&.0
๒.๒ พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง พาพระนวกะเดินดูห้องสุขา พร้อม
แนะนำ
๑)ลักษณะห้องสุขาและการใช้งาน
๒)ประเภทและหน้าที่การใช้งานของวัสดุอุปกรณ์ประจำห้องสุขา
แล้วจึงศึกษาหน่วยแกวัจกุฎีวัตร ในช้อ ๒.๓ เพี่อให้เห็นภาพตรงกัน
๒.๓ พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง และพระนวกะ อ่านเนื้อหาธรรมใน
หน่วยแกพร้อมกัน ในหัวช้อต่อไปนื้
๑)ความรู้พื้นฐานเรื่องพระวินัย
๒)ที่มาของวัจกุฎีวัตร
๓)ความประพฤตการใช้ห้องสุขาของพระภิกษุ
๔)ระดับความประพฤติการใช้ห้องสุขา ของพระกำลังแกดัว
พระตั้งใจแกดัว และพระต้นแบบ
๔)บทแกวัจกุฎีวัตร
เมื่ออ่านแล้ว อธิบาย ซักถาม โดยให้พระนวกะเล่า บอก อธิบายว่า
เช้าใจอย่างไร ทำ ไมจึงเช้าใจเข่นนั้น จะน่าไปปฏินัติอย่างไร
๒.๔ พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยง บอก อธิบายวัตถุประสงค์การแก
วัจกุฎีวัตร ชี้ คุณ-โทษ การปฏิบัติ-ไม่ปฏิบัติวัจกุฎีวัตร ตามมาตรฐานพระ
ธรรมวินัยว่าเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่วอย่างไร เปิดโอกาสให้ซักถามเหตุผล
และให้พระนวกะน่ามาทดลองปฏิบัติแบบที่ถูกและผิดเพี่อให้เห็นคุณ-โทษ
โดยอธิบายเชื่อมโยงถึงหลักธรรม เข่น อริยมรรคมีองค์ ๘ กฎแหงกรรม
ฆราวาสธรรม ลัมมาทิฏฐิ ตัวอย่างเข่น ทานมีผล คือการเอื้อเฟ้อแบ่งป้น
สิ่งที่ควรให้ เป็นกรรมดีมีผลจริง คือ มีผลขาตินื้ ขาติหน้า และชาติต่อๆ ไป
สิ่งที่ควรให้1ด้แก่ ให้สิ่งของ ให้ความสะอาด ให้ความมีระเบียบ ให้ความ
ปลอดภัย ไม่เกิดอุบัติเหตุ ไม่เกิดการติดและการแพร่ระบาดเชื้อโรค ทำ ให้
สบายกาย สบายใจ อารมณดี
www.kalyanamitra.org
(ร!Q
๑) เพราะความแข็งแรงของกายมนุษย์เป็นอุปกรณ์สำคัญยิงของ
นักสร้างบารมี
๒)เพราะความสกปรกทำให้เกิดการติดเชื้อโรคถึงขั้นทำให้เสียขีวิตได้
๓) เพราะความสะอาด ความเป็นระเบียบ และการมีสุขภาพดี
ทำ ให้การสร้างบารมีเป็นไปอย่างมีความสุข
๔)เพราะความสะอาด ความมีระเบียบ ทำ ให้ใจสบาย ปลอดกังวล
ไม่มีสิงใดที่จะตำหนิตนเอง ไม่มีอะไรผุดมาติดค้างในใจ ไม่มีอะไรหน่วงใจ
ส่งผลให้ใจนุ่มนวล ใจจึงเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ทำ ให้ใจหยุดนิ่ง
๒.๔ พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยงบอก กส่าว เส่า ยกตัวอย่างจากขาดก
จากพระสูตรต่างๆ หรือยกคำสอนของเหส่าพระมหาเถรานุเถระ ผู้เป็นบัณฑิต
บักปราขญ ทั้งในอดีต และบีจจุบันมาประกอบ
ขนตอนที่ ๓ ตรองธรรมโดยแยบดาย ะ ตรองคำครูให้ลึก
วัตถุประสงค์ เพี่อแกคิดพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุหาผลโดยใช้
หลักธรรมจนรู้ช้ดด้วยใจตนเอง
วิธีปฏิบัติในขั้นตอนตรองคำครูให้ลึก
๓.๑ นำ ผลการปฏิบัติการใช้ห้องสุขาของแต่ละรูป มาประชุมกลุ่มเพี่อ
ให้ได้คิดพิจารณาเหตุผลตามที่ระบุในบท!!เกโดยสิกคิดสิบลาวเหตุไปหาผล
เห็นผลที่เกิดก็ตรองไปจนถึงด้นเหตุ เป็นการคิดรู้เหตุรู้ผลด้วยโยนิโสมนสิการ
๓.๒ เปีดโอกาลให้พระนวกะซักถามจนเช้าใจทั้งใน-นอกรอบการประชุม
๓.๓ พิจารณาช้อควรระวัง
อุบัติเหตุทางใจ วัจกุฎีวัตรไม่ใข่งานของคนรับใช้ เป็นงานการ
<ฝ^็1กกาย วาจา ใจ ให้ละอาดบริสุทธื้ เพี่อเช้าถึงธรรม
อุบัติเหตุทางกาย ระวังติดเชื้อจากความสกปรกของวัจกุฎี
www.kalyanamitra.org
๕๒
ชื้นตอนที่ ๔ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
อนดรู
วัตถุประสงค์ เพื่อปฏิบัติวัจกุฎีวัตรด้วยตนเอง จนมีนิสัยพิถีพิถัน
ไม่มักง่าย มีสัมมาทิฏเ มีสติสัมปชัญญะ มีความช่างสังเกตพิจารณา และ
มีความสำรวม
วิธีปฏิบัติ
๔.๑ ปฏิบัติวัจกุฎีวัตร โดยเน้น ๖ ข้อก่อนคือ ๑)ไม่ยืนถ่ายปัสสาวะ
๒)ไม่ถ่ายอุจจาระ-ปัสสาวะนอกโถสุขภัณฑ์ ๓) เปีดนํ้ากลบเสียง ราดนํ้า
กลบกลิ่นขณะชันถ่าย ๔) หสังทำธุระเสร็จให้ราดใ!า จนปราศจากลิ่งสกปรก
๕) ห้องสุขาด้องสะอาดและแห้ง ๖) ถ้าบริเวณรอบห้องสุขาสกปรกให้
ทำ ความสะอาด การกระทำใ^ง ๖ ข้อ ต้องทำอย่าง ๑) อารมณ์ดี สบายใจ
๒) มีสัมมทิฏฐิ ๓) มีสติสัมปชัญญะ ๔) สังเกตพิจารณา ๔) สำ รวมกาย
วาจา ใจ และ ๖)แหตุผลการปฏิบัติ
๔๒ เมื่อปฏิ■บติแล้ว ให้ประชุมแบ่งปีนประสบการณ์กับพระอาจารย์และ
พระพื่เลี้ยง พร้อมกับประเมินตัวเองว่า ทำ ได้ตามมาตรฐานพระธรรมวิน้ย
หรือไม่ โดยเทียบกับเกณฑ์ระดับความประพฤติการใข้ห้องสุขาของพระภิก'บุ
๔.๓ เพื่มระดับการปฏิบัติวัจกุฎีวัตรจาก พระกำลังแกตัว เปีนพระตั้งใจ
แกตัว เปีนพระต้นแบบ โดยแกปฏิใวัติตามระตับความประพฤติการใช้ห้องสุขา
ของพระภิก'บุ จาก'นั้นทบทวนและประเมินตัวเองว่าทำไต้ตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่
และกราบเรืยนถามพระอาจารย์และพระพื่เลี้ยงถึงแนวทางการปฏิใวัติให้สำรวม
ระวังยิ่งๆขึ้นไป
www.kalyanamitra.org
๕(ท
การติดตามให้กำลังใจ
การแกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร
การติดตามให้กำลังใจระดับรายบุคคล
ให้แต่ละรูปพิจารณาการปฏิบัติวัจกุฎีวัตรของตนเองว่า
๑)ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัยหรือไม่
๒)อารมณ์ขณะปฏิบัติเปีนอย่างไร
๓)ใจอยู่ที่ไหนขณะปฏิบัติ
๔)รู้เหตุผลการปฏิบัติจากความจำ หรือการไตร่ตรองแบบ
โยนิโสมนสิการ หรือจากความความสว่างภายไนตัว
การพิจารณาตนทั้ง ๔ หัวฃ้อนี้เพื่อหาข้อดี ข้อบกพร่อง ที่ตนต้องเร่ง
พัฒนา ปรับปรุง เพราะความผิดพลาดของเรา เราพึงเห็นและพัฒนาเป็น
คนแรกก่อนคนอื่นเสมอ โดยปฏิบัติดังนี้
๑. เขียนบอกความยอดเยี่ยม (The Best) หรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไข
โดยพิจารณา ไตร่ตรอง เหตุผลจากการปฏิบัติวัจกุฎีวัตรของตนเอง
๒. เขียน บอก หรือออกมาเล่าไห้หมู่คณะพิงว่า ตนเองมีวิธีสร้างกำลัง
ไจการปฏิบัติวัจกุฎีวัตรไห้ได้อย่างยอดเยี่ยมตามมาตรฐานพระธรรมวินัยไต้
อย่างไร
๓. พระอาจารย์และพระพื่เลี้ยง หมั่นลังเกต เอาไจไล่ ดูแลแนะนำ
ภายไต้บรรยากาศเมตตาจิตเอื้อเพื่อต่อกัน
www.kalyanamitra.org
การติดตามให้กำลังใจระดับกลุ่ม
๑. พระอาจารย์และพระพี่เลี้ยงพาพระใหม่-เก่าเดินตรวจห้องสุขา แล้ว
บอก อธิบายข้อดีที่ภาคภูมิใจ ข้อควรพัฒนา พร้อมบอกเหตุผลว่าทำอย่างไร
จึงจะพัฒนาตนเองให้ถึงเกณฑ์มาตรฐานตามพระธรรมวินัย และเปิดโอกาส
ให้ซักถาม
๒. ประขุมกลุ่ม ในหัวข้อผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังการปฏินัติ
วัจกุฎีวัตร และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
๓. ยกย่องให้กำลังใจผู้ปฏิบัติถูกต้องในแต่ละรอบของการมาเยี่ยมซม
ติดตามโดยการประกาศเกียรติคุณในโอกาสต่างๆ หรือจัดบอร์ดประซาสัมพันธ์
การติดตามให้กำลังใจระดับโครงการ
๑. พระอาจารย์แสะพระพี่เลี้ยงพาพระนวกะเดินตรวจห้องสุขา แล้วบอก
อธิบาย ข้อดีที่ภาคภูมิใจ ข้อควรพัฒนา พร้อมบอกเหตุผสว่าทำอย่างไรจึงจะ
พัฒนาตนเองให้ถึงเกณฑ์มาตรฐานตามพระธรรมวินัย และเปิดโอกาสให้ซักถาม
๒. ถ่ายวิดีโอ ๑-๓ นาที ส่งถวายพระเถระ พร้อมรับคำแนะนำจากท่าน
๓.ประธานแต่ละโครงการหมุนเวียนกันมาเยี่ยมขมให้กำลังใจ แลกเปลี่ยน
ให้คำแนะนำ อาจส่งรายงานถวายพระเถระด้วย
๔.นิมนต์พระเถระ ไปเยี่ยมขม ขื่นซมในบางโอกาสโดยไม่บอกส่วงหน้า
๕. ข้อแนะนำต่างๆ ให้นำเข้าส่ที่ประขุมเพี่อรับทราบทั่วถึงทุกรูป และ
ประขุมเพี่อปรับปรุงแก้1ข และพัฒนาให้ยี่งๆ ขึ้นไป จนใข้ห้องสุขาด้วยใจที่
ผ่องใสบริสุทธิ้
www.kalyanamitra.org
๕๕
rr —^
การประเมินผลการ'ฝ็กตัวผ่านวัจกุฎีวัตร
๑. สิ่งที่จะประเมิน : ผลการ'ฝึกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร
๒. เกณฑ์การประเมิน ใช้เกณฑ์ดังนี้
๒.® การเรียนเของพระภิกษุ
๒.๑.๑ ทำ งานพิถีพิถัน โดยพิจารณาจากการไม่มักง่าย
๒.๑.๒ เป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิ มิสติสัมปชัญญะ มิความช่างสังเกต
มิความสำรวม มิความเป็นทีมหรือไม่
๒.๑.๓ เป็นผู้ถือธรรมหรือถืออารมณ์หรือถือความเคยซิบ
เป็นใหญ่
๒.๑.๔ ความรู้เหตุ รู้ผล ะ
๑)คิดไตร่ตรอง จนรู้เหตุและผลจากข้อมูลความจริง
ที่ได้จากการสังเกต และพิจารณาใคร่ครวญตามหสัก
ธรรมและหสักวิซาการ
๒)"ฝึกใจหยุดนิ่ง เป็นเอกัคคตาจิต ใจสว่างในตัว จึง
เห็นและรู้ความเป็นเหตุเป็นผล
๒.๑.๕ให้เขียนจากความเป็นจริงว่า เมื่ออยู่ที่บ้านใข้ห้องนํ้า
อย่างไร หสังการ'ฝึกวัจกุฎีวัตร ให้เขียนบรรยายว่า
ตนเองใข้ห้องสุขาอย่างไรและเปรียบเทียบความแตก
ต่างการไข้ห้องสุขา ก่อนและหสังการ'ฝึก
๒.๒ ห้องสุขา และอุปกรณ์ : บริเวณห้องสุขาและภายในห้องสุขา
ละอาด แห้ง เป็นระเบียบตลอดเวลา
www.kalyanamitra.org
๕๖
๒.๓ ความประพฤติการใช้ห้องสุขา ะ พิจารณาห้องนํ้าว่า สะอาด
และแห้งตลอดเวลา อุปกรณ์เป็นระเบียบหรือไม่ ซึ่งเป็นสิ่งสะท้อนความ
ประพฤติการไซ้ห้องสุขา
๒.๔ บรรยากาศการแก ะ มีความปลื้มปีติ ความเป็นทีม หรือมี
ความเดรืยด เบื่อหน่าย เก็บกด ทนทำ โดยอาจดูจากการจดบันทึกประจำ
วันของพระนวกะ เข่นการจับดีตนเองและผู้อื่น หรือจากการสังเกต การ
สนทนาพูดคุย เป็นต้น
๒.๕ ผลต่อการปฏิบัติธรรมและการปฏิบัติงาน ะ การปฏิบัติ
วัจกุฎีวัตร มีผลในต้านต่อไปนี้อย่างไร
ผลด้านกายภาพ
๑)สุขภาพกาย-ใจ ของตน
๒)การทำงานเป็นทึม
๓)การปฏิบัติงานที่ไต้รับมอบหมาย
๔)การปฏิบัติธรรม
ผลด้านคณธรรม
ลมผธรรม ฆราวาลธรรม
๑)มีสัมมาทิฏฐิ ๑)มีสัจจะ
๒)มีสติสัมปชัญญะ ๒)มีทมะ
๓)มีชันติ
๓)มีความข่างสังเกตพิจารณา ๔)มีจาคะ
๔)มีความสำรวมกาย วาจา ใจ
www.kalyanamitra.org
๓. การวินิจฉัย ๕๗
ระดับพระกำลังแกตัว
ไฝผ่าน
เกณฑ์ ผ่าน
- สกปรก ไม่แห้ง > ๓ ครั้ง
๑.ห้องสุขา - สะอาด แห้ง > ๓ ครั้ง - อุปกรณ์ในห้องนาไม่ครบ
- อุปกรณ์ในห้องใภํ้ครบ วางไม่ถูกที่ > ๓ ครั้ง
วางถูกที่ > ๓ ครั้ง หงุดหงิด เครียด
๒. อารมณ์ อารมณ์ดี สบายใจ
ระดับพระกำลังแกตัว
เกณฑ์ ผ่าน ไฝผ่าน
๑. ห้องสุขา - สะอาด แห้ง ตลอดเวลา - สกปรก ไม่แห้ง ^ ๑ ครั้ง
๒. อารมณ์ - อุปกรณ์ในห้องใภํ้ครบ - อุปกรณ์[นห้องนาไม่ครบ
วางถูกที่ ถูกวิธี ตลอดเวลา วางไม่ถูกที่ ไม่ถูกวิธี ^
๑ ครั้ง
อารมณ์เบิกบาน สุขใจ หงุดหงิด เครียด
๓.ใจ อยู่ในตัว อยู่นอกตัว
๔. รู้เหตุผล รู้ถูก > ๖ ข้อ รู้ผิด ^ ๖ ข้อ
๔. วิธีปฏิบัติ มีสติ —> สังเกต —> ไม่ครบ ๓ สำ ตับหสักธรรม
สำ รวมปฏิบัติ
www.kalyanamitra.org
๕๘
ระดับพระต้นแบบ
เกณพั ผ่าน ไฝผ่าน
๑. ห้องสุขา - สะอาด แห้ง ตลอดเวลา - สกปรก ไม่แห้ง ^ ๑ ครั้ง
- อุปกรณ์ครบ ถูกที่ ถูกวิธี - อุปกรณ์ ไม่ครบ ไม่ถูกที่
ตลอดเวลา ไม่ถกวิธี ^ ๑ ครั้ง
ไม่สงบ ไม่ปลื้มใจ
๒.อารมณ์ สงบนึ่ง ปลื้มปีติใจ
๓.ใจ อยู่กลางตัว ไม่อยู่กลางตัว
๔. รู้เหตุผล รู้ถูก ^ ๒๘ ข้อ รู้ถูก < ๒๘ ข้อ
๔.วิธีปฏิบัติ —> ๑)มีลัมมาทิฏฐิ ไม่ครบ ๔ สำ ตับหลักธรรม
—> ๒)มีสติลัมปซัญญะ
—> ๓)ลังเกดพิจารณา
—> ๔)สำ รวมปฏิบัติ
๔. การพัฒนา
หากไม่ผ่านเกณฑ์วินิจฉัยข้อใดข้อหนึ่ง ให้ย้อนกลับไปตั้งต้นพัฒนาใหม่
ในสิ่งที่ประเมินไม่ผ่าน
โดยเริ่มพัฒนาใหม่ตั้งแต่ขั้นตอนที่ ๑-๔ ของการจัดกระบวนการเรียนรู้
การแกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร เพื่อพระอาจารย์ พระพื่เลี้ยง พระนวกะจะไต้รู้ซัด
เห็นซัด เข้าใจซัด ตรงกันในข้อควรพัฒนาของพระนวกะ
www.kalyanamitra.org
๕a
(( \
ผลการปฏิบAัตaิ/วAัQจ/ กุฎdีวa/ัตร
พระกองร้อยเนื้อนาบุญ
ปฏิบัติตามแบบแผนวัจกุฎีวัตร ด้วยจิตที่ผ่องใส เบิกบาน มีสติ
ไม่ประมาท เห็นคุณค่าและกระทาจนเป็นนิสัย
ควรปฏิบัติเพื่อเป็นการเพิ่มพูนสติและสัมปชัญญะตลอดเวลา เราจะ
ได้มีอารมณ์ทปีติ ปราโมทย์ แจ่มใส เบิกบาน มีโยนิโสมนสิการ สุขภาพ
ทางกายก็ดี ได้พิจารณาสังขารร่างกาย ลดการกระทบกระทั่ง อยู่รวมกัน
อย่างเป็นสุข
ส่งผลไห้ไจไสได้ยาวนาน ^ ไจอยู่กับเนื้อกับตัวไจตั้งมั่น หยุดนิ่งที่
ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ จนกระทั่งเข้าถงธรรมภายไน
พระสุขาติ ซิตฺวโซ พระธนัญชัย ญาณวิปุโล
พระสุเทพ รตฺนญาโณ พระอาทิตย์ อิทธิภทฺโท
พระณฐาภพ ฐิตฺเวโท
เข้าอย่างมีสติ รู้ตัว มีจิตสำนึกไนความรับผิดขอบ รักษาความสะอาด
อย่างประณีต ปลื้มไนบุญที่ได้รักษาความสะอาด
^สังเกตรูปร่าง สี กลิ่น ของอุจจาระ บิลสาวะ เมื่อไข้เสร็จแล้วไห้
ราดนํ้าไห้สะอาด เข็ดไห้แห้ง สำ รวจความเรียบร้อยก่อนออกจากห้องนํ้า
ตลอดเวลาที่เข้าห้องนํ้าไห้ทำด้วยอารมณ์สบาย มีสติและตรีกระลึกถึง
องค์พระไปด้วยไจที่ปลื้มๆ จะทำไห้ไจไส
พระกฤษณะ กมโล พระชะลอ ธมุมสิริโก
พระทวีศักด อติโสตถิโก พระกรกฎ มนุญโญ
พระประเสริฐ ฐานเสฎโฐ
www.kalyanamitra.org
เมื่อวัตถุประสงค์ของการเข้าห้องนํ้าฃองเราไมใช่เพียงเข้า เพื่อปลดทุกข์
แต่ต้องการเขาไปแล้ว เพื่อทำความสะอาดต้วย จึงทำให้เกิดความเป็น
ผู้ให้ ความเอื้อเพีอเผื่อแผ่ ต่อผู้ใข้ท่านถัดไป ใจก็ขยาย เกิดสุขจากความ
เ'มื่นผู้ให้ จึงทำให้ใจใสใจสบาย
พระไชยสอน ธีรนนฺโท พระศุภณัฐ อุตุตมวีโร
พระณัฐวีถั อธิวฑฺฒโน พระสิธิชัย ซยสิทฺโธ
พระจักรชัย อุตุตมชโย
เข้าห้องนํ้าอย่างไรให้ใจใส
๑)มีสติอยู่กับตัว
๒)ใจเย็นไม่รีบร้อน
๓)เสร็จกิจแล้ว ทำ ให้สะอาดและแห้งเสมอ
๔)ถ้ามีเวลา ช่วยถันดูแล ภาพรวมของห้องนํ้าและบริเวณรอบ ๆ
๔) สังเกตอุจจาระ ปัสสาวะ เมื่อรู้ปัญหาแล้วแก้ไข ไม่ทำให้เกิด
ปัญหาจากสรีระ เมื่อไม่มีโรคก็ทำให้ใจใส
พระพัฒนพงค์ ปภาวีชโช พระประหยัด สุพพโต
พระกิตติภูมิ สุทธวณโณ พระชวลิต ชวปญโญ
พระอัจพงษ์คุณจใ4โท
www.kalyanamitra.org
๖๑
พระนวกะ ๒
ก่อนเข้า-ออก ห้องส้วม หันมองสุขภัณฑ์ว่าสะอาดหรือไม่ ถ้าสกปรก
ให้ทำความสะอาดก่อน พื้นแห้งหรื^ม่ หลังจากการมาปรับไข้ทำให้
รู้สึกปลื้มใจ เพราะเราได้ดูแลสมบัติพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังได้ฝืกนิลัย
รกสะอาด ไม่ปล่อยผ่านเฒ'เรื่องเล็กน้อย มีความประณีตของใจมากขึ้น
ใจเย็น เข้าใจผู้อื่นมากยิ่งขึ้น คนที่มาใข้ต่อจากเราจะรู้สึกเหมีอนเป็นคน
แรกเสมอ
พระอดิศร อติสฺสโร พระนวกะ ๒
ทำ ความสะอาดอวัยวะให้สะอาด และลังเกตอุจจาระ-ป็สสาวะ ไม่
ทิ้งวัสดุใด ลงในโถ ราดนํ้า/กดชักโครก จนปราศจากสิ่งสกปรก ควํ่าชัน
และเติมนาในลังให้เรียบร้อย เช็ดทำความสะอาดทั้งบนฝาและใด้ฝารอง
นั่ง รวมทั้งพื้นห้องนํ้า ให้สะอาดและแห้ง ได้ฝืกนิลัยรักความสะอาด ใจ
สบาย หมดภังวล และการลังเกดเพื่อสุขภาพ คลายความมัวเมาในความ
หนุ่มสาว ความสวยงาม ให้ไม่ประมาทiนขีวิต มุ่งทำใจให้ใส
พระวรวิทย์ วชิโร พระนวกะ ๒
ไม่ควรเหลือนํ้าไว้ในกระบอกชำระ เพื่อปัองกันยุงมาวางไข่กลาย
เป็นลูกนํ้าทำให้ด้องฆ่าลัตว์ผิดศีลข้อ ๑ การทำแบบนี้ ทำ ให้รู้จักเอาใจใส่
ผู้อื่น แม้ว่าลัตว์เหล่านั้นจะเป็นเพียงลัตว์ตัวเล็กตัวน้อย แต่วาลัตว์ทุกตัว
เกิดมาบนโลกถ้วนแส้วแต่รักขีวิตของตนเองทั้งนั้น เราไม่ควรเบียดเบียน
ผู้อื่น และจะทำสิ่งใดก็ตามก็ต้องนึกถึงความเดือดร้อนต่อขีวิตผู้อื่นอันเกิด
จากการกระทำของตนเอง
พระสหัซชัย พลปณฺโญ พระนวะ ๒
www.kalyanamitra.org
๖๒
การไม่รีบร้อนเข้า-ออก ห้องนํ้าเร็วเกินไป เป็นการสำรวมระมัดระวัง
ไมให้เกิดอุบัติเหตุกับตัวเอง เซ่น เดินซนสิ่งของ หรีอลื่นหกล้ม
พระซนินทรี เฃมินโท พระนวกะ ๒
การไม่รีบร้อนเข้า-อุอก ห้องนํ้าเร็วเกินไป ทำ ให้ผมใจเย็นมากขึ้น
เพราะปกติเมื่อปวดท้องฉี่ หรีอปวดท้องหนัก ก็จะรีบร้อน ทำ ให้ปีดประตู
ห้องนํ้าแรง บางครั้งก็ลงกลอนประตูไม่สุด หลังจากที่ได้แกเข้า-ออุก
ห้องนํ้าอย่างมุสติ ไม่รีบร้อน ทำ ให้มือเบา คอยๆ ปีดประตู ใจเย็นมากขึ้น
และทุกครั้งที่ออกจากห้องนํ้า ผมจะหันกลับไปตูว่าราดนํ้าหมตุหรีอไม่
สุขกัณฑ์มืนํ้าก็จะเช็ดให้แห้ง เติมนํ้าในกัง ควํ่าขัน และรีดนํ้าที่พื้นก่อน
แล้วจึงจะออกมาจากห้องล้วม
พระสุทัศน์ กนฺตทสฺสโน พระนวกะ ๒
หลังจากแกตามหน่วยแกวัจกุฎี ได้นำหลักการพิจารณาอุจจาระ
ป็สสาวะ มาไข้ไนชีวิตประจำวัน โดยลังเกตสุ กสิ่น ปริมาณ ลั่กษณะ
อุจจาระ ป็สสาวะ ทำ ให้พิจารณาถึงอาหารที่ฉันเข้าไปแต่ละมื้อ จากแต่
กอนฉันไม่เลือก ปัจจุบันก็ลดประเภทเนื้อลัตว์ลง เพิ่มประเภทผัก ผลไม้
ทำ ให้ทุกวันนี้ขับถ่ายได้คล่องขึ้น และขับถ่ายทุกวัน
พระวิชาญ วิสุทธิญาโณ พระนวกะ ๒
www.kalyanamitra.org
t>n
/T
ภาพการนำหน่วยแกวัจกุฎีวัตร!ปปฏิบัติ
\= Jf
พึ๋นทางเดินในห้องนาสะอาด และ แห้ง
)
lyi" -
มีนํ้าในถังประมาณครึ่งถัง เพื่อ1วให้ทำความสะอาค
หลังถ่ายอจจาระ ปัสสาวะ
www.kalyanamitra.org
^)<t
_ -*
'ฯแแเ!ip I I- I ,y:'l :'^1
m'ii^Ti m.
ผ้าถูพนเพื่อฟ้บนํ้าที่หกเลอะพนห้องนํ้าให้สํะอาดและแห้ง
หลังใ^อ่างล้างมือ ควรใเโม้รีดนํ้า เพื่อให้อ่างล้างมือสะอาดและแห้ง
www.kalyanamitra.org
๖๕
แบ่งกันรับบุญทำความสํะอาดห้องนํ้าเพื่อความสามัคคี
และบ่วยกันรักษาสมบัติพระพุทธศาสนา
=«*-•'16
มีบัายบอกสัญลักษณ์ห้องนํ้า และทำที่ถอดรองเท้าให้บัดเจน
เพื่อความเป็นระเบียบ
www.kalyanamitra.org
๖๖
ความร้พืนฮานเรืองพระวินัย
(T
ความหมายพระวินัย
ภาคส่วนของพระวินัย
ประโย'๙นัของพระวินัย
อา'นดิและโทษ
อาการต้องอา'นัติ
อา'นิสงสั'ทัน'ทีของพระวินัย
J
www.kalyanamitra.org
๖๗
f
พระวินัย
1J
ความหมายพระวินัย
วินัย แปลว่า การกำจัด การเลิกละ ข้อนำไปให้วิเศษ ข้อนำไปให้
แจ้ง ข้อนำไปให้ต่าง มีอธิบายตามลำดับความหมายนั้นว่า
๑. การกำจัด หมายถึง เป็นเครื่องมีอลำหรับกำจัดอาสวกิเลส เพราะ
เป็นข้อลำหรับ'ฝืกหัดพัฒนากายกับวาจาให้สงบเย็น เรียบร้อย
๒. การเลิกละ หมายถึง วิธีการ'ฝึกหัดอบรม เพื่อเลิกละอัซฌาจาร คือ
ความประพฤติชั่วความประพฤติเสืยมารยาทความประพฤติ ไม่เหมาะสม
แก่สมณะ เมื่อปฏิบัติตามวินัยย่อมเลิกละอัซฌาจารนั้นได้
๓.ข้อนำไปให้วิเศษ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นบาทฐานนำผู้ปฏิบัติให้
บรรลุคุณวิเศษสูงขึ้นไปตามลำดับ
๔. ข้อนำไปให้แจ้ง หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นบาทฐานนำผู้ป^บัติให้
บรรลุถึงความแจ่มแจ้งในธรรม มองเห็นธรรมได้ง่าย เหมีอนลมทีกำจัด
เมฆหมอกให้สิ้นแล้ว ทำ ให้เห็นท้องฟ้าได้แจ่มแจ้งฉะนั้น
๕. ข้อนำไปให้ต่าง หมายถึง ข้อปฏิบัติที่นำให้ผู้ปฏิบัติแตกต่างไป
จากคนทั่วไป โดยให้สงบเย็น เรียบร้อย และบรรลุถึงคุณวิเศษระดับต่างๆ
มีโสดาบ้เตติผลเป็นด้น
โดยภาพรวม คำ ว่า วินัย หมายถึง คำ สั่งสอนส่วนหนึ่งของ
พระพุทธเจ้าที่เนึ่องด้วยข้อบัญญัติลำหรับเป็นหลักปฏิบัติของภิกษุสงฆ์
แสะภิกษุณีสงฆ์ เรียกโดยทั่วไปว่า พระวินัย ซึ่งหมายคว^ามว่า
พระวินัย พระมหาโพธิวงฟิาจารย์
www.kalyanamitra.org
^5๘
พระวินัย หมายถึง
"ระเบียบสำหรับกำกับความประพฤติ
ให้เป็นระเบียบเดียวกัน
ได้แก่คำกังสอนของพระพุทธเจ้า ที่เป็นข้อบัญญัติ
เป็นข้อห้าม วาง!ว้เป็นหกักปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยดีงามในหมูคณะ
เป็นเครื่องมือสำหรับบริหารหม่คณะ"
ภาคส่วนของพระวินัย
พระวินัยแน่งออกเป็น ๒ ภาคส่วนใหญ่ๆ ๒ ภาคส่วน คือ
๑. อาทิพรหมจริยกาสิกขา คือ ข้อศึกษาอบรมข้อปฏิบัติอันเป็น
เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ในการดำเนินชีวิตอย่างประเสริฐ เป็นระเบียบที่
พึงปฏิบัติในสังคมของพระอริยบุคคลได้แก่ส่วนที่เป็นสิกขาบทที่พระพุทธ
องคทรงบัญญัติไว้ เพื่อบีองกันความเสียหายเป็นด้น มีการปรับโทษกำกับ
ไว้ทุกข้อ หนักบ้าง เบาบ้าง จัดเป็นพุทธอาณา คือ ขอบเขตผู้รักดี-พ้นทุกข์
เรียกโดยทั่วไปว่า พระปาติโมกข์
ภาคส่วนนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อุภโตวิภังค์ แปลว่า วิภังค์ ๒ คือ
- มหาวิภังค์ หรีอ ภิกขุวิภังค์ ได้แก่ สิกขาบทหรีอศีล ๒๒๗ ข้อของภิกษุ
- ภิกขุนีวิภังค์ ได้แก่ สิกขาบทหรีอศีล ๓๑๑ ข้อของภิกษุณี
พระวินัย พระมหาโพธิวงศาจารย์
www.kalyanamitra.org
๖๙
๒. อภิสมาจาริกาสิกขา คือ ข้อศึกษาอบรมข้อปฏิบัติอันเป็น
แบบแผน ธรรมเนียม ความประพฤติที่เป็นมารยาทเป็นสมบัติผู้ดี ซึ่ง
ทำ ให้ใจใส นุ่มนวลควรแก่การงาน ซึ่งทรงบัญญัติไว้เพื่อให้พระสงฆ์มความ
สง่างาม น่าเคารพศรัทธาเลื่อมใส เป็นสิกขาบทที่มานอกพระปาฏิโมกข์
ภาคส่วนนี้ท่านจัดไว้เป็นหมวดๆ เรียกว่า ฃันธกะ มีจำ นวน ๒๒ ขันธกะ
ประโย'ฟใเของพระวินัย
ในการบัญญัติพระวินัยนั้น พระพุทธองค์ทรงอาศัยอำนาจประโยชน์
๑๐ ประการ คือ
๑. สง.ฆสุฏธุตาย
เพื่อความยอมรับว่าดีแห่งหมู่คณะ
๒. สงฺฆผาสุตาย ประโย'๔น์ต่อ
องค์กรสงฆ์
เพื่อความผาสุกของหมู่คณะ
๓. ทุม.มงฺกูนํ 'ปุค.คลานํ นิคฺคหาย
เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก (คนหน้าด้าน)
๔. เปสลานํ ภิกขนํ ผาลวิหาราย
• <u จิ
เพื่อการอยู่อย่างผาสุกของภิกษุผู้มีศึลเป็นที่รัก
๔. ทิฏฐธม.มิคานํ อาลวานํ สํวราย
เพื่อป้องกันมิให้อาสวะในนีจจุบันเกิด^
๖. ลม.ปรายิกาน่ อาลวานํ ปฏิฆาตาย ประโย''ค์ต่อ
เพื่อกำจัดอาสวะในอนาคต ผ้บว'2^
พระวินัย พระมหาโพธิวงศาจารย์
www.kalyanamitra.org
๗๐
๗. อปฺปสนฺนานํ ปสาทาย ประโยฬน์ต่อ
เพื่อให้คนที่ยังไม่เลื่อมใสได้เลื่อมใส สังคมโลก
๘. ปสนฺนานํ ภิยฺโยภาวาย
เพื่อให้คนที่เลื่อมใสแล้ว เลื่อมใสยิ่งขึ้น
๙. สทฺธมุมฏฐิติยา ประโย'๙น์ต่อ
พระ'พุทธศาสนา
เพื่อความมั่นคงแห่งพระสัทธรรม
๑๐. วินยานุคฺคหาย
เพื่ออ'นุเคราะห์เกื้อกูลพระวินัย (ให้ดำรงอยู่ต่อไป)
ประโย'2^น์ของพระวิ'นัยต่อบุคคลและองค์กร
๑. เป็นประโยชน์ต่อผู้บวช คือ ทำ ให้ผู้ที่เข้ามาเป็นสมาซิกอยู่ใน
องค์กรสงฆ์ที่เรียกว่า ภิก'ษุ ภก'ษุณี สามเณร สามเณรี สามารถดำเนินซวิต
อย่างประเสริฐ แล้วพัฒ'นาตนให้บรรลุธรรมในระดับสูงขึ้นไปจนถึง พระ
นิพพานได้
๒. เป็นประโยชนต่อองค์กรสงฆ์ คือ ทำ ให้องค์กรสงฆ์มีความรัก
สามัคคืและนับถือกัน ปฏิบัติดีต่อกันด้วยจิตใจ ทำ ให้อยู่กันอย่างสันติ จน
สามารถปฏิบัติได้สะดวก
๓.เป็นประโยชน์ต่อสังคมโลก คือทำ ให้สังคมโลกมีแบบอย่าง ที่ดีงาม
สำ หรับประพฤติตาม หรีอส่งลูกหลานให้เข้ามาบวช เพื่อจะได้อบรมบ่มเพาะ
มารยาทและธรรมเนียมต่างๆสำหรับปฏิบัติตนให้เป็นคนเรียบร้อยงดงาม
ตามอย่างพระสงฆ์ และเสริมสร้างศรัทธาปสาทะให้เกิดแก่สังคมโลก ที่ได้
เห็นองค์กรสงฆ์ปฏิบัติเคร่งครัดในพระวินัย อันเป็นแรงจูงใจให้เข้ามาหา
แล้วบูชากราบไหว[นฐานะเป็นเนื้อนาบุญ อันประเสริฐ แล้วฟ้งคำแนะนำ
สั่งสอนจากท่านและนำไปปฏิบัติตาม จนได้รับความสุชสงบในชีวิต
พระวินัย พระมหาโพธิวงฟิาจารย์
www.kalyanamitra.org
๗๑
๔.เป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา คือ พระวินัยในฐานะที่เป็นรากแก้ว
ของพระพุทธศาสนา ย่อมนำพาให้เกิดความมั่นคง และความเป็นปีกแผ่น
ให้แก'พระพุทธคาสนาเองด้วย เมื่อองค์กรสงฆ์และสังคมโลกปฏิบัติตาม
หสักพระวินยกันถ้วนหน้าแล้ว ย่อมทำให้พระพุทธคาสนาเข้มแข็งเติบใหญ่
และแพร่หลายขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังที่ท่านกล่าวว่า
"พระวินัยเป็นอายุของพระพุทธศาสนา
เมื่อพระวินัยดำรงอยู่ พระพุทธศาสนาก็ดำรงอยู่99
อาบัติและโทษ
อาบัติ แปลว่า การต้อง ความต้อง หมายถึง การต้องโทษที่เกิดจาก
การล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ หรือหมายถึง โทษที่ภิกษุผู้
ล่วงละเมิดสิกขาบทที่มีบัญญัติห้ามไว้จะต้องได้รับโทษอีกอย่างหนึ่งของ
อาบัติมี ๒ ลถาน คือ
๑. โลกวัชซะ โทษทางโลก คือความผิดที่เมื่อล่วงละเมิดสิกชาบท
แล้ว ชาวบ้านไม่ชอบ ตำ หนิติติง หรือโพนทะนาว่าทำไม่เหมาะไม่ควร
เห็นเป็นการกระทำที่ผิด เซ่น การดื่มสุรา การขบฉันอาหารในเวลาวิกาล
การนุ่งห่มไม่เป็นปริมณฑล เป็นต้น หรือเมื่อล่วงละเมิดแล้วมีโทษทาง
กฎหมายบ้านเมีอง การทำโจรกรรม การทุบตีกัน เป็นต้น
๒. ปิณณัตติวัชชะ โทษทางพระวินัย คือความผิดที่ไปล่วงละเมิดข้อ
ห้ามตามที่บัญญัติเป็นสิกชาบทเข้าไว้ เป็นการไม่ลมควร ไม่เหมาะสำหรับ
ผู้เป็นนักบวช เซ่น การขุดดิน การขบฉันอาหารในเวลาวิกาล การว่ายนํ้า
เล่น เป็นต้น การกระทำเซ่นนี้ไม่เป็นความผิดสำหรับคฤหัสถ์ แต่เป็นความ
ผิดเฉพาะผ้เป็นภิกษเท่านั้น
พระวินัย พระมหาโพธิวงฟึาจารย์
www.kalyanamitra.org
๗๒
ในโทษ ๒ สถานนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวิซรญาณ
วโรรส วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงให้คำแนะนำไว้โดยสรุปว่า
๑.อาบัติที่เป็นโลกวัชซะนั้น ล่วงเช้าแล้วยังความเสียหายให้เกิดมาก
แม้ทำคืน (ปลงอาบัติ) แล้ว ความเสียหายนั้นก็เป็นเหมือนแผลที่ติดอยู่ไม่
หายได้ง่าย ควรประหยัดให้มาก อย่าล่วงง่ายๆ
๒.อาบัติที่เป็นป็ณณัตติวัซซะนั้น เหล่าใดที่ภิกษุยังถือเป็นการ
กวดขันล่วงอาบัติเหล่านั้นเช้าแล้ว มืความเสียหายได้เหมือนกัน เหล่าใด
ไม่ถือเป็นจริงจัง เพราะกาลสมัยและประเทคนำให้เป็น อาบัติเหล่านั้นแม้
ล่วงเช้าแล้วก็ไม่สู้เป็นอะไรนัก
๓.ในฝ่ายเคร่ง (วินัย) ไม่ควรจะถือเอาอาบัติเหล่านั้นเป็นเครื่องมือ
สำ หรับอวดเก่ง
๔.ในฝ่ายที่ไม่เคร่ง เห็นว่าอาบัติมาก หลบไม่ไหวแล้ว ทอดธุระเสีย
ไม่รู้จักเว้น ก็สะเพร่าเกินไป
๕.ควรรู้จักประพฤติแต่พอดี จึงจะสมแก่คาสนธรรมที่ว่าปฏิบัติพอ
กลางๆ ไม่หย่อนเกินไปและไม่ตึงเกินไป
อาการต้องอาบต
การด้องอาบัติหรือการล่วงละเมิดพระวินัยบัญญัติของภิกษุนั้นเกิด
ขึ้นด้วยอาการต่างๆ ท่านแสดงอาการนั้นๆ ไว้ รวม ๖ ประการ คือ
๑. อลซฺซิตา ต้องด้วยไม่ละอาย
คือ อาการที่ภิกษุรู้อยู่ว่าสิ่งนี้ไม่ควรทำ มืพระวินัยบัญญัติห้ามไว้แล้ว
แต่ก็ยังขืนดื้อดึงทำไปโดยไม่สนใจความผิด เซ่น พูดปด ดื่มสุรา ไม่สำรวม
ระวัง เป็นด้น
พระวินัย พระมหาโพธิวงฟึาจารฟ้
www.kalyanamitra.org
๗ท
๒.อญาณตา ต้องด้วยความไม่รู้
คือ อาการที่ภิกษุผู้บวซใหม่หรือบวชมานานแต่เป็นคนเขลาหรือ
ผู้ไม่ได้สนใจที่จะรู้ จึงไมรู้พระวินัยบัญญัติว่า สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ทำไม'ได้
จงไปล่วงละเมิดสิกขาบทนั้นๆ เข้าด้วยความไม่รู้ เซ่น นอนร่วมกับ
อนุปสัมบัน เกิน ๓ คืน เป็นต้น
๓. คุกกจฺจปกฅตฺตา ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทำลงไป
คือ อาการที่ภิกษุต้องการดื่มนา เกิดความสงสัยขึ้นมาขณะนั้นว่าใน
นํ้ามีตัวสัตว์หรือไม่ แตก็ยังดื่มนั้านั้นทั้งที่สงสัย หรือสงสัยว่าการทำอย่าง
นี้จะผิดพระวินัยหรือไม่ พระวินัยบัญญัติห้ามไว้หรือไม่ แต่ก็ทำลงไปทั้งที่
สงสัยการทำอย่างนั้น หากเป็นการทำที่มีพระวินัยห้ามไว้ก็ต้องอาบัติตาม
วัตถุ ล้าไม่มี ก็ต้องอาบัติทุกกฏ เพราะสงสัยแล้วขืนทำลงไป
๔.อกปปีเย กปฺป็ยสณฺญิตา ต้องด้วยสำคัญว่าควรในของที่ไม่ควร
คือ อาการที่ภิกษุมีความสำคัญผิดไป เซ่น เห็นเนี้อหมีซึ่งเป็นเนี้อฺ
ต้องห้ามตามพระวินัย แต่สำคัญไปว่าเป็นเนี้อหมู จึงขบฉันเข้าไปตามที่
เข้าใจ แต่ก็ต้องอาบัติ เพราะเป็นเนี้อต้องห้าม
๕ กปฺปีเย อกปฺปียสณฺญิตา ต้องด้วยสำคัญว่าไม่ควรในของที่ควร
คือ อาการที่ภิกษุมีความสำคัญผิดไป เซ่น เห็นเนี้อหมูซึ่งเป็นเนี้อที่
บริโภคได้ แต่เข้าใจว่าเป็นเนี้อหมี ซึ่งเป็นเนี้อต้องห้าม แล้วฉนเนี้อหมูนั้น
ก็ต้องอาบัติทุกกฎ เพราะสำคัญว่าไม่ควรแล้วยังฉัน
๖. สติสมฺโมสา ต้องด้วยลืมสติ
คือ อาก ภิกษุลืมสติแล้วล่วงละเมิดสิกขาบท ด้วยหลงไปหรือ
เผลอไป เซ่น นั้าผึ้ง ทรงอนุญาตให้ภิกษุเก็บไว้ฉันได้เพียง ๗ วัน แต่ภิกษุ
เก็บไว้เกินกำหนด ๗ วัน แลวนำมาฉัน หรือเผลอเก็บอติเรกจึวรไว้เกิน ๑๐
วัน โดยไม่ได้วิกัปหรืออธิษฐาน
พระวินัย พระมหาโพธิวงศาจารd^
www.kalyanamitra.org
๗๙
อานิสงสัทนทีของพระวินย
เมื่อผู้ปฏิบัติตามพระวินัยข้อนั้นข้อนี้หรือละเว้นไม่ล่วงละเมิดข้อนั้น
ข้อนี้ ภาพที่สวยงามของผู้ปฏิบัติก็จะปรากฏให้เห็นทันที ไม่ต้องรอเวลา
ไม่ต้องบ่มเพาะ ไม่ต้องมีเงื่อนไขอย่างอื่น เห็นเมื่อใดก็เป็นเครื่องหมาย
6เ)ห9^ร2ู/้และ1เ1ด^เ๘หนเบ๘!นรูปIธรรมว่า ผูนันปฏิบัติตามพระว^ินoั/ย
*ที่มา ะ พระมหาโพธิวงศาจารย์(ทองดี สุรเตโช),
พระวินัยบัญญัติ, ๒๕๖๑.
www.kalyanamitra.org
๗๕
ภาคผนวก
•ะ- กระบวนการจัดทำหลักสูตร
ที่ยึดวัตรตามพระธรรมวินัย
•ะ- รายที่อคณะผู้จัดทำหลักสูตร
ที่ยึดวัตรตามพระธรรมวินัย
•ะ- รายที่อพระวินัยและพระสูตรที่
ใจัประกอบการจัดทำหลักสูตร
ที่เป็นหน่วยแกตามวัตรใน
พระธรรมวินัย
www.kalyanamitra.org
๗๖
/f กุเ
กระบวนการจัดทำหลักสูตร
ฑยดวตรตามพระธรรมวนย
1J
ขื้นดอน วิธีปฏิบัติ
๑. ศึกษาพรร ๑.๑ หลวงพ่อทัตตซีโว บรรยายธรรมแก่พระภิกษุตลอด
ธรรมวินัย
ช่วงเข้าพรรษา ซึ่งมีดังนี้
ที่เป็นแม่บท
•คณกโมคคัลลานสูตร•วัตตฃันธกะ•วัจกุฎีวัตร
การ'ฝิกพระ
•อาฬวกสูตร •ฐานสูตร •บรรพชิตสัญญา ๑๐
QJ QJ ^^
๒. จัดตั้งคณะ ๒.๑ พระเถระผู้มีพรรษากาล ประชุมเพื่อพิจารณาข้อวัตร
กรรมการจัดทำ การปฏิบัติของพระในวัด และความเคารพของสาธุซนที่มี
หสักสตร ต่อพระภิกษุ
๒.๒ จัดตั้งคณะกรรมการ ๓ ชุด
• ชุดยกร่างหสักสูตร ประกอบด้วยพระคัวแทนจากทุก
หน่วยงานที่ฝิกพระในวัด
• ชุดพัฒนาหสักสูตร ประกอบด้วยพระหัวหน้าที่ฝึกพระ
ในวัดจากทุกหน่วยงาน
• ชุดวิพากษ์หลักสูตร ประกอบด้วยพระเถระผู้ทรงพระ
ไตรปีฎก พระที่ทำหน้าที่ผู้บริหารในส่วนงานต่างๆ ในวัด
www.kalyanamitra.org
๗๗
ขื้นดอน วิธีปฏิบัติ
๓. ออกแบบ พระเถระ พระผู้บริหาร นักวิชาการ ประชุมวิเคราะห์
หลักสูตร สภาพปัญหา-สาเหตุ-วิธีแก้!ข ตามพระธรรมวินัย ได้
โดยยึด ออกแบบหลักสูตรทีมีลักษณะเป็นหน่วยฝึกตามวัตร
พระธรรมวินัย ในวัตตฃันธกะ โดยกำหนดวัจกุฎีวัตร เป็นหน่วยฝึก
ลำ ดับแรก
๔. ยกร่าง ๔.๑ คณะกรรมการยกร่าง นำ ความรู้จากการฟ้งธรรมะใน
หลักสูตรที่เป็น ข้อ ๑ และ ๓ มายกร่างหน่วยฝึก ซึ่งประกอบด้วย
หน่วยฝึก ๑)ที่มาของวัจกุฎีวัตร
ตามวัตร ๒)ความประพฤติการใข้ห้องสุชาของพระภิกษุ
๓)ระดับความประพฤติการใข้ห้องสุขาชองพระกำลัง
ฝึกดัว พระตั้งใจฝึกตัว และพระด้นแบบ
๔)บทฝึกวัจกุฎีวัตร ลำ หรับพระกำลังฝึกตัว
๔)บทฝึกวัจกุฎีวัตร ลำ หรับพระตั้งใจฝึกตัว
และพระตนแบบ
๖)การจัดกระบวนการเรียนรู้การฝึกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร
๗)การติดตามให้กำลังใจการฝึกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร
๘)การประเมินผลการฝึกตัวผ่านวัจกุฎีวัตร
๔.๒ พระตัวแทนแต่ละหน่วยนำบทฝึกที่ยกร่าง กลับไป
ประชุมนอกรอบกับพระในหน่วยและทดลองปฎีนัติว่า
เข้าใจง่าย-ยาก เข้าใจถูก-ผิด ปฏินัติได้-ไม่ได้ และข้อ
เสนอแนะ
๔.๓ พระตัวแทนแต่ละหน่วยนำข้อมูลมาเสนอให้ที่
ประขมพิจารณาปรับปรง
www.kalyanamitra.org
๗๘
ขนดอน วิธีปฏิบัติ
๕. นำ เสนอ คณะกรรมการยกร่างน่าเสนอหน่วยแกวัจกุฎีวัตรต่อ
หน่วยแกต่อชุด ชุดพัฒนาหลักสูตรโดยเปีดโอกาสให้พระอื่นๆเข้าพิงได้ข้อ
พัฒนาหลักสูตร เสนอแนะจะน่ามาดำเนินการโดยชุดยกร่าง และน่าเสนอ
ใหม่อีกครั้งจนกว่าชุดพัฒนาหลักสูตรจะเห็นชอบ เมื่อ
เห็นชอบแล้วน่าเสนอต่อชุดวิพากษ์หลักสูตร
๖. นำ เสนอ พระเถระประชุมเพื่อวิพากษ์หน่วยแกโดยชุดยกร่าง
หน่วยแกต่อชุด และชุดพัฒนาหลักสูตรเข้าร่วมพิงด้วย ชึ่งมีทั้งการประชุม
วิพากษ์ ในห้องประชุม และหรือประชุมผ่าน Social Media จาก
นั้นน่าข้อเสนอแนะมาปรับปรุง
๗.จัดพิมพ์ คณะผู้จัดทำหลักสูตรหน่วยแกฯ ร่วมกันจัดทำหนังสือ
หน่วยแก
"ล้างก้น ลางใจ ไปนิพพาน" เพื่อใ^กพระ-สามเณร ช่วง
ทดลองและ
ออกพรรษาแล้วน่าข้อมูลมาพัฒนาหลักสูตรที่เป็นหน่วยแก
พัฒนาต่อไป
ตามวัตร ตามขั้นตอน ๑-๘ ในรอบต่อไป
www.kalyanamitra.org
๗๙
รายร่อคณะผู้จัดทำหลักสูตร
ฑียึดวัตรตามพระธรรมวินัย
๑. คณะกรรมการยกร่างหลักสูตร
๑.๑ พระซาติ ปุณฺณสิริโก โครงการอบรมพระนวกะ ๒
เส้นทางสามัญ
๑.๒ พระคำเพียร สรณธมฺโม โครงการอบรมพระนวกะ ๒
เส้นทางวิสามัญสาขา
๑.๓ พระชัยวิชิต โขติวโร โครงการอบรมพระนวกะ ๒
เส้นทางวิสามัญสาขา
๑.๔ พระปลัดณัฐยุทธ์ โฆสิตวํโส โครงการอบรมพระนวกะ ๒
๑.๕ พระนราธิป พลากโร เส้นทางสามัญ
กองร้อยเนื้อนาบุญ
๑.๖ พระเทวัญ สิริวิซฺโซ กองร้อยเนื้อนาบุญ
๑.๗ พระสุทิวัส อคฺควีโร กองร้อยเนื้อนาบุญ
๑.๘ พระแจ๊คกี้ สีลสํวโร กองร้อยเนื้อนาบุญ
กองร้อยเนื้อนาบุญ
๑.๙ พระสิริพงษ์ สิริพโล กองร้อยเนื้อนาบุญ
กองร้อยเนื้อนาบุญ
๑.๑๐ พระวุฒิชัย ซยวุฑฺโฒ
๑.๑๑ พระอนุพงศ์ อาทโร
www.kalyanamitra.org
๘๐
๒. คณะกร?มการฟัผนๆหลัก^ดร
๒.๑ พระจารุวัฒน่ จารุวฑฺฒโน โครงการอบรมพระนวกะ ๒
เส้นทางสามัญ
๒.๒ พระวีระพงษ์ นิมุมโล กองวิชาการ DCI สำ นักการสืกษา
๒.๓ พระกิตติ กิตฺติพมุร โครงการอบรมพระนวกะ ๒
๒.๔ พระณัฐรุฒิ อคฺควฑฒโน เส้นทางวิสามัญสาขา
๒.๕ พระต่อขัย ชยธโร โครงการอบรมพระนวกะ ๑
๒.๖ พระพิเขษฐ ภททธมุโม คูนยฝืกอบรมธรรมทายาท
โครงการอบรมพระนวกะ ๒
เส้นทางวิสามัญสาขา
๒.๗ พระดรันภพ อาภาสุโภ สำ นักต่างประเทศ
๒.๘ พระกิตติพงต่ เหมวํโส สำ นักต่างประเทศ
๒.๙ พระฎริลาภ อติวีโร กองร้อยเนื้อนาบุญ
๒.๑๐ พระนพปฎล กิตติรทโข กองร้อยเนื้อนาบุญ
กองร้อยเนื้อนาบุญ
๒.๑๑ พระเดชๆ เตขธมุโม กองร้อยเนื้อนาบุญ
๒.๑๒ พระธีร์ จิรณชโย
www.kalyanamitra.org
๘๑
๓. คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร
๓.๑ พระมหาสมเกียรติ วรยโส หัวหน้ากองอภิธรรมศึกษา
๓.๒ พระครูวิบูลนิติธรรม ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดพระธรรมกาย
(ไพบูลย์ ธม.มวิปุโล)
๓.๓ พระมหาสุธรรม สุรตโน ผู้อำนวยการโรงเรียนปริยัติธรรม
๓.๔ พระมหาวีระชัย วีรชโย ผู้อำ นวยการสำนักบุคคลกลาง
๓.๔ พระมหาสุทธิชัย สุทธิชโย ผู้อำ นวยการสำนักศรัทธาภิบาล
๓.๖ พระสนิทวงส์ วฑฺฒิวํโส ผู้อำ นวยการสำนักสื่อสารองค์กร
จิ • น่
๓.๗ พระครูสมุห์จรินทรี รตฺนวล4โณ รองผู้อำนวยการสำนักศรัทธาภิบาล
๓.๘ พระสมคิด จิต.ตวํโส รองผู้อำนวยการสำนัสาธารณูปการ ๒
(ฝ่ายอาศารหลัก)
๓.๙ พระจักรชัย จก.กชโย รองหัวหน้ากองสภาธรรมกายสากล
๓.๑๐ พระถาวร ลาวโร รองผู้อำนวยการสำนักเผยแผ่
๓.๑๑ พระมหาธนา เตชธมฺโม ผ้ช่วยผ้อำนวยการสำนักการศึกษา
๓.๑๒ พระมหาวุฒิชัย วุฑฺฒิชโย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักการศึกษา
๓.๑๓ พระสุนทร จารุสุนฺทโร หัวหน้ากองสภาธรรมกายสากล
๓.๑๔ พระประพัฒนั ฐิตปลาโท หัวหน้ากองมหาธรรมกายเจดีย์
๓.๑๔ พระมหา ตร.พงค์คักดึ๋ฐานิโย หัวหน้ากองวิชาการ DCI
และหัวหน้ากองบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอเนียร์
สำ นักการศึกษา
www.kalyanamitra.org
๘๒
๔. ใ/ ธ^ลใ]
พระไชยยศ ยสวํโส และทีมงาน สำ 'นกสถาบันพุทธสิลป้แ'ฬ่งโลก
๕. ใฬัไวิรfาการ
๕.๑ นายแพทย์ ขูซัย พรใ^ฒนา'พันธุ
๕.๒ นายแพทย์ อภิซน จีนเสวก
๕.๓ ดร.อสิศวร์ วง'ษ์วัง
๕.๔ ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.จันทิรา โกมาสถิตย์
๕.๕ ดร.สุปราณี พณีซยพงสํ
๕.๖ นางสาวสุรพี เทศสม'บูรณี
๕.๗ นางสาวพุธิดา สุมานนที
๕.๘ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมสุดา ผู้พัฒน่(Ph.D)
ไว. 'พักเทค'แคนละผู้สํใเบส'แน
๖.๑ นายชใ4ดม โสภากร
๖.๒ นายซนะพส สุนโย
๖.๓ นางรภัทร สุวรรณนที
๖.๔ นายรัฐวิซญ์ รุ่งเรืองนพรัตน์
www.kalyanamitra.org
๘ท
รายร่อพระวินัยและพระสูตรที่
ใ'รประกอบการจัดทำหลักสูตร
ที่เป็นห'น่วยแกตามวัตรในพระธรรมวินัย
๑. พระวินัยปีฎก จุลวรรค ทุติยภาค "วัจกุฎีวัตร"
๒.พระวินัยปิฎก จุลวรรค ทุติยภาค "วัตตขันธกะ"
๓. พระสุตตันตปิฎก มัซฌิมนิกาย อุปริปิณณาสก์
"คณกโมดคัลลานสูตร"
๔. พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปีญจกนิบาต "ฐานสูตร"
๔. พระสุตตันตปิฎก ฃุททกนิกาย สุตตนิบาต "อาฬวกสูตร"
๖.พระสุตตันตปิฎก มัซฌิมนิกาย มูลปีณณาสก์ "สัมมาทิฏเสูตร"
๗. พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
"สรีรัฏฐธรรมสูตร"
๘. พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
"เสนาสนสูตร"
๙. พระสุตตันตปิฎก มัซฌิมนิกาย มูลปิณณาสก์
"สัพพาสวสังวรสูตร"
๑๐. พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต
"'ปิณณาวฑฒิสตร"
0/ Of 9 ^
www.kalyanamitra.org
cjg;
๑๑.พระสุตตันตปีฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต
"ปีพพซิตอภิณหสูตร"
๑๒.พระวินัยปีฎก มหาวรรค ภาค ๑
ว่าด้วย ธัมมจักกัปปวัตนสตร ปฮมเทศนา
๑๓.สนฺทสฺเสสิ สมาทเปสิ สมุตฺเตเซสิ สมปหํเสสิ ปรากฎใน
๑๓.๑ พระสุตตันตปิฎก ฃุทหกนิกาย อุทาน อรรถกถาใน
โคปาสสูตร จากคัมภีร์ปรมัตถทีปนี
๑๓.๒ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค อรรถกถาใน
ภิกขุนูปีสสยสูตร จากคัมภีร์สารัตถปกาสินี
๑๓.๓ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค อรรถกถาใน
มหาปทานสูตร จากคัมภีร์สุมังคสวิลาสินี
www.kalyanamitra.org
www.kalyanamitra.org