The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ธรรมธารา

ธรรมธารา

ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมท่ี 9) กรกฎาคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2562
สำ� นกั การศกึ ษา วดั พระธรรมกาย
ISSN 2408-1892

ISSN 2408-1892 (Print) | ISSN 2651-2262 (Online)

วัตถุประสงค์

เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และเป็นแหลง่ ขอ้ มลู ในการเผยแพรง่ านวิจยั
และบทความวิชาการทางพระพทุ ธศาสนาใหก้ บั คณาจารย์ นกั วชิ าการ
นกั วจิ ยั และผสู้ นใจ ซง่ึ จะชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจและเพ่ิมพนู ความรูด้ า้ น
พระพทุ ธศาสนาในเชิงวชิ าการแก่สงั คม

ประเภทบทความทร่ี ับพจิ ารณาตพี มิ พ์

ประกอบไปดว้ ยบทความวิจยั บทความวิชาการ การแปลบทความ
ภาษาตา่ งประเทศ และบทความพิเศษของบรรณาธิการและผเู้ ช่ียวชาญ
(ไม่ตอ้ งรบั การประเมินจากผูท้ รงคณุ วุฒิ) โดยมีเนือ้ หาดา้ นพระพุทธ-
ศาสนาเชิงคมั ภีร์ และพทุ ธปรชั ญา

การตรวจสอบคุณภาพของบทความ

• บทความทุกบทความ ต้องผ่านการตรวจและประเมินจาก
กองบรรณาธิการ

• บทความทุกบทความ ได้รับการตรวจและประเมินจาก
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิอยา่ งนอ้ ย 2 ทา่ น

• บทความจากผูเ้ ขียนภายใน ไดร้ บั การตรวจและประเมินจาก
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิภายนอก

• บทความจากผูเ้ ขียนภายนอก ไดร้ บั การตรวจและประเมินจาก
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิภายในหรอื ภายนอก

• บทความจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ไดร้ ับการตรวจ
และประเมินในแบบ Double Blinded

• บทความตอ้ งไมเ่ คยลงตีพิมพใ์ นวารสารอ่ืน ยกเวน้ บทความแปล
ภาษาต่างประเทศท่ีผูเ้ ขียนและสำ� นักพิมพย์ ินยอมใหแ้ ปลเป็น
ภาษาไทย

• บทความตอ้ งไมม่ ีการคดั ลอกมาจากผลงานของบคุ คลอ่ืน

คำ� แนะนำ� สำ� หรับผู้เขยี น

• สง่ บทความยาวประมาณ 15-25 หนา้ กระดาษ A4
• ใชอ้ กั ษร Cordia New ขนาด 16 และกนั้ ขอบดา้ นละ 1 นิว้
• สำ� หรบั ผเู้ ขียนท่ีมีเนือ้ หาท่ีตอ้ งใชอ้ กั ษรพิเศษ เชน่
บาลี/สนั สกฤต-โรมนั , จีน, ญ่ีป่นุ ใหใ้ ชอ้ กั ษร Calibri Light
ขนาด 11 ยกเวน้ ทิเบตใหใ้ ชอ้ กั ษร Microsoft Himalaya ขนาด 16
• ตวั เลข ใชเ้ ป็นเลขอารบกิ ทงั้ บทความ
• ช่ือบทความเป็นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
บทคัดย่อเป็ นภาษาไทย(ความยาวไม่ควรเกิน 250 ค�ำ)
และภาษาองั กฤษ
• แนบประวตั กิ ารศกึ ษาของผเู้ ขียน สงั กดั เบอรต์ ดิ ตอ่ ทงั้ ภาษาไทย
และภาษาองั กฤษ ไวท้ า้ ยบทความ
• บรรณานุกรมและการอ้างอิง ใช้รูปแบบตามหลักการอ้างอิง
ของวารสารธรรมธารา รายละเอียดในภาคผนวก
• ส่งบทความเขา้ ระบบออนไลนโ์ ดยสมคั รสมาชิกและลงทะเบียน
ไดท้ ่ี www.dhammadhara.org
• บทความจะไดร้ บั การตดิ ตอ่ ผา่ นทางระบบออนไลนเ์ ทา่ นนั้

ทป่ี รึกษากติ ตมิ ศักดิ์

พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สรุ เตโช) พระเผดจ็ ทตฺตชีโว
พระราชปรยิ ตั มิ นุ ี (เทยี บ สริ ญิ าโณ/มาลยั ), รศ.ดร. พระเมธาวนิ ยั รส (สเุ ทพ ปวสิ โิ ก), รศ.ดร.
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิรพฒั น์ ประพนั ธว์ ทิ ยา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อศั ววริ ุฬหการ
Professor Katsura Shoryu, Ph.D. (Hiroshima University, Hiroshima, Japan)
Professor Sasaki Shizuka, Ph.D. (Hanazono University, Kyoto, Japan)
Professor Wakahara Yusho (Ryukoku University, Kyoto, Japan)

บรรณาธิการ
พระครูปลดั สวุ ฒั นโพธิคณุ (สมชาย ฐานวฑุ โฺ ฒ), พ.บ., ดร. ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั การศกึ ษา วดั พระธรรมกาย

ผู้ช่วยบรรณาธิการ กรรมการทป่ี รึกษา
ดร.ภทั ธิดา แรงทน พระมหาธนา เตชธมโฺ ม, พระมหาอภิชาติ ฌานสโุ ภ
หวั หนา้ ศนู ยว์ ิจยั พทุ ธศาสตร์ DCI พระมหาสมคดิ ชยาภิรโต, พระมหาวรท กิตฺตปิ าโล
พระมหามนตช์ ยั อภิชาโน
กองบรรณาธิการ
Professor Matsuda Kazunobu Bukkyo University, Kyoto, Japan
พระมหาสมบรู ณ์ วฑุ ฺฒิกโร, รศ.ดร. มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
พระมหาพงศศ์ กั ดิ์ ฐานิโย, ดร. อาจารยท์ รงคณุ วฒุ ิ มหาวทิ ยาลยั รวิ โคข,ุ
เกียวโต ประเทศญ่ีป่นุ
ศาสตราจารย์ ดร.สมภาร พรมทา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
รองศาสตราจารย์ ดร.ประเวศ อินทองปาน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ชาตปิ ระเสรฐิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นจุ ารี ประสทิ ธิ์พนั ธ ์ อาจารยท์ รงคณุ วฒุ ิ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จนั ทิรา โกมาสถิต มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อทุ ยั สตมิ ่นั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ
ดร.อำ� นาจ บวั ศริ ิ อาจารยท์ รงคณุ วฒุ ิ
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
ดร.บรรเจิด ชวลติ เรอื งฤทธิ์ หวั หนา้ ศนู ยว์ ิจยั พระไตรปิฎก DCI
ดร.สชุ าดา ศรเี ศรษฐวรกลุ หวั หนา้ ศนู ยศ์ กึ ษาคมั ภีรโ์ บราณ DCI
ดร.เมธี พิทกั ษธ์ ีระธรรม หวั หนา้ โครงการแปลคมั ภรี บ์ าลแี ละสนั สกฤต
ศนู ยพ์ ทุ ธศาสตรศ์ กึ ษา DCI
ดร.รฐั รพี พิพฒั นธ์ นวงศ ์ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ธรรมกายแคลฟิ อรเ์ นีย

ฝ่ ายพสิ ูจนอ์ ักษร ฝ่ ายประสานงานพสิ ูจนอ์ ักษร
Andreas Johannes Jansen ดร.ทพญ.ศริ ริ ตั น์ งามแสง
ชยาณี พรหมมะกฤต

คณะผทู้ รงคณุ วุฒปิ ระเมนิ บทความ (Reviewers)

พระราชปรยิ ตั มิ นุ ี, รศ.ดร. มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
พระมหาพรชยั สริ วิ โร, ผศ.ดร. มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
พระมหาอานนท์ อานนฺโท, ผศ.ดร. มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
พระมหาพงศศ์ กั ดิ์ ฐานิโย, ดร. อาจารยท์ รงคณุ วฒุ ิ มหาวิทยาลยั รวิ โคขุ ประเทศญ่ีป่นุ
พระมหาชฏั พงศ์ กตปญุ ฺโญ, ดร. อาจารยส์ อนสมาธินานาชาติ
วดั พระธรรมกายกมุ มะ ประเทศญ่ีป่นุ
ศาสตราจารย์ ดร.สมภาร พรมทา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
ศาสตราจารย์ ดร.ศกั ดชิ์ ยั สายสงิ ห ์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ตงิ สญั ชลี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ิญ รกั สตั ย ์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
รองศาสตราจารย์ ดร.ฉตั รสมุ น พฤฒิกญั โญ มหาวทิ ยาลยั มหิดล
รองศาสตราจารย์ ดร.สมุ าลี มหณรงคช์ ยั มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.ประเวศ อินทองปาน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.ประเทือง ทินรตั น ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชยั สทิ ธิ์ สวุ รรณวรางกลู สถาบนั วจิ ยั นานาชาตธิ รรมชยั นิวซีแลนด์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พิมพวง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ ม่งั มีสขุ ศริ ิ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กงั วล คชั ชิมา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชานป์ วชิ ช์ ทดั แกว้ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประพนั ธ์ ศภุ ษร มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมควร นิยมวงศ ์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อทุ ยั สตมิ ่นั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชาตเิ มธี หงษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร
ดร.อำ� นาจ บวั ศริ ิ อาจารยท์ รงคณุ วฒุ ิ
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
ดร.อเุ ทน วงศส์ ถิตย ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ดร.สมพรนชุ ตนั ศรสี ขุ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั
ดร.ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสทิ ธิ์นนั ท ์ มหาวิทยาลยั มหิดล
ดร.บรรเจิด ชวลติ เรอื งฤทธิ์ หวั หนา้ ศนู ยว์ จิ ยั พระไตรปิฎก กองวจิ ยั DCI
ดร.วไิ ลพร สจุ รติ ธรรมกลุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

ฝ่ ายประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพร่ ฝ่ ายศลิ ปกรรมและระบบออนไลน์
ศนู ยพ์ ทุ ธศาสตรศ์ กึ ษา DCI พระมหาธญั สณั ห์ กิตฺตสิ าโร
พระพงษศ์ ริ ิ ธมมฺ วโิ รจโน
ฝ่ ายสมาชกิ
กองวชิ าการ DCI, กองสนบั สนนุ และบรกิ าร DCI, กองบรหิ าร DCI,
กองกจิ การนสิ ติ DCI, ศนู ยภ์ าษา DELC, โครงการพระไตรปิฎกฉบบั วชิ าการ,
สำ� นกั งานเลขานกุ าร และสมาชิกสำ� นกั การศกึ ษา

บทบรรณาธกิ าร

ในวารสารธรรมธาราฉบับนี้ ท่านผู้อ่านจะได้พบกับบทความ
พระพุทธศาสนาเชิงวิชาการท่ีประกอบด้วย บทความแปลของ
ผู้ทรงคุณวุฒิจากประเทศญ่ี ป่ ุน บทความวิชาการท่ีมีความ
หลากหลายมุมมองจากทัศนะผู้เขียนท่ีมีความรู้ทั้งภาคภาษาจีน
ภาษาตา่ งประเทศอ่ืนๆ อนั นา่ สนใจตดิ ตามย่ิง

พระพทุ ธศาสนาในโลกปัจจบุ นั แบง่ เป็น 3 นิกายใหญ่ คือ
1. พระพทุ ธศาสนาเถรวาท เจรญิ รุง่ เรอื งอยใู่ นประเทศไทย ศรลี งั กา
เมียนมาร์ ลาว กมั พชู า เป็นตน้
2. พระพทุ ธศาสนามหายาน ในประเทศจีน ญ่ีป่นุ เกาหลี ไตห้ วนั
เวียดนาม เป็นตน้
3. พระพทุ ธศาสนาวชั รยาน ในทิเบตและมองโกเลยี
การก�ำเนิ ดพระพุทธศาสนามหายานเป็ นเร่ืองท่ี มี การศึกษา
วิเคราะห์ และถกเถียงกนั มายาวนานหลายรอ้ ยปี มีทฤษฎีแหลง่ กำ� เนิด
มหายานหลายทฤษฎี เชน่ ทฤษฎีท่ีวา่ มหายานมาจากนิกายมหาสงั ฆิกะ
ทฤษฎีท่ีว่ามหายานมาจากกลุ่มพุทธฆราวาสท่ีรวมตัวบูชาเจดีย์
ทฤษฎีท่ีว่าในช่วงเร่ิมตน้ มหายานอยู่รวมกับเถรวาทในวัดเดียวกัน
เป็นตน้ บทความเร่ือง “แนวโนม้ และพฒั นาการทฤษฎีการกำ� เนิดของ
พระพุทธศาสนามหายาน (2)” โดย ศาสตราจารย์ ดร.ซาซากิ ชิซุกะ
ซง่ึ พระมหาพงศศ์ กั ดิ์ ฐานิโย, ดร. ไดแ้ ปลมาเป็นภาษาไทย ไดใ้ หแ้ งค่ ดิ
มมุ มองใหมๆ่ ท่ีแหลมคมตอ่ ทฤษฎีกำ� เนิดมหายาน ผสู้ นใจไมค่ วรพลาด

“การตรวจชำ� ระและศึกษาพุทธานุสสติในคัมภีรจ์ ตุรารักขา-
อรรถกถาบาลี” โดย ดร.สปุ ราณี พณิชยพงศ์ เป็นแบบอย่างของการ
ตรวจชำ� ระคมั ภีรบ์ าลที ่ีดี และแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสนใจอยา่ งกวา้ งขวาง
ในการปฏิบตั ิกรรมฐานแบบพุทธานุสสติตามหลกั คมั ภีรจ์ ตุรารกั ขานี้
ในประเทศไทย ศรลี งั กา เมียนมาร์ กมั พชู า เป็นตน้ มาแตโ่ บราณกาล

“คาถาชาดกพากษ์จีนท่ีมีความสอดคลอ้ งกับชาดกบาลี: ศึกษา
วิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบ” โดย ชาครติ แหลมมว่ ง เป็นผลงานวิจยั ท่ีสำ� คญั
ชิน้ หน่ึงซ่ึงแสดงให้เห็นว่า การศึกษาเปรียบเทียบคัมภีรค์ ู่ขนานใน
ภาษาตา่ งๆ เชน่ ภาษาบาลี ภาษาจีน ภาษาสนั สกฤต ภาษาทเิ บต เป็นตน้
ชว่ ยใหเ้ รามองเหน็ พฒั นาการของคมั ภีร์และชว่ ยในการตรวจชำ� ระคมั ภีร์
ไดอ้ ยา่ งมาก แตท่ งั้ นีผ้ วู้ ิจยั จะตอ้ งมีความรูค้ วามสามารถในภาษาตา่ งๆ
ท่ีทรงไวซ้ ง่ึ พระคมั ภีรเ์ ป็นอยา่ งดี

มิลินทปัญหา เป็นคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาท่ีสำ� คญั ย่ิงคมั ภีรห์ น่ึง
พระไตรปิฎกบาลีของพม่าถึงกบั จดั คมั ภีรม์ ิลินทปัญหาเป็นคมั ภีรห์ น่ึง
ในพระไตรปิฎกขุททกนิกาย “มิลินทปัญหา: ปริศนาเร่ืองกำ� เนิดและ
พฒั นาการ” โดย เนาวรตั น์ พนั ธว์ ิไล ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื งจดุ กำ� เนิดของคมั ภีร์
มลิ นิ ทปัญหาท่วี า่ แปลมาจากวรรณกรรมกรกี หรอื จากวรรณกรรมภาษา
ปรากฤต หรือ สนั สกฤตในอินเดีย โดยไดร้ วบรวมหลกั ฐานและเหตผุ ล
ของทงั้ 2 ทฤษฎีนีอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง

หวงั วา่ ผอู้ า่ นทกุ ทา่ นจะไดส้ ารตั ถประโยชนจ์ ากวารสารธรรมธารา
ฉบบั นีต้ ามสมควร

พระครูปลดั สวุ ฒั นโพธิคณุ
(สมชาย ฐานวฑุ ฺโฒ)
10 ตลุ าคม 2562

Editorial

In this edition of Dhammadhara journal, the readers will
witness Buddhist academic articles translated by well-establised
academics from Japan and academic articles containing a wide
range of perspectives by scholars in Chinese and other languages,
which are sure to rouse interest.

Buddhism in the modern world can be divided into three
main sects:

1. Theravāda Buddhism, which is practiced in countries
including Thailand, Sri Lanka, Myanmar, Laos and Cambodia;

2. Mahāyāna Buddhism, located mainly in China, Japan,
Korea, Taiwan, and Vietnam;

3. Vajrayāna Buddhism, found in Tibet and Mongolia.
The origin of Mahāyāna Buddhism has been studied,
analysed and debated for hundreds of years. Consequently,
there are presently numerous theories of its genesis. For example,
one theory mentions that Mahāyāna Buddhism arose from
the Mahāsāṃghika sect. Another theory states that Mahāyāna
stemmed from a group of Buddhist laypeople who gathered to
pay homage to cetiyas. And still another theory proposes that,
in the beginning, Mahāyāna formed alongside Theravāda in the
same temple. The article “Prospects of the Study of the Origins of
Mahāyāna Buddhism” by Professor Dr. Sasaki Shisuka which has
been translated into Thai by Phramaha Pongsak Thaniyo, Ph.D.,

offers a new perspective which penetrates through the theories
of the origin of Mahāyāna Buddhism. It is not to be missed, at
all costs.

Dr. Supranee Panichayapong’s “An Edition and Study of
the Buddhānussati in the Pāli Caturārakkhā-aṭṭhakathā” is great
example of thorough accounting of Pāli scriptures and reveals
broad interest in the meditation practice of Buddhanussati
according to the Caturarakkha text in Thailand, Srilanka, Myanmar
and Cambodia since the earlier days.

“The Chinese Jātaka’s Stanzas that Correspond with the
Jātakapāli: A Critical Comparative Study” by Chakrit Laemmuang
is an important research study which illuminates that comparative
study of parallell texts in various languages such Pāli, Chinese,
Sanskrit and Tibetan has helped us see the development of the
scriptures and accomplish the editing. Work such as this can
only be attempted by researchers who have expertise in various
languages.

The Milindapañha is a tremendously significant Buddhist
scripture that the Burmese Pali Canon categorizes as part of the
Tipiṭaka Khuddakanikāya. Presented in this edition, “Milindapañha:
the Mystery of its Origin and Development” is written by Naowarat
Panwilai, who has sought an answer to the question of which
literature it had been translated from: Greek; or Prakrit or Sanskrit
in India, through a thorough compilation of evidence and reason.

It is my hope that the readers will gain benefit from this journal.

Phragrupalad Suvattanabodhigun
(Somchai Thanavuddho)
10 October 2019

สารบัญ

บทบรรณาธิการ (Editorial)

หน้า

หมวดที่ 1 แปลบทความวชิ าการภาษาตา่ งประเทศ 1

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎกี ารกำ� เนิด
ของพระพุทธศาสนามหายาน (2)

Prospects of the Study of the Origins

of Mahāyāna Buddhism (2)
ซาซากิ ชิซกุ ะ

หมวดท่ี 2 บทความวิจัย

การตรวจชำ� ระและศกึ ษาพุทธานุสสติ
ในคัมภรี จ์ ตุรารักขาอรรถกถาบาลี
An Edition and Study of the Buddhānussati
in the Pāli Caturārakkhā-aṭṭhakathā 39
สปุ ราณี พณิชยพงศ์

คาถาชาดกพากยจ์ นี ทม่ี คี วามสอดคล้อง 101
กับชาดกบาล:ี ศกึ ษาวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บ

The Chinese Jātaka’s Stanzas that Correspond

with the Jātakapāli: A Critical Comparative Study

ชาครติ แหลมมว่ ง

หมวดที่ 3 บทความวชิ าการ
177
คัมภรี ม์ ลิ ินทปัญหา:
ปริศนาเรื่องกำ� เนิดและพฒั นาการ 219
236
Milindapañha: the Mystery of

its root and development
เนาวรตั น์ พนั ธว์ ไิ ล


ภาคผนวก

หลักการอ้างองิ ของวารสารธรรมธารา
ประวัตกิ ารศกึ ษาของบรรณาธิการและผู้เขยี น



หมวด 1

แปลบทความวชิ าการ
ภาษาตา่ งประเทศ



แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการกำ�เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 1
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎกี ารก�ำเนิด
ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2)

Prospects of the Study of the Origins of
Mahāyāna Buddhism (2)

ซาซากิ ชิซุกะ
Sasaki Shizuka

มหาวิทยาลัยฮานาโซะโนะ (花園大学) เกียวโต ประเทศญป่ี ุน่
Hanazono University, Kyoto, Japan

ตอบรบั บทความ (Received) : 19 ส.ค. 2562 เร่มิ แก้ไขบทความ (Revised) : 10 ก.ย. 2562
รบั บทความตีพมิ พ์ (Accepted) : 24 ก.ย. 2562 เผยแพรอ่ อนไลน์ (Available Online) : 10 ต.ค. 2562

2 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎกี ารกำ� เนดิ
ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2)*

ซาซากิ ชิซกุ ะ
พระมหาพงศ์ศกั ดิ์ ฐานิโย (แปล)

บทคัดยอ่

ในบทความนี้ ผเู้ ขียนไดก้ ลา่ วถงึ งานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การสืบคน้
ถึงตน้ กำ� เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายาน ซ่ึงในช่วงหลายปีท่ีผ่านมา
งานวิจยั สว่ นใหญ่ในโลกโนม้ เอียงไปทิศทางวา่ ตน้ กำ� เนิดของพระพทุ ธ-
ศาสนามหายานมาจากพระพทุ ธศาสนา 18-20 นิกาย (หินยาน) อยา่ งไร
ก็ตาม แมจ้ ะมีการศกึ ษาวิจยั ในเร่อื งนีม้ าอย่างยาวนาน แตน่ กั วิจยั ก็ยงั
ไม่สามารถไดข้ อ้ สรุปท่ีสอดคลอ้ งกันทัง้ หมดของตน้ กำ� เนิดพระพุทธ-
ศาสนามหายานได้ ซง่ึ ส่ิงนีแ้ สดงใหเ้ ห็นวา่ พระพทุ ธศาสนามหายานนนั้
อาจจะไม่ไดม้ ีตน้ กำ� เนิดท่ีมาจากแหล่งกำ� เนิดเพียงหน่ึงเดียว แต่เป็น
ปรากฏการณจ์ ากแหลง่ กำ� เนิดหลายๆ จดุ พรอ้ มๆ กนั

นอกจากนี้ผเู้ ขียนยงั ไดน้ ำ� เสนอประเดน็ การวจิ ยั เก่ียวกบั พระสถปู ,
สถานท่ีอยู่ของพระโพธิสัตวม์ หายาน, การวิเคราะหค์ ัมภีรม์ หายาน,
การถกเถยี งเรอ่ื งสง่ิ ทเ่ี ป็นพทุ ธพจนแ์ ละไมใ่ ชพ่ ทุ ธพจนใ์ นคำ� สอนมหายาน,
การคน้ หาเอกสารหลกั ฐานท่เี กดิ ขนึ้ มาในยคุ เดยี วกบั การกำ� เนดิ มหายาน,
การอธิบายถงึ วภิ ชั ชวาทและสรวาสตวิ าทในยคุ กอ่ นอภิธรรมมหาวภิ าษา

แนวโนม้ และพฒั นาการทฤษฎกี ารกำ�เนดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 3
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

และการศกึ ษาในเรอ่ื งช่ือของมหายาน ซง่ึ ประเดน็ การวจิ ยั เหลา่ นี้ ลว้ นมี
ประโยชนอ์ ย่างมากตอ่ งานวิจยั ในการสืบคน้ ถึงตน้ กำ� เนิดของพระพทุ ธ-
ศาสนามหายานตอ่ ไปในอนาคต
คำ� สำ� คัญ : แนวโนม้ การกำ� เนิด มหายาน พระสถปู พระโพธิสตั ว์

* การแปลและเรยี บเรยี งบทความนีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของผลงานวจิ ยั ใน
ฐานะนกั วจิ ยั พิเศษ ศนู ยว์ ิจยั Research Center for World Buddhist

Cultures, Ryukoku University 龍谷大学世界仏教文化研究センター

ประเทศญ่ีป่ นุ โดยไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั จาก Numata Fellowship
沼田奨学金 ประเทศญ่ีป่ นุ

4 ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

Prospects of the Study of the Origins
of Mahāyāna Buddhism (2)

Sasaki Shizuka

Abstract

In this article, the author presents an approach to be
adopted by researchers when exploring the origins of Mahāyāna
Buddhism. In recent years, the trends concerning the origins
of the Mahāyāna seem to seek within the world of Hīnayāna
Buddhism. In spite of many years of research, Mahāyāna
Buddhism does not appear to converge on a single origin. This
shows that the Mahāyāna movement did not originate from a
single source but manifested as a kind of social phenomenon
that appeared simultaneously in different places.

The author also demonstrates areas of research pertaining
to stūpas, issues surrounding the dwelling places of Mahāyāna
bodhisattvas, analyses of Mahāyāna sūtras, debate about
whether or not Mahāyāna represents the teachings of the
Buddha, investigations of materials contemporaneous with the

แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎกี ารกำ�เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 5
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

birth of the Mahāyāna, elucidation of the Vibhajjavāda school
and the original pre-Abhidharma-Mahāvibhāṣā Sarvāstivāda
school, and study of the name “Mahāyāna.” These areas of
research can hold promise for exploring the origins of the
Mahāyāna in the future.

Keywords : prospects, origins, Mahāyāna, stūpa, bodhisattva

6 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

บทนำ�

ผแู้ ปลและเรยี บเรยี งไดอ้ าศยั บทความภาษาญ่ีป่ นุ ท่ีช่ือวา่ “Daijō
Bukkyō kigenron no tenbō” 大乗仏教起源論の展望 (แนวโนม้ และ
พฒั นาการทฤษฎีการกำ� เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายาน) ของ Prof.
Dr. Shizuka Sasaki (佐々木閑) แหง่ มหาวทิ ยาลยั ฮานาโซโนะ (花園大学)
ประเทศญ่ีป่ นุ จากหนงั สือ Shirīzu Daijō Bukkyō 1: Daijō Bukkyō
to wa nani ka シリーズ大乗仏教 1: 大乗仏教とは何か (ซีรีสพ์ ระพทุ ธ
ศาสนามหายาน 1: พระพทุ ธศาสนามหายานคอื อะไร)1 โดยไดแ้ บง่ เนอื้ หา
ออกเป็น 2 ตอน ในตอนท่ี 1 ผเู้ ขียนไดก้ ล่าวถึงงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั
ทฤษฎีและแนวคิดเร่ืองการกำ� เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายานในช่วง
เกือบศตวรรษท่ีผ่านมา อีกทั้งยังไดน้ ำ� สมมติฐานท่ีอาจนำ� ไปสู่การ
กำ� เนิดขึน้ ของมหายาน น่ันคือ “การตีความเร่ืองสังฆเภท” ซ่ึงหาก
สมมติฐานนี้ได้รับการยอมรับ จะน�ำไปสู่การก�ำเนิดของมหายาน
ไดอ้ ย่างไร และสำ� หรบั ในตอนท่ี 2 ซ่งึ เป็นตอนจบนี้ ผเู้ ขียนไดก้ ล่าวถึง
หลมุ พรางท่ีผูว้ ิจยั ในดา้ นนีอ้ าจประสบ รวมถึงขอบเขตการวิจยั ท่ีมีผล
ต่อการนำ� ไปส่คู ำ� ตอบเร่ืองการกำ� เนิดมหายาน ซ่ึงจะเป็นประโยชนต์ ่อ
นกั วิจยั รวมถงึ นิสติ นกั ศกึ ษา และประชาชนผสู้ นใจเก่ียวกบั ทฤษฎีการ
กำ� เนิดพระพทุ ธศาสนามหายาน เพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจและประโยชน์
ในการทำ� งานรว่ มกบั ผนู้ บั ถือพระพทุ ธศาสนาตา่ งจารตี ตอ่ ไปในอนาคต

1 Sasaki (2011) โดยบทความนีไ้ ดเ้ ขียนเพ่ิมเติมจาก Sasaki (2009a)
เพ่ือใหเ้ กิดความสมบรู ณม์ ากขนึ้

แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการก�ำ เนดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 7
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

การกำ� เนิดขึ้นของพระพทุ ธศาสนามหายาน (ต่อ)

เม่ือเราดูภาพรวมเก่ียวกับการกำ� เนิดขึน้ ของพระพุทธศาสนา
มหายานแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ มีความไมช่ ดั เจนอยหู่ ลายประการ น่นั อาจเป็น
เพราะวา่ มหายานถือกำ� เนิดขนึ้ จากรูปแบบท่ีไม่ชดั เจนอย่แู ลว้ ดงั นนั้ จงึ
ไม่น่าแปลกใจท่ีงานวิจยั ในอดีตท่ีผ่านมาจะไม่สามารถหาขอ้ สรุปลงได้
ในกรณีท่ีเราจะสืบคน้ ถึงตน้ กำ� เนิดของมหายานนนั้ ขึน้ อย่กู บั ว่าเราจะ
พดู ถงึ “ตน้ กำ� เนิดในระดบั ใด” ซง่ึ ระดบั ท่ีเรากำ� ลงั พดู ถงึ นี้ จะนำ� ไปสคู่ ำ�
ตอบท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป ตวั อย่างเช่น ถา้ เราถามวา่ “ปรากฏการณร์ ูป
แบบใหม่ของพระพทุ ธศาสนาท่ีเรียกว่ามหายานนี้ มีสาเหตกุ ารกำ� เนิด
โดยสงั เขปมาจากอะไร” ส่ิงท่ีไดจ้ ากผลการวิจยั ของผเู้ ขียนดงั ท่ีไดก้ ลา่ ว
ไวแ้ ลว้ นนั้ ก็คงจะเพียงพอท่ีจะเป็นคำ� ตอบได้ แต่ถา้ เราถามว่า “ทำ� ไม
แนวคิดของปรชั ญาปารมิตาสูตร (Prajñāpāramitā Sūtra 般若經)
จึงเกิดขึ้น” หรือ “ต้นก�ำเนิดแนวคิดของสัทธรรมปุณฑริกสูตร
(Saddharmapuṇḍarīka Sūtra 法華經) มาจากไหน” ซ่งึ เป็นคำ� ถาม
เฉพาะเช่นนี้ เราก็มีความจำ� เป็นท่ีจะตอ้ งสืบคน้ เพ่ือใหไ้ ดค้ ำ� ตอบท่ีเป็น
รูปธรรมในการอธิบายปรากฏการณด์ งั กลา่ ว ดงั นนั้ คำ� ตอบของประเด็น
ปัญหาท่เี ก่ียวเน่อื งกบั การกำ� เนดิ ของมหายานนนั้ ขนึ้ อยกู่ บั การตงั้ คำ� ถาม
เป็นสำ� คญั ดงั นนั้ จงึ เป็นเรอ่ื งสำ� คญั ท่ีผวู้ ิจยั จะตอ้ งระมดั ระวงั เป็นพิเศษ

ในกรณีท่ีสมมติว่าเราได้คำ� ตอบของต้นกำ� เนิดมหายานแล้ว
มีเง่ือนไขจำ� เป็นท่ีผวู้ จิ ยั จะตอ้ งใหค้ วามกระจา่ งดงั ตอ่ ไปนี้

มีผู้วิจัยท่ียกเอาพระพุทธศาสนาหินยานนิกายหน่ึงขึ้นมา
โดยกล่าวว่าเป็นตน้ กำ� เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายาน ในกรณีเช่นนี้
ส่ิงท่ีมีความหมายย่ิง คือ ผวู้ ิจยั ท่านนีค้ ิดอย่างไรกบั นยั ท่ีว่า “พระพทุ ธ-

8 ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

ศาสนาหินยานนิกายนนั้ เป็นตน้ กำ� เนิดของมหายาน” ผวู้ ิจยั ท่านนีอ้ าจ
มองวา่ “มหายานเป็นปรากฏการณข์ องพระพทุ ธศาสนาท่ีมีตน้ กำ� เนิดมา
จากแหลง่ กำ� เนิดเพียงหนง่ึ เดียว” หรอื “มีตน้ กำ� เนิดมาจากปรากฏการณ์
ท่ีหลากหลาย” ก็เป็นได้ ซง่ึ ความคดิ ทงั้ 2 รูปแบบนี้ นำ� ไปสกู่ ารคน้ หาคำ�
ตอบในรูปแบบท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป

กรณีท่ี 1 สนั นิษฐานว่า “มหายานมีตน้ กำ� เนิดมาจากนิกาย A
ในหินยาน” โดยอาศยั แนวความคดิ ท่ีวา่ “มหายานเป็นปรากฏการณข์ อง
พระพทุ ธศาสนาท่มี ตี น้ กำ� เนดิ มาจากแหลง่ กำ� เนดิ เพยี งหนง่ึ เดยี ว ครนั้ เม่อื
กาลเวลาผา่ นไปไดแ้ ตกแขนงออกไปจนกระท่งั มาปรากฏเป็นรูปแบบตา่ งๆ
ในปัจจบุ นั ”

ดงั นัน้ เม่ือสืบคน้ กลบั ไปถึงประวตั ิศาสตรข์ องมหายานในอดีต
แน่นอนว่าจะพบตน้ กำ� เนิดเพียงหน่ึงเดียว น่นั คือ มีตน้ กำ� เนิดมาจาก
นิกาย A ในหินยาน ในกรณีเช่นนี้ การแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
มหายานกบั นกิ าย A นนั้ ยงั ไมเ่ พยี งพอ เราจะตอ้ งพสิ จู นใ์ หเ้ หน็ วา่ หนิ ยาน
นิกายอ่ืนๆ ท่ีนอกเหนือจากนิกาย A นัน้ จะไม่สามารถเป็นตน้ กำ� เนิด
ของมหายานไดด้ ว้ ย มิเช่นนนั้ แลว้ จะกลายเป็นวา่ “จรงิ อยู่ เราสามารถ
กล่าวไดว้ ่า มหายานนนั้ มาจากนิกาย A แต่เราไม่สามารถกล่าวไดว้ ่า
นิกาย A เท่านัน้ ท่ีใหก้ ำ� เนิดมหายาน เพราะยังมีความเป็นไปไดท้ ่ีว่า
มหายานอาจจะถือกำ� เนิดมาจากนิกาย B หรอื C ดว้ ยก็เป็นได”้ กลา่ วคือ
ไม่ว่าเราจะสืบคน้ เพ่ือหาความสัมพันธ์ระหว่างมหายานกับนิกาย A
มากเพียงใดก็ตาม ก็ไมอ่ าจท่ีจะปฏิเสธความเป็นไปไดท้ ่ีมหายานจะไมม่ ี
ตน้ กำ� เนิดมาจากนิกายอ่ืนอยนู่ ่นั เอง

กรณีท่ี 2 สนั นิษฐานว่า “มหายานมีตน้ กำ� เนิดมาจากนิกาย A
ในหินยาน” โดยอาศยั แนวความคดิ ท่ีวา่ “มหายานเป็นปรากฏการณข์ อง

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎกี ารกำ�เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 9
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

พระพทุ ธศาสนาท่ีมตี น้ กำ� เนิดมาจากแหลง่ กำ� เนิดท่ีมากมายหลากหลาย
ครนั้ เม่ือกาลเวลาผ่านไป ไดแ้ ตกแขนงออกไป จนกระท่งั มาปรากฏเป็น
รูปแบบตา่ งๆ ในปัจจบุ นั ”

แน่นอนว่า “ในแหล่งก�ำเนิดท่ีมากมายหลากหลายดังกล่าว
มมี าจากนกิ ายAรวมอยดู่ ว้ ย”ซง่ึ มคี วามจำ� เป็นทจ่ี ะตอ้ งระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจน
น่ันเป็นเพราะว่า มหายานเป็นปรากฏการณท์ างศาสนาท่ีมีหลายมิติ
และเราสามารถใหค้ วามกระจา่ งไดเ้ พียงตน้ กำ� เนิดท่ีมาจากแหลง่ กำ� เนิด
เพียงหนง่ึ เดียวเทา่ นนั้ ซง่ึ ถา้ เราไมร่ ะบใุ หช้ ดั เจนลงไปเชน่ นี้ ก็จะตกอยใู่ น
สภาพเดียวกนั กบั กรณีท่ี 1 ซง่ึ จะย่ิงทำ� ใหด้ งึ เอาความสบั สนท่ีไมจ่ ำ� เป็น
ขึน้ มาอีก และแน่นอนว่า “การสืบคน้ ถึงแหล่งกำ� เนิดอ่ืนๆ ท่ีนอกเหนือ
จากนิกาย A” รวมถงึ “การสืบคน้ เพ่ือใหเ้ กิดความกระจ่างถงึ เหตกุ ารณ์
ประวตั ศิ าสตรช์ ว่ งหลงั จากนนั้ วา่ มหายานทม่ี แี หลง่ กำ� เนดิ มาจากนกิ าย A
มีความสมั พนั ธอ์ ย่างไรกับมหายานท่ีมีแหล่งกำ� เนิดมาจากนิกายอ่ืนๆ
จนกระท่งั มามีสภาพดงั ท่ีปรากฏอย่ใู นปัจจบุ นั ” ยงั คงเป็นประเด็นท่ียงั
หลงเหลอื อยู่ ซง่ึ ตอ้ งกระทำ� อยา่ งระมดั ระวงั และการสบื คน้ ในกรณีท่ี 2 นี้
เราอาจจะตอ้ งตระเตรยี มใจไวว้ า่ เสน้ ทางในการสืบคน้ ถงึ ตน้ กำ� เนิดของ
มหายานในกรณีนี้ ไมว่ า่ จะสืบคน้ ไปมากเพียงใด ก็อาจจะไปไมถ่ งึ ท่ีสดุ

ดงั ท่ีกลา่ วไวใ้ นขา้ งตน้ ตวั ผเู้ ขียนเองคิดถงึ ความเป็นไปไดใ้ นกรณี
ท่ี 2 ถา้ สมมตวิ า่ เป็นไปดงั ท่ผี เู้ ขยี นกลา่ วไวว้ า่ “มหายานเป็นปรากฏการณ์
ท่ีกา้ วขา้ มขอบเขตของนิกายในหินยาน และเกิดขึน้ พรอ้ มๆ กนั ในสมยั
เดียวกัน” ซ่ึงเม่ือเรามองโดยภาพรวมแลว้ มีความเป็นไปไดอ้ ย่างย่ิง
ท่ีเราจะเห็นถึงการผสมผสานของแนวคิดในพระพุทธศาสนาหินยาน
นิกายต่างๆ ท่ีมีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กับมหายาน ตัวอย่างเช่น
ถา้ การเกิดขึน้ ของมหายาน มีความเก่ียวขอ้ งกบั นิกาย “มหาสางฆิกะ”

10 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

(Mahāsāṃghika 大眾部) ยอ่ มเป็นธรรมดาท่ีเราจะเหน็ ถงึ แนวคดิ ท่ีเป็น
ลกั ษณะเฉพาะของ “มหาสางฆิกะ” แตน่ ่นั ไมไ่ ดห้ มายความวา่ มหายาน
จะมตี น้ กำ� เนดิ มาจาก “มหาสางฆกิ ะ” เพยี งนกิ ายเดยี วเทา่ นนั้ เรากลา่ วได้
เพียงวา่ “มหาสางฆิกะ” ก็มีสว่ นเก่ียวขอ้ งกบั การกำ� เนิดขนึ้ ของมหายาน
เทา่ นนั้ น่นั หมายความวา่ นิกาย “ธรรมคปุ ตกะ” (Dharmaguptaka 法
藏部) หรือ “สรวาสติวาท” (Sarvāstivāda )說一切有部 อาจจะมีส่วน
เก่ียวขอ้ งกับการกำ� เนิดของมหายานก็เป็นได้ และหากเป็นเช่นนีจ้ ริง
เราก็จะเห็นถึงแนวคิดท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะของ “ธรรมคุปตกะ” และ
“สรวาสติวาท” เช่นกนั ดงั นนั้ การท่ีเราทำ� วิจยั ในเร่ืองนี้ โดยด่วนตดั สิน
ลงไปว่า “มหายานมีต้นก�ำเนิดมาจากนิกายใดนิกายหน่ึงเท่านั้น”
จึงเป็นส่ิงท่ีอันตรายอย่างย่ิง น่ันก็คือ การวิจัยบนสมมติฐานในกรณี
ท่ี 1 ท่ีมีมมุ มองแคบและอย่ใู นวงจำ� กดั น่นั เอง ซ่งึ การวิจยั ในลกั ษณะนี้
ก็คงจะสามารถดำ� เนินไปไดโ้ ดยไม่มีอปุ สรรคอนั ใด เพราะผวู้ ิจยั ก็คงจะ
พบแนวคิดท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะของนิกายท่ีตนเองคิดเอาว่าน่าจะเป็น
ตน้ กำ� เนดิ ของมหายาน ในคมั ภรี พ์ ระพทุ ธศาสนาตา่ งๆ มากมาย และผวู้ จิ ยั
ท่านนนั้ ก็คงมีความคิดว่า “เป็นไปตามความคาดการณท์ ่ีว่า มหายาน
มีตน้ กำ� เนิดมาจากนิกายนีจ้ ริงๆ” ซ่ึงยากท่ีจะหลดุ ออกจากกรอบแนว
ความคิดนีไ้ ปได้ และเม่ือลบสมมติฐานความเป็นไปไดท้ ่ีว่า มหายาน
มีตน้ กำ� เนิดโดยกา้ วขา้ มขอบเขตของนิกายต่างๆ ไปเสียตงั้ แต่เร่ิมตน้
กอปรกับการวิจยั ท่ีดำ� เนินไปโดยสะดวกและไม่มีอุปสรรค ย่ิงเป็นการ
ตอกยำ้� ให้จมอยู่กับแนวความคิดเช่นนั้น ซ่ึงส่ิงท่ีกล่าวมาทั้งหมดนี้
ไม่ไดเ้ ป็นเพียงจินตนาการของผเู้ ขียน หากแต่เป็นส่ิงท่ีเกิดขนึ้ จรงิ ในหมู่
นักวิจัยผูม้ ีความเช่ียวชาญ ท่ีจมติดอยู่กับแนวความคิดในลกั ษณะนี้
จนยากท่ีจะถอนตวั ออกมา ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีผูเ้ ขียนมีความเป็นห่วง ดงั นัน้

แนวโนม้ และพัฒนาการทฤษฎีการกำ�เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 11
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

เม่ือเราจะทำ� การวจิ ยั เพ่ือคน้ หาตน้ กำ� เนิดของมหายาน เราจงึ ควรทำ� การ
วิจยั บนสมมตฐิ านความเป็นไปไดท้ งั้ ในกรณีท่ี 1 และกรณีท่ี 2 ควบคกู่ นั
ไป โดยระมดั ระวงั ไมใ่ หจ้ มไปสแู่ นวความคิดดงั ท่ีกลา่ วมาแลว้ ในขา้ งตน้

ประเด็นการวิจยั ทีม่ ปี ระโยชนต์ ่องานวจิ ยั ในด้านนี้

ประเดน็ ปัญหาเกยี่ วกับ “พระสถูป”
“ทฤษฎีของ Hirakawa2” ไดก้ ล่าวถึงตน้ กำ� เนิดของมหายานว่า
มาจากกลุ่มของคฤหัสถ์ผู้ครองเรือนท่ีรวมตัวกันเพ่ือบูชาพระสถูป
ซ่งึ จากผลการวิจยั ในช่วงใกลท้ ่ีผ่านมา ปฏิเสธประเด็นท่ีว่า “ตน้ กำ� เนิด
ของพระพทุ ธศาสนามหายาน มาจากกลมุ่ คฤหสั ถผ์ คู้ รองเรอื น” เท่านนั้
แต่ประเด็นท่ีว่า “มหายานมีจุดเร่ิมตน้ จากความศรัทธาในการบูชา
พระสถูป” นัน้ ยงั ไม่ไดถ้ ูกปฏิเสธ แน่นอนว่าความศรทั ธาในการบูชา
พระสถปู นี้ มีมาเก่าก่อนท่ีมหายานจะถือกำ� เนิดขนึ้ แตท่ วา่ ส่งิ นีก้ ็ไมอ่ าจ
ปฏเิ สธแนวความคดิ ของ Prof. Dr. Akira Hirakawa ท่วี า่ “ความศรทั ธาใน
การบชู าพระสถปู นี้ เป็นจดุ เปล่ยี นท่ีทำ� ใหเ้ กิดพระพทุ ธศาสนามหายาน”
ไปได้ จรงิ อยู่ ยอ่ มมีกลมุ่ ของมหายานท่ีไมไ่ ดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การบชู า
พระสถปู แตด่ ว้ ยปรากฏการณท์ ่ีหลากหลายของมหายาน ความเป็นไป
ไดท้ ่ีวา่ “มีกลมุ่ ของมหายานท่ีกำ� เนิดขนึ้ ดว้ ยแนวคดิ เรอ่ื งความศรทั ธาใน
การบชู าพระสถปู ” นนั้ จงึ ไมใ่ ชส่ ่งิ ท่ีผิดปกตแิ ตอ่ ยา่ งใด ดงั นนั้ แนวทางใน
การวิจยั เรอ่ื งการกำ� เนิดของมหายานในประเดน็ นี้ จงึ ควรใหค้ วามสำ� คญั

2 ศกึ ษารายละเอียดเก่ียวกบั “ทฤษฎีของ Hirakawa” ท่ีกลา่ วถงึ การกำ� เนิด
พระพทุ ธศาสนามหายานว่ามีจดุ กำ� เนิดมาจากกลมุ่ คฤหสั ถผ์ มู้ ีศรทั ธาใน
การบชู าพระสถปู ไดใ้ น Hirakawa (1968)

12 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

กบั แนวคดิ ในเรอ่ื งความศรทั ธาตอ่ การบชู าพระสถปู นีด้ ว้ ย3
ประเดน็ ปัญหาเกย่ี วกบั “สถานทอ่ี ยขู่ องพระโพธสิ ตั วม์ หายาน”
ในช่วงใกล้ท่ีผ่านมา แนวความคิดท่ีมาแทนท่ี “ทฤษฎีของ

Hirakawa” ในเรอ่ื งของพระสถปู และไดร้ บั ความแพรห่ ลาย คอื “อรญั ญะ
(arañña) เป็นศนู ยก์ ลางการกำ� เนดิ ของมหายาน” สำ� หรบั คำ� วา่ “อรญั ญะ”
ในภาษาอินเดียนัน้ แปลว่า “ป่ า” แต่ในพระพุทธศาสนาไดห้ มายเอา
“สถานท่ีไม่พลกุ พล่านท่ีห่างจากเมืองและหม่บู า้ นพอสมควร” ซ่ึงกล่มุ
นกั บวชในพระพทุ ธศาสนาเอง มที งั้ กลมุ่ ผทู้ ่อี าศยั อยใู่ กลเ้ มอื งและหมบู่ า้ น
ดำ� รงชีพอยู่ดว้ ยผูค้ นท่ีอยู่ในเมืองและหมู่บา้ นนั้น และกลุ่มผูท้ ่ีอาศัย
อยู่ใน “อรญั ญะ” เพ่ือปฏิบตั ิธรรมโดยลำ� พัง โดยงานวิจัยในช่วงใกล้
ท่ีผ่านมา ไดพ้ บแนวความคิดท่ีว่า “นกั บวชผูป้ ฏิบตั ิธรรมโดยลำ� พงั ใน
อรญั ญะนีเ้ อง เป็นผทู้ ่ีคิดคน้ แนวคิดอนั เป็นลกั ษณะเฉพาะ จนพฒั นา
ไปสู่การใหก้ ำ� เนิดพระพุทธศาสนามหายานในท่ีสุด” และเม่ือมีความ
เป็นไปได้ท่ีการกำ� เนิดขึน้ ของปรากฏการณ์ทางพระพุทธศาสนาใน
รูปแบบใหมอ่ ยา่ งมหายานนี้ จะมีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธก์ บั “อรญั ญะ”
ดงั นนั้ ถา้ เราทำ� การศกึ ษาในประเด็นปัญหานีโ้ ดยละเอียด ก็จะทำ� ใหไ้ ด้
คำ� ตอบในเร่ืองนีม้ ากพอสมควร แต่ทว่าแนวความคิดท่ีจำ� กัดเฉพาะ
เพียงวา่ “มหายานเกิดจากกลมุ่ นกั บวชผปู้ ฏิบตั ธิ รรมในอรญั ญะเทา่ นนั้ ”
ก็เป็นส่ิงท่ีอันตรายเช่นกัน เพราะการเกิดขึน้ ของมหายานนัน้ มีความ
ซบั ซอ้ นอยา่ งย่ิง ดงั นนั้ การศกึ ษาถงึ สถานท่ีอยขู่ องพระโพธิสตั วม์ หายาน
ในรูปแบบตา่ งๆ จงึ มีความเป็นไปไดท้ ่ีจะนำ� มาซง่ึ คำ� ตอบในเรอ่ื งดงั กลา่ ว
ซ่ึงหน่ึงในสถานท่ีอย่ขู องพระโพธิสตั วม์ หายาน คือ “อรญั ญะ” น่นั เอง

3 Sasaki (2009b)

แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎกี ารกำ�เนิดของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 13
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

เม่ือเราตงั้ ขอ้ สงั เกตโดยสงั เขปนีแ้ ลว้ จงึ ลงมือแสวงหาคำ� ตอบตอ่ ไป4
ประเดน็ การวเิ คราะห์ “คัมภรี ม์ หายาน”
ประเดน็ การวจิ ยั ในเรอ่ื ง “คมั ภีรม์ หายาน” นี้ แมว้ า่ จะเป็นแนวทาง

ท่ีเราทำ� กนั โดยท่วั ไป เปรยี บเหมือนเสน้ ทางปกตทิ ่ีตอ้ งเดนิ แตถ่ งึ กระนนั้
ก็ยงั คงมีเสน้ ทางท่ียากลำ� บากและยงั ไมม่ ีใครเคยเดนิ ไป โดยผลงานวิจยั
ในประเด็นดงั กลา่ วท่ีมีประโยชนแ์ ละสง่ ผลตอ่ การเขา้ ถึงคำ� ตอบในเร่อื ง
การกำ� เนิดของมหายาน คือ งานวิจยั ของ Prof. Dr. Yukihiro Okada,

Prof. Dr. Masahiro Shimoda, Prof. Dr. Shōgo Watanabe, Prof.

Dr. Paul Harrison, Prof. Dr. Jan Nattier เป็นตน้ ซง่ึ ในการวิจยั คมั ภีร์
มหายานอ่ืนๆ ตอ่ ไปในอนาคต ควรอาศยั วธิ ีการวจิ ยั ในลกั ษณะท่ีปรากฏ
ในงานวจิ ยั ดงั กลา่ วนี้เพอ่ื คน้ หาคำ� ตอบเรอ่ื งการกำ� เนดิ ของมหายานตอ่ ไป5

นอกจากนี้ในงานวจิ ยั บางประเภท แมจ้ ะไมใ่ ชง่ านวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง
กบั เรอ่ื งการกำ� เนดิ ของมหายานโดยตรง แตจ่ ากการศกึ ษาคมั ภรี ม์ หายาน
ในแต่ละสายจารีตอย่างละเอียด สามารถทำ� ใหเ้ ห็นถึงขอ้ มลู สำ� คญั ท่ี
เก่ียวขอ้ งกับการกำ� เนิดขึน้ ของมหายานไดเ้ ช่นกัน ซ่ึงหน่ึงในงานวิจัย
ลกั ษณะเชน่ นี้ ไดแ้ ก่ งานวจิ ยั เก่ียวกบั คมั ภีรข์ องนิกายสขุ าวดี โดย Prof.

Dr. Kōtatsu Fujita6

4 Ray (1997); Sasaki (2003), (2004a), (2004b) (เก่ียวกบั งานวจิ ยั ท่ีศกึ ษา
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอรญั ญะและพระพทุ ธศาสนามหายาน ดรู ายละเอยี ด
ไดใ้ นเชิงอรรถท่ี 2 ของบทความนี)้ ; Karashima (2005)
5 ศึกษาเพ่ิมเติมไดใ้ น Shimoda (1997), (2009); Harrison (1987),
(1995a), (1995b), (2003); Nattier (2003)
6 Fujita Kōtatsu (2007)นอกจากนี้ยงั มงี านวจิ ยั คมั ภรี ์“ปรชั ญาปารมติ าสตู ร”

(อา่ นเชิงอรรถในหนา้ ตอ่ ไป)

14 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

ประเด็นการถกเถียงเรื่อง “สิ่งที่เป็ นพุทธพจน์และไม่ใช่
พุทธพจน”์ ในคำ� สอนมหายาน

ถา้ มหายานเกิดจากภายในหมู่สงฆท์ ่ีมีอยู่แต่ดัง้ เดิม การท่ีจะ
ยนื ยนั แนวคำ� สอนใหมใ่ หไ้ ดร้ บั การยอมรบั ขนึ้ มาในฐานะของ “พทุ ธพจน”์
นนั้ มีความจำ� เป็นท่ีจะตอ้ งอาศยั วธิ ีการตา่ งๆ นานา และในขณะเดยี วกนั
ย่อมตอ้ งมีกล่มุ ท่ีไม่ยอมรบั และปฏิเสธแนวคำ� สอนใหม่เหล่านนั้ อย่าง
แนน่ อน ดงั นนั้ หากเราศกึ ษาคน้ ควา้ ในประเดน็ ปัญหานโี้ ดยละเอยี ด ยอ่ มมี
ความเป็นไปไดส้ งู ท่ีเราจะพบคำ� ตอบอยา่ งเป็นรูปธรรม ตงั้ แตก่ ารเกิดขนึ้
ของมหายานท่ีถือกำ� เนิดมาจากหมสู่ งฆท์ ่ีมีอยเู่ ดมิ รวมถงึ การดำ� รงคงอยู่
และการขยายตวั ออกไปในวงกวา้ ง ซง่ึ ถา้ เราสามารถสืบหารอ่ งรอยการ
วิวาทะ ระหว่างฝ่ ายมหายานท่ีสนบั สนนุ แนวความคิดของตนเอง และ
ฝ่ายอน่ื ท่ปี ฏเิ สธแนวความคดิ ของฝ่ายมหายาน ไดโ้ ดยกระจา่ งแลว้ ยอ่ มมี
ความเป็นไปไดท้ ่ีจะสามารถไขปัญหาขอ้ ขอ้ งใจในเร่ืองท่ีว่า “มหายาน
เป็นใคร ถือกำ� เนิดขนึ้ มาไดอ้ ย่างไร” ไดอ้ ย่างแน่แท้ ในประเด็นการวิจยั
ดา้ นนี้การศกึ ษาถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพระพทุ ธศาสนายคุ อภธิ รรมกบั
มหายาน จงึ เป็นกญุ แจสำ� คญั ในการนำ� ไปสคู่ ำ� ตอบ ซง่ึ ถือเป็นความหวงั
อยา่ งย่ิงในงานดา้ นนี้ ปัจจบุ นั นกั วิจยั ท่ีดำ� เนินอยบู่ นเสน้ ทางนี้ คือ Prof.
Yoshifumi Honjō, Dr. Yoshimichi Fujita เป็นตน้ 7

(เชิงอรรถตอ่ จากหนา้ ท่ีแลว้ )

(Prajñāpāramitā Sūtra 般若經) ของ Prof. Dr. Shōgo Watanabe
(Watanabe 2009) ท่ีนา่ จบั ตามอง ซง่ึ งานวจิ ยั ชิน้ นีอ้ าจทำ� ใหเ้ ราไดเ้ หน็ ถงึ
การกำ� เนิดของคมั ภีร์ “ปรชั ญาปารมิตาสตู ร”
7 ศึกษาเพ่ิมเติมไดใ้ น Honjō (1989), (1990), (1992), (2001); Fujita

(อา่ นเชิงอรรถในหนา้ ตอ่ ไป)

แนวโนม้ และพฒั นาการทฤษฎีการกำ�เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 15
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

ประเดน็ การค้นหา “เอกสารหลักฐานทเ่ี กดิ ขนึ้ มาในยุคเดยี ว
กับการกำ� เนิดมหายาน”

แมเ้ ราจะไมส่ ามารถระบลุ งไปไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ พระพทุ ธศาสนา
มหายานถอื กำ� เนดิ ขนึ้ มาเมอ่ื ใดแตก่ ารเกดิ ขนึ้ ของ“แนวคำ� สอน”อาจกลา่ ว
ไดว้ า่ เกิดขนึ้ ในชว่ ง 200-300 ปี กอ่ นและหลงั ครสิ ตศ์ กั ราช ดงั นนั้ เอกสาร
หลกั ฐานต่างๆ ท่ีไม่ใช่ของฝ่ายมหายาน ซ่งึ เกิดขึน้ ในช่วงเวลาดงั กลา่ ว
รวมถึงท่ีเกิดขึน้ ในช่วงก่อนท่ีมหายานจะถือกำ� เนิดขึน้ จึงมีความเป็น
ไปไดส้ งู ท่ีจะมีการบนั ทกึ ถึงเร่ืองราวการกำ� เนิดขึน้ ของมหายาน ซ่งึ เป็น
ลกั ษณะของการมองเขา้ ไปจากภายนอก ถา้ เราสบื คน้ ขอ้ มลู จากเอกสาร
ทงั้ หลายเหลา่ นีไ้ ด้ ยอ่ มทำ� ใหเ้ ราสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มลู มหาศาลท่ียงั
ไมเ่ คยมีการเขา้ ถงึ ในเรอ่ื งการไขขอ้ ขอ้ งใจถงึ การกำ� เนิดขนึ้ ของมหายาน
เอกสารหลกั ฐานตา่ งๆ ท่ีมีคณุ คา่ ย่งิ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ ศลิ าจารกึ
เอกสารทางโบราณคดี เป็นตน้ ซ่งึ หลกั ฐานเหล่านีไ้ ดร้ บั การพิสจู นโ์ ดย
Prof. Dr. Gregory Schopen แลว้ วา่ มีคณุ คา่ และประโยชนต์ อ่ งานวจิ ยั
ในดา้ นนี้ นอกจากนีย้ งั มีเอกสารอ่ืนๆ ท่ีถือเป็นแนวทางใหม่และไดร้ บั
ความสนใจในการศกึ ษางานเก่ียวกบั การกำ� เนดิ ของมหายาน ไดแ้ ก่ คมั ภรี ์
พระวนิ ยั ปิฎกนิกายตา่ งๆ คมั ภีรอ์ ภิธรรม (ในจำ� นวนนีม้ ีคมั ภีร์ “อภิธรรม
มหาวิภาษา” (Abhidharma-mahāvibhāṣā 毘婆沙論) ซ่งึ เป็นคมั ภีร์
อภิธรรมของนิกายสรวาสติวาท) คมั ภีรอ์ รรถกถาตา่ งๆ ของฝ่ายเถรวาท
รวมถึง “โบราณอรรถกถา” ท่ีถูกสกัดออกมาจากคัมภีรอ์ รรถกถาท่ี
ใชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั (ไดแ้ ก่ อรรถกถาสงิ หล แนวคดิ ของภาณกะ (bhāṇaka))

(เชิงอรรถตอ่ จากหนา้ ท่ีแลว้ )
Yoshimichi (1997), (1998), (2006a), (2006b), (2007), (2008), (2009)
ซ่ึงงานวิจัยในผ่านมาอดีตท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นปัญหาดังกล่าว
ไดถ้ กู รวบรวมไวใ้ นงานวจิ ยั ของ Dr. Yoshimichi Fujita อยา่ งครบถว้ น

16 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

เป็นตน้ สำ� หรบั งานวจิ ยั ในเอกสารทงั้ หลายดงั ท่ยี กมานี้ไดร้ บั การเผยแพร่
ส่สู าธารณชนเป็นจำ� นวนมาก แต่ทว่าผลงานวิจยั ท่ีมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ
คน้ หาคำ� ตอบเร่ืองการกำ� เนิดของมหายานในเชิงประวัติศาสตรน์ ั้น
ถือไดว้ า่ มีจำ� นวนอยนู่ อ้ ยมาก ผเู้ ขียนมีความคาดหวงั วา่ ตอ่ ไปในอนาคต
จะมีงานวิจัยบนพืน้ ฐานของเอกสารเหล่านี้ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับการคน้ หา
คำ� ตอบทส่ี มั พนั ธก์ บั การกำ� เนดิ ขนึ้ ของพระพทุ ธศาสนามหายานในจำ� นวน
ท่ีมากขนึ้ สำ� หรบั ประเดน็ งานวิจยั บนพืน้ ฐานของเอกสารเหลา่ นี้ มี Prof.
Dr. Sodō Mori และนกั วจิ ยั รุน่ ใหมท่ ่ไี ดร้ บั การถา่ ยทอดมาจากทา่ น กำ� ลงั
เรม่ิ ตน้ งานวจิ ยั ในดา้ นนีอ้ ย8ู่

ประเด็นการอธิบายถึง “วิภัชชวาทและสรวาสติวาทในยุค
ก่อนอภธิ รรมมหาวภิ าษา”

ผู้เขียนไดก้ ล่าวถึงผลการวิจัยเก่ียวกับสมมติฐานการก�ำเนิด
ของพระพทุ ธศาสนามหายานของตนเอง ซ่งึ ไดน้ ำ� ไปส่ไู อเดียใหม่อย่าง
หนง่ึ น่นั คือ พระพทุ ธศาสนาเถรวาทท่ีเขา้ มาสศู่ รลี งั กา (วภิ ชั ชวาท) และ
สรวาสตวิ าทในยคุ กอ่ นท่ีจะมีคมั ภีร์“อภธิ รรมมหาวภิ าษา” ไมค่ วรท่ีจะใช้
หลกั การของพระพทุ ธศาสนายคุ 18-20 นกิ ายมาจบั เพราะเป็นพระพทุ ธ-
ศาสนารูปแบบเกา่ กอ่ นท่จี ะมพี ระพทุ ธศาสนายคุ 18-20 นกิ าย ดว้ ยเหตนุ ี้
เราควรมีทศั นคติอยา่ งไรตอ่ ทงั้ 2 นิกายนี้ กลา่ วคือ ควรมองนิกายทงั้ 2
นิกายนีว้ า่ เป็นนิกายหน่งึ ๆ ท่ีอิสระตอ่ กนั ในยคุ 18-20 นิกายอยา่ งท่ีเคย
มองกนั มา หรอื ควรมองวา่ เป็นพระพทุ ธศาสนาในรูปแบบเก่าก่อนท่ีจะมี
การแบง่ ออกเป็น 18-20 นิกายกนั แน่ ซง่ึ การคน้ หาคำ� ตอบในจดุ นีม้ ีความ
จำ� เป็น เพราะน่นั เป็นการคน้ หาแบบองคร์ วมของปรากฏการณ์ 2 รูปแบบ
ท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะในพระพทุ ธศาสนา กลา่ วคือ “การดำ� รงคงอย่ขู อง

8 ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดใ้ น Endō (1997), (2004); Katsumoto (2006)

แนวโนม้ และพัฒนาการทฤษฎีการกำ�เนิดของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 17
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

พระพทุ ธศาสนายคุ 18-20 นิกาย” และ “การกำ� เนิดขึน้ ของพระพทุ ธ-
ศาสนามหายาน” การคน้ หาในลกั ษณะเช่นนีอ้ าจจะดไู ม่ง่ายนกั แตก่ ็มี
คณุ คา่ ย่ิงท่ีจะทำ� การทดลองคน้ หา

ประเดน็ การศกึ ษาในเร่ือง “ชือ่ ของมหายาน”
ผทู้ ่ีหยิบยกประเดน็ นีข้ นึ้ มากลา่ ว คือ Prof. Dr. Seishi Karashima
โดยไดก้ ลา่ วถงึ ส่งิ ท่ีนา่ สนใจเก่ียวกบั คำ� วา่ “มหายาน” (mahāyāna) ไว้
วา่ เดิมทีคำ� วา่ “มหายาน” นีม้ าจากคำ� วา่ “มหาชญาน” (mahājñāna)
แน่นอนวา่ เราคงไม่ยตุ ิไวเ้ พียงแคป่ ัญหาในเร่อื งของช่ือเรยี กเท่านนั้ แต่
มหายานไดด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมอยา่ งไร ถอื กำ� เนดิ ขนึ้ มาในสภาวะแวดลอ้ มเชน่
ไร ซง่ึ มีความเป็นไปไดท้ ่ีจะพฒั นาไปสกู่ ารคน้ หาคำ� ตอบท่ีสำ� คญั เก่ียวกบั
การกำ� เนดิ ของมหายานในลำ� ดบั ตอ่ ไป จงึ เป็นสง่ิ จำ� เป็นท่เี ราจะตอ้ งจบั ตา
ดคู วามคืบหนา้ กนั ตอ่ ไป9
ทงั้ หมดนี้ คือ ประเดน็ การวจิ ยั ท่ีมีประโยชนต์ อ่ งานวจิ ยั ท่ีจะนำ� ไป
สคู่ ำ� ตอบในเรอ่ื งการกำ� เนดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายาน ถา้ เราพจิ ารณา
จากผลการศกึ ษาของผเู้ ขียนจะพบว่า พระพทุ ธศาสนามหายานไม่ไดม้ ี
ตน้ กำ� เนิดมาจากแหลง่ ใดเพียงหน่งึ เดียว หากแตเ่ กิดจากแนวคิดในการ
จดั การหม่สู งฆร์ ูปแบบใหม่ท่ีวา่ “ไม่วา่ จะเป็นแนวคำ� สอนในลกั ษณะใด
ก็ตาม ย่อมสามารถรบั เขา้ มาเป็นคำ� สอนในพระพทุ ธศาสนาไดท้ งั้ สิน้ ”
ซ่ึงเป็นจุดพลิกผันและก่อใหเ้ กิดปรากฏการณ์ทางศาสนาท่ีแผ่ขยาย
ออกไปเป็นวงกวา้ งในช่วงเวลาเดียวกัน ดังนั้นเม่ือเรามองยอ้ นหลัง
กลบั ไป หากเรายังคงดำ� เนินการวิจัยโดยติดอยู่กับแนวความคิดท่ีว่า
“มหายานถือกำ� เนิดมาจากหินยานนิกายใดนิกายหน่ึง” หรือ “เกิดจาก

9 ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดใ้ น Karashima (1993)

18 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

แนวคำ� สอนใดคำ� สอนหน่ึง” เสียแลว้ ย่อมเป็นเหตทุ ่ีทำ� ใหห้ ลงเขา้ ไปสู่
ทางตนั ยากท่ีจะหลดุ ออกมาได้ เราจงึ ควรท่ีจะขยายขอบเขตความนา่ จะ
เป็นในการวจิ ยั ใหก้ วา้ งท่ีสดุ เทา่ ท่ีจะสามารถกระทำ� ได้ โดยมองถงึ ความ
เปลย่ี นแปลงทางประวตั ศิ าสตรข์ องพระพทุ ธศาสนามหายาน ท่มี กี จิ กรรม
ทางศาสนาในวงกวา้ ง และในขณะเดียวกนั อีกดา้ นหน่ึงของการศกึ ษา
วจิ ยั เราควรศกึ ษาปรากฏการณท์ ่เี กิดขนึ้ ภายในมหายานเอง ท่มี ลี กั ษณะ
เฉพาะในแตล่ ะสายจารตี อยา่ งละเอียด เม่ือเป็นเชน่ นีแ้ ลว้ การศกึ ษาวจิ ยั
เก่ียวกบั ประเดน็ การกำ� เนิดขนึ้ ของมหายาน ก็จะเป็นการศกึ ษาใน 2 มิติ
คือ การศกึ ษาในเชิงกวา้ งและเชิงลกึ ควบคกู่ นั ไป

เม่ือหนั มองยอ้ นดอู ดีตทีผ่ ่านมา

ในประวตั ศิ าสตรก์ ารวิจยั เก่ียวกบั ประเดน็ ปัญหาการกำ� เนิดของ
พระพทุ ธศาสนามหายาน เราพบวา่ “ทฤษฎีของ Hirakawa” ของประเทศ
ญ่ีป่ นุ มีอิทธิพลตอ่ การวิจยั ในดา้ นนีม้ าก ผเู้ ขียนเองไดก้ า้ วเขา้ สโู่ ลกของ
การศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นพทุ ธศาสตร์ราวปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) ในขณะนนั้
“ทฤษฎีของ Hirakawa” ถือเป็นส่งิ ท่ีชีข้ าดในงานวจิ ยั ดา้ นนี้ เม่ือจะกลา่ ว
ถงึ พระพทุ ธศาสนามหายาน จะตอ้ งเรม่ิ ดว้ ย “ทฤษฎขี อง Hirakawa” เสมอ
กลา่ วคือ จะตอ้ งเร่มิ ตน้ การสนทนาดว้ ย “ทฤษฎีของ Hirakawa” และ
พูดคุยทุกอย่างบนพืน้ ฐานของทฤษฎีนีเ้ ป็นสำ� คัญ ดว้ ยเหตุนี้ ทฤษฎี
ใหมใ่ ดๆ ก็ตามท่ีเกิดขนึ้ ถา้ ไมส่ อดคลอ้ งกบั “ทฤษฎีของ Hirakawa” แลว้
ก็จะถกู มองผา่ นไป ซง่ึ “ทฤษฎีของ Hirakawa” นนั้ มองวา่ “ผขู้ บั เคล่อื น
พระพุทธศาสนามหายานนั้น เป็นกลุ่มคฤหัสถผ์ ูม้ ีศรทั ธาในการบูชา
พระสถปู ” เป็นสำ� คญั ดงั นนั้ แนวความคิดท่ีสวนกบั กระแสดงั กลา่ ว คือ

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎกี ารก�ำ เนดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 19
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

“ผูข้ ับเคล่ือนพระพุทธศาสนามหายานนัน้ เป็นกลุ่มของคณะสงฆท์ ่ีมี
อย่แู ลว้ ในขณะนนั้ ” จึงถกู มองขา้ มและตีตกไปก่อนท่ีจะมีการพดู คยุ ถึง
ความนา่ เช่ือถือและความเป็นไปไดใ้ นประเดน็ นีเ้ สยี อีก ทฤษฎีท่ีเก่ียวกบั
การกำ� เนิดของมหายานนั้น มีจุดเร่ิมตน้ บนพืน้ ฐานของตำ� นานท่ีว่า
“มหายานเกิดจากมหาสางฆิกะ” ซง่ึ ตอ่ มาไดถ้ กู “ทฤษฎีของ Hirakawa”
ล้มไปดังท่ีกล่าวแล้วในข้างต้นนั้น เป็นเพียงการกล่าวแบบกว้างๆ
โดยสงั เขปเทา่ นนั้ เพราะแทท้ ่จี รงิ แลว้ กอ่ นท่จี ะมี “ทฤษฎขี อง Hirakawa”
เกดิ ขนึ้ ไดม้ ไี อเดยี ใหมๆ่ ของนกั วจิ ยั เกย่ี วกบั เรอ่ื งดงั กลา่ วนเี้ ป็นจำ� นวนมาก
ซ่งึ ในจำ� นวนนี้ มีงานวิจยั ท่ีไม่ไดอ้ าศยั ตำ� นานพืน้ ฐานดงั กล่าว แต่เป็น
บทสรุปท่ีอาศยั ผลจากการวิจยั เชิงคมั ภีรอ์ ย่างละเอียดท่ีว่า “พระพทุ ธ-
ศาสนามหายานเกิดขนึ้ จากภายในหม่สู งฆเ์ อง” แตด่ งั ท่ีกลา่ วไปแลว้ ว่า
ไมว่ า่ จะมีผลงานวิจยั ท่ีดีเย่ียมเพียงใดก็ตาม หากมีแนวความคดิ ท่ีขดั ตอ่
“ทฤษฎีของ Hirakawa” ก็จะถกู มองขา้ มและตีตกไปในทนั ที

ปัจจุบนั คล่ืนยกั ษ์ของ “ทฤษฎีของ Hirakawa” นนั้ ไดร้ บั การ
ยอมรบั แลว้ วา่ “ขาดความสมบรู ณ”์ ดงั นนั้ จงึ เป็นโอกาสท่ีงานวิจยั ท่ีเคย
ถกู มองขา้ มและตีตกไปในอดีต จะไดก้ ลบั มาเจิดจรสั แสงอีกครงั้ สำ� หรบั
งานวจิ ยั ท่ีผเู้ ขียนกำ� ลงั สนใจอยใู่ นปัจจบุ นั ไดแ้ ก่ งานวจิ ยั ของ Prof. Dr.
Taiken Kimura และ Prof. Dr. Yoshio Nishi10 ซง่ึ ทงั้ 2 ทา่ นนีไ้ ดใ้ หค้ วาม
สนใจในการศกึ ษาคมั ภีรอ์ ภิธรรมเป็นสำ� คญั และในจำ� นวนนนั้ ไดศ้ กึ ษา
ถึงเสน้ ทางท่ีเช่ือมจาก “พระพทุ ธศาสนายคุ อภิธรรม” ไปสู่ “พระพทุ ธ-
ศาสนามหายาน” อีกดว้ ย ซ่งึ ผลจากการศกึ ษาไดช้ ีใ้ หเ้ ห็นถึงเสน้ ทางท่ี
มอี ยนู่ นั้ จรงิ สำ� หรบั ผลจากการศกึ ษาดงั กลา่ วนี้เม่อื ยอ้ นกลบั ไปในสมยั ท่ี
“ทฤษฎีของ Hirakawa” มีอิทธิพลนนั้ ยงั ไม่ไดร้ บั การยอมรบั แต่ทว่า

10 ศึกษาเพ่ิมเติมไดใ้ น Kimura (1937); Nishi (1945), (1968), (1975),
(1976), (1979)

20 ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

บดั นี้ กลบั ไดร้ บั การกลา่ วขานถงึ 11 ถา้ พระพทุ ธศาสนามหายานไมไ่ ดเ้ กิด
จาก “มหาสางฆกิ ะ” เพียงหนง่ึ เดียว อีกทงั้ ยงั ไมไ่ ดเ้ กิดจาก “กลมุ่ คฤหสั ถ์
ผูม้ ีศรทั ธาในการบูชาพระสถูป” แต่เกิดจากหม่สู งฆห์ ม่ใู หญ่ในยุคนัน้
ผ่านกระบวนการท่ียงั ไม่มีใครรูว้ ่าเป็นอย่างไรแลว้ ล่ะก็ ผลงานวิจยั เชิง
คมั ภรี ท์ แ่ี สดงถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง “หนิ ยาน” และ “มหายาน” ยอ่ มเป็น
เสมือนแผนท่ีบอกทาง ซง่ึ เป็นอปุ การะอยา่ งย่ิงตอ่ งานวิจยั ในดา้ นนี้

ตวั ผูเ้ ขียนเองมีความเห็นว่า ช่วงเวลาท่ี “หินยาน” เร่ิมผนั ตวั ไป
สู่ “มหายาน” นนั้ มมุ มองท่ีเปล่ียนไปเก่ียวกบั เร่ือง “โลกและจกั รวาล”
มีส่วนสำ� คญั อย่างย่ิง กล่าวคือ ในช่วงแรกท่ียงั อย่ใู นขนั้ ของ “หินยาน”
นนั้ ไดม้ ีขอ้ กำ� หนดวา่ ในโลกธาตขุ นาดใหญ่ (Trisāhasramahāsāhas-
ralokadhātu )三千大千世界 12 สามารถมีพระพทุ ธเจา้ ไดเ้ พียง 1 พระองค์

11 ววิ าทะทเ่ี กดิ ขนึ้ ระหวา่ ง Prof. Dr. Taiken Kimura และ Prof. Dr. Hakuju Ui
เป็นเรอ่ื งท่ีทกุ คนทราบเป็นอยา่ งดี ซง่ึ Prof. Dr. Yoshio Nishi เป็นลกู ศษิ ย์
โดยตรงของ Prof. Dr. Taiken Kimura ภายหลงั จากท่ี Prof. Dr. Taiken
Kimura ได้เสียชีวิตด้วยวัยเพียง 49 ปี ตำ� แหน่งศาสตราจารย์แห่ง
มหาวิทยาลยั โตเกียวในสมยั นนั้ ไดต้ กมาถึง Prof. Dr. Hakuju Ui และ
สำ� หรบั Prof. Dr. Hakuju Ui นนั้ เหน็ Prof. Dr. Yoshio Nishi วา่ เป็นเสมอื น
กา้ งขวางคอเพราะถอื เป็นทายาทของProf. Dr. Taiken Kimura ทห่ี ลงเหลอื อยู่
ดงั นนั้ เบอื้ งหลงั ท่งี านวจิ ยั ของ Prof. Dr. Yoshio Nishi ไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั
ในวงวิชาการเท่าท่ีควรจะเป็นนนั้ อาจเป็นเพราะผลกระทบจากสาเหตุ
ดงั กลา่ วก็เป็นได้
12 ตฺริสาหสฺรมหาสาหสฺรโลกธาตุ (Trisāhasramahāsāhasralokadhātu
)三千大千世界 หมายเอา โลกธาตขุ นาดใหญ่ โดยมลี ำ� ดบั ในการไลเ่ รยี งดงั นี้
“จกั รวาล” ท่ีประกอบดว้ ย ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ เขาสเิ นรุ สวรรค์ 6 ชนั้

(อา่ นเชิงอรรถในหนา้ ตอ่ ไป)

แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการก�ำ เนิดของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 21
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

เท่านัน้ ไม่สามารถท่ีจะมีพระพุทธเจา้ ไดม้ ากกว่า 1 พระองคใ์ นเวลา
เดยี วกนั เมอ่ื เป็นเชน่ นี้พวกเราทม่ี าเกดิ อยใู่ นยคุ นที้ ป่ี ราศจากพระพทุ ธเจา้
คงไม่อาจท่ีจะพบกบั พระพทุ ธเจา้ ตงั้ ความปรารถนาต่อหนา้ พระพกั ตร์
และส่งั สมบารมีเพ่ือม่งุ ความเป็นพระพทุ ธเจา้ ในฐานะของพระโพธิสตั ว์
ไดเ้ ลย เม่ือหนทางนีไ้ ดถ้ กู ปิดลง ทำ� อย่างไรจึงจะสามารถเปิดหนทางนี้
ไดอ้ ีกครงั้ หน่งึ แนวคิดท่ีวา่ ดว้ ย “โลกธาตุ (ขนาดใหญ่) นีม้ ีอย่มู ากมาย
ดงั นนั้ ในโลกธาตทุ ่ีมากมายเหลา่ นนั้ ยอ่ มมีพระพทุ ธเจา้ อย”ู่ จงึ บงั เกิดขนึ้
ทงั้ นีเ้ พ่ือเปิดหนทางในการส่งั สมบารมีของสรรพสตั ว์ เพ่ือม่งุ ความเป็น
พระพทุ ธเจา้ เม่ือเป็นเช่นนี้ พวกเราท่ีอย่ใู นยคุ ปัจจบุ นั จึงมีโอกาสท่ีจะ
พบกับพระพุทธเจ้าในโลกธาตุอ่ืน และสามารถส่ังสมบารมีเป็ น
พระพทุ ธเจา้ ไดเ้ ช่นกนั ซง่ึ แนวคิดเช่นนีอ้ าจเป็นพืน้ ฐานของแนวคิดใหม่
ท่ีเรยี กว่า “มหายาน” ก็เป็นได้ และเม่ือเป็นเช่นนี้ เราย่อมท่ีจะสามารถ
สืบค้นกระบวนการเปล่ียนแปลงจาก “หินยาน” ไปสู่ “มหายาน”
โดยอาศยั มมุ มองในเร่ือง “โลกและจกั รวาล” ของพระพทุ ธศาสนาท่ีมี
แนวคิดท่ีว่า “ปัจจุบนั พระพุทธเจา้ ทรงมีพระชนมช์ ีพอยู่ ณ ท่ีแห่งใด
แห่งหน่ึงหรือไม่ ถา้ พระองคท์ รงมีพระชนมช์ ีพอยู่ เราจะไปพบพระองค์
ไดอ้ ยา่ งไร” ซง่ึ แทท้ ่ีจรงิ แลว้ แนวทางในการวิจยั ในลกั ษณะนี้ ไดเ้ คยถกู
นำ� เสนอไปแลว้ เม่ือกวา่ 80 ปีท่ีผา่ นมา โดย Prof. Dr. Taiken Kimura

(เชิงอรรถตอ่ จากหนา้ ท่ีแลว้ )
เหลา่ นีเ้ ป็นตน้ รวมกนั 1000 จกั รวาล เรยี กวา่ “โลกธาตขุ นาดเลก็ ” โลกธาตุ
ขนาดเล็กนี้ รวมกนั 1000 โลกธาตุ เรียกว่า “โลกธาตขุ นาดกลาง” และ
โลกธาตขุ นาดกลางนี้รวมกนั 1000 โลกธาตุ เรยี กวา่ “โลกธาตขุ นาดใหญ่”
(Nakamura 2001: 593) ศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองโลกธาตขุ นาดต่างๆ
เพ่ิมเตมิ ใน AN 3 Ānanda-vagga 80 (AN I: 22631-22830) (ผแู้ ปลและ
เรยี บเรยี ง)

22 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

ซง่ึ มีใจความตอนหนง่ึ กลา่ วไวด้ งั นี1้ 3
เร่ืองการปรากฏอยู่ของพระพุทธเจา้ 7 พระองคใ์ นอดีต

รวมถงึ พระพทุ ธเจา้ 24 พระองค์ จนกระท่งั ถงึ พระพทุ ธเจา้ นบั หม่ืน
พระองคน์ นั้ เป็นเร่ืองท่ีพระพทุ ธศาสนานิกายต่างๆ มีความเห็น
พอ้ งตอ้ งกนั และต่างยอมรบั ในเร่ืองนี้ แต่ทว่าประเด็นปัญหา คือ
“ณ จดุ เวลาเดียวกนั มีพระพทุ ธเจา้ ปรากฏอย่ใู นโลกธาตอุ ่ืนหรอื
ไม”่ ในเร่อื งนีไ้ ดม้ ีปรากฏในพระสตู รท่ีกลา่ วถงึ ความเสมอเหมือน
กนั ระหวา่ ง “พระตถาคต” กบั “พระเจา้ จกั รพรรด”ิ ไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่
“พระเจา้ จกั รพรรดไิ มส่ ามารถบงั เกิดขนึ้ ไดพ้ รอ้ มกนั ถงึ 2 พระองค์
ฉนั ใด การบงั เกดิ ขนึ้ พรอ้ มกนั ของพระพทุ ธเจา้ 2 พระองคก์ ไ็ มอ่ ยใู่ น
ฐานะท่ีจะมีไดฉ้ นั นนั้ ” ...... (ละขอ้ ความ) ...... ซง่ึ หลกั การดงั กลา่ ว
นี้ ยอมรบั การมีอยขู่ องพระพทุ ธเจา้ เพียง 1 พระองคใ์ นจกั รวาลทงั้
ปวง และเป็นการปฏิเสธการมีอย่ขู องพระพทุ ธเจา้ 2 พระองคใ์ น
เวลาเดียว ดงั จะพบหลกั การนีไ้ ดใ้ น “สรวาสตวิ าท” เป็นตน้ แตใ่ น
ขณะเดยี วกนั “มหาสางฆกิ ะ” หรอื นกิ ายท่ไี ดร้ บั อทิ ธิพลมาจากมหา
สางฆิกะ ไดแ้ ก่ “เสาตรานติกะ” (Sautrāntika 經量部) กลบั ยืนยนั
การมีอยู่ของพระพุทธเจา้ มากกว่า 1 พระองคใ์ นเวลาเดียวกัน
เก่ียวกับการตอบปัญหาในเร่ืองดังกล่าวนี้ ไดม้ ีการกล่าวไวใ้ น
คมั ภีร์ “อภธิ รรมโกศภาษยะ” (Abhidharmakośabhāṣya 倶舍論)
บทท่ี 12 โดยมีใจความสำ� คัญท่ีกล่าวถึงแนวคิดของกลุ่มผู้ท่ี
เห็นดว้ ยกับหลกั การท่ีมีพระพุทธเจา้ พระองคเ์ ดียวว่า “พุทธา-
นุภาพนั้นครอบคลุมไปท่ัวโลกธาตุขนาดใหญ่ (Trisāhasra-
mahāsāhasralokadhātu )三千大千世界 ดงั นัน้ จึงไม่มีความ

13 Kimura (1937: 100-101)

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎีการก�ำ เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 23
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

จำ� เป็นท่ีจะตอ้ งมีพระพทุ ธเจา้ พระองคอ์ ่ืนอีก” แตใ่ นขณะเดียวกนั
แนวคดิ ของผทู้ ่ีเหน็ ดว้ ยกบั หลกั การท่ีมีพระพทุ ธเจา้ หลายพระองค์
กลบั เหน็ วา่ “ตราบเทา่ ท่ียงั มีพระโพธิสตั วผ์ มู้ งุ่ บรรลพุ ระโพธิญาณ
อยู่นับไม่ถ้วน ก็ไม่ควรท่ีจะปฏิเสธการมีอยู่ของพระพุทธเจ้า
นับพระองคไ์ ม่ถ้วนในโลกธาตุอ่ืนๆ ด้วยมิใช่หรือ นอกจากนี้
การท่ีพระสตู รทงั้ หลายไม่ไดก้ ลา่ วถึงการปรากฏของพระพทุ ธเจา้
2 พระองคใ์ นเวลาเดยี วกนั นนั้ น่นั เป็นเพราะกลา่ วอยใู่ นขอบเขตของ
โลกธาตุขนาดใหญ่นีเ้ ท่านนั้ ดงั นนั้ จึงไม่อาจนบั เป็นหลกั ฐานท่ี
ปฏิเสธการมีของพระพทุ ธเจา้ นบั พระองคไ์ ม่ถว้ นได”้ จากแนวคิด
เรอ่ื งการมีอยขู่ องพระพทุ ธเจา้ นบั พระองคไ์ มถ่ ว้ น ณ จดุ นี้อาจเป็น
จดุ กำ� เนิดของแนวคิดเก่ียวกบั “พระพทุ ธเจา้ ในพระพทุ ธศาสนา
มหายาน” ในกาลตอ่ มา แตท่ วา่ ทงั้ นีท้ งั้ นนั้ ส่งิ ท่ีจะตอ้ งไมล่ ืม คือ
แนวคิดเร่ืองความสมั พนั ธร์ ะหว่าง “พทุ ธเกษตร” กับ “การช่วย
เหลือสรรพสตั ว”์ ยงั มิไดเ้ กิดขนึ้ ณ จดุ นี้ (ผเู้ ขียนขอละการอา้ งอิง
ท่ีปรากฏในตน้ ฉบบั ของขอ้ ความท่ียกมานี)้ 14
ในการสืบค้นถึงการกำ� เนิดของพระพุทธศาสนามหายานนั้น
ผเู้ ขียนเลง็ เห็นถึงความสำ� คญั ของการศกึ ษาแนวทางในการตอบปัญหา
ของฝ่ ายมหายานในทุกๆ สายจารีต ในเร่ืองท่ีว่า “วิธีการใดท่ีเราจะ

14 นอกจากนี้Prof. Dr. Taiken Kimura ยงั ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ “การยนื ยนั ในเรอ่ื งทว่ี า่
‘ใหร้ บั เอาเจตนารมณท์ ่ีแทจ้ รงิ ของพระพทุ ธเจา้ ท่ีซอ่ นอยเู่ บือ้ งหลงั คำ� สอน
ในพระสูตร’ ท่ีปรากฏอยู่ในคัมภีรอ์ ภิธรรมต่างๆ ของสรวาสติวาทนั้น
มคี วามสอดคลอ้ งกบั ทา่ ทขี องมหายาน ดงั นนั้ จงึ มคี วามจำ� เป็นท่เี ราจะตอ้ ง
วิจัยคมั ภีรอ์ ภิธรรมดว้ ย” ซ่ึงการวิจัยลกั ษณะนีใ้ นปัจจุบนั เป็นมุมมอง
พืน้ ฐานในเร่ืองท่ีว่าดว้ ยส่ิงท่ีเป็น “พุทธพจน”์ และ “ไม่ใช่พุทธพจน”์
ในคำ� สอนของมหายาน (Kimura 1937: 30-31)

24 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

สามารถเป็นพระพทุ ธเจา้ ได้และเพราะเหตใุ ด แมว้ า่ พระศากยมนุ พี ทุ ธเจา้
จะดบั ขนั ธปรนิ พิ พานไป เขา้ สยู่ คุ ท่ปี ราศจากพระพทุ ธเจา้ แลว้ กต็ าม เราก็
ยงั สามารถเป็นพระพทุ ธเจา้ ได”้ ซง่ึ ถา้ เราสามารถจบั หลกั เก่ยี วกบั แนวทาง
การตอบปัญหาในเรอ่ื งเหลา่ นีข้ องพระพทุ ธศาสนามหายานในแตล่ ะสาย
จารีตได้ ก็คงทำ� ใหเ้ ราสามารถมองเห็นถึงความสลบั ซบั ซอ้ นท่ีมีอยู่ใน
พระพทุ ธศาสนามหายานไดใ้ นระดบั หน่ึง และคงเป็นเหตปุ ัจจยั ท่ีทำ� ให้
เราค่อยๆ เขา้ ใกลจ้ ุดกำ� เนิดท่ีมีอยู่มากมายหลากหลายของพระพุทธ-
ศาสนามหายานไดใ้ นท่ีสดุ

บทส่งท้ายจากผูแ้ ปลและเรียบเรียง

สำ� หรบั บทความในตอนท่ี 2 นี้ผเู้ ขียนไดก้ ลา่ วถงึ แนวโนม้ เก่ียวกบั
การกำ� เนิดของมหายานว่ามีความเป็นไปไดส้ งู ท่ีจะมาจากหม่สู งฆเ์ ดิม
ใน 18-20 นิกายท่ีมีอย่แู ลว้ ไม่ไดเ้ กิดจากกลมุ่ ของคฤหสั ถผ์ คู้ รองเรือน
ดงั ท่ี “ทฤษฎีของ Hirakawa” ไดก้ ลา่ วไว้ แตท่ วา่ แมจ้ ะมีแนวความคิด
วา่ มาจากหมสู่ งฆเ์ ดมิ ก็ตาม ทงั้ นีย้ งั สามารถสนั นิษฐานไปไดอ้ ีก 2 กรณี
กลา่ วคือ มหายานมีตน้ กำ� เนิดมาจาก “แหลง่ กำ� เนิดเพียงหนง่ึ เดียว” หรอื
“แหลง่ กำ� เนดิ ทม่ี ากมายหลากหลาย” กนั แน่ ซง่ึ ในความเหน็ ของผเู้ ขยี นนนั้
เหน็ วา่ “นา่ จะมาจากแหลง่ กำ� เนดิ ท่หี ลากหลาย ไมใ่ ชเ่ พยี งหนง่ึ ” นอกจาก
นกี้ ารทำ� วจิ ยั โดยดว่ นตดั สนิ ลงไปวา่ “มหายานมตี น้ กำ� เนดิ มาจากนกิ ายใด
นิกายหน่ึงเท่านนั้ ” จะทำ� ใหม้ มุ มองในการวิเคราะหค์ บั แคบและอย่ใู น
วงจำ� กดั จงึ เป็นสง่ิ ทอ่ี นั ตรายอยา่ งยง่ิ จงึ ควรทจ่ี ะทำ� การวจิ ยั บนสมมตฐิ าน
ความเป็นไปไดท้ งั้ ในกรณีท่ี 1 และกรณีท่ี 2 ควบคกู่ นั ไปอยา่ งระมดั ระวงั
ทงั้ นีผ้ ูเ้ ขียนเองไดน้ ำ� เสนอประเด็นการวิจยั ในเร่ืองต่างๆ ท่ีอาจนำ� ไปสู่
คำ� ตอบในเรอ่ื งการกำ� เนดิ ของมหายาน อาทิ เรอ่ื งความศรทั ธาในการบชู า

แนวโนม้ และพฒั นาการทฤษฎีการก�ำ เนดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 25
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

พระสถปู สถานท่ปี ระพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องพระโพธิสตั ว์คมั ภรี พ์ ระพทุ ธศาสนา
มหายาน คมั ภีรย์ คุ อภิธรรม เหลา่ นีเ้ ป็นตน้

เก่ียวกับประเด็นต่างๆ ท่ีผู้เขียนน�ำเสนอมาในบทความนี้
ผแู้ ปลและเรยี บเรยี งเห็นวา่ เป็นส่ิงท่ีมีความสำ� คญั ย่ิงตอ่ การศกึ ษาวิจยั
ไม่เพียงแต่ในประเด็นท่ีเก่ียวขอ้ งกับการกำ� เนิดของพระพุทธศาสนา
มหายานเทา่ นนั้ แตส่ ามารถเป็นหลกั การท่ใี ชไ้ ดก้ บั การวจิ ยั ในทกุ ประเภท
กลา่ วคอื การเปิดใจใหก้ วา้ งและมองถงึ ความเป็นไปไดใ้ นกรณีตา่ งๆ ทอ่ี าจ
เกิดขนึ้ ในประเดน็ วจิ ยั ท่ีตอ้ งการศกึ ษา อนั เป็นพืน้ ฐานสำ� คญั ของนกั วจิ ยั
ทกุ ระดบั ชนั้ สืบตอ่ ไป

บทความท่ีผแู้ ปลและเรยี บเรยี งไดน้ ำ� มาเสนอนี้อาจจะยากตอ่ การ
ทำ� ความเขา้ ใจในบางประเด็นสำ� หรบั บุคคลท่วั ไปท่ีไม่ไดอ้ ยู่ในแวดวง
วิชาการ แต่สำ� หรบั บทความท่ีจะนำ� มาเสนอในลำ� ดับต่อไป จะเป็น
บทความท่ีผเู้ ขียนทา่ นเดมิ คือ Prof. Dr. Shizuka Sasaki ไดเ้ ขียนไวเ้ ป็น
หนงั สือเพ่ือใหบ้ คุ คลท่วั ไปไดม้ ีโอกาสศกึ ษา โดยมีช่ือเป็นภาษาญ่ีป่ นุ วา่

Shūchū kōgi Daijō Bukkyō: kōshite Budda no oshie wa henyō

shita 集中講義大乗仏教: こうしてブッダの教えは変容した (พระพทุ ธศาสนา
มหายานหลกั สตู รเขม้ ขน้ : เพราะเป็นเช่นนี้ คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ จึง
ปรบั เปลย่ี นไป) ซง่ึ ไดต้ พี มิ พใ์ นปี พ.ศ. 2560 ท่ผี า่ นมา โดยเป็นรูปแบบงาน
เขียนในลักษณะการถามตอบท่ีเกิดขึน้ จริง จากนักศึกษาท่านหน่ึงท่ี
เขา้ มาเรยี นในมหาวิทยาลยั ฮานาโซโนะ (花園大学) แตต่ นเองมีพืน้ ฐาน
ความรูใ้ นเร่ืองของพระพุทธศาสนามหายานค่อนขา้ งจำ� กัด Prof. Dr.
Shizuka Sasaki จึงไดจ้ ัดสรรเวลาเพ่ือใหค้ วามรูแ้ ก่นักศึกษาท่านนี้
เป็นพิเศษ ซง่ึ ตอ่ มาไดน้ ำ� มาเรยี บเรยี งเป็นหนงั สือและตีพิมพเ์ ป็นรูปเลม่
โดยสำ� นกั พิมพ์ NHK ประเทศญ่ีป่นุ เพ่ือใหบ้ คุ คลท่วั ไปไดม้ ีโอกาสศกึ ษา
ซง่ึ ทางผแู้ ปลและเรยี บเรยี งจะไดน้ ำ� มาเสนอในโอกาสตอ่ ไป

26 ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

อกั ษรย่อและบรรณานกุ รม

PTS Pali Text Society สมาคมบาลีปกรณ์

AN Aṅguttaranikāya, R. Morris (ed.), A. K. Warder (rev.),

vol.I, London: PTS, 1885, rep. Oxford: PTS, 1989.

1. หนังสือ
Endō, Toshiichi (遠藤敏一).
1997 Buddha in Theravada Buddhism. Dehiwala: Buddhist

Cultural Centre.

2004 “Pāri chūshaku bunken ni arawareta Buddakan to sono

suriranka teki henyō パーリ註釈文献に現れた仏陀観とその

スリランカ的変容 (ทรรศนะเก่ียวกับพระพุทธเจา้ ท่ีปรากฏใน
อรรถกถาบาลีและการเปล่ียนแปลงทรรศนะนนั้ ในศรีลงั กา).”
Bukkyōgaku Kenkyū 仏教研究 33: 33-50.

Fujita, Kōtatsu (藤田宏逹).
2007 Jōdosanbukyō no kenkyū 浄土三部経の研究 (การศกึ ษาวจิ ยั
พระสตู รไตรภาคของนกิ ายสขุ าวด)ี . Tokyo: Iwanami Shoten.

Hirakawa, Akira (平川彰).
1968 Shoki Daijō Bukkyō no kenkyū 初期大乗仏教の研究
(การศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนามหายานยุคตน้ ). Tokyo:

Shunjūsha. Revised edition in Hirakawa Akira

chosakushū 平川彰著作集 (รวมผลงานเขียนของฮิรากาวะ)
vol. 3 (1989) and vol. 4 (1990).

แนวโนม้ และพัฒนาการทฤษฎกี ารกำ�เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 27
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

Kimura, Taiken (木村泰賢).
1937 Kimura Taiken zenshū dai 4 kan: Shōjō Bukkyō shisōron
木村泰賢全集第四巻: 小乗仏教思想論 (รวมผลงานเขียนของ
คิมุระ ทะอิเคน เล่มท่ี 4: แนวคิดพระพุทธศาสนาหินยาน).
Tokyo: Meiji Shoin.

Nakamura, Hajime (中村元).
2001 Kōsetsu Bukkyōgo daijiten 広説佛教語大辞典 (พจนานกุ รม
ศพั ทใ์ นพระพทุ ธศาสนา). Tokyo: Tokyō Shoseki.

Nattier, Jan.
2003 A Few Good Men: The Bodhisattva Path According to
the Inquiry of Ugra (Ugraparipṛcchā). Honolulu:

University of Hawai‘i Press.

Shimoda, Masahiro (下田正弘).
1997 Nehangyō no kenkyū: Daijō kyōten no kenkyū

h ō h ō s h i r o n 涅槃経の研究: 大乗経典の研究方法試論

(การศึกษาวิจยั มหาปรินิพพานสตู ร: วิธีการศึกษาวิจยั คมั ภีร์
พระพทุ ธศาสนามหายาน). Tokyo: Shunjūsha.

Nishi, Yoshio (西義雄).
1945 Shoki Daijō Bukkyō no kenkyū 初期大乗仏教の研究
(การศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนามหายานยุคตน้ ). Tokyo:

Daitō Shuppansha.

28 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

Ray, Reginald.
1994 Buddhist Saints in India: A Study in Buddhist Values and

Orientations. New York: Oxford University Press.

Shimoda, Masahiro (下田正弘).
1997 Nehangyō no kenkyū: Daijō kyōten no kenkyū

h ō h ō s h i r o n 涅槃経の研究: 大乗経典の研究方法試論

(การศึกษาวิจยั มหาปรินิพพานสตู ร: วิธีการศึกษาวิจยั คมั ภีร์
พระพทุ ธศาสนามหายาน). Tokyo: Shunjūsha.

2. วารสาร
Fujita, Yoshimichi (藤田祥道).
1997 “Kurikin-ō no yochimutan to Daijō bussetsuron:

Daijōshōgonkyōron dai 1 shō dai 7 ge no ichikōsatsu

1 7クリキン王の予知夢譚と大乗仏説論『: 大乗荘厳経論』第 章第
偈の一考察 (เร่อื งราวความฝันของพระเจา้ กฤกิน (Kṛkin) กบั
คำ� สอนของมหายาน: กรณีศกึ ษา มหายานสตู รอลงั การ บทท่ี 1
คาถาท่ี 7).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベ
ット学研究 2: 1-21.
1998 “Butsugo no teigi o meguru kōsatsu 仏語の定義をめぐ
る考察 (ศึกษาปัญหาการใหค้ ำ� จำ� กัดความของพุทธพจน)์ .”
Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究
3: 1-51.

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎกี ารกำ�เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 29
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

2006a “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no

keifu: I. Hannyakyō: ‘Chie no kansei’ o hibō suru bosatsu

to osoreru bosatsu 大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系

譜: I『. 般若経』「: 智慧の完成」を誹謗する菩薩と恐れる菩薩

(วิวฒั นาการคำ� สอนของมหายานท่ีปรากฏในคมั ภีรม์ หายาน:
I. ปรัชญาปารมิตาสูตร: พระโพธิสัตว์ผู้กล่าวร้ายและ
พระโพธิสตั วผ์ หู้ วาดกลวั ต่อ ‘ปรชั ญาปารมิตา’).” Indogaku
Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究 9/10: 1-55.
2006b “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron

no keifu: II. Kashōbon: Butsuda no seppō to sono rikai

大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: II『. 迦葉品』: 仏陀

の説法とその理解 (ววิ ฒั นาการคำ� สอนของมหายานท่ปี รากฏใน
คัมภีรม์ หายาน: II. กัสยปปริวรรต: พระธรรมเทศนาของ
พระพทุ ธเจา้ กบั การทำ� ความเขา้ ใจในพระธรรมเทศนานนั้ ).”
Bukkyōgaku Kenkyū 仏教学研究 60/61: 44-65.
2007 “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no

keifu: III. Gejinmikkyō: sanmujishōsetsu to iu ichijōdō

no kaiji 大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: III『. 解深密

経』: 三無自性説という一乗道の開示 (วิวฒั นาการคำ� สอนของ
มหายานท่ีปรากฏในคมั ภีรม์ หายาน: III. สนั ธินิรโมจนสตู ร:
การปรากฏของวิถีแห่งเอกยานในแนวคิดเร่ือง ตฺรินิหฺสฺวภว
(tri-nihsvabhava)).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū
インド学チベット学研究 11: 1-30.

30 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

2008 “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no

keifu: IV. Daijōshōgonkyōron: sōkatsu to tenbō
大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: IV『. 大乗荘厳経論』:

総括と展望 (ววิ ฒั นาการคำ� สอนของมหายานท่ีปรากฏในคมั ภีร์
มหายาน: IV. มหายานสูตรอลังการ: บทสรุปและความ
คาดหวงั ).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベ
ット学研究 12: 1-30.
2009 “The Bodhisattva Thought of the Sarvāstivādins and
Mahāyāna Buddhism.” Acta Asiatica 96: 99-120.

Harrison, Paul.
1987 “Who Gets to Ride in the Great Vehicle? Self-Image and

Identity Among the Followers of the Early Mahāyāna.”
Journal of the International Association of Buddhist

Studies 10 (1): 67-89.
1995a “Searching for the Origins of the Mahāyāna: What Are
We Looking For?” The Eastern Buddhist (New Series)
28 (1): 48-69.
1995b “Some Reflections on the Personality of the Buddha.”
Ōtani Gakuhō 大谷学報 74 (4): 1-28.
2003 “Mediums and Messages: Reflections on the Production
of Mahāyāna Sūtras.” The Eastern Buddhist (New Series)
35 (1/2): 115-151.

แนวโนม้ และพฒั นาการทฤษฎีการก�ำ เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 31
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

Honjō, Yoshifumi (本庄良文).
1989 “Abidatsuma bussetsuron to Daijō bussetsuron 阿毘
達磨仏説論と大乗仏説論 (คำ� สอนในอภิธรรมและคำ� สอน
ในมหายาน).” Indogaku Bukkyōgaku Kenkyū 印度学仏教
学研究 38 (1): 410-405.
1990 “Shakkiron dai 4 shō: Seshin no Daijō bussetsuron (jō)
『釈軌論』第四章: 世親の大乗仏説論 (上) (วยาขยายกุ ติ บทท่ี 4:
คำ� สอนมหายานของท่านวสุพนั ธุ ตอนแรก).” Kōbe Joshi

Daigaku Kenkyū Kiyō Bungakubu hen 神戸女子大学研究

紀要 文学部篇 23 (1): 57-70.
1992 “Shakkiron dai 4 shō: Seshin no Daijō bussetsuron (ge)
『釈軌論』第四章: 世親の大乗仏説論 (下) (วยาขยายกุ ติ บทท่ี 4:
คำ� สอนมหายานของท่านวสุพันธุ ตอนจบ).” Kōbe Joshi

Daigaku Kenkyū Kiyō Bungakubu hen 神戸女子大学研究

紀要 文学部篇 25 (1): 108-118.
2001 “Shakkiron dai 1 shō (jō) Seshin no kyōten kaishakuhō
『釈軌論』第一章 (上) 世親の経典解釈法 (วยาขยายกุ ติ บทท่ี 1
(ตอนแรก) วธิ ีอรรถาธิบายพระสตู รของทา่ นวสพุ นั ธ)ุ .” Kagawa

Takao hakase koki kinen ronshū: Bukkyōgaku Jōdogaku

k e n k y ū 香 川 孝 雄 博 士 古 希 記 念 論 集 : 仏 教 学 浄 土 学 研 究

(รวมผลงานวิจยั ในวาระฉลองสิรอิ ายคุ รบ 70 ปี ดร. คางาวะ
ทากาโอะ: งานวจิ ยั พทุ ธศาสตรแ์ ละสขุ าวดีศาสตร)์ : 107-119,
Kyoto: Nagata Bunshōdō.

32 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

Karashima, Seishi (辛嶋静志).
1993 “Hokkekyō ni okeru jō (yāna) to chie (jñāna): Daijō

Bukkyō ni okeru yāna no gainen no kigen ni tsuite

( ): 法華経における乗 (yāna) と智慧 jñāna 大乗仏教におけるの
yāna 概念の起源について (‘ยาน’ และ ‘ปรชั ญา’ ในสทั ธรรม
ปณุ ฑริกสตู ร: ตน้ กำ� เนิดของแนวคิดเร่ือง ‘ยาน’ ในพระพทุ ธ
ศาสนามหายาน).” Hokkekyō no juyō to tenkai 法華経の
受容と展開 (การยอมรบั และวิวฒั นาการของสทั ธรรมปณุ ฑรกิ
สตู ร): 137-197, Kyoto: Heirakuji Shoten.
2005 “Shoki Daijō butten wa dare ga tsukutta ka: arannyajū

biku to sonjū biku no tairitsu 初期大乗仏典は誰が作っ

たか: 阿蘭若住比丘と村住比丘の対立 (ใครคือผู้สรา้ งคัมภีร์
มหายานยคุ ตน้ : ความขดั แยง้ ระหวา่ งภกิ ษุผอู้ ยใู่ นอรญั ญะและ
ภิกษุผอู้ ย่ใู นหม่บู า้ น).” Bukkyō Daigaku Sōgō Kenkyūjo
Kiyō (sep. issue): Bukkyō to shizen 佛教大学総合研究所紀
要別冊: 仏教と自然 (พระพทุ ธศาสนากบั ธรรมชาต)ิ : 45-70.

Nishi, Yoshio (西義雄).
1968 “Hannyakyō ni okeru bosatsu no rinen to jissen 般若
経における菩薩の理念と実践 (อุดมคติและการปฏิบัติของ
พระโพธิสตั วใ์ นปรชั ญาปารมิตาสตู ร).” Daijō basatsudō no
kenkyū 大乗菩薩道の研究 (การศกึ ษาวจิ ยั วถิ ีแหง่ พระโพธิสตั ว์
มหายาน): 1-159, Kyoto: Heirakuji Shoten.
1975 Abidatsuma Bukkyō no kenkyū 阿毘達磨仏教の研究
(การศกึ ษาวจิ ยั พระพทุ ธศาสนายคุ อภธิ รรม). Tokyo: Kokusho

Kankōkai.

แนวโน้มและพฒั นาการทฤษฎกี ารกำ�เนดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายาน (2) 33
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

1976 “Abidatsuma Bukkyō ni okeru Butsuda no hongan

setsu: fu bosatsu no akushu ganshō setsu 阿毘達磨仏教に

於ける仏陀の本願説: 附 菩薩の悪趣願生説 (แนวคดิ เรอ่ื งการตงั้
ปณิธานของพระพุทธเจ้าในพระพุทธศาสนายุคอภิธรรม:
ภาคผนวก การตั้งปณิธานไปบังเกิดในอบายภูมิของ
พระโพธิสตั ว)์ .” Tōyōgaku Kenkyū 東洋学研究 10: 1-36.
1979 “Setsuissaiubu to shoki Daijō to no kankei 説一切有部
と初期大乗との関係 (ความสมั พันธ์ระหว่างสรวาสติวาทกับ
มหายานยคุ ตน้ ).” Tōyōgaku Kenkyū 東洋学研究 13: 1-8.

Sasaki, Shizuka (佐々木閑).
2003 “Aranya ni okeru biku no seikatsu アランヤにおける比丘
の生活 (ชวี ติ ความเป็นอยขู่ องภกิ ษุผอู้ ยใู่ นอรญั ญะ).” Indogaku
Bukkyōgaku Kenkyū 印度学仏教学研究 51 (2): 812-806.
2004a “Aranya no kūkan teigi アランヤの空間定義 (คำ� จำ� กดั ความ
ของพืน้ ท่ีอรญั ญะ).” Mikogami Eshō kyōju shōju kinen

ronshū: Indo tetsugaku Bukkyō shisō ronshū 神子上恵

生教授頌寿記念論集:インド哲学仏教思想論集 (รวบรวมผลงาน
วจิ ยั ในวาระฉลองอายวุ ฒั นมงคล ศ. มิโกะงามิ เอะโช: ปรชั ญา
อินเดียและแนวคิดในพระพุทธศาสนา): 127-146, Kyoto:

Nagata Bunshōdō.

2004b “Araṇya Dwellers in Buddhism.” Bukkyō Kenkyū
仏教研究 32: 1-13.
2009a “A Basic Approach for Research on the Origins of
Mahāyāna Buddhism.” Acta Asiatica 96: 25-46.

34 ธรรมธารา
วารสารวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 2 (ฉบบั รวมเลม่ ท่ี 9) ปี 2562

2009b “The Mahāparinir vāṇa Sūtra and the Origins of
Mahāyāna Buddhism.” (Review Article) Japanese Journal
of Religious Studies 26-1/2: 189-197.
2011 “Daijō Bukkyō kigenron no tenbō 大乗仏教起源論の展望
(มุมมองในการศึกษาการก�ำเนิดของพระพุทธศาสนา
มหายาน).” Shirīzu Daijō Bukkyō 1: Daijō Bukkyō to wa
nani ka シリーズ大乗仏教1: 大乗仏教とは何か (ซีรสี พ์ ระพทุ ธ-
ศาสนามหายาน: 1 พระพทุ ธศาสนามหายานคอื อะไร): 73-112.
Tokyo: Shunjūsha.

Shimoda, Masahiro (下田正弘).
2009 “The State of Research on Mahāyāna Buddhism:

The Mahāyāna as Seen in Developments in the Study

of Mahāyāna Sūtras.” Acta Asiatica 96: 1-23.

Watanabe, Shōgo (渡辺章悟).
2009 “The Role of “Destruction of the Dhamma” and
“Predictions” in Mahāyāna Sūtras: with a Focus on the
Prajñāpāramitā Sūtras.” Acta Asiatica 96: 77-97.

แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎกี ารกำ�เนดิ ของพระพุทธศาสนามหายาน (2) 35
Prospects of the Study of the Origins of Mahāyāna Buddhism (2)

3. วทิ ยานิพนธ์
Katsumoto, Karen (勝本華蓮).
2006 “Bosatsu no butsudō shugyō: Nanden Shogyōzōkyō

oyobi sono chūshaku o chūshin to suru haramitsu no

kenkyū 菩薩の仏道修行: 南伝『所行蔵経』およびその註釈を中

心とする波羅蜜の研究 (วิธีปฏิบัติเพ่ือความเป็ นพุทธะของ
พระโพธิสตั ว:์ การศกึ ษาวจิ ยั เรอ่ื งบารมีในคมั ภีรจ์ รยิ าปิฎกและ
อรรถกถาบาลี).” Ph.D. diss., Hanazono University.


Click to View FlipBook Version