The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธรูปสำริด ในจังหวัดน่าน และแพร่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธรูปสำริด ในจังหวัดน่าน และแพร่

พระพุทธรูปสำริด ในจังหวัดน่าน และแพร่

81

นอกเหนือจากตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดที่วดั ภูมนิ ทร์แล้ว ในพ้ืนท่ีจังหวัดนา่ น ยังปรากฏการ
สร้างพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะแรกที่มีอิทธิพลคิลปะสุโขทัยในอาเภอปัว ตัวอย่างสาคัญได้แก่
พระพุทธรูปสาริดท่ีวัดป่าเหมือด ตาบลศิลาแลง (ภาพที่ 75) พระพุทธรูปสาริดที่วัดนาคา ตาบลคิลาเพชร
(ภาพท่ี 70) และพระพทุ ธรูปสาริดทวี่ ัดตน้ แหลง ตาบลไชยวัฒนา (ภาพท่ี 74) เป็นตน้ ตวั อย่างเหล่าน้ี
มีพทุ ธลักษณะที่ค่อนขา้ งใกล้เคียงกนั คอื มีพระรัศมีเป็นลกู แกว้ ทรงครองจวี รหม่ เฉยี ง ชายสังฆาฏิสน้ั
เหนือพระถัน ปลายแยกออกเป็น 2 แฉก ไม่เป็นเขี้ยวตะขาบที่ชัดเจน และประทับนั่งขัดสมาธิเพชร
ตามแบบศิลปะล้านนา แต่มีพระพักตร์รูปไข่ พระวรกายเพรียวบาง ตามอิทธิพลศิลปะสุโขทัย โดยใน
ตัวอย่างพระพุทธรูปที่วัดป่าเหมือด และวัดต้นแหลง มีการทาเม็ดพระศกเล็ก ในขณะท่ีตัวอย่างที่วัดนาคา
ทาพระศกเป็นขมวดก้นหอยคล้ายหนาม ไม่ประณีต แสดงให้เห็นถึงความเป็นงานช่างพื้นบ้านอย่าง
แท้จรงิ

ตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดท่ีวัดป่าเหมือด ถือเป็นตัวอย่างสาคัญท่ีช่วยให้การกาหนดอายุ
พระพุทธรูปกลุ่มนี้ได้อย่างชัดเจนข้ึน เน่ืองจากปรากฏจารึกการสร้างว่า “สักราชได้ 871” หรือ พ.ศ.
2052 ซ่ึงทาให้การกาหนดอายุพระพุทธรูปกลุ่มนี้ รวมไปถึงตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดที่วัดภูมินทร์ได้
วา่ อยใู่ นช่วงกลางพุทธศตวรรษท่ี 21 จนถงึ คร่ึงหลังของพุทธศตวรรษที่ 21

ภาพที่ 81 จารึกท่ฐี านพระพทุ ธรปู ขดั สมาธเิ พชร ทวี่ ดั ปา่ เหมอื ด (จากภาพท่ี 75)

ข้อสังเกตสาคัญเกี่ยวกับพระพุทธรูปสาริดแบบล้านนาระยะแรกท่ีพบในพื้นท่ีเมืองน่าน-เมือง
แพร่-เมืองลอง คือ พระพุทธรูปกลุ่มน้ีจะพบมากในพื้นที่เมืองน่าน ในขณะที่บริเวณเมืองแพร่-เมือง
ลอง พบเพียง 1 ตัวอย่างเท่าน้ัน จึงน่าจะสันนิษฐานได้ว่า ความนิยมศิลปะล้านนาระยะแรกคงไม่
ปรากฏในเมืองแพร่ และดว้ ยความท่ตี วั อย่างดังกลา่ วมีความใกล้เคียงกบั ศิลปะล้านนาระยะแรกท่ีเป็น
ต้นแบบมาก อาจเป็นไปได้ว่าพระพุทธรูปสาริดนี้ถูกเคลื่อนย้ายมาจากท่ีอื่น ไม่ได้สร้างข้ึนในท้องถ่ิน
เมอื งแพรก่ เ็ ปน็ ได้

82

กลุ่มท่ี 4 พระพทุ ธรปู สารดิ ขัดสมาธิราบแบบลา้ นนา
ศิลปะในอาณาจักรล้านนา นอกจากจะมีการรับเอาอิทธิพลศิลปะปาละผ่านอาณาจักรพุกาม
แล้วนามาปรับใช้จนเกิดเป็นรูปแบบท่ีเรียกว่า “ศิลปะล้านนาระยะแรก” หรือพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร
แบบล้านนาแล้ว ยังปรากฏว่ามีการรับเอาอิทธิพลศิลปะสุโขทัยเข้ามาปรับใช้จนเกิดเป็นรูปแบบของ
ตนเอง เรยี กว่า “ศลิ ปะล้านนาระยะหลัง” หรือพระพทุ ธรปู ขัดสมาธริ าบด้วย ซงึ่ อทิ ธิพลศลิ ปะล้านนา
ระยะหลังนั้นได้เข้ามาสู่พื้นที่เมืองน่าน-เมืองแพร่-เมืองลอง ภายหลังจากพืน้ ท่ีนี้ถูกผนวกเป็นสว่ นหน่ึง
ของอาณาจักรล้านนาแล้ว และได้รับความนิยมแพร่หลายกว่าศิลปะล้านนาระยะแรกพอสมควร โดย
ถงึ แม้ว่าศลิ ปะลา้ นนาระยะหลังจะมคี วามคลา้ ยคลงึ กบั ศลิ ปะสโุ ขทยั มาก แตก่ ็มลี กั ษณะบางประการที่
แตกตา่ งออกไป ดว้ ยเหตนุ ้ี ผูว้ จิ ยั จึงแยกกลมุ่ พระพุทธรูปสกุลชา่ งน่าน-แพร่ ทไ่ี ด้รบั อิทธพิ ลจากศิลปะ
ล้านนาระยะหลังออกจากกลุ่มท่ที าสบื ต่อจากอิทธพิ ลศิลปะสุโขทัย ซึง่ จะไดน้ าเสนอรายละเอียดต่อไป
ตัวอย่างพระพุทธรปู ที่ปรากฏในพ้นื ทเ่ี มืองน่าน-เมอื งแพร่-เมืองลอง
พระพทุ ธรูปสาริดขดั สมาธริ าบแบบลา้ นนาในพน้ี ที่เมืองน่าน-เมืองแพร่-เมืองลอง พบตัวอย่าง
กระจายอยตู่ ามอาเภอตา่ ง ๆ ของจงั หวดั นา่ นและจงั หวัดแพร่ โดยสามารถแบง่ ตามพน้ื ที่ไดด้ ังน้ี
1. อาเภอเมืองน่าน พบจานวน 10 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดในพิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาติ นา่ น จานวน 4 ตวั อย่าง (ภาพท่ี 82 83 84 และ 85) วัดภูมินทร์ จานวน 1 ตวั อยา่ ง (ภาพท่ี
86) วัดพระเกิด จานวน 1 ตัวอย่าง (ภาพท่ี 87) วัดท่าช้าง จานวน 3 ตัวอย่าง (ภาพที่ 88 89 และ
90) และวดั นาซาว จานวน 1 ตวั อยา่ ง (ภาพท่ี 91)

83

ภาพที่ 82 (ซา้ ย) พระพุทธรูปสาริดในพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ น่าน (ตวั อย่างที่ 1)
ภาพที่ 83 (ขวา) พระพุทธรปู สาริดในพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ นา่ น (ตวั อย่างท่ี 2)

ภาพที่ 84 (ซ้าย) พระพุทธรูปสาริดในพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ นา่ น (ตัวอยา่ งที่ 3)
ภาพที่ 85 (ขวา) พระพทุ ธรปู สารดิ ในพิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ น่าน (ตัวอย่างที่ 4)

84

ภาพท่ี 86 (ซ้าย) พระพุทธรปู สาริดท่วี ัดภมู ินทร์
ภาพที่ 87 (ขวา) พระพุทธรูปสาริดท่ีพพิ ิธภัณฑว์ ดั พระเกดิ

ภาพท่ี 88 (ซา้ ย) พระพุทธรปู สารดิ ที่วัดทา่ ช้าง (ตัวอยา่ งท่ี 1)
ภาพท่ี 89 (ขวา) พระพุทธรปู สารดิ ท่วี ัดทา่ ชา้ ง (ตัวอยา่ งท่ี 2)

85

ภาพท่ี 90 (ซ้าย) พระพทุ ธรปู สาริดท่วี ัดทา่ ชา้ ง (ตวั อยา่ งที่ 3)
ภาพท่ี 91 (ขวา) พระพุทธรปู สาริดทวี่ ดั นาซาว

2. อาเภอภูเพียง พบจานวน 2 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดที่วัดแสงดาว จานวน 1
ตวั อย่าง (ภาพที่ 92) วดั พระธาตแุ ช่แห้ง จานวน 1 ตวั อยา่ ง (ภาพที่ 93)

ภาพที่ 92 (ซา้ ย) พระพุทธรปู สารดิ ทีว่ ัดแสงดาว
ภาพที่ 93 (ขวา) พระพุทธรูปสารดิ “พระเจา้ ลา้ นทอง” วดั พระธาตแุ ชแ่ ห้ง

86
3. อาเภอท่าวังผา พบจานวน 4 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดท่ีวัดเชียงแล จานวน 2
ตวั อยา่ ง (ภาพท่ี 94 และ 95) วัดศรมี งคล (กง๋ ) จานวน 1 ตวั อย่าง (ภาพที่ 96)

ภาพที่ 94 พระพุทธรูปสารดิ ทว่ี ดั เชยี งแล (ตัวอยา่ งที่ 1)

ภาพท่ี 95 (ซ้าย) พระพุทธรปู สาริดทว่ี ดั เชียงแล (ตัวอยา่ งที่ 2)
ภาพท่ี 96 (ขวา) พระพุทธรูปสารดิ ทพ่ี พิ ิธภณั ฑว์ ดั ศรมี งคล (ก๋ง)

87
4. อาเภอปัว พบจานวน 5 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดที่วัดป่าเหมือด จานวน 3
ตัวอย่าง (ภาพที่ 97 98 และ 99) วัดดอนแก้ว จานวน 1 ตัวอย่าง (ภาพท่ี 100) วัดทุ่งชัย จานวน 1
ตัวอยา่ ง (ภาพท่ี 101)

ภาพที่ 97 (ซ้าย) พระพุทธรูปสาริดทีว่ ดั ปา่ เหมือด (ตวั อย่างท่ี 1)
ภาพท่ี 98 (ขวา) พระพทุ ธรูปสารดิ ที่วดั ปา่ เหมอื ด (ตัวอยา่ งท่ี 2)

ภาพที่ 99 (ซ้าย) พระพุทธรปู สาริดทวี่ ัดปา่ เหมือด (ตัวอย่างที่ 3)
ภาพท่ี 100 (ขวา) พระพุทธรปู สาริดทว่ี ดั ดอนแก้ว

88

ภาพท่ี 101 พระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าตอง” ทว่ี ัดทุ่งชัย (ท่มี า : วัดทุง่ ชัย)

5. อาเภอแม่จริม พบจานวน 1 ตัวอยา่ ง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดที่วดั หนองแดง (ภาพท่ี 102)

ภาพที่ 102 พระพุทธรปู สาริด พระพทุ ธรปู สารดิ ที่วัดหนองแดง

6. อาเภอเวียงสา พบจานวน 2 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสารดิ ที่วัดพระเนตร (ภาพที่ 103
และ 104)

89

ภาพที่ 103 (ซ้าย) พระพุทธรูปสาริดทีว่ ัดพระเนตร (ตวั อยา่ งที่ 3)
ภาพท่ี 104 (ขวา) พระพุทธรูปสาริดทว่ี ัดพระเนตร (ตวั อย่างที่ 4)

ส่วนในพื้นท่ีจังหวัดแพร่ พบพระพุทธรูปสาริดที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนาระยะหลัง
แยกตามอาเภอไดด้ ังน้ี

1. อาเภอเมืองแพร่ พบจานวน 6 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดที่วัดศรีชุม จานวน 2
ตัวอย่าง (ภาพท่ี 105 และ 106) วัดหลวง จานวน 2 ตัวอย่าง (ภาพท่ี 107 และ 108) วัดเมธังกรา-
วาส จานวน 1 ตัวอยา่ ง (ภาพท่ี 109) และวดั พงษ์สนุ นั ท์ จานวน 1 ตัวอยา่ ง (ภาพท่ี 110)

ภาพที่ 105 (ซ้าย) พระพุทธรูปสารดิ ท่วี ัดศรีชมุ (ตวั อยา่ งท่ี 1)
ภาพที่ 106 (ขวา) พระพทุ ธรูปสารดิ ทวี่ ดั ศรชี ุม (ตวั อย่างท่ี 2)

90

ภาพที่ 107 (ซ้าย) พระพทุ ธรปู สารดิ ท่พี ิพิธภัณฑ์วัดหลวง (ตวั อย่างท่ี 1)
ภาพที่ 108 (ขวา) พระพทุ ธรปู สาริดท่ีพพิ ิธภัณฑว์ ัดหลวง (ตวั อย่างที่ 2)

ภาพท่ี 109 (ซ้าย) พระพทุ ธรูปสารดิ “พระเจ้านา้ ออกเศียร” ท่วี ดั เมธงั กราวาส
ภาพที่ 110 (ขวา) พระพุทธรปู สาริด “พระเจา้ แสนสขุ ” ทว่ี ดั พงษ์สนุ ันท์

2. อาเภอลอง พบจานวน 5 ตัวอย่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดในพิพิธภัณฑ์วัดศรีดอนคา
จานวน 2 ตัวอย่าง (ภาพที่ 111 และ 112) วัดต้าเวียง จานวน 1 ตัวอย่าง (ภาพท่ี 113) วัดแม่ลานใต้
จานวน 1 ตัวอย่าง (ภาพที่ 114) และวัดผามอก จานวน 1 ตัวอย่าง (ภาพที่ 115)

91

ภาพที่ 111 (ซ้าย) พระพุทธรปู สาริดทว่ี ัดศรดี อนคา (ตัวอยา่ งที่ 1)
ภาพที่ 112 (ขวา) พระพทุ ธรปู สาริดท่ีวัดศรีดอนคา (ตวั อยา่ งที่ 2)

ภาพที่ 113 (ซ้าย) พระพุทธรปู สาริด “พระเจ้าล้านทอง” ท่วี ดั ตา้ เวยี ง
ภาพที่ 114 (ขวา) พระพทุ ธรปู สารดิ ทวี่ ดั แมล่ านใต้ (ทมี่ า : พระอธิการจตรุ ภทั ร อาภากโร วัดไผล่ ้อม)

92

ภาพที่ 115 พระพุทธรูปสารดิ ทวี่ ดั ผามอก ตาบลตา้ ผามอก อาเภอลอง

การวเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบรปู แบบศลิ ปกรรม
พระพุทธรูปสกุลช่างน่าน-แพร่ ที่ได้รับอิทธิพลจากพระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนาน้ัน
โดยทั่วไปยังคงพุทธลักษณะท่ีแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลศิลปะสุโขทัย กล่าวคือ มีพระพักตร์กลมหรือรูป
ไข่ พระรัศมีเปน็ เปลว พระขนงโกง่ พระนาสกิ โด่ง แยม้ พระโอษฐเ์ ล็กน้อย โดยสว่ นหางพระเนตร และ
ปลายพระโอษฐไ์ ม่มีเส้นตวัดขึ้นเหมือนอยา่ งพระพุทธรปู สาริดกลมุ่ ทไี่ ดร้ บั อิทธิพลจากศลิ ปะสุโขทัยแท้
พระวรกายบอบบาง ทรงครองจีวรห่มเฉียง ชายสังฆาฏิเป็นเส้นเล็ก ยาวจรดพระนาภี ปลายสังฆาฏิ
พบท้ังท่ีแยกออกคล้ายเข้ียวตะขาบ และปลายตัดตรง มีการประดับตกแต่งที่ปลายสังฆาฏิ ประทับ
นั่งขัดสมาธิราบ แสดงปางมารวิชัย นิ้วพระหัตถ์เป็นแบบธรรมชาติ คือมีความสั้น-ยาวไม่เท่ากัน
ประทับบนฐานบัว บางครงั้ เปน็ ฐานท่ีมีขาตงั้ ต่างจากกลุม่ ที่ได้รับอิทธิพลสุโขทัยซึ่งมกั จะเป็นฐานหน้า
กระดานเต้ยี ๆ
พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนา เป็นรูปแบบท่ีเกิดข้ึนต้ังแต่ช่วงต้นพุทธศตวรรษท่ี 21
ในรัชกาลของพระเจ้าติโลกราช และสืบเนื่องต่อมาจนกระท่ังสิ้นสมัยล้านนา เมื่อเทียบกับเหตุการณ์
ทางประวัติศาสตร์ว่า พระเจ้าติโลกราชทรงผนวกเมืองน่านและเมืองแพร่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของ
อาณาจักรล้านนาได้สาเร็จในปี พ.ศ. 1986 หรือปลายพุทธศตวรรษที่ 20 (องค์การบริหารส่วนจงั หวัด
แพร่, 2550, pp. 57-58) ย่อมมีความเป็นไปได้ว่า อิทธิพลของพระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนา
คงแพร่เข้าสพู่ ้ืนท่ีเมืองนา่ นและเมืองแพร่ในชว่ งหลังจากนัน้ โดยอาจจะอยูใ่ นชว่ งต้นของพทุ ธศตวรรษ
ที่ 21 ซ่งึ พระพุทธรูปขดั สมาธริ าบแบบลา้ นนาในพนื้ ทเ่ี มืองน่าน-เมืองแพร่ ปรากฏท้งั ตวั อยา่ งที่มีความ

93

ใกล้เคียงกับงานศิลปะต้นแบบมาก บางส่วนปรากฏการนาอิทธิพลทางสกุลช่างจากพ้ืนท่ีอื่นที่มิใช่
ศนู ยก์ ลางมาผสม และกลมุ่ ท่ีปรากฏความเป็นงานช่างพน้ื บา้ นอย่างชดั เจน

พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนากลุ่มแรกที่พบในพื้นท่ีเมืองน่าน-เมืองแพร่ เป็นกลุ่มที่มี
พุทธลักษณะใกล้เคียงกับศิลปะล้านนาที่เป็นต้นแบบ โดยพบตัวอย่างพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะ
เช่นนี้จานวนหน่ึง ได้แก่ พระพุทธรูปท่ีวัดดอนแก้ว ตาบลศิลาเพชร อาเภอปัว (ภาพท่ี 100)
พระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าล้านทอง” ท่ีวัดพระธาตุแช่แห้ง ตาบลม่วงตึ๊ด อาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
(ภาพที่ 96) พระพทุ ธรปู สาริดท่ีพพิ ิธภณั ฑว์ ดั ศรีดอนคา อาเภอลอง (ตวั อยา่ งท่ี 1 และ 2) (ภาพท่ี 111
และ 112) พระพุทธรูปสาริดที่วัดศรีชุม (ตัวอย่างที่ 1 และ 2) (ภาพที่ 105 และ 106) พระพุทธรูป
สาริด “พระเจ้าแสนสุข” วัดพงษ์สุนันท์ ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ (ภาพท่ี 110) เป็นต้น โดย
ตวั อย่างทป่ี รากฏหลักฐานชัดเจนวา่ มีอายเุ กา่ ทสี่ ุดในกลมุ่ คือ พระพทุ ธรูปสาริด “พระเจา้ แสนสุข” ที่
วัดพงษ์สุนันท์ ซึ่งมีข้อมูลว่าสร้างโดยพระเจ้าติโลกราช และให้พระนางหอมมุกข์ พระสนมเอกนามา
ประดิษฐานไว้ที่วัดนี้ (ข่าวสด, 2561) จึงสามารถสรุปได้ว่า “พระเจ้าแสนสุข” ที่วัดพงษ์สุนันท์ มีอายุ
การสร้างอย่ใู นช่วงต้นพุทธศตวรรษท่ี 21 และนา่ จะถอื ได้ว่าเปน็ พระพุทธรูปขัดสมาธริ าบแบบล้านนา
รนุ่ แรกทเ่ี ข้ามาสู่พ้นื ที่เมืองแพร่

อทิ ธิพลของศลิ ปะลา้ นนาคงมีการแพร่เข้าสู่พน้ื ทเ่ี มืองน่าน-เมืองแพร่ อย่างต่อเนอ่ื ง เพราะใน
ระยะต่อมา พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนาภายใต้สกุลช่างน่าน-แพร่ ที่ยังมีพุทธลักษณะ
ใกล้เคียงกับศิลปะต้นแบบน้ัน ได้ปรากฏพุทธลักษณะท่ีเป็นไปตามความนิยมในศิลปะล้านนา ณ
ช่วงเวลานน้ั ด้วย เช่น การทาฐานบวั ท่มี ีขาต้ัง การทาฐานบัวงอน เปน็ ต้น ดังตัวอยา่ งเชน่ พระพุทธรูป
สาริดท่ีวัดศรีมงคล (ก๋ง) ตาบลยม อาเภอท่าวังผา (ภาพที่ 96) และพระพุทธรูปสาริดใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน (ตัวอย่างท่ี 1) (ภาพท่ี 82) ซ่ึงใช้ฐานบัวท่ีมีขาต้ัง รวมท้ังในตัวอย่างท่ี
วัดศรีมงคล (ก๋ง) ยังปรากฏการเจาะช่องกระจกด้วย หรือในพระพุทธรูปสาริดที่ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑ์วัดศรีดอนคา อาเภอลอง จังหวัดแพร่ (ภาพท่ี 112) ที่ปรากฏการใช้ฐานบัวงอน โดยความ
นิยมในการใช้ฐานที่มีลักษณะดังกล่าวน้ีเกิดขึ้นในช่วงกลางพุทธศตวรรษท่ี 21 (ศักดิ์ชัย สายสิงห์,
2556, p. 314) ในรัชกาลของพญาแก้ว ตัวอย่างเช่น พระพุทธรูปสาริดที่วดั พันเตา เชียงใหม่ (มีจารึก
สร้างปี พ.ศ. 2040) ซ่ึงใช้ฐานบัวที่มีขาตั้ง (ภาพท่ี 116) หรือพระพุทธรูปสาริดทีว่ ัดป่าสักนอ้ ย อาเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย ซ่ึงใช้ฐานบัวงอน (ภาพท่ี 117) เป็นต้น เม่ือเป็นเช่นนี้ ย่อมกาหนดอายุ
พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบลา้ นนาที่ใชฐ้ านบัวท่ีมีขาต้ัง รวมท้ังตัวอย่างที่ใช้ฐานบัวงอนได้ว่า น่าจะ
อยู่ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 21 เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ ก็ยังคงปรากฏการ
สร้างพพระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนาที่มีพุทธลักษณะใกล้เคียงกับพระพุทธรูป “พระเจ้าแสน
สขุ ” ท่วี ัดพงษส์ นุ ันท์ ไปพรอ้ มกนั ตวั อย่างเชน่ พระพุทธรูป “พระเจ้าล้านทอง” ที่วดั พระธาตุแช่แห้ง

94

ซึ่งมีประวัติว่าสร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2065 ตรงกับช่วงท่ีพระยาคายอดฟ้าเป็นเจ้าเมืองน่าน (สุรศักด์ิ ศรี
สาอางค,์ 2530, p. 55) และอยู่ในช่วงที่พญาแกว้ เป็นกษัตรยิ ล์ า้ นนา

ภาพที่ 116 พระพทุ ธรูปสาริดที่วดั พันเตา เชยี งใหม่ (ศักดชิ์ ยั สายสงิ ห์, 2556, p. 314)
ภาพท่ี 117 พระพุทธรูปสาริดที่วดั ป่าสกั น้อย เชยี งแสน (ศักดิช์ ัย สายสิงห์, 2556, p. 319)

ในช่วงเวลาเดียวกันน้ี พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนาที่ปรากฏในเมืองน่าน-เมืองแพร่
ได้ปรากฏว่ามีการรับอิทธิพลทางสกุลช่างจากเมืองเชียงราย-เชยี งแสน-เชยี งของ เข้ามาด้วย ตัวอย่าง
สาคัญท่ีแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของสกุลช่าง ได้แก่ พระพุทธรูปสาริดท่ีปัจจุบันจัดแสดงอยู่ ใน
พิพิธภัณฑ์วัดศรีดอนคา อาเภอลอง จังหวัดแพร่ (ตัวอย่างท่ี 1) พระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าน้าออก
เศียร” วัดเมธังกราวาส อาเภอเมืองแพร่ (ภาพท่ี 109) พระพุทธรูปสาริดที่วัดภูมินทร์ อาเภอเมือง
น่าน (ภาพท่ี 86) และพระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าตอง” ท่ีวัดทุ่งชัย ตาบลเจดีย์ชัย อาเภอปัว (ภาพที่
101) โดยตัวอย่างพระพุทธรูปเหล่าน้ีมีพุทธลักษณะที่ค่อนข้างคล้ายกัน คือ มีพระรัศมีเป็นเปลว
พระพักตร์กลม พระเนตรเปิด พระนาสิกเล็ก แย้มพระโอษฐ์เล็กน้อย พระวรกายค่อนข้างบาง
ทรงครองจีวรห่มเฉียง ชายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภี ปรากฏชายสังฆาฏิท้ังปลายตัดตรง และปลาย
แยกออกคล้ายเขี้ยวตะขาบ ประทับนั่งขัดสมาธิราบ แสดงปางมารวิชัย น้ิวพระหัตถ์เล็กมากและมี
ความยาวเกือบเท่ากัน ซึ่งพุทธลักษณะดังกล่าวนี้สามารถเทียบได้กับตัวอย่างพระพุทธรูปในสกุลช่าง
เชียงราย-เชียงแสน-เชียงของ เช่น พระเจ้าทันใจ ท่ีวัดผ้าขาวป้าน อาเภอเชียงแสน (ภาพที่ 118) ซ่ึง
ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ได้กาหนดอายุไว้ว่าน่าจะอยู่ในช่วงกลางถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี
21 (ศักด์ิชัย สายสิงห์, 2551, p. 223) ดังน้ัน พระพุทธรูปกลุ่มท่ีได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนา

95

สกุลช่างเชียงราย-เชยี งแสน-เชยี งของ ก็น่าจะมีอายุอยู่ในช่วงเวลาไลเ่ ล่ียกัน คือประมาณช่วงกลางถงึ
ครง่ึ หลังของพทุ ธศตวรรษท่ี 21

ภาพที่ 118 พระเจา้ ทนั ใจ วดั ผา้ ขาวปา้ น เชียงแสน (ศักด์ชิ ัย สายสิงห์, 2551, p. 224)

ตารางท่ี 19 เปรยี บเทียบพุทธลักษณะของพระพทุ ธรปู ในสกลุ ชา่ งเชียงราย กับตัวอย่างพระพทุ ธรปู สารดิ ที่ไดร้ ับ

อิทธิพลจากสกุลชา่ งเชียงรายภายใตส้ กุลช่างนา่ น-แพร่

พระเจ้าทันใจ วัดผ้าขาวปา้ น พระพุทธรปู สาริดในพพิ ธิ ภัณฑว์ ัดศรดี อนคา

96

พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนากลุ่มสุดท้ายท่ีปรากฏในพ้ืนท่ีเมืองน่าน-เมืองแพร่ และ
ถือได้ว่าเป็นกลุ่มท่ีมีจานวนมากที่สุด คือ กลุ่มท่ีมีลักษณะเป็นงานช่างพื้นบ้านอย่างแท้จริง ซึ่ง
พุทธลักษณะของพระพุทธรูปกลุ่มน้ีปรากฏทั้งในรูปแบบที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนาแบบ “พระเจ้า
แสนสุข” ตัวอย่างเช่น พระพุทธรูปสาริดท่ีวัดศรีชุม อาเภอเมืองแพร่ (ตัวอย่างที่ 1 และ 2) (ภาพท่ี
105 และ 106) พระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าล้านทอง” ท่ีวัดต้าเวียง อาเภอลอง (ภาพท่ี 113)
พระพุทธรูปสาริดในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน (ตัวอย่างท่ี 3 และ 4) (ภาพท่ี 84 และ 85)
พระพุทธรูปสาริดท่ีวัดแสงดาว อาเภอภูเพียง (ภาพที่ 92) เป็นต้น รวมถึงแบบที่ได้รับอิทธิพลจาก
ศิลปะล้านนาระยะหลังสมัยพญาแก้ว คือ มีการใช้ฐานบัวที่มีขาต้ัง ฐานบัวงอน และการเจาะช่อง
กระจกลายเมฆ ตัวอย่างเช่น พระพุทธรูปสาริดท่ีวัดผามอก ตาบลต้าผามอก อาเภอลอง จังหวัดแพร่
(ภาพที่ 115) พระพุทธรูปสาริดที่วัดนาซาว อาเภอเมืองน่าน (ภาพท่ี 91) พระพุทธรูปสาริดที่วัดเชียงแล
(ตัวอย่างที่ 2) (ภาพที่ 95) และพระพุทธรูปสาริดที่พิพิธภณั ฑ์วัดพระเกิด (ภาพที่ 87) เป็นต้น และยัง
มีรปู แบบที่ไดร้ ับอิทธิพลศิลปะล้านนาระยะหลังทมี่ ีอิทธิพลสกลุ ช่างเชียงราย-เชียงแสน-เชยี งของ เช่น
พระพุทธรูปสาริดทวี่ ัดเชยี งแล ตาบลรมิ อาเภอทา่ วังผา จังหวดั น่าน (ตวั อยา่ งท่ี 1) (ภาพท่ี 94) เป็น
ต้น แต่องค์ประกอบต่าง ๆ ในพระพุทธรูปกลุ่มน้ี ล้วนปรากฏเป็นงานช่างพื้นบ้านไปจนหมดส้ิน โดย
สามารถเปรยี บเทยี บรปู แบบไดด้ งั ตารางท่ี 20 21 22 และ 23 ตามลาดับ

ตารางท่ี 20 เปรยี บเทียบพุทธลักษณะของพระพทุ ธรูปสารดิ กลุ่ม “พระเจา้ แสนสขุ ” กับกลมุ่ งานช่างพ้นื บ้าน

“พระเจา้ แสนสขุ ” วัดพงษ์สุนนั ท์ พระพุทธรูปสารดิ ทพี่ ิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ น่าน

ตารางที่ 21 เปรยี บเทียบพุทธลักษณะของพระพทุ ธรูปท่ีใชฐ้ านบัวท่มี ขี าตั้งแบบล้านนา กบั กลุ่มงานชา่ งพ้ืนบ้าน

97

พระพุทธรปู สาริดท่วี ัดศรมี งคล (กง๋ ) พระพทุ ธรูปสารดิ ที่วัดเชียงแล

ตารางท่ี 22 เปรยี บเทยี บพุทธลักษณะของพระพทุ ธรูปกลุม่ ท่ีใช้ฐานบัวงอน กบั กลุ่มงานช่างพน้ื บา้ น

พระพทุ ธรูปที่พิพธิ ภณั ฑ์วัดศรีดอนคา พระพทุ ธรูปสาริดท่วี ัดป่าเหมือด

98

ตารางที่ 23 เปรยี บเทียบพทุ ธลักษณะของพระพทุ ธรูปท่ไี ด้รับอทิ ธพิ ลจากสกลุ ชา่ งเชยี งราย กับกลมุ่ งานช่างพืน้ บา้ น

พระพุทธรปู ทีพ่ ิพิธภัณฑว์ ัดศรีดอนคา พระพุทธรูปสารดิ ทีว่ ัดเชียงแล

เนือ่ งจากพระพุทธรูปสาริดกลุ่มน้ีทัง้ หมดไม่มกี ารระบศุ ักราชท่ีสรา้ ง ดังน้ันการกาหนดอายุจึง
ต้องอาศัยการพิจารณาจากรูปแบบเป็นหลัก ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า กลุ่มพระพุทธรูปท่ีมีลักษณะเป็น
งานชา่ งพ้นื บ้านอย่างชัดเจนนี้ นา่ จะอยใู่ นช่วงกลาง จนถงึ ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 21 เนอื่ งจากมี
แบบแผนบางประการที่กลายออกจากงานศิลปะล้านนาระยะหลังที่เป็นต้นแบบแลว้ เช่น การใชฐ้ านท่ี
ตกแต่งด้วยกากบาทใน “พระเจ้าล้านทอง” วัดต้าเวียง การทาช่องกระจกลายเมฆในพระพุทธรูป
สาริดที่วัดผามอก ซึ่งลายเมฆน้ันแสดงให้เห็นถึงความเป็นงานช่างพ้ืนบ้านแล้ว รวมถึงพุทธลักษณะ
ของพระพุทธรูปกลุ่มน้ี เช่น พระพักตร์ พระเนตร พระนาสิก พระโอษฐ์ มีความไม่ประณีต แสดงให้
เห็นถึงความเป็นงานช่างพื้นบ้านอย่างแท้จริง นอกจากน้ี ในบางตัวอย่าง เช่น พระพุทธรูปสาริดท่ี
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน (ตัวอย่างที่ 2 3 และ 4) หรือพระพุทธรูปสาริดท่ีวัดพระเนตร อาเภอ
เวียงสา (ตัวอย่างท่ี 2) มีการนาแบบแผนของพระพุทธรูปแบบลา้ นนาระยะแรกมาประกอบ เช่น การ
ใช้พระรัศมีเป็นดอกบัวตมู ทาชายสังฆาฏิสั้นเหนือพระถัน ส่วนองค์ประกอบอื่น เช่น พระพักตร์ พระ
วรกาย การประทับนั่งขัดสมาธิราบ ยังคงเป็นไปตามแบบแผนของศิลปะล้านนาระยะหลัง อาจถือได้
ว่าเปน็ ลกั ษณะของงานชา่ งพื้นบ้านอกี ประการหน่ึง

พระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลงั ถือเป็นรูปแบบท่ีค่อนข้างแพร่หลายเป็นอย่างมากในพ้ืนที่
เมอื งน่าน-เมืองแพร่ และมีการสร้างสืบตอ่ ลงมาอยา่ งต่อเนื่อง โดยความนิยมในพระพทุ ธรูปสาริดแบบ

99

ล้านนาระยะหลงั นี้คงหมดไปเม่ือล้านนาเข้าสกู่ ลยี ุค ตกเป็นเมืองขึน้ ของพมา่ และเกิดสงครามข้นึ อย่าง
ตอ่ เนอื่ ง โดยผคู้ นไดห้ ันไปใชไ้ ม้ ซง่ึ เป็นวัสดทุ หี่ างา่ ยกว่าในการสรา้ งพระพุทธรปู แทน

100

บทที่ 4
พระพทุ ธรูปสกุลช่างน่าน-แพร่ กับความสัมพันธ์ทางด้านประวตั ิศาสตร์

จังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน เป็นกลุ่มจังหวัดที่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือฝั่งตะวันออกของ
ประเทศไทย บนพื้นท่ีลุ่มแม่น้ายม และลุ่มแม่น้าน่าน สภาพภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นภูเขาสูง
สลับซับซ้อน มีท่ีราบแคบ ๆ ต้ังอยู่ในหุบเขา ด้วยสภาพภูมิประเทศดังน้ี ทาให้บริเวณจงั หวัดแพร่และ
จังหวัดน่านมีความอุดมสมบูรณ์น้อย เม่ือเทียบกับเชียงใหม่ หรือเชียงแสน ซ่ึงต้ังอยู่บนท่ีราบผืนใหญ่
อย่างไรก็ตาม พื้นที่จังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน ก็ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีว่ามีมนุษย์เข้ามาต้ัง
ถ่ินฐานอยู่เป็นเวลานาน และยังปรากฏว่ามีประวัติศาสตร์เป็นของตนเอง โดยท่ีพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตรม์ คี วามแตกตา่ งจากหัวเมืองอื่น ๆ ในลา้ นนา เชน่ เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน หรือลาปาง
อีกทั้งยังปรากฏว่าเมืองท้ัง 2 น้ี มีบทบาทสาคัญมาตลอด นับต้ังแต่ยุคท่ีอาณาจักรสุโขทัยเรืองอานาจ
จนกระทั่งถูกผนวกเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรล้านนา ตราบจนสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เมืองแพร่ และ
เมืองน่าน กย็ ังปรากฏบทบาททส่ี าคญั มาตลอด

นอกเหนือจากเอกสารพงศาวดาร ตานานพ้ืนเมือง รวมถึงตาราประวัติศาสตรท์ ี่หน่วยงานตา่ ง ๆ ได้
รวบรวมไว้แล้ว หลักฐานทางด้านงานศิลปกรรม ก็ถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีช่วยบ่งบอก
สภาพของเมืองแพร่และเมืองนา่ นในชว่ งเวลานนั้ ๆ ได้ ซ่งึ จากการศึกษางานศิลปกรรมพระพุทธรูปใน
สกลุ ช่างนา่ น-แพร่ ผ้วู จิ ัยสามารถนาผลการศึกษาเพื่อเช่ีอมโยงกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ รวมถงึ
หลักฐานงานศิลปกรรมอ่ืน ๆ ทปี่ รากฏในพ้ืนที่เมืองแพร่-เมืองน่าน ได้ โดยจากผลการศึกษา สามารถ
แบ่งกลมุ่ พระพทุ ธรปู สกุลช่างนา่ น-แพร่ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ดงั นี้

1. กลมุ่ พระพทุ ธรูปศิลปะสุโขทัย (ราวกลางพทุ ธศตวรรษท่ี 19 ถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี 20)
2. กลุ่มพระพุทธรูปที่สืบเน่ืองจากศิลปะสุโขทัย (ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธ

ศตวรรษที่ 22)
3. กลุ่มพระพุทธรปู สกุลช่างเมืองแพร่ (ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22)
4. กลุ่มพระพุทธรูปท่ีได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนาระยะแรก (ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21

ถึงต้นพทุ ธศตวรรษที่ 22)
5. กลุ่มพระพุทธรูปที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนาระยะหลัง (ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21

ถงึ ตน้ พุทธศตวรรษท่ี 22)
ทั้งนี้ จากตานานที่เกี่ยวข้องกับเมืองน่าน-เมืองแพร่-เมืองลอง ซ่ึงปรากฏในเอกสารต่าง ๆ
เช่น ประวัติศาสตร์เมืองแพร่ (ฉบับ พ.ศ. 2550) ประวัติศาสตร์เมืองลอง หัวเมืองบริวารในล้านนา
ประเทศ พงศาวดารเมืองน่าน พื้นเมืองน่าน (ฉบับวัดพระเกิด) รวมท้ังเอกสารเร่ือง เมืองน่าน

101

โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ เป็นต้น สามารถสรุปได้ว่า แท้ท่ีจริงแล้ว พื้นท่ีเมืองน่าน-เมือง
แพร่-เมืองลอง มีประวัติศาสตร์ท่ียาวนานมานับต้ังแต่พุทธศตวรรษท่ี 18 แต่ในปัจจุบันไม่ปรากฏ
หลักฐานงานศิลปกรรมท่ีเก่าแก่ถึงช่วงเวลานั้น การวิเคราะห์ในส่วนนี้ จึงจะเน้นในช่วงเวลาที่พบงาน
ศลิ ปกรรมประเภทพระพทุ ธรปู สารดิ เปน็ หลกั

1. พระพุทธรปู สารดิ สกุลชา่ งนา่ น-แพร่ ในชว่ งท่ีอาณาจักรสุโขทัยเจรญิ รุ่งเรือง

1.1 กลุ่มพระพทุ ธรปู ศลิ ปะสโุ ขทัย (ราวกลางพทุ ธศตวรรษที่ 19 ถงึ ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 20)
พระพุทธรูปท่ีสร้างข้ึนในช่วงกลางพุทธศตวรรษท่ี 19 ถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี 20 นั้น แสดงให้เหน็
ถึงความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัย กับพื้นที่เมืองน่าน-เมืองแพร่-เมืองลอง เน่ืองจากได้มีการ
รับเอารปู แบบของพระพุทธรูปหมวดใหญเ่ ข้ามา ได้แก่ พระพทุ ธรปู แบบประทบั นั่งขัดสมาธิราบ แสดง
ปางมารวิชัย และพระพุทธรูปลีลา ซึ่งพระพุทธรูปท้ัง 2 รูปแบบน้ี แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของ
พระพุทธรูปหมวดใหญ่เปน็ อย่างมาก กล่าวคือ มีพระพักตร์เป็นรูปไข่ พระรัศมีเป็นเปลว พระขนงโกง่
พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์หยักเป็นคล่ืน พระอุระใหญ่ บั้นพระองค์เล็ก ทรงครองจีวรห่มเฉียง
ชายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภีปลายแยกออกเป็นเข้ียวตะขาบ หากเป็นพระพุทธรูปน่ัง จะประทับ
ขัดสมาธิราบ แสดงปางมารวิชัย นิ้วพระหัตถ์เป็นอย่างธรรมชาติ ส่วนถ้าเป็นพระพุทธรูปลีลา จะมี
สนุ ทรียภาพที่เทยี บได้กบั พระพุทธรูปลลี าในหมวดใหญ่ คอื กา้ วพระบาทข้างหนึง่ ขึน้ มาขา้ งหนา้ พระบาทอีก
ข้างหน่ึงอยู่ข้างหลังในลักษณะเขย่ง ส่งผลให้พระวรกายเกิดเส้นที่อ่อนช้อย แต่มีข้อแตกต่างคือ ส่วน
ชายสบง ซ่ึงในพระพุทธรูปหมวดใหญ่ เช่น ตัวอย่างพระพุทธรปู ลีลาที่วัดเบญจมบพิตร จะทาเป็นเส้น
โคง้ พร้วิ ไหวไปตามพระวรกาย แต่สาหรบั พระพุทธรูปลีลาในสกุลช่างน่าน-แพร่ จะทาเป็นเสน้ ตัดตรง
ถือเป็นววิ ัฒนาการจากพระพทุ ธรูปหมวดใหญ่อย่างหนึง่
ความใกล้ชิดทางรูปแบบระหว่างพระพุทธรูปสาริดกลุ่มนี้ กับพระพุทธรูปหมวดใหญ่ มีความ
สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู ทางประวัตศิ าสตร์ทรี่ ะบวุ า่ พืน้ ที่เมอื งนา่ น-เมืองแพร่ มคี วามสัมพนั ธก์ ับอาณาจักร
สุโขทัยต้ังแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 19 สาหรับเมืองน่าน ความสัมพันธ์นี้ได้ปรากฏข้ึนอย่างชัดเจนต้ังแต่
สมัยที่พญากรานเมืองเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน (พ.ศ. 1896-1906) เป็นต้นมา โดยปรากฏว่าพญากรานเมือง
ได้ร่วมกับพญา “โสปัตตคันธิราช” เจ้าเมืองสุโขทัย สร้างวัดหลวงอภยั และได้รับพระธาตุเป็นสิ่งตอบ
แทน (สรัสวดี อ๋องสกลุ , 2561b, p. 33) ซง่ึ ต่อมาพญากรานเมอื งได้นาพระธาตดุ ังกลา่ วมาประดิษฐาน
ไว้ท่ีดอยภูเพียง พร้อมทั้งสร้าง “เวียงภูเพียงแช่แห้ง” เป็นศูนย์กลางใหม่แทนเมืองวรนคร (เมืองปัว)
และยังปรากฏความสัมพันธ์ในยุคต่อ ๆ มา เช่น พญาผากอง (พ.ศ. 1906-1931) ทรงทาสัตย์สาบาน
กับพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) เรื่องการเป็นพันธมิตร ไม่รุกรานซ่ึงกันและกัน ปรากฏหลักฐานคือ
จารึกคาปู่สบถ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2555a) นอกจากน้ี เม่ือเกิดภัยขึ้นใน

102

เมืองน่าน เจ้าผู้ครองน่านก็มักจะพึ่งพญาสุโขทัยเสมอ ตัวอย่างเช่นในสมัยเจ้าศรีจันต๊ะ (พ.ศ. 1941-
1942) เจ้าผู้ครองนครแพร่ได้ยกทัพมาชิงเมืองน่าน จับเจ้าศรีจันต๊ะฆ่าเสีย เจ้าอุ่นเมืองผู้น้องได้หนีไป
พ่ึงพญาเชลียง (ศรีสัชนาลัย) ก่อนจะร่วมมือกับพญาเชลียง นาทัพขึ้นมายึดเมืองน่านคีนได้ หรือใน
สมัยของพญาอินต๊ะแก่นท้าว (พ.ศ. 1976-1992) เมื่อคร้ังครองเมืองครั้งแรก ถูกเจ้าแปงผู้น้องเป็น
ขบถชิงเมือง ตัวพญาอินต๊ะแก่นท้าวหนีไปพึ่งพญาเชลยี ง และร่วมมือกันนาทัพมาชิงเมืองคืน (สรสั วดี
อ๋องสกุล, 2561b, pp. 36-37) จนกระทั่งเม่ือพระเจ้าติโลกราชนากองทัพล้านนาเข้าโจมตีเมืองน่าน
จนแตกในปี พ.ศ. 1992 พญาอินต๊ะแก่นท้าวก็นาครอบครัวหนีไปพึ่งพญาเชลียง และมิได้กลับคืนมา
เมืองนา่ นอกี ("ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 10," 2507, pp. 421-422) จากเหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์
ดังน้ี แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับเมืองน่านท่ีแน่นแฟ้นมานับต้ังแต่พุทธ
ศตวรรษท่ี 19 จนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 20 โดยความสัมพันธ์น้ีนอกจากจะปรากฏในพระพุทธรูป
สาริดแล้ว ยังปรากฏในงานสถาปัตยกรรม เช่น เจดีย์ประธานท่ีวัดพระธาตุช้างค้า ซ่ึงแม้รายละเอียด
บางส่วนจะได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนาแล้ว แต่ยังปรากฏการใช้ “บัวถลา” เป็นส่วนรองรับองค์
ระฆัง และยังปรากฏการใช้ฐานแบบช้างล้อม ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีได้รับมาจากสุโขทัย หรือที่วัดสวนตาล
ซ่งึ ปรากฏเจดียท์ รงพุม่ ขา้ วบิณฑ์เป็นเจดียป์ ระธาน (องคเ์ ดมิ ) กอ่ นทจ่ี ะถกู ครอบไปในสมัยของพระเจ้า
สรุ ยิ พงษผ์ รติ เดชฯ ในปี พ.ศ. 2457 (สรุ ศักด์ิ ศรสี าอางค์, 2530, p. 93)

ส่วนที่เมืองแพร่-เมืองลอง ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์
กับอาณาจกั รสุโขทัยน้อย โดยปรากฏในศลิ าจารกึ สุโขทัยหลักท่ี 1 (จารึกพ่อขนุ รามคาแหง) วา่ “เบอ้ื ง
ตีนนอน รอดเมืองแพล เมืองมาน เมืองน.... เมืองพลัว พ้นฝ่ังของเมืองชวาเป็นท่ีแล้ว ” (ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน), 2555b) และในจารกึ สุโขทัยหลักที่ 9 (จารกึ วดั ปา่ แดง) กล่าว
ว่าในรัชกาลของพญาลิไทนั้น “ศักราชได้ 721 (พ.ศ. 1902) ..... มหาธรรมราชาผู้ปู่เอาพลไปในเมือง
แพล อยู่ได้เจ็ดเดือน.....” (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2555c) จากเนื้อหาท่ีปรากฏ
ในจารึกน้ี ย่อมแสดงว่าเมืองแพร่เป็นเมืองหน่ึงท่ีอยู่ในอานาจของอาณาจักรสุโขทัย ส่วนเมืองลอง
ช่วงเวลานี้ไมป่ รากฏวา่ อยภู่ ายใต้อานาจของฝ่ายใด โดยภเู ดช แสนสา กล่าวว่าเมืองลองมีลกั ษณะเป็น
รัฐกันชน เนี่องจากในขณะนั้นอาณาจักรสุโขทัยมีอานาจเหนอื เมืองแพร่-เมืองมาน ไปจนถึงเมืองน่าน
สว่ นอาณาจักรล้านนา ขณะน้ันอย่ใู นรชั กาลของพญามังราย ซึ่งมีอานาจเหนือนครหริภญุ ไชย (ลาพูน)
และเขลางค์นคร (ลาปาง) แต่ถึงแม้ว่าเมืองแพร่จะอยู่ภายใต้อานาจของอาณาจักรสุโขทัยโดยตรง
กลับไม่พบหลักฐานงานศิลปกรรมแบบสุโขทัยปรากฏอยู่มากนัก โดยเฉพาะพระพุทธรูปสาริดน้ันไม่
ปรากฏในเมอื งแพรเ่ ลย แต่สาหรับเมืองลองที่ไมป่ รากฏวา่ อย่ภู ายใต้อานาจของอาณาจกั รสโุ ขทยั กลบั
พบตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดท่ีได้รับอิทธิพลจากหมวดใหญ่ถึง 2 องค์ ท่ีวัดศรีดอนคา ดังนั้นจึงน่าจะ
สนั นษิ ฐานจากการค้นพบตวั อย่างพระพุทธรูปสาริดน้ไี ด้วา่ อิทธิพลศิลปะสโุ ขทยั นา่ จะปรากฏบนพื้นที่

103

เมืองลองมากพอสมควร และจากสภาพภูมิประเทศของเมืองลอง ทอี่ ย่ตู ดิ กับศรีสัชนาลัยมากกวา่ เมือง
แพร่ ทาให้การรบั อิทธิพลทางศลิ ปะสโุ ขทัยนา่ จะทาไดง้ ่ายกว่า

พระพทุ ธรูปแบบสโุ ขทยั หมวดใหญ่ ถือเปน็ รปู แบบที่ส่งแรงบันดาลใจให้กับพระพุทธรูปสาริด
สกุลช่างน่าน-แพร่ อย่างแท้จริง ดังจะเห็นได้จากการท่ีแม้อาณาจักรสุโขทัยจะสลายตัว ตกเป็นส่วน
หนงึ่ ของอยธุ ยา และเมืองนา่ น-เมืองแพร่-เมอื งลอง จะถกู ผนวกเขา้ เป็นสว่ นหน่ึงของอาณาจักรล้านนา
แล้ว แต่ความนิยมในการสร้างพระพุทธรูปแบบสุโขทัยก็ยังปรากฏสืบเนื่องต่อมา และปรากฏ
วิวัฒนาการออกมาอย่างหลากหลาย ท้ังในกลุ่มพระพุทธรูปแบบสุโขทัยในเมืองน่านช่วงพุทธศตวรรษ
ที่ 21 ที่มีลักษณะเฉพาะท้องถ่ินย่ิงข้ึน และในพระพุทธรูปสาริดสกุลช่างเมืองแพร่ ซึ่งได้นาอิทธิพล
ศลิ ปะสโุ ขทยั มาดดั แปลง จนกระท่งั กลายเป็นลกั ษณะเฉพาะตวั ในเวลาต่อมา

2. พระพุทธรปู สารดิ สกลุ ชา่ งนา่ น แพร่ ในช่วงท่ีอาณาจกั รล้านนาเจรญิ รงุ่ เรือง
2.1 กลุ่มพระพุทธรูปท่ีสืบเนือ่ งจากศิลปะสุโขทัย (ราวต้นพุทธศตวรรษท่ี 21 ถงึ ต้นพุทธ

ศตวรรษที่ 22)
พระพุทธรูปกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มท่ีวิวัฒนาการสืบต่อมาจากกลุ่มศิลปะสุโขทัย และถือเป็น

พระพุทธรูปกลุ่มหนึ่งที่มีวิวัฒนาการแบบแยกสาย โดยกลุ่มน้ีจะปรากฏเฉพาะในพ้ืนท่ีเมืองน่าน
ไม่พบว่ามีการสร้างในพ้ืนท่ีอื่น ๆ ตัวอย่างของพระพุทธรูปกลุ่มนี้ที่ได้ทาการศึกษา ได้แก่ พระพุทธรูป
สารดิ ทีว่ ดั พระธาตุชา้ งค้า วดั ปรางค์ วัดป่าแลวหลวง วดั กอก วัดสถาน วัดนาปงั เป็นตน้

พุทธลักษณะโดยทั่วไปของพระพุทธรูปกลุ่มนี้ ยังคงถือได้ว่ามีพ้ืนฐานมาจากอิทธิพลศิลปะ
สุโขทัย แต่มีรายละเอียดบางประการท่ีคลี่คลายจนกระท่ังแตกต่างจากพระพุทธรูปหมวดใหญ่ เช่น
การเปลี่ยนจากฐานหนา้ กระดานเกลี้ยง เป็นฐานหน้ากระดานท่ีเว้าตรงกลาง หรือในบางตวั อย่างที่แม้
รปู แบบโดยรวมจะยงั คงอทิ ธิพลศลิ ปะสุโขทัยอยู่ แต่ลกั ษณะของพระพักตร์ พระรัศมี พระวรกาย และ
องค์ประกอบอื่น ๆ กลายเป็นงานช่างพ้ืนบ้านไปจนหมดสิ้น โดยเม่ือเทียบกับประวัติศาสตร์ของเมือง
น่าน-เมืองแพร่ ในช่วงเวลาน้ี เป็นช่วงที่ความสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัยได้หมดลง โดยสุโขทัยถูก
ผนวกเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรอยุธยา ส่วนเมืองน่าน-เมืองแพร่ ได้ถูกผนวกเข้ากับอาณาจักร
ลา้ นนาในสมัยที่เจ้าอนิ ตะ๊ แกน่ ทา้ วเปน็ เจ้าเมืองน่าน (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 53) และท้าวแมน่
คุณเป็นเจ้าเมืองแพร่ (องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่, 2550, p. 58) ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ พระ
เจา้ ตโิ ลกราชแหง่ อาณาจกั รล้านนา

104

แม้ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรสุโขทัย กับเมืองน่านจะส้ินสุดลง แต่การปรากฏรูปแบบ
พระพุทธรูปสาริดท่ีสืบต่อจากศิลปะสุโขทัย ย่อมแสดงให้เห็นว่าความนิยมในอิทธิพลศิลปะสุโขทัยก็
ไม่ได้สญู หายไป แต่ยงั คงมกี ารสบื ทอดตอ่ มาในพน้ื ท่เี มืองนา่ น

เมืองเมืองน่านถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรล้านนา ปรากฏเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์ว่า พระเจ้าติโลกราช ได้ให้สร้างพระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าทองทิพย์” ที่วัดสวนตาล
นา่ น เพอ่ื แสดงถงึ ชยั ชนะท่พี ระองค์สามารถยึดเมืองนา่ นได้ (กรมศลิ ปากร, 2530, p. 15) พระพุทธรปู
องค์นี้ถือเป็นการผสมระหว่างอิทธิพลศิลปะล้านนาระยะแรกท่ีเข้ามาพร้อมกับการผนวกรวมกับ
อาณาจักรล้านนา คือ การทาพระวรกายอวบอ้วนแบบพระพุทธรูปล้านนาระยะแรก กบั อทิ ธิพลศิลปะ
สุโขทัย คือ การทาพระรัศมีเป็นรูปเปลวไฟ ประทับนั่งขัดสมาธิราบ และการทาชายสังฆาฏิยาวจรด
พระนาภี ปลายแยกออกเป็นเขี้ยวตะขาบ การปรากฏอิทธิพลศลิ ปะสุโขทัยบนพระเจา้ ทองทิพย์ ทพี่ ระ
เจ้าติโลกราชได้ให้สร้างข้ึนน้ี ย่อมแสดงให้เห็นถึงความนิยมในอิทธิพลศิลปะสุโขทัยในพระพุทธรูป
สาริดสกลุ ชา่ งเมอื งน่านได้เป็นอย่างดี

2.2 กลุม่ พระพทุ ธรูปสกลุ ช่างเมอื งแพร่ (ราวตน้ พทุ ธศตวรรษที่ 21 ถงึ ตน้ พุทธศตวรรษที่ 22)
พระพุทธรูปกลุ่มน้ี เป็นอีกกลุ่มวิวัฒนาการหนึ่งท่ีสืบเนื่องต่อจากอิทธิพลศิลปะสุโขทัย และ
ถือเป็นกลุ่มท่ีมีลักษณะเฉพาะตัวอย่างแท้จริง โดยพระพุทธรูปกลุ่มน้ีจะพบในพื้นที่จังหวัดแพร่ หรือ
เมืองแพร่-เมอื งลอง เป็นส่วนใหญ่
พระพุทธรูปสกุลช่างเมืองแพร่ ตัวอย่างท่ีพบทั้งหมดล้วนเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งปางมาร
วิชัยทั้งส้ิน ไม่พบการสร้างในปางอื่น พุทธลักษณะโดยทั่วไปมีความใกล้เคียงกัน ซ่ึงสามารถจาแนก
วิวฒั นาการได้จากรูปพระพักตร์ (ดใู นบทที่ 3 หนา้ 64) ดว้ ยความทพี่ ระพุทธรูปกลุ่มนี้ปรากฏตวั อย่าง
เป็นจานวนมาก และมีวิวัฒนาการในรูปแบบ ย่อมแสดงให้เห็นว่า พระพุทธรูปกลุ่มน้ีคงเป็นกลุ่มที่มี
ความนิยมสร้างในพื้นท่ีเมืองแพร่-เมืองลอง เป็นอย่างมาก ซึ่งในช่วงระยะเวลาเดียวกันนี้ เป็นช่วงที่
อาณาจักรล้านนามีความเจริญรุ่งเรอื ง ปรากฏงานศิลปกรรมประเภทพระพุทธรูปเป็นจานวนมาก จน
เรียกว่าเป็น “ยุคทองของล้านนา” โดยท่ีหัวเมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรล้านนา ก็ปรากฏการสร้าง
พระพุทธรูปท่ีมีรูปแบบเฉพาะสกุลช่างของตนเองแตกต่างกันในแต่ละเมือง เช่น เมืองเชียงราย เมือง
ลาปาง เมอื งพะเยา เมอื งน่าน เป็นตน้ พระพทุ ธรปู สกุลช่างเมอื งแพร่ จงึ ถอื ได้ว่าเปน็ หน่งึ ในสกุลช่างท่ี
ปรากฏข้ึนในยุคทองของอาณาจักรล้านนาด้วย และเป็นสกุลช่างประจาเมืองแพร่-เมืองลอง อย่าง
แทจ้ ริง

105

นอกจากในพื้นท่ีเมืองแพร่-เมืองลองแล้ว พระพุทธรูปสาริดกลุ่มน้ี ยังปรากฏตัวอย่างอีก
จานวนหนึ่งในพื้นท่ีอ่ืน เช่น ที่วัดพระเนตร อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน วัดนาปรัง วัดดู่ อาเภอปง
จังหวัดพะเยา วัดป่าซาง อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย และที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย
จังหวัดลาพูน (สุรศักด์ิ ศรีสาอางค์, 2546, pp. 138-143) การปรากฏตัวอย่างพระพุทธรูปกลุ่มน้ีใน
พื้นที่อื่นนอกเหนือจากเมืองแพร่-เมืองลอง ย่อมแสดงให้เห็นว่า เมืองแพร่-เมืองลอง มีการติดต่อกับ
เมืองอื่น ๆ ในยุคทองของอาณาจักรล้านนา โดยหากเทียบกับประวัติศาสตร์เมืองแพร่-เมืองลอง
ในช่วงที่ถูกผนวกเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรล้านนาแล้ว พบว่าเจ้าเมืองแพร่ในช่วงเวลานี้ เป็นเจ้า
เมืองท่ีได้รับการแต่งตั้งจากอาณาจักรล้านนา ซึ่งมักจะมีการหมุนเวียนไปครองหัวเมืองอ่ืน ๆ ใน
อาณาจักรล้านนา เช่น พญาสร้อยสุริยะ (พ.ศ. 2051-2053) ท่ีได้ครองเมืองแพร่ในช่วงระยะเวลา
ดังกลา่ ว กอ่ นจะยา้ ยไปครองเมืองน่าน (องค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร่, 2550, p. 412) หรือเจา้ เมือง
แพร่คายอดฟ้า (พ.ศ. 2057-2060) ที่ครองเมอื งแพร่อยู่ในช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนจะย้ายไปครองเมืองน่าน
และเมืองพะเยาตามลาดับ (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 54; องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่,
2550, p. 412) และเมื่อเทียบกับประวัติศาสตร์เมืองน่าน พบว่าเมืองน่านเองก็มีระบบการหมุนเวียน
เจ้าเมอื งเช่นกัน ตวั อย่างเช่น หมื่นสร้อยเชียงของ (พ.ศ. 2005-2009) ทค่ี รองเมืองน่าน ก่อนจะย้ายไป
เป็นเจ้าเมืองฝาง (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 54) หรือท้าวข่ากาน (พ.ศ. 2019-2023) ท่ีย้ายจาก
เมืองฝางมาครองเมืองน่าน ก่อนจะย้ายไปครองเมืองเชียงแสน (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 54)
เป็นต้น ส่วนเมืองลอง แม้ไม่มีประวัติท่ีชดั เจนนักวา่ เจ้าเมืองแต่ละตนได้ย้ายไปครองเมอื งใดบ้าง แต่ก็
คงจะมีระบบการหมุนเวียนเจ้าเมืองเช่นเดียวกับเมืองแพร่ เมืองน่าน การท่ีเจ้าเมืองแต่ละเมืองต่าง
ผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันไปครองเมืองต่าง ๆ เช่นน้ี คงจะเป็นเหตุให้รูปแบบศิลปกรรมของสกุลช่าง
เมืองแพร่เกิดการกระจายไปยังเมืองอ่ืน ๆ ด้วย โดยอาจเป็นการเคลอ่ื นย้ายพระพุทธรปู สกุลช่างเมอื ง
แพรไ่ ปด้วย หรืออาจมีการจดจารูปแบบ และให้หลอ่ ข้ึนในเมอื งปลายทางกไ็ ด้

2.3 กลุ่มพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบล้านนา (ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธ
ศตวรรษที่ 22)

ภายหลังจากที่เมืองน่าน-เมืองแพร่ ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรล้านนาแล้ว
อิทธิพลของศลิ ปะล้านนาไดเ้ ข้ามามีบทบาทบนพ้ืนที่นี้เป็นอย่างมากท้งั ในด้านของประติมากรรม และ
สถาปัตยกรรม โดยเฉพาะในเมอื งน่าน

งานศิลปกรรมอย่างหนงึ่ ท่ีถือเป็นเอกลกั ษณ์ของศิลปะล้านนา คือ พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร
แบบล้านนา หรอื “พระสิงห์” ซง่ึ เปน็ พระพทุ ธรูปประทับนงั่ ขัดสมาธิเพชรแสดงปางมารวชิ ัย โดยจาก

106

การศกึ ษาพระพุทธรูปสาริดสกลุ ช่างน่าน-แพร่ พบการสรา้ งพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะคล้ายคลึงกับ
“พระสิงห์” จานวนหนึ่ง โดยปรากฏความนิยมในพื้นท่ีเมืองน่าน ส่วนในเมืองแพร่-เมืองลอง ปรากฏ
ตัวอยา่ งในจานวนนอ้ ย

ตัวอย่างพระพุทธรูปแบบขัดสมาธิเพชรท่ีมีความใกล้เคียงกับงานศิลปะล้านนาระยะแรกที่
เมืองเชียงใหม่มากท่ีสุด คือ พระพุทธรูปสาริด “พระพุทธสิหิงค์” ท่ีวัดพระธาตุช้างค้า ตาบลในเวียง
อาเภอเมอื งน่าน จงั หวดั นา่ น ซงึ่ มีพทุ ธลกั ษณะทสี่ ามารถเทยี บได้กบั พระพุทธรปู สาริด “พระพุทธสหิ งิ ค์” ที่
วัดพระเจ้าเม็งราย เชียงใหม่ ซึ่งมีจารึกว่าสร้างปี พ.ศ. 2013 ตรงกับรัชกาลของพระเจ้าติโลกราช
แห่งอาณาจักรล้านนา โดยเมื่อเทียบกับประวัติศาสตรข์ องเมอื งน่าน-เมืองแพร่แลว้ พบว่า ท้ัง 2 เมือง
ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรล้านนาเม่ือปี พ.ศ. 1992 ซ่ึงอิทธิพลศิลปะล้านนา คงจะ
เข้ามายังเมืองน่านนับแต่นั้นเป็นต้นมา โดยนอกจากการปรากฏของพระพุทธรูปแบบ “พระพุทธ
สิหิงค์” ท่ีวัดพระธาตุช้างค้าแล้ว ยังปรากฏหลักฐานงานสถาปัตยกรรมท่ีมีอิทธิพลศิลปะล้านนา
ในพื้นที่เมืองน่าน ตัวอย่างเช่น “พระธาตุแช่แห้ง” ท่ีตาบลม่วงตึ๊ด อาเภอภูเพียง ท่ีแม้จะมีประวัติว่า
สร้างในปี พ.ศ. 1899 สมัยพญากรานเมืองเป็นเจ้า (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2561b, p. 33) แต่รูปแบบ
ศิลปกรรมท่ีปรากฏในปัจจุบันน้ันเป็นเจดีย์แบบล้านนา คือ พระเจดีย์ประดิษฐานบนฐานยกสูงในผัง
ยกเก็จ มีส่วนรองรบั องค์ระฆังเปน็ ฐานบวั ควา่ -บัวหงาย ซอ้ นกนั 3 ฐาน องคร์ ะฆงั มีขนาดเล็ก มีรัดอก
ถัดขึ้นไปเป็นบัลลังก์ในผังย่อมุม ปล้องไฉน และปลีตามลาดับ ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีเทียบได้กับพระธาตุ
หริภุญไชย ลาพนู หรอื เจดีย์วัดกติ ติ ในโรงเรยี นอนบุ าลเชยี งใหม่ เปน็ ตน้ โดยเจดยี ์ “พระธาตุแช่แหง้ ”
น้ี ปรากฏหลักฐานในพ้ืนเมืองน่าน ฉบับวัดพระเกิด ว่า ท้าวข่ากาน ให้ก่อเจดีย์ขึ้นในปี พ.ศ. 2019
(สรัสวดี อ๋องสกุล, 2561b, pp. 39-40) ดังน้ัน อิทธิพลศิลปะล้านนาจึงน่าจะเร่ิมเข้าสู่เมืองน่านใน
ระยะน้ี พรอ้ มกับความนิยมในการสรา้ งพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบลา้ นนาดว้ ย

พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบล้านนาในพ้ืนที่เมืองน่าน มีการพัฒนาสืบต่อมาในสมัยหลัง
โดยที่พุทธลักษณะค่อย ๆ กลายจากต้นแบบไปสู่ความเป็นงานช่างพื้นบ้านมากข้ึน ตัวอย่างเช่น กลุ่ม
พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบล้านนาในพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ น่าน และที่วัดภูมินทร์ รวมถึงกลุม่
พระพทุ ธรปู สาริดในท้องทอ่ี าเภอปวั โดยเฉพาะในท้องทอ่ี าเภอปวั ไดพ้ บตวั อยา่ งพระพทุ ธรูปสาริดที่มี
จารึกที่วัดป่าเหมือด ตาบลศิลาแลง อาเภอปัว ว่าสร้างในปี พ.ศ. 2052 ตรงกับสมัยที่หม่ืนสามล้าน
เป็นเจา้ เมืองนา่ น และพญาแกว้ เปน็ กษัตริยล์ ้านนา แสดงให้เหน็ ว่า ความนิยมในการสรา้ งพระพุทธรูป
ขัดสมาธิเพชรแบบล้านนาบนพื้นท่ีเมืองน่านน้ันปรากฏอยา่ งต่อเนื่อง และคงจะหมดไปเมื่ออาณาจักร
ล้านนาลม่ สลาย ตกเป็นเมืองข้นึ ของพม่า

107

ส่วนในพ้ืนที่เมืองแพร่-เมืองลองน้ัน แทบไม่ปรากฏการสร้างพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบ
ล้านนา โดยปรากฏตัวอย่างเพียง 2 องค์ คือ ท่ีวัดพงษ์สุนันท์ อาเภอเมืองแพร่ และท่ีวัดศรีดอนคา
อาเภอลอง ส่วนจากเอกสารเรื่อง ประวัติศาสตร์เมืองแพร่ (ฉบับปี พ.ศ. 2550) ระบุว่ามีพระพุทธรูป
“พระแสนแสว้” แบบล้านนาระยะแรกปรากฏท่ีวัดเดน่ ชัย อาเภอเดน่ ชัย (องค์การบริหารสว่ นจังหวัด
แพร่, 2550, p. 149) แสดงให้เห็นว่าเมืองแพร่-เมืองลอง ไม่นิยมสร้างพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบ
ล้านนาเท่าใดนัก ซ่ึงเมื่อเทียบสัดส่วนกับพระพุทธรปู ขัดสมาธริ าบแบบล้านนาแล้ว พบว่าพระพุทธรปู
กลุ่มนี้ปรากฏตัวอย่างในเมืองแพร่-เมืองลอง มากกว่า ประเด็นนี้สันนิษฐานว่า อิทธิพลศิลปะล้านนา
ในช่วงแรกคงไม่ผ่านเข้ามายังเมืองแพร่-เมืองลอง เท่าใดนัก เนื่องจากภายหลังพระเจ้าติโลกราชทรง
ผนวกเมืองแพร่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนาในปี พ.ศ. 1992 สถานการณ์ของเมืองแพร่ไม่
ราบรื่นเหมือนอย่างเมืองน่าน เน่ืองจากอาณาจักรล้านนา และอาณาจักรอยุธยามักใช้เมืองแพร่เป็น
สมรภูมิรบ เช่น ปลายปี พ.ศ. 2006 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งอาณาจักรอยุธยา ได้นากองทัพ
เข้าล้อมเมืองแพร่ไว้ เวลาน้ัน พระเจ้าติโลกราชทรงนาทัพข้ึนไปทาศึกอยู่ที่สิบสองปันนา และทรง
มอบหมายให้หม่ืนโลกนครรักษาเมือง โดยหม่ืนโลกนครได้เกณฑ์พลจากลาปาง น่าน พะเยา ยกทัพลง
มาป้องกันเมืองแพร่ การศึกคร้ังนี้ อยุธยาเป็นฝ่ายถอยทัพกลับ เน่ืองจากพระเจ้าติโลกราชทรงเสด็จ
กลบั จากสบิ สองปันนา และได้ให้เกณฑ์พลลงมาปอ้ งกนั เมืองแพรเ่ พิ่ม แม้จะป้องกันเมอื งไว้ได้ แตเ่ มือง
แพร่ก็อยู่ในสภาพเสียหาย ชาวเมืองถูกกวาดต้อน และบางส่วนเสียชีวิตในศึกคร้ังน้ี (องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดแพร่, 2550, p. 61) หรือในปี พ.ศ. 2017 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงมอบหมายให้
พญากลาโหม ยกทัพขึ้นมาโจมตีเมืองเชลียง ซ่ึงในขณะนั้นหม่ืนด้งนครแห่งอาณาจักรล้านนานา
กองทัพเข้ายึดไว้ได้ โดยอยุธยาสามารถยึดเมืองเชลียงได้ และยังสามารถยึดเมืองเชียงชื่น (เมืองลอง)
ไว้ในอานาจได้อีกเมืองหนึ่ง แต่ไม่นาน พระเจ้าติโลกราชก็ทรงแต่งทัพหลวงเข้าโจมตีเมืองเชียงช่ืน
และยึดเมืองกลับเข้าไปในพระราชอานาจได้อีก จนในเวลาต่อมา เม่ือพระเจ้าติโลกราชทรงเป็นไมตรี
กับสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแล้ว สถานการณ์ของเมืองแพร่-เมืองลอง จึงสงบสุข (องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดแพร่, 2550, p. 62) จนกระทั่งเมื่อพระเจ้าติโลกราชเสด็จสวรรคต พญาแก้วขึ้นเป็น
กษตั ริย์ลา้ นนา ก็เกดิ สงครามระหว่างอาณาจักรล้านนากับอาณาจักรอยุธยาอีกในช่วงปี พ.ศ. 2050 –
2053 สงครามดังกล่าวส่งผลให้เมืองแพร่ซึ่งเป็นสมรภูมิรบเสียหายหนัก ประชาชนถูกกวาดต้อนเป็น
จานวนมาก และยังส่งผลให้เมืองแพร่กลายสภาพจากเมืองใหญ่กลายเป็นเพียงเมืองเล็ก ๆ ท่ีมี
ประชากรเบาบาง (องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่, 2550, pp. 63-64) ความเสียหายของเมืองแพร่
ในศึกคร้ังต่าง ๆ น้ี จึงน่าจะเป็นปัจจยั หนึ่งที่ทาให้อิทธพิ ลศิลปะล้านนาไม่ค่อยผ่านเข้ามายังเมืองแพร่
มากนัก เมื่อเทียบกับเมืองน่านท่ีปรากฏอิทธิพลศิลปะล้านนาชัดเจนกว่า โดยตัวอย่างพระพุทธรูป

108

ขัดสมาธิเพชรแบบล้านนาท่ีปรากฏในเมืองแพร่-เมืองลอง จานวนหนึ่งนั้น อาจเป็นตัวอย่างท่ีถูก
เคลือ่ นย้ายมาจากทอ่ี ่นื ในช่วงท่ีมเี จา้ ผ้คู รองนครจากเมืองอ่ืนเข้ามาปกครองเมืองแพรก่ ็เป็นได้

2.4 กลุ่มพระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนา (ราวต้นพุทธศตวรรษท่ี 21 ถึงต้นพุทธ
ศตวรรษที่ 22)

นอกเหนือจากกลุ่มพระพุทธรูปสารดิ ท่ีได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนาระยะแรกแล้ว ในพื้นท่ี
เมืองน่าน-เมืองแพร่-เมืองลอง ยังปรากฏตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดที่ได้รับอิทธิพลจากพระพุทธรูป
ขัดสมาธิราบแบบลา้ นนาอีกด้วย

จากการศึกษาเร่ือง “พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเช่ือของคน
ไทย” โดยศักดิ์ชัย สายสิงห์ กล่าวว่า พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนา เป็นกลุ่มที่ได้รับอิทธิพล
จากศิลปะสุโขทัย โดยเร่ิมปรากฏการสร้างนับแต่พุทธศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา (ศักด์ิชัย สายสิงห์,
2556, p. 268) เมื่อเทียบกับประวัติศาสตร์ของเมืองน่าน-เมืองแพร่-เมืองลอง ตรงกับช่วงเวลาที่
อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอานาจ และเมืองเหล่าน้ีถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา ซึ่ง
ในช่วงท่ีเมืองเหล่าน้ีถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนานั้น ย่อมส่งผลให้อิทธิพลศิลปะ
ลา้ นนาแผ่เข้ามายงั พื้นทีน่ ้ีด้วย อย่างไรก็ตาม การเขา้ มาของพระพุทธรปู ขัดสมาธิราบในศิลปะล้านนา
มีความแตกต่างจากพระพุทธรูปขัดสมาธเิ พชรอยูพ่ อสมควร

สาหรับเมืองน่านนั้น จากการสารวจ พบตัวอย่างพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร และพระพุทธรปู
ขัดสมาธิราบในจานวนมากเท่ากัน ทาให้สันนิษฐานได้ว่า อิทธิพลศิลปะล้านนาคงผ่านเข้ามายังเมือง
น่านนับตั้งแต่ พ.ศ. 1992 นับแต่คร้ังพระเจ้าติโลกราชทรงผนวกเมืองน่านเข้าเป็นส่วนหน่ึงของ
อาณาจักรล้านนาเป็นต้นมา โดยปรากฏหลักฐานงานศิลปกรรมคือ พระเจ้าทองทิพย์ ที่วัดสวนตาล
แต่เป็นท่ีน่าเสียดายว่า จากการสารวจ ไม่พบตัวอย่างพระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบล้านนา ที่มี
พุทธลักษณะใกล้เคียงกับต้นแบบในช่วงรชั กาลของพระเจ้าติโลกราช เช่น พระพุทธรูปสาริดที่วัดพระ
เจ้าเหล้อื ม อาเภอหางดง จังหวัดเชยี งใหม่ (ศักด์ชิ ัย สายสงิ ห์, 2556, p. 284) เลย

ตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดท่ีมีความใกล้เคียงกับงานศิลปะท่ีเป็นต้นแบบมากที่สุด ปรากฏ
ตัวอย่างได้แก่ พระพุทธรูปสาริดท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน และพระพุทธรูปสาริดในพิพิธภัณฑ์
วัดศรมี งคล (ก๋ง) ตาบลยม อาเภอทา่ วังผา ซึ่งพุทธลกั ษณะเป็นอย่างศลิ ปะล้านนาระยะหลังสมัยพญา
แก้วแล้ว กล่าวคือ มีการใช้ฐานท่ีเจาะเป็นช่องกระจกลายเมฆ มีขาต้ัง 3 ขา การปรากฏตัวอย่างท่ีมี
พุทธลักษณะใกล้เคียงเช่นนี้ แสดงให้เห็นว่าเมืองน่าน มีการรับเอาอิทธิพลศิลปะล้านนาระยะหลังใน
ยคุ ตอ่ มา หากเทียบกบั เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์แลว้ ภายหลงั จากเมืองน่านถูกผนวกเป็นส่วนหน่ึง
ของอาณาจกั รลา้ นนา ไดม้ ีการปรับเปลีย่ นรปู แบบการปกครอง จากเดิมที่เคยมีเจ้าผูค้ รองนครเป็นเช้ีอ
สายราชวงศ์ภูคา เป็นการให้ข้าราชการจากส่วนกลางมาเป็นเจ้าเมือง โดยข้าราชการเหล่านั้นก็ได้มี

109

การนาอิทธิพลทางศิลปะเข้ามาเผยแพร่ เช่น ท้าวข่ากานนารูปแบบเจดีย์ทรงระฆังแบบล้านนามาใช้
กับพระธาตุแช่แห้ง หรือมิฉะนั้นก็อาจเป็นการรับอิทธิพลทางศิลปะผ่านกิจการทางศาสนา เช่น ใน
รัชกาลของพญาแก้ว มีพระเถระจากเมืองน่านไปร่วมทานุบารุงพระพุทธศาสนาท่ีเมืองลาพูน โดย
สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์ ได้นาเหตุการณ์น้ีมาใช้สันนิษฐานอายุการสร้างของเจดีย์สี่เหล่ียมที่วัดพญาวัด
(สุรศักด์ิ ศรีสาอางค์, 2530, p. 81) ว่าพระเถระเมืองน่านที่ติดต่อการศาสนาคราวนั้นคงเหน็ ว่า เจดีย์
กกู่ ุด ทีว่ ดั จามเทวี ซงึ่ ถอื เปน็ พระมหาธาตุประจานครลาพนู มคี วามสาคญั และมลี กั ษณะเด่นท่นี า่ สนใจ
จึงให้นารูปแบบมาสร้างท่ีเมืองน่าน ดังน้ัน การเข้ามาของอิทธิพลศิลปะล้านนาระยะหลังในสมัยของ
พญาแก้ว ก็อาจเป็นแบบเดียวกันกับการสันนิษฐานเกี่ยวกับเจดีย์วัดพญาวัด ของสุรศักดิ์ ศรีสาอางค์
เช่นกัน

อิทธิพลศิลปะล้านนาระยะหลังในสมัยของพญาแก้ว ถือเป็นรูปแบบที่ปรากฏในพื้นที่เมือง
น่านมากท่ีสุด ตัวอย่างท่ีปรากฏได้แก่ พระพุทธรูป “พระเจ้าล้านทอง” ท่ีวัดพระธาตุแช่แห้ง ซ่ึงมี
จารึกว่าสร้างปี พ.ศ. 2065 ตรงกับสมัยที่พระยาคายอดฟ้าเป็นเจ้าเมืองน่าน กลุ่มพระพุทธรูปสาริดท่ี
วัดป่าเหมือด ตาบลศิลาแลง อาเภอปัว หรือกลุ่มพระพุทธรูปสาริดที่วัดเชียงแล ตาบลริม อาเภอท่าวังผา
พระพุทธรูปเหล่านี้แม้ว่าจะมีรูปแบบที่เป็นงานช่างพื้นบ้านแล้ว แต่ก็ยังปรากฏพุทธลักษณะท่ีแสดง
ให้เห็นถึงอิทธิพลศิลปะล้านนาสมัยพญาแก้ว เช่น การใช้ฐานที่มีขาต้ัง 3 ขา หรือการใช้ฐานบัวงอน
เปน็ ต้น แสดงให้เห็นว่าความนิยมในการสร้างพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลังในพ้ืนที่เมืองน่านคงมี
การสืบเนอื่ งตอ่ กันลงมา

ประเด็นที่น่าสนใจอย่างหน่ึงเกี่ยวกับพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลงั ในพื้นท่ีเมืองน่าน คือ
การปรากฏตัวอย่างพระพุทธรูปกลุ่มท่ีมีพุทธลักษณะใกล้เคียงกับพระพุทธรูปในสกุลช่างเชียงราย -
เชียงแสน-เชียงของ ตวั อยา่ งได้แก่ พระพุทธรปู สารดิ ทีว่ ดั ภูมนิ ทร์ ตาบในเวียง อาเภอเมอื งน่าน “พระ
เจา้ ตอง” ท่วี ดั ทุ่งชัย อาเภอปวั รวมถงึ พระพุทธรูปแบบงานชา่ งพนื้ บา้ นทวี่ ดั เชียงแล ตาบลรมิ อาเภอ
ท่าวังผา การปรากฏของพระพุทธรูปสาริดสกุลช่างเชียงราย-เชียงแสน-เชียงของ นี้ ย่อมแสดงให้เห็น
ว่า ในช่วงเวลาที่อาณาจักรล้านนาเรืองอานาจ เมืองน่านมีการติดต่อกับเมืองในเขตลุ่มน้ากก
(เชียงราย) และลุ่มน้าโขง (เชียงแสน) ดังเช่นในประวัติศาสตร์ หลังจากท่ีเมืองน่านถูกผนวกเป็นส่วน
หนึ่งของอาณาจักรล้านนาแล้ว ได้มีข้าราชการผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันมาเป็นเจ้าเมือง ตัวอย่างเช่น
ท้าวข่ากาน ซึ่งเคยเป็นเจ้าเมืองฝาง ก่อนจะย้ายมาครองเมืองน่าน และได้ย้ายไปเป็นเจ้าเมืองเชียง
แสน หรือท้าวบุญแฝง ซ่ึงครองเมืองน่านอยู่ในช่วงระหวา่ งปี พ.ศ. 2032 – 2039 ก่อนย้ายไปเป็นเจ้า
เมืองเชียงแสน และได้ย้ายกลับมาครองเมืองน่านในปี พ.ศ. 2040 จนกระทั่งถึงแก่กรรมในเมืองน่าน
เมื่อปี พ.ศ. 2050 (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 54) เป็นต้น การท่ีเจ้าเมืองน่านมีการผลัดเปล่ียน
หมุนเวียนไปครองเมืองเชียงแสนเช่นน้ี อาจส่งผลให้เกิดการรับเอาอิทธิพลศิลปะล้านนาระยะหลังใน
สกุลช่างเชียงราย-เชียงแสน-เชยี งของ มาใช้ในเมืองน่านด้วย ซ่ึงอิทธิพลสกุลช่างเชียงราย-เชียงแสน-

110

เชียงของ นี้ ถือเป็นรูปแบบหนึ่งท่ีได้รับความนิยมในเมืองน่านพอสมควร และคงมีการสร้างควบคู่ไป
กับพระพุทธรูปสาริดแบบล้านนาระยะหลังท่ีได้รับอิทธิพลจากเมืองหลวง (เชียงใหม่) จนกระท่ังเม่ือ
อาณาจักรล้านนาล่มสลาย ตกเป็นเมอื งขน้ึ ของพม่า การสร้างพระพุทธรูปสารดิ แบบล้านนาระยะหลัง
จึงหมดไป

สาหรับพ้ืนท่ีเมืองแพร่-เมืองลอง น้ัน ดังที่ได้กล่าวไปในหัวข้อ กลุ่มพระพุทธรูปแบบล้านนา
ระยะแรก แล้วว่า หลังจากท่ีถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรล้านนาแล้ว เมืองแพร่มี
สถานการณ์ท่ีไม่ราบร่ืนเหมือนอย่างเมืองน่าน เพราะมักตกเป็นสมรภูมิรบระหว่างอาณาจักรล้านนา
กับอาณาจักรอยุธยา นับแต่สมัยของพระเจ้าติโลกราช จนถึงสมัยพญาแก้ว ส่งผลให้การรับอิทธิพล
ทางศิลปะเป็นไปได้น้อยกว่าเมืองน่าน อย่างไรก็ตาม เมืองแพร่-เมืองลอง กลับปรากฏการสร้าง
พระพุทธรปู แบบลา้ นนาระยะหลังในจานวนมากพอสมควร

ตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดแบบล้านนาระยะหลังที่ปรากฏในเมืองแพร่สมัยพระเจ้าติโลกราช
ได้แก่ “พระเจ้าแสนสุข” ท่ีวัดพงษ์สุนันท์ ซ่ึงมีประวัติว่าพระเจ้าติโลกราชโปรดฯ ให้สร้างข้ึน แล้ว
พระราชทานให้ “พระนางหอมมุกข์” พระสนมเอกนามาประดิษฐานที่วัดน้ี (ข่าวสด, 2561) ซึ่งพุทธ
ลักษณะของ “พระเจ้าแสนสุข” มีการคลี่คลายจากพระพุทธรูปในศิลปะล้านนาระยะหลังที่เป็น
ต้นแบบเพียงเล็กน้อยเท่าน้ัน จากตัวอย่างพระพุทธรูปองค์นี้ จึงน่าจะสันนิษฐานได้ว่า อิทธิพลศิลปะ
ล้านนาระยะหลัง คงเร่ิมมีการแผ่เข้ามายังพ้ืนที่เมืองแพร่-เมืองลอง ในสมัยของพระเจ้าติโลกราช
สอดคล้องกับการปรากฏเจดีย์ทรงปราสาทยอดที่วัดพระหลวง อาเภอสูงเม่น (ภาพท่ี 119) ซ่ึงมี
ลักษณะเทียบได้กับเจดีย์ทรงปราสาทยอดท่ีวัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่ ที่สร้างในรัชกาลของพระเจ้า
ติโลกราช เป็นต้น

111

ภาพที่ 119 เจดีย์ทรงปราสาทยอดทีว่ ดั พระหลวง

ท้ังนี้ นอกเหนือจากพระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าแสนสุข” ท่ีวัดพงษ์สุนันท์แล้ว ในพ้ืนที่เมือง
แพร่-เมืองลอง กลับไม่ปรากฏตัวอย่างพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลังที่มีความใกล้เคียงกับงาน
ต้นแบบอีก โดยงานท่ีปรากฏส่วนใหญ่กลับเป็นงานฝีมือชา่ งพื้นบ้าน ท่ีได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนา
ระยะหลังแทน เช่น ตัวอย่างพระพุทธรูปสาริดในพิพิธภัณฑ์วัดหลวง เมืองแพร่ ท่ีแม้จะมีการใช้ฐานท่ี
มีขาต้ัง 3 ขา แบบเดียวกับพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลังในสมัยพญาแก้ว แต่กลับไม่มีการเจาะ
ช่องกระจกลายเมฆท่ีฐาน รวมทั้งส่วนพระพักตร์ก็กลายเป็นงานช่างพื้นบ้านไปจนหมดส้ิน หรือ
พระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าล้านทอง” ท่ีวัดต้าเวียง ตาบลเวียงต้า อาเภอลอง ซึ่งในอดีตบริเวณน้ี
เรียกว่า เวียงต้า เป็นเมืองขนาดเล็กที่อยู่ภายใต้การปกครองของเมืองลอง พุทธลักษณะของ
พระพุทธรูปองค์น้ีถือได้ว่าเป็นงานฝีมือช่างพื้นบ้านอย่างแท้จริง ท้ังในส่วนของพระพักตร์ท่ียาวกว่า
สัดส่วนของพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลงั หรือการทาฐานที่มีลายกากบาท ซ่ึงไม่เป็นไปตามแบบ
แผนทวั่ ไปของพระพุทธรปู แบบล้านนาระยะหลงั เปน็ ตน้ ซง่ึ เม่อื เทยี บกับประวัติศาสตร์ของเมืองแพร่-
เมืองลอง ท่ีกลายเป็นสมรภูมิรบระหว่างล้านนากับอยุธยาตลอดรัชกาลของพระเจ้าติโลกราช จนถึง
สมัยของพญาแก้ว (องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่, 2550, p. 412) จึงมีความเป็นไปได้ว่าอิทธิพล
ศิลปะล้านนาคงไม่แผ่เข้ามาสู่ดินแดนแถบน้ีอย่างเต็มที่นัก โดยคงจะผ่านเข้ามาจากเจ้าเมืองที่
หมุนเวียนมาจากหัวเมืองอ่ืนในล้านนา เช่นเดียวกับเมืองน่าน แต่ถึงแม้ว่าในพื้นท่ีเมืองแพร่-เมืองลอง

112

จะถูกใช้เป็นสมรภูมิรบตลอดช่วงเวลาน้ี ความศรัทธาในศาสนาพุทธก็คงจะไม่เส่ือมคลาย จึงปรากฏ
การสร้างงานศลิ ปกรรมประเภทพระพทุ ธรูปมาโดยตลอด

นอกจากอิทธิพลศิลปะล้านนาระยะหลังจากศูนยก์ ลางแล้ว ประเดน็ สาคญั อีกประการหน่ึงคือ
ในพื้นท่ีเมืองแพร่-เมืองลอง ปรากฏการสร้างพระพุทธรูปแบบล้านนาระยะหลังกลุ่มท่ีได้รับอิทธิพล
จากสกุลช่างเชียงรายด้วย ตัวอย่างท่ีปรากฏได้แก่ พระพุทธรูปสาริดที่พิพิธภัณฑ์วัดศรีดอนคา อาเภอ
ลอง พระพุทธรูปสาริด “พระเจ้าน้าออกเศียร” ทวี่ ดั เมธังกราวาส เปน็ ต้น การปรากฏกลมุ่ พระพุทธรูป
ท่ีได้รับอิทธิพลจากสกุลช่างเชียงรายน้ี แสดงให้เห็นว่าบนพ้ืนท่ีเมืองแพร่ เมืองลอง น่าจะมีการติดต่อ
กบั เมืองเชียงราย-เชียงแสน เช่นเดียวกับเมอื งนา่ น แต่เน่อื งจากตามประวัติศาสตร์ของเมืองแพร่-เมือง
ลอง ไม่ปรากฏว่ามีเจ้าเมืองคนใดท่ีย้ายมาจากเมืองเชียงราย หรือย้ายไปครองเมืองเชียงรายเหมือน
อย่างเมืองน่าน แต่ปรากฏว่ามีเจ้าเมืองแพร่บางคนท่ีข้ึนไปครองเมืองน่าน เช่น เจ้าเมืองแพร่สร้อย
และเจ้าเมืองแพร่คายอดฟ้า (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 54) จึงมีความเป็นไปได้ว่า กลุ่ม
พระพุทธรูปสกุลช่างเชียงรายที่ปรากฏในเมืองแพร่-เมืองลอง อาจผ่านลงมาจากเมืองน่าน ซึ่งมีการ
ติดต่อรบั อิทธิพลศิลปะล้านนาสกุลชา่ งเชียงราย-เชยี งแสน-เชยี งของ ในชว่ งเวลาเดยี วกนั

3. พระพุทธรูปสาริดสกลุ ชา่ งน่าน-แพร่ ภายหลงั จากการลม่ สลายของอาณาจักรล้านนา
อาณาจกั รล้านนาเรม่ิ เส่ือมอานาจลงนับแต่ช่วงปลายรัชกาลพญาแก้วเป็นตน้ มา ด้วยเกิดศึกท่ี

ทาใหอ้ าณาจักรต้องเสยี ขุนนางท่ีมคี วามรู้ความสามารถ รวมถึงไพรพ่ ลจานวนมากหลายคร้ัง เช่น ในปี
พ.ศ. 2062 เกดิ ศกึ ระหว่างล้านนากบั พวกไทใหญ่ และในปี พ.ศ. 2066 เกดิ ศกึ ระหว่างล้านนากับเมือง
เชียงตุง ซ้าในปี พ.ศ. 2067 ก็เกิดอุทกภัยใหญ่ที่เชียงใหม่ จนเกิดความเสียหายต่อบ้านเมืองและผู้คน
ล้มตายเปน็ จานวนมาก (สรัสวดี อ๋องสกลุ , 2561a, pp. 121-122) อกี ทั้งพญาแก้วก็มาสน้ิ พระชนม์ไป
ในปี พ.ศ. 2068 จากการประชวรเน่ืองจากเสวยลาบเน้ือม้าดิบ (อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว, 2543, p.
116) โดยท่ียังมิทันได้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น การสูญเสียไพร่พลจานวนมาก ประกอบกับความเสียหาย
ในบ้านเมือง เป็นเหตุให้อาณาจักรล้านนาเริ่มเกิดความอ่อนแอ แม้เมื่อพญาเกสเชษฐราชขึ้นครอง
อานาจในปี พ.ศ. 2069 สถานการณ์ในอาณาจักรลา้ นนาก็ไม่ดีข้ึน เนื่องจากขุนนางมีอานาจมาก และ
เกิดความแตกแยกกัน ส่งผลให้มีการเปลี่ยนกษัตริย์อยู่บ่อยครั้ง และเกิดสงครามกลางเมืองอยู่เป็น
ประจา

สาหรับเมืองน่านและเมืองแพร่ ไม่ปรากฏว่าได้รับผลกระทบจากความเสื่อมของอาณาจักร
ล้านนามากนัก โดยในช่วงปลายรัชกาลของพญาแก้ว ตรงกับสมัยท่ีเมืองน่านมีพระยาคายอดฟ้าเป็น
เจ้าผู้ครองนคร ซ่ึงยังปรากฏเหตุการณ์สาคัญ คือ การสร้าง “พระเจ้าล้านทอง” และบูรณะพระธาตุ
แช่แห้ง (สุรศักด์ิ ศรีสาอางค์, 2530, p. 55) ส่วนท่ีเมืองแพร่ มีเจ้าเมืองแพร่อุ่นเป็นเจ้าผู้ครองนคร ก็

113

ยงั ปรากฏเหตกุ ารณ์ คือ การสร้างวัดบุพพารามถวายกษัตรยิ ์ล้านนา (องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั แพร่,
2550, p. 412) ย่อมแสดงว่าแม้อาณาจักรล้านนาจะเริ่มเข้าส่ยู ุคเสื่อม แต่เมืองน่าน-เมืองแพร่ ก็ยังคง
มีสถานการณ์ที่เป็นปกติอยู่ และยังคงมีการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมในศาสนาสืบเน่ืองต่อมา แต่มี
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เพ่ิมเติม คือ เมืองน่านและเมืองแพร่ เริ่มมีการติดต่อกับอาณาจักรล้านช้าง ซึ่ง
จะปรากฏชัดย่ิงข้ึนในชว่ งท่ีพระเจา้ บุเรงนองปราบปรามล้านนา

อาณาจักรล้านนาลม่ สลายลงในรัชกาลของทา้ วแม่กุ (พญาเมกฏุ สิ ทุ ธิวงศ์) เมื่อพระเจ้าบุเรงนองแห่ง
พม่า ได้ยกทัพเข้าโจมตีเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 2101 (อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว, 2543, pp. 126-127) และ
สามารถยึดครองได้ในเวลาอันรวดเร็ว ระยะนี้ตรงกับสมัยท่ีเจ้าพระยาพลเทพฤาชัยเป็นเจ้าเมืองน่าน
(สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 55) และพญาแพร่สามล้านเป็นเจ้าเมืองแพร่ (องค์การบริหารส่วน
จังหวัดแพร่, 2550, p. 412) ในระยะนี้ยังคงปรากฏการสร้างงานทางศาสนาอยู่ช่วงหน่ึง เช่น การ
ปฏสิ งั ขรณว์ ัดพระธาตชุ า้ งคา้ จนเมอื่ พระเจ้าบุเรงนองทรงปราบปรามหัวเมืองตา่ ง ๆ ของลา้ นนาที่พา
กันแข็งเมอื ง เมอื งนา่ น-เมืองแพร่ จงึ ไดร้ บั ผลกระทบ เมือ่ พระเจา้ บเุ รงนองยกทัพเขา้ โจมตที ้งั สองเมือง
นี้ (สุรศักด์ิ ศรีสาอางค์, 2530, p. 48; องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่, 2550, p. 71) ท้ังพระยาพล
เทพฤาชยั และพญาแพร่สามล้านไม่อาจตา้ นทานได้ จึงหนไี ปพ่งึ ล้านชา้ ง ส่งผลใหเ้ มืองน่าน-เมืองแพร่
ตอ้ งตกอยู่ภายใต้อานาจของพม่า เช่นเดยี วกับเมืองเชยี งใหม่ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางของอาณาจักรล้านนา

การสร้างงานศิลปกรรมประเภทพระพุทธรูปสาริดในช่วงท่ีเมืองน่าน-เมืองแพร่ตกอยู่ภายใต้
การปกครองของพม่าปรากฏนอ้ ยลงเปน็ อย่างมาก จนอาจกล่าวไดว้ ่า งานศิลปกรรมพระพุทธรปู ท่ีเคย
ปรากฏในยคุ ทองของอาณาจักรล้านนาในสกุลช่างน่าน-แพร่ ได้สูญลงอย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม จาก
การศึกษาของสุรศักดิ์ ศรีสาอางค์ ใน เมืองน่าน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศิลปะ พบว่า ความ
นยิ มในการสร้างพระพทุ ธรปู ไม้ได้เพ่ิมข้ึนเป็นอยา่ งมาก ดว้ ยความทีไ่ ม้เปน็ วัสดุท่ีหาได้ง่าย และมีราคา
ถูก (สุรศักด์ิ ศรีสาอางค์, 2530, p. 81) ต่างจากสาริดซ่ึงในขณะนั้นคงเป็นของท่ีหายาก ประกอบกับ
บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงคราม จึงยากท่ีจะสร้างพระพุทธรูปสาริดตามความนิยมเดิมได้ จนกระทั่งเมื่อ
เมืองน่าน-เมืองแพร่ หลุดพ้นจากการปกครองของอาณาจักรล้านนา ในสมัยท่ีเจ้าอัตถวรปัญโญเป็น
เจ้าผู้ครองนครน่าน (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p. 50) และพญาเมืองไจยเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่
(องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่, 2550, p. 418) จึงปรากฏการสร้างพระพุทธรูปสาริดอีกคร้ัง แต่
พระพุทธรูปในช่วงเวลานี้ก็มิได้มีรูปแบบอย่างสกุลช่างน่าน-แพร่ ในยุคทองของอาณาจักรล้านนา
ตวั อย่างพระพุทธรูปในชว่ งเวลาน้ี เช่น พระพทุ ธรปู สารดิ ท่ีวดั ศรบี ุญเรอื ง อาเภอภเู พยี ง จังหวดั น่าน ท่ี
สร้างในสมยั ของเจ้าอัตถวรปัญโญ (สุรศักด์ิ ศรีสาอางค์, 2530, p. 87) (ภาพที่ 120) หรือพระพุทธรปู
สาริดท่ีวัดสถารศ ท่ีสร้างในสมัยของเจ้าสุมนเทวราช ปี พ.ศ. 2366 (สุรศักดิ์ ศรีสาอางค์, 2530, p.
88) (ภาพที่ 121) ซึ่งเป็นพระพุทธรูปตามอิทธิพลศิลปะรัตนโกสินทร์แล้ว โดยปรากฏควบคู่ไปกับการ
สร้างพระพุทธรูปไม้ปางเปิดโลก ตามอย่างศิลปะลาว ตัวอย่างเช่น พระพุทธรูปไม้ที่วัดพญาวัด และ

114
พระพุทธรูปไม้ที่วัดน้าล้อม ตาบลในเวียง อาเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน เป็นต้น ซ่ึงความนิยมในการ
สร้างพระพทุ ธรปู แบบดงั กลา่ วยงั ปรากฏสบื เนือ่ งต่อมาจนถึงปจั จุบัน

ภาพท่ี 120 (ซ้าย) พระพทุ ธรูปสารดิ ทวี่ ดั ศรีบุญเรอื ง สร้างในสมัยเจา้ อัตถวรปัญโญ
ภาพที่ 121 (ขวา) พระพุทธรูปสารดิ ท่ีวัดสถารศ สร้างในสมยั เจา้ สุมนเทวราช

115

บทท่ี 5
บทสรุป

ภายหลังจากการศึกษารูปแบบศิลปกรรมประเภท “พระพุทธรูปสาริด” บนพื้นที่ 2 แห่ง คือ
จงั หวัดแพร่ และจังหวัดนา่ น ไดแ้ สดงให้เห็นวา่ อิทธิพลของศลิ ปะสโุ ขทยั และศิลปะล้านนา ไดป้ รากฏ
อยู่บนพ้ืนที่ท้ัง 2 นี้เป็นอย่างมาก อาจเพราะว่าบริเวณพ้ืนที่จังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน ต่ างก็มี
เส้นทางประวัติศาสตร์ที่คล้ายกัน คือ ในช่วงแรกมีฐานะเป็นรัฐอิสระก่อน ต่อมาได้เข้าไปมี
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรสุโขทัย จนเมื่ออาณาจักรสุโขทัยเส่ือมอานาจลง พ้ืนที่จังหวัดแพร่และ
จงั หวดั น่าน ก็ได้ตกอยภู่ ายใต้การปกครองของอาณาจกั รลา้ นนาในเวลาตอ่ มา

ในส่วนของงานชา่ งแบบสโุ ขทัย จากการศึกษา พบวา่ ปรากฏบนพืน้ ทจ่ี งั หวัดน่านอยา่ งชัดเจน
โดยเฉพาะในเขตตาบลในเวียง ซึ่งเป็นท่ีตั้งของเมืองน่านโบราณ อาเภอภูเพียง และอาเภอเวียงสา
พระพุทธรูปท่ีสร้างภายใต้อิทธิพลศิลปะสุโขทัยนี้ มีความคล้ายคลึงกับพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย
หมวดใหญ่เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ช่างเมืองน่านก็ได้มีการปรับเปล่ียนรายละเอียดบางประการ
บนพระพุทธรปู ไป จนทาใหพ้ ระพุทธรปู แบบสโุ ขทัยท่เี มืองนา่ นน้ี กลายเปน็ รปู แบบเฉพาะอย่างที่เรียก
กันว่า “สกุลช่างน่าน” แม้ว่าในภายหลังอาณาจักรสุโขทัยจะเส่ือมอานาจลง และเมืองน่านถูกผนวก
เข้ากับอาณาจักรล้านนาแลว้ กย็ ังปรากฏการสรา้ งสืบทอดต่อกันมา ตราบจนกระทัง่ อาณาจักรล้านนา
ส้ินอานาจ ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าแล้ว การสร้างพระพุทธรูปสาริดแบบอิทธิพลสุโขทัยจึงหมดลง
และถูกแทนท่ีด้วยการสร้างพระพุทธรูปไม้ภายใต้อิทธิพลศิลปะลาว และพระพุทธรูปปูนป้ันตาม
อิทธิพลศิลปะพม่าในที่สุด สาหรับบนพ้ืนท่ีจังหวัดแพร่ แม้ว่าจะไม่ปรากฏการสร้างพระพุทธรูปแบบ
สุโขทัยท่ีชดั เจนเหมือนอย่างทน่ี ่าน แต่ก็ปรากฏว่า ช่างแพรไ่ ด้รับเอาพุทธลักษณะบางประการมาปรับ
ใช้กับสกลุ ช่างของตน เช่น การทาพระพักตร์รปู ไข่ พระรศั มเี ป็นเปลว เปน็ ต้น

สาหรับงานช่างแบบล้านนา ด้วยความที่พื้นท่ีจังหวัดแพร่และจังหวัดน่านในอดีต อยู่ภายใต้
อิทธพิ ลของอาณาจักรลา้ นนาเป็นเวลาพอสมควร ทาใหม้ ีอิทธิพลของศิลปะล้านนาถูกสง่ ผ่านเข้ามายัง
พ้ืนทท่ี ้ัง 2 นเ้ี ปน็ อนั มาก โดยจากการศกึ ษาและสารวจ บรเิ วณจังหวดั แพร่ จะนยิ มรับเอาพระพุทธรูป
ขัดสมาธิราบแบบล้านนา มาใช้เป็นของตนมากกว่า ในขณะท่ีพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน จะปรากฏการรับ
อทิ ธิพลพระพทุ ธรูปขัดสมาธิเพชรแบบลา้ นนามากกวา่ เหตุผลของการเลอื กรบั อิทธพิ ลศลิ ปะล้านนาท่ี
แตกต่างกันน้ี ผู้วิจัยยังไม่พบเหตุผลท่ีแน่ชัดว่าเปน็ เพราะเหตุใด แต่สันนิษฐานเบื้องต้นว่า ในส่วนของ
พ้นื ท่จี งั หวดั แพร่ คงเปน็ เพราะวา่ พื้นท่นี ี้มีอาณาเขตติดต่อกบั สุโขทัย ลาปาง นา่ น และพะเยา ซ่ึงลว้ น

116

แล้วแต่เป็นพ้ืนท่ีท่ีนิยมศิลปะสุโขทัยท้ังส้ิน ทาให้ช่างเมืองแพร่อาจจะมีความคุ้นเคยกับศิลปะสุโขทัย
มากกว่า จึงปรากฏการสร้างงานศิลปกรรมภายใต้อิทธิพลศิลปะสุโขทัยท่ีแพร่หลาย นอกจากน้ี พื้นท่ี
จังหวัดแพร่ยังถูกโอบล้อมด้วยเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ทาให้การติดต่อรับเอาอิทธิพลทางศิลปกรรม
จากสกุลช่างเชียงใหม่ ซ่ึงเป็นต้นแบบน้ันคงทาได้ยาก แต่ข้อสันนิษฐานส่วนนี้ยังจาเป็นต้องอาศัย
หลักฐานอื่น ๆ ประกอบเพิ่มเติมอีก จึงจะสามารถบอกได้ว่า แท้จริงแล้วความนิยมศิลปะสุโขทัยใน
บริเวณจังหวดั แพร่นน้ั เกิดขึ้นเพราะเหตุใด ส่วนพื้นที่จังหวดั น่าน ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า คงเป็นเพราะวา่
พื้นที่น้ีมีการรับอิทธิพลศิลปะสุโขทัยมาเป็นเวลายาวนานแล้ว นับต้ังแต่ยุคท่ีอาณาจักรสุโขทัยเรือง
อานาจ ทาให้ช่างมีความคุ้นเคยกับอิทธพิ ลศิลปะสุโขทัยแบบท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะสกุลช่างของตนเอง
มากกวา่ จงึ ไม่มีความจาเปน็ ในการรับรูปแบบพระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบลา้ นนา ซึ่งมีความซ้าซ้อน
กับความนิยมในท้องถ่ินของตนเองเข้ามาอีก ดังจะเห็นได้จากการที่พระพุทธรูปขัดสมาธิราบแบบ
ล้านนาปรากฏที่เมืองน่านน้อยมาก และส่วนใหญ่ปรากฏในลักษณะของงานช่างพื้นบ้าน ในขณะที่
พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรน้ัน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เราจะเห็นได้ว่า เมืองน่านมีการติดต่อ
กับอาณาจักรล้านนามาโดยตลอด นับตั้งแต่คร้ังที่พระเจ้าติโลกราชยกทัพเข้าโจมตี แล้วผนวกเมือง
น่านเข้าเป็นส่วนหน่ึงของตน การรับเอาอิทธิพลพระพุทธรูปขัดสมาธิเพชรแบบล้านนาคงเกิดข้ึนใน
ชว่ งเวลานี้ และคงจะมกี ารพัฒนาสืบต่อมาจนกระทั่งกลายเป็นลักษณะเฉพาะสกุลชา่ งของตนเอง เชน่
พระพทุ ธรปู สารดิ ท่ีวัดป่าเหมือด เป็นต้น ตราบจนกระท่งั อาณาจักรล้านนาเส่ือมอานาจ ความนิยมใน
การสร้างพระพุทธรูปแบบล้านนาท้ังในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน ก็คงค่อย ๆ เส่ือมลง
ก่อนจะสญู ไปในทสี่ ดุ

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าพื้นที่จังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน จะปรากฏอิทธิพลงานศิลปกรรม
แบบสุโขทัย และแบบล้านนาอยู่มาก แต่ก็ยังปรากฏว่ามีการสร้างพระพุทธรูปสาริดท่ีมีเอกลักษณ์
เฉพาะสกุลช่างควบคู่กันไปด้วย โดยปรากฏอย่างชดั เจนตั้งแต่ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา
เช่น พ้ืนที่จังหวัดแพร่ ปรากฏการสร้างพระพุทธรูปแบบสกุลช่างแพร่ ดังตัวอย่างเช่น พระเจ้า
แสนตอง ท่ีวัดหลวง เมืองแพร่ พระพุทธรูปสาริดที่วัดใหม่พม่า วัดต้าแป้น วัดศรีดอนคา อาเภอลอง
เป็นต้น ซึ่งผู้วิจัยสันนิษฐานว่า พระพุทธรูปเหล่าน้ีคงได้รับแรงบันดาลใจมาจากพระพุทธรูปในศิลปะ
สุโขทัย หมวดใหญ่ และคงได้รับความนยิ มในพื้นท่ีจังหวัดแพร่ ท้ังในส่วนเมืองแพร่ เมืองลอง เมืองตา้
และเมืองช้างสาร ไม่ปรากฏว่ามีการแพร่ไปสู่ดินแดนอื่น ซ่ึงความนิยมในการสร้างพระพุทธรูปแบบ
สกุลช่างแพรน่ ี้คงเสื่อมไปเม่ืออาณาจกั รล้านนาล่มสลาย ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า ส่วนเมือง
นา่ น แม้จะไมไ่ ดม้ ีการสรา้ งพระพุทธรปู ที่เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะสกุลช่าง แตก่ ็ปรากฏการรบั เอาอิทธิพล

117

ศลิ ปะสุโขทัยเข้ามาปรับใช้ แลว้ พัฒนาจนกระทงั่ สามารถเรียกได้ว่าเปน็ “ศลิ ปะสโุ ขทัย สกลุ ชา่ งน่าน”
ในเวลาตอ่ มา

อย่างไรก็ตาม การศึกษาพระพุทธรูปสาริดบนพ้ืนที่จังหวัดแพร่และจังหวัดน่านน้ี ยังมี
ข้อจากัดอยู่หลายประการ ได้แก่ การเคลื่อนย้ายโบราณวัตถุจากท่ีเดิมไปประดิษฐานยังท่ีใหม่
เนื่องจากบริเวณจังหวัดแพร่และจังหวัดน่านนี้ ในอดีตเคยถูกท้ิงให้เป็นเมืองร้าง โดยเฉพาะในยุคที่
อาณาจักรล้านนาล่มสลาย ตกเป็นเมืองข้ึนของพม่า พื้นท่ีเดิมที่เคยเป็นเมืองใหญ่ มีผู้คนอาศัยอยู่มาก
ก็ล่มสลายเหลือเพียงซากปรักหักพัง เมื่อผู้คนย้ายไปต้ังถิ่นฐานในที่ใหม่ ก็ได้เคล่ือนย้ายพระพุทธรูปท่ี
เคยประดิษฐานท่เี ดิมไปเก็บรักษาในที่ใหม่ด้วย จนทาใหเ้ กดิ ความสับสนในการค้นหาแหล่งที่มา อกี ทั้ง
พระพุทธรปู หลายตัวอย่างก็ได้ถูกเก็บไวใ้ นทร่ี โหฐานเพ่ือป้องกนั การถูกโจรกรรม ส่งผลให้เข้าถึงไดย้ าก
และไม่ได้รับการดูแลรักษา จนส่งผลให้หลักฐานสาคัญบางส่วนเกิดการชารุด และสูญหายไปอย่าง
น่าเสียดาย

รายการอ้างอิง

รายการอ้างอิง

กรมศิลปากร. (2530). เมอื งน่าน โบราณคดี ประวตั ิศาสตร์ และศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร.
ขา่ วสด. (2561). วัดพงษ์สนุ ันท์เมืองแพร่ แหล่งเรียนรู้ทอ้ งถิน่ ลา้ นนา. Retrieved from

https://www.khaosod.co.th/amulets/news_1331802
. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 10. (2507). In กรมศิลปากร (Ed.), ประชุมพงศาวดาร ฉบบั หอสมดุ

แหง่ ชาติ (Vol. 4, pp. 333-531). พระนคร: โรงพิมพร์ ุ่งเรอื งรัตน.์
ภูเดช แสนสา. (2554). ประวตั ศิ าสตร์เมืองลอง หวั เมืองบริวารในล้านนาประเทศ. เชียงใหม:่ นพบรุ ีการ

พมิ พ์.
ศักดช์ิ ยั สายสงิ ห์. (2532). พระพุทธรปู หนิ ทราย สกลุ ช่างพะเยา. มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร,
ศักดชิ์ ัย สายสิงห.์ (2547). ศิลปะสุโขทัย : บทวเิ คราะห์หลกั ฐานโบราณคดี จารกึ และศิลปกรรม.

นครปฐม: สถาบันวจิ ัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
ศักดิ์ชยั สายสิงห.์ (2551). ศิลปะเมืองเชยี งแสน. กรงุ เทพฯ กรมศลิ ปากร.
ศกั ด์ชิ ัย สายสิงห์. (2556). พระพุทธรูปในประเทศไทย: รปู แบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย.

กรงุ เทพฯ: ภาควชิ าประวตั ิศาสตรศ์ ิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศูนย์มานษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร (องคก์ ารมหาชน). (2555a). จารึกคาปู่สบถ ดา้ นที่ 1. Retrieved from

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/226
ศูนย์มานษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร (องคก์ ารมหาชน). (2555b). จารึกพ่อขนุ รามคาแหง ด้านท่ี 4. Retrieved

from https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/51
ศูนยม์ านษุ ยวิทยาสริ นิ ธร (องค์การมหาชน). (2555c). จารกึ วัดปา่ แดง (แผ่นที่ 1). Retrieved from

https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/207
สมชาย ณ นครพนม. (2530). สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์. In เมืองน่าน โบราณคดี ประวตั ศิ าสตร์ และ

ศลิ ปะ (pp. 29-35). กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร.
สรสั วดี ออ๋ งสกลุ . (2561a). ประวัตศิ าสตรล์ ้านนา ฉบับสมบูรณ์ (12 ed.). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พร้ินต้ิง

แอนด์พบั ลชิ ช่ิง.
สรสั วดี อ๋องสกลุ . (2561b). พ้ืนเมืองนา่ น ฉบับวดั พระเกดิ . เชียงใหม่: ศูนย์ล้านนาศึกษา คณะ

มนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่
สันติ เลก็ สขุ มุ . (2549). ศิลปะสุโขทัย (2 ed.). กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
สุรศักด์ิ ศรสี าอางค์. (2530). ประวตั ศิ าสตร์ และศิลปะ. In เมอื งน่าน โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และ

ศลิ ปะ (pp. 37-172). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

119

สรุ ศกั ดิ์ ศรสี าอางค์. (2546). พระพุทธรูปศิลปะลา้ นนาฝีมือชา่ งเมืองแพร.่ In เร่ืองของพ่อ และ รวม
บทความทางวิชาการ ล้านชา้ ง : ล้านนา.

สุรสวสั ดิ์ ศขุ สวสั ด์ิ, ม. ล. (2560). พระพทุ ธรปู ลา้ นนากับคตพิ ระพุทธศาสนามหายานแบบตนั ตระ นกิ าย
วชั รยาน / ม.ล. สรุ สวสั ด์ิ ศขุ สวัสดิ์ (พมิ พ์ครั้งท่ี 2 ed.). เชียงใหม่ :: สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่

องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดแพร่. (2550). ประวัติศาสตร์เมืองแพร่ (ฉบับ พ.ศ. 2550). แพร่: เมอื งแพร่
การพิมพ.์

อรุณรตั น์ วเิ ชียรเขยี ว, เ. เ. ว. (2543). ตานานพ้นื เมืองเชยี งใหม่. เชยี งใหม่: สานักพิมพ์ซิลคเ์ วอร์ม.



ประวัตผิ ูเ้ ขยี น ประวัตผิ ้เู ขียน

ช่ือ-สกุล นายปรญิ ญา นาควัชระ
วัน เดือน ปี เกิด 23 เมษายน 2537
สถานทเ่ี กดิ กรงุ เทพมหานคร
วุฒิการศึกษา ภาควิชาประวัตศิ าสตรศ์ ลิ ปะ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
ท่ีอยู่ปจั จบุ ัน 879 หมู่ 4 ตาบลไชยสถาน อาเภอเมืองนา่ น จงั หวัดน่าน 55000


Click to View FlipBook Version