The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

017.ล้างก้น ล้างใจ ไปนิพพาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

017.ล้างก้น ล้างใจ ไปนิพพาน

017.ล้างก้น ล้างใจ ไปนิพพาน

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

ล้างก้น ล้วงใจไปนิพพาน

"วัจคุฎีวัตร"

ข้อชุ;เล เรียบเรียงจากพระธรรมเทศนาหลวงพ่อทัตตซีโว

(เผด็จ ทตฺตซีโว)

กองบรรณาธิการ คณะผู้จัดทำหลักสูตรที่ยึดวัตรตามพระธรรมวินัย
ออกนบบปก
กองกราพ่ฟิค'พุทธสืลป้
ภาพประกอบ สำ นักสถาบัน'พุทธสืล'ป๋แห่งโลก
พระดรันภพ อาภาสุโภ
พิมฟต'เงที๋ ๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จันทิรา โกมาสถิตย์
อิขสิทธิ้
สำ นักเผยแผ่
จำ นวนฟิมฟ' สำ นักต่างประเทศ

ฟิมฟที่ สำ นักสลาบัน'พุทธสืล'dแห่งโลก
๑๐ กุมภา'พันธ์ พ.ศ.๒๕๖๒

วัดพระธรรมกาย

๓,๐๐๐ เล่ม

บริษัท สืริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ กัด(มหาซน)

www.kalyanamitra.org

ล้างก้น

ล้างใจ

ไปนิพพาน

"วัจกุฎีวัตร

ทตฺตส์โว ภิฤขุ

วัดพระธรรมกาย พ.ศ.๒๕๖๒

www.kalyanamitra.org

ทตฺตสืโว ภิฦขุ

(เผด็จ ท(ทฺตCว)

เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๓

อุปสมบท

เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔
ณ พัทธสีมา วัคปากนำ เขตภาษีเจริญ

กรุงเทพมหานคร

www.kalyanamitra.org

K^-^Vy: . ๕

ii..'-'«-«Knmn-Ji,irf'7>ft» A-S^.I ■• :■• .r" : . •■

- £" ' ~

■f

พ:

www.kalyanamitra.org

ล้างใจ ไปนิพพาน

"ภิกษุผู้ไม่บำเพ็ญวัตรชื่อว่าไม่บำเพ็ญศีล

ผู้มีศีลไม่บริสุทธทรามปีญญา

ย่อมไม่ประสบเอกัคคตาจิต

ผู้มีจิตฟ้งซ่านมีอารมณ์มากย่อมไม่เห็นฐรรมโดยชอบ

เมื่อไม่เห็นพระสัทธรรมย่อมไม่พ้นจากทุกข์

ภิกษุบำเพ็ญวัตรชื่อว่าบำเพ็ญศีล

ผู้มีศีลบริสุหธมีปีญญาย่อมประสบเอสัคคตาจิต
ผู้มีจิตไม่ฟ้งซ่านมีอารมณ์เดียวย่อมเห็นฐรรมโดยชอบ

เมื่อเห็นพระสัทธรรมย่อมพ้นจากทุกข์ได้

เพราะเหตุใfนแลโอรสของพระชินเจ้า

ผู้มีปีญญาเห็นประจ้กษ์พึงบำเพ็ญวัตร

อันเป็นพระโอวาทของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ

แต่นั้นอักถึงพระนิพพาน ดังนี้แล"

พระวินัยปิฎก จุลวรรค ทุติยภาค "วัตตขันธกะ"

www.kalyanamitra.org



ล้างนิสัย ไปนิพพาน

"วัตรตางๆ ตามพุทธบัญญัติต้องให้พระนวกะ

และสามเณรรีบ'ฝึกฝนตนตั้งแต่พรรษาแรก

เพื่อป้องกันไม่ให้นิสัยมักง่ายใหม่เกิด
เพื่อแกไขนิสัยไม่รอบคอบเก่าที่ติดมาจากครอบครัว

เพราะหากปล่อยนิสัยไม่ดีเดิมๆ ทิ้งค้างไว้

ยิ่งนานวัน ยิ่งแก้ยาก

ขณะเดียวกันก็ต้องเร่งปลูกฝึงนิสัยดีๆ ใหม่ให้เกิดขึ้นมา

ทิ้งนี้เพื่อเป็นรากฐานในการบำเพ็ญศีล
ให้สะอาด บริสุทธ อันเป็นไปเพื่อสมาธิและป้ญญา

พร้อมทิ้งเร่งพัฒนานิสัยดีที่มีมาแต่เดิม

ให้ดียิ่งๆ ขึ้นไปอีกด้วย"

ทตฺตซีโว ภิกฃ

๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

www.kalyanamitra.org

เราจะปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะเคารพพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์

ได้ถูกต้อง บริสุทธี้ บริบูรณ์ เพื่อไปไห้ถึงที่สุดแห่งธรรม

"ล้างก้น ล้างใจ ไปนิพพาน "คือ คำ ตอบ

ไม่น่าเชื่อเลยว่า ความถือตัวจัด ว่าตนเหนือกว่าผู้อื่น ของพระภิกษุ
รูปหนึ่ง ผู้เกิดในตระถูลสูงวรรณะพราหมณ์ จะรังเกียจ ไม่ยอมแม้แต่ล้างก้น

ด้วยตนเอง เพราะถือตัวว่าจะต้องมีคนล้างก้นให้ จนยอมให้ก้นเน่าด้วย

หมู่หนอน อันเป็นเหตุให้พระพุทธองค์ ต้องทรงบัญญ้ติพระวินัยว่าด้วยการ

ไซ้ห้องสุขา คือ วัจกุฎีวัตร พระภิกษุรูปนี้จึงยอมล้างมิจฉาทิฏฐิ คือ ความ

ถือตัวออกไปจากใจ แล้วยอมล้างก้นให้สะอาดด้วยตนเอง ใจท่านจึง
ผ่องใสพร้อมไปนิพพาน

เรื่องไม่น่าเชื่อเรื่องที่ ๒ คือ ความถือตัวว่าตนเองเป็นภันเต ปวดอุจจาระ
ก็ต้องได้เซ้าส้วมก่อนพระบวขใหม่ ซึ่งกำลังปวดอุจจาระเซ่นกัน และมาถึง
ห้องส้วมก่อน จนพระบวขใหม่ต้องกลั้นอุจจาระนานเกินไป ถึงกับเป็นลมสลบ
ล้มลง สิกขาบทการใซ้ห้องสุขาจึงเกิดขึ้นอีก คือให้[ซ้ห้องสุขาตามลำดับผู้มาถึง
เพื่อล้างความเซ้าใจผิดเป็นมิจฉาทิฏฐิออกไปจากใจ ให้เกิดความเซ้าใจถูกเป็น

สัมมาทิฏฐิว่า

ทุกคนไม่ว่าชั้นสูง ชั้นตํ่า รํ่ารวย ยากจน

ล้วนมิความทุกข์กายเสมอก้น
คือ มิความทุกข์จากการปวดอุจจาระ-ปีสสาวะเสมอก้น

www.kalyanamitra.org



จึงไม่ควรเอาความถือตัวว่าฟ้นภันเตต้องได้เข้าห้องสุขาก่อน ความ

ถือตัวนี้พึงล้างออกจากใจ จึงจะไต้ไปนิพพาน

เรื่องไม่น่าเชื่อเรื่องสุดท้าย ก็คือ การใช้ห้องสุขาอย่างมักง่ายของเหล่า

พระฉัพพัคคืย์ ทำ ให้ต้องมีบทบัญญ้ติวัจกุฎีวัตรถึง ๒๕ ข้อ
ล้างก้น ล้างใจครั้งนี้

จึงเป็นการล้างนิสัยมักง่าย ชอบความสกปรก ไร้ระเบียบ
ออกไปให้หมดจากใจ

จนไต้นิสัยพึถืพึสัน รักการทำความสะอาด

จัดระเบียบ กาย วาจา ใจ วัดลุสิงของ
และสิงแวดล้อม ให้เป็นซีวิดจิดใจ จึงจะพร้อมบำเพ็ญเพึยร

ไปถืงฝืงนิพพาน

หากปราศจากความเคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว มีหรือ
ใครจะยอมล้างมิจฉาทิฏฐิ คือ ความถึอตัว ว่าตนเหนือกว่า เสมอกัน หรือ

ตํ่ากว่า ผู้อื่นออกไปจากใจ ใครจะยอมล้างนิสัยมักง่าย แล้วปลูกนิสัยพิถึพิถัน

เข้ามาแทน การแกล้างความไม่ดี คือ กิเลสออกไปจากใจ ของพระพุทธองค์

ก็ง่ายๆ สุดแสนธรรมดา แต่ทรงประสิทธิภาพ ซาวโลกแม้เห็นทุกวันก็ยัง
มองข้าม นั่นก็คือ การแกให้ทำความสะอาด จัดระเบียบ ผ่านการแก้ทุกข์จาก
การปวดอุจจาระ บีสสาวะ โดยแกการไข้ห้องสุขา ๑)แกใช้ให้ถูกวิธี ๒)แก

รักษาทำความสะอาด ๓)แกทำให้แห้งทุกครั้งหลังการไข้งาน เพื่อ
"ให้ผู้ใข้สัดจากเรารู้สิกว่าเขาเป็นคนแรกที่เข้ามาใช้เสมอ"
หน่วยฝึกวัจกุฎีวัตรออกแบบมาเพื่อฝึกนิสัยรักการทำความ

สะอาด จัดระเบียบด้วยใจที่ผ่องใส ผ่านการใช้ห้องสุขาของพระภิกษุ

www.kalyanamitra.org

๑๐

สามเณร ให้ถูกต้องตรงตามวัตรในพระวินัย อันจักเป็นการล้างความมีมานะ

ถือตัวเป็นมิจฉาทิฏฐิ และล้างนิสัยไม่ดีที่ติดตัวมาแต่ดั้งเดิมก่อนบวชให้ลดน้อย

ถอยลง โดยทดลองจัดทำหน่วยแกดั้งแต่ช่วงเช้าพรรษาจนถืงปลายปี ๒๕๖๑
ไต้จัดพิมพ์ครั้งที่ ๑ เพื่อทดลองใช้1นช่วงธรรมยาตรา พ.ศ. ๒๕๖๒ ประสบการณ์

การเรียนรู้ที่ไต้ นำ มาสู่การพัฒนาหน่วยแก จึงมีการจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ ๒
การใช้หน่วยแก ควรเริ่มจากการอ่านทำความเช้าใจ ๑) ความรู้พื้นฐาน

เรื่องพระวินัย ๒)ที่มาของวัจกุฎีวัตร และ ๓)แกปฏินัติตามบทแกวัจกุฎีวัตร
โดยมีพระอาจารย์ พระพื่เลี้ยง แนะให้รู้ นำ ทำ ให้ดู ชี้ซวนให้ทำตาม เร้าใจให้

อาจหาญ ชื่นซมให้บันเทิงใจ ขณะปฏิบัติก็ให้ยึดหลักธรรม ๔ฃ้อนี้เป็นนิจ คือ

๑.มีลัมมาทิฏฐิ คอยกำกับความเช้าใจความจริงซองชีวิตให้ถูกต้อง

จะไต้ลดความถือตัว

๒.มีสติลัมปซัญญะ คอยกำกับใจไม่ให้พิงซ่าน จะไต้ไม่เผลอทำผิด

พระวินัย

๓.มีความช่างลังเกดพิจารณาสิงรอบตัว เพื่อไต้ช้อมูลความจริง

แล้วพิจารณาตัดสินใจตามหลักธรรม จะไต้ปฏิบัติถูก

๔.ปฏิบัติด้วยความสำรวม กาย วาจา ใจ จะไต้ไม่ประมาท

หากใช้ห้องสุขาโดยตรีกหลักธรรม ๔ช้อนี้เป็นนิจ ก้นก็สะอาด สุขภัณฑ์

ก็สะอาด ห้องสุขาก็สะอาดและแห้ง ใจก็สะอาดผ่องใส อารมณ์ก็แจ่มใส
เบิกบาน นิสัยดิๆก็เกิด บิญญาก็เกิด กิเลสก็ลด อย่างนี้จึงจะเรียกว่า

"ล้างก้น ล้างใจ ไปนิพพาน"

คณะผู้จัดทำ

๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๒

www.kalyanamitra.org

๑๑

สารบัญ

เรื่อง หน้า

หน่วยสืกวัจกุฎีวัตร ๑๔
ที่มาของวัจกุฎีวัตร ๑๕

แนวคิดความประพฤติการใช้ห้องสุขา ๓๑
ความประพฤติการใช้ห้องสุขาของพระภิกษุ ๓๓

ช้อแนะนำเบื้องต้นการใช้ห้องสุขา ๓๕

♦: ระดับความประพฤติการใช้ห้องสุขา ของพระกำลังแกดัว ๓๖
พระตั้งใจแกดัว และพระต้นแบบ ๓๗

y บทแกวัจกุฎีวัตร สำ หรับพระกำลังแกดัว ๔๐

บทแกวัจกุฎีวัตรสำหรับพระตั้งใจแกดัวและพระต้นแบบ ๔๘
๕๓
การจัดกระบวนการเรียนรู้การแกดัวผ่านวัจกุฎีวัตร ๕๕
^♦: การติดตามให้กำลังใจการแกดัวผ่านวัจกุฎีวัตร
>♦: การประเมินผลการแกดัวผ่านวัจกุฎีวัตร

ผลการปฏิบตวัจกุฎีวัตร ๕๙
<♦ พระกองร้อยเบื้อนาบุญ ๕๙

พระนวกะ ๒ ๖๑

<♦ ภาพการนำหน่วยแกวัจกุฎีวัตรไปปฏิบัติ ๖๓

www.kalyanamitra.org

๑๒ หน้า

เรี๋อง ไDไว

ความรู้พึ๋นฐานเรื่องพระวินัย ๖๗
๖๘
ความหมายพระวินัย ๖๙
ภาคส่วนของพระวินัย ๗๑
ประโยชน์ของพระวินัย ๗๒
อาบัติและโทษ ๗๔
อาการต้องอาบัติ
อานิสงส์ทันทีของพระวินัย

ภาคผนวก ๗๕

กระบวนการจัดทำหลักสูตรที่ยึดวัตรตามพระธรรมวินัย ๗๖

รายซื่อคณะผู้จัดทำหลักสูตรที่ยึดวัตรตามพระธรรมวินัย ๗๙

รายซื่อพระวินัยและพระสูตรที่ใซ้ประกอบการจัดทำหลักสูตร

ที่เป็นหน่วยแกตามวัตรในพระธรรมวินัย ๘๓

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

๑๕

<♦ ที่มาของวัจกุฎีวัตร

แนวคิดความประพฤติการใ^องสุขา
ความประพฤติการใ^ห้องสุขาของพระภิกษุ

♦> ข้อแนะนำเบึ๋องต้นการให้ห้องสุขา

ระดับความประพฤติการให้ห้องสุขาของ พระกำลังแกดัว

พระตื้งใจแกดัว และพระต้นแบบ
<♦ บทแกวัจกุฎีวัตรสำหรับพระกำลังแกดัว

บทแกวัจกุฎีวัตรสำหรับพระตื้งใจแกดัวและพระต้นแบบ

<♦ การจัดกระบวนการเรียนรู้การแกดัวผ่านวัจกุฎีวัตร

การติดตามให้กำลังใจการแกดัวผ่านวัจกุฎีวัตร

การประเมินผลการแกดัวผ่านวัจกฎีวัตร

www.kalyanamitra.org

๑๕

ที่มาของวัจกุฎีวัตร

เกริ่นนำ

ก่อนการบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งโลกไม่เคยมีใครทราบ

มาก่อนเลยว่า ทุกชีวิตไม่ว่าคนหรือสัตว่ไม่เว้นแม้แต่เทวดานางฟ้า ล้วนตก

อยู่ภายใต้กฎธรรมชาติที่เป็นจิตภาพกฎหนึ่งทั้งสิ้นที่คอยติดตามควบคุม
ความสุข-ทุกข์ของสัตว์โลกอยู่ทุกลมหายใจเข้าออก กฎนั้นก็คือกฎแห่งกรรม

ซึ่งมีกฎว่า ทำ ดีได้ดี ทำ ชั่วได้ชั่ว

อย่างดีซาวโลกผู้มีการศึกษา ช่างสังเกตในยุคก่อนพุทธกาลนั้นจะรู้จักก็

แต่เพียง กฎธรรมชาติที่เป็นกายภาพ เป็นกฎวิทยาศาสตร์ที่ควบคุมความเป็นไป
ของธรรมชาติสิ่งแวดล้อมทั่วๆไป เช่น กฎว่าด้วยข้างขึ้นข้างแรมของดวงจันทร์

กฎว่าด้วยฤดูกาลในรอบปี กฎเกี่ยวกับนํ้าฃึ้นนํ้าลง ลมบกลมทะเล เป็นด้น

ไม่ว่ากฎธรรมชาติที่เป็นจิตภาพหรือที่เป็นกายภาพก็ตาม ล้วนไม่มีการ

ติดประกาศแจ้งให้ชาวโลกทั้งคนและสัตวได้ทราบทั่วถึงทั้งสิ้น แต่ก็มีผลเป็น
ทุกข์-สุข ความเป็น-ความตายของซาวโลกได้

การจะทราบความจริงถึงกฎธรรมชาติแต่ละชนิด จึงด้องอาศัยความ

ช่างสังเกตของผู้คนแต่ละยุคสะสมไว์ในสังคม แล้วถ่ายทอดสู่คนรุ่นต่อไปซึ่ง

กว่าจะสังเกตให้รู้ความจริงได้แต่ละกฎ ล้วนยากเข็ญชนิดเลือดตาแทบกระเด็น

ทั้งสิ้น และตลอดทุกยุคที่ผ่านมา ชาวโลกสังเกตได้ส่วนมากก็เป็นกฎธรรมชาติ
ที่เป็นกายภาพคืออาศัยสัมผัส ๕ ทางกายชองท่านผู้^เป็นนักปราชญ็ในยุค"ฒั้ๆ

www.kalyanamitra.org

6)^

เซ่น นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ เป็นต้น พึ่มีพื้นฐานทางจิตใจงามเป็นหลัก
แต่ไม่เคยมีใครใจสะอาดบริสุทธิ้พอ จะสัมผัสรู้เห็นกฎธรรมชาติที่เป็นจิตภาพ

เซ่น กฎแห่งกรรมได้เลย จะมีก็แต่พระสัมมาส้มพุทธเจ้าผู้ทรงเปียมลันด้วย

พระบริสุทธิคณและพระป้ญ.ณาธิคณเท่านั้น
QJ QJ 4

พระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงพบความจริงของกฎแห่งกรรมว่า มีความ
สสับซับซ้อนเหลือประมาณ ในการควบคุมการดำเนินชีวิตชองซาวโลกให้มี

ความสุช-ความทุกข์ ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ใน "ปฐมสัญเจตนิกสูตร" ความว่า

"ภิกษุทั้งหลาย เรายังไม่รูวิบากกรรม จะไม่กล่าวถึงความสินสุด

แห่งกรรมที่สัตว์เจตนาทำขึ้น สั่งสมขึ้น ก็วิบากนั้นเอง ที่สัตว์พึงเสวย

๑)ในป้จจุบันก็มี

๒)ในอัตภาพสัตใปก็มี หรือ

๓)ในอัตภาพต่อๆ ไปก็มี"

จากพุทธดำรัสนี้ สะท้อนให้เห็นว่า

๑) กรรมใดที่สัตว์[สกทำไว้ ไม่ว่าทางกาย วาจา หรือใจ จะมากหรือน้อย

หนักหรือเบาล้วนมีวิบาก คือ มีผล

๒)ผลชองกรรม มีทั้งส่งผลในป้จจุบันชาติก็มี ส่งผลชาติหน้าก็มี และ
ส่งผลชาติต่อๆไปก็มี ดังนั้น เรื่องชาตินี้ชาติหน้า จึงมีจริง ตายแล้วไม่สูญ การ

เวียนว่ายตายเกิดมีจริง เพราะ เป็นผลของกรรม หาใช่มีเทวดา ภูติผีปีศาจ

ผู้ยิ่งใหญ่ที่ไหนบันดาลไม่

๓)กรรมที่ทำ สั่งสมไว้ได้ และล้วนมีผลทั้งสิ้น

ก็สัตว!ลกเวียนว่ายตายเกิดมาแล้วไม่รู้กี่ภพกี่ชาติ แต่ละชาติก็ล้วน

ทำ กรรมไว้ทั้งสิ้น กรรมชองสัตว์โลกแต่ละชีวิตจึงมีจำนวนมากมายเหลือ

www.kalyanamitra.org

๑๗

คณานับ กรรมเหล่านั้นนั่นเองมีทั้งกำลังส่งผลก็มี รอส่งผลในชาตินั้นก็มี

รอส่งผลในชาติหน้าก็มี รอส่งผลในชาติต่อๆ ไปก็มี แล้วผลกรรมทีทำนี้
จะไปสินสุดภพชาติไหน ลัตวโลกก็ไม่รู้

ด้วยเหตุที่การส่งผลของกรรม มีความสลับซับซ้อนดังกส่าวนี้เอง ซาวโลก
ทั้งหลายจึงมักไม่เชื่อกฏแห่งกรรมว่า "ทำดีได้ดี ทำ ชั่วได้ชั่ว" เพราะเห็นว่า
บางคนทำชั่วก็ได้ดี บางคนทำดีก็ถูกยํ่ายี ความจริงนี้ก็เห็นเซิงประจักษ์ทั่วไป

ที่สำ คัญ ซาวโลกไม่รู้ว่า

๑. กรรมดี-กรรมชั่ว ที่ตนทำนั้น มีจำ นวนมาก-น้อยเพียงใด นับตั้งแต่

ปฐมซาติที่เปีนลัตว่โลก มาจนถึงซาติปีจจุบัน สัตว์โลกก็โม่รู้ แล้วก็โม่มีใครรู้ด้วย

๒. กรรมดี-กรรมชั่วนั้น จำ แนกอย่างไร มีความหนัก-เบาในการส่งผล

อย่างไร จะส่งผลในซาติไหน ส่งผลเมื่อไหร่ ส่งผลอย่างไร ก็ไม่มีใครรู้

๓. การทำกรรมดี-กรรมชั่ว ทำ ได้กี่หาง เปีนกรรมจริงหรือไม่ เพราะ

กรรมทาง กาย ทางวาจา ซาวโลกยังพอตรองเห็นผลซองกรรมได้บ้าง แต่กรรม
ทางใจ ซาวโลกยังสงสัยว่า มีจริงหรือ? ใจมีจริงหรือ? ใจทำกรรมได้ด้วยหรือ?
ความหนัก-เบาซองผลกรรมทางใจมีจริงหรือ? ล้ามีส่งผลอย่างไร?

แค'เพียง ๓ คำ ถามเกี่ยวกับความจริงกฎแห่งกรรม ก็ยากที่ใครจะ

อธิบายให้เข้าใจ ยากที่ใครจะคิดตรองตามทัน ด้วยความสลับซับซ้อนใน

การส่งผลซองกรรม ด้วยความไม่รู้ซองสัตว์โลก แต่ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ

ซองพระพุทธองค์ต่อสัตว์โลก เมื่อทรงเห็นด้วยใจอันบริสุทธิ้ปราศจากกิเลส

เกิดป้ญญารู้แจ้ง ทรงรู้ความจริงซองกฎแห่งกรรมอย่างถ่องแท้ จึงทรงนำ
มาเปีดเผยและสั่งสอนซาวโลก แต่ก็ทรงทำอย่างซาญฉลาดรอบคอบ เพื่อให้
ชาวโลกมีโอกาสตรองตามกฎแห่งกรรมได้ทันจึงทรงให้ความสำคัญกับ

www.kalyanamitra.org

๑(2

"ความสะอาดและความมีระเบียบ" ทางกายและวาจาก่อน เพื่อเปีนเหตุทำใจให้
ผ่องใส ในระดับที่พอจะตรองเห็นความจริงกฎแห่งกรรมได้ระดับหนึ่ง และ
เมื่อแกกาย วาจาให้สะอาด มีระเบียบ ยิ่งๆ ขึ้นไปแล้ว ใจก็จะยิ่งเห็นความจริง
กฎแห่งกรรมมากขึ้น

ที่มาของวัจกุฎีวัตรจึงเกิดขึ้น ด้วยการทรงแสดงให้เห็นความสำคัญของ
การทำความสะอาดร่างกาย ณจุดที่สกปรกที่สุดโดยทรงรอให้เหตุเกิดก่อน
พระภิกษุรูปที่ไม่ล้างก้นหลังขับถ่าย จะได้เห็นความจริงของผลการไม่ล้าง
ก้นว่าทุกข์ทรมานเพียงใด และเมื่อยอมล้างก้นให้สะอาดทางกายแล้ว วาจา

และใจของตนเองจะสะอาดแตกต่างอย่างไรกับตอนไม่ล้าง นี้คือความจริงที่

ทรงด้องการให้สงฆ์ได้เห็นและรู้กฎแห่งกรรมจากเหตุการณในชีวิตประจำวัน

เพื่อใจจะได้นุ่มนวลผ่องใสในระดับที่พอจะตรองตามได้ ก่อนที่จะแกฝนต่อไป
จนไปเห็นและรู้ความจริง เรื่องกฎแห่งกรรมเหมือนที่พระองค์ทรงเห็นและรู้

ด้วยเหตุดังกล่าวข้างด้น พระสัมมาลัมพุทธเจ้าจึงไม่ทรงบัญญ้ติสิกขาบท

ไว้ล่วงหน้า แต่จะทรงรอให้เหตุเกิดขึ้นก่อน

ที่มาของวัจกุฎีวัตร คเงที่ ๑

ทรงถือเปีนหลักปฏิบีติของพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกๆ พระองค์ว่า พระองค์
จะไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทรอท่าไว้ ก่อนเหตุการณ์เสียหายเดือดร้อน

จริงจะเกิดขึ้น การที่พระองค์ด้องทรงบัญญัติวัจกุฎีวัตร ก็ด้วยมีเหตุการณ์

อันไม่น่าเชื่อว่าจะเกิดขึ้นได้ ดังเรื่องราวต่อไปนี้

สมัยพุทธกาล มีภิกษฺรปหนึ่งถ่ายอุจจาระแล้วไม่ล้างก้น ด้วยรังเกียจ
จ จฃ้ จ

ว่าเป็นของสกปรก ใครจักจับด้องของเสว มีกลิ่นเหม็นนี้ได้ ทั้งนี้เพราะ

ภิกษุรูปนี้ มีชาติกำเนิดในวรรณะพราหมณ์ ซึ่งถือกันว่าเป็นขนขั้นสูงรอง

www.kalyanamitra.org

๑๙

จากวรรณะกษัตริย์ ท่านเกิดในตระกูลรํ่ารวย พรั่งพร้อมด้วยข้าทาสบริวาร
ดูแลปรนนิบติรับไข้ แม้กระทั่งล้างก้นให้ ด้วยเป็นความเชื่อของผู้อยู่ในวรรณะ
พราหมณ์ว่า ตนเองนั้นเกิดจากโอษฐ์ของพระพรหม ส่วนพวกข้าทาสบริวาร

เป็นพวกวรรณะตํ่า เพราะเกิดจากเท้าของพระพรหม จักด้องเป็นข้ารับใข้

ผู้อยู่วรรณะสูงกว่า คือ วรรณะพราหมณ์ ท่านจึงมีความถือตัวจัด เป็นมิจฉาทิฏฐิ

ดามสภาพสังคมและสิงแวดล้อมของท่าน ว่าตนเหนือกว่าผู้อื่นตั้งแต่เกิด
เมื่อถ่ายอุจจาระแล้ว ก็ด้องมิคนวรรณะตํ่ากว่ามาล้างก้นให้

ด้วยความมิสหขาติปึญญา คือปึญญาติดตัวมาจากขาติที่แล้ว ท่าน
ใด้ออกบวขเป็นพระภิกษุ ซึ่งในพระวินัย ห้ามพระภิกษุมิข้าทาสบริวารรับ

ใข้ประจำตัว ท่านจึงไม่ล้างก้นหสังถ่ายอุจจาระ เพราะ

๑)ท่านไม่เคยทำด้วยตนเองมาดสอดชีวิตก่อนมาบวข

๒)มิมิจฉาทิฏฐิที่ยังติดอยู่ในใจ
ก้นของท่านจึงเน่า เต็มไปด้วยหมู่หนอนยุ่บยั่บ

ความเชื่อของเหล่าวรรณะพราหมณ์ครั้งพุทธกาล แสะแม้ความเชื่อ
เป็นมิจฉาทิฏฐิทำนองนี้ ก็ยังมิอยู่ในโสกยุคปึจจุบัน คือ การให้ความสำตัญ
กับขาติดระกูส ยศ ตำ แหน่ง ความรํ่ารวย การมิการคืกษาสูง แสะความมิ

อำ นาจ ว่ามิค่ามากกว่าการแกฝนตนเองให้มิคืสธรรมประจำใจ แสะความ

ประพฤติที่ถูกด้องดีงาม สามารถสอนตนเองพึ่งตนเองได้ ตังพุทธพจนัที่ว่า
"อตฺตา หิ อตตโน นาโถ" ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน

นี้เป็นพุทธประสงค์ ที่ทรงด้องการให้พระภิกษุ รักการแกฝนตนเองให้

www.kalyanamitra.org

๒๐

ความสะอาด มีระเบียบเป็นอันดับแรกก่อน เพราะเป็นเหตุให้ใจผ่องใส

ไม่ขุ่นมัวเป็นนิจ ทำ ให้สามารถแยกถูก-ผิด ดี-ชั่ว บุญ-บาป คุณ-โทษ

ประโยซน่ดน-ท่าน ให้ถูกต้องได้ง่าย

ผู้มองข้ามความสะอาด และความมีระเบียบเสียแล้ว จะมองไม่เห็น

ความจริงของโสกแสะชีวิต แต่จะเห็นความมียศถาบรรดาดักดึ๋มีค่ามากกว่า

การแกผ่นอบรมตนให้มีดวามสะอาด มีระเบียบด้วยตนเอง จนกาย วาจา

ใจสะอาดบริสุทธ หมดกิเสส ความเข้าใจผิดเป็นมิจฉาทิฏฐิเหล่านี้ทำ ให้

เกิดการยกตนข่มท่าน ดูถูกเหยียดหยาม ไม่เคารพให้เกียรติอันแสะกัน

เพราะมีความถือดัวจัด ทั้งที่ตนเองก็ไม่ไดัมีคุณงามความดี ให้น่าเคารพ

ยกย่อง ไม่ได้มีเ!เไมัลายมีอ ความรู้ ความสามารถให้น่าเกรงขาม และไม่ได้
มีความประพฤติถูกด้องตามแบบแผนหลักธรรมให้ถือเป็นแบบอย่างได้

พระภิกษุวรรณะพราหมณ์รูปนี้ ท่านก็มีมิจฉาทิฏฐิประเภทนี้ ตกด้าง
อยู่ในใจ จึงถือดัวจัด ไม่เห็นโทษของความสกปรก และพิษภัยเชื้อโรคจาก

อุจจาระว่า จะบั่นทอนสุขภาพกายและจึดของท่านได้มากมาย ก่อความ

น่ารังเกียจในการอยู่ร่วมอัน ท่านจึงไม่ล้างอันด้วยตนเอง

ภิกษุรูปนี้เมื่อหมู่หนอนมั่วสุมที่ทวารหนักมากเข้า สุดจะทนทรมานต่อ
ไป จึงแจ้งเรื่องแก่ภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านถูกสอบถามจากภิกษุทั้งหลายว่า

"ท่านถ่ายอุจจาระแล้วไม่ล้างท่าความสะอาดด้นหรือ" ท่านก็ตอบตามความ

เป็นจริงว่า "อย่างนั้น ขอรับ" ซึ่งตรงนี้ เป็นสิงที่สะท้อนว่าพระภิกษุชาติ
พราหมณ์รูปนี้ เป็นผู้มีลัจวาจา คือ ท่าอย่างไรก็พูดอย่างนั้น พูดอย่างไรก็
ท่าอย่างนั้น เห็นคุณธรรมความดี คือ ความมีลัจจะ มีค่ามากกว่าขาติกำเนิด

วรรณะพราหมณ์ของตน จึงกล้าเป็ดเผยความจริงที่ท่านกระท่า แม้อับพระ

ภิกษด้วยอัน โดยไม่ร้สีกสะอาย

www.kalyanamitra.org

(อ๑

บรรดาภิกษุผู้มีความมักน้อยสันโดษ มีดวามละอาย มีความรังเกียจ
ใคร่ต่อสิกขา คือเป็นผู้รักการแกฝนตน เพราะ

๑)ตั้งใจแกหัดขัดเกลาตนเองมาอย่างดีตามพุทธบัณญ้ตที่มีอยู่แล้ว

๒)มีสติสัมปขัณญะแก่กล้าพอจะเตือนตนเองให้เลือกพูด เลือกทำ

แต่สิงที่เป็นคุศลเหมาะต่อเพศสมณะของตน

ครั้นทราบเหตุการณ์ ได้พิจารณาคุณ-โทษการกระทำดังกล่าวด้วย

คุศลจิต พิจารณาเห็นโทษของการถ่ายอุจจาระแล้วไม่ล้างก้นว่าจะมีวิบาก
กรรม คือมีผลอย่างไรต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต การเพ่งพิจารณาดังกล่าว

นี้เรียกว่า การเพ่งโทษ ซึ่งมิใช่เพ่งจับผิดผู้ใด ประกอบกับพระภิกษุผู้มี

ความมักน้อย รักสันโดษ ท่านมีใจผ่องใส มีความเข้าใจวัฒนธรรมของคน

วรรณะพราหมณ์ ว่าจะต้องมีคนวรรณะตํ่ากว่ามาล้างก้นให้ จึงเห็นความจริง

ถึงเหตุที่พระภิกษุขาติพราหมณ์นี้!ม่ล้างก้น ท่านจึงมีฒตตาจิตต่อพระภิกษุรูป
นี้ หวังจะเกื้อกูสปลอบประโสมใจให้คลายทุกฃ จึงต่างพากันเข้าโปหาเพื่อ

ชี้ซวน ให้กำสังใจ พร้อมกล่าวแนะนำคุณ-โทษให้พอมองเห็นความจริง

ของเหตุและผลในการล้าง-ไม่ล้างก้น แต่วิธีการทำความสะอาดล้างก้น

การใข้ห้องสุขาอย่างไร จึงจะสะอาดตลอดทั้งกาย วาจา ใจ จะได้เป็นกรรมดี

มีสุขเป็นกำไร ท่านยังเห็นและรู้ความจริงไม่ขัดเจน จึงริบริกษา บอกกล่าว

แก'หมู่สงฆ์ในวัดให้ทราบทั่วกัน ว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร ในการใช้ห้อง

สุขาจึงจะเป็นกรรมดี การกระทำของท่านนี้เริยกว่าโพนทะนา ซึ่งมิใช่การ

จับผิด การประจานกัน ดังความหมายที่ใซ้กันในป็จจุบัน แต่เป็นการกระทำ

ด้วยเมตตาจิตต่อสังฆมณฑล เพื่อร่วมกันพิจารณาหาข้อแก้ไขต่อโป

เพราะเรื่องนี้ยังไม่มีวิบัยพุทธบัญญัติไว้ก่อน เพื่อความอยู่สุขของพระภิกษุ
แต่ละรูป เพื่อความอยู่สุขร่วมกันของหมู่สงฆ์ทั้งขมพูทวีปในยุคนั้นและ

www.kalyanamitra.org

๒๒

ในอนาคตด้วย เหล่าพระภิกษุจึงได้นำเรื่องนี้กราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงทราบเรื่องแล้ว จึงทรงสอบถามภิกษุ

ชาติพราหมณ์ ผู้ไม่ชำระหลังถ่ายอุจจาระนั้นว่า

"ข่าวว่า เธอถ่ายอุจจาระแล้วไม่ชำระ จริงหรือ"
ภิกษุ "จริง พระพุทธเจ้าช้า"

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถาคือทรงแสดงธรรมชี้คุณ-โทษ

การชำระ-ไม่ชำระล้างก้น และการทำ-ไม่ทำความสะอาดห้องสุชาไห้สะอาด

หลังถ่ายอุจจาระ จากนั้นจึงทรงรับสั่งแก่พระภิกษุทั้งหลายเป็นพุทธบัญณ์ติว่า
"ดูกรภิกษุทั้งหลายภิกษุถ่ายอุจจาระแล้วเมื่อนั้ามีอยู่จะไม่ชำระไม่ได้

รูปไดไม่ชำระต้องอาบัติทุกกฎ" คือ มีโทษอันเกิดจากการกระทำละเมิด

สิกชาบทอย่างเบา คือทุกกฎ ซึ่งแปลว่ากระทำไม่คื

การกระทำของพระสัมมาส้มพุทธเจ้าครั้งนี้ พวกเราขาวพุทธควรถือ
เป็นแบบอย่าง คือ เมื่อมีความไม่ถูกต้องเกิดขึ้น ผู้เป็นผู้นำไม่พึงนิ่งดูดาย แต่
พึงรีบชำระความ ๑)ด่อหน้าผู้กระทำผิด ๒)ผู้อยู่ไนเหตุการณ์จริงนั้น และ
๓)เหถ่าผู้กราบทูลเรื่องราวนั้น ทั้งนี้เพื่อความเช้าใจถูกต้อง ตรงตามความ

เป็นจริง พร้อมหน้ากันทุกฝ่าย จะได้ไม่ต้องมีการวิพากษ์วิจารณ์ตามความคิด

เห็นของตนไปต่างๆ นานา ในภายหสัง อันจะนำมาซึ่งความแตกแยกในหมู่
สงฆ์ อนึ่งเมื่อทรงบัญญัติสิกขาบทในเรื่องนี้แล้ว ทุกฝ่ายต่างไต้รับพึงพร้อม

กัน มีความเข้าใจถูกตรงกัน ก็จะไต้ถือปฏิบัติให้ถูกต้องตรงตามพุทธบัญญัติ

เป็นแบบแผนเดียวกัน อันเป็นทางมาแห่งความเลื่อมใสศรัทธา และความเป็น

ปีกแผ่นของพระพทธศาสนา สืบต่อไป

www.kalyanamitra.org

๒CT

ที่มาของวัจกุฎีวัตร ครงที่ ๒

ครนต่อมา ภิกษุท้งหลายถ่ายอุจจาระตามลำดับผู้มีพรรษาแก'กว่า

ทำ ให้พระภิกษุนวกะทั้งหลายที่มาถึงห้องสัวมก่อน และกำลังปวดอุจจาระ
ก็ต้องรอ เมื่อท่านกลั้นอุจจาระไม่ไหวไต้เป็นลมสลบลง

ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนี้แต่พระผู้มีพระภาคเจ้า

พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงลอบถาม

พระผู้มีพระภาคเจ้า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า ภิกษุทั้งหลายถ่าย
อุจจาระไนวัจคุฎี ตามลำดับผู้แก่กว่า นวกะภิกษุทั้งหลายมาถึงก่อน ปวด

อจจาระก็ต้องรอ พวกเธอกลั้นอจจาระจนสลบล้มลงจริงหรือ"

ภิกษุ "จริง พระพุทธเจ้าข้า"

พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงรับสั่งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า
"ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงก่ายอุจจาระไนวัจกุฎีตามลำดับ

ผู้แก่กว่า รูปไดก่ายอุจจาระไนวัจกุฎีตามลำดับผู้แก่กว่า ต้องอาบ้ติทุกกฎ

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตไห้ก่ายอุจจาระ ตามลำดับผู้มาถึง"

สิ่งที่สะท้อนคิดจากเหตุการณ์นี้ก็คือ การปฏิบติที่ให้เกียรติกันตามลำดับ
ผู้แก่พรรษากว่าหรือกันเตนั้น ไม่สามารถไข้1ด้ทุกกรณีโดยมีข้อยกเว้นในกรณี
๑) เรื่องการขับก่าย ซึ่งจะต้องไข้ตามลำดับผู้มาถึงก่อน เพราะทุกคนมี
ความทุกข้กายเสมอกันไนเรื่องการปวดอุจจาระ-ป็สสาวะ ๒) แม้ไนกรณี
การทำงานก็ยึดถึอความรู้ ความสามารถไนการทำงานนั้นๆ เป็นที่ตั้ง มิใซ่
ถือกันเต-อาวุโส ดังตัวอย่างพระกัญญาโกณฑัญญะ ซึ่งเป็นปฐมสาวก เป็น

พระอรหันตสาวกรปแรก ท่านก็เคารพโห้เกียรติแก่พระสารีบตร ผ้เป็นกัครสาวก

www.kalyanamitra.org

๒๔

เบื้องขวา ผู้เลิศด้วยปิญญๆ แม้บวซหลังท่าน เป็นอาวุโส ท่านก็มิได้ถือหลัก

ภันเต-อาวุโส ท่านจึงออกจาริก ปลีกวิเวกในป่าหิมพานต์ เพื่อให้พระสารีบุตร
สามารถทำงาน เผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างเต็มที่

ที่มาของวัจกุฎีวัตร ครงที่ ๓

หลังจากสงฆ์ประพฤติถูกต้องตามแบบแผนพระวินัยในเรื่อง ๑) การชำระ

หลังถ่ายอุจจาระ ๒) การเข้าวัจกุฎีตามลำดับผู้มาถึงแล้ว ๓) ก็มีเหตุให้

พระผู้มีพระภาคเจ้าต้องทรงบัญญ้ติพระวินัยการใช้ห้องสุขาเพื่มอีก ดังมีเรื่องว่า
พระฉัพพัคคีย์ซึ่งเป็นกลุ่มภิกษุจำนวน ๖ รูป คีอ ๑. พระป็ณฑุกะ

๒. พระโลหิตกะ ๓. พระเมตติยะ ๔.พระฦมมซกะ ๕. พระอัสสซิ (คนละ

องค์กับพระอัสสซิหนึ่งในปัญจวัคคีย์ ผู้เป็นพระอรหันต์ ๕ รูปแรกในพระพุทธ
คาสนา) ๖. พระปุนัพพสุกะ ท่านเหล่านื้1ด้ทำเรื่องไม่สมควรอย่างยิ่ง คีอ

ซาดสติสัมปชัญญะอย่างมากในการใช้ห้องสุขา ได้แก่ เช้าวัจกุฎีเร็วไปบ้าง

เวิกผ้าเช้าไปบ้าง ถอนหายใจใหญ่พสางถ่ายอุจจาระบ้าง เคี้ยวไม้ช้าระฟัน

พสางถ่ายอุจจาระบ้าง ถ่ายอุจจาระนอกรางอุจจาระบ้าง ถ่ายปึสสาวะ
นอกรางป้สสาวะบ้าง บ้วนเซฬะ คีอ นํ้าสาย สงโนรางป็สสาวะบ้าง ช้าระ

ด้วยไม้หยาบ คีอ เช็ดก้นด้วยไม่ซรุซระบ้าง ทิ้งไม้ช้าระสงในซ่องถ่าย

อุจจาระบ้าง ออกมาเร็วเกินไปบ้าง เวิกผ้าออกมาบ้าง ช้าระมีเสืยงดัง
คีอ ล้างก้นมีเลียงดังบ้าง เหลือนํ้าไว้ในกระบอกช้าระบ้าง

บรรดาภิกษุผ้มีความม้กน้อยรักสันโดษ คีอภิกษุผู้รักการผึเกฝนตน
เป็นผู้รักการแกดัวตามพระธรรมวิน้ย ต่างเพ่งพิจารณาโทษ การกระทำดังกล่าว

ด้วยกุศสจิต ได้กล่าวเตือนให้เห็นโทษ พร้อมกันนั้นด้วยจิตที่รักพระพุทธศาสนา

www.kalyanamitra.org

๒๕

เป็นอย่างยิ่ง ได้มีความคิดว่า หากปล่อยปละละเลย พฤติกรรมการใช้

ห้องสุขาของพระฉัพพัคคีย์ ความเสือมเสีย ความไม่เคารพเลื่อมใสศรัทธา ต่อ
พระรัตนตรัยจักบังเกิดขึ้นแก'พุทธบริษัท ๔ จึงพากันไปกราบทูลเรื่องนี้

แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ก็ทรงสอบถาม

พระผู้มีพระภาคเจ้า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าพระฉัพพัคคิย์ เช้า
วัจกุฎีเร็วเกินไปบ้าง...เหสีอนํ้าไว้ไนกระบอกขำระบัาง จริงหรือ"

ภิกษุ "จริง พระพุทธเจ้าช้า"

พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงทำธรรมีกถา คือ ทรงแสดงธรรมขึ้คุณ-โทษ

การมี-ไม่มีสติสัมปชัญญะ และความสำรวม-ไม่สำรวมในการใช้ห้องสุขา

แล้วทรงรับสั่งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า

"ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติวัจกุฎีวัตรแก่ภิกษุทั้งหลาย

โดยประการที่ภิกษุทั้งหลาย

พึงประพฤติเรียบร้อยในวัจกุฎี"

www.kalyanamitra.org

๒๖

ข้อบญญตว'จคุฎีวัตร

[๔๓๗]ภิกษุใดไปวัจกุฎี

0ภิกษุนั้นยืนอยู่ข้างนอกพึงกระแอมขึ้น แม้ภิกษุผู้นั้งอยู่ข้างในก็

พึงกระแอมรับ กระแอม คือ ทำ เสียงแอมโนคอคล้ายไอ เพื่อให้เขารู้หรือระวัง

0พึงพาดจีวรไว้บนราวจีวร หรือบนสายระเคียง แล้วเข้าวัจกุฎี ทำ ให้

เรืยบร้อย ไม่ต้องรืบร้อน ไม่พึงเข้าไปเร็วนักไม่พึงเวิกผ้าเข้าไป สายระเคียง

คือ ราวหรือเชือกที่ฃึงไว้สำหรับตากสบงจีวร ของพระภิกษุ สามเณร

0 ยืนบนเขียงถ่าย แล้วจีงค่อยเวิกผ้า เวิกผ้า คือ เลิกหรือเปิดผ้าขึ้น

หรือแหวกผ้าบางส่วน

0ไม่พึงถอนหายใจใหญ่พลางถ่ายอุจจาระ

0ไม่พึงเคี้ยวไม้ชำระฟันพลางถ่ายอุจจาระ

0ไม่พึงถ่ายอุจจาระนอกรางอุจจาระ

0ไม่พึงถ่ายป้ลลาวะนอกรางปัลลาวะ
0ไม่พึงบ้วนเขฬะลงในรางปีลลาวะ
0ไม่พึงชำระต้วยไม้หยาบ

0ไม่พึงทิ้งไม้ชำระลงในซ่องถ่ายอุจจาระ ไม้ชำระ คือ วัสดุที่ใข้ชำระ

0 ยืนบนเขียงถ่ายแล้วพึงปิดผ้า
0ไม่พึงออกมาเร็วนัก ไม่พึงเวิกผ้าออกมา
0 ยืนบนเขียงชำระแล้วพึงเวิกผ้า

www.kalyanamitra.org

๒๗

o ไม่พึงชำระให้มีเสิยงดังจะปุจะปุ เสียงดังจะปุจะปุ หมายถึง มีเสียงดัง

ขณะชำระล้าง

0ไม่พึงเหลือนํ้าไว้ในกระบอกชำระ
0 ยืนบนเขียงชำระแล้วพึงปีดผ้า เขียงชำระ คือ สุขภัณฑ์
0 ถ้าวัจกุฎีอันภิกษุถ่ายไว้เลอะเฑอะ ต้องล้างเลืย

๐ ถ้าตะกร้าใส่ไม้ชำระเต็มพึงเทไม้ชำระ

0 ถ้าวัจกุฎีรกพึงกวาดว้จกุฎี
0 ถ้าซานภายนอก บริเวณ ซุ้มประตูรก พึงกวาดเสีย
0 ถ้านํ้าในหม้อชำระไม่มี พึงดักนํ้ามาไว้ในหม้อชำระ หม้อชำระ คือ ถังนํ้า

ตูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้แล เป็นวัจกุฎีวัตรซองภิกษุทั้งหลาย ซึ่งภิกษุ

ทั้งหลาย พึงประพฤติเรียบร้อยในวัจกุฎี.

จากข้อบัญญัติวัจกุฎีวัตร แสดงให้เห็นถึงพระมหากรุณาธิคุณของ

พระผู้มีพระภาคเจ้า ที่มีต่อซาวโลกว่า มิได้ทรงรังเกียจ มิได้ทรงย่อห้อต่อ
การอบรมสั่งสอนขาวโลกให้บรรลุธรรม เฉกเซ่นพระองค์เลย แม้ทรงกำเนิด
ในข้ตติยะราขตระกูล พรั่งพร้อมด้วยเบญจกามคุณอันประณีตเป็นเลิศ ได้รับ

ความสะดวกลบาย บำ รุงบำเรอเหนือมนุษย์ทั้งหลาย แต่พระองค์กลับทรง

ทอดทิ้งอย่างไม่อาลัยใยดี เพื่อแสวงหาหนทางพ้นทุกข์ที่แท้จริง และเมื่อทรง

ด้นพบแล้ว ก็ทรงจัดลำดับการแกให้ลุ่มถึกไปตามลำดับธรรมชาติของผ้ฟ้ง

โดยเริ่มจากการแกความละอาด มีระเบียบ ผ่านการบำเพ็ญวัตรให้ถูกต้อง
ประณีต ปฏิบัติด้วยใจที่ผ่องใส สำ รวม กาย วาจา ใจ จนได้เอภัคคตาจิต คือ
จิตหยุดนิ่ง แน่วแปอยู่ภายในตัว เป็นมรรคสมาธิ เพื่อการบรรลุธรรม

www.kalyanamitra.org

๒๘

พระมหากรุณาธิคุณของพระผู้มีพระภาคเจ้า ในการพาซาวโลกไป

สู่ฝืงพระนิพพาน เพื่อจะได้หมดทุกข์แท้จริง เข้าถึงเอกันตบรมสุข เฉกเซ่น
พระองค์นั้น ประจ้กษ์ซัดจากการที่พระองคไ.ม'ทรงให้ความสำคัญกับเรื่อง

ขนขั้น วรรณะ เชื้อชาติ สีผิว ศาสนา ความเชื่อ ว่ามีค่ามากกว่าการทำดี

ทางกาย วาจา และใจ ที่ก่อแต่สุขแก่ตนแก่ผู้อื่น และที่ก่อแต่รักษาธรรมขาติสิ่ง

แวดล้อมให้เกิดสุขภาวะ ไม่เกิดมลภาวะ อันนำไปสู่ไมตรีจิตมิตรภาพแท้จริง

ต่อกัน พฤติกรรมอันดีงามนี้เอง เป็นสิ่งที่ปงบอกถึงคักดศรีความเป็นมนุษย์
อย่างแท้จริง หาใซ่รูปลักษณ์ เงินตรา เพศ สีผิว เชื้อขาติ ซนขั้นไม่ ด้วยเหตุนี้เอง
พระองค์จึงทรงลดพระองค์ลงมา เคี่ยวเข็ญสอนพระลูกซาวบ้านอย่าง
พระฉัพพัคคีย์ ซึ่งเกิดในครอบครัวที่ขาดการอบรมที่ถูกด้อง ขาดด้นแบบ

ความประพฤติที่ดีงาม ท่านจึงได้นิลัยมักง่าย สกปรก ไร้ระเบียบติดตัวมา

ท่าให้แม้บวขแล้ว เรื่องความสะอาด ความมีระเบียบขั้นพื้นฐานในชีวิตประจำวัน
เกี่ยวกับสุขอนามัยของตน ได้แก่ การซับถ่าย การใข้ห้องสุขาก็ปฏิบ้ติไม่ถูกต้อง
ท่าความสกปรก เลอะเทอะ รุ่มร่าม ไร้ระเบียบ นำ มาซึ่งการกระทบกระทั่ง
เป็นที่รำคาญใจของพระผู้อยู่ร่วมด้วย

แม้มีพระผู้น้อยรักลันโดษมาแนะนำ พระฉัพพัคดีย์ก็ดื้อ ไม่เชื่อฟ้ง เพราะ
ใจท่านขุ่นมัวมาก ทั้งนี้ก็ด้วยเหตุที่ความสะอาด มีระเบียบของท่านไม่พอ

ท่านท่าอะไรก็มักไม่คิดท่าให้ถูกต้องดีจริงตรงตามหลักธรรม ท่าแบบมักง่าย

ไม่คำนึงถึงผลกระทบความเดีอดร้อนเสียหายที่จะตามมา ท่าให้การคิดตรอง

เห็นความจริงของกฎแห่งกรรม ในระคับพอเห็นได้โนชีวิตประจำวันไม่เพียงพอ

และในท้ายที่สุด มีพระฉัพพัคคีย์บางรูปก็ไปท่าความผิดอย่างใหญ่หลวงด้วย

ตัวท่านเอง ท่าให้ด้องอาบ้ติปาราขิก ลาสิกขาออกไปเอง

www.kalyanamitra.org

๒๙

พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ทรงเห็นทรงรู้มาก่อนล่วงหน้า แต่ด้วยพระ

มหากรุณาธิคุณอันไม่มีประมาณ พระองค์ก็ทรงสั่งสอน ทำ ให้พระฉัพพัคคีย์
พอมีเชื้อความคิดเรื่องกฎแห่งกรรม ติดตัวข้ามภพข้ามชาติไปภายภาคหน้าบ้าง

จากการได้รับรู้ว่าการกระทำใดของพวกตนเป็นกรรมไม่ดี กรรมใดเป็นกรรม

ชั่วหยาบหนัก จนตนเองต้องเป็นเหตุแห่งพุทธบัญญัติสิกขาบทหลายข้อ และ
ต้องอาบัติปาราชิกในที่สุด

แต่แม้กระนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า และบรรดาภิกษุผู้มักน้อยรักสันโดษ
คีอ ผู้รักการแกตัวไดnกตัวมาดีแล้ว ก็ไม่ทอดทิ้งพระภิกษุขาติพราหมณ์รูป

ที่ไม่ล้างก้น หรือแม้แต่พระภิกษุและขาวโลกวรรณะใดๆ ก็ตาม ขอเพียงให้
บุคคลเหล่านั้น มีธาตุแท้แห่งความรักดี และอดทนยอมรับการแกตาม
พระธรรมวินัยพระพุทธองค์ก็ทรงทุ่มเทเคี่ยวเข็ญการแกให้ ตังที่ทรงสอนวิธี
ใข้ห้องสุขาที่ถูกต้องว่า ผู้ทำ กรรมดีหมดกิเลสใข้ห้องสุขาอย่างไร ตังในวัจกุฎีวัตร
ซึ่งวิธีใข้ห้องนํ้าเซ่นนั้น ย่อมเป็นแบบแผนความประพฤติที่พีถีพีถัน ละเอียดลออ

ประณีต หากผู้ใดประพฤติตามย่อมมีใจผ่องใส ความประพฤติทางกาย วาจา

ย่อมเปียมด้วยความสำรวมระวัง มิให้อาสวะเข้าแทรกกำเริบซึ่งนับเป็นพระ

มหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้

พวกเราเหล่าขาวพุทธ ^ไปสู่ที่สุดแห่งธรรม พีงน้อมนำพระมหากรุณาธิคุณ
นี้มาปฏิบัติตาม ว่าเรานั้นมีกรุณาจิตต่อตนเองและผู้อื่น ในการแกฝนตนเอง

ให้เข้าถึงธรรม โดยปฏิบัติผ่านวัจกุฎีวัตร คีอ การใช้ห้องสุขาให้ถูกต้องตาม

พระธรรมวินัย เมื่อปฏิบ้ติได้แล้ว เราสมควรมีกรุณาจิตต่อบุคคลในครอบครัว

ต่อเพื่อนสหธรรมิก ต่อเพื่อนร่วมโลก ในการเชิญซวน แนะนำ ให้กำถังใจ

บุคคลเหล่านั้นได้ประพฤติวัจกุฎีวัตร คีอ การใช้ห้องสุขาให้ถูกต้องตาม

พระธรรมวินัยด้วยตนเองเซ่นถัน

www.kalyanamitra.org

no

แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อซาวโลก

มากมายเพียงใด แด่พระองค์ก็ทรงเลือกที่จะโปรด แด่เฉพาะผู้มีคุณสมบัติ

2 ข้อดังนี้ คือ
๑) ผู้มีสัจจะประจำใจ
๒) ผู้มีความเคารพ พร้อมยอมรับ และอดทนด่อการ'ฝืกตนเองตาม

พระธรรมวินัย เท่านั้น

www.kalyanamitra.org

0)๑

ผู้เข้ามาบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนามาจากสังคมทุกระดับ

ไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา แสะวัฒนธรรม มาจากสังคมในเมือง

ชานเมือง ชนบทบ้าง มาจากผู้มืระดับการศึกษาตั้งแต่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้

ไปจนถึงระดับปริญญาเอกก็มื แม้แต่มาจากผู้มืฐานะยากจนอัตคัดขัดสน จนถึง

มหาเศรษฐีรํ่ารวยมหาศาล ไม่ว่าจะแตกต่างกันมากมายปานใด แต่สิ่งที่ต่าง

มืคล้ายคลึงกัน ก็คือมืเชื้อแห่งการรักการทำความดี จึงได้พากันออกบวช

แม้วัตถประสงค์การบวชจะแตกต่างกันก็ตาม

ด้วยความแตกต่างที่หลากหลายนี้ แนวคิดที่ใซ้จำแนกระดับความประพฤติ

การใช้ห้องสุชา ประกอบด้วย

๑.หลักธรรมที่พึงตรึกระลึกถึง คือ สัมมาทิฏฐิ สติสัมปชัญญะ สังเกต

พิจารณา และสำรวมปฏิบัติ

๒.พฤติกรรมการใช้ห้องสุขา ซึ่งประกอบด้วย

๒.๑ ปฏิบัติตามพุทธบัญญัติ

๒.๒ มือารมณ์ดีเบิกบาน

๒.๓ ใจอยู่ใกล้ตัว ในตัว กลางตัว
๒.๔ มืความรู้เหตุผลการปฏิบัติ

www.kalyanamitra.org

ฑ๒

จากแนวคิดทั้ง ๒ ฃ้อนี้ จึงแบ่งระดับความประพฤติการใซ้ห้องสุขา เป็น

๓ ระดับ คือ

๑. พระกำลังแกตัว

พระกำลังแกตัว เป็นพระผู้บวซใหม่ พระลูกซาวบ้าน พระตามวัด

ทั่วไป ความประพฤติการไซ้ห้องสุขาเน้นโบ้แล้วต้องสะอาดและแห้ง
"ให้ผู้ไบ้ลัดจากเรารู้สีกว่า เขาเป็นคนแรกที่เบ้ามาใบ้เสมอ"

โดยถ่ายอุจจาระ-ป็สสาวะให้ลงในโถสุขภัณฑ์ ไม่ให้กระเด็นนอกโถ

ราดนํ้าให้เกลี้ยง การจะได้ผลดังกล่าว ผู้โซ้ห้องสุขาพึงยึดหลักธรรมและปฏิบ้ติ
ตามบหแกสำหรับพระกำลังแกตัว และหรือข้อแนะนำเบื้องต้นการไซ้พ้องสุขาทั่วไป

๒.พระตั้งใจแกตัว
พระตั้งใจแกตัว เป็นพระที่แกตัวผ่านระดับกำลังแกตัวมาแล้ว เน้น

การปฏิน้ติให้ครบทุกบ้อตามพุทธบัญญัติ ด้วยอารมณ์ที่เบิกบาน ด้วยใจที่
อยู่ในตัว แสะรู้เหตุรู้ผลการปฏิน้ติ ผลจะเกิดเซ่นนี้ ก็ด้วยการมีหลักธรรม ๔ ข้อ

ประจำใจ คือ ๑)ล้มมาทิฏฐ ๒)สติลัมปบ้ญญะ ๓)ลังเกดพิจารณา และ
๔)สำ รวมปฏิบัติ

๓. พระตันแบบ

พระต้นแบบ เป็นพระที่มีเป้าหมายในการบวขเพื่อทำพระนิพพาน

ให้แจ้ง เน้นการใบ้ห้องสุขาถูกต้อง ครบถ้วน ตามพุทธบัญญัติ ต้วยอารมณ์

สงบนิ่ง ด้วยใจที่อยู่กลางตัว และรู้เหตุรู้ผลการปฏิน้ติจากความสว่างภายในตัว
มีหลักธรรม ๔ ข้อ มั่นคงอยู่ในใจ คือ ๑) ล้มมาทิฏฐิ ๒) สติลัมปบ้ญญะ

๓)ลังเกดพิจารณา แสะ ๔)สำ รวมปฏิบัติ

www.kalyanamitra.org

nn

ความประพฤติการใ^องสุขาของพระภิกษุ

หลักธรรมที่พึงตรึกระลึกเป็นนิจ

๑. มีลัมมาทิฏเ เห็นถูกว่าการใช้ห้องสุขาให้สะอาดและแห้ง ทำ ให้มี

นิสัยพิถีพิถัน ไม่มักง่าย เป็นนิสัยดีติดตัวเราช้ามภพช้ามซาติ จัดเป็นกรรมดี

๒. มีสติสัมปชัญญะ รู้ตัวว่ากำลังทำอะไร รู้เท่าทันอารมณ์ของตนว่า
ต้องรักษาให้เบิกบานสบายใจ รู้รักษาใจของตนให้อยู่ในตัว

๓.สังเกตพึจารณา สถานที่ บุคคล ห้องสุขา เพื่อความไม่ประมาท
สังเกตอุจจาระ บิสสาวะ เพื่อดูแลสุขภาพตนให้เป็น

๔.ปฏิบัติอย่างสำรวม ใช้ห้องสุขาอย่างพิถีพิถัน สบายใจด้วยรู้เหตุ
รู้ผลตามหลักธรรม-วิซาการ

ปฏิบัติอย่างสำรวม ะ วิธีใช้ห้องสุขาในสมัยป็จจุบันตามพระธรรมวินัย
๑)ถ้ามีดเป็ดสวิทขไฟฟ้าก่อน ถ้ามีรองเท้าประจำห้องนํ้า ให้เปลี่ยนก่อน

๒)นำ ผ้าเข็ดทำความสะอาดเช้าไปด้วย (ถ้ามี)

๓)ถ้าคาดว่ามีผู้ใช้อยู่ให้กระแอมหรือเคาะประตูห้องสุขาเบาๆ

๔)ไม่รืบร้อนเช้าไป
๔)ไม่ควรเวิกผ้าเช้าไป

๖)ป็ดประดูเบาๆให้เรืยบร้อย

๗)กดหรือราดนํ้าก่อนทำธุระ (ควรพกทิซซูและสเปรย์แอลกอฮอล์ฉีด

และเข็ดที่รองนั่งโถก่อนนั่ง)
๘) เวิกและรวบผ้าให้เรืยบร้อยก่อนทำธุระ

www.kalyanamitra.org

0)๕

๙) ไม่ยืนถ่ายปัสสาว)ระ

๑๐)ไม่ถ่ายอุจจาระ-ป็สสาวะ นอกโถสุขภัณฑ์

๑๑)ไม่เบ่งแรง ไม่ถอนหายใจแรง ไม่ทำภารกิจอื่น เซ่น โซ่โทรภัพทํ

อ่านหนังสือ ส่งเสืยงดังฯลฯขณะไซ้ห้องสุขา
๑๒)สังเกตพิจารณาอุจจาระ-ปีสลาวะ ว่าปกติ-ผิดปกติหรือไม่ เซ่น มี-ไม่มี

เสือดปน มี-ไม่มีเศษอาหารที่ไม่ย่อย

๑๓)เปีดนํ้ากสบเสียง ราดนํ้ากสบกลิ่นขณะขับถ่าย
๑๔)ทำ ความสะอาดอวัยวะด้วยนํ้าไห้สะอาด เช็ดไห้แห้ง
๑๔)ทิ้งกระดาษชำระไนที่ที่จัดไว้ไห้

๑๖)หลังทำธุระเสร็จให้ราดนํ้า/ปิดฝาซักโครกก่อนกด เพื่อปีองกันกลิ่น
และเชื้อโรคพิงกระจาย เมื่อเงียบเสียงแล้วจึงเปิดฝาตรวจดูความสะอาด

อีกครั้งว่าปราคจากลิ่งสกปรกหรือไม่
๑๗)จัดผ้านุ่ง สบง ไห้เรืยบร้อยก่อนออก

๑๘)ไม่รืบร้อนออกมา

๑๙)โถสุขภัณฑ์ต้องสะอาด พื้น ผนังห้องสุขาสะอาดและแห้ง หากสกปรก

ให้ทำความสะอาด

๒๐)ล้านํ้าไนถังพร่องไห้เติมนํ้า ๓/๔ และควํ่าขัน
๒๑)ล้ากังขยะไนห้องนํ้าเต็ม ไห้นำไปเททิ้งไนที่ที่จัดไว้ไห้
๒๒)เช็ดรองเท้าห้องนํ้าไห้สะอาด ถอดคืน วางเซ้าที่ไห้เรืยบร้อย
๒๓)ถ้าบริเวณรอบห้องสุขาสกปรกให้ทำความสะอาด
๒๔)หยิบทรัพย์สินของเราก่อนออกจากห้องนํ้า

๒๔)ล้างมีอให้สะอาด เช็ดหรือเปาลมให้มีอแห้ง หลังเสร็จภารกิจ

ซ8้/อทAีl่เป็นตัวเข้ม เป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระกำลังผิกตัว

www.kalyanamitra.org

ท๕

ข้อแนะนำเบืองต้นการใช้ห้องสุขา

สิงที่พึงระลึกถึงขณะใช้ห้องสุขา คือ

"ห้องสุขาใช้แล้วต้องสะอาดและแห้ง

ให้ผู้ใช้ถัดจากเรารู้สึกว่า เขาเป็นคนแรกที่เช้ามาใช้เสมอ"
โดยทำป้ายติดไว้ประจำห้องสุขาเพื่อเป็นข้อเตือนใจ

อุปกรณ์พื้นฐานในห้องสุขา มีดังนี้

๑. มีประตูและกลอน พร้อมใข้งานได้
๒. มีถังและขันนํ้า สำ หรับราดนํ้าหลังจากขับถ่ายเสร็จ

๓.มีอุปกรณ์ทำความสะอาดที่จำเป็น คือ แปรงขัดห้องนํ้า

วิธีการใช้ห้องสุขา
๑. ถ่อนเข้าห้องสุขา ให้ลังเกตบริเวณรอบ ๆ ห้องว่าสะอาดและ

ปลอดภัยหรือไม่ เซ่น มีกลอนสำหรับล็อคประตูหรือไม่ มีสัตว์ร้ายหรือลัตว์มี
พิษในห้องสุขาหรือไม่ เป็นต้น

๒.ไม่ยืนถ่ายป้สสาวะ

๓.ไม่ถ่ายอุจจาระ ปีสสาวะ นอกโถสุขภัณฑ์
๔. เปีดนํ้ากลบเสียง ราดนํ้ากลบกลิ่น ในขณะที่ขับถ่าย

๔. ราดนํ้าให้สะอาดหลังทำธุระเสร็จ

๖. รักษาความสะอาดบริเวณห้องสุขาและโถสุขภัณฑ์ ให้สะอาดและแห้ง

www.kalyanamitra.org

๓๖

โะสันความประพฤติการใ'รห้องสุขาของพระภิกษุ

พระกำลังแกตัว พระตั้งใจแกตัว พระต้นแบบ

ปฏิบัติตามหลักธรรม^ ปฏิบัติตามหลักธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรม

๔ ข้อและวิธีใช้ ๔ ข้อและวิธีใช้ ๔ ข้อและวิธีใช้
ห้องสฃา ๒๕ ข้อ
^ ห้องสุขา ๖ ข้อ ^ ห้องสขา ๒๕ ข้อ

Vy

ข้อ ๙, ๑๐, ๑๓, ๑๖,

๑๙ และ ๒๓

อารมณ์ อารมณ์ อารมณ์

อารมณ์ดี สบายใจ อารมณ์เบิกบาน อารมณ์สงบนิ่ง
ปลื้มปีติใจ
ภาคภูมิใจ

ใจ 1 ใจ 1 ใจ

อยู่ใกล้ตัว ไม่หนีเที่ยว อยู่กับตัว อยู่กลางตัว

รู้เหตุผล รู้เหตุผล รู้เหตุผล

รู้จำ เหตุผลได้ ด้วยโยนิโสมนสิการ จากความสว่างภายใน

www.kalyanamitra.org

0า๗

rr -x

บทแกวัจกุฎีวัตร

ส์าหรับพระกำลังแกตัว

วัตถุประสงค์ ะ เพื่อแกการถือธรรมเป็นใหญ่ในการดำเนินชีวิต

ผ่านการปฏิบัติวัจกุฎีวัตรให้ถูกต้องตามหลัก

พระธรรมวินัย

คุณประโยชน์ ะ
๑. ดูแลสุขภาพเป็น อันเป็นทางมาแห่งอาพาธน้อย

๒. มีความสำรวมการใช้ห้องสุขา ก่อเกิดความเอื้อเพื่อ

เมตตาต่อกัน

๓. มีความช่างสังเกตพิจารณา อันเป็นทางมาแห่งปีญญา
๔. มีสติสัมปชัญญะ รู้เก็บใจไว้ในตัว

๕. มีความอดทนต่อการกระทบกระทั่ง

www.kalyanamitra.org

ท๘

แบบแผนการใช้ห้องสุขาของพระกำลังแกตัว

หลักธรรมที่พึงนึกเป็นนิจ
๑. มีสัมมาทิฏฐิ
๒. มีสติสัมปชัญญะ

๓. สังเกตพิจารณา

๔. ปฏิบัติด้วยความสำรวม

วิธีปฏิบัติตามหลักธรรมให้เป็นนิจ

๑. มีสัมมาทิฏฐิ
มีความเห็นถูกว่าการใช้ห้องสุขาแล้วทำให้สะอาดและแห้งเป็นกรรมดี
มีสุฃเป็นกำไร
๒. มีสติสัมปชัญญะ

๒.๑ รู้ตัวว่ากำลังใช้ห้องสุขา
๒.๒ รู้ตัวว่าเราเป็นสมณะ ใช้ห้องสุขาแล้วพึงทำให้สะอาดและแห้ง
๒.๓ รู้อารมณ์ตนเองว่าขณะใช้ไม่พึงขุ่นมัว ให้มีอารมณ์ดี
๒.๔ รู้ใจตนเองว่าขณะใช้พึงน้อมใจมาไว้ในตัว

๒.๕ รู้ว่าปฏิบัติ ๔ ฃ้อนี้ เป็นการแสดงความเคารพพระสัมมาสัม

พุทธเจ้าด้วยการปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธองคให้ถูกต้อง

๓. สังเกตพิจารณา

ก่อนเช้าห้องสุขาให้สังเกตพิจารณา

๓.๑ ป้ายสัญลักษณ์ จะไเรูภ่เป็นห้องสุขาขาย-หญิง และลัญลักษถ^น ๆ

www.kalyanamitra.org

ฑ๙

๓.๒ ห้องสุขา ว่าปลอดภัยจากคนร้าย สัตว์ร้าย และอุบ้ติเหตุ เซ่น
ของแหลมคม พื้นเปียก-ลื่น เป็นต้น

๓.๓ วัตลุ อุปกรณ์ สิงของ ว่ามีอะไรบ้าง พร้อมใช้งานหรือไม่ เซ่น

มีผ้าเช็ดทำความสะอาดโถรองนั่ง มีผ้าเช็ดอ่างล้างมีอ มีผ้าเช็ดมีอ มีนํ้าชำระ

มีฃองที่ผู้อื่นลืมไว้ หรือไม่ เป็นต้น

๔. ปฏิบัติด้วยความสำรวม

๔.๑ ถ้าห้องสุขานั้นเราไม่แน่ใจว่ามีผู้อยู่ภายในหรือไม่ ให้กระแอม
หรือเคาะเบาๆ หรือดูสัญลักษณ์ที่ประตูห้องนั้า (ถ้ามี)

๔.๒ ห้องสุขามี ๒ ประเภท คือ ๑)แบบซักโครก ๒)แบบตักนั้าราด

ถ้าแบบตักนั้าราด ควรเป็ดนํ้าใส่ถังเบาๆ เพื่อกลบเสียง ถ้าซับถ่ายเป็นเวลานาน หรือ

ท้องผูก อุจจาระมีกลิ่น ควรราดนั้าเป็นระยะ หรือกดซักโครกเพื่อดับกลิ่นโดย

ไม่ต้องรอให้ทำธุระเสร็จก่อน
๔๓ไม่ถ่ายอุจจาระ-ป็สสาวะนอกโถสุขภัณฑ์ และระมัดระวังไมให้กระเด็น

ออกนอกโถ

๔๔พิจารณาอุจจาระ-ป้สสาวะ ว่าปรกติ-ผิดปรกติ เซ่น มีเลือด

และหรือเศษอาหารที่ไม่ย่อยปนออกมาหรือไม่ มีกลิ่นเหม็นเน่าหรือไม่ เป็นต้น

๔.๕ เมื่อทำธุระเสร็จให้ล้างอวัยวะด้วยนั้าให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
๔.๖ ราดนั้าจนอุจจาระ-ป็สสาวะ เกลี้ยงจากโถสุขภัณฑ์ หาก

กระเด็นออกนอกโถให้ทำความสะอาดจนเกลี้ยง

๔.๗ หลังทำธุระเสร็จพิงนุ่งห่มให้เรืยบร้อย ห้นกสับมองผมัง พื้นว่า
สะอาด แห้ง หรือไม่ ถ้าสกปรกให้ทำความสะอาดเช็ดให้แห้ง เพื่อผู้มาใช้ถัด

จากเราไปมีความรู้สีกว่าเป็นคนแรกเสมอ

www.kalyanamitra.org

๕๐

บทฟ้กวัจกุฎีวัตร ส์าหรับพระตื้งใจปึกตัว

และพระต้นแบบ

วัตถุประสงค์ ะ เพื่อแกการถือธรรมเป็นใหญ่ในการดำเนินชีวิต

ผ่านการปฏิ'บติวัจกุฎีวัตรให้ถูกต้องตามหลัก

พระธรรมวินัย

คุณประโยชน์ ะ
๑. ดูแลสุขภาพเป็น อันเป็นทางมาแห่งอาพาธน้อย

๒.มีความสำรวมการไซ้ห้องสุขา ก่อเกิดความเอื้อเพื่อ

เมตตาต่อกัน

๓. มีความช่างสังเกตพิจารณา อันเป็นทางมาแห่งปีญญา

๔. มีสติสัมปชัญญะ รู้เก็บใจไว้ในตัว

๔. มีความอดทนต่อการกระทบกระทั่ง

www.kalyanamitra.org

๕๑

แบบแผนความประพฤติการใ^ห้องสุขา

ของพระตั้งใจแกตัวและพระต้นแบบ

๑. หลักธรรมที่ต้องตรึกระลึกเป็นนิจขณะปฏิบัติวัจกุฎีวัตร

๑.๑ มีสัมมาทิฏฐิ : มีความเห็นถูกว่า การใช้ห้องสุขาแล้วทำให้สะอาด

และแห้ง เป็นกรรมดี มีผลดีจริงแก่ตนเองและผู้อื่น

๑.๒ มีสติสัมปชัญญะ : เอาโจกสับมาไว้ในตัว กลางตัว เป็นนิจ

๑.๓ สังเกตพิจารณา ะ สังเกตเพื่อรับรู้ช้อมูลความจริง สถานที่ บุคคล
ห้องสุขา ทั้งก่อน ขณะ และหสังการใช้ห้องสุขา เพื่อความไม่ประมาท สังเกตุ
อุจจาระ-ป้ลลาวะเพื่อดูแลสุขภาพตนให้เป็น

๑.๔ ปฏิบัติด้วยความสำรวม : ใช้สุขาให้ถูกต้องตามแบบแผนพระ

วินัยด้วยความสำรวมกาย วาจา ใจ ทั้งก่อน ขณะ และหลังการใช้ห้องสุขา

๒.ลังเกตพิจารณาด้วยใจที่อยู่ในตัว กลางตัว เป็นนิจ

ก่อนใช้ห้องสุขา ควรสังเกตพิจารณา สถานที่ บุคคล และห้องสุขา

อย่างรอบคอบ ตังนี้

๒.๑ สถานที่ : สังเกตว่าเป็นห้องสุขาขาย/หญิง เพื่อจะได้เช้าห้องนํ้าไต้
ถูกต้องตามเพศภาวะ สังเกตว่า มีรองเท้าเปลี่ยนเช้าห้องนํ้า มีผ้าเช็ดทำความ

ละอาด มีอ่างล้างมีอ มีกระดาษขำระ มีนํ้าขำระ มีถังขยะ หรือไม่ เพื่อเตรืยม
ความพร้อมก่อนใช้ รักษาความละอาด และเป็นการทำถูกต้องตามแบบแผน

ของลถานที่นั้นๆ

www.kalyanamitra.org

๙๒

๒.๒ บุคคล ะ สังเกตว่ามีผู้กำลังใช้ห้องนํ้าอยู่หรือไม่ โดยเช้าห้องนํ้าตาม
ลำ ดับผู้มาก่อน-หลัง ไมโซ่ตามผู้อาวุโส เพื่อจะไดั1ม่เกิดการกระทบกระทั่ง
ทั้งนี้ควรสังเกตว่ามีใครจำเป็นต้องเช้าก่อนเราหรือไม่ เซ่น ผู้อื่นปวดหนักกว่า

ท้องเสีย เป็นต้น ก็ควรให้เช้าก่อนไต้ เพื่อแสดงความเอื้อเพื่อต่อกัน ซ่วยคลาย

ทุกฃให้กับผู้อื่น

๒.๓ ห้องสุขา : สังเกตลักษณะกายภาพของห้องสุขา
๑)ด้านความปลอดภัย จากสัตว์ร้าย-คนร้าย ไฟรั่ว-ไฟซ๊อต ปลั้ก

ไฟ ของแหลมคม หลุม ปอ พื้นเปียก-แฉะ-ลื่น ตะไคร่นํ้า เพื่อป้องกันการ

เกิดอุนัติเหตุอันตราย

๒)ด้านมารยาท สังเกตประตูห้องนี้าปิดหรือเปิดอยู่ โดยตูจาก
สัญลักษณ์ที่ประตูหนัาห้อง เป็นการพิจารณาว่าห้องนํ้านั้นว่างอยู่หรือไม่

ถ้าไม่มีสัญลักษณ์ ให้กระแอม เคาะประตูเบาๆ หรือผลักบานประตูเบาๆ

๓)ด้านความสะอาด-สกปรกลำรวจสุขภัณฑ์อุปกรณ์ในห้องนํ้าว่า
พร้อมใช้งานหรือไม่ เพื่อ'ฝึกความมีสัจจะในการใช้อุปกรณ์ให้ตรงตามหน้าที่
ของอุปกรณ์ และสังเกตความสะอาด-สกปรกของห้องนํ้า

การสังเกตทั้ง ๓ ด้าน คือ สถานที่ บุคคล และห้องสุขาก่อนใช้

เป็นการ!!กความไม่ประมาท มีสติ ระมัดระวังตัว แล้วจึงเช้าไปใน
ห้องสขา

www.kalyanamitra.org

(tn

ท. ปฏิบัติด้วยความสำรวมเป็นนิจ

มีความสำรวมกาย สำ รวมวาจา สำ รวมใจในทุกขั้นตอนที่ปฏิบัติ ดังนี้

๓.๑ เปีดสวิทซ!ฟแสงสว่าง และพัดลมดูดอากาศ(ถ้ามี)เพื่อความปลอดภัย

และอากาศถ่ายเท เปิดใช้ให้พอเหมาะภับการใช้งาน ซ่วยประหยัดพลังงานและ

ค่าไฟ ถอดรองเท้าของตนแล้วจัดหรือเรียงรองเท้าให้เรียบร้อย เพื่อความเป็น

ระเบียบดูสบายตา น่าเลื่อมใส และสวมรองเท้าประจำท้องนํ้า (ถ้ามี) ก่อนเช้า

ท้องนํ้าเพื่อบีองลันเชื้อโรคและไม่ทำให้พื้นท้องนํ้าสกปรก

๓.๒นำ ผ้าสว่างหรือผ้าเช็ดทำความสะอาดเข้าไปด้วย(ถ้ามี)เพื่อจะได้!ข้

ทำ ความสะอาดสุขภัณฑ์ทั้งก่อนใข้และหลังใช้ให้สะอาดและแท้ง
๓.๓ สังเกตประตูท้องนํ้า สัญลักษณ์หน้าประตู หากคาดว่ามีผู้ใช้ท้องนํ้า

อยู่ ควรกระแอมหรือผลักบานประตูเบาๆ หรือเคาะเบาๆ ที่หน้าประตูเพื่อ
ตรวจสอบว่ามีใครอยู่ในท้องนํ้าหรือไม่

๓.๔ ผู้อยู่ในท้องนํ้าควรกระแอมตอบ หรือเปิดนํ้าเพื่อเป็นการแสดงใท้รู้
ว่ามีผู้กำลังใช้ท้องนํ้าอยู่

๓.๕ หากมีผ้าจีวรพาดบ่า ควรพาดไว้ที่ราวตากหรือตะขอ (ถ้ามี) หากมี
ย่ามหรือสัมภาระ ควรวางให้เรียบร้อย เพื่อบีองกันการเปรอะเปีอนและการ
ติดเชื้อโรค

๓.๖ ไม่รีบร้อนเช้าไป เพื่อบีองกันการลื่นล้ม การขนผู้อื่น และอาจ

เหยียบสัตว์เป็นหรือสัตว์ร้าย

๓.๗ ไม่ควรเวิกผ้า สบง ก่อนเช้าไปในท้องนํ้า เพื่อปกปิดความไม่งาม

น่าละอาย

www.kalyanamitra.org

(tCt

๓.๘ ปีดประตูให้เรียบร้อย เพื่อให้รู้ว่ามีผู้กำลังไซ้ห้องนํ้านี้อยู่ หากห้อง

สุขามีสิ่งสกปรกตกค้าง พึงทำความสะอาดก่อน

๓.๙ กดหรีอราดนํ้า เพื่อไมให้อุจจาระติดโถสุขภัณฑ์ และเข็ดฝารองนั่ง

ด้วยนํ้ายาทำความสะอาดก่อนไซ้ เพื่อความปลอดภัยจากการติดเชื้อโรค

๓.๑๐ เมื่อเซ้าไปไนห้องนํ้าแล้วค่อยเวิกผ้า รวบผ้าไห้เรียบร้อยเพื่อผ้า

จะได้ไม่เปรอะเปีอน

๓.๑๑ เพื่อไห้เหมาะกับสมณสารูป ไม่ยืนถ่ายปัสสาวะ ควรเลือกไซ้

ห้องนํ้าและสุขภัณฑ์ที่ออกแบบไว้สำหรับนั่งถ่ายเท่านั้นเพื่อไม่ไห้ปัสสาวะ

โดนตัว กระเด็นเลอะเทอะ

๓.๑๒ ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะออกนอกโถสุขภัณฑ์ ไม่บ้วนนํ้าลาย

เสมหะลงบนพื้นทางเดิน พื้นห้องนํ้า หรีอไนร่องนั้า ร่องระบายนํ้า ไห้บ้วน

นํ้าลายเสมหะลงโถสุขภัณฑ์ อย่าไห้กระเด็นออกนอกโถ ห้องนํ้าจะได้ไม่
สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ การแพร่กระจายเชื้อโรค และผู้ที่มาไซ้ต่อจากเรา

มีความสบายไจ เป็นทางมาแห่งบุญ

๓.๑๓ ขณะขับถ่าย พึงสำรวม โดย ๑) เพื่อสุขอนามัยที่ด็ เวลาขับ

ถ่าย ไม่ควรเบ่งแรง ไม่ถอนหายไจแรง เพราะอาจทำไห้เป็นโรคริดสีดวงทวาร

อาจทำไห้ความตันโลหิตสูง เส้นเลือดสมองแตกไค้ หรีออาจเป็นลมหน้ามีด

ส้มไนห้องนํ้าได้ ไม่ขบฉันและไม่แปรงพึนไนขณะขับถ่าย ๒) เพื่อรักษาไจไห้
ผ่องไส เป็นสมาธิไม่พึงซ่าน มีสติลัมปขัญญะ แสะระบบขับถ่ายทำงานได้

สะดวก ไม่ไซ้โทรศัพท์มีอถือ ไม่อ่านหนังสือ ขณะทำภารกิจควรตรีกระลึกถืง

องค์พระ หริอดวงแก้วไสๆ ๓) เพื่อสร้างบรรยากาศไนการอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุข ไม่เป็นการรบกวนไม่ก่อความรำคาญ มีความเกรงอกเกรงไจต่อผู้อื่น

www.kalyanamitra.org

g!(ร!

ไม่คุย ไม่ส่งเสียงดัง ไม่ตะโกน ไม่คุยกันข้ามห้อง ไม่ถ่ายเสียงดัง โดยราดนํ้า

หรือกดนํ้าเพื่อกลบกลิ่นและเสียง

๓.๑๔ สังเกตพิจารณา อุจจาระ ปัสสาวะ เพื่อประโยชน์ คือ

๑) เพื่อความไม่ประมาทมัวเมา หลงใหลในความสวยงาม

ความเป็นหนุ่มเป็นสาว ความไมมัโรค และลดทิฏฐิมานะ ให้สังเกตความ
ไม่งามของอุจจาระ ปัสสาวะ

๒) เพื่อตรวจสอบความปรกติ-ผิดปรกติของร่างกาย โดย

สังเกตจากสักษณะอุจจาระ ปัสสาวะ สี กลิ่น ปริมาณ
๓) เพื่อเสือกขบฉันภัตตาหารให้ถูกหสักโภขนาการในครั้งต่อๆ ไป

๔) เพื่อรูประมาณการขบฉันในครั้งต่อๆ ไป คือฉันอย่างมีสติ
เคี้ยวให้ละเอียด ตรืกดวงธรรมในทุกคำกลืน อีก ๔-๕ คำ จะอิ่มให้หยุด

แล้วดื่มนํ้าตาม

๓.๑๔ เปีดนํ้ากลบเสียง ราดนํ้ากลบกลิ่น หรือกดชักโครกเป็นระยะๆ
เพื่อลดเสียงและกลิ่นอันไม่พิงประสงคํไปรบกวนผู้อื่น

๓.๑๖ ทำ ความสะอาดอวัยวะชับถ่ายด้วยนํ้า และหรือกระดาษชำระ

หรือวัสดุที่สะอาดปลอดภัย ให้สะอาด ในสมัยพุทธกาลจะไม่ชำระด้วยไม้หยาบ

หากมีนํ้าต้องชำระด้วยนํ้า ซึ่งการชำระด้วยไม้หยาบหรือไม้ที่ขรุฃระ อาจ

ทำ ให้เกิดบาดแผลได้ แต่ปัจจุบันส่วนมากไม่ได้1ข้1ม้ในการชำระ เปลิ่ยนมาใข้

กระดาษหรือนํ้าชำระแทน โดยทำความสะอาดอวัยวะด้วยนํ้าให้สะอาด และ
เข็ดให้แห้งเพื่อปัองกันการติดเชื้อโรค

www.kalyanamitra.org

๕๖

๓.๑๗ ไม่ชำระให้มีเสียงดัง โดยการเปีดนํ้ากลบเสียง เพื่อไมให้เสียง

ไปรบกวนผู้อื่นและป้องกันกามราคะกำเริบ

๓.๑๘ ให้ทิ้งกระดาษชำระหรือวัสดุที่ใซ้ชำระลงในที่จัดไว้ให้ ไม่ทิ้ง
ลงพื้นเพื่อไม่ให้ท่อนํ้าอุดดัน และ!เกความไม่มักง่าย ไม่สร้างป้ญหาเพื่มทุกข์

ให้กับผู้อื่น
๓.๑๙ หลังทำธุระเสร็จแ๓ ราดนํ้าหรือกดซักโครก จนปราศจากสิ่งสกปรก

เพื่อป้องกันความน่ารังเกียจ การแพร่เชื้อโรค เป็นการ!เกนิลัยรักความสะอาด

ไม่มักง่าย และทำให้ผู้ที่มาใช้ต่อจากเรามีความสบายใจไม่มีทุกข์เพื่ม
๓.๒๐ จัดผ้านุ่ง สบง ให้เรืยบร้อยก่อนออกจากห้องนํ้าเพื่อปกนิด

ความไม่งาม

๓า..๒๑ไม่รืบร้อนออกมาเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการซนผู้อื่น
๓ไ..๒๒ ทำ ความสะอาดพื้นและโถสุขภัณฑึไห้สะอาดและแห้งเพื่อป้องกัน

การลื่นล้ม ป้องกันการติดเชื้อ และการแพร่กระจายซองเชื้อโรคเพราะเชื้อรา

แบคทีเรืย ไข่พยาธิ และเชื้อโรคต่างๆ จะตายหรือลดการสะสมเมื่อโถสุซกัณฑ์

พื้น ผนังห้องนํ้า สะอาดและแห้ง ถ้าเป็นโถซักโครก หลังการใช้!ห้ทำความ
สะอาดฝารองนั่งด้วย เพื่อป้องกันการติดเชื้อ การทำห้องนํ้าให้สะอาดและแห้ง

เพื่อไมให้เกิดคราบตะกรัน เป็นการ!เกนิลัยรักความสะอาด รักความพิถีพิลัน

ไม่มักง่าย ทำ ให้ผู้มาใช้ภายหลังมีความสบายใจ

๓.๒๓ ถ้านํ้าในลังพร่องควรเติมนํ้าประมาณ ๓ใน ๔ซองลัง ควํ่าซันนํ้า

เพื่อเอื้อเพื่อและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ที่มาใช้ห้องนํ้าต่อ จากเรา

www.kalyanamitra.org

<£๗

๓.๒๔ ถ้าถังขยะใส่กระดาษชำระเต็มให้นำไปเททิ้งในที่เหมาะสมไม่ทิ้ง

รวมถับฃยะอื่นๆ ควรผูกปากถุงให้มิดชิดเพื่อป้องถันการแพร่เชื้อโรค และไม่
สร้างป้ญหาเพื่มให้ถับผู้อื่น เซ่น ผู้ลำ เลียงขยะ ผู้แยกขยะ

๓.๒๔ เช็ดรองเท้าห้องนํ้าให้สะอาด เพื่อรักษาความสะอาด ป้องกัน

การแพร่กระจายของเชื้อโรค และจัดเรียงให้เรียบร้อยเพื่อให้ผู้มาใช้คนต่อไป

หยิบใช้1ด้ง่าย

๓.๒๖ ถ้าบริเวณรอบๆ ห้องสุขาสกปรก ให้ลำความสะอาดเพื่อป้องถันภัย

จากสัตว์ร้ายและการเกิดอุป้ติเหตุ ตรวจสอบไฟฟ้า แสงสว่าง พัดลมดูดอากาศ

ถ้าไม่มีผู้[ช้ท้องนํ้าต่อจากเราให้ป้ด เพื่อประหยัดพสังงานและค่าไฟฟ้า เป็นการแก

ความมิสติ สร้างนิสัยซ่างสังเกต ละเอียดรอบคอบและป้องภันสัตว์แมลงที่ขอบ

แสงไฟตกลงในโถส้วม ถังนํ้า ป้องถันแมงมุมสร้างใย เพื่อดักจับแมลง และ
จิ้งจกมากินแมลงแส้วถ่ายมูล ทำ ให้ห้องนํ้าไม่สะอาด ขณะทำความสะอาด
ให้ตรวจสอบห้องนํ้าและอุปกรณ์ว่าชำรุดเลียหายหรีอไม่ จะได้ซ่อมแซม ซึ่งเป็น

การรักษาสมบติพระศาสนา

๓.๒๗ ก่อนออกจากห้องนํ้าให้ตรวจสิ่งของส่วนตัวว่าหยิบครบหรีอไม่

เพื่อรักษาทรัพย์สินและแกนิสัยรอบคอบ มิสติไม่เผลอ

๓.๒๘ ส้างมิอให้สะอาด เช็ด หรีอใช้เครื่องเป่าลมให้มิอแห้งทุกครั้ง หสัง

เสร็จภารกิจ

www.kalyanamitra.org

๙๘

f ■รุ

การจัดกระบวนการเรียนร้

การแกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร

1

พระสูตรที่ใช้เป็นหลักในการแกให้เกิดการเรียนรู้ มีนิลัยรักการ

ทำ ความสะอาด จัดระเบียบ ทำ ด้วยใจที่ผ่องใสผ่านวัจกุฎีวัตร คือ

บีณญาวฑฒิสตร ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน ดังนี้
Q> Q> ริ! ^

๑. คบสัตบุรุษ : มีครูดีเป็นแบบอย่าง

๒. ฟิงพระสัทธรรม ะ ฟ้งคำครูให้ครบ

๓. ตรองธรรมโดยแยบคาย : ตรองคำครูให้ลึก

๔. ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม : ปฏิบัติให้ได้ดีเหมีอนครู

ขั้นตอนที่ ๑ คบสัตบุรุษ ะ มีครูดีเป็นแบบอย่าง

วัตกุประสงค์ เพื่อให้พระนวกะเห็นความประพฤติการใช้ห้องสุขาที่

ถูกต้องตามพระวินัย จะใต้เกิดแรงบันดาลใจ ปรารถนาแกตนให้สมเป็น

บรรพชิต

วิธีปฏิบัติในขั้นตอนมีครูดีเป็นแบบอย่าง

๑.๑ พระอาจารย์ และพระพื่เลี้ยงช่วยกันจัดหา จัดเตรียม ห้องสุขา
และวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการใช้ห้องสุขา ให้เพียงพอ ให้สะอาดเป็นระเบียบ

พร้อมใช้งาน

๑.๒ พระอาจารย์ และพระพื่เลี้ยง ประพฤติวัจกุฎีวัตรถูกต้องตามพระ

วินัยให้พระนวกะเห็นเป็นแบบอย่างการปฏิบัติในขีวิตประจำวัน

www.kalyanamitra.org

๕๙

๑.๓ สถานที่ บริเวณ ห้องสุขา สะอาดและแห้งตลอดเวลา จนยกใจพระ

นวกะให้เลื่อมใส ศรัทธาต่อสถานที่ ต่อพระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง

๑.๔ พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง มีเมตตาจิตต่อพระนวกะ โดยพูด

ถ้อยคำไพเราะสละสลวยไม่หยาบคาย ไม่แสลงใจ ประกอบด้วยเหตุผลตาม

หลักกฎแห่งกรรม มรรคมีองค์แปด ฆราวาสธรรม ฯลฯให้ยกเรื่องจริงที่พระ

อาจารย์และพระพี่เลี้ยง แกตัวแบบเอาชีวิตเป็นเดิมพันจนทำได้สำเร็จ เล่าให้
พระนวกะฟ้ง จะได้เกิดแรงบันดาลใจแกตนตามวัตรให้ถูกด้องตามพระวินัย

ทั้งนึ๋ให้ปฏิบัติตามลีลาการสอนของพระพุทธเจ้า ตังนี้

๑)ส'นฺทสฺสกา : ชี้แจงให้พระนวกะเห็นชัด ในเรื่อง

๑.๑)ความรู้พื้นฐานเรื่องพระวินัย

๑.๒)ความสำคัญของการประพฤติวัตรในมิติ การเข้าถึงธรรม
กฎแห่งกรรม มรรคมีองค์ ๘ ฆราวาสธรรม เป็นด้น

๒)สมาทปกา : ซวนใจให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ

๓)สมุตฺเตชกา : เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้าในการปฏิบัติ

๔)สมปหํสกา : ปลอบขโลมใจให้สดขื่นร่าเริง

ขื้นตอน'ที่ ๒ 'ฝังพระสัทธรรม ะ ฝังคำครูด1ห้ครบ

วัตถุประสงค์ เพี่อให้รู้ชัดวัจกุฎีวัตร รู้ชัดขั้นตอน รู้ชัดวิธีการใข้ห้อง
สุขาและรู้ชัดเหตุผลแต่ละขั้นตอน

วิธีปฏิบัติใน'ฃั้นตอนฝังคำครูดีให้ครบ

๒.๑ พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง ศึกษาหน่วยแก "ล้างล้น ล้างใจ

ไปนิพพาน" ให้เข้าใจครบทกหัวข้อ

www.kalyanamitra.org


Click to View FlipBook Version