การศกึ ษาพระพุทธรูปประจาํ พระระเบียงชน้ั ในรอบพระอโุ บสถ
วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
โดย
นางสาวกติ ิยวดี ชาญประโคน
สารนพิ นธน เ้ี ปนสวนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสูตรปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวิชาประวัตศิ าสตรศ ิลปะ
ภาควชิ าประวตั ิศาสตรศ ลิ ปะ
บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ปการศึกษา 2547
ISBN 974-464-144-4
ลขิ สทิ ธ์ิของบณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
THE STUDIES OF THE BUDDHA IMAGES AT THE INNER SIDE CLOISTER
OF THE UBOSOTH WAT PRA CHETUPHON VIMOLMANGKLARAM
RAJCHAWORAMAHAVIHARN
By
Kitiyawadee Chanprakhone
A Master’s Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
MASTER OF ARTS
Department of Art History
Graduate School
SILPAKORN UNIVERSITY
2004
ISBN 974 - 464 -144 - 4
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหสารนิพนธเร่ือง“การศึกษาพระพุทธรูป
ประจําพระระเบียงช้ันในรอบพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร” เสนอ
โดย นางสาวกิติยวดี ชาญประโคน เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร
มหาบณั ฑติ สาขาวิชาประวัติศาสตรศิลปะ
....................................................................
( รองศาสตราจารย ดร.จริ าวรรณ คงคลาย )
คณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลัย
วันที่........เดือน.......................พ.ศ..............
ผูควบคมุ สารนพิ นธ
ศาสตราจารย ดร.สนั ติ เลก็ สุขมุ
คณะกรรมการตรวจสอบสารนพิ นธ
......................................................... ประธานกรรมการ
(ผชู วยศาสตราจารย ดร.ศักดช์ิ ัย สายสงิ ห)
............/............./............
......................................................... กรรมการ
( ศาสตราจารย ดร.สนั ติ เลก็ สุขุม )
............/............./............
......................................................... กรรมการ
( อาจารย บวรเวท รุงรุจี )
............/............./............
K 45107201 : สาขาวชิ าประวัตศิ าสตรศ ิลปะ
คาํ สําคัญ : พระพุทธรูปประจําพระระเบยี งช้ันในรอบพระอโุ บสถวัดพระเชตุพนฯ
กติ ยิ วดี ชาญประโคน : การศกึ ษาพระพทุ ธรูปประจําพระระเบียงช้นั ในรอบพระอุโบ
สถวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวหิ าร ( THE STUDIES OF THE BUDDHA IMAGES
AT THE INNER SIDE CLOISTER OF THE UBOSOTH WAT PRACHETUPHONVIMOLMANG
KLARAM RAJCHAWORAMAHAVIHARN ) อาจารยผ ูควบคุมสารนพิ นธ : ศ.ดร.สันติ เล็กสุขมุ .
122 หนา . ISBN 974-464-144-4
การวจิ ยั ครั้งนี้ มจี ุดประสงคท ่จี ะศึกษาพระพทุ ธรูปประจาํ พระระเบยี งชั้นในรอบพระ
อโุ บสถ วัดพระเชตุพนฯ เกี่ยวกบั ความเปน มาและงานบรู ณปฏิสังขรณ ทั้งในอดีตและปจจุบนั
ลกั ษณะและรปู แบบของพระพทุ ธรปู รวมถงึ ความสมั พันธร ะหวางรปู แบบของพระพุทธรูปกับ
ประเดน็ ทางประวัตศิ าสตร
ผลการวิจัยพบวา
1. พระพทุ ธรูปโบราณท่ีประดษิ ฐานอยูใ นพระระเบยี งช้ันในรอบพระอโุ บสถ วดั พระ
เชตุพนฯน้ัน มจี ํานวน 150 องค เปน เนอ้ื สมั ฤทธท์ิ ้งั หมด พระพทุ ธรปู เหลา นอี้ ญั เชญิ มาจากหวั เมอื ง
ฝายเหนอื และเคยชาํ รดุ ทรุดโทรมมากอ น ไดรบั การปฏสิ งั ขรณแ ละพอกปนู ทบั ใหมลี ักษณะ
เหมือนกนั และขนาดไลเ ลย่ี กัน ในสมัยรัชกาลที่ 1 เพอ่ื พรางความมีคณุ คา ไมใหขา ศกึ หรอื โจรผูราย
พบเห็นและเพอื่ ความเปนระเบียบสวยงามในการจัดวาง นอกจากนี้การพอกปนู ทําใหเ ปนพระพทุ ธ
รปู ลกั ษณะใหม ยังเหมือนกบั เปน การสรา งพระพทุ ธรปู ขน้ึ ใหมท ง้ั หมด เพือ่ เปนการสรา งเสรมิ
พระบารมขี องรัชกาลท่ี 1 อีกดวย
2. ลกั ษณะรปู แบบของพระพุทธรูปทพี่ อกปูนไว เปน รูปแบบของพระพทุ ธรปู แบบรตั น
โกสนิ ทรสมยั รัชกาลที่ 1 ปนู ที่พอกทับเอาไวเ พง่ิ จะกะเทาะหลดุ ออกมาในสมัยปจ จบุ นั พบวา รปู
แบบเดิมของพระพทุ ธรปู เหลา น้ีมที ง้ั แบบเชยี งแสน สโุ ขทยั อูท อง และอยุธยา ซ่งึ จําแนกออกได
เปน พระพทุ ธรปู แบบเชียงแสน 4 องค แบบสโุ ขทัย 62 องค แบบอทู อง 37 องค แบบอยธุ ยา 30
องค และพระพทุ ธรูปท่ีมีลกั ษณะผสมผสานระหวา งพุทธศิลปแบบรัตนโกสนิ ทรกับพทุ ธศิลปเดมิ
อกี 17 องค
___________________________________________________
ภาควชิ า ประวตั ศิ าสตรศ ิลปะ บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปก ารศึกษา 2547
ลายมือชอ่ื นกั ศึกษา.......................................................................................
ลายมอื ช่อื อาจารยผูควบคมุ สารนพิ นธ.........................................................
ง
K 45107201 : MAJOR : ART HISTORY
KEY WORD : BUDDHA IMAGES AT THE INNER SIDE CLOISTER OF THE UBOSOTH WAT
PRACHETUPHON VIMOLMANGKLARAM RAJCHAWORAMAHAVIHARN
KITIYAWADEE CHANPRAKHONE : THE STUDIES OF THE BUDDHA IMAGES AT
THE INNER SIDE CLOISTER OF THE UBOSOTH WAT PRA CHETUPHON VIMOLMANGKLA
RAM RAJCHAWORAMAHAVIHARN. MASTER’S REPORT ADVISOR : PROF. SANTI LEKSU
KHUM, Ph.D. 122 pp. ISBN 974-464-144-4
The research is aimed to study the characteristics of the Buddha images at the inner
side cloister surrounding the ubosoth in Wat Pra Chetuphon and some part of history
reflected through them.
The results of the research are namely :
1.The 150 ancient Buddhist images kept in the inner cloister are all made of bronze.
They were transferred from northern Thailand in the reign of King Rama I. Also, in this
reign, they were renovated by coating them with stucco, which has made them share the
same size. The coating was in order to prevent them from robbery and for the advantage of
lining up. Moreover, covering them with stucco which was moulded into the Buddha
images of new characteristics was like the execution of new works. This was able to
promote the king’s charisma.
2. The characteristics of stucco Buddha images covering the old ones represents the
Buddha image style of King Rama I. When they were cracked, it was found that the styles
of the old images inside can be divided into 5 distinctive groups. Those are 4 Buddha
images of Chiangsaen style, 62 Buddha images of Sukhothai style,37 Buddha images of
Uthong style, 30 Buddha images of Ayutthaya style and 17 Buddha images echoing a mix
of Rattanakosin style and older one.
__________________________________________________________________________
Department of Art History Graduate School , Silpakorn University Academic Year 2004
Student’s signature..........................................
Master’s Report Advisor’s signature..........................................
จ
กติ ติกรรมประกาศ
สารนพิ นธฉบบั นส้ี ําเรจ็ ลงได ดว ยความกรณุ า และการสนับสนนุ จากบุคคลหลายทา น
ซึง่ ผูว จิ ัยขอกราบขอบพระคุณอยางสูงไว ณ ทน่ี ี้ คอื
ศาสตราจารย ดร.สนั ติ เลก็ สุขมุ อาจารยท ี่ปรกึ ษาและผูค วบคมุ สารนิพนธ กรุณาให
คําแนะนาํ และแนวทางในการวิจัย พรอ มทงั้ ตรวจแกสารนพิ นธฉบับนใี้ หสมบรู ณย ิง่ ขนึ้
ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ศักดิช์ ัย สายสิงห กรณุ าใหค าํ แนะนําอนั เปน ประโยชนย ิง่
พระศรวี ิสุทธิวงศ (สุรพล ชิตญาโณ) ผูชว ยเจา อาวาสวดั พระเชตุพนฯ และพระครสู นุ ทร
โฆษิต อนเุ คราะหใ หข อ มลู เก่ียวกบั วดั พระเชตุพนฯ อีกทงั้ กรณุ าอํานวยความสะดวกในการเก็บ
ขอมูลภาคสนามและการถา ยภาพพระพุทธรูป
คณุ รงั สรรค สถริ าวุธ หัวหนา ชา งบูรณปฏสิ ังขรณพระพทุ ธรปู วดั พระเชตพุ นฯ และชา ง
บรู ณปฏิสงั ขรณพระพุทธรปู ทุกทานที่ใหข อ มลู เกยี่ วกับการปฏสิ ังขรณพระพทุ ธรปู ในพระระเบยี ง
ขอขอบคณุ คุณโทโมฮโิ ตะ ทาคะตะ ทชี่ ว ยถายภาพพระพทุ ธรูปประจาํ พระระเบียงชั้นใน
รอบพระอุโบสถทัง้ 150 องค คุณภาวดิ า จนิ ประพัฒน ชว ยเขยี นแผนผังแสดงตําแหนง พระพทุ ธรปู
ประจาํ พระระเบยี งชั้นใน คณุ เดน ดาว ศลิ ปานนท และเพอ่ื นๆรว มรนุ ปริญญาโททุกทา นที่ใหความ
ชวยเหลอื ในดา นตา งๆ รวมท้ังใหความคดิ เหน็ และใหกาํ ลังใจแกผ วู จิ ยั ตลอดมา
กราบขอบพระคณุ คณุ พอ คุณแม และพี่ๆ ทีไ่ ดกรุณาชว ยเหลอื ในทกุ ๆดาน และสนับ
สนนุ การศึกษาของผูวจิ ัยใหส ําเรจ็ ลุลวงไปไดดว ยดี
ฉ
สารบัญ
บทคัดยอภาษาไทย .......................................................................................................... หนา
บทคดั ยอ ภาษาองั กฤษ....................................................................................................... ง
กติ ติกรรมประกาศ ........................................................................................................... จ
สารบญั ภาพ ..................................................................................................................... ฉ
สารบัญภาพประกอบ ...................................................................................................... ฌ
บทท่ี ฎ
1 บทนาํ .................................................................................................................... 1
ความเปน มาและความสําคัญของปญหา ...................................................... 1
วัตถุประสงคข องการศกึ ษา ......................................................................... 3
สมมตุ ิฐานการศึกษา .................................................................................... 3
ขอบเขตการศึกษา ....................................................................................... 4
วธิ ีดําเนนิ การศกึ ษา ..................................................................................... 4
ประโยชนท่ีจะไดร ับ ................................................................................... 5
6
2 งานบรู ณปฏิสังขรณพระพทุ ธรูปท่วี ัดพระเชตพุ นฯ ในอดตี และปจจุบัน.............. 6
การบรู ณปฏิสังขรณใ นสมัยรัชกาลท่ี 1 ....................................................... 9
การบูรณปฏสิ งั ขรณใ นสมัยรัชกาลท่ี 3 ถงึ รชั กาลที่ 7 ................................. 12
การบูรณปฏสิ งั ขรณใ นสมัยปจ จบุ ัน ........................................................... 18
18
3 พระพทุ ธรปู ทพี่ ระระเบยี งชั้นในรอบพระอโุ บสถ กบั การวเิ คราะหรปู แบบ......... 18
การจาํ แนกพระพทุ ธรปู ตามลักษณะพทุ ธศลิ ป .......................................... 21
ยคุ สมยั และลักษณะพุทธศิลปข องพระพุทธรปู ในประเทศไทย.......... 29
ผลการวเิ คราะหรปู แบบพระพุทธรปู ที่พระระเบยี งชัน้ ใน................. 29
การจําแนกกลุมพระพุทธรูปทพี่ ระระเบยี งชนั้ ใน .............................. 29
พระพุทธรปู ท่ไี ดร ับการปฏสิ ังขรณตางไปจากลักษณะพุทธศิลปเ ดมิ .........
กลมุ พระพทุ ธรูปทม่ี ีลักษณะตางไปจากพุทธศลิ ปเดิม........................ 31
ขอคิดเหน็ เกย่ี วกับลักษณะพระพทุ ธรูปทม่ี กี ารผสมผสานระหวา ง
พุทธศิลปท ต่ี า งแบบกนั ......................................................................
ช
บทที่ หนา
ตาํ แหนงการวาง จํานวน และขนาดของพระพุทธรูปท่พี ระระเบยี งชน้ั ใน..... 32
ตําแหนง การวาง จาํ นวน และขนาด ..................................................... 32
ตําแหนง การวาง จาํ นวน และขนาดของพระพทุ ธรปู ท่ีพระระเบียง
ชนั้ ในกับคตภิ มู จิ กั รวาล ....................................................................... 34
4 รปู แบบพระพุทธรปู ทพ่ี ระระเบยี งชน้ั ในรอบพระอุโบสถ 38
กบั ประเดน็ ทางประวตั ศิ าสตร ................................................................................ 47
81
5 บทสรุป .................................................................................................................. 84
บรรณานกุ รม ............................................................................................................... 122
ภาคผนวก ....................................................................................................................
ประวตั ผิ วู จิ ยั ................................................................................................................
ซ
สารบัญภาพ
ภาพท่ี หนา
1 แสดงตาํ แหนงและลักษณะของพระระเบยี ง(หมายเลข5)รอบพระอุโบสถ.................... 50
2 “พระปาเลไลย” พระประธานในพระวหิ ารทศิ เหนอื .................................................... 51
3 พระพกั ตรทเ่ี ปน ปูนพอกพระพุทธรูปสัมฤทธิป์ ระจําพระระเบยี งชนั้ ใน(องคท 5่ี 0)....... 52
4 เนือ้ แทข ององคพ ระพุทธรูปองคท ่ี 51 หลังกะเทาะปูนทพี่ อกไวอ อกแลว...................... 53
5 องคพระทีผ่ านการขัดเจยี รสนิมแลว (องคที่ 50)............................................................ 54
6 องคพ ระพุทธรูปหลังการลงรกั ธรรมชาติ (องคท่ี 50)..................................................... 55
7 องคพ ระท่ลี งรักปด ทองและผานการขดั เงาใหส วยงามแลว (องคท ่ี 48)......................... 56
8 พระพทุ ธรูปองคท ี่ 51 ซ่ึงอยูใ นระหวา งการบรู ณปฏสิ ังขรณ......................................... 57
9 เปรยี บเทยี บพทุ ธลักษณะพระพทุ ธรูปองคท ี่ 51 กอ นและหลงั การกะเทาะปนู .............. 58
10 เมด็ พระศกที่กะเทาะออกมาจากสวนพระเศียรพระพทุ ธรปู ในพระระเบียงช้ันใน ........ 59
11 พระพุทธรปู องคท่ี 69 ไดรับการอนุรักษไ ว ไมท ําการบรู ณะ......................................... 60
12 พระพุทธรปู องคที่ 71 ไดรบั การอนุรกั ษไว ไมท าํ การบูรณะ......................................... 61
13 พระพทุ ธรปู ประจําพระระเบยี งช้ันนอกบางสวน(ดา นทศิ ตะวนั ตก)............................. 62
14 พระพทุ ธรูปแบบเชียงแสนรนุ แรก................................................................................ 63
15 พระพทุ ธรปู แบบเชยี งแสนรนุ หลัง............................................................................... 64
16 เศียรพระพทุ ธรูปศิลปะแบบสุโขทยั หมวดกาํ แพงเพชร............................................... 65
17 พระพทุ ธรปู แบบสุโขทยั หมวดพระพุทธชินราช.......................................................... 66
18 พระพุทธรปู แบบอูท อง รนุ ท่ี 1...................................................................................... 67
19 พระพุทธรูปแบบอทู อง รนุ ท่ี 2...................................................................................... 68
20 พระพทุ ธรปู แบบอูท อง รนุ ท่ี 3...................................................................................... 69
21 พระพุทธรปู แบบอยุธยา................................................................................................ 70
22 พระพุทธรูปแบบอยุธยาทรงเคร่อื งใหญ ....................................................................... 71
23 พระพุทธรปู แบบอยธุ ยาทรงเคร่อื งนอ ย ........................................................................ 72
24 พระพทุ ธรูปแบบอยุธยาตอนปลายสกุลชางนครศรีธรรมราช....................................... 73
25 พระพทุ ธรูปแบบรัตนโกสินทรสมยั รชั กาลที่ 1............................................................ 74
26 พระพักตรพ ระพุทธรูปประจาํ พระระเบียงชนั้ ในองคที่ 52........................................... 75
ฌ
ภาพท่ี หนา
27 พระพุทธรูปประจําพระระเบยี งช้ันในองคท ี่ 15......................................................... 76
28 พระพุทธรูปประจาํ พระระเบยี งชั้นในองคท ี่ 118....................................................... 77
29 แสดงลักษณะของจักรวาลตามคติไตรภมู พิ ระรว ง..................................................... 79
ญ
สารบัญภาพประกอบ
แผนผังที่ หนา
1 แสดงตําแหนงพระพทุ ธรปู ประจําพระระเบยี งชนั้ ใน................................................. 22
2 แสดงตาํ แหนง ของกลุมสถาปต ยกรรมในเขตพุทธาวาส วัดพระเชตพุ นฯ................. 78
แผนท่ี แผนท่ปี ระเทศไทยแสดงตาํ แหนงหวั เมอื งทางเหนอื ................................................... 80
ฎ
บทท่ี 1
บทนํา
ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา (Statements and significance of the problems)
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นเอก ต้ังอยูดาน
ทิศใตของพระบรมมหาราชวงั เดมิ มชี อ่ื วา วัดโพธาราม1 เปนวดั โบราณสรางต้ังแตคร้ังกรุงศรีอยุธยา
สันนษิ ฐานวาสรา งข้นึ ระหวา งป พ.ศ.2231-2246 ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา2 ตอมาในสมัยกรุง
ธนบุรี สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชทรงสถาปนากรงุ ธนบุรเี ปนเมอื งหลวง ไดทรงกําหนดเขตเมอื ง
หลวงไวทงั้ สองฝง แมนาํ้ เจาพระยา วัดโพธารามไดรับการบูรณปฏิสังขรณ และยกฐานะข้ึนเปนพระ
อารามหลวง
เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชโปรดให
ปฏิสังขรณวัดน้ีขึ้นใหม โดยสรางพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหารฯลฯ และบูรณปฏิสังขรณ
ของเดมิ ท่มี ีอยใู หสมบูรณ พรอมทง้ั โปรดใหเขียนเรอื่ งชาดกหา รอ ยหาสิบพระชาติ ตาํ รายา และ
ฤาษีดัดตน ไวเปนวิทยาทานที่ศาลาราย เสร็จแลวทรงสถาปนาข้ึนเปนพระอารามหลวงช้ันเอก
พระราชทานนามวา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส ในพ.ศ.2344 ถือเปนวัดประจํารัชกาลที่ 1 แหง
ราชวงศจ ักรี 3
ในสมัยรัชกาลท่ี 3 พระองคโปรดใหมีการปฏิสังขรณใหญระหวางป พ.ศ.2375-2391
และโปรดใหจ ารกึ สรรพตาํ ราตา งๆ 8 หมวด ลงบนแผน หนิ ออ น ประดับไวตามศาลารายตางๆ โดยมี
พระราชประสงคใหเปนแหลงรวมสรรพศิลป สรรพศาสตร เพื่อเผยแพรความรูใหแกประชาชน
สามารถทีจ่ ะศึกษาคน ควาเปนความรูและเปนอาชพี ชวยตนเองได 4
วัดพระเชตพุ นฯเปนพระอารามหลวงสาํ คญั ท่ีพระมหากษตั รยิ ทกุ รชั กาลถือเปนพระราช
ประเพณที ี่จะทรงบูรณปฏิสังขรณใ หอ ยใู นสภาพท่ีดี ถาวรวัตถุตางๆในวัดจึงมีสวนสัมพันธกับพระ
ราชวงศ และประวัติศาสตรของชาติ สําหรับประชาชน วัดพระเชตุพนฯเปรียบเสมือนมหาวิทยาลัย
แหงแรกของไทย เปนท่ีรวมสรรพวิชาความรูดานตางๆ และเปนท่ีรวมโบราณวัตถุที่ทรงคุณคาท้ัง
1ม.ร.ว.แสงโสม เกษมศรี และ วิมล พงศพิพฒั น, ประวตั ิศาสตรส มยั กรุงรัตนโกสนิ ทร (กรงุ เทพฯ : มติ รนราการพมิ พ,
2515), 223.
2สุทธิลกั ษณ อาํ พันวงศ, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (กรงุ เทพฯ : ครุ ุสภา, 2536), 5.
3ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเปลย่ี นสรอยนามพระอารามเปน “วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร”, ดู
กรมศิลปากร, ประชุมจารกึ วัดพระเชตุพน (กรงุ เทพฯ : เจริญธรรม , 2518), 1-8 ; กรมศลิ ปากร, “วดั สาํ คัญกรงุ รตั นโกสนิ ทร,” ใน
ศลิ ป วัฒนธรรมไทยเลม 4 (กรุงเทพฯ : ยไู นเตด็ โปรดคั ช่ัน, 2525), 82 .
4กรมศลิ ปากร, “วดั สาํ คญั กรุงรตั นโกสินทร, ” ใน ศิลปวฒั นธรรมไทยเลม 4 (กรุงเทพฯ : ยไู นเตดโปรดคั ชัน่ , 2525), 82.
2
ทางประวัติศาสตร และศิลปกรรมจนไดรับการประกาศข้ึนทะเบยี นเปนโบราณสถานสําคัญของชาติ
ใน พ.ศ.2492 5
ในบรรดาส่ิงสําคัญอันทรงคุณคาภายในวัดพระเชตุพนฯ ซึ่งมีอยูมากมาย มีอยูส่ิงหน่ึงท่ี
ถูกบดบังไวจากสายตาของชนทั่วไป ดวยถูกปูนพอกทับเอาไว ทําใหไมเห็นสภาพแทจริงของพุทธ
ศิลปดั้งเดิม สิ่งนั้นก็คือพระพุทธรูปโบราณ ท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
โปรดใหนํามาจากหัวเมืองตางๆ มาปฏิสังขรณ และประดิษฐานไวที่พระระเบียงช้ันในรอบพระ
อุโบสถ
เม่ือครั้งท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราชไดทรงปฏิสังขรณวัดพระเชตุ
พนฯ นนั้ ไดโปรดใหสรางพระระเบียงรอบพระอุโบสถเปน 2 ชั้น เช่ือมตอดวยพระวิหารทิศอยูรอบ
พระอุโบสถทั้ง 4 ทิศ ในพระระเบียงช้ันนอก มีพระพุทธรูปตั้งประจําอยู 244 องค และในพระ
ระเบียงชั้นใน มีพระพุทธรูปประจําอยู 150 องค พระพุทธรูปเหลาน้ีเปนพระพุทธรูปโบราณ เคย
ประดิษฐานอยูในวัดตางๆ ในหัวเมืองภาคเหนือ เชน สุโขทัย พิษณุโลก ลพบุรี และอยุธยา6
ระหวางที่เสียกรุงศรีอยุธยาและแผนดินเปนจลาจล วัดตางๆในหัวเมืองเหลานี้ จํานวนมากได
กลายเปนวัดราง ปรักหักพังขาดคนดูแลบํารุงรักษา พระองคจึงโปรดใหอัญเชิญพระพุทธรูปโบราณ
ดังกลาวซึ่งสวนใหญชํารุดทรุดโทรม มาทําการบูรณปฏิสังขรณใหสมบูรณ แลวเอาปูนพอกแปลง
พักตรใหเปนแบบเดยี วกนั มีขนาดเทา ๆกัน ประดษิ ฐานไวท พ่ี ระระเบียงรอบพระอโุ บสถ7
เมื่อประมาณ 40 ปที่ผานมานี้ ปูนที่พอกเอาไวเริ่มกะเทาะออก จึงปรากฏเห็นภายในวา
พระพุทธรูปที่ภายนอกเปนปูนเหลานี้ แทจริงแลวหลอดวยทองสัมฤทธ์ิ เปนพระพุทธรูปสมัยตางๆ
มีท้ังแบบเชียงแสน สุโขทัย อูทอง ลพบุรี และอยุธยา ตอมาทางวัดไดทําการบูรณปฏิสังขรณ
พระพุทธรูปดังกลาว ดวยวิธีลงรักปดทอง8 และติดกระจกลอมองคพระพุทธรูปไวทั้งหมด เพื่อ
รกั ษาความสะอาด และกันนกและคา งคาวไปเกาะจบั ทาํ ความสกปรก
พระระเบยี งรอบพระอุโบสถวดั พระเชตุพนฯจงึ นับวาเปนอีกแหลงหนึ่งสําหรับผูท่ีสนใจ
ในพุทธศิลปเกี่ยวกับพระพุทธรูป สามารถที่จะศึกษา และเดินพินิจดูลักษณะและศิลปะการสราง
พระพุทธรูปในแบบตา งๆไดเ กอื บทกุ สมัย
5 เรอื่ งเดยี วกนั , 83.
6 ม.ร.ว.แสงโสม เกษมศรี และ วิมล พงศพพิ ฒั น ,ประวตั ิศาสตรส มยั รตั นโกสินทร, 223 .
7 พล.ต.ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, “พระพทุ ธรปู โบราณในวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม,” วัดพระเชตพุ นสองรอ ยป
(2332-2532) (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พบ ัณฑิตการพมิ พ , 2532), 53-56 .
8 เรื่องเดยี วกัน, 55.
3
แตจากการศึกษาในชั้นตนพบวา การจัดวางพระพุทธรูปที่พระระเบียงช้ันใน มีการจัด
กลุม ทีส่ ับสนไมเ ปน ระเบียบ และพบวา ในการซอมแซมสวนท่ีชํารดุ ของพระพุทธรูปตั้งแตคร้ังสมัย
รัชกาลท่ี 1 หรือคร้ังหลัง มีพระพุทธรูปจํานวนหน่ึงที่ไดรับการซอมแซมในลักษณะท่ีผิดแปลกไป
จากศลิ ปะเดมิ หลายประการ ดังนน้ั หากจะทําการศกึ ษาถงึ ลกั ษณะของพระพทุ ธรูปจากทีพ่ ระระเบยี ง
แหง นี้ ถามองเพียงผวิ เผิน อาจทาํ ใหเ กิดความสับสน หรือเขาใจในลักษณะของศิลปะสมัยท่ีปรากฏ
ในพระพุทธรปู ที่พบเห็นในปจจุบนั วาเปน ลกั ษณะท่ถี กู ตอ งของพระพทุ ธรูปสมยั น้ันจรงิ ๆ
ถาหากมีการจัดระเบียบการวางพระพุทธรูปเสียใหม ใหมีระบบเปนกลุม และหมวดหมู
รวมถึงการบงชีล้ กั ษณะทผี่ ดิ แปลกออกไปจากลกั ษณะของพุทธศิลปเดิม จะทําใหพระระเบียงช้ันใน
รอบพระอุโบสถวัดพระเชตุพนฯ เปนแหลงความรูสําคัญ ท่ีเปนทั้งโบราณสถานซึ่งประดิษฐาน
พระพุทธรูปโบราณแบบตางๆท่ีมีอายุไมนอยกวา 170 ป จํานวนหลายรอยองค และเปนสวนที่ผูมา
ชม จะไดสัมผัสกับความงดงามของพุทธศิลปสวนพระพุทธรูปในแบบสมัยตางๆ พรอมท้ังไดรับ
ความรูที่ถกู ตอ งไปดวย สมดังพระราชประสงคข องอดตี พระมหากษตั ริยท่ีทรงตองการจะใหวัดแหง
นี้ เปนแหลงความรูทที่ ุกคนสามารถทจ่ี ะศึกษาคนควาหาความรไู ดดว ยตนเอง
ดงั น้นั การทาํ การศกึ ษาเกี่ยวกับความเปน มา อกี ทง้ั การบรู ณปฏสิ ังขรณพระพุทธรูปทพี่ ระ
ระเบียงชัน้ ในรอบพระอุโบสถวดั พระเชตพุ นฯ ตลอดจนการวิเคราะหถ งึ ลกั ษณะความถกู ตอ ง และ
ลักษณะท่ีเปลย่ี นแปลงไปจากลกั ษณะศิลปะเดมิ ของพระพุทธรูปแตละองคท่พี ระระเบียงแหง น้ี รวม
ทัง้ ประเดน็ ทางประวตั ศิ าสตรท ีม่ ีความสมั พนั ธก บั รปู แบบของพระพทุ ธรปู ท่ีพระระเบยี งแหง น้ี จงึ
เปนสิง่ ท่จี ําเปน และมคี วามสําคัญอยางยิ่ง ผลที่ไดจากการศึกษาวเิ คราะหคร้งั น้ี จะเปน ประโยชนต อ
การที่จะนาํ ไปพฒั นาปรบั ปรงุ โบราณสถานสว นนใ้ี หเปน แหลง ความรูและแหลง ทองเท่ยี วทท่ี รงคณุ
คา เปนประโยชนตอ การศกึ ษา และเปน แนวทางในการศึกษาวเิ คราะหใ นสว นอ่ืนๆตอไป
ความมุง หมายและวตั ถปุ ระสงคข องการศกึ ษา (Goal and Objective)
1. เพื่อศึกษางานบรู ณปฏิสงั ขรณพ ระพุทธรปู ทว่ี ัดพระเชตพุ นฯ ในอดีตและปจ จบุ นั
2. เพ่ือศึกษารปู แบบและลกั ษณะของพระพุทธรูปทพี่ ระระเบยี งชั้นในรอบพระอุโบสถวัด
พระเชตุพนฯ
3. เพอ่ื ศึกษาความสัมพนั ธร ะหวา งรูปแบบของพระพทุ ธรปู ประจาํ พระระเบยี งชน้ั ในรอบ
พระอโุ บสถ กบั ประเด็นทางประวัตศิ าสตร
สมมตุ ฐิ านการศกึ ษา (Hypothesis to be tested)
1. พระพทุ ธรปู สมั ฤทธิ์ประจาํ พระระเบียงชั้นในรอบพระอโุ บสถวัดพระเชตุพนฯ ไดรบั
การปฏิสงั ขรณแ ละพอกปนู ทับ ใหมีลกั ษณะและขนาดเทากันในสมัยรัชกาลท่ี 1 เพ่อื พรางความมี
คณุ คา ไมใ หขาศึกพบเหน็ หากตองมสี งครามหรือเสยี กรงุ และเมอ่ื จดั วางเรยี งกันไวก จ็ ะมีความเปน
4
ระเบียบสวยงาม อีกทง้ั เปนการสรา งพระบารมขี องพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก
2. บา นเมืองในสมัยรชั กาลที่ 1 ยังอยูในระยะต้งั ตวั มผี ลกระทบตอการปฏิสังขรณพระ
พทุ ธรปู ของชา ง ทําใหผลงานศลิ ปะที่ออกมามีทง้ั ทถี่ กู ตองงดงาม และมีบางองคขาดความสนุ ทรียะ
ไปบา ง หรือมลี กั ษณะพทุ ธศลิ ปแ ปลกตา งไปจากแบบเดมิ บา ง
ขอบเขตการศกึ ษา (Scope or delimitation of the study)
1. ศกึ ษาความเปน มาของวัดพระเชตุพนฯ และพระพุทธรปู ประจําพระระเบยี งชน้ั ในรอบ
พระอโุ บสถ
2. ศกึ ษางานบรู ณปฏสิ ังขรณพ ระพทุ ธรปู ประจําพระระเบียงชน้ั ในรอบพระอุโบสถ วัด
พระเชตพุ นฯ ท้งั ในอดีตและปจ จบุ นั
3. วิเคราะหเ ปรียบเทียบ ลกั ษณะรูปแบบของพระพทุ ธรปู ประจําพระระเบียง กบั ลักษณะ
รปู แบบของพระพทุ ธรปู แตล ะแบบในประเทศไทย เพ่ือจําแนกกลมุ พระพุทธรูปตามแบบลักษณะ
พทุ ธศลิ ป และ ลกั ษณะพทุ ธศิลปท ่ีแปลกไปจากลักษณะทวั่ ไปในการซอ มพระพทุ ธรปู
4. ศึกษาประเดน็ ทางประวตั ิศาสตร ท่ีสมั พันธก บั รปู แบบของพระพทุ ธรปู ทพ่ี ระระเบยี ง
ชน้ั ในรอบพระอโุ บสถวดั พระเชตุพนฯ
วธิ ีการดาํ เนนิ การศึกษา ( Process of the study)
1. การเกบ็ รวบรวมขอมลู จากเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ ง ทําโดยสาํ รวจขอ มูลจากแหลง ขอ มูล
ตา งๆ แลวนํามาทาํ การวจิ ยั เอกสาร เพื่อนํามาประกอบในขัน้ ตอนการวิเคราะหตอไป
2. การเก็บรวบรวมภาคสนาม ใชก ารสํารวจ การบันทึก และถา ยภาพพระพุทธรปู ที่
พระระเบยี งชน้ั ในทงั้ หมด รวมทัง้ การสมั ภาษณผรู ู
3. การวิเคราะหขอ มลู ศกึ ษาขอมูลที่ไดจากภาคสนาม และขอมูลจากเอกสาร วเิ คราะห
เปรยี บเทียบพระพทุ ธรูปแตล ะองคท่ปี ระจาํ พระระเบยี งชนั้ ใน กบั พระพุทธรปู แตละแบบของศลิ ปะ
สมยั ตางๆ แลว จาํ แนกพระพทุ ธรปู ออกเปนกลมุ ของแบบศลิ ปะ รวมทง้ั กลมุ ทีม่ กี ารปฏิสังขรณท่ี
แปลกตางออกไป
4. การสรุปผลการศกึ ษา นาํ ผลท่ีไดจ ากการวิเคราะหและการตีความตามขัน้ ตอนการ
ศึกษา นํามาประมวลเปน ผลสรุปเพือ่ นําเสนอผลงานในรปู แบบการวจิ ัยแบบพรรณนา(Descriptive
Research) โดยมแี ผนผงั และตาราง ประกอบตามความเหมาะสม
ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรับ
1. ทราบความเปนมาของพระพุทธรปู สัมฤทธ์ปิ ระจาํ พระระเบยี งชน้ั ในรอบพระอุโบสถ
วัดพระเชตพุ นฯ
5
2. ทราบจํานวนของพระพุทธรูปแตล ะแบบทมี่ อี ยทู พ่ี ระระเบยี งชน้ั ใน ซงึ่ จะเปน ขอมลู ท่ี
เปน ประโยชนต อการแบงกลมุ ของพระพทุ ธรปู และการจดั วางพระพทุ ธรูปตามแบบศลิ ปะ
3. ทราบแนวคดิ ของชา งในสมัยรชั กาลท่1ี จากลกั ษณะพุทธศิลปทถ่ี า ยทอดออกมาในการ
ปฏิสงั ขรณพ ระพทุ ธรูปท่ชี าํ รุด
4. ทราบประเด็นทางประวตั ศิ าสตร ทีส่ มั พนั ธก ับรปู แบบของพระพทุ ธรปู ประจําพระ
ระเบียงชนั้ ในรอบพระอุโบสถวัดพระเชตพุ นฯ
5. ขอมูลท่ไี ดจากการศึกษาวิเคราะห จะเปนประโยชนใ นการนําไปพฒั นาพระระเบียง
รอบพระอโุ บสถวัดพระเชตพุ นฯ ใหเ ปน แหลง ความรเู กี่ยวกับลกั ษณะของพระพทุ ธรูปแตล ะแบบ
และเปน แนวทางในการศกึ ษาวิเคราะหเกยี่ วกับลกั ษณะพระพทุ ธรูปอ่ืนๆตอไป
6
บทท่ี 2
งานบูรณปฏสิ งั ขรณพ ระพทุ ธรูปท่ีวัดพระเชตุพนฯในอดตี และปจจบุ ัน
วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวหิ าร ซึ่งเดิมชือ่ วา วดั โพธารามนน้ั เปนวดั
โบราณท่รี าษฎรสรา งตงั้ แตครัง้ กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปนราชธานี ตอมาเมื่อสมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช
ทรงสถาปนากรงุ ธนบุรเี ปน เมืองหลวง ในป พ.ศ.2311 โปรดใหบ รู ณปฏิสังขรณวดั โพธาราม และ
ยกฐานะขึน้ เปน พระอารามหลวง ในการบรู ณปฏิสงั ขรณว ัดครั้งสมัยสมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช
ไมพ บหลกั ฐานเกี่ยวกับการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรปู ในวดั
ในสมัยรตั นโกสนิ ทร เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลก ทรงปราบดาภเิ ษก
เปน ปฐมกษตั ริยแ หงราชวงศจกั รี ทรงเหน็ วา วดั โพธารามซึง่ ตัง้ อยูทางทิศใตข องพระบรมมหาราชวงั
มสี ภาพทรดุ โทรมมาก ทรงมพี ระราชศรัทธาที่จะบรู ณปฏิสงั ขรณวดั ใหมคี วามบรบิ รู ณง ดงาม จงึ
โปรดใหบ รู ณปฏสิ ังขรณวัดโพธารามขึน้ ใหมทั้งพระอาราม โดยเริม่ การบรู ณปฏสิ ังขรณตัง้ แตว นั
จันทร เดอื น 11 แรม 8 ค่ํา จ.ศ. 1151 ในการบูรณปฏิสังขรณค ร้ังน้ีไดสรางพระอุโบสถ พระระเบยี ง
พระวหิ าร ตลอดจนสิง่ กอ สรา งอน่ื ๆเปนจาํ นวนมาก ใชเวลาในการบรู ณปฏสิ งั ขรณจนแลวเสรจ็ รวม
7 ป 5 เดือน 28 วนั หลังจากนน้ั ทรงสถาปนาใหเ ปนพระอารามหลวงประจํารัชกาล9 และในสมัยนี้
ไดม กี ารบูรณปฏิสงั ขรณพระพทุ ธรปู สําหรับประจาํ ไวท ว่ี ดั พระเชตพุ นฯเปน จาํ นวนมาก
พระอารามหลวงแหง น้ี ไดรบั การบรู ณปฏสิ งั ขรณใ นสมยั รชั กาลตอๆมาจนถึงปจ จบุ ัน
การบรู ณปฏิสงั ขรณใ นแตละครัง้ ข้ึนอยกู ับสภาพความชาํ รดุ ทรุดโทรมของสิ่งกอ สราง และถาวร
วัตถใุ นพระอาราม ซ่ึงในการศกึ ษาคร้งั นจี้ ะเปน การศึกษาเกย่ี วกับการบูรณปฏิสังขรณพ ระพทุ ธรปู
และสวนทเี่ กย่ี วของ โดยเฉพาะอยา งยงิ่ พระพุทธรูปประจําพระระเบยี งชน้ั ในรอบพระอโุ บสถ
การบรู ณปฏิสงั ขรณใ นสมัยรัชกาลท่ี 1
การบูรณปฏิสงั ขรณวดั โพธารามใหมท งั้ พระอารามในสมัยรชั กาลที่ 1 เปน การบูรณปฏิ
สงั ขรณค รัง้ ใหญ ไดทรงสรา งพระอโุ บสถ ทาํ กําแพงแกวกระเบ้ืองปรลุ อ มรอบ พื้นในกาํ แพงแกว
และระหวางพระระเบยี งชนั้ ในกออิฐ 5 ชน้ั แลวดาดปนู ทาํ พระระเบยี งลอมสองช้ัน มุมพระระเบยี ง
เปน จตุรมขุ ทกุ ชั้น มีพระวหิ าร 4 ทิศ10 มีผใู หขอสังเกตเก่ยี วกับพระระเบยี งวัดพระเชตพุ นฯวา มี
ลกั ษณะแปลกกวา วดั อนื่ คือมี 2 ชัน้ แตไ มใ ช 2 ชัน้ รอบ กลา วคอื บรเิ วณลานพระอโุ บสถขางในเปน
ส่เี หล่ียม พระระเบยี งจึงเปน สเ่ี หลีย่ ม มพี ระวหิ ารทิศอยชู ว งกลางของพระระเบยี งทั้ง 4 ทศิ พระ
9“สาํ เนาจารึกแผนศิลา(1) วาดวยการปฏิสงั ขรณวดั โพธาราม,” หอสมดุ แหง ชาต,ิ กระดาษฝร่งั , อักษรไทย, ภาษาไทย,
เสน หมึก, จ.ศ.1163, เลขท่ี 3, 1-2.
10 เร่อื งเดียวกนั , 2.
7
ระเบียงสองชน้ั ท่ีวาน้ี พระระเบยี งชนั้ นอกหรือช้ันที่สอง ไมไ ดกน้ั หมุ มุมพระระเบยี งช้นั ใน แตย อ
เขามาท้งั สองขางชนพระวหิ ารทศิ 11 เมอ่ื มองดูจากภายนอกกรอบพระระเบยี งจะเหน็ เปน ไมสบิ สอง
ทัง้ สม่ี ุม (ภาพท่ี 1) พระระเบยี งชั้นนอกมพี ระพุทธรปู ประจําอยู 244 องค และในพระระเบียงชน้ั ใน
มอี ยู 150 องค
เม่ือคร้งั ที่มกี ารบูรณปฏสิ งั ขรณว ดั พระเชตพุ นฯนนั้ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา
จฬุ าโลกทรงใหเ ชิญพระพุทธรปู ลงมาจากหวั เมืองทางเหนอื เมอื งสุโขทยั เมืองลพบรุ ี มที ง้ั ที่เปน
พระพุทธรปู หลอ โบราณและพระพทุ ธรูปปูนปน จาํ นวนกวา 1,285 องค1 2 เนือ่ งดว ยปรากฏวา ตาม
หวั เมืองดังกลา ว มีพระพทุ ธรูปโบราณ ถกู ทิ้งตากแดดกราํ ฝนอยตู ามวดั รา งเปน จาํ นวนมาก จึงโปรด
ใหเชิญลงมาปฏสิ ังขรณแลว รักษาไวท วี่ ดั พระเชตุพนฯ13 บางสวนพระราชทานไปเปน พระประธาน
ท่พี ระอารามอื่น 14
สาํ หรับพระพทุ ธรูปในพระอุโบสถ พระวหิ าร พระระเบียง เปนพระพทุ ธปฏมิ ากรหลอ
ดวยทองเหลอื งสัมฤทธ์ิ ซึง่ เดมิ มสี ภาพชาํ รุดหักพัง ทรงรบั สั่งใหน ํามาจากเมืองพษิ ณุโลก เมอื ง
สวรรคโลก เมืองสโุ ขทยั เมอื งลพบุรี กรุงเกา และวดั ศาลาส่ีหนา มีทง้ั ขนาดใหญแ ละขนาดเล็ก
จํานวน 1,248 องค ทรงใหป ฏิสงั ขรณพระพุทธรูปเหลา น้โี ดยใหช างหลอ ตอ พระศอ พระเศยี ร พระ
หตั ถ พระบาท แลว แปลงพระพักตรแ ละองคพ ระใหงดงาม แลว จดั พระพุทธรปู ดงั กลาวไวใ นพระ
ระเบยี งชน้ั ในชัน้ นอกและพระวหิ าร โดยทรงพระกรณุ าใหเ อาแพรลายยอมคร่ังทรงพระพทุ ธรูปใน
พระวหิ ารทิศ พระระเบยี ง และพระวหิ ารคด 15 นอกจากน้ไี ดท รงสรา งพระพุทธรูปข้นึ ใหม เปน
พระพทุ ธรูปนงั่ หอยพระบาทหลอปด ทอง สูง 8 ศอกคืบ 5 น้วิ เพื่ออญั เชิญประดิษฐานเปน พระ
ประธานในพระวิหารทิศเหนอื มขุ หนา ถวายพระนามวา “พระปาเลไลย” 16 (ภาพท่ี 2)
พลตรีม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมชใหความคิดเห็นเกี่ยวกับการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูป
ประจําพระระเบียงรอบพระอุโบสถในสมัยรัชกาลที่ 1 ไววา คงเปนรสนิยมของศิลปะในสมัยนั้นท่ี
11 จดหมายเหตุความทรงจาํ ของกรมหลวงนรนิ ทรเทวี , พมิ พพ รอมกบั ฉบบั เพมิ่ เติม พ.ศ.2310-2381 (ม.ป.ท.,2501)
พมิ พใ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ พระเจาบรมวงศเ ธอกรมหลวงทิพยรตั นก ริ ิฏกลุ นิ ี , ตุลาคม 2501 , 259-260 .
12 “กระแสพระบรมราชโองการใหเชิญพระพุทธรูปจากสุโขทยั มาประดิษฐานไว ณ กรุงเทพฯ จ.ศ. 1156,” หอสมดุ
แหง ชาติ, สมุดไทยดํา, อักษรไทย, ภาษาไทย, เสน ขาว, จ.ศ. 1156, เลขท่ี 9/ก, หนา ตน.
13 เรอ่ื งเดียวกนั .
14 “สําเนาจารกึ แผนศิลา(1) วา ดวยการปฏสิ ังขรณว ดั โพธาราม,”หอสมุดแหงชาติ, กระดาษฝร่งั , เสนหมึก , จ.ศ.1163,
เลขที่ 3, 1-3.
15 นยิ ะดา เหลาสนุ ทร, บรรณาธิการ, ประชมุ จารึกวัดพระเชตพุ น (กรุงเทพฯ: บรษิ ทั อมรนิ ทรพรน้ิ ตงิ้ แอนดพ ับลิชชิง่
จาํ กดั (มหาชน), 2544, 52-54.
16 พระครูปลัดสัมพิพฑั ฒนพรหมจรยิ าจารย (บุญ), ตํานานพระพทุ ธรปู สาํ คัญวดั พระเชตพุ นฯ (กรงุ เทพฯ: บริษทั
อมรนิ ทรพรนิ้ ตง้ิ แอนดพบั ลิชชง่ิ จํากัด (มหาชน), 2544), 21.
8
นิยมความมีขนาดเทากัน เพ่ือความเปนระเบียบในการจัดวาง จึงไดเอาปูนพอกพระพุทธรูปโบราณ
เหลานั้น โดยปนปูนพอกใหพระพุทธรูปมีลักษณะเปนพระพุทธรูปสมัยรัชกาลท่ี 1 และมีขนาด
ไลเ ลี่ยกนั อันเปน ขนาดทโี่ บราณนิยมสรา ง 17
นอกจากนี้ น.ณ ปากนํา้ ไดใหความคิดเห็นเกย่ี วกบั การบรู ณปฏสิ งั ขรณและการพอกปูน
พระพทุ ธรปู ทวี่ ดั พระเชตพุ นฯวา ประการแรก บา นเมืองในสมยั นัน้ ยงั คงติดพนั อยกู บั การปองกันอริ
ราชศตั รูคือพมา ทีเ่ ขา มารกุ รานตลอดเวลา จึงไมอ าจควบคุมดแู ลบานเมอื งไดทัว่ ถงึ ตอ งใชวธิ ีขนเอา
พระสมั ฤทธใิ์ นที่ตางๆมาเกบ็ รักษาไวใ นพระนคร พระองคใ หญทงี่ ามๆจะสง ไปเปนพระประธาน
ตามวัดอ่นื ๆเปน จาํ นวนมาก สวนท่เี หลอื ก็เก็บรักษาไวท ีว่ ดั พระเชตพุ นฯซ่งึ กําลังบูรณปฏิสงั ขรณ
ขนึ้ ใหมอยูใ นเขตพระนคร ยอ มจะมคี วามปลอดภัยมากกวา
ประการทส่ี อง ในขณะนัน้ บา นเมอื งอยใู นระยะสรา งเมืองหลวงใหม การสรา งพระพุทธ
รูปเปนจํานวนมาก จะตอ งใชท รพั ยเ ปนจาํ นวนมาก และจะเกนิ กาํ ลงั ความสามารถของผูคน จงึ เอา
พระจากวัดรางมาบรู ณปฏสิ งั ขรณและพอกปนู เอาไว เพ่อื อําพรางขาศึกมใิ หเ ห็นของมีคา เนอื่ งจาก
เกรงวา การศกึ กับพมา นนั้ กรงุ จะแตกเหมอื นกบั กรงุ เกาหรือไม นอกจากนี้พระทนี่ าํ มานั้นตา งยคุ ตา ง
สมยั มีทัง้ แบบสุโขทยั เชียงแสน อูทอง และอยธุ ยา เมอ่ื วางเรยี งกันขนาดยอ มไมเ ทา กัน การหมุ ปนู
พอกเอาไวใ หม ขี นาดเทา ๆกนั วางเรยี งกนั เปนแนวจะมรี ะเบียบและสวยงาม18
จากการศึกษาประวัติศาสตร ในชวงสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
เปนสมัยท่ียังมีการรบทัพจับศึกอยู บานเมืองยังไมสงบดี สันนิษฐานวาเม่ือมีการสรางวัดหรือการ
บูรณปฏิสังขรณวัดขึ้น ในสวนที่เปนพระพุทธรูปจึงสรางขึ้นใหมเฉพาะพระประธาน เพื่อให
เหมาะสมกับสิ่งกอสรางในพระอาราม ดังที่หลอพระปาเลไลยขึ้นเปนพระประธานประจําวิหารทิศ
เหนอื นอกน้นั เปน การรวบรวมเอาพระจากวัดรา งทางหัวเมืองทางเหนอื ลงมาบรู ณปฏสิ งั ขรณสวนที่
ชํารดุ เสียหายใหมีความสวยงามตามลกั ษณะพทุ ธศลิ ป โดยใชวธิ ีการตอพระศอ พระเศยี รหรือสวนท่ี
ชํารุดใหครบสมบูรณเสียกอน เน่ืองจากพระพุทธรูปเหลาน้ีหลอข้ึนดวยสัมฤทธ์ิ เมื่อคร้ังกอนกรุง
แตกไดผานสภาพดินฟาอากาศมาเปนเวลานาน เกิดความชํารุดผุพังอยูบางแลว และเมื่อกรุงแตก วัด
วาอารามและพระพุทธรปู ในวัดกย็ งั ถูกทิง้ รา งขาดการดแู ลรกั ษา ยง่ิ ทําใหเ กดิ ความทรุดโทรมมากขน้ึ
เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลก ทรงมีพระบรมราชโองการใหเชิญพระพุทธรูปโบราณ
17 พล.ต. ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, “พระพุทธรูปโบราณในวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม,” ในวดั พระเชตุพนฯสอง
รอยป (2332-2532), 53-56.
18 น. ณ ปากนาํ้ , ถาม-ตอบ ศิลปะไทย (กรงุ เทพฯ:โรงพิมพก รุงเทพฯ,2540), 197-199.
9
เหลาน้ีข้ึนมายังพระนคร ในการขนยายลงมาโดยบรรทุกลงเรือชักลากมาตามแมน้ํา19 อาจมีการ
กระทบกระแทกจนเกิดความชํารุดเสียหายในสวนที่เปราะบาง และหักงาย เชน พระเกตุมาลา
พระนาสิก พระกรรณ พระหัตถ เปนตน
ดังนั้นในการบรู ณปฏสิ งั ขรณจ งึ ตอ งใหช างหลอ ตอหรือซอมในสวนที่เสียหาย สวนการ
พอกปูนองคพระใหมีขนาดเทาๆกันน้ัน ความคิดเห็นของนักวิชาการท้ังสองทานท่ีไดกลาวไว
ขางตน มีเหตุผลท่นี า จะเปน ไปไดท ัง้ สองแนวคดิ เนือ่ งจากสภาพบา นเมอื งในสมยั น้ัน ยังไมส งบ ยัง
มีศึกสงครามติดพันอยู เพ่ือเปนการปองกันและดูแลรักษาของมีคาใหคงอยู จึงใชวิธีการอําพราง
พระพุทธรปู ดวยการเอาปนู พอก และเพือ่ ปอ งกันการลักลอบตัดเศียรพระไปหลอมขาย จึงคงแปลง
พระพักตรเปนแบบเดียวเหมือนกันหมดซึ่งเปนพุทธลักษณะแบบรัตนโกสินทร 20 และเนื่องมาจาก
สภาพขององคพระอาจมีความชํารุดเสียหายมาก ไมสามารถซอมไดเหมือนของเดิม วิธีท่ีงาย
สิ้นเปลืองนอยที่สุด และมีความแข็งแรง คือใชปูนพอกทับองคเดิมไวเพื่อใหเปนเหมือนแกนอยูขาง
ใน นอกจากน้ีชางอาจตองการใหงายตอการจัดวางเขาไวในพระระเบียง เพราะการท่ีจะจัดวาง
พระพุทธรูปจะตองมีการทําฐานชุกชีรองรับ ดังน้ันเมื่อตองทําฐานชุกชีเปนจํานวนมากๆ การมี
ขนาดเทาๆกนั ก็ทําใหดสู วยงามเปน ระเบยี บไปดว ย
การบรู ณปฏสิ งั ขรณใ นสมยั รชั กาลที่ 3 ถึงสมัยรัชกาลท่ี 7
เน่ืองจากวัดพระเชตุพนฯ ไดรับการบูรณปฏิสังขรณคร้ังใหญ มาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 1
ดังนั้นเม่ือถึงสมัยรัชกาลที่ 2 ทุกส่ิงทุกอยางยังพรอมมูลและยังบริบูรณดีอยู จึงไมมีการบูรณปฏิ
สังขรณสิ่งใดในวดั พระเชตพุ นฯจนตลอดรชั กาล 21
คร้นั ถึงสมัยรัชกาลที่ 3 ถาวรวตั ถใุ นวดั พระเชตพุ นฯ ซ่งึ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอด
ฟาจุฬาโลกทรงสถาปนาไว มีการชํารุดทรุดโทรมลงตามกาลเวลาท่ีลวงมาถึง 30 ปเศษ พระบาท
สมเด็จพระนงั่ เกลา เจา อยูหัว จึงมีพระราชดําริที่จะทรงบูรณปฏิสังขรณ และสถาปนาข้ึนใหมอีกคร้ัง
โปรดใหพระบรมวงศานุวงศและขาละอองธุลีพระบาท แบงปนกันเปนนายดานในการตางๆ โดย
เริ่มลงมอื ทาํ การปฏิสังขรณพ รอ มกนั เมอ่ื ปม ะโรง พทุ ธศักราช 2375 22
19 “กระแสพระบรมราชโองการใหเ ชญิ พระพุทธรปู จากสโุ ขทยั มาประดษิ ฐานไว ณ กรุงเทพฯ,”หอสมดุ แหง ชาต,ิ สมดุ
ไทยดาํ ,เสนขาว, จ.ศ.1156, หนา ตน.
20 ความเหน็ ดงั กลา วประมวลจากการสัมภาษณนายชางทร่ี ับผดิ ชอบในการบูรณปฏิสงั ขรณพ ระพุทธรปู วัดพระเชตพุ น
ฯ ( นายรงั สรรค สถิรวธุ )ในประเด็นของหลักฐานท่เี กีย่ วของกบั การบรู ณปฏสิ ังขรณ (สมั ภาษณเ ม่ือ 25 สิงหาคม 2547 )
21 พระครปู ลัดสมั พิพฑั ฒนพรหมจรยิ าจารณ( บญุ ) และพระธรรมราชานุวัตร(กมล โกวิโท), ประวตั ิวัดพระเชตพุ น
วิมลมังคลาราม (กรุงเทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2536), 21.
22 นิยะดา เหลาสนุ ทร, ประชมุ จารกึ วดั พระเชตพุ น, 57.
10
การปฏิสังขรณทั่วท้ังพระอารามในครั้งนี้ ไดมีการกอสรางถาวรวัตถุเพิ่มเติมข้ึนใหมทั้ง
ในเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส ท่สี ําคญั คอื ในเขตพทุ ธาวาสไดสรา งพระวิหารพระพุทธไส
ยาสน ในเขตสงั ฆาวาสไดสรางกุฏสิ งฆเ ปนตึกขน้ึ ใหมแ ทนกฏุ ไิ มแ บบเดิม เปนตน 23
ในสวนของพระระเบียงช้ันใน มีการกอเสริมผนังใหสูงขึ้นกวาเกา 2 ศอก สวนพระ
ระเบียงช้ันนอกทําตามแบบเดิม มุงกระเบื้องใหม ฐานชุกชีพระระเบียงร้ือกอใหมและประดับศิลา
ลายสาน ที่ผนังหลังพระพุทธรูป เขียนเปนเรือนแกวสลับดวยลายขวดปกดอกไม ( ปจจุบันลาย
เหลานี้ลบหมดแลวมีการฉาบปูนทาสีขาวไว ) ฐานพระพุทธรูปในพระระเบียงช้ันในและช้ันนอก
รวมทั้งในวิหารทิศท้งั 4 ทาํ ใหมห มด โดยปน เปนลายกุด่ัน พ้นื ชาดปดทองประดบั กระจก เพดานพ้ืน
แดงฉลุลายทองดาวลอมเดอื น ( ปจจุบนั ทาสีเหลอื ง )
พระพทุ ธรปู ทั้งพระอารามคอื ในพระอโุ บสถ พระวหิ ารทศิ และพระระเบียงทั้ง 3 แหง ซึ่ง
รวมถึงพระพุทธรูปประจําพระระเบียงช้ันในและชั้นนอก ท้ังของเดิมและของใหมใหลงรักปดทอง
ใหมท ้ังหมด 24
จะเห็นไดวา ในการบูรณปฏิสังขรณวัดพระเชตุพนฯ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ
น่งั เกลาเจาอยหู ัวนั้น เปนการบูรณปฏิสังขรณของเดิมท่ีมีอยูแลว และทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ให
มีความวิจิตรงดงามเหมือนเมื่อคร้ังในสมัยที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกไดทรงบูรณะ
ไว สวนถาวรวัตถุท่ีแมวาจะไมไดชํารุดทรุดโทรมมากนัก แตหากทําใหมแลวจะสวยงามมากขึ้น
กวาเดิมก็ทรงใหทําการบูรณะขึ้นมาใหม ดังเชนท่ีพระระเบียงชั้นในรอบพระอุโบสถ พระระเบียง
เกานั้นตํ่าจึงใหกอเสริมใหสูงข้ึน จึงตองทําฐานชุกชีพระพุทธรูปในพระระเบียงขึ้นใหม ดวยเหตุนี้
ทําใหตองมีการลงรักปดทองพระพุทธรูปประจําพระระเบียงใหมดวย เพราะเมื่อทําฐานชุกชีใหม
อยางสวยงาม แตองคพระพุทธรูปเกาครํ่าคราก็คงจะดูไมงาม จึงมีการลงรักปดทองพระพุทธรูปให
ใหมดวย การลงรักปดทองพระพุทธรูปพระระเบียงในสมัยรัชกาลที่ 3 นี้ คาดวาองคพระยังคง
เปนเน้ือปูนปนท่ีพอกไวแลวลงรักปดทองเม่ือคร้ังในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
เน่ืองจากในสมัยรัชกาลที่ 3 ไมมีหลักฐานปรากฏถึงการบูรณปฏิสังขรณองคพระ มีแตเพียงการลง
รักปดทองทับของเกาเทานั้น แสดงวาองคพระพุทธรูปเหลาน้ี คงจะยังมีสภาพดีอยู ไมมีการหลุด
กะเทาะของเนื้อปูนที่พอกเอาไว อาจเปนเพราะการลงรักปดทองทับเน้ือปูนในการบูรณะครั้งแรก
ชวยทําใหเน้ือปูนที่พอกองคพระมีความทนทานมากย่ิงข้ึน แมเวลาจะลวงมาถึงสามสิบปเศษ สภาพ
ขององคพระก็ยังคงแข็งแรงอยู กอปรกับองคพระวางประจําอยูในพระระเบียง ไมถูกแดดตองฝน
23 “สาํ เนา คาํ แนะนาํ ในการเทศนาเรื่อง การปฏิสังขรณว ัดพระเชตพุ น,” หอสมุดแหง ชาต,ิ กระดาษฝรง่ั , อักษรไทย,
ภาษาไทย, เสน หมกึ , ไมปรากฏศกั ราช, เลขท่ี 50/ก, 1.
24 นิยะดา เหลาสนุ ทร, ประชมุ จารกึ วัดพระเชตพุ น, 60-63.
11
ทําใหสภาพยังดีอยู มีเพียงทองท่ีปดเอาไวมีการชํารุดไปบางตามกาลเวลา แตถาใหมีการลงรักปด
ทองพระพุทธรูปในท่ีนี้เพียงสวนเดียว อาจทําใหพระพุทธรูปในพระอุโบสถหรือท่ีประจําในสวน
อ่นื ๆของพระอารามแลดเู กา หมอง สวยงามไมเทากัน จึงใหทําการลงรักปดทองพระพุทธรูปทั้งหมด
ในคราวเดียวกัน นับเปนการแสดงถึงพระราชศรัทธาอันแรงกลาตอพระพุทธศาสนา ท่ีทรงสละ
พระราชทรพั ยเพือ่ การบูรณปฏิสงั ขรณใ หพระพุทธรปู ของเดมิ ท่ีมสี ภาพเกา ใหก ลบั มามีความงดงาม
ราวกับเปนพระพุทธรูปท่ีสรางขึ้นใหม โดยยังคงพุทธลักษณะแบบเดิมเหมือนเม่ือครั้งในสมัยพระ
บาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ท้ังน้ีก็เพื่อใหความงามของถาวรวัตถุเหลาน้ีไดคงอยูสืบตอไป
โดยไมเกรงวาจะเปนการส้ินเปลืองแตอยางใด ดังมีขอความปรากฏในโคลงด้ันเรื่องการปฏิสังขรณ
วัดพระเชตพุ น พระราชนพิ นธสมเดจ็ พระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชิตชิโนรสดงั ตอไปน้ี
ปวงปฏมิ ามากถวน ทงงอา วาศเอย
อโุ บสถวิหารทศิ สถยร ทกเหลา
รบยงสามสรบิ นนดา เดอมใหม ก็ดี
มอี าทิ พระเจา เบ้ือง โบสถประธานฯ
ทรงศรัทธาไปเ ออ้ื ออมราช ทรพั ยแฮ
เวนมจั เฉรมลาย โลภมลาง
รงงเรขรักมาดผจง เผจอศ ทัว่ องคเ อย
รมยลใหมแมน สรา งซ้าํ สบื แสดงฯ 25
เมอื่ ถึงสมัยรัชกาลที่ 4 เนอ่ื งจากถาวรวัตถุตางๆทไี่ ดรับการบรู ณปฏิสังขรณใ นสมยั
พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจาอยูหวั ยังบรบิ รู ณด ีอยู พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูห วั จึงโปรด
ใหบูรณปฏสิ ังขรณพระอารามในบางสวนท่ชี าํ รดุ อกี ท้งั โปรดใหแกส รอ ยนามพระอารามเปน
“ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ” 26 สําหรับการปฏิสังขรณพระพุทธรูปน้ัน ปรากฏวาไดมีการ
ปฏสิ งั ขรณพ ระพทุ ธไสยาสนเ ฉพาะสว นพระรศั มที ีช่ ํารุดในป พ.ศ.2394 27
ในสมัยรัชกาลท่ี 5 เปนระยะที่ถาวรวัตถุตางๆในวัดพระเชตุพนฯชํารุดทรุดโทรมลง
เน่ืองจากไดรับการบูรณปฏิสังขรณมาตั้งแตป พ.ศ. 2375 ในรัชกาลท่ี 3 เปนเวลาลวงมาถึง 40 ปเศษ
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว ทรงพระราชศรทั ธาดําริท่ีจะทรงปฏิสังขรณใหคืนดีดังเกา
25 กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส, ประชมุ จารกึ วัดพระเชตุพน เลม 2 (พระนคร :โรงพิมพโสภณพพิ รรฒธนากร
,2472),ไมปรากฏเลขหนา, อา งถึงใน นยิ ะดา เหลาสนุ ทร, ประชมุ จารกึ วัดพระเชตุพน , 86.
26 กรมศิลปากร, “วดั สําคญั กรงุ รัตนโกสนิ ทร, ” ใน ศิลปวัฒนธรรมไทยเลม 4 (กรงุ เทพฯ : ยูไนเตดโปรดคั ช่ัน,
2525), 82.
27 พระครูปลดั สมั พิพฑั ฒนพรหมจรยิ าจารย( บญุ ) และพระธรรมราชานุวัตร(กมล โกวโิ ท), ประวตั ิวัดพระเชตพุ น
วมิ ลมังคลาราม, 27.
12
การปฏิสังขรณในคร้ังนั้นจําเปนตองรีบทําในสวนท่ีทรุดโทรมมากๆไปกอน ในยุคนี้ทรงพระกรุณา
โปรดใหกระทรวงพระคลังมหาสมบัติต้ังงบประมาณการปฏิสังขรณใหญ และใหกระทรวงโยธาธิ
การเปนเจาหนาท่ีปฏิสังขรณสืบมา ในการปฏิสังขรณยุคน้ี สวนใหญเปนสิ่งกอสราง ไมปรากฏ
รายการปฏสิ ังขรณพ ระพุทธรูป มีแตการปฏิสงั ขรณสว นที่เกีย่ วของ คอื พระระเบยี งรอบพระอุโบสถ
ทง้ั ชัน้ ในและชน้ั นอก โดยใหรอ้ื ผนังสายบวั แลวถือปูนเสาระเบียงใหม 28
ในสมัยรชั กาลที่ 6 เกิดเพลิงไหมข้ึนที่พระระเบียงรอบพระอุโบสถช้ันนอกทิศตะวันตก
และที่ซุมประตูดานใต แลวลุกลามมาถึงมุมพระระเบียงดานใต เม่ือวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464
พระระเบียงท่ีถูกเพลิงไหมมี 8 หอง และมีพระระเบียงที่ถูกร้ือเพ่ือปองกันไฟลุกลามอีก 4 หอง รวม
ท่ีเสียหายคร้ังนี้ คือซุมประตู 1 ซุม ซุมมุมพระระเบียง 1ซุม พระระเบียง 12 หอง ดวยเหตุน้ีจึงไดมี
การปฏิสังขรณพ ระระเบียงที่ถูกเพลงิ ไหมข ้นึ ใหมท ้ังหมดรวมถึงพระพทุ ธรปู ในพระระเบียงท่ีไดรับ
ความเสียหายถูกเพลิงลวกจํานวน 20องค ไดจัดใหลงรักปดทองใหม และสวนฐานพระพุทธรูปท้ัง
20 น้นั ชาํ รดุ ไดปน ลายลงรักปดทองประดับกระจกใหม 29
ในสมยั รชั กาลท่ี 7 พ.ศ.2484 ในระยะนไ้ี ดมีผมู ีจติ ศรทั ธาไดบ รู ณปฏสิ งั ขรณพระพุทธ
รปู ในพระระเบยี งดานใตท ี่ชํารุด โดยลงรักปด ทองเฉพาะแตองคพระรวม 20 องค 30
การบรู ณปฏสิ งั ขรณใ นสมยั ปจ จุบัน
ในสมัยรัชกาลปจจุบัน เม่ือสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุน ปุณฺณสิริ) ทรงเปนเจา
อาวาสวัดพระเชตุพนฯ (พ.ศ. 2490-2516) ไดมีการบูรณปฏิสังขรณพระอารามอยางจริงจังและ
ตอ เน่ือง ไดม ีการจัดตั้งมูลนิธิพระพุทธยอดฟาในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อหาผลประโยชนบํารุงพระ
อาราม การบูรณปฏสิ งั ขรณพ ระอารามไดดาํ เนนิ ตอ เนอ่ื งมาจนถงึ สมยั พระอุบาลีคณุ ูปมาจารย (กมล)
เปนเจาอาวาส ( พ.ศ.2517-2520 ) การบูรณปฏิสังขรณเปนไปตามความจําเปนเรงดวนเทาท่ีมีงบ
ประมาณในขณะนนั้ ซึ่งสวนใหญจะเปนบูรณปฎิสังขรณถาวรวัตถุและส่ิงกอสรางในเขตพุทธาวาส
เชน พระอโุ บสถ พระวหิ าร และพระระเบยี ง
สําหรับการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูป มีการลงรักปดทองพระพุทธไสยาสนในป
พ.ศ. 2488 ปฏิสังขรณพระนาคปรกและฐานชุกชีในพระวิหารทิศตะวันตกในปพ.ศ.2497 และคร้ัง
28 เรอื่ งเดียวกนั , 33.
29“รายงานมรรคนายกปฏิสงั ขรณว ัดพระเชตุพน,” 24 ตลุ าคม-16พฤศจิกายน 2465, เอกสารกรมราชเลขาธกิ าร
รชั กาลที่ 6, ร.6 ศ/8, หอจดหมายเหตุแหง ชาติ .
30พระครปู ลัดสัมพพิ ฑั ฒนพรหมจรยิ าจารย (บญุ ) และพระธรรมราชานุวตั ร (กมล โกวโิ ท), ประวตั วิ ัดพระเชตพุ น
วิมลมังคลาราม, 43.
13
ตอมาในชวงปพ.ศ.2517-2520 ปฏิสังขรณและลงรักปดทองพระพุทธโลกนาถในพระวิหารทิศ
ตะวันออก ในป พ.ศ. 2505-2506
ตอมาในสมัยพระวิสุทธาธิบดี (สงา ปภสฺสรมหาเถร) เปนเจาอาวาสระหวางป พ.ศ.
2521-2534 ทานไดรับภาระกิจดําเนินการบูรณะปฏิสังขรณวัดพระเชตุพนฯเปนการใหญ โดยไดรับ
ความรวมมือและการสนับสนุนจากท้ังภาครัฐและเอกชน ตลอดจนประชาชนผูมีจิตศรัทธาสมทบ
ทุนในการบูรณปฏิสังขรณ ทําใหปูชนียวัตถุสถานในพระอารามไดรับการบูรณปฏิสังขรณใหคง
สภาพเรียบรอ ย สมบูรณ มัน่ คงแขง็ แรง 31
การบูรณปฏิสังขรณในชวงน้ีส้ินคาใชจายเปนจํานวนถึงหน่ึงรอยยี่สิบเจ็ดลานบาทเศษ
ในสวนที่เปนพระพุทธรูปสําคัญ มีการลงรักปดทองพระประธาน และพระอรหันต 10 องคในพระ
อุโบสถ 32 แตไมไ ดก ลาวถึงการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูปในพระระเบียงรอบพระอุโบสถ คาดวา
ในการน้พี ระพทุ ธรปู ในพระระเบยี งช้ันในคงจะไดม กี ารลงรกั ปด ทองไปดว ยพรอ มกนั
ปจจุบันพระธรรมปญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร) ดํารงตําแหนงเจาอาวาสต้ังแตป พ.ศ.
2536 เปนตนมา ดังที่ปรากฏในปจจุบัน วัดพระเชตุพนฯไดรับการบูรณปฏิสังขรณถาวรวัตถุที่มี
ความสําคัญในพระอาราม ที่มีความชํารุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ใหมีความวิจิตรงดงามอยูเปน
เนืองนิตย รวมท้ังไดมีการกอสรางถาวรวัตถุขึ้นใหมทั้งในเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส ซึ่งใน
การนี้ไดมีการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูปในพระระเบียงพระอุโบสถดวยเชนกัน33 ในระหวางป
พ.ศ. 2536-2542 ไดม ีการบรู ณปฏิสงั ขรณพ ระพทุ ธรูปในพระระเบียงพระอโุ บสถ พระวหิ ารคด พระ
ระเบียงพระมหาเจดีย และในป พ.ศ. 2538 มีการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูปในพระระเบียงชั้นใน
และ ชั้นนอก 34
สาํ หรบั พระพทุ ธรปู ประจําพระระเบียงรอบพระอุโบสถนั้น ปรากฏวาเมื่อประมาณ 40 ป
ท่ีผานมา องคพระที่ลงรักปดทองไวชํารุดปูนกะเทาะหลนลงมา ทําใหเห็นเน้ือองคพระขางในเปน
สัมฤทธิ์ ทางวัดจึงไดบูรณปฏิสังขรณใหม โดยกะเทาะปูนปนท่ีหุมองคพระออก แลวลงรักปดทอง
ใหม ดังที่พลตรี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช กลาวไวในหนังสือวัดพระเชตุพนสองรอยป (2392-
2532)วา เมื่อสมัยยังเด็กน้ันเคยมาชม แตยังไมรูวาพระพุทธรูปในพระระเบียงเปนสัมฤทธิ์ที่ถูกหุม
ดวยปูนจนกระทั่งตอมาดวยความเกา ของเนื้อปูนท่ีหุมองคพระมาเปนเวลานานแลว เร่ิมรวงหลนลง
31 เรื่องเดียวกนั , 105-197.
32 เรอื่ งเดยี วกัน, 106-118.
33 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาภูมภิ ลอดุลยเดชฯ, สาํ เนาพระบรมราชโองการประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ แดพระ
ธรรมเสนานี (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลมที่ 117 ตอนที่ 281 (28 ธันวาคม 2543), 4-21, อา งถึงใน นยิ ะดา เหลา สนุ ทร, ประชมุ
จารึกวดั พระเชตุพน, 12-15.
34 นยิ ะดา เหลาสนุ ทร, ประชมุ จารกึ วัดพระเชตพุ น, 33-34.
14
มาเปนฝุน ทําใหเห็นเนื้อสัมฤทธิ์ของพระพุทธรูปท่ีอยูขางใน ทางวัดจึงทําการบูรณปฏิสังขรณ
ทีละองค สององค ดวยวธิ แี กะปูนทหี่ มุ ออก แลว ลงรกั ปด ทองใหม โดยทานไดรับความรูจากผูใหญ
ในกรมศิลปากรสมัยหน่ึงวา ไมสามารถกะเทาะออกดูท้ังหมดทุกองคได เนื่องจากไมแนใจวาองค
พระภายในมีความชํารดุ มากนอยแคไหน หากกะเทาะออกมาแลวชาํ รุดมากอาจจะซอ มไมไ ด 35
น. ณ ปากน้ํา ไดกลาวถึงลักษณะสภาพปจจุบันกอนการซอมของพระพุทธรูปในพระ
ระเบยี งรอบพระอโุ บสถวา เดมิ นน้ั องคพระถูกหมุ ดวยปูนใหเ ห็นเปนแบบแผนเดียวกัน ตอมาปูนได
กะเทาะชํารุด จึงเหน็ องคพระขา งในวาเปน สมั ฤทธ์ิ ทางวัดจึงไดกะเทาะเอาปนู ที่หุมออก และทําการ
ลงรักปด ทองใหม 36
นายรงั สรรค สถริ าวธุ ชางผคู วบคุมการบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูปประจําพระระเบียง
ในปจจุบนั ซงึ่ ไดสืบทอดความรูเกีย่ วกบั การซอ มแซมพระพุทธรปู ในวัดพระเชตุพนฯ จากบิดาและ
ปู ซึ่งเปนชางประจําวัดพระเชตุพนฯ ไดใหขอมูลวา พระพุทธรูปที่พระระเบียงชั้นในรอบพระ
อุโบสถ เปนสัมฤทธิ์ทั้งหมด สวนพระพุทธรูปปูนปนนั้นอยูในวิหารคดท้ังสี่ทิศ ซึ่งมีทั้งท่ีเปน
สมั ฤทธิ์และปูนปน ตอ มาพระพุทธรปู ปนู ปน บางองคม ีการชํารดุ สึกกรอ น พระอบุ าลีคุณูปมาจารย
(พ.ศ.2517-2520 ) ไดใหทําการหลอพระพุทธรูปใหมทั้งองคดวยสัมฤทธ์ิ แทนองคเกาที่ชํารุด โดย
ใชแ บบพิมพต ามแบบพระปูนองคเกา ทุกอยาง 37
จากการที่ปูนซึ่งพอกองคพระกะเทาะออก และปรากฏวา เน้ือแทขององคพระพุทธรูป
นั้นเปนสัมฤทธิ์ จึงสันนิษฐานวา เน้ือปูนท่ีพอกทับลงไป คงเปนในสมัยที่ทําการบูรณปฏิสังขรณ
ตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก คือหลังจากที่เชิญลงมาจากหัวเมืองทางเหนือ
แลวมาทําการบูรณะ ตอพระศอ พระเศียร หรือสวนที่ชํารุด พอมาในสมัยหลังการบูรณะมีเพียงการ
ลงรกั ปดทองแตไมไ ดมกี ารบรู ณะองคพระ เมื่อมาถึงสมัยปจจุบันเนื้อปูนไดกะเทาะหลุดรวงออกมา
ทางวัดจึงทําการบูรณปฏิสังขรณทีละองค สององค ไมไดทําการบูรณปฏิสังขรณในคราวเดียวกัน
หมด แตจะทยอยบูรณะเปนระยะๆ ตามสภาพความชํารุดขององคพระ องคไหนมีความชํารุด
เสยี หายมากจงึ จะทาํ การบรู ณะ หากองคไหนยังมสี ภาพดอี ยู กจ็ ะยงั คงรกั ษาเอาไวตามสภาพของเดิม
ซึง่ ในปจจบุ ันไดทาํ การบูรณปฎสิ ังขรณส าํ เร็จเรียบรอยไปแลว หลายองค
35 พล.ต.ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, “พระพุทธรูปโบราณในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม,”วดั พระเชตุพนสองรอ ยป (
2332-2532 ) , 53-56.
36 น. ณ ปากนํ้า, ศิลปไทยตามวัด (นครหลวงธนบุรี : ป.พิศนาคะ, 2515), 75.
37 สมั ภาษณ นายรังสรรค สถริ าวธุ หวั หนา ชา งบูรณปฏสิ งั ขรณประจําวัดพระเชตุพนฯ , 25 สงิ หาคม 2547 .
15
การบรู ณปฏิสังขรณพ ระพทุ ธรูปในพระระเบยี งรอบพระอุโบสถ ทางวดั มแี นวคดิ ใน
การบูรณะที่จะคงรูปแบบตามของเดิมเอาไวใหมากที่สุด เพื่อใหคนรุนหลังไดเห็นความงามของ
พระพุทธรูปโบราณอยางแทจริง ในการบูรณะพระพุทธรูปแตละองค ทางวัดจะเปนผูดูแลทําการ
บูรณะเองโดยใชชางผูชํานาญการของวัด เน่ืองจากชางเหลานี้คลุกคลีอยูกับการบูรณปฏิสังขรณ
พระพุทธรูปที่วัดพระเชตุพนฯนี้มาต้ังแตชางรุนกอน และไดถายทอดมาสูรุนปจจุบัน ดังนั้นยอมจะ
ไดพบเห็นและมีความคุนเคยกับลักษณะของพระพุทธรูปที่วัดพระเชตุพนฯเปนอยางดี อันจะมีผล
ใหก ารบูรณะเปนไปตามแนวคิดของทางวัดมากทส่ี ุด 38
แนวทางในการบรู ณะซอ มแซมนัน้ ทางชา งผทู ําการซอมจะดําเนนิ การตามแนวคดิ และ
นโยบายทว่ี ดั กาํ หนด คอื คงความเปนของเดมิ มากทส่ี ุด ดงั นัน้ การบรู ณะสวนใหญจ ะทาํ ตามลกั ษณะ
เดมิ ขององคพระพทุ ธรูปที่เปนเน้ือสมั ฤทธอิ์ ยขู างใน จะไมมีการทําใหผ ดิ เพี้ยนไป นอกจากในบาง
สวน ท่ีเม่ือกะเทาะปูนออกแลว พบความชํารุดเสียหายขององคพระเดิมที่อยูขางในน้ันมีมากจนไม
อาจซอมแซมใหเ หมอื นเดิมได จําเปนตองซอมในรูปแบบท่ีเหมาะสม และกลมกลืนกับของเดิมมาก
ที่สุด 39
ขัน้ ตอนในการบรู ณปฏิสังขรณพ ระพุทธรปู ประจาํ พระระเบยี งชั้นในรอบพระอโุ บสถ40
ข้ันแรก เปน การขัดและทาํ ความสะอาดผวิ ชนั้ นอก
ชางจะทําการขัดผิวนอกขององคพระพุทธรูปออกจนเห็นเน้ือรัก จากน้ันทําการกะเทาะ
เอาสวนท่ีเปนปูนที่พอกองคพระออก โดยจะกะเทาะสวนท่ีกรอนออกกอนเพ่ือดูความหนาของเนื้อ
ปูนท่ีพอก แลวกะเทาะสวนท่ีมีความเปราะบาง เชน บริเวณพระพักตร เม็ดพระศก เปนตน แลวจึง
กะเทาะในสวนอ่ืนๆที่มีปูนพอกอยูจนหมด หลังจากนั้นจะตองรอใหความชื้นที่องคพระหมดไป
โดยปลอยใหถูกอากาศเพ่ือใหความชน้ื ในเนื้อสมั ฤทธ์ิระเหยไปจนองคพระแหงสนทิ
ในขณะทผ่ี ูวิจยั ทําการศึกษาเร่ืองนี้ มีพระพทุ ธรูปทีช่ างกําลังทําการบูรณะอยู ( องคท่ี 50
และองคที่ 51 ) ชางสามารถกะเทาะเอาปูนออกจากพระพักตรของพระพุทธรูปท่ีกําลังทําการบูรณะ
อยนู ี้ โดยทเี่ น้อื ปูนไมแตกเสียหาย มีลักษณะคลายหนากากที่พอกทับลงบนพระพักตรของพระพุทธ
รปู องคท ่ีอยขู า งใน ( ภาพท่ี 3 ) ทาํ ใหเ หน็ ถึงลกั ษณะของการพอกปนู ทับองคเ ดมิ และเห็นเนื้อแทของ
พระพทุ ธรปู องคขา งในอยา งชัดเจน ( ภาพที่ 4 )
ข้ันทีส่ อง เปนการขัดสนมิ สัมฤทธแิ์ ละซอ มแซมสว นท่ชี ํารดุ
38 สัมภาษณ พระศรวี ิสทุ ธวิ งศ (สุรพล ชิตญาโณ) ผชู ว ยเจา อาวาส วัดพระเชตพุ นฯ, 22 มีนาคม 2547.
39 สมั ภาษณ นายรังสรรค สถริ าวธุ , หัวหนา ชางบูรณปฏิสงั ขรณป ระจาํ วัดพระเชตพุ นฯ , 25 สงิ หาคม 2547.
40 สมั ภาษณ นายสพุ รรณ งามจนั ทรอ ัด, ชางผทู ําการบูรณปฏสิ ังขรณพ ระพทุ ธรูปประจาํ พระระเบียงรอบพระอโุ บสถ
วัดพระเชตุพนฯ , 24 มิถนุ ายน 2547.
16
ชางจะทําการขัดสนิมสัมฤทธิ์ออกจนหมด ( ขณะเดียวกันก็จะทําการซอมสวนฐานไป
พรอมกันนั้นดวย ) จากนั้นจะซอมแซมสวนที่ชํารุดผุกรอนบนองคพระ อาจจะโดยวิธีการเช่ือมหรือ
หลอ ใหมแ ลว นาํ มาตอกับองคเ ดมิ ขน้ึ อยกู ับความชํารุดมมี ากนอ ยแคไหน แลวจึงขดั เจียรผวิ องคพ ระ
ใหเรยี บเนยี นเสมอกนั โดยใชเ ครอ่ื งขัด (ภาพที่ 5) การซอ มสว นที่ผุ จะซอ มตามริ้วรอยเดิม ไมมีการ
พอกปนู นอกจากบางสว นท่ีชํารุดเลก็ นอย เชนสว นพระกรหรอื พระเพลา อาจมีการปนปูนซอมบาง
การท่ีเห็นบางองคมีลักษณะไมไดสวนเชนพระกรใหญบาง เศียรเล็กบาง เปนลักษณะดั้งเดิมท่ีมีมา
แตสมัยรัชกาลที่ 1 ในการซอมจะกระทําโดยชางภายในวัด ไมมีการนําองคพระไปซอมนอกวัด
เน่ืองจากเกรงวาโรงหลอจะทําเลียนแบบเอาของใหมมาแทนของเกา เพราะเคยปรากฏวามีการ
ลักลอบตดั เศยี รพระพทุ ธรปู ไป 1-2 องค แตติดตามคนื กลบั มาได
ขนั้ ทีส่ าม เปนการทําผวิ องคพระใหเ รียบกอ นลงรกั ปด ทอง
ลําดับแรกชางจะลงน้ําขี้เหล็กกันเช้ือความเค็ม แลวลงรักธรรมชาติท้ิงไวใหแหง จากน้ัน
เอาสมุก 41 ทาปดรอยพรุนหรือขรุขระ ปลอยท้ิงไวใหแหง (ภาพท่ี 6) ซึ่งจะใชเวลาประมาณ 2-4
สัปดาหหรือมากกวาน้ัน แลวแตคุณภาพของรัก เมื่อสมุกแหงและแข็งไดที่แลวก็จะทําการขัดให
เรยี บ แลว ทาสมกุ ซํา้ ใหมและขดั ใหม ทาํ อยางนี้หลายคร้งั จนผวิ องคพ ระเรียบหมดทกุ สวน
ข้นั ทีส่ ่ี เปนการลงรกั
ชางจะลงรักนา้ํ เกล้ยี งใหมท ้งั องค ปลอยทง้ิ ไวใ หร ักแหง ไดท ี่ รอการปด ทอง
ข้นั ท่ีหา ทําการปดทองทั้งองค
เมื่อปดทองเสร็จเรียบรอยแลว ชางจะตกแตงบริเวณพระเนตร จากนั้นจะขัดเงาใหเกิด
ความสดใสสวยงาม (ภาพที่ 7) การปดทองในปจจุบัน โดยทั่วไปนิยมใชการทาสีแทนการลงรัก แต
ที่วัดพระเชตุพนฯ การบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูปโดยการปดทอง ยังอนุรักษวิธีการลงรัก
ธรรมชาติ ฉะน้ันในการลงรักปดทองแตละคร้ังจึงใชเวลานานเนื่องจากตองเสียเวลาในการรอใหรัก
ธรรมชาตแิ หง ไดท ่พี อดที ี่จะทําการปด ทอง
จากการศึกษาพระพทุ ธรูปองคท ี่กําลงั บูรณะอยูตามลําดับข้ันตอนการบูรณะขางตน( องค
ท่ี 51 ภาพที่ 8 ) พบวา องคพ ระพุทธรปู ภายในซง่ึ เปนสมั ฤทธิ์นน้ั มีพุทธลักษณะตางไปจากพุทธ
ลักษณะเดิมที่เปนองคพระพอกปูนกอนมีการกะเทาะ กลาวคือลักษณะโดยรวมของพระพุทธรูป
องคท่ี 51 กอนการกะเทาะปูนออก มีพุทธลักษณะเปนแบบรัตนโกสินทรสมัยรัชกาลที่ 1 โดยนํา
รูปแบบไปเปรียบเทียบกับพระปาเลไลย ซ่ึงเปนพระพุทธรูปที่สรางข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 1 เห็นได
41 สมกุ อา นวาสะหมุก หมายถึงเขมาหรือถา นผสมกับข้รี กั ในการซอ มพระพุทธรูปทว่ี ัดพระเชตุพนฯ ชางประจาํ วดั
ใชต นกลว ยเผาใหเปน ผงถาน นาํ มาโขลกปน ใหล ะเอยี ด แลว ผสมกบั รกั ธรรมชาติ ( นายรงั สรรค สถริ วุธ หวั หนาชางบูรณะ
พระพุทธรูปวัดพระเชตุพนฯ , 2547 . )
17
ชัดเจนวาพระพักตรและพุทธลักษณะโดยรวม มีความคลายกันมาก แตเมื่อกะเทาะปูนออก
พระพทุ ธรปู สมั ฤทธ์ทิ ีอ่ ยภู ายใน มีพทุ ธลกั ษณะแบบสโุ ขทัย ( ภาพที่ 9 )
จากการสังเกตพบวาพระพุทธรูปท่ีนํามาพอกปูนไวท่ีพระระเบียงช้ันในน้ี เปนพระพุทธ
รูปขนาดใหญ และมขี นาดใกลเ คียงกัน โดยพระพุทธรูปที่อยูมุมพระระเบียงจะมีขนาดใหญกวาและ
ท่ีมุมพระระเบียงดานทิศตะวันออกมีขนาดใหญกวาท่ีมุมอื่น สันนิษฐานวา อาจจะพยายามเลือกเอา
พระสมยั เดยี วกัน แบบเดียวกนั มาพอกปนู ใหมีลักษณะเหมอื นกันทัง้ หมด ในการบรู ณปฎิสังขรณ
พระพุทธรูปในสมยั ปจจุบนั จงึ พบวา ปูนท่ีพอกเอาไวจะพอกสว นพระพกั ตรเ ปน สวนใหญ ทีอ่ งค
พระมีพอกปนู บา งบางๆเพือ่ ใหขนาดใกลเ คยี งกนั และพทุ ธลกั ษณะเปน แบบเดยี วกนั ตามท่ตี องการ
หลักฐานท่สี นบั สนุนความคดิ ขอน้ี คอื หนากากปนู ท่กี ะเทาะออกมามพี ระพักตรแ บบรตั นโกสนิ ทร
(ภาพท่ี 3 , 4 )
ในการแปลงพระพกั ตรท ําใหดคู ลา ยแบบรัตนโกสินทรนั้น นายรังสรรค สถิราวุธ ให
ขอมูลวา ในการบูรณะสว นพระเศียรในสวนทเ่ี ปน เม็ดพระศก พบวาสวนยอดเม็ดพระศกเปนดินเผา
เนอ่ื งจากพระพุทธรปู เดิมเปนสัมฤทธิ์ มีเม็ดพระศกลักษณะเหมือนเม็ดขนุนแบบอูทองบาง ลักษณะ
เปนกนหอยแบบสุโขทัยบาง เมื่อทําใหพระพักตรเปนแบบรัตนโกสินทร จึงมีการทําเม็ดพระศก
ใหม โดยเอาดินพอก แลวตดิ เม็ดดนิ เผาเม็ดเล็กๆลักษณะเหมือนเม็ดถ่ัวเขียวบนสวนยอดเม็ดพระศก
แตล ะเมด็ (ภาพที่ 10 )
แมวาพระพุทธรูปที่พระระเบียงชั้นในสวนใหญ ปูนท่ีพอกไวกะเทาะเกือบหมดแลว
และไดร ับการบูรณปฎสิ ังขรณใ หมในสมยั ปจจุบันเกือบทุกองค แตก็มีพระพุทธรูปบางองคที่ทางวัด
ไมทําการบูรณะ เน่ืองจากตองการอนุรักษเอาไวสําหรับการศึกษา โดยตองการใหเห็นเน้ือแท และ
รูปแบบเดิมของพระพุทธรูป 42 พระพุทธรูปดังกลาวสภาพของรักยังสมบูรณอยู จึงมีพระพักตร
เปน แบบรัตนโกสินทร ไดแก พระพุทธรูปที่พระระเบียงชั้นในบางองค เชน องคท่ี 69 ( ภาพท่ี11 )
องคท ่ี 71 ( ภาพที่ 12 ) และพระพทุ ธรูปที่พระระเบยี งช้นั นอกดา นทศิ ตะวนั ตกบางองค (ภาพท่ี 13)
42 สมั ภาษณ พระศรวี ิสทุ ธิวงศ ( สรุ พล ชติ ญาโณ ) ผชู ว ยเจา อาวาส วดั พระเชตพุ นฯ , 22 มีนาคม 2547 .
18
บทที่ 3
พระพุทธรปู ทพี่ ระระเบยี งชน้ั ในรอบพระอุโบสถกบั การวิเคราะหร ปู แบบ
พระพุทธรูปท่ีประดิษฐานอยูที่พระระเบียงช้ันในรอบพระอุโบสถวัดพระเชตุพนฯ มี
จํานวน 150 องค เปน พระพุทธรูปเกาแกท่อี ัญเชญิ มาจากหวั เมืองฝายเหนือ ในสมัยรัชกาลท่ี 1 โดย
โปรดใหป ฏสิ งั ขรณใหส มบรู ณ งดงาม กอ นนาํ มาประดิษฐานท่ีพระระเบียงช้ันใน ในการศึกษาและ
วิเคราะหร ปู แบบของพระพทุ ธรูปดังกลาว จงึ จาํ เปนตอ งศึกษาการแบงยคุ สมัยของพระพุทธรูปท่ีพบ
ในประเทศไทยกอน จากน้ันจึงทําการวิเคราะหรูปแบบ จําแนกสมัยของพระพุทธรูปท่ีพระระเบียง
ชั้นใน และศึกษาถึงตําแหนงการวาง จํานวน และขนาดของพระพุทธรูป ตลอดจนลักษณะของ
พระพุทธรูปท่ีมีการปฏิสังขรณตางไปจากลักษณะพุทธศิลปเดิม ทําใหเกิดการผสมผสานลักษณะ
พทุ ธศิลปใ นพระพทุ ธรปู บางองค
1. การจําแนกกลุมพระพทุ ธรูปตามลกั ษณะพุทธศิลป
ในการจําแนกกลุมพระพุทธรูปท่ีพระระเบียงช้ันใน ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหรูปแบบ
ของพระพทุ ธรปู โดยยดึ แนวการแบงยุคสมัยของพระพุทธรูปที่พบในประเทศไทยตามลักษณะพุทธ
ศิลป ท่ี ม.จ.สุภทั รดศิ ดศิ กลุ ไดทาํ การศกึ ษาไวแ ลว เปนหลกั ดงั นี้ 43
1.1 ยุคสมยั และลกั ษณะพทุ ธศลิ ปข องพระพทุ ธรูปในประเทศไทย
พระพุทธรปู ที่พบในประเทศไทย ในสมยั ทีช่ นชาตไิ ทยเขา ปกครองประเทศแลว แบง
ออกไดเ ปน 5 สมยั เร่ิมจากศิลปะแบบเชียงแสน สุโขทัย อทู อง อยธุ ยา และรตั นโกสินทร โดย
มลี กั ษณะพทุ ธศลิ ปด ังน้ี
1.1.1 พระพทุ ธรปู ในศิลปะแบบเชยี งแสน ( พ.ศ. 1600-2091 ) สว นมากพบทาง
ภาคเหนอื แบง ไดเปน 2 รนุ คอื เชียงแสนรนุ แรก และเชยี งแสนรนุ หลงั
เชียงแสนรนุ แรก มอี ายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี 16 ลงมา มีลกั ษณะคลา ยพระพทุ ธรูป
แบบปาละของอนิ เดยี ( ภาพท่ี 14 ) กลา วคอื
- พระรศั มเี ปน รปู ดอกบวั ตมู หรือลกู แกว
43 ดูรายละเอียดเพมิ่ เติมจาก หลวงบริบาลบุรีภัณฑ. และ ม.จ.สุภัทรดศิ ดศิ กุล , พระพุทธรูปตา งๆใน
ประเทศไทยและพทุ ธศลิ ปใ นประเทศไทย (ม.ป.ท. , 2503. พมิ พในงานฌาปนกจิ ศพนางบญุ สิน บรู ณธนติ ก.ค.
2503 ) , 22-52. ; ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล , ศิลปะในประเทศไทย , พมิ พค ร้งั ท่ี 11 ( กรุงเทพฯ :
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร, 2539 ) , 22- 29 .
19
- ขมวดพระเกศาใหญเ ปน ตอ มกลมหรือกนหอย ไมม ีไรพระศก
- พระพักตรก ลมสัน้ พระโอษฐเล็กลกั ษณะอมยมิ้ พระหนเุ ปน ปม พระขนงโกง
พระนาสกิ งมุ
- พระวรกายอวบอวน พระอรุ ะนนู สงั ฆาฏิสน้ั อยเู หนอื ถันปลายเปนเขย้ี วตะขาบ
- น่งั ขัดสมาธิเพชร แลเหน็ ฝา พระบาทท้งั สองขาง ปางมารวชิ ัย
- ฐานมแี บบกลบี บัวคว่าํ บวั หงายและมเี กสรประกอบ และมแี บบฐานเขยี ง
เชียงแสนรุน หลังหรือเชียงใหม มีอายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 20 ลงมา เปน แบบทม่ี ี
อิทธิพลของสุโขทยั เขามาปน ( ภาพท่ี 15 ) ทาํ ใหม ลี ักษณะตางไปจากเชียงแสนรุนแรก คือ
- พระรศั มีเปน รปู ดอกบัวตมู ทีส่ งู ข้นึ มาหรอื สวนใหญเปนรปู เปลวไฟ
- ขมวดพระเกศาเลก็ มีไรพระศก พระพกั ตรมกั เปนรูปไขม ีพระพกั ตรก ลมอยูบ า ง
- พระวรกายแมจ ะอวบและพระอรุ ะนนู แตส งั ฆาฏยิ าวลงมาถึงพระนาภี
- นัง่ ขดั สมาธิราบแลเหน็ ฝาพระบาทขางเดียว ฐานบางครั้งเรียบไมมลี วดลาย
- ปาง มีท้งั ปางสมาธิ ปางอุมบาตร ปางกดรอยพระบาท ปางไสยาสน ปางน่งั หอ ย
พระบาท
1.1.2 พระพุทธรูปในศิลปะแบบสุโขทยั ( พุทธศตวรรษที่ 19 – 20 ) พระพทุ ธรปู
แบบสุโขทยั ในยุคแรก มกั มีพระพกั ตรก ลมตามแบบศลิ ปะลังกา สําหรบั พระพทุ ธรูปแบบสโุ ขทยั
ในยุคกลางจะมีวงพระพกั ตรย าว พระหนุเสยี้ ม สว นพระพุทธรูปแบบสโุ ขทัยในยุคหลังวงพระ
พกั ตรจะเปนรปู ไข ปลายนวิ้ พระหตั ถย าวเสมอกัน พระพุทธรปู ในศลิ ปะแบบสโุ ขทยั แบงออกได
เปน 4 หมวด คอื
หมวด 1 พระพทุ ธรปู แบบสโุ ขทัยหมวดใหญ มลี ักษณะเปนศลิ ปะสโุ ขทัย
โดยเฉพาะ กลาวคอื
- พระรัศมีเปน เปลว ขมวดพระเกศาเลก็ เปน กน หอย สวนมากไมม ไี รพระศก
- พระพกั ตรร ูปไข พระขนงโกง พระนาสิกงมุ พระโอษฐย ิม้ เลก็ นอ ยตามแบบ
ลักษณะอนิ เดยี
- พระองั สาใหญ บั้นพระองคเลก็ ชายสงั ฆาฏยิ าวลงมาถงึ พระนาภี ปลายเขย้ี ว
ตะขาบ
- ขดั สมาธริ าบ ฐานเปน หนากระดานเกลี้ยง ไมค อ ยทําฐานกลีบบวั ตอนกลาง
แอน เขาขางใน(Concave) ตา งจากฐานของเชยี งแสนทเ่ี ปน ฐานกระดานโคงออกมาขางนอก(Convex)
- ปาง ทําเปน ปางตางๆตามอริ ิยาบถคอื ปางลลี า ปางไสยาสน ปางประทานอภยั
ปางถวายเนตร ปางมารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ ปางสมาธิมนี อ ยสว นมากทําปางมารวชิ ยั
20
หมวด 2 พระพทุ ธรปู แบบสโุ ขทัยหมวดกาํ แพงเพชร จะมพี ระพักตรตอนบน
กวางกวาพระพักตรต อนลา งมาก พระหนเุ สี้ยม ( ภาพที่ 16 ) เทา ทพี่ บมีอยนู อย
หมวด 3 พระพุทธรูปแบบสโุ ขทัยหมวดพระพุทธชินราช มีพระพกั ตรค อ นขา ง
กลม พระวรกายคอนขา งอวบ นวิ้ พระหัตถท ัง้ สปี่ ลายเสมอกัน ( ภาพที่ 17 )
หมวด 4 พระพทุ ธรูปแบบสุโขทยั หมวดวดั ตะกวน มลี กั ษณะแบบเชยี งแสนผสม
กับแบบลงั กา บางองคช ายสังฆาฏสิ ้นั พระนลาฎแคบ แตพ ระวรกายและฐานเปน แบบสโุ ขทัยทั่วไป
1.1.3 พระพุทธรูปในศลิ ปะแบบอทู อง (ราวพทุ ธศตวรรษที่ 17 – 20) ลักษณะ
ของพระพทุ ธรูปแบบอูทองคอื
- พระรัศมี มที ้ังเปน แบบดอกบวั ตมู และยาวเปน เปลว เม็ดพระศกเปน ตมุ เลก็
คลา ยหนามเปลือกขนุน มีไรพระศกเปน กรอบรอบวงพระพักตร พระหนุปานแบบคางคน
- ชายสงั ฆาฏิยาว ปลายตดั เปน เสน ตรง ชายอนั ตรวาสกขางบนเปนสนั
- ขัดสมาธริ าบ ปางมารวชิ ยั ไมม ขี ัดสมาธิเพชรเลย
- ฐานเปน ฐานหนา กระดานเปน รอ งแอนเขาขางใน
พระพุทธรูปในศิลปะแบบอูทองมี 3 แบบคอื
แบบท่ี 1 มอี ทิ ธพิ ลของศิลปะทวารวดแี ละขอมผสมกนั ลักษณะสาํ คัญคือพระรศั มเี ปน
แบบดอกบวั ตมู เครอื่ งแตง พระพกั ตรแ ละจวี รคลายแบบทวารวดแี ตพ ระพักตรเหลยี่ มแบบขอม มไี ร
พระศก มอี ายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ 17-18 ( ภาพท่ี 18 )
แบบที่ 2 มีอิทธิพลของศลิ ปะขอมหรือลพบุรมี ากขึน้ พระรศั มีเปน เปลว อายุราวพุทธ
ศตวรรษที่ 18-19 ( ภาพที่ 19 )
แบบที่ 3 มลี ักษณะของศิลปะสโุ ขทยั เขามาปนอยมู าก แตล กั ษณะเปนแบบอทู อง คอื มี
ไรพระศก และฐานเปน หนา กระดานแอนเขาขา งใน อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี 19-20 ( ภาพท่ี 20 )
1.1.4 พระพทุ ธรูปในศิลปะแบบอยุธยา(พทุ ธศตวรรษท2ี่ 0-23) แบงออกเปน2 ชว ง
คือ
ชว งแรก เปน พระพทุ ธรปู ในศิลปะแบบอยุธยาตอนตน มีลักษณะคลา ยแบบอูท องแบบ
ท่ี 2-3 คือพระรัศมมี ที ั้งเปน ตอ มและเปน เปลว มีไรพระศก พระหนุปา น ชายสังฆาฏยิ าวปลายตดั
อายุราวพ.ศ.1991-2031 เปนชวงศลิ ปะแบบอทู องเปลย่ี นเปนอยธุ ยา ( ภาพที่ 21 )
ชว งหลงั เปนพระพทุ ธรปู ในศิลปะแบบอยธุ ยาตอนปลาย มลี ักษณะแบบสโุ ขทยั เขามา
ปน คอื ทําวงพระพักตรแ ละพระรศั มีตามแบบสุโขทยั แตมีพระพกั ตรยาวกวา แบบอยุธยาตอนตน
และสังฆาฏมิ ีขนาดใหญ ที่ฐานมีลวดลายเคร่อื งประดบั มากมาย ในชวงน้ีนยิ มสรา งพระพทุ ธรูป
แบบทรงเครื่อง ทง้ั แบบทรงเคร่อื งใหญ ( ภาพท่ี 22 ) และทรงเครือ่ งนอ ย ( ภาพที่ 23 ) และมี
21
พระพทุ ธรูปที่ทําเลียนแบบพระพุทธสหิ งิ คเ มืองนครศรีธรรมราช ซึง่ มลี กั ษณะคลายพระพุทธรปู
แบบเชยี งแสน ( ภาพที่ 24 )
1.1.5 พระพุทธรปู ในศิลปะแบบรัตนโกสนิ ทร ( พุทธศตวรรษท่ี 24 – ปจ จบุ นั ) มี
ลักษณะของพระพุทธรปู แบบสุโขทยั และแบบอยุธยาผสมกัน ตางแตพ ระเกตมุ าลาสงู กวาแบบสโุ ข
ทัยและอยธุ ยา เม็ดพระศกเล็กเลียนแบบเชยี งแสน แตจะไมเ หมอื นเชยี งแสนแท
พระพุทธรูปทสี่ รางในสมยั รชั กาลท่ี 1 ลกั ษณะจะคลายแบบอยุธยาตอนปลายแตค วามมี
ชีวิตจติ ใจลดนอ ยลง ( ภาพที่ 25 )
พระพทุ ธรปู ที่สรางในสมัยรัชกาลที่ 2 ,3 เปนเชน เดียวกบั ท่สี รางในสมัยรัชกาลท่ี 1 แต
จะเนน ความสวยงามของลวดลายเครอ่ื งประดับ ย่งิ กวา สีพระพกั ตรของพระพุทธรปู
พระพทุ ธรปู ทีส่ รา งในรชั กาลที่ 4 ทรงคดิ แบบอยา งพระพุทธรปู ข้ึนใหม แกพ ุทธลกั ษณะ
ใหค ลา ยมนษุ ยสามัญมากขึ้น คือไมม พี ระเกตุมาลาหรอื พระเมาลี มจี ีวรเปน รว้ิ ขดั สมาธเิ พชรปาง
สมาธิ แตไมเปนที่นิยมกนั
พระพุทธรูปที่สรา งในสมัยรัชกาลท่ี 5-6 พระพุทธรปู กลบั มามีพระเกตุมาลาใหม และมี
ลกั ษณะเหมอื นมนษุ ยส ามัญมากขึ้น
พระพุทธรูปในแบบรตั นโกสินทรจ ีวรจะมีลายดอกไมเ ขามาประดับ ตางจากพระพทุ ธรูป
แบบอยุธยา
1.2 ผลการวิเคราะหร ูปแบบของพระพทุ ธรปู ทีพ่ ระระเบยี งช้ันใน
จากการวเิ คราะหรูปแบบของพระพทุ ธรปู ท่พี ระระเบยี งชนั้ ใน โดยพิจารณาและวเิ คราะห
จากลักษณะสําคัญของปฏิมากรรม แยกจากลักษณะที่ตางไปจากของเดิมในการซอมแซมสวนที่
ชํารุดในครั้งทําการปฏิสังขรณ ( ซ่ึงจะกลาวถึงในหัวขอตอไป ) แลวเปรียบเทียบกับลักษณะพุทธ
ศิลปของพระพุทธรูปแบบตางๆดังกลาวมาแลวในขอ 1.1 จําแนกพระพุทธรูปแตละองคที่พระ
ระเบียงชนั้ ในออกเปนแบบตางๆไดตามตารางแสดงผลการวิเคราะหรูปแบบของพระพุทธรูปที่พระ
ระเบยี งช้นั ในรอบพระอโุ บสถ
การนับลําดับองคท่ีของพระพุทธรูป เร่ิมจากระเบียงดานหนาพระอุโบสถ จากทิศ
ตะวันออกเฉยี งเหนือ ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต ซง่ึ ดูไดจ ากแผนผังท่ี 1 และดภู าพพระพุทธรูป
แตล ะองคไ ด ในสว นภาคผนวกทา ยเลม
สาํ หรับหนว ยวัดขนาดหนาตกั พระพุทธรปู ในท่นี ไี้ ดร กั ษาหนว ยวดั เดิมเอาไว แปลงเปน
หนว ยวดั ปจ จบุ ันไดดงั น้ี 1 ศอก = 60 ซ.ม. 1 คบื = 30 ซ.ม. 1 นิ้ว = 2.5 ซ.ม.
22
แผนผังท่ี 1 แสดงตาํ แหนงพระพทุ ธรปู ประจาํ พระระเบยี งช้นั ใน
ทม่ี า : ภาวิดา จนิ ประพฒั น ( ผูเขยี น )
23
ตารางที่ 1 แสดงผลการวเิ คราะหรปู แบบพระพทุ ธรปู ท่พี ระระเบยี งชั้นในรอบพระอโุ บสถ
องคท่ี รปู แบบพุทธศลิ ป ปาง ขนาดหนาตัก
1 อยธุ ยา มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ ศอก คืบ น้ิว
2 อยุธยา สมาธิ ขดั สมาธริ าบ
3 อยุธยา สมาธิ ขัดสมาธิราบ 20 9
4 อทู อง มารวิชยั ขดั สมาธิราบ 21 0
5 อูทอง มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ 21 0
6 อูท อง มารวชิ ัย ขัดสมาธริ าบ 2 0 10
7 สโุ ขทยั มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ 20 4
8 อทู อง มารวชิ ัย ขัดสมาธริ าบ 20 6
9 อทู อง มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 20 5
10 อทู อง มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ 20 1
11 สุโขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ 20 1
12 อูทอง มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 20 1
13 สุโขทัย มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 20 5
14 สโุ ขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ 20 3
15 สโุ ขทยั มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 20 5
16 อทู อง มารวิชยั ขดั สมาธริ าบ 20 7
17 อทู อง มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ 20 6
18 อูทอง มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ 20 3
19 อูทอง มารวิชัย ขดั สมาธิราบ 20 4
20 อทู อง มารวิชยั ขัดสมาธิราบ 20 2
21 อทู อง มารวิชยั ขดั สมาธิราบ 20 5
22 อทู อง มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 20 5
23 อยธุ ยา สมาธิ ขดั สมาธิราบ 20 6
24 อทู อง สมาธิ ขัดสมาธิราบ 20 7
25 อทู อง มารวิชยั ขัดสมาธิราบ 20 4
20 5
20 7
24
ตารางที่ 1 (ตอ) ปาง ขนาดหนา ตกั
องคที่ รปู แบบพทุ ธศลิ ป มารวชิ ยั ขัดสมาธริ าบ ศอก คบื นว้ิ
มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ
26 อทู อง มารวิชัย ขัดสมาธิราบ 20 8
27 อทู อง สมาธิ ขดั สมาธริ าบ 20 9
28 อยธุ ยา สมาธิ ขัดสมาธิราบ
29 อยุธยา สมาธิ ขดั สมาธิราบ 20 9
30 อยธุ ยา สมาธิ ขดั สมาธริ าบ
31 อยธุ ยา สมาธิ ขดั สมาธิราบ 21 3
32 อยุธยา มารวิชยั ขดั สมาธิราบ
33 อยุธยา สมาธิ ขัดสมาธริ าบ 21 3
34 อยธุ ยา มารวิชัย ขัดสมาธิราบ
35 อยุธยา มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ 2 1 10
36 อทู อง มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ
37 อูทอง มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ 21 1
38 อูทอง มารวิชยั ขดั สมาธิราบ
39 อูทอง มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 21 6
40 อยธุ ยา มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ
41 อยธุ ยา มารวิชยั ขดั สมาธริ าบ 21 8
42 อยุธยา มารวชิ ัย ขัดสมาธริ าบ
43 อูทอง มารวิชยั ขดั สมาธิราบ 21 5
44 อทู อง สมาธิ ขดั สมาธริ าบ
45 อทู อง มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ 2 0 10
46 อยธุ ยา มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ
47 อูทอง มารวิชยั ขัดสมาธิราบ 2 0 11
48 อูท อง มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ
49 สโุ ขทัย 20 6
50 สโุ ขทยั
2 0 10
20 4
20 8
20 2
20 4
1 1 11
20 4
1 1 11
20 3
20 1
20 3
1 1 11
25
ตารางท่ี 1 (ตอ ) ปาง ขนาดหนาตกั
องคท ่ี รูปแบบพทุ ธศลิ ป มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ ศอก คืบ น้ิว
มารวิชัย ขดั สมาธิราบ
51 สุโขทยั มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 11 11
52 สุโขทัย มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ 20 0
53 สุโขทยั มารวิชยั ขดั สมาธิเพชร
54 สุโขทยั มารวิชยั ขัดสมาธิราบ 11 7
55 เชียงแสน มารวิชัย ขัดสมาธิราบ
56 สุโขทัย มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 11 8
57 สโุ ขทยั มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ
58 สโุ ขทยั มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 11 7
59 สโุ ขทยั มารวิชยั ขดั สมาธิราบ
60 สุโขทัย มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ 11 7
61 สโุ ขทัย มารวชิ ัย ขดั สมาธิราบ
62 สโุ ขทัย มารวิชยั ขดั สมาธิราบ 1 1 11
63 สุโขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ
64 อยุธยา มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 20 0
65 อทู อง มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ
66 อทู อง มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 11 9
67 อทู อง มารวิชยั ขดั สมาธริ าบ
68 อูทอง มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ 1 1 10
69 อทู อง สมาธิ ขัดสมาธิราบ
70 อูท อง สมาธิ ขดั สมาธิราบ 1 1 10
71 อยธุ ยา สมาธิ ขดั สมาธิราบ
72 อยธุ ยา สมาธิ ขดั สมาธริ าบ 20 0
73 อยุธยา สมาธิ ขดั สมาธริ าบ
74 อยธุ ยา 1 1 11
75 อยุธยา
1 1 11
1 1 11
11 7
11 9
1 1 11
20 0
1 1 11
20 8
21 6
21 9
21 3
30 0
26
ตารางท่ี 1 (ตอ) ปาง ขนาดหนาตกั
องคท ่ี รูปแบบพุทธศลิ ป สมาธิ ขัดสมาธิราบ ศอก คืบ น้ิว
สมาธิ ขดั สมาธิราบ
76 อยธุ ยา มารวชิ ัย ขดั สมาธิราบ 21 6
77 อยธุ ยา มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ 21 0
78 อูทอง มารวชิ ยั ขัดสมาธริ าบ
79 สโุ ขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ 21 3
80 สโุ ขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ
81 สโุ ขทยั มารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ 21 2
82 สุโขทัย มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ
83 สุโขทยั มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 20 7
84 สุโขทยั มารวิชัย ขดั สมาธิราบ
85 สุโขทยั มารวิชัย ขัดสมาธิราบ 20 7
86 สุโขทัย มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ
87 สุโขทยั มารวชิ ยั ขัดสมาธริ าบ 20 5
88 สุโขทัย มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ
89 สุโขทยั มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ 20 0
90 เชยี งแสน มารวิชัย ขดั สมาธิราบ
91 เชียงแสน มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ 1 1 11
92 เชียงแสน มารวิชัย ขดั สมาธิราบ
93 อูทอง มารวิชัย ขดั สมาธิราบ 1 1 11
94 สโุ ขทยั มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ
95 สุโขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ 20 1
96 สุโขทัย มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ
97 สโุ ขทัย มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 20 1
98 สุโขทัย มารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ
99 สุโขทยั 11 5
100 สุโขทัย
11 9
1 1 11
20 0
11 9
11 8
1 1 11
1 1 11
1 1 11
1 1 11
1 1 11
21 1
20 3
27
ตารางที่ 1 (ตอ ) ปาง ขนาดหนาตกั
องคท่ี รปู แบบพทุ ธศลิ ป มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ ศอก คบื น้ิว
มารวิชยั ขดั สมาธริ าบ
101 สุโขทัย มารวิชยั ขดั สมาธิราบ 20 2
102 สโุ ขทัย มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ 20 3
103 สุโขทัย มารวชิ ยั ขัดสมาธริ าบ
104 สโุ ขทยั สมาธิ ขดั สมาธิราบ 20 3
105 อทู อง สมาธิ ขัดสมาธริ าบ
106 อยธุ ยา สมาธิ ขดั สมาธริ าบ 20 3
107 อยุธยา สมาธิ ขัดสมาธริ าบ
108 อยุธยา สมาธิ ขดั สมาธิราบ 21 2
109 อยธุ ยา สมาธิ ขัดสมาธริ าบ
110 อยธุ ยา สมาธิ ขัดสมาธิราบ 21 3
111 อยุธยา มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ
112 อยธุ ยา มารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ 21 1
113 อทู อง มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ
114 สุโขทยั มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ 21 3
115 สโุ ขทัย มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ
116 อยุธยา มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ 21 1
117 สโุ ขทัย มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ
118 สโุ ขทยั มารวิชัย ขัดสมาธิราบ 21 1
119 สโุ ขทยั มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ
120 สโุ ขทัย มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 2 1 11
121 สโุ ขทยั มารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ
122 สโุ ขทัย มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ 21 4
123 สุโขทัย มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ
124 สุโขทัย 21 1
125 สโุ ขทัย
20 7
20 7
20 7
20 3
20 4
20 7
20 5
20 5
20 4
20 3
20 8
20 8
28
ตารางท่ี 1 (ตอ ) ปาง ขนาดหนา ตกั
องคท่ี รปู แบบพุทธศลิ ป มารวิชัย ขดั สมาธิราบ ศอก คบื น้ิว
มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ
126 สโุ ขทยั มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 20 4
127 สโุ ขทัย มารวิชัย ขัดสมาธิราบ 20 5
128 สุโขทัย มารวิชยั ขดั สมาธิราบ
129 สโุ ขทัย มารวิชัย ขัดสมาธริ าบ 20 5
130 อทู อง มารวชิ ัย ขดั สมาธิราบ
131 สุโขทัย มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ 20 3
132 สโุ ขทัย มารวิชยั ขัดสมาธิราบ
133 สโุ ขทัย มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ 11 4
134 สโุ ขทยั มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ
135 สโุ ขทัย มารวิชยั ขัดสมาธริ าบ 20 1
136 สุโขทยั มารวิชัย ขดั สมาธิราบ
137 สโุ ขทยั มารวิชยั ขัดสมาธิราบ 20 0
138 สโุ ขทยั มารวชิ ยั ขัดสมาธริ าบ
139 อทู อง มารวชิ ัย ขดั สมาธิราบ 20 0
140 สโุ ขทัย มารวชิ ัย ขัดสมาธิราบ
141 อทู อง มารวชิ ัย ขดั สมาธริ าบ 20 0
142 อทู อง มารวชิ ยั ขดั สมาธริ าบ
143 สุโขทัย มารวชิ ัย ขดั สมาธิราบ 20 0
144 สุโขทยั มารวชิ ยั ขัดสมาธิราบ
145 อูท อง มารวชิ ยั ขดั สมาธิราบ 1 1 11
146 อูทอง มารวิชัย ขดั สมาธริ าบ
147 สโุ ขทยั สมาธิ ขดั สมาธริ าบ 20 1
148 อูท อง สมาธิ ขดั สมาธิราบ
149 อยุธยา 20 1
150 อยุธยา
20 1
20 1
1 1 10
20 2
20 5
20 6
20 4
20 4
20 5
20 9
21 1
21 2
29
1.3 การจาํ แนกกลุม พระพทุ ธรปู ท่ีพระระเบียงชน้ั ใน
จากตารางแสดงผลการวิเคราะหรปู แบบพระพทุ ธรปู ท่พี ระระเบียงช้ันใน ในขอ 1.2
สามารถแบง กลมุ พระพทุ ธรูปดงั กลา ว ตามลกั ษณะพทุ ธศิลปท ่ีปรากฏ ได 5 กลุม ใหญ ดังน้ี
1.3.1 กลุม พระพุทธรปู แบบเชยี งแสน มีจํานวน 4 องค
ไดแกพ ระพทุ ธรูปองคท ี่ 55 , 90 , 91 , 92 .
1.3.2 กลมุ พระพุทธรปู แบบสุโขทยั มจี าํ นวน 62 องค
ไดแ กพ ระพทุ ธรูปองคที่ 7 , 11 , 13 , 14 , 15 , 51 , 53 , 54 , 56 , 57 , 59 , 60 , 63 , 79 , 80 , 81 ,
82 , 83 , 84 , 85 , 86 , 87 , 88 , 89 , 94 , 95 , 96 , 97 , 98 , 99 , 100 , 101 , 102 , 103 , 104 , 114 ,
115 , 117 , 118 , 119 , 120 , 121 , 122 , 123 ,124 , 125 , 126 , 127 , 128 , 129 , 131 , 132 , 133 ,
134 , 135 , 136 , 137 , 138 , 140 , 143 , 144 , 147 .
1.3.3 กลุมพระพทุ ธรูปแบบอทู อง มีจาํ นวน 37 องค
ไดแ กพ ระพทุ ธรปู องคที่ 4 , 5 , 6 , 8 , 9 , 10 , 12 , 16 , 17 , 18 , 20 , 21 , 22 , 24 , 25 , 26 , 27 ,
36 , 37 , 39 , 45 , 48 , 66 , 67 , 68 , 70 , 78 , 93 , 105 , 113 , 130 , 139 , 141 , 142 , 145 , 146 ,
148 .
1.3.4 กลุมพระพุทธรูปแบบอยุธยา มีจํานวน 30 องค
ไดแ กพระพทุ ธรปู องคท ี่ 1 , 2 , 3 , 23 , 28 , 29 , 30 , 31 , 32 , 33 , 34 , 35 , 40 , 71 , 72 , 73,74 ,
75 , 76 , 77 , 106 , 107 , 108 , 109 , 110 , 111 , 112 , 116 , 149 , 150 .
1.3.5 กลมุ พระพทุ ธรปู ท่ีไดร บั การปฏิสังขรณม ีลกั ษณะผสมผสานของพุทธศิลป
ทตี่ างแบบกนั มจี าํ นวน 17 องค
ไดแ กพ ระพุทธรปู องคท ี่ 19 , 38 , 41 , 42 , 43 , 44 , 46 , 47 , 49 , 50 , 52 , 58 , 61 , 62 , 64 , 65,
69 .
2. พระพุทธรูปท่ีไดร บั การปฏิสงั ขรณต า งไปจากลักษณะพุทธศิลปเดมิ
2.1 กลุม พระพุทธรปู ท่มี ีลกั ษณะตางจากพุทธศลิ ปเ ดิม
ในการศึกษารูปแบบของพระพุทธรูปประจําพระระเบียงชั้นใน เพื่อจําแนกกลุมตาม
ลักษณะพุทธศิลป พบวามีพระพุทธรูปอยูจํานวนหน่ึงที่มีลักษณะพุทธศิลปตางไปจากเดิมซ่ึงอาจ
จะเปนผลมาจากการปฏิสังขรณในสมัยรัชกาลที่ 1 พระพุทธรูปดังกลาวนี้ รูปแบบจะมีลักษณะ
ผสมผสานระหวางรูปแบบของรัตนโกสินทร ซ่ึงมีลักษณะพุทธศิลปที่ไดรับอิทธิพลจากพุทธ
ศิลปแบบอยุธยา ผสมผสานกับรูปแบบพุทธศิลปเดิมขององคพระพุทธรูป พระพุทธรูปที่มี
ลักษณะเชนนมี้ ีจํานวน 17 องค แบงออกไดเ ปน 3 กลมุ ดังตอ ไปนี้
30
2.1.1 กลมุ พระพุทธรูปแบบสุโขทยั ท่ีมีพุทธศลิ ปแ บบรัตนโกสินทรผสมผสาน
พระพุทธรูปกลุมนไี้ ดแ กพระพทุ ธรปู องคท่ี 49 , 50 , 52 , 58 , 61 , และ 62
ลักษณะท่ีปรากฏเดนชัดคือ ในสวนที่เปนแบบสุโขทัยน้ัน สวนสําคัญของ
พระพุทธรปู สวนใหญยงั คงเปน พทุ ธศิลปแบบสโุ ขทยั กลาวคอื
- พระรัศมเี ปน เปลวสูง เมด็ พระศกเปนกน หอยทรงแหลมแตม ีขนาดเล็ก
- พระวรกายไดสวนสัด พระอังสาใหญบ้ันพระองคเล็ก ชายสังฆาฏิเปนแฉก
ซอนกัน
- พระองคลุ แี ละพระหตั ถไดสว นสัดและมคี วามออ นชอ ย
สําหรับสวนที่เปนพุทธศิลปแบบรัตนโกสินทร44 ไดแกสวนพระเศียรและพระ
พักตรซง่ึ จะมลี กั ษณะดงั นี้
- พระพักตรคอนขางเหลี่ยม กลมมน ดูออนหวาน ตางจากแบบสุโขทัยท่ีพระ
พกั ตรสวนใหญเ ปนรปู ไข
- พระขนงโกงโคง เกือบครง่ึ วงกลม
- พระเนตรเหลอื บตาํ่ เปน แนวเสนราบ
- พระนาสิกโดงพอดี ไมงมุ เหมอื นแบบสโุ ขทัย
- พระโอษฐม ีขนาดยาวและเหยยี ดเปน เสน ตรง มุมพระโอษฐกระดกข้ึนและแยม
พระสรวล(คลายอมย้ิม) ตา งจากแบบสุโขทยั
- พระกรรณทอดยาวลงมาเกือบจรดพระอังสา ปลายโคงออกเล็กนอย เบาพระ
กรรณเปนรูปทรงรีช้ีข้ึนดานบน ชองพระกรรณทําขมวดเปนรูปตัวกระหนกช้ันเดียวเรียบๆ สวน
ปลายพระกรรณเซาะเปน รอ งตามแนวยาวลงมา ( ภาพท่ี 26 )
2.1.2 กลมุ พระพทุ ธรปู แบบอทู องทีม่ พี ุทธศิลปแบบรตั นโกสนิ ทรผ สมผสาน
พระพุทธรูปกลุม น้ไี ดแกพ ระพุทธรูปองคท ี่ 19 , 38 , 43 , 44 , 47 , 65 และ 69
ลักษณะท่ีปรากฏเดนชัดคือ สวนพระเศียรมีลักษณะและรายละเอียดตางๆเปน
พุทธศิลปแบบรัตนโกสินทร เชนเดียวกับกลุมพระพุทธรูปแบบสุโขทัยที่มีพระพักตรแบบ
รตั นโกสนิ ทร ทกี่ ลา วถงึ ในขอขางตน
แตมีสว นสาํ คัญในสว นอ่นื ที่บงชดั วาองคเ ดิมเปน พระพทุ ธรูปแบบอทู องคอื
- สวนพระอรุ ะจะแบนลาดกวา แบบอยุธยา
- นวิ้ พระหัตถทัง้ สเี่ หยียดตรงลงมาและกางออกเลก็ นอ ย
44 สมเกยี รติ โลหเพชรตั น , พระพทุ ธรูปสมยั รัตนโกสนิ ทร (กรงุ เทพฯ : บริษทั โรงพมิ พต ะวันออก , 2540 ) , 58-64 .
31
- ชายจวี รซอ นกัน 2 ชาย ในลักษณะเปน แถบกวางและตรง
- พระเพลามลี ักษณะเปน สันตรงท่ีเรยี กวาแขง คม
2 .1.3 กลุมพระพทุ ธรูปแบบอยธุ ยาทมี่ พี ระพกั ตรเ ปน แบบรัตนโกสินทร
พระพุทธรปู กลมุ นีไ้ ดแกพ ระพุทธรปู องคท ่ี 41 , 42 , 46 และ 64
ลักษณะที่ปรากฏเดนชัดคือ พระพุทธรูปกลุมน้ี ในสวนที่เปนพระเศียรจะมี
ลักษณะและรายละเอียดตางๆเปนพุทธศิลปแบบรัตนโกสินทร ดังกลาวแลวในกลุมพระพุทธรูป
แบบสโุ ขทัยทม่ี ีพระพักตรแ บบรตั นโกสินทร แตในสวนอ่นื ๆเปนพุทธศิลปแบบอยุธยา ลักษณะ
สาํ คญั ที่บงชัดถงึ ความเปนพระพุทธรูปแบบอยุธยาของพระพทุ ธรูปกลุมนไ้ี ดแ ก
- พระวรกายมีโครงสรา งเสนรอบนอกในกรอบรูปสามเหลีย่ ม ลกั ษณะสงู โปรง
พระอุระโคง นูน ไดสัดสวน
- ปลายสงั ฆาฏิตัดเปนเสนตรงหรอื ทาํ เปน สองแฉกลงมา
- ชายจีวรซอ นกนั แถบเลก็ และโคงยอยลงมาเลก็ นอ ย
- น้ิวพระหตั ถท ัง้ สย่ี าวเหยียดตรงชิดกนั คลายแบบสุโขทยั
2.2 ขอ คิดเห็นเกีย่ วกับลักษณะของพระพุทธรูปท่ีมีการผสมผสานระหวางพุทธศิลปที่
ตางแบบกนั
การท่ีพระพุทธรูปแบบสุโขทัย อูทอง และแบบอยุธยา ในขอ 2.1 มีลักษณะสวนพระ
พักตรเปน แบบรตั นโกสนิ ทรตอนตนน้ัน ตามหลักฐานทางเอกสารท่ปี รากฏ พระพทุ ธรปู ท่ีพระ
ระเบยี งช้ันในรอบพระอโุ บสถวดั พระเชตุพนฯ เปนพระพุทธรปู ที่รวบรวมนาํ มาจากหวั เมืองฝาย
เหนือ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก พระพุทธรูปเหลาน้ีมีการชํารุดอยูกอน
แลว โปรดใหปฏิสังขรณโดย “...ใหชางหลอ ตอพระศอ พระเศียร พระหัตถ พระบาท และ
แปลงพระพักตร พระองคใหง าม..” 45 แลวจึงจัดวางประจําไวท่ีพระระเบียงชั้นใน ดังนั้นจึง
เปนไปไดวา พระพุทธรูปบางองคไดมีการซอมเฉพาะสวนพระเศียรที่มีการชํารุดเทาน้ัน สวน
พระวรกายท่ีไมมีการชํารุดเสียหายก็ยังคงรูปแบบเดิมไว และเน่ืองจากพระพุทธรูปท้ังหมดเปน
พระพุทธรูปท่ีตางสมัยกัน มีลักษณะพุทธศิลปที่แตกตางกัน อีกท้ังมีขนาดไมเทากัน และมี
จํานวนมาก การทําการซอมตองใชชางจํานวนมากดวย ชางที่ทําการซอมอาจมีท่ีมาหลากหลาย
กัน ต้ังแตชางหลวงจนถึงชางชาวบาน เพื่อใหเปนแบบแผนเดียวกันจึงใหซอมเปนแบบเดียวกัน
และมกี ารพอกปนู แปลงพักตรเปนแบบพิมพเดียวกนั ขนาดใกลเ คียงกัน ทําใหพ ระพุทธรปู บาง
45 นยิ ะดา เหลา สนุ ทร , ประชมุ จารกึ วดั พระเชตพุ นฯ , 52- 54 .
32
องคมีพระวรกายตามลักษณะพุทธศิลปเดิมที่ตางแบบกัน แตมีพระพักตรเปนแบบเดียวกันคือ
แบบรัตนโกสินทร ดังปรากฏในปจจุบัน สําหรับพระพุทธรูปที่ตอมาภายหลังปูนที่พอกไว
กะเทาะออก และไดรับการปฏสิ งั ขรณใ นสมยั หลงั ยงั คงมีลกั ษณะตามแบบพุทธศิลปเดิม
การท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงใหแปลงพระพักตรพระพุทธรูป
ขนึ้ ใหม อาจเปนการแสดงถึงพระบารมีของพระองคในดานศาสนาและศิลปะ ที่มีรูปแบบเปน
เอกลักษณของตนเอง ซ่ึงยังคงมีความสวยงามตามแบบพุทธศิลปของเกาสมัยอยุธยาเปนหลัก
ดังพระราชปณิธานท่ีจะทรงทํานุบํารุงศาสนา และฟนฟูศิลปวัฒนธรรมของชาติ ใหเจริญรุงเรือง
เหมือนดั่งสมัยกรุงศรีอยุธยา46 อีกท้ังชางในสมัยน้ันคงจะมีความถนัดและคุนเคยเปนพิเศษกับ
ลักษณะพทุ ธศิลปแ บบอยธุ ยาทอ่ี ยใู นระยะเวลาใกลเ คียงกันอกี ดว ย
ขอ สังเกตเก่ียวกับการซอมแซม สวนพระหัตถ และสวนพระบาท ตามท่ีมีการกลาวถึง
ในการปฏสิ ังขรณในสมยั รัชกาลท่ี 1 พบวา มีพระพทุ ธรูปบางองค ทีพ่ ระหัตถหรือพระกรผิดสวน
ไป กลา วคอื มพี ระกรขางหนง่ึ มขี นาดโตกวา อกี ขา งหน่งึ บางองคทําการซอ มในลกั ษณะการวาง
พระหัตถหรือพระกร วางผิดจากลักษณะปฏิมากรรมเดิม หรือผิดธรรมชาติ ดังตัวอยางเชนพระ
พุทธรูปองคท ี่ 15 ( ภาพท่ี 27 )
นอกจากนี้ จากการสํารวจศึกษาและจําแนกสมัยพระพุทธรูปที่พระระเบียงช้ันในท้ัง
หมด ไดพ บวาพระพทุ ธรปู องคที่ 118 ( ภาพที่ 28 ) ซึ่งเปนพระพุทธรูปแบบสุโขทัยปางมารวิชัย
มีลักษณะพิเศษท่ีแสดงถึงคติการสราง แปลกไปจากที่พบในลักษณะท่ัวไปของพระพุทธรูปใน
สมัยน้ันๆ ลักษณะพิเศษดังกลาวคือ มีรูปชางและลิงอยูท่ีฐานสวนใตพระเพลา ซึ่งโดยปกติ
จะพบการทาํ รปู ชางและลงิ ถวายน้ําผงึ้ และผลไม ในพระพุทธรูปปางปาเลไลย ลักษณะเชน น้ี
ไมมีขอ มลู ยืนยันขอ สนั นษิ ฐานวา สรางเลียนแบบศิลปะพมาหรือไม
3. ตําแหนงการวาง จาํ นวน และขนาดของพระพระพุทธรูปประจําพระระเบียงชัน้ ใน
3.1 ตาํ แหนง การวาง จํานวน และขนาด
พระพุทธรูปทีพ่ ระระเบยี งช้นั ในรอบพระอุโบสถ เปนพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ มีจํานวน
ทัง้ หมด 150 องค มคี วามสวยงาม และมขี นาดไลเลีย่ กนั เรียงไวต ามแนวพระระเบียงท้ัง 4
ดา น โดยพระพทุ ธรูปทปี่ ระจาํ อยูที่มมุ ทงั้ 4 ของพระระเบียง เปน พระพุทธรูปท่ีมีขนาดใหญกวา
พระพุทธรปู ที่อยูตามแนวพระระเบยี ง
46 กรมวชิ าการ , แนวพระราชดาํ ริ 9 รัชกาล , 1 – 17 .
33
ตําแหนงการวางพระพุทธรูป เริ่มจากพระระเบียงดานหนาพระอุโบสถ จากทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ นับไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต เปนลําดับองคที่ 1 จนถึงองคท่ี 150
จะมีตําแหนงของพระพุทธรูป ดังแสดงไวในแผนผังที่ 1 และมีจํานวนพระพุทธรูปในพระ
ระเบยี งแตละดานดงั น้ี
พระพทุ ธรูปท่ีพระระเบยี งดานทิศตะวันออก จากองคท่ี 1 - 32 มจี าํ นวน 32 องค
พระพุทธรปู ท่พี ระระเบยี งดานทิศใต จากองคที่ 33 - 75 มจี าํ นวน 43 องค
พระพุทธรูปทพ่ี ระระเบียงดานทิศตะวันตก จากองคท ี่ 76 - 108 มจี าํ นวน 33 องค
พระพทุ ธรูปที่พระระเบียงดานทิศเหนอื จากองคท่ี 109 - 150 มีจํานวน 42 องค
การจัดวางพระพุทธรูป มีระเบียบในการจัดวางเรียงลําดับโดยจัดเอาพระพุทธรูปที่มี
รูปแบบลักษณะพุทธศิลปแบบเดียวกันและปางเดียวกัน คือปางมารวิชัยหรือปางสมาธิไวดวยกัน
อาจมกี ารจัดวางเอาพระพุทธรูปที่ตา งแบบปนสลบั อยบู าง แตเ ปน จาํ นวนนอ ย ดังนี้
พระพทุ ธรปู ทีพ่ ระระเบียงดานทิศตะวันออกและพระระเบียงดานทศิ ใต จากองคท ี่ 1 -
75 สวนใหญจะเปนพระพุทธรูปแบบอูทอง และแบบอยุธยา มีพระพุทธรูปแบบสุโขทัยแทรก
สลบั อยบู าง
พระพุทธรูปท่ีพระระเบียงดานทิศเหนือและพระระเบียงดานทิศตะวันตก จากองคที่
76-150 สวนใหญจะเปนพระพุทธรูปแบบสุโขทัยและแบบเชียงแสน มีพระพุทธรูปแบบอูทอง
และแบบอยธุ ยาแทรกสลับอยูบ า ง
การจัดวางพระพุทธรูปในตําแหนงเชนนี้ อาจมีความหมายถึงแหลงความเปนมาของ
พระพุทธรปู น้ันดวย คอื พระพุทธรูปแบบเชียงแสน และพระพทุ ธรปู แบบสโุ ขทยั นน้ั แหลงกาํ เนดิ
อยูทางตอนเหนือ จึงจัดไวที่พระระเบียงดานทิศเหนือเปนสวนใหญเรียงลงมาตามพระระเบียง
ดานทิศตะวันตกจนถึงพระระเบียงดานทิศใต ซึ่งสวนใหญจัดวางพระพุทธรูปแบบอยุธยาและ
แบบอทู องซ่งึ มแี หลงกําเนดิ อยูทางตอนใตข องแหลงขางตน และวางเรยี งพระพทุ ธรูปแบบอยธุ ยา
และแบบอูทองไวท่ีพระระเบียงดานทิศตะวันออกซึ่งเปนดานหนาพระอุโบสถ อันอาจหมายถึง
เปนการใหค วามสําคัญ ซึง่ นา สงั เกตวาพระพทุ ธรูปทีป่ ระจาํ อยทู ่ีมมุ พระระเบียงท้ังส่ีมุม นอกจาก
จะมีขนาดใหญก วา ทด่ี านพระระเบียงแลวยังเปนพระพทุ ธรปู แบบอยุธยาดว ย
สําหรับขนาดของพระพุทธรปู แตละองค ดไู ดจากตารางแสดงผลการวิเคราะหรูปแบบ
ในขอ 1.2 และดภู าพประกอบไดจ ากภาคผนวก
34
3.2 ตําแหนงการวาง จํานวน และขนาดของพระพุทธรูปที่พระระเบียงชั้นในกับคติ
ภูมจิ ักรวาล
ผงั และองคป ระกอบของเขตพุทธาวาสวัดพระเชตุพนฯในสวนซีกตะวันออกที่ปรากฏ
อยูในปจจุบัน( แผนผังท่ี 2 ) เปนงานออกแบบในสมัยรัชกาลท่ี 1 โดยบางสวนไดรับการแกไข
เพ่ิมเติมในสมัยรัชกาลท่ี 3 ซึ่งเปนงานออกแบบทางสถาปตยกรรมที่จําลองผังทางภูมิจักรวาลไว
ดวยกลุมอาคารทางพุทธศาสนา โดยใชบริเวณพระอุโบสถซ่ึงมีพระระเบียงลอมรอบเปนสวน
ประธานในความหมายของเขาพระสุเมรุศูนยกลางของจักรวาล และเสริมความสมบูรณของผัง
ดวยกลุมอาคารและส่งิ กอ สรา งอ่นื ๆในฐานะองคป ระกอบรอง ภาพจิตรกรรมภายในอาคาร และ
งานประดับตกแตงรวมถึงภูมิสถาปตยรอบตัวอาคารแตละแหง แสดงความหมายของตัวอาคาร
ในฐานะเปนองคประกอบทางกายภาพของจักรวาล พรอมท้ังแสดงความเช่ือมโยงทางแนวคิดอัน
เนือ่ งดวยพระพทุ ธศาสนาบางประการ 47
จะเห็นไดว า อาคารและสิ่งกอสรางในเขตพุทธาวาสซีกทิศตะวันออก ซึ่งไดรับการวาง
ผังและจัดองคประกอบดังแผนผังที่ 2 มีพระอุโบสถสูงใหญในผังส่ีเหล่ียมผืนผาหลังคาซอนลด
ช้ันหันหนาไปทางทิศตะวันออกต้ังเปนศูนยกลางของบริเวณ ลอมรอบดวยพระระเบียงสองช้ัน
โดยที่พระระเบียงชั้นในมีความสูงมากกวาชั้นนอก และพระระเบียงช้ันนอกมิไดลอมรอบพระ
ระเบียงชั้นในทั้งหมด แตหักมาบรรจบกับผนังพระระเบียงชั้นในกอนท่ีจะถึงมุม ทําใหเกิดมุม
ซอนลดหลั่นกันในทรงคลายยอมุมไมสิบสอง กึ่งกลางผนังพระระเบียงทั้งส่ีดานมีวิหารทิศ
ประจําอยูโดยวางตัวตัดขวางแนวพระระเบียงท้ังสองช้ัน ท่ีมุมทั้งส่ีของลานพระอุโบสถภายใน
วงรอบของพระระเบียงชั้นใน เปนปรางคประจํามุม สวนบนลานแคบๆระหวางพระระเบียงกับ
พระวิหารทิศ มีถะจีนหกช้ันตั้งเรียงรายเปนระยะๆ ระหวางถะจีนเดิมตั้งกระถางมังกรสําหรับ
ปลูกตนตาล บริเวณลานภายนอกพระระเบียงมีเจดียเหล่ียมยอมุมไมสิบสองจํานวน 72 องคตั้ง
เรียงลอมรอบพระระเบียงไวอีกชั้นหน่ึง และมีพระวิหารคดสี่หลังต้ังอยูที่มุมท้ังส่ีของลานภายใน
กาํ แพงแกว ของเขตพุทธาวาสซีกนี้
จากโครงสรา งของเขตพุทธาวาสทีก่ ลาวมาขางตน จะเหน็ ไดว าพ้ืนที่ถูกกําหนดใหเ ปน
ปริมณฑลซอนทับกันอยูในหลายระดับจากเล็กไปหาใหญ โดยมีพระอุโบสถเปนศูนยกลางรวม
การจัดระบบความสัมพันธเชนนี้ แสดงใหเห็นปริมณฑลท่ีถูกเพ่ิมความสําคัญยิ่งข้ึนเม่ือเขาใกล
ศูนยกลางมากข้ึนตามลําดับ เปรียบไดกับการสมมุติเขตพุทธาวาสแหงน้ีใหเปนผังซึ่งแสดง
47 เสมอชยั พลู สุวรรณ , สญั ญลกั ษณใ นงานจติ รกรรมไทย ( กรงุ เทพฯ : โรงพิมพม หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, 2539 ) ,
155 .
35
ลักษณะทางกายภาพของภูมิจักรวาลบนพ้ืนระนาบ นอกจากน้ีในการปฏิสังขรณคร้ังใหญใน
สมัยรัชกาลท่ี 3 ไดแกไขความสูงของพระอุโบสถ พระระเบียงช้ันใน และพระระเบียงชั้นนอก
ใหสูงลดหล่ันกัน จากสูงลงมาหาตํ่า แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธทางตามแนวด่ิง ระหวาง
องคประกอบทางกายภาพของจักรวาลดวย48
ถึงแมวาสามารถทีจ่ ะตีความตามองคประกอบเดมิ ของเขตพทุ ธาวาสในสมัยรัชกาลท่ี 1
ใหสอดคลองกับการเปนสัญลักษณทางคติภูมิจักรวาลได เชนใหพระอุโบสถคือเขาพระสุเมรุ
ลอมรอบดวยพระระเบียงคือสัตตบริภัณฑ วิหารคดคือมหาทวีปทั้งส่ี และกําแพงแกวท่ีลอมรอบ
เขตพทุ ธาวาสคือเขากาํ แพงจักรวาล แตงานประดับตกแตงโดยเฉพาะภาพจิตรกรรมท่ีถูกเขียนใน
สมัยนั้น ก็มิไดแสดงความหมายท่ีสอดคลองกับการตีความดังกลาวไดอยางชัดเจนนัก ผังและ
องคประกอบท่ีไดรับการแกไขเพิ่มเติมโดยชางหลวงในสมัยรัชกาลท่ี 3 ทําใหมีความหมายทาง
คติภมู ิจกั รวาลอยา งชัดเจน การแกไขเพ่ิมเติมท่ีสําคัญคือ การสรางพระอุโบสถใหมีขนาดสูงและ
ใหญมากขึ้น ฐานชุกชีเพิ่มซอนเปนสามช้ัน เขียนภาพจิตรกรรมและงานประดับตกแตงภายใน
แสดงความหมายของภูมิจักรวาลเพิ่มขึ้น สําหรับพระระเบียง มีการเสริมพระระเบียงช้ันในให
สูงข้ึนกวาเดิมอีกสองศอก รวมถึงการสรางฐานชุกชีพระพุทธรูปประจําพระระเบียงชั้นในให
สูงขึ้นอีกดวย นอกจากนี้ท่ีลานระหวางพระระเบียงไดต้ังถะจีนหกชั้นเรียงรายสลับกระถางมังกร
สําหรับปลูกตนตาลอีกดวย การแกไขเพิ่มเติมดังกลาว อาจทําใหตีความไดวา พระอุโบสถ
หมายถงึ เขาพระสเุ มรุ พระระเบียงสองชั้นรอบพระอุโบสถหมายถึงที่ตั้งกองอารักขายอดเขาพระ
สุเมรุ และแนวพระเจดียร าย 72 องคร อบพระระเบียงหมายถึงแนวเขาสัตตบริภัณฑทั้ง 7 ช้ัน รอบ
เขาพระสุเมรุ พระวิหารคดที่มุมทั้งสี่คือมหาทวีปท้ังส่ี และกําแพงแกวรอบเขตพุทธาวาสคือเขา
กาํ แพงจักรวาล 49
การสรางพระระเบียงลอมรอบพระอุโบสถในสมัยรัชกาลที่ 1 น้ัน ไมปรากฏสัญลักษณที่
จะแสดงใหเห็นชัดเจนพอท่ีจะระบุไดวา พระระเบียงถูกใชเปนสัญลักษณเพ่ือกําหนดขอบเขต
ของจักรวาล นอกเหนือไปจากการเปนสิ่งกอลอม เพ่ือแสดงความสําคัญของอาคารประธาน
ในการที่รัชกาลที่ 1 โปรดใหสรางพระระเบียงถึงสองชั้นลอมรอบพระอุโบสถ อาจจะมีพระ
ราชประสงคหลักเพียงเพื่อใชเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปโบราณที่ไดอัญเชิญมาจากหัวเมือง
ตางๆจํานวนกวาพันองค ไดอ ยา งเพยี งพอเทา นน้ั 50
48 เรอื่ งเดียวกนั , 157 .
49 เรอ่ื งเดยี วกัน , 157 - 158 .
50 เรอ่ื งเดียวกนั , 169 .
36
การปฏสิ ังขรณใ นสมัยรชั กาลที่ 3 ปรากฏสัญลักษณของกองอารักขาสามชั้นที่ต้ังรักษา
ดาวดึงสพิภพ คือ ภาพกุมภัณฑและยักษบนบานประตูพระระเบียงรอบพระอุโบสถ(ปจจุบันถูก
แกไขเปนรูปเทวดายืนแทน) และภาพจาตุมหาราชบนคอสองในประธานของพระอุโบสถ ทําให
บริเวณภายในพระอุโบสถเปรียบเหมือนดาวดึงสพิภพบนยอดเขาพระสุเมรุ ที่แวดลอมดวยกอง
อารักขาหลายช้ัน51 พระพุทธรูปองคประธานจึงเสมือนองคแทนพระพุทธเจา ประดิษฐานอยู
ภายในพระอุโบสถอันเปนตําแหนงศูนยกลางสําคัญสูงสุด พระพุทธรูปโบราณท่ีปฏิสังขรณให
งดงามแลว ซึ่งประดิษฐานอยูที่พระระเบียง อันเปนตําแหนงท่ีสําคัญรองลงมาจากพระอุโบสถ
อาจคิดไดวา เปน พระอดีตพทุ ธเจาท้ังหลาย
สําหรับพระระเบียงรอบพระอุโบสถน้ี นอกจากจะอยูในตําแหนงสําคัญรองลงมาจาก
พระอุโบสถแลว ทก่ี ง่ึ กลางพระระเบียงทัง้ สด่ี า นมีพระวิหารทศิ ซ่งึ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป
โบราณสําคัญที่ภายในบรรจุพระบรมธาตทุ ุกองค 52
พระวิหารทิศท้ัง 4 ดานนี้ หากจะเปรียบกับมหาทวีปท้ัง 4 บนมนุษยภูมิ นาจะเปรียบ
ไดกับ ชมพูทวีป อุตรกุรุทวีป บุรพวิเทหทวีป และอมรโคยานทวีป ซ่ึงเปนที่นาสังเกตวาใน
สวนมนุษยภูมินี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงใหความสําคัญมาก เนื่องดวย
พระองคทรงมีแนวคิดท่ีจะนําไตรภูมิกถามาเปนประโยชนในการจัดระเบียบสังคมโดยตองการ
ปลูกฝงแนวความคิดเรื่องไตรภูมิ จะเห็นไดจากท่ีโปรดใหพระธรรมปรีชา( แกว ) เจากรมราช
บัณฑิตย และพระเถระผูใหญอีก 3 รูป รวมกันแตงไตรภูมิกถาขึ้นใหมในป พ.ศ. 2345 ใหชื่อวา
ไตรโลกวินิจฉัย โดยมีการจัดลําดับเนื้อหาบางสวนตางไปจากของเดิม คือนําเรื่องราวเกี่ยวกับ
มนุษยภูมิมากลาวไวเปนอันดับแรก ซ่ึง นายไวแอท ไดวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงคร้ังน้ีไววา
เปนเพราะชนช้ันนาํ ของไทยในสมัยรัชกาลท่ี 1 ไดมองความสมั พนั ธระหวางมนุษยกับจักรวาลใน
แนวทางใหม โดยใหค วามสาํ คัญแกโลกมนุษยเปน อนั ดบั หนึ่ง ภพภูมิของมนษุ ยซ ึ่งอยตู รงกลางน้ี
จะเปนหนทางใหมนุษยพัฒนาไปสูภพภูมิท่ีสูงข้ึนไป หรือตกต่ําลงไปถาไมอยูในสัมมาทิฐิ การ
พัฒนานี้จึงขึ้นอยูกับการกระทําของมนุษยน่ันเอง และพระมหากษัตริยทรงเปนผูรับผิดชอบ ใน
การจดั สภาวะแวดลอมของมนษุ ย ใหเ อือ้ ตอการพัฒนานี้ 53
51 เรอื่ งเดียวกัน , 158 .
52 พระครปู ลดั สัมพพิ ฑั ฒนพรหมจรยิ าจารณ ( บุญ ) , ตาํ นานพระพทุ ธรูปสาํ คัญวดั พระเชตุพน , 3-29 .
53 David K. Wyatt, “ The “ Suptle Revolution” of King Rama I of Siam ”, in David K. Wyatt
and Alexander Woodside , edt. Moral Order and the Question of change : Essay on SouthEast Asian
thought ( New Haven , Connecticut : Yale University Southeast Asia Studies , 1982 ) , 33-34 ,อางถงึ ใน
วิไลเลขา ถาวรธนสาร , “ บรบิ ททางประวัตศิ าสตรกับพฒั นาการทางภมู ปิ ญญาของไทยสมยั ตน รตั นโกสินทร ” , ดํารงวิชาการ ,
( กรกฎาคม – ธนั วาคม 2546) : 161- 175 .
37
การท่ีพระพุทธรูปท่ีประจําอยูท่ีมุมของพระระเบียงช้ันในทั้ง 4 มุม เปนพระพุทธรูป
ทม่ี ขี นาดใหญกวาพระพทุ ธรูปทปี่ ระจําอยตู ามแนวพระระเบียงช้ันในทั้ง 4 ดานน้ัน เม่ือเปรียบ
ความสาํ คัญของบรเิ วณมมุ พระระเบยี งทงั้ 4 มมุ นี้ คงเปนยุปรทวีปท้ัง 4 ท่ีอยูระหวางมหาทวีป
ทั้ง 4 น่ันเอง โดยอยูในระนาบเดียวกัน ลอมรอบเขาพระสุเมรุ ( ภาพที่ 29 ) การจัดระเบียบ
การวางพระพุทธรูป จึงไดคัดเลือกเอาพระพุทธรูปท่ีเปนแบบเดียวกัน และมีขนาดใหญกวาท่ี
ประจําในแตละดานมาวางไว และพบวาพระพุทธรูปที่พระระเบียงช้ันใน ยังมีขนาดใหญกวา
พระพุทธรูปที่ประจําอยูท่ีพระระเบียงชั้นนอกอีกดวย54 ท้ังน้ีอาจเพราะตองการเนนความสําคัญ
ของตําแหนงในการวาง ลดหลัน่ กนั ลงไป
จากตาํ แหนงในการวาง และขนาดของพระพุทธรูป ท่ีประจําอยูในกลุมอาคารในเขต
พุทธาวาสซีกตะวันออกของวัดพระเชตุพนฯ แสดงใหเห็นไดวา อาจเปนพระราชประสงคของ
รชั กาลท่ี 1 ท่ตี องการใหพ ระพุทธรปู ท่ปี ระจําอยูภ ายในอาคารนั้นๆ เปนสื่อแสดงถึงความสําคัญ
และตาํ แหนง ตางๆของสถาปตยกรรม ทีส่ รางขน้ึ ในแบบแผนของภูมิจักรวาลโดยการนําพระพุทธ
รปู ซ่ึงเปนส่ิงที่เคารพบูชามาประดิษฐานไว ใหตําแหนงการวางและขนาดของพระพุทธรูป มี
ความสมั พนั ธท ่ีลดหลน่ั กนั ลงมา ตามความสําคัญของสถาปตยกรรม
สําหรับจํานวนของพระพุทธรูปที่ประจําอยูท่ีพระระเบียงช้ันในรวม 150 องค ยังไม
มีหลักฐานที่เกี่ยวของมาสนับสนุนพอที่จะบอกไดวา จํานวน 150 องคนี้ มีความสัมพันธกับภูมิ
จักรวาลหรือไม จึงอาจเปน เรือ่ งของความลงตัวของจํานวนพระพุทธรูปกับสถานท่ีสําหรับจัดวาง
องคพระพุทธรูป คอื พระระเบยี ง ก็อาจเปนได
54 วัดพระเชตุพนฯสองรอ ยป ( 2332 – 2532 ), 62 – 115 .
38
บทที่ 4
รูปแบบพระพทุ ธรปู ที่พระระเบยี งช้นั ในรอบพระอโุ บสถ
กับประเดน็ ทางประวัตศิ าสตร
จากการวิเคราะหรูปแบบของพระพุทธรูปทั้งหมด ท่ีพระระเบียงช้ันในรอบพระอุโบสถ
ปรากฏวามีทั้งพระพุทธรูปแบบเชียงแสน สุโขทัย อูทอง และอยุธยา ซ่ึงพระพุทธรูปเหลานี้ตาม
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 กลาวไววา “ ...ในพระอุโบสถ พระวิหาร พระ
ระเบียงน้ันเชิญพระพุทธปฏิมากรหลอดวยทองเหลืองสัมฤทธ์ิ ซึ่งชํารุดปรักหักพัง อยู ณ เมือง
พิษณุโลก เมืองสวรรคโลก เมืองสุโขทัย เมืองลพบุรี กรุงเกา วัดศาลาสี่หนาใหญนอย 1,248
พระองค ลงมาใหชางหลอตอพระศอ พระเศียร พระหัตถ พระบาท แปลงพระพักตร พระองคให
งาม แลวประดิษฐานไวตามที่อันสมควร... ” 55 มูลเหตุท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
โปรดใหนําพระพุทธรูปที่ชํารุดเหลานี้ มาปฏิสังขรณใหมใหสมบูรณงดงาม นาจะเปนผลสืบ
เนื่องมาจากการเสียกรุงศรีอยุธยาใหแกพมาในป พ.ศ. 2310 ผลของสงครามในคร้ังน้ัน ทําให
บานเมืองในปริมณฑลของกรุงศรีอยุธยา และเมืองตางๆในเสนทางการเดินทัพของพมา ถูกทําลาย
เสียหายยับเยินจากการปลนสะดมและการเผาผลาญของพมา เอกสารสําคัญ ศิลปวัตถุท่ีมีคาตอง
สูญเสีย ถูกทําลายไปในคร้ังน้ีมากมายจนหาช้ินที่สมบูรณไดยาก เม่ือพระองคข้ึนครองราชยและ
สถาปนากรุงเทพฯเปนราชธานี พระราชภารกิจของพระองคนอกจากการจัดการดานการปกครอง
บานเมืองใหสงบสขุ รมเย็นแลว จึงมพี ระราชภาระเรง ดว นในการฟน ฟูศลิ ปวัฒนธรรมและศาสนา
การปรับปรุงฟนฟูและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา
จุฬาโลก ที่สําคัญคือ การทําสังคายนาพระไตรปฎก การกวดขันวินัยของพระสงฆและศีลธรรม
ของประชาชน และการปฏิสังขรณและรักษาวัด รวมท้ังวัตถุมีคาทางศาสนา 56 ในการทํานุบํารุง
ศาสนานน้ั ถือเปนประเพณีนิยมของพระมหากษัตรยิ ไทยในอันทจ่ี ะสรา งและบรู ณปฏิสังขรณว ัดวา
อารามตางๆ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกก็เชนเดียวกัน ทรงสรางวัดพระศรีรัตน
ศาสดารามเปนพระอารามหลวงในพระราชวัง สรางวัดสุทัศนฯขึ้นกลางพระนคร และโปรดใหทํา
การปฏิสังขรณวัดที่ชํารุดทรุดโทรมใหมีความงามดังเดิม เชนวัดสระเกศ วัดราชบูรณะ โดยเฉพาะ
55 เจาพระยาทิพากรวงศ ( ขํา บุนนาค ) , พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสนิ ทร รชั กาลที่ 1 ,พมิ พครง้ั ท่ี 7 (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ
การศาสนา, 2545 ) , 82 .
56 พระวรวงศเธอกรมหมน่ื พทิ ยลาภพฤติยากร , พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงฟน ฟูวฒั นธรรม , นายสนัน่ บณุ ย
สริ พิ นั ธุ พมิ พชว ยในงานคลายวนั ประสตู ิ พ.ศ. 2500 ( พระนคร : โรงพิมพท าพระจนั ทร, 2500), 1 .
39
อยางยิ่งวัดโพธารามซ่ึงอยูติดกับพระราชวัง โปรดใหสถาปนาข้ึนใหมท้ังหมด แลวพระราชทาน
นามวาวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาวาส
ในการทํานุบํารุงพระพุทธรูปและพระบรมธาตุ พระองคโปรดใหรวบรวมพระพุทธรูป
สําคัญและพระบรมธาตุมาไวใ นกรุงรตั นโกสินทรอันเปนศูนยกลางของราชอาณาจักร สําหรับพระ
พุทธรูปนั้นทรงใหนํามาไวที่วัดพระเชตุพนฯเปนสวนใหญ โดยโปรดใหปฏิสังขรณใหสมบูรณ
งดงาม องคส าํ คญั ๆทรงพระราชทานไปเปนพระประธานตามวัดตางๆ โดยมิไดพอกปูนแปลงพระ
พักตรดังเชนพระพุทธรูปสวนใหญที่ประดิษฐานอยูท่ีพระระเบียงและพระวิหารคดของวัดพระเชตุ
พนฯ การพอกปูนแปลงพระพักตรพระพุทธรูปดังกลาวนี้ ทําใหเกิดลักษณะพุทธศิลปอันเปน
รูปแบบของพระพทุ ธรปู แบบรตั นโกสินทรส มยั รัชกาลที่ 1
การอัญเชิญพระพุทธรูปจากหัวเมืองตางๆมาไวท่ีวัดพระเชตุพนฯน้ัน ตามหลักฐานใน
กระแสพระบรมราชโองการในสมยั รชั กาลที่ 1 กลาวไวว า “...สมเด็จพระเจาอยูห วั บรมธรรมิกะมหา
ราชาธิราชเจา พระองคปรารถนาพระบรมโพธิญาณ ทรงพระราชศรัทธาธิคุณเปนอัคะสาสะนู
ปะถําพกพระพุทธศาสนา ทรงพระราชกุศลจินดาไมยญาณไปวา พระพุทธรูปพระนครใดที่ผานผู
ทานาธิบดีศรัทธาสรางไวแตกอน บัดนี้หามีผูบํารุงปติสังขรณไม ประหลักหักพังยับเยินเปนอัน
มาก เปน ท่ีหม่ินประมาทแหงบุคคลอันทพาลและมฤทฉาทิฐิ...จึงมีพระราชบริหารดํารัสส่ังใหพญา
รักษมนเทียรกรมวัง และหลวงสมเดจพระขรรคกรรมพระแสงใน ข้ึนไปอัญเชิญพระพุทธรูป ณ
เมอื งศุกโขทัย...ขึน้ ประดิษฐานไว ณ พระอารามวัดพระเชตุพน 1,285 องค ..” 57
พระพุทธรูปที่โปรดใหอัญเชิญลงมานี้ ไมไดนํามาจากเมืองสุโขทัยเพียงแหงเดียว และ
ไมไดนําลงมาพรอมกันในคราวเดียว จากหลักฐานพบวามีการทยอยนําพระพุทธรูปมาจากเมือง
อื่นๆอีกหลายเมือง คือ เมืองพิจิตร เมืองลพบุรี 58 เมืองพิษณุโลก เมืองสวรรคโลก และกรุงเกา 59
เมอื่ พิจารณาจากหลกั ฐานการนําพระพุทธรูปมาจากหัวเมืองตา งๆจะเหน็ ไดว า พระบาท
สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก โปรดใหนาํ พระพทุ ธรปู มาจากหัวเมืองฝา ยเหนือเกอื บท้ังหมด ซ่ึง
โดยแทแลว เม่ือพระองคมีพระราชประสงคท่ีจะทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและศาสนา โดยการ
รวบรวมพระพุทธรูปที่ชํารุดเสียหายมาปฏิสังขรณ ก็สามารถที่จะรับสั่งใหรวบรวมพระพุทธรูป
จากหัวเมืองอื่นๆ นอกเหนือจากหัวเมืองฝายเหนือ เชนหัวเมืองทางตะวันออก หรือหัวเมืองตอน
ใต กท็ รงกระทําได การท่ที รงราํ ลึกถงึ พระพทุ ธรปู ทีห่ ัวเมอื งฝา ยเหนือ สันนษิ ฐานวา นา จะสบื เนอ่ื ง
57 “กระแสพระบรมราชโองการใหเชิญพระพุทธรูปจากสุโขทัยมาประดิษฐานไว ณ กรุงเทพฯ จ.ศ.1156 (พ.ศ.2337),”หอสมุด
แหงชาต,ิ สมดุ ไทยดาํ ,อกั ษรไทย, ภาษาไทย, เสน ขาว, จ.ศ.1156, เลมที่ 9/ก .
58 “บัญชีพระพุทธรูปอาราธนามาแตเมืองสุโขทัย จ.ศ.1156 ( พ.ศ.2337 ) ,” หอสมุดแหงชาติ , สมุดไทย , อักษรไทย , ภาษาไทย ,
เสน ขาว , จ.ศ.1156 , เลขท่ี 9 , หนาตน .
59 เจาพระยาทพิ ากรวงศ ( ขํา บนุ นาค ), พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 , พิมพค รงั้ ที่ 7 , 82 .