ือการเรยี นการสอน
1. สื่อสิง่ พิมพ์
หนังสอื เขียนแบบเทคนิคเบ้อื งตน้
2. สอ่ื โสตทศั น์
สือ่ Power Point เรื่อง ตวั อย่างรูปเรขาคณิตต่าง ๆ
3. อุปกรณ์ประกอบการสาธติ

วงเวียนไม้ , บรรทัดฉากสามเหลีย่ ม 45o และ 30o-60o

การประเมินผลแบบฝึกหัด

เรอ่ื ง การสรา้ งรูปเรขาคณติ
มเี กณฑ์การให้คะแนนแตล่ ะขอ้ มีดงั น้ี

รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
1. ความชัดเจนของเส้นเต็มหนา 2 1.5 1 0.5

2. มีร่องรอยแสดงวธิ ีการทีถ่ กู ต้อง

สอ่ื การสอน Power Point

เร่อื ง การสร้างรูปเรขาคณติ

การเขียนรปู เรขาคณติ

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4

วิชา เขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น สอนครง้ั ที่ 4 สปั ดาหท์ ่ี 3

ช่ือหน่วย การเขียนภาพสามมติ ิแบบออบลิก ชัว่ โมงรวม 4

เรอื่ ง การเขียนภาพสามมิติแบบออบลกิ จานวนชั่วโมง 4

หัวขอ้ เรือ่ ง
1. ความหมายของภาพสามมติ ิ
2. ชนดิ ของภาพสามมิตแิ บบออบลิก (Oblique Projection)
3. การเขียนภาพสามมิติออบลกิ แบบแคฟวะเรยี (Cavalier Projection)

3.1 ขนั้ ตอนการเขียนภาพแบบแคฟวะเรีย ของชนิ้ งานรปู สีเ่ หลีย่ มลูกบาศก์
3.2 การเขยี นภาพแบบแคฟวะเรยี ตามภาพตวั อยา่ ง
4. การเขียนภาพสามมิติออบลิกแบบแคบิเนต (Cabinet Projection)

สาระสาคัญ

ภาพสามมิติ หมายถึง ภาพทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ไดส้ ามมิติในภาพเดียว ได้แก่ มิติความกว้าง มิติความ

ยาว และมติ คิ วามสงู ซง่ึ ลกั ษณะของภาพมีรูปร่างใกลเ้ คยี งกบั ชิ้นงานทีเ่ ห็นจรงิ มาก

การเขียนภาพสามมิติออบลิก เส้นแกนท้ังสามแกนคือ แกนความกว้าง จะต้ังฉากกับแกนความ
สงู และ แกนความยาว จะทามุม 45 0 กับแกนความสงู โดยแกนความสูงเป็นเสน้ ลากแนวดิง่ ตั้งฉากกับ

ไมท้ ีเสมอ

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. แสดงเสน้ แกนหลกั แกนความกวา้ ง แกนความยาว และแกนความสูง ของภาพแบบออบลิกได้
2. เขยี นภาพสามมิตอิ อบลกิ แบบแคฟวะเลยี ของรปู สี่เหล่ียมลกู บาศก์ได้
3. เขียนภาพสามมิติแบบแคฟวะเลยี ตามภาพตัวอยา่ งได้
4. เขียนภาพสามมติ ิแบบแคบเิ นตตามภาพตัวอยา่ งได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครสู ง่ คนื ใบแบบฝึกหัดท่ี 3 แกน่ กั เรยี น และบรรยายสรุป ซกั ถามข้อสงสยั (10 นาท)ี
2. ครนู าเขา้ สู่บทเรยี นหนว่ ยท่ี 3 ด้วย แบบจาลองกล่องส่ีเหลี่ยมลูกบาศก์ ให้นักเรียนมองในแต่

ละดา้ น และถามเกีย่ วกับด้านกว้าง ดา้ นยาว และดา้ นสงู คือด้านใด แล้วสรปุ เขา้ สภู่ าพสามมิติ (10 นาท)ี
(ขั้นสอน 40 นาท)ี

3. ครบู รรยายความหมายของภาพสามมิติ ชนิดของภาพสามมิติ และบอกให้เห็นความแตกต่าง
ในแต่ละชนดิ ประกอบกับแผ่นโปร่งใสเร่ือง การเขยี นภาพสามมิติแบบออบลกิ แผน่ ท่ี 1และ2

4. ครูแสดงการเขียนภาพออบลิกแบบแคฟวะเรียด้วยวิธีแกนหลัก 3 แกน คือแกนกว้าง แกน
ยาว และแกนสูง

5. ครูแสดงวิธีการเขียนภาพออบลิกแบบแคฟวะเรียของรูปสี่เหล่ียมลูกบาศก์ ประกอบกับส่ือ
แบบจาลองกล่องลูกบาศก์

6. สุ่มเรียกชื่อนักเรียนทีละคนออกมาเขียนภาพสามมิติออบลิกของแบบจาลองกล่อง ส่ีเหล่ียม
ลูกบาศก์ บนกระดานดา

7. ครูแสดงวธิ กี ารเขยี นภาพแบบแคฟวะเรยี ตามภาพตวั อยา่ ง ประกอบกับแผน่ โปร่งใสแผน่ ท่ี 3
8. สมุ่ เรยี กนกั เรยี นทีละคนตอบคาถาม โดยชไ้ี ปทร่ี ูปภาพออบลิกบนกระดานดาว่า เส้นใดคือเส้น
ความกว้าง , เส้นใดคอื เสน้ ความยาว , เส้นใดคือเสน้ ความสูง
9. ครูแสดงวิธีการเขียนภาพออบลิกแบบแคบิเนตของรูปสี่เหล่ียมลูกบาศก์ ประกอบกับแผ่น
โปร่งใสแผน่ ท่ี 4
(ข้ันทาแบบฝึกหัด 120 นาที)
10. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 4 ให้เวลาทา 120 นาที
11. ครตู รวจสอบการเตรยี มอุปกรณ์เขยี นแบบของนกั เรยี นทุกคน
11. ครเู ดินดนู กั เรียนสงั เกตการใช้อุปกรณ์เขียนแบบและเขยี นภาพสามมิติแบบออบลิกว่าถูกต้อง
หรือไม่
(ขน้ั ตรวจประเมนิ 60 นาที)
12. เมื่อถึงเวลาส่งแบบฝึกหัด ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัดที่ 4 และทาการตรวจประเมิน
หลงั จากนกั เรยี นออกจากห้องเรียนแล้ว
13. ครูบันทึกคะแนน เพื่อเตรียมไว้สรุปผลภายในชั่วโมงเรียนตอ่ ไป

งานทมี่ อบหมาย

กอ่ นเรียน ให้นกั เรียนจดั เตรยี มอปุ กรณ์เขยี นแบบประจาตวั และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนิคให้พร้อม
ขณะเรยี น ให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ท่ี 4 สง่ ในช่ัวโมงเรียน

สือ่ การเรียนการสอน

1. ส่ือส่ิงพิมพ์
หนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ เบอื้ งต้น

2. สือ่ โสตทศั น์
สอ่ื Power Point เรื่อง ภาพตัวอยา่ งออบลกิ

3. แบบจาลอง

กลอ่ งสี่เหล่ยี มลกู บาศก์

4. อุปกรณป์ ระกอบการสาธิต
วงเวียนไม้ , บรรทัดฉากสามเหลีย่ ม 45o

การประเมนิ ผลแบบฝึกหัด

เรื่อง การเขยี นภาพสามมติ ิออบลิค

มีเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อมดี งั นี้

รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
2 1.5 1 0.5

1. ความชัดเจนของเส้นเตม็ หนา

2. มีรอ่ งรอยเส้นรา่ งแสดงวธิ กี ารทถี่ ูกตอ้ ง

หมายเหตุ ถา้ เขียนภาพสามมติ ิออบลิกไมถ่ กู ต้อง เช่นการวางมมุ ของเส้นแกนหลกั ท้ัง 3 ผดิ ไป
จะไม่มกี ารตรวจประเมินในขอ้ นนั้

สอื่ การสอน Power Point

เรือ่ ง การเขียนภาพสามมิติออบลิค

ชนิดของภาพสามมิติ

รูป ก. ภาพแบบออบลกิ รปู ข. ภาพไอโซเมตรกิ

รปู ค. ภาพไตรเมตรกิ รูป ง. ภาพไดเมตริก

ชนดิ ของภาพสามมิตแิ บบออบลิก (Oblique Projection)

แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คือ

รปู ก ภาพแบบแคฟวะเลยี รูป ข ภาพแบบแคบเิ นต

ภาพสามมิตแิ คฟวะเลีย ความยาว X:Y:Z = 1:1:1
หมายความวา่ ความยาวของขอบงานแต่ละแกนจะยาวเทา่ ขนาดจรงิ

ภาพสามมิตแิ คบิเนต ความยาว X:Y:Z = 0.5:1:1

หมายความวา่ ความยาวของขอบงานที่เอยี งทามุม 45o (คือแกน X) จะแสดง
เพียงคร่ึงหนึ่งของความยาวจริง สว่ นความยาวดา้ นแกนท่ตี ้งั ฉากกนั (แกนY,
แกนZ) จะยาวเทา่ ขนาดจรงิ

การเขยี นภาพออบลกิ แบบคาวาเรียรต์ ามภาพตวั อย่าง

ความแตกต่างของภาพสามมติ แิ บบแคบเิ นต

ภาพแบบแคฟวะเรีย ภาพแบบแคบิเนต

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5

วชิ า เขียนแบบเทคนคิ เบือ้ งตน้ สอนคร้งั ท่ี 5 สปั ดาห์ที่ 4

ชื่อหน่วย การเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตริก ชว่ั โมงรวม 4

เรอ่ื ง การเขียนภาพสามมิติไอโซเมตริก จานวนชวั่ โมง 4

หวั ข้อเรอ่ื ง
1. ภาพสามมิติไอโซเมตริก (Isometric Projection)
2. การเขียนภาพไอโซเมตริก รปู สเี่ หล่ียมลูกบาศก์
3. การเขยี นภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตวั อยา่ ง

สาระสาคญั

การเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ มีความแตกต่างกับภาพออบลิก คือ เส้นแกนความกว้าง และ
เส้นแกนความยาว จะทามมุ 30 o กับเสน้ แนวนอน และทามมุ 60 o กับเสน้ แกนความสูง ซึง่ เป็นเส้นลาก

แนวดง่ิ ต้ังฉาก

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. เขยี นเส้นแกนหลกั แกนความกว้าง แกนความยาว และแกนความสงู ของภาพ

ไอโซเมตริกได้
2. เขยี นภาพไอโซเมตริก รปู สี่เหลย่ี มลกู บาศกไ์ ด้
3. เขยี นภาพไอโซเมตริกตามภาพตัวอยา่ งได้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสง่ คนื ใบแบบฝกึ หัดท่ี 4 แก่นกั เรียน ครบู รรยายสรุปและซกั ถามขอ้ สงสยั (20 นาที)
(ข้ันสอน 45 นาท)ี
2. ครูฉายแผ่นโปร่งใสเร่ือง การเขียนภาพสามมิติไอโซเมตริก และแสดงการเขียนภาพไอโซ

เมตรกิ ด้วยวิธแี กนหลัก 3 แกน คอื แกนกวา้ ง แกนยาว และแกนสูง
3. ครูแสดงวธิ กี ารเขยี นภาพไอโซเมตรกิ รูปสเี่ หลย่ี มลูกบาศก์
4. สุ่มเรียกช่ือนักเรียนทีละคนออกมาเขียนภาพสามมิติไอโซเมตริกของแบบจาลองกล่อง

สี่เหลีย่ มลูกบาศก์ บนกระดานดา
5. ครูแสดงวิธีการเขียนภาพไอโซเมตริกตามภาพตัวอย่าง ประกอบกบั แผน่ โปร่งใสแผ่นเดมิ

6. เรียกนักเรียนทีละคนตอบคาถาม โดยช้ีไปที่รูปภาพไอโซเมตริกบนกระดานดาว่า เส้นใดคือ
เสน้ ความกว้าง , เส้นใดคอื เส้นความยาว , เสน้ ใดคือเสน้ ความสูง

(ขนั้ ทาแบบฝกึ หดั 120 นาที)
7. มอบหมายงานให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 5 ใหเ้ วลาทา 120 นาที
8. ครตู รวจสอบการเตรยี มอุปกรณเ์ ขียนแบบของนกั เรียนทุกคน
9. ครูเดนิ ดูนกั เรยี นสงั เกตการใช้อุปกรณ์เขียนแบบและเขียนภาพสามมิติไอโซเมตริกว่าถูกต้อง
หรอื ไม่
(ข้ันตรวจประเมนิ 55 นาท)ี
10. เมอ่ื ถงึ เวลาส่งแบบฝกึ หัด ครูเกบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหดั ที่ 5 และทาการตรวจประเมนิ
หลังจากนกั เรียนออกจากห้องเรยี นแล้ว
11. ครบู ันทกึ คะแนน เพ่ือเตรียมไว้สรุปผลภายในชัว่ โมงเรียนต่อไป

งานที่มอบหมาย

ก่อนเรยี น ให้นกั เรยี นจดั เตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนคิ ใหพ้ รอ้ ม
ขณะเรียน ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 5 สง่ ในช่วั โมงเรียน

สือ่ การเรยี นกรสอน

1. สื่อส่งิ พมิ พ์
หนังสอื เขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้

2. สอ่ื โสตทศั น์
สอ่ื Power Point เรอ่ื ง การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตริก

3. แบบจาลอง
กลอ่ งส่ีเหล่ียมลูกบาศก์

4. อุปกรณป์ ระกอบการสาธติ
วงเวียนไม้ , บรรทดั ฉากสามเหลย่ี ม 30o-60o

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

เรื่อง การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตริก

มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ มีดงั น้ี

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

2 1.5 1 0.5

1. ความชดั เจนของเสน้ เตม็ หนา
2. มีรอ่ งรอยเส้นรา่ งแสดงวิธกี ารทถ่ี กู ต้อง

หมายเหตุ ถ้าเขียนภาพสามมติ ิไอโซเมตริกไม่ถูกตอ้ ง เชน่ การวางมุมของเส้นแกนหลกั ทัง้ 3 ผดิ
ไป จะไมม่ กี ารตรวจประเมนิ ในขอ้ นัน้

สอ่ื การสอน Power Point

เรื่อง การเขียนภาพสามมติ ไิ อโซเมตริก

การเขยี นภาพไอโซเมตริก

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 6
สปั ดาห์ที่ 5
วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบ้ืองต้น สอนคร้ังที่ 6 ช่วั โมงรวม 4
ช่ือหนว่ ย การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกชิน้ งานผวิ จานวนช่ัวโมง 4
เอยี ง
เรือ่ ง การเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ชิน้ งานผวิ เอียง

หัวข้อเรอ่ื ง
การเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกชิน้ งานผิวเอียง

สาระสาคญั
ชิ้นงานผิวเอียง เป็นชนิ้ งานรปู สีเ่ หลยี่ มลกู บาศก์ที่ถกู ตดั ผวิ เฉยี งออกไปหน่งึ ดา้ น ดังนั้นการเขียน
ภาพไอโซเมตริก จะเขียนเหมือนกบั การเขียนภาพไอโซเมตรกิ รปู สี่เหลย่ี มลกู บาศก์

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ช้นิ งานผิวเอียงตามภาพตัวอยา่ งไดอ้ ย่างถูกต้อง

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครูส่งคืนใบแบบฝึกหดั ท่ี 5 แกน่ กั เรียน อธิบายสรปุ และซักถามข้อสงสัย (10 นาท)ี
(ข้ันสอน 40 นาที)
2. ครูแสดงการเขียนภาพไอโซเมตริกชิน้ งานผิวเอยี ง ตามภาพตัวอย่าง ประกอบกบั

แผน่ โปร่งใสเร่อื ง การเขยี นภาพไอโซเมตริชิน้ งานผวิ เอียง
(ขนั้ ทาแบบฝึกหดั 140 นาที)
3. มอบหมายงานใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี 6
4. ครูตรวจสอบการเตรียมอปุ กรณ์เขยี นแบบของนกั เรียนทกุ คน
5. ครูเดนิ ดนู กั เรียนสงั เกตการใช้อปุ กรณเ์ ขยี นแบบและเขียนภาพสามมิตไิ อโซเมตรกิ

วา่ ถกู ตอ้ งหรือไม่
(ข้ันตรวจประเมนิ 50 นาที)
6. เม่อื ถึงเวลาสง่ แบบฝึกหัด ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัดที่ 6 และทาการตรวจประเมิน

หลังจากนักเรยี นออกจากหอ้ งเรยี นแลว้
7. ครูบนั ทึกคะแนน เพื่อเตรยี มไว้สรุปผลภายในช่ัวโมงเรียนต่อไป

งานท่ีมอบหมาย

ก่อนเรียน ใหน้ กั เรยี นจดั เตรียมอปุ กรณเ์ ขียนแบบประจาตัว และหนงั สือเขยี นแบบเทคนคิ ให้พร้อม
ขณะเรยี น ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัดที่ 6 ส่งในช่ัวโมงเรียน

สอ่ื การเรยี นการสอน
1. สื่อส่งิ พิมพ์
หนงั สือเขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้
2. สื่อโสตทัศน์
ส่ือ Power Point เรือ่ ง การเขยี นภาพไอโซเมตรกิ ชิ้นงานผวิ เอียง
3. แบบจาลอง
กลอ่ งสี่เหลย่ี มลูกบาศก์
4. อุปกรณ์ประกอบการสาธิต
วงเวียนไม้ , บรรทัดฉากสามเหลีย่ ม 30o-60o

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

เรื่อง การเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ ชนิ้ งานผิวเอียง

มีเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อมีดงั นี้

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
54 32

1. ความชัดเจนของเส้นเตม็ หนา

2. มรี อ่ งรอยเสน้ รา่ งแสดงวธิ ีการที่ถกู ตอ้ ง

หมายเหตุ ถ้าเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตริกไมถ่ ูกต้อง เชน่ การวางมุมของเส้นแกนหลักทั้ง 3
ผดิ ไป จะไมม่ ีการตรวจประเมนิ ในข้อนนั้

สื่อการสอน Power Point

เรือ่ ง การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตริก
ชิ้นงานผวิ เอยี ง

การเขยี นภาพไอโซเมตริกชน้ิ งานผวิ เอยี ง

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 7
สัปดาหท์ ี่ 6
วชิ า เขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองต้น สอนครั้งที่ 7

ชื่อหนว่ ย การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลกิ ช่ัวโมงรวม 4

เร่อื ง การเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตริกและภาพออบลกิ จานวนช่วั โมง
4

หัวขอ้ เรื่อง
การเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลิก

สาระสาคญั
รูปวงกลมเม่ือปรากฏบนผิวหน้าในแต่ละด้านของภาพสามมิติ รูปวงกลมนั้นจะถูกเห็นเป็นวงรี
การเขยี นวงรีในภาพสามมิติ จะใชห้ ลักการเขยี นดว้ ยวธิ ีทางเรขาคณติ ซึ่งชว่ ยใหก้ ารเขยี นวงรีไดง้ า่ ยขึ้น

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. เขยี นวงรีในภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตัวอยา่ งได้
2. เขียนวงรีในภาพออบลิกตามภาพตัวอย่างได้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครสู ่งคืนใบแบบฝกึ หัดที่ 6 แกน่ กั เรยี น ครูอธบิ ายสรุปและซกั ถามข้อสงสัย (10 นาที)
2. ครแู สดงแผน่ โปร่งใสเร่อื ง การเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตรกิ แผ่นท่ี 1
(ขัน้ สอน 45 นาท)ี
3. ครแู สดงวิธีการเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตรกิ ในระนาบเดียว
4. ครูแสดงวธิ กี ารเขียนวงรใี นภาพไอโซเมตริก ของช้นิ งานทรงกระบอก ประกอบกบั แผ่นโปรง่ ใส

แผ่นที่ 2 และ 3
5. ครอู ธิบายวิธีการเขียนวงรใี นภาพออบลกิ ประกอบกบั แผน่ โปรง่ ใส แผน่ ที่ 4
(ขนั้ ทาแบบฝกึ หัด 140 นาที)
5. มอบหมายงานให้นักเรียนทาแบบฝกึ หดั ที่ 7
6. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณเ์ ขียนแบบของนกั เรียนทกุ คน
7. ครูเดนิ ดนู กั เรยี นสังเกตการใช้อุปกรณ์เขียนแบบและเขียนวงรีในภาพสามมิติไอโซเมตริก ว่า

ถกู ตอ้ งหรือไม่

(ข้ันตรวจประเมนิ 45 นาที)
8. เมื่อถึงเวลาส่งแบบฝึกหัด ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัดท่ี 7 และทาการตรวจประเมิน
หลังจากนกั เรียนออกจากหอ้ งเรียนแล้ว
7. ครบู นั ทกึ คะแนน เพ่ือเตรียมไวส้ รปุ ผลภายในช่ัวโมงเรยี นต่อไป

งานท่มี อบหมาย

ก่อนเรียน ใหน้ ักเรียนจัดเตรยี มอุปกรณเ์ ขียนแบบประจาตวั และหนงั สือเขียนแบบเทคนิคใหพ้ ร้อม
ขณะเรยี น ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 7 ส่งในชัว่ โมงเรียน

สื่อการเรยี นการสอน

1. สื่อส่งิ พมิ พ์
หนงั สือเขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้

2. ส่ือโสตทศั น์
สอ่ื Power Point เรอื่ งการเขียนวงรีในภาพ ไอโซเมตรกิ

3. อปุ กรณ์ประกอบการสาธิต
วงเวียนไม้ , บรรทัดฉากสามเหลี่ยม 30o-60o

การประเมินผลแบบฝกึ หัด

เรอื่ ง การเขียนวงรใี นภาพไอโซเมตริก

มีเกณฑก์ ารให้คะแนนแต่ละขอ้ มดี ังน้ี

รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ
432 1

1. ความชดั เจนของเสน้ เต็มหนา

2. เสน้ โค้งวงรตี ่อชนเรียบร้อย

3. มรี อ่ งรอยเสน้ รา่ งแสดงวิธกี ารทถี่ ูกต้อง

หมายเหตุ ถ้าเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตริกไมถ่ ูกตอ้ ง เชน่ การวางมมุ ของเส้นแกนหลกั ทัง้ 3 ผิด
ไป หรือไม่ได้เขยี นภาพวงรีจะไม่มกี ารตรวจประเมนิ ในขอ้ นั้น

สอื่ การสอน Power Point

เรอ่ื ง การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลกิ

การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตริก

ผวิ ระนาบ

ผวิ ระนาบ

ผวิ ระนาบ

ตวั อย่างการเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ ชนิ้ งานทรงกระบอก

เส้ นสัมผสั
เส้ นสัมผสั

การเขยี นวงรีในภาพออบลกิ

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 8
สัปดาห์ท่ี 7
วชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น สอนครงั้ ท่ี 8.1 ชวั่ โมงรวม 8
จานวนชั่วโมง 4
ช่ือหน่วย วธิ ฉี ายภาพในงานเขียนแบบ

เร่ือง วธิ ีฉายภาพในงานเขียนแบบ

หวั ข้อเรื่อง
1. วธิ ฉี ายภาพ ตามมาตรฐาน DIN ISO 5456-2 (1998-04)

1.1 วิธีฉายภาพมุมมองที่ 1 (First angle projection)
1.2 วิธีฉายภาพมมุ มองท่ี 3 (Third angle projection)
1.3 สญั ลักษณ์ของวิธีฉายภาพ
1.4 ขนาดมาตรฐานของสญั ลักษณ์
2. การเขยี นภาพฉายวธิ มี ุมมองท่ี 1 ชนิดแสดงภาพฉายเพียง 3 ด้าน
3. วิธีการเขยี นภาพฉายระบบมุมมองที่ 1 จากภาพสามมติ ิทก่ี าหนดให้
4. การฉายภาพวิธมี มุ มองที่ 3
5. ตวั อยา่ งการแสดงภาพฉายวธิ มี มุ มองท่ี 3
6. ตวั อย่างการแสดงภาพฉายวิธีมุมมองที่ 1

สาระสาคัญ
ระบบการฉายภาพตามมาตรฐานสากล แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ การฉายภาพตามวิธีมุมมองที่ 1
และการฉายภาพตามวิธมี ุมมองท่ี 3 ในปัจจุบันการฉายภาพตามวิธีมุมมองที่ 1 เป็นที่นิยมมาก ซึ่งเป็น
ระบบท่ีการมองภาพฉายจะสอดคลอ้ งตามหลกั ธรรมชาตมิ ากทส่ี ดุ

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. เขียนแบบภาพฉายตามวธิ ีมมุ มองท่ี 1 จากภาพสามมิติท่ีกาหนดใหไ้ ด้
2. เขียนแบบภาพฉายตามวิธีมมุ มองท่ี 3 จากภาพสามมิตทิ ีก่ าหนดใหไ้ ด้

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครสู ง่ คนื ใบแบบฝึกหดั ท่ี 7 แกน่ กั เรยี น ครอู ธิบายสรุปและซักถามขอ้ สงสยั (15 นาที)
2. ครฉู ายแผน่ โปรง่ ใสเรื่อง วธิ ีฉายภาพในงานเขียนแบบ แผ่นที่ 1
(ขนั้ สอน 60 นาที)

3. ครูฉายแผ่นโปร่งใสเร่ือง การฉายภาพมุมมองท่ี 1 แผ่นที่ 1 ถึง 5 ทีละแผ่นพร้อมอธิบาย
ประกอบและแสดงแบบจาลองกล่องส่ีเหลย่ี มลูกบาศก์แบบมีบ่าฉาก ร่วมกับการฉายแผน่ โปร่งใส

4. ครฉู ายแผน่ โปร่งใสแผ่นท่ี 6 และครูสาธิตการเขียนภาพฉายระบบมุมมองท่ี 1 แสดงเพียง 3
ดา้ น บนกระดานดา จากภาพท่กี าหนดให้ในแผ่นใส

(ข้ันทาแบบฝกึ หดั 120 นาท)ี
5. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ที่ 8 ตอนท่ี 1 และตอนท่ี2 ขอ้ 1 และ 2
6. ครูตรวจสอบการเตรยี มอปุ กรณเ์ ขียนแบบของนกั เรียนทุกคน
7. ครูเดินดนู กั เรยี นสงั เกตการเขียนภาพฉาย ว่าถูกตอ้ งหรือไม่
8. ใหน้ กั เรยี นส่งแบบฝกึ หดั ตามเวลาท่ีกาหนด
(ข้นั ตรวจประเมิน 45 นาท)ี
9. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหัดท่ี 8 ตอนที่ 1 และ 2 และทาการตรวจประเมินหลังจาก
นกั เรียนออกจากห้องเรยี นแล้ว
10. ครบู ันทึกคะแนน เพือ่ เตรยี มไว้สรุปผลภายในชัว่ โมงเรียนตอ่ ไป

งานท่มี อบหมาย
ก่อนเรียน ใหน้ กั เรียนจดั เตรยี มอุปกรณ์เขยี นแบบประจาตัว และหนงั สือเขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ ร้อม
ขณะเรียน ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 8 ตอนที่ 1 และ 2 ส่งในชวั่ โมงเรยี น

สือ่ การเรยี นการสอน
1. สือ่ ส่ิงพิมพ์
หนังสือเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น
2. ส่ือโสตทศั น์
ส่ือ Power Point วธิ ีฉายภาพในงานเขียนแบบ
3. แบบจาลอง
กลอ่ งสเ่ี หล่ียมลกู บาศก์แบบมีบ่าฉาก

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
เรอ่ื ง การเขยี นภาพฉาย 210
มีเกณฑก์ ารให้คะแนนแตล่ ะข้อมีดงั นี้
………. ………. ……….
รายการประเมนิ ………. ………. ……….
………. ………. ……….
1. ความถกู ตอ้ งของภาพฉาย
ดา้ นหนา้ ………………………………..
ดา้ นข้าง………………………………...
ด้านบน………………………………..

2. ความชดั เจนของเสน้ เตม็ หนา
3. เสน้ เต็มหนาและเส้นรา่ งหรือเส้นฉาย มี

ความแตกต่างกันอยา่ งชัดเจน

หมายเหตุ ถา้ ไมไ่ ด้เขยี นเส้นร่างและเส้นฉายจะไมม่ กี ารตรวจประเมนิ ในขอ้ น้นั

ส่ือ Power Point

เรอ่ื ง วธิ ฉี ายภาพในงานเขยี นแบบ

การฉายภาพระบบมุมมองที่ 1

ภาพสามมิติ ภาพฉาย


Click to View FlipBook Version