The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธรูปวัดโพธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธรูปวัดโพธิ์

พระพุทธรูปวัดโพธิ์

40

มาจากเหตผุ ลสําคัญ 2 ประการคอื
1. พระองคท รงเคยพบเห็นพระพุทธรูปในพื้นที่หัวเมืองฝายเหนือท่ีชํารุดเสียหายขาดการ

ดูแลรักษา อันเปนผลจากสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาแกพมา พระพุทธรูปเหลาน้ีมีเปนจํานวน
มาก นาจะรวบรวมไดงา ยกวา การรวบรวมจากแหลงอน่ื

2. หัวเมืองฝายเหนือ มีเมืองท่ีเคยเจริญรุงเรือง เปนแหลงกําเนิดศิลปวัฒนธรรมอันเปน
เอกลักษณเฉพาะของตนเอง โดยเฉพาะอยางย่ิงความรุงเรืองของพุทธศาสนา ทําใหมีพระพุทธรูป
อยูทัว่ ไปในแถบน้เี ปน จํานวนมาก ท่ีสําคัญคือพระพุทธรูปแบบสุโขทัยที่พบมากในพื้นที่อาณาจักร
สุโขทัย และพระพทุ ธรูปแบบเชียงแสนทพี่ บมากในพืน้ ที่อาณาจักรลา นนาและบริเวณใกลเคียง

จากประวัติศาสตรเกี่ยวกับพระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
ปรากฏวา กอนที่พระองคจะทรงขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เปนปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรีนั้น
พระองคทรงเคยรับราชการรับใชแผนดินมากอนต้ังแตครั้งยังไมเสียกรุงศรีอยุธยาแกพมา โดยเม่ือ
ครั้งยังทรงเปนบุคคลสามัญ ชื่อนายทองดวง ไดเขารับราชการเปนมหาดเล็กในสมเด็จพระเจา
อุทุมพร ตอมาในรัชกาลพระเจา เอกทัต ไดเปน หลวงยกกระบัตรเมอื งราชบรุ ี ดงั นั้นเม่ือตอนทก่ี รงุ
ศรีอยุธยาเสียแกพมาในป พ.ศ.2310 จึงไมไดอยูที่กรุงศรีอยุธยา หลังจากเสียกรุง ไดพาครอบครัว
อพยพลี้ภยั ไปอยูท่ีเมืองลพบุรี 60 ครั้นเมื่อพระเจาตากสินต้ังกรุงธนบุรีเปนราชธานี นายทองดวงจึง
ไดเ ขามารับราชการในกรงุ ธนบุรี ในตาํ แหนงพระราชวรนิ ทรใ นกรมพระตาํ รวจ และตอ มาไดเปน
กําลังสําคัญของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีในสงครามตอมาถึง 11 คร้ัง ครั้งที่สําคัญๆ และตอง
เดนิ ทพั ผานมาทางหัวเมืองฝายเหนือ ไดแก

1. ในปขาล โทศก จ.ศ. 1132 ( พ.ศ. 2323 ) โดยเสดจ็ พระเจา กรงุ ธนบุรีไปทาํ สงคราม
ปราบชุมนมุ เจา พระฝางไดสาํ เรจ็ ไดเ ล่อื นเปน พระยายมราช วาทส่ี มุหนายก61

2. ในปม ะเมยี ฉศก จ.ศ.1136 ( พ.ศ. 2317 ) เปนแมท พั หนา ของสมเดจ็ พระเจา กรงุ ธนบรุ ี
ไปตเี มอื งเชียงใหม ไดเมืองเชยี งใหม ลําปาง ลาํ พูน แลวอยจู ดั การบานเมือง ไดเมอื งนานมาเปน
ขอบขณั ฑสีมาอีกเมอื งหนึง่ จึงไดเลอื่ นยศเปน เจาพระยาจักร6ี 2

3. ในปมะแม สัปตศก จ.ศ.1137 ( พ.ศ.2318 ) พมายกทัพมาตีเมืองเชียงใหม เปนแมทัพ
ยกทัพขน้ึ ไปชวย แตพ มา ทราบขาวจงึ ถอยทพั ไปอยูเมอื งเชยี งแสน กอ นมีการสูร บกัน ในเวลานั้นอะ
แซหวนุ ก้แี มท ัพพมาไดย กทัพใหญเ ขามาทางดานแมล ะเมา เจาพระยาจักรีจึงเคล่ือนทัพลงมารับศึก

60 ประกอบ โชประการ , มหาราชชาติไทย ( กรงุ เทพฯ : รวมการพิมพ , ม.ป.ป. ) , 438 – 441 .
61 กรมศลิ ปากร , พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสนิ ทร ( ฉบับหอสมดุ แหงชาติ ) ( พระนคร : ป.พิศนาคะการพมิ พ , 2505 ) , 308.
62 วไิ ลเลขา บรุ ณศิริ , “ประวัติศาสตรไ ทยในสมยั รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ,” ในประวตั ิศาสตรไ ทย 2
( กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพมหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง , 2532 ) , 2-3 .

41

พมาที่เมืองพิษณุโลก ซึ่งขณะน้ันเจาพระยาสุรสีห ( ตอมาเปนกรมพระราชวังบวรสุรสิงหนาท ใน
รัชกาลที่ 1 ) เปนเจาเมืองอยู เมืองพิษณุโลกถูกลอมอยูจนกระท่ังขาดสเบียงอาหารอยางมาก
เจาพระยาจักรีและเจาพระยาสุรสีหจึงตัดสินใจท้ิงเมืองพิษณุโลก ตีหักคายพมาออกไปทางเมือง
เพชรบูรณ โดยสามารถอพยพผูคนออกไปจากเมอื งได อะแซหวุนก้ีจึงตีไดแ ตเมอื งเปลา 63

การที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มีพระราชกระแสรับส่ังใหขุนนางชั้นผู
ใหญไปอญั เชญิ พระพุทธรูปมาจากหัวเมืองฝายเหนือ จึงเปนเมืองในเสนทางท่ีพระองคเคยผานเม่ือ
ครง้ั ทรงทําสงครามในสมัยพระเจากรุงธนบุรี กลาวคือ เสนทางเดินทัพเมื่อครั้งไปปราบเจาพระฝาง
ในพ.ศ. 2313 เสนทางการเดินทัพไปตีเมืองเชียงใหมในปพ.ศ.2317 จนไดเมืองเชียงใหม ลําปาง
ลาํ พูนและนาน เสนทางทเี่ คยยกทัพไปชวยรับศึกพมาที่เมืองเชียงแสนในพ.ศ.2318และการถอยทัพ
มารบั ศึกพมาท่ีเมอื งพษิ ณุโลก ดงั กลาวแลว

นอกจากน้ียังสันนิษฐานไดวา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกนาจะมีความ
คุนเคยกับสภาพของหัวเมืองทางเหนือเปนอยางดี เมื่อวิเคราะหจากตําแหนงการปกครอง ครั้งที่
พระองคเ ปนเจา พระยาจกั รใี นรัชสมัยสมเดจ็ พระเจากรงุ ธนบุรี ซงึ่ แบงลักษณะการปกครองออกเปน
การปกครองสวนกลางและสวนภูมิภาค โดยมีเสนาบดีท่ีสําคัญคือสมุหนายก (เจาพระยาจักรี) ดูแล
ฝายพลเรอื น และสมหุ กลาโหม(เจาพระยาอินทวงศา)ดูแลฝายทหาร

ในการจัดระเบยี บการบริหารราชการแผน ดิน ตําแหนงสมุหนายก มีอํานาจดูแลปกครอง
หัวเมืองฝา ยเหนอื ทง้ั ทางดา นการทหารและพลเรอื น หัวเมอื งฝายเหนือทอ่ี ยใู นปกครองของสมุหนา
ยกไดแ ก พิษณุโลก สวรรคโลก สุโขทัย กําแพงเพชร พิชัย นครสวรรค พิจิตร มโนรมย ชัยนาท
อุทัยธานี อินทรบุรี พรหมบุรี สรรคบุรี ลพบุรี สระบุรี วิเศษไชยชาญ กรุงเกา นครนายก ทาโรง
บัวชุม ชัยบาดาล กําพราน64 ดังนั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงเคยดํารง
ตําแหนงน้ี ในสมัยพระเจากรุงธนบุรี เม่ือครั้งไปตีเมืองเชียงใหมไดสําเร็จ พระองคจึงนาจะทรง
คุนเคยกับสภาพตางๆของหัวเมืองเหลาน้ีเปนอยางดี นอกจากนี้ในการปกครองสวนภูมิภาค มี
บคุ คลสําคัญคนหนึง่ ที่เก่ยี วของ คือเจาพระยาสุรสีห(นายบุญมา)พระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟาจุฬาโลก เปนผูรั้งเมืองพิษณุโลกซ่ึงเปนหัวเมืองใหญชวยควบคุมดูแลหัวเมืองเล็กทาง
ฝายเหนือ เมื่อเทียบดูตําแหนงท่ีตั้งของหัวเมืองตางๆดังกลาว(ตามแผนท่ีประเทศไทย) จึงอาจ
เปนไปไดวาการรวบรวมพระพุทธรูปจากหัวเมืองฝายเหนือ นาจะเริ่มจากเมืองประเทศราชทาง

63 กรมศลิ ปากร , พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร ( ฉบับหอสมุดแหงชาติ ) , 306-310.
64 มัลลิกา มสั อูดี , “การจดั ระเบยี บการปกครองในสมยั รชั กาลที่ 1 ,” เอกสารการสอนชุดวิชาประวตั ิศาสตรไ ทย (หนว ยท่ี 7) พมิ พ
ครงั้ ที่ 7 (กรงุ เทพฯ : ชวนพมิ พ , 2540), 344-348.

42

เหนือ อันไดแกหัวเมืองลานนา คือ เชียงราย เชียงแสน เชียงใหม ลําพูน ลําปาง แพร นาน ผาน
ลงมาตามหัวเมืองฝา ยเหนอื ตา งๆ ดังกลา วแลว

จากจดหมายเหตุ รชั กาลท่ี 1 จ.ศ.1156 ไดมีการบนั ทึกถึงพระพุทธรูปท่ีนํามาจากหัวเมือง
ฝายเหนอื ไวดงั นี้

จดหมายเหตุเลขท่ี 9 เปนบัญชีพระพุทธรูปอาราธนามาแตเมืองสุโขทัย จ.ศ.1156 (พ.ศ.
2337) ระบรุ ายละเอียดของขนาดพระพุทธรูปแตละองคซ่ึงมีทั้งพระพุทธรูปขนาดเล็กหนาตัก 5 นิ้ว
ข้ึนไปจนถึงขนาดใหญหนาตัก 2 ศอกเศษ เมืองท่ีกลาวถึงไดแก เมืองศุกโขทัย เมืองพิจิตร เมือง
ลพบรุ ี65

จดหมายเหตเุ ลขท่ี 9 / ก เปนกระแสพระบรมราชโองการใหเ ชญิ พระพุทธรปู มาประดษิ
ฐานไว ณ กรุงเทพ จ.ศ.1156 ระบวุ า

- วันพฤหสั แรม 10 ค่าํ เดอื น 9 ส่งั ใหพ ญารักษมนเทยี รกรมวงั และหลวงสมเดจพระ
ขรรคกรมพระแสงใน ขึ้นไปเชิญเสด็จพระพุทธรูป ลงเรือลองมากรุงเทพฯ ประดิษฐานไว ณ พระ
อารามพระเชตพุ น (มาถงึ ณ วนั ข้นึ 14 คํ่า เดอื น 11 ) เปน พระพุทธรูปเชญิ มาแตเ มืองศกุ โขทยั เปน

พระองคใหญ หนา ตกั 2 ศอกเศษ 96 องค
พระองคใ หญห นาตกั 1 ศอกเศษ 253 องค
พระองคน อ ยหนา ตัก 5 น้วิ ถงึ 1 คืบ 936 องค
- รบั สง่ั ใหพ ญาราชวังเมืองกรมชาง ไปอาราธนามาแตกรุงเกา 6 องค เปนพระพุทธรูป
จากวัดราชบูรณะขนาดหนาตัก 2 ศอก 1 องค จากวัดปรโพดขนาด 4 ศอกเศษ 1 องค จากวัดพระ
ศรีสรรเพชญ ขนาด 4 ศอกเศษ และ 4 ศอกยอ ม อยา งละ 1 องค พระอฐั ารสยนื 1 องค จากวัดศาลาสี่
หนา หนาตกั 5 ศอก 1 คบื 2 นิว้ 1 องค
- วนั อังคารแรม 5 คาํ่ เดอื น 11 รับสง่ั ใหพญาราชนิกลมหาดไทย และพญารกั ษมนเทียร
กรมวัง ไปอาราธนาพระพุทธรูปซึ่งปรักหักพัง ณ เมืองลพบุรี ไมมีผูทะนุบํารุง เกณฑใหกรมเมือง
ลพบุรเี ชิญบรรทกุ เรือมาสง ณ วดั พระเชตพุ น 66
จดหมายเหตุเลขท่ี 11 บันทกึ ไวว า วนั จนั ทรขนึ้ 4 ค่าํ เดือน 12 พญายมราช ใหอ าลกั ษณ
เขียน ชางครํา่ จารึกพระพทุ ธรปู ทข่ี ้ึนแทน ฐานตามพระระเบียงทงั้ 4 ทิศ เปน พระสโุ ขทยั 136 องค

65 “บญั ชีพระพุทธรปู อาราธนามาแตเ มอื งสโุ ขทยั จ.ศ. 1156 ( พ.ศ.2337 ),”หอสมุดแหงชาติ, หมจู ดหมายเหตุ ร. 1, สมุดไทยดํา,
อกั ษรไทย , ภาษาไทย , เสน ขาว , จ.ศ. 1156 เลขที่ 9 .

66 “ กระแสพระบรมราชโองการใหเชิญพระพุทธรปู จากสุโขทยั มาประดิษฐานไว ณ กรงุ เทพฯ จ.ศ.1156 ,” หอสมดุ แหง ชาติ,
สมุดไทยดาํ , อักษรไทย , ภาษาไทย , เสน ขาว , จ.ศ. 1156 เลขท่ี 9/ก .

43

พระนพบุรี ทั้งยืนและสมาธิ 86 องค....วันพุธขึ้น 6 คํ่า เดือน 12 พระมาใหม 42 องค มาจากเมือง
นพบรุ ี ขึ้นฐานแลว 10 องค 67

จดหมายเหตุเลขท่ี 4 เอกสารสมดุ ไทยดํา เร่ืองรายงานเรอื่ งสรางวดั พระเชตุพน ระบุวา
พระพทุ ธรปู ในพระอุโบสถ พระวหิ าร และพระระเบยี งนั้น เชิญมาจากเมืองพิษณุโลก เมืองสวรรค
โลก เมืองสโุ ขทัย เมอื งลพบุรี และกรงุ เกา 68

การท่ีจดหมายเหตุดังกลาวขางตน กลาวถึงหัวเมืองฝายเหนือท่ีรับสั่งใหไปอัญเชิญ
พระพุทธรูปลงมาเพียงไมกี่หัวเมือง คงจะมิไดหมายความวานําพระพุทธรูปมาจากเมืองดังกลาว
เพียงเทาน้ัน เน่ืองจากจํานวนพระพุทธรูปท่ีอัญเชิญลงมานั้นมีจํานวนมากเปนพันองค มีท้ังขนาด
ใหญและขนาดเล็ก พระพุทธรูปขนาดใหญบางองคนาจะเคยเปนพระประธานตามวัดตางๆมากอน
แตชํารุดทรุดโทรมขาดการทํานุบํารุงอันเปนผลมาจากสงคราม เมื่อพิจารณาตามเหตุการณใน
ประวัติศาสตรชวงเวลานั้น หัวเมืองท่ีมีช่ือระบุในจดหมายเหตุ เปนเมืองท่ีเคยมีความรุงเรืองทาง
พุทธศาสนาในอดีตมากอนเชน นพบุรี(เชียงใหม) พิษณุโลก สุโขทัย ลพบุรี และกรุงเกา เมือง
เหลา นี้นา จะเปน ศนู ยก ลางในการรวบรวมพระพุทธรูปจากเมืองใกลเคียง กอนท่ีจะทยอยลําเลียงลง
มากรุงเทพฯ โดยรูปแบบของพระพุทธรูปท่ีอัญเชิญลงมา คงสัมพันธกับความเจริญรุงเรืองในอดีต
ทีเ่ คยมมี าของหัวเมอื งน้ันๆ กลา วคือ

พระพุทธรูปท่ีนํามาจากเมืองนพบุรี นาจะเปนพระพุทธรูปแบบเชียงแสน โดยมีเมือง
นพบุรี(เชียงใหม) เปนศูนยกลางในการรวบรวมพระพุทธรูปจากเมืองใกลเคียงคือ เชียงราย เชียง
แสน ลําพนู ลําปาง และเมอื งใกลเ คยี งอันเปนอาณาจกั รลานนา

พระพุทธรูปท่ีนํามาจากเมืองศุกโขทัย นาจะเปนพระพุทธรูปแบบสุโขทัยและเมืองอัน
เคยเปนอาณาจักรสุโขทัยหรือเมืองใกลเคียง แหลงรวบรวมท่ีสําคัญ นาจะไดแกเมืองสวรรคโลก
พิจติ ร พษิ ณุโลก

พระพุทธรูปแบบอูทองและแบบอยุธยา นาจะรวบรวมมาจากแหลงสําคัญคือ ลพบุรี
สรรคบรุ ี ชยั นาท และเมืองใกลเ คียงกรงุ ศรีอยุธยา

แมวาพระพุทธรูปที่พระระเบียงชั้นใน จะมีรูปแบบของพุทธศิลปท่ีเปนแบบเชียงแสน
แบบสุโขทัย แบบอูทอง และแบบอยุธยา แตก็เปนรูปแบบของพระพุทธรูปองคเดิมกอนไดรับการ
ปฏสิ งั ขรณใ นสมยั รชั กาลท1่ี ภายหลงั ที่ปฏสิ งั ขรณสวนที่ชํารดุ แลวไดมีการพอกปูนแปลงพระพกั ตร

67 “บัญชีรายช่ือพระพุทธรปู สโุ ขทยั และลพบรุ ี,”หอสมดุ แหงชาต,ิ หมูจดหมายเหตุ ร. 1 ,กระดาษฝรง่ั , อักษรไทย , ภาษาไทย ,
เสน หมกึ , จ.ศ. 1156 เลขที่ 11 .

68 “รายงานเร่อื งสรา งวัดพระเชตพุ น จ.ศ.1151 ,”หอสมุดแหง ชาติ, หมูจดหมายเหตุ ร. 1 ,สมุดไทยดํา , อักษรไทย , ภาษาไทย ,
เสน ขาว , จ.ศ. 1156 เลขท่ี 4 .

44

และพระองคของพระพุทธรูปเหลานี้ ใหมีลักษณะเดียวกัน เปนศิลปะในแบบที่สรางขึ้นใหมโดย
ยึดศลิ ปะแบบอยุธยาเปน ตน แบบ รปู แบบของพุทธศลิ ปลักษณะเชนนี้ก็คือรูปแบบของพระพุทธรูป
แบบรัตนโกสินทรตอนตน สมัยรัชกาลท่ี 1 น่ันเอง สวนรูปแบบของพระพุทธรูปองคเดิมถูกซอน
ไวภ ายใตป นู ที่พอกไวดังกลาวต้ังแตสมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงเม่ือประมาณ 50 ปที่ผานมา ปูนหมดอายุ
จึงไดกะเทาะออก เห็นภายในท่ีเปนเน้ือสัมฤทธ์ิขององคพระเดิม การปฏิสังขรณในปจจุบันได
กะเทาะปูนออก และลงรักปดทองตามลักษณะพุทธศิลปเดิมของแตละองคทุกประการ แตก็ยังมี
พระพุทธรูปบางองคท่ียังคงสภาพเดมิ ทีพ่ อกปูนอยูใหเห็นเปน หลักฐาน

สาเหตขุ องการพอกปูนแปลงพักตรพระพุทธรูปสัมฤทธ์ิหลังจากท่ีซอมแซมสวนท่ีชํารุด
ซึ่งมีทั้งสวนพระเศยี รบา ง พระหตั ถ พระบาทบาง ดังหลกั ฐานทจี่ ารกึ ไวในพระราชพงศาวดารนน้ั
มีผูใหขอสันนิษฐานไวคลายๆกันวา คงเนื่องมาจากชวงเวลานั้นแมวาสงครามระหวางไทยกับพมา
ถึงแมจะยตุ ิลง แตก ม็ อิ าจจะวางใจไดว าขา ศกึ จะยกทัพมาทาํ สงครามอีกหรอื ไม เมื่อไหร ดังนั้นเพื่อ
เปนการรกั ษาโบราณวัตถอุ ันมคี า ย่งิ คือพระพุทธรปู โบราณจํานวนหลายรอ ยองคเหลานี้ จงึ พอกปนู
แปลงพักตรเพ่ืออําพรางมิใหเห็นวาเปนของเกาโบราณมีคา อีกท้ังยังเปนการปองกันจากเหลามิจฉา
ชีพที่จองจะลักขโมยพระพุทธรูปหรือช้ินสวนไปขาย เหตุผลดังกลาวนี้เปนเหตุผลที่เก่ียวเนื่องดวย
สถานการณของบา นเมอื งในภาวะเพง่ิ จะส้ินสงคราม

แตถาหากพิจารณาเหตุการณตามประวัติศาสตร ในชวงที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟาจุฬาโลกข้ึนครองราชย จะเห็นไดวามีการแขงขันพระบารมีระหวางพระราชวังหลวงกับพระราช
วังบวรสถานมงคล ทําใหเกิดขอสันนิษฐานประการตอมาวา การที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟาจฬุ าโลกโปรดใหทําการปฏสิ งั ขรณพ ระพุทธรปู จํานวนมากแลวพอกปูนแปลงพระพกั ตรน นั้ อาจ
เปนไปไดวา พระองคทรงตองการแสดงใหเห็นวา พระองคเปนพระมหากษัตริยท่ีดีตามคติพุทธ
ศาสนา โดยเฉพาะอยางย่ิงในการทํานุบํารุงศาสนา ในเรื่องของการสรางบารมีดวยการสราง
พระพทุ ธรูปนนั้ การสรา งพระพุทธรปู ขน้ึ ใหมเ ปนจํานวนหลายรอยองค ดวยการพอกปูนและแปลง
พระพักตรพระพุทธรูปเกา ดูจะเปนวิธีที่ชาญฉลาดและเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจของบานเมือง
หลงั สงครามขณะนน้ั อีกทง้ั เขา ใจวาพระองคท รงตองการแสดงใหเหน็ วาทรงมีพระบารมีเหนือกวา
กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลผเู ปน อนชุ า ซงึ่ มพี ระราชอาํ นาจสงู ยิง่ ในเวลาน้ันดว ย

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร จะเห็นวา กรมพระราชวังบวรสถานมงคลมีพระราช
อาํ นาจมากมาตัง้ แตสมยั กรุงธนบุรี ทรงเปนพระยายมราชตง้ั แตพ.ศ.2313 ตอจากนั้นไมนานไดดํารง
ตําแหนงเจาพระยาสุรสีหพิษณุวาธิราช สําเร็จราชการเมืองพิษณุโลก เขาใจวาในสมัยรัชกาลท่ี 1
พระบรมเดชานภุ าพของกรมพระราชวงั บวรสถานมงคลคงสงู เดน ขน้ึ ทุกที จนนําไปสูเหตุบาดหมาง

45

ระหวางวังหลวงกับวังหนา ซ่ึงรุนแรงถึงขนาดลากปนใหญข้ึนปอมเผชิญหนากัน ในปลายปพ.ศ.
233969

นอกจากจะมีพระราชอํานาจมากในกิจการฝายราชอาณาจักรแลว กรมพระราชวังบวร
สถานมงคล ยงั ทรงมคี วามสัมพันธใกลชดิ กับพระราชาคณะที่สําคัญในเวลาน้ัน ทสี่ าํ คัญคอื พระวัน
รัต (ศุข ) แหงวัดนิพพานาราม ซ่ึงเปนวัดท่ีกรมพระราชวังบวรสถานมงคลทรงปฏิสังขรณโดยใช
วสั ดทุ ีเ่ ตรียมไวเพือ่ จะสรางปราสาทของพระองคต้ังแตพ.ศ.2326 และพระราชทานนามวาวัดพระศรี
สรรเพชญ 70 การสังคายนาพระไตรปฎกในพ.ศ.2331 ก็กระทําท่ีวัดน้ี โดยมีพระวันรัต(ศุข) เปนแม
กองชําระพระไตรปฎก 71 และตอมาพระวันรัต ( ศุข ) ไดรับสถาปนาเปนสมเด็จพระสังฆราชในป
พ.ศ.2336 ตอจากพระสังฆราชองคเดิมท่ีมรณภาพ 72 ในป พ.ศ.2338 ทรงผนวชที่วัดนี้โดยมี
พระสงั ฆราช(ศขุ )เปน พระอปุ ชฌาย วดั พระศรีสรรเพชญ จึงเปรียบเสมือนวัดประจํากรมพระราชวัง
บวรสถานมงคล

ใน พ.ศ.2332 พระพิมลธรรมวัดโพธาราม ซ่ึงมีความสัมพันธกับชนช้ันนําทางโลกมาก
ไดแ ตงหนงั สือสังคตี ิยวงศ ยกยอ งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลมากกวาพระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟาจุฬาโลก โดยเปรียบบารมีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกเปนพระศรัทธาธิก
โพธิสตั ว และเปรยี บกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเปน พระปญ ญาธิกโพธิสตั ว73 ซึ่งพระปญญาธิก
โพธสิ ัตวน้นั ความสมบรู ณของบารมีเกิดขึ้นโดยใชเวลาปฏิบัติ 4 อสงไขย แสนกัลป แตพระศรัทธา
ธิกโพธิสตั วต อ งใชเ วลาปฏบิ ัตเิ ปนสองเทา คือ 8 อสงไขย แสนกัลป

อาจเปน ไดวาพระพิมลธรรมแหงวัดโพธารามมีอิทธิพลสูง และมีความรูมากทั้งทางโลก
และทางธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกจึงทรงสรางความสัมพันธพิเศษกับพระ
พิมลธรรม โดยปฏสิ ังขรณว ดั โพธารามขึ้นใหม พระราชทานนามวาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส
มอบถวายพระพิมลธรรม ซ่ึงในป พ.ศ.2336 ไดเล่ือนข้ึนเปนพระวันรัต แทนพระวันรัต ( ศุข ) ท่ี
เลื่อนขึ้นเปนสมเด็จพระสังฆราช การท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงสถาปนาวัด
พระเชตุพนฯ และสถาปนาพระวันรัตข้ึนนี้ เชื่อวาเพื่อคานอิทธิพลวัดพระศรีสรรเพชญและสมเด็จ
พระสังฆราช(ศุข) พระองคทรงใหความสําคัญแกวัดพระเชตุพนฯตลอดรัชกาล เม่ืออัญเชิญ
พระพุทธรูปสําคัญมาจากเมืองตางๆ อันเปนศูนยความรุงเรืองทางพุทธศาสนาในอดีต รวมถึงพระ

69 เจาพระยาทิพากรวงศ , พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร รชั กาลท่ี 1 . น. 254-255.
70 เรอ่ื งเดยี วกัน , 87-88 .
71 เรื่องเดียวกนั , 192-193 .
72 เรื่องเดียวกนั , 241 .
73 สมเดจ็ พระวนั รตั , สงั คตี ยิ วงศ พงศาวดารเรอื่ งสงั คายนาพระธรรมวินัย , แปลโดยพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาลลักษมณ )
( กรุงเทพฯ : หางหนุ สว นจํากัดศิวพร , 2521 ) , 424 - 448 .

46
บรมสารีริกธาตุ ก็โปรดใหนํามาประดิษฐานที่วัดนี้ สําหรับวัดพระศรีสรรเพชญซึ่งมีนามตรงกับ
วัดประจําพระบรมมหาราชวังแหงกรุงศรีอยุธยา และคําวา สรรเพชญ หมายถึงพระพุทธเจา
ชื่อวัดจึงถือวาเปนการเสริมบารมีกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทันทีที่กรมพระราชวังบวรสถาน
มงคลสวรรคต พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดใหเปลี่ยนนามใหมเปนวัดมหาธาตุ
ราชวรวหิ าร 74

จะเห็นไดวาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงตระหนักดีถึงการแขงขัน
ระหวา งพระองคก บั วงั หนา และดว ยเหตทุ ่ีวังหนา มพี ระบารมีสูงย่ิงในสายตาของชนชั้นนําทางโลก
และพระสงฆผูใหญ การกระทําเพ่ือพิสูจนพระบารมีท่ีเหนือกวา จึงเปนสิ่งสําคัญสําหรับพระองค
ซ่ึงอาจกลา วไดวาเปน ปจ จัยหนึ่ง ท่ที ําใหเ หน็ ความสําคัญในการทํานุบํารุงพุทธศาสนา เพื่อเสริม
สรางพระบารมีของพระองคในฐานะพระมหากษัตริยที่ดีตามคติทางพุทธศาสนา ใหเห็นเดนชัดยิ่ง
ข้ึน ซ่ึงมีผลไปถึงการปฏิสังขรณพระพุทธรูปที่โปรดใหอัญเชิญมาจากหัวเมืองฝายเหนือ และ
รูปแบบของพระพุทธรปู ทเ่ี กิดจากการปฏิสงั ขรณในครัง้ น้ันดวย

74 เจา พระยาทิพากรวงศ , พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร รชั กาลท่ี 1 , 304 .

47

บทที่ 5
บทสรุป

วัดโพธ์ิหรือวดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร เปนพระอารามหลวงช้ันเอก
ที่นับวาเปนปูชนียสถานท่ีสําคัญแหงหน่ึงของกรุงรัตนโกสินทร นอกจากจะถือวาเปนวัดประจํา
รชั กาลที่ 1 แลว พระอารามแหงน้ยี ังกอปรไปดวยพทุ ธศิลปท่ีงามวิจติ รผสมผสานกับภูมิปญญาไทย
ที่ยงั เปนอยูและสบื สานเปน ความรูอ นั ทรงคณุ คา เนื่องจากในการสถาปนาและการบรู ณปฏสิ ังขรณ
ครั้งสําคัญ ในสมัยรัชกาลที่ 1 และสมัยรัชกาลท่ี 3 ไดมีการระดมชางในพระราชสํานัก ตลอดจน
ผเู ชย่ี วชาญในงานศลิ ปกรรมสาขาตางๆ สรา งสรรคพุทธสถานและสรรพสิง่ ทีป่ ระดับในพระอาราม
หลวงแหงนี้ จนนับไดวาเปนแหลงรวมของศิลปกรรม และความรูอันเปนภูมิปญญาไทย เปน
มรดกใหล กู หลานไทยไดเรยี นรูก ันสบื ตอไป

ในการปฏิสงั ขรณกอนการสถาปนาเปน วัดพระเชตุพนฯน้นั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอด
ฟาจุฬาโลกไดโ ปรดใหส รางพระระเบียงรอบพระอุโบสถ เปนพระระเบียงสองชั้นหักมุมไมสิบสอง
มีพระวิหารทิศอยูกลางพระระเบียงทั้งสี่ทิศ ที่พระระเบียงและพระวิหารน้ีมีพระพุทธรูปแบบตางๆ
มากมาย มีทง้ั แบบเชยี งแสน สุโขทัย อทู องและอยุธยา เปนพระโบราณขนาดใหญ ซ่ึงเคยเปนพระ
ประธานตามเมืองตางๆทางเหนือ อัญเชิญมาปฏิสังขรณ และประดิษฐานไวในแหลงเดียวกัน โดย
ท่พี ระระเบยี งชั้นนอกมพี ระพุทธรปู ประดษิ ฐานอยู 244 องค และทพี่ ระระเบียงช้ันในมีอยู 150 องค
นบั วาเปน พพิ ธิ ภัณฑพระพุทธรูปที่ยง่ิ ใหญแ หงหนึง่ สาํ หรบั ผูท ีส่ นใจพุทธศิลปเ ก่ียวกับพระพุทธรูป
พระระเบียงรอบพระอุโบสถน้ี จะเปนสวนท่ีสามารถเขาไปศึกษาพุทธลักษณะและศิลปะการสราง
ของพระพุทธรูปแบบตางๆ กอใหเกดิ ความรทู างดานพทุ ธศิลปไดอ ยางดยี ิ่ง

พระพุทธรูปโบราณท่ีประดิษฐานอยูในพระระเบียงช้ันในรอบพระอุโบสถน้ัน ทุกองค
ลวนแตเปนเน้ือสัมฤทธ์ิทั้งส้ิน และเคยชํารุดทรุดโทรมมากอน อันเปนผลจากสงครามคร้ังเสียกรุง
ศรีอยุธยาใหแกพมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกโปรดใหอัญเชิญมาปฏิสังขรณ ตอ
พระศอ พระเศียร พระหัตถ และพระบาท อีกท้ังไดมีการนําปูนขาวมาพอกแปลงพระพักตรและ
องคพระขึ้นใหมใหมีขนาดไลเลี่ยกัน มีลักษณะเฉพาะซึ่งเปนลักษณะของพระพุทธรูปแบบรัตนโก
สนิ ทรใ นสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลก

การพอกปูนพระพุทธรูปเหลานี้ นอกจากจะมีเจตนาอําพรางขาศึกมิใหเห็นวาเปนของมี
คา แลว พระพทุ ธรูปท่ีนาํ มาจากท่ีตางๆน้ี ยังมีขนาดตางกัน และเปนพระพุทธรูปท่ีมีรูปแบบตางยุค
ตา งสมยั กนั เม่ือวางเรียงกันไปตามพระระเบียง มองดูแลวยอมจะไมสวยงามไมเปนระเบียบ จึงได
พอกปูนใหองคพระมีลักษณะคลายกัน และมีขนาดไลเลี่ยกัน นอกจากน้ีการพอกปูนทําใหเปน

48

พระพุทธรูปลักษณะใหม ยังเหมือนกับเปนการสรางพระพุทธรูปขึ้นใหมทั้งหมด เพ่ือเปนการ
สรางเสริมพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกอีกดวย ปูนที่พอกทับเอาไว
ต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี 1 น้ี เพ่ิงจะหลุดกะเทาะออกมาในสมัยปจจุบัน ทําใหเห็นเนื้อในแทๆขององค
พระที่เปนสัมฤทธ์ิ และรูปแบบเดิมของพระพุทธรูปแตละองคที่แตกตางกัน คือมีท้ังพระพุทธรูป
แบบเชยี งแสน สุโขทัย อทู อง และอยธุ ยา รปู แบบเดิมของพระพุทธรูปนี้ นอกจากจะเปนประโยชน
ในการศึกษาทางพุทธศิลปแลว ยังเปนอีกแนวทางหน่ึง ท่ีจะชวยในการสันนิษฐานถึงที่มาของ
พระพุทธรูปแตละองค ซ่ึงตามหลักฐานกลาววาถูกอัญเชิญมาจากหัวเมืองฝายเหนือ เมื่อครั้งสมัย
รัชกาลที่ 1

ในการศึกษารูปแบบของพระพุทธรูป ขนาด และตําแหนงการวางพระพุทธรูปที่พระ
ระเบียงชั้นใน พบวา ขนาดของพระพุทธรปู ที่มุมพระระเบียงทง้ั ส่ีมมุ เปน พระพุทธรูปแบบเดียวกัน
และมีขนาดใหญกวาพระพุทธรูปที่อยูตามพระระเบียงท้ังส่ีดาน ซ่ึงมีขนาดไลเลี่ยกัน ทําใหสันนิษ
ฐานไดวานา จะมีความสมั พันธก ับตาํ แหนง ตามคตภิ มู จิ ักรวาล แมว า ตาํ แหนง ความสําคัญของภมู ิ
สถาปตยในเขตพุทธาวาสของวัดพระเชตพุ นฯในสมัยรชั กาลท่ี1 จะไมมีความชัดเจนตามคตจิ ักรวาล
เทาใดนกั ทั้งนี้อาจเนอ่ื งมาจากคติความเช่ือของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกนั้น เนน
ความสําคัญในมนุษยภมู มิ ากกวาภูมิอื่นๆ ซง่ึ ตา งจากความคิดแบบไตรภูมกิ ถาแบบด้ังเดิมท่สี บื เน่ือง
มาแตค รัง้ สมยั สโุ ขทยั แตการปฏสิ ังขรณว ัดพระเชตพุ นฯในสมยั รชั กาลที่ 3 ก็ทําใหเหน็ ความ
สมั พนั ธก บั ตําแหนงตามคตภิ ูมิจักรวาลไดชดั เจนข้ึน

พระพุทธรูปท่ีประดิษฐานอยูที่พระระเบียงรอบพระอุโบสถวัดพระเชตุพนฯนั้น ถือได
วาเปนพิพิธภัณฑของชาติ ดวยเปนการรวบรวมมาจากที่ตางๆ อันเคยเปนศูนยความเจริญรุงเรือง
ทางพระพุทธศาสนามากอน เชนเมืองสุโขทัย พิษณุโลก สวรรคโลก ลพบุรี และกรุงเกา อาจ
กลาวไดวาพระพุทธรูปเหลาน้ี มีความสําคัญท่ีสัมพันธกับเหตุการณทางประวัติศาสตรในสมัย
รัชกาลที่ 1 ซ่ึงบงบอกถึงความเกี่ยวของกับการสรางเสริมพระบารมีของพระองค ท้ังทางดาน
อาณาจกั รและ ศาสนจักร แตไมม ีหลกั ฐานท่ีจะระบุไดอ ยา งชัดเจนวา พระพทุ ธรปู แตล ะองคอ ญั ชญิ
มาจากที่ใด นอกจากท่ีพระวิหารทิศซ่ึงไดมีบันทึกเอาไว สวนพระพุทธรูปท่ีพระระเบียงน้ัน
หลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีบันทึกไวเทาที่รวบรวมได มีแตเพียงจํานวนและขนาดหนาตักของ
พระพุทธรูปท่ีนํามาจากแหลงสําคัญ 4 แหลง คือ เมืองศุกโขทัยและเมืองพิจิตร เมืองนพบุรี เมือง
ลพบุรี และกรุงเกา สําหรบั พระพุทธรปู ที่นํามาจากกรุงเกา มขี นาดใหญ และมีจํานวนนอ ยเพียง
6 องค มีบันทึกที่ทําใหระบุไดวาแตละองคถูกนํามาจากวัดใด แตพระพุทธรูปที่อัญเชิญลงมาจาก
หัวเมืองฝายเหนือแหลง อื่นๆ แมจะรูวาถูกอัญเชิญมาจากศุกโขทัยกับพิจิตร มีจํานวนและขนาด
หนาตักเทาไร เชนเดียวกันกับท่ีอัญเชิญมาจากนพบุรี และลพบุรี แตเม่ือตรวจสอบขนาดหนาตัก

49

พบวาพระพุทธรูปจากแหลงดังกลาว มีขนาดหนาตักเทากันเปนจํานวนมาก เมื่อนํามารวมไวที่วัด
พระเชตุพนฯ และมีการปฏิสังขรณใหสมบูรณ จึงไมสามารถนําเอาขนาดหนาตักมาวิเคราะหรวม
กับหลักฐานอื่นท่ีมีอยูในขณะนี้ เพ่ือบงชี้อยางแนชัดวาพระพุทธรูปองคใดอัญเชิญมาจากเมืองใด
นอกจากนี้ ยังมีบันทึกทางประวัติศาสตรระบุวา มีการอัญเชิญพระพุทธรูปเหลานี้มาจากหัวเมือง
ฝายเหนืออ่ืนๆอีก คือเมืองพิษณุโลก และเมืองสวรรคโลก ซึ่งไมมีหลักฐานบันทึกเอาไววา
พระพทุ ธรูปทีอ่ ัญเชิญมาจากเมอื งดังกลา วน้ี มีก่ีองค หนาตักเทาไรบาง อาจเปนไปไดวาเมืองเหลาน้ี
เคยมีความรุงเรืองทางพระพุทธศาสนาและมีพระพุทธรูปที่ชํารุดทรุดโทรมอยูมากก็จริง แตอยูใน
เขตการรวบรวมพระพุทธรูปเมืองสุโขทัย เม่ือมีการรวบรวมพระพุทธรูปลงมายังวัดพระเชตุพนฯ
การบันทึกคงนับรวมเปนกลุมพระพุทธรูปท่ีนํามาจากสุโขทัย ไมไดแยกวาพระพุทธรูปองคใด
อัญเชิญมาจากเมอื งพิษณโุ ลก หรือเมืองสวรรคโลก

ในการศึกษาคร้ังน้ี ทําการศกึ ษาเฉพาะพระพทุ ธรปู ประจําพระระเบียงช้ันในเทาน้ัน ยังมี
พระพทุ ธรปู ท่ีอัญเชิญมาพรอมกัน ประจําอยูท่ีสวนอ่ืนของวัดพระเชตุพนฯ อีกเปนจํานวนมาก เชน
ที่พระระเบียงชั้นนอกและพระวิหารคด หากมีผูทําการศึกษาตอไป จะทําใหเกิดประโยชนในการ
ศกึ ษาหาความรูท างโบราณคดีและประวัตศิ าสตรมากยง่ิ ข้ึน

81

บรรณานกุ รม

กรมศิลปากร. พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสินทร(ฉบับหอสมุดแหงชาติ). พระนคร: ป.พศิ นาคะ
การพมิ พ , 2505.

______. “ วดั สาํ คญั กรุงรัตนโกสินทร.” ใน ศลิ ปวฒั นธรรมไทย. เลม 4. กรงุ เทพฯ : ยไู นเต็ด
โปรดัคชัน่ , 2525.

กรมวชิ าการ. แนวพระราชดาํ ริ 9 รชั กาล. กรงุ เทพฯ : ครุ ุสภา , 2527.
กรมหมน่ื พทิ ยลาภพฤตยิ ากร , พระวรวงศเ ธอ. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกทรงฟน ฟู

วัฒนธรรม. พระนคร : โรงพมิ พท าพระจนั ทร , 2500.
คึกฤทธิ์ ปราโมช , พลตรี ม.ร.ว. “ พระพุทธรูปโบราณในวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม.” ใน

วัดพระเชตุพนฯสองรอ ยป(2332-2532). กรงุ เทพฯ : บัณฑติ การพมิ พ , 2532 .
เจา พระยาทิพากรวงศ (ขํา บนุ นาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลท่ี 1.พิมพค รัง้ ท7่ี .

กรุงเทพฯ : การศาสนา ,2545 .
จดหมายเหตุความทรงจําของกรมหลวงนรนิ ทรเทว.ี พมิ พพ รอมกับฉบบั เพ่มิ เติม พ.ศ. 2310-2381.

ม.ป.ท. , 2501 . ( พิมพใ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ พระเจา บรมวงศเธอ กรมหลวง
ทพิ ยรัตนกิรฏิ กลุ นิ ี ตลุ าคม 2501) .
น . ณ ปากนาํ้ [ นามแฝง ]. ถาม - ตอบ ศิลปะไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พกรุงเทพฯ , 2540 .
______. ศลิ ปไทยตามวดั . ธนบุรี : ป. พิศนาคะ , 2515 .
นิยะดา เหลา สนุ ทร, บรรณาธิการ. ประชมุ จารึกวดั พระเชตุพน. กรุงเทพฯ : บริษัทอัมรินทรพร้ิน
ต้ิงแอนดพับลิชชง่ิ จํากัด (มหาชน) , 2544 .
ประกอบ โชประการ. มหาราชชาติไทย. กรงุ เทพฯ : รวมการพิมพ , ม.ป.ป.
พระครูปลดั สมั พพิ ัฑฒนพรหมจริยาจารย (บญุ ). ตาํ นานพระพุทธรูปสาํ คญั วัดพระเชตุพนฯ.
กรงุ เทพฯ : บริษัทอัมรนิ ทรพ ริ้นต้งิ แอนดพ ับลิชชงิ่ จาํ กดั (มหาชน) , 2544 .
พระครูปลัดสมั พิพฑั ฒนพรหมจรยิ าจารย (บุญ) และ พระธรรมราชานวุ ัตร (กมล โกวโิ ท). ประวัติ
วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม. กรงุ เทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณร าชวทิ ยาลัย , 2536 .
พระวนั รตั น , สมเดจ็ . สังคีติยวงศ พงศาวดารเรือ่ งสังคายนาพระธรรมวนิ ยั . แปลโดย พระยาปริยตั ิ
ธรรมธาดา (แพ ตาลลักษมณ). กรุงเทพฯ : หา งหนุ สว นจาํ กดั ศิวพร , 2521 .

82

ภูมิพลอดุลยเดช , พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหา. “ สําเนาพระบรมราชโองการประกาศ
สถาปนาสมณศกั ดิ์ แดพ ระธรรมเสนานี ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ที่ 117
ตอนที่ 281 ธันวาคม 2543 . อางถงึ ใน นิยะดา เหลาสนุ ทร , บรรณาธิการ . ประชุม
จารกึ วดั พระเชตพุ น . กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมั รนิ ทรพริ้นต้ิงแอนดพบั ลชิ ช่งิ จาํ กัด
(มหาชน) , 2544 .

มัลลกิ า มสั อูดี . “ การจัดระเบียบการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 1”. ในเอกสารการสอน ชุดวิชา
ประวตั ิศาสตรไ ทย (หนว ยที่ 7). พมิ พครง้ั ที่ 7. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ , 2540 .

วดั พระเชตพุ นฯสองรอยป ( 2332-2532 ). กรงุ เทพฯ : บัณฑิตการพมิ พ , 2532 .
วไิ ลเลขา บุรณศริ ิ , สิริรตั น เรอื งวงษว าร และศวิ พร สนุ ทรวิภาต . ประวตั ศิ าสตรไ ทย 2.

กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พม หาวทิ ยาลยั รามคําแหง , 2532 .
สมเกยี รติ โลห เ พชรตั น. พระพทุ ธรปู สมัยรัตนโกสนิ ทร. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั โรงพิมพต ะวนั ออก ,

2540 .
สภุ ัทรดิศ ดศิ กลุ , ม.จ. ศลิ ปะในประเทศไทย. พมิ พค รั้งท่ี 11. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยธรรม

ศาสตร , 2539 .
สุทธลิ กั ษณ อําพนั วงศ . วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม. กรุงเทพฯ : ครุ ุสภา , 2536.
เสมอชัย พูลสุวรรณ . สัญลักษณในงานจติ รกรรมไทย. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,

2539.
แสงโสม เกษมศรี , ม.ร.ว. และวิมล พงศพ ิพฒั น . ประวัติศาสตรส มยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร.

กรุงเทพฯ : มิตรนราการพมิ พ , 2515 .
หลวงบริบาลบุรีภณั ฑ และสุภัทรดศิ ดศิ กุล , ม.จ. พระพุทธรปู ตา งๆในประเทศไทยและพุทธศลิ ป

ในประเทศไทย. ม.ป.ท. , 2503 . ( พมิ พในงานฌาปนกิจศพ นางบญุ สิน บูรณธนติ
กรกฎาคม 2503 ).

Wyatt,David K., and Alexander Woodside. Moral Order and the Question of
change :Essay on South East Asian thought . Connecticut : Yale

University Southeast Asia Studies ,1982. อางถงึ ใน วไิ ลเลขา ถาวรธนสาร.
“ บริบททางประวัตศิ าสตรก บั พฒั นาการทางภมู ิปญญาไทยสมัยตนรตั นโกสนิ ทร.”
ดาํ รงวิชาการ , (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2546 ): 163-164 .

83

เอกสารตนฉบบั ตัวเขียน
“ กระแสพระบรมราชโองการใหเชิญพระพุทธรูปจากสุโขทยั มาประดิษฐานไว ณ กรงุ เทพฯ

จ.ศ. 1156.” หอสมดุ แหง ชาติ . สมดุ ไทยดาํ . อกั ษรไทย. ภาษาไทย . เสนขาว . จ.ศ.
1156. เลขท่ี 9/ก .
“ บัญชพี ระพทุ ธรปู อาราธนามาแตเ มอื งสุโขทัย จ.ศ. 1156 (พ.ศ. 2337) .” หอสมดุ แหงชาติ .
หมจู ดหมายเหตุ ร. 1. สมดุ ไทยดาํ . อกั ษรไทย . ภาษาไทย . เสน ขาว . จ.ศ. 1156
เลขท่ี 9.
“ บัญชรี ายชอื่ พระพทุ ธรปู สโุ ขทัยและลพบรุ ี .” หอสมดุ แหง ชาติ . หมูจดหมายเหตุ ร. 1 .
กระดาษฝร่งั . อักษรไทย . ภาษาไทย . เสนหมกึ . จ.ศ. 1156. เลขท่ี 11 .
“ รายงานเรื่องสรางวัดพระเชตุพน จ.ศ. 1151 .” หอสมดุ แหง ชาติ . หมจู ดหมายเหตุ ร. 1.
สมดุ ไทยดาํ . อกั ษรไทย . ภาษาไทย . เสน ขาว . จ.ศ. 1151 . เลขที่ 4 .
หอจดหมายเหตุแหงชาติ . เอกสารกรมราชเลขาธกิ าร รัชกาลที่ 6 . ร. 6 ศ /8 . “ รายงานมรรคนายก
ปฏิสงั ขรณว ดั พระเชตุพน .” 24 ตุลาคม - 16 พฤศจิกายน 2465 .
“ สําเนาคําแนะนาํ ในการเทศนาเร่ือง การปฏสิ งั ขรณว ดั พระเชตพุ น .” หอสมุดแหงชาติ .
กระดาษฝร่ัง . อักษรไทย . ภาษาไทย . เสน หมึก . ไมป รากฏศกั ราช . เลขท่ี 50 / ก.
“ สําเนาจารึกแผน ศลิ า(1) วา ดว ยการปฏสิ งั ขรณวดั โพธาราม .” หอสมุดแหงชาติ . กระดาษฝร่งั .
อกั ษรไทย . ภาษาไทย . เสน หมึก . จ.ศ. 1163 . เลขที่ 3 .

สัมภาษณ
พระศรวี ิสุทธวิ งศ ( สุรพล ชิตญาโณ ) . ผูชวยเจา อาวาสวัดพระเชตุพนฯ .

สัมภาษณ , 22 มนี าคม 2547.
รังสรรค สถริ าวธุ . หัวหนาชา งบรู ณปฏิสังขรณประจําวดั พระเชตพุ นฯ .

สมั ภาษณ , 25 สิงหาคม 2547.
สุพรรณ งามจนั ทรอ ัด . ชา งผูทาํ การบรู ณปฏิสงั ขรณพ ระพทุ ธรปู ประจาํ พระระเบยี งรอบ

พระอโุ บสถ วัดพระเชตพุ นฯ .
สัมภาษณ , 24 มิถนุ ายน 2547 .










































































Click to View FlipBook Version