The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2023-06-10 06:07:49

SAR2565@TUPY_E-Book

SAR2565@TUPY_E-Book

Keywords: SAR

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน


ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕42 และกฎกระทรวง

การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดให้สถานศึกษา

มีภาระหน้าที่ในการดำเนินการพฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามความมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษา
และกำหนดให้สถานศึกษาจัดทำรายงานการประเมินตนเองเป็นประจําทุกปี พร้อมจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง
ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

การศึกษาและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก นั้น
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการบริหาร
จัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
อันประกอบไปด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการ

จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและรับรอง
รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกษา

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีมติในที่ประชุม
เป็นเอกฉันท์ให้ความเห็นชอบดังนี้

1. ให้การรับรองรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ
2. ให้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน

ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน
3. ให้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ นำผลการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565
ไปพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในปีการศึกษา 2566 ต่อไป

ความเห็นของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ

 เห็นชอบ
 ไม่เห็นชอบ



(นายวีระชัย คล้ายทอง)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ


บทสรุปผู้บริหาร


โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ตั้งอยู่เลขที่ 146 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร

กรุงเทพมหานคร จัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีบุคลากรทั้งหมด จำนวน
88 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 3 คน ครูผู้สอน จำนวน 70 คน เจ้าหน้าที่สำนักงาน จำนวน 4 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน
2 คน และลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 9 คน ได้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการบริหารจัดการศึกษา
ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประชุมประเมินคุณภาพภายใน และรับรองรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษาโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากที่ประชุม
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีการจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน ด้วยการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้อยู่ในรูปเล่มรายงาน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ผ่าน QR Code และเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ยานนาเวศ (www.tupy.ac.th)

ด้านผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ยานนาเวศ มีผลการประเมินภาพรวม อยู่ใน ระดับยอดเยี่ยม โดยมีผลการประเมินในแต่ละมาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม

ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ยอดเยี่ยม

ด้านข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองและแสดงถึงความภาคภูมิใจของสถานศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้พัฒนาระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยยึดหลักการมี
ส่วนร่วมเป็นสำคัญ และได้รับการประกันคุณภาพภายนอก (รอบ 4) จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษา 2565 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) ซึ่งการได้รับการ
ประกันคุณภาพภายนอกนั้น จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษาต่อไป และ

ได้รับผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ (ITA Online) ประจำปีการศึกษา
2565 ด้วยคะแนน 100.00 คะแนน อยู่ในระดับ AA (ดีเยี่ยม) จากคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ด้านความโดดเด่นของสถานศึกษา โรงเรียนมีกระบวนการบริหารงานตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA)
มุ่งพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีความรู้ มีทักษะและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามสถานศึกษากำหนด ดังจะเห็นได้
จากการได้รับรางวัลต่างๆ เช่น นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ

รางวัลเกียรติบัตร “บุคคล รัก ศรัทธา เสียสละและอุทิศตนในวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาเนื่องในวันครู ครั้งที่ 67
ปี 2566”จากสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ, นายภาคภูมิ ทองลาด ได้รับรางวัลยกย่อง
เชิดชูเกียรติสดุดีภาคีนพวัฒน์ ประจำปีการศึกษา 2565 ประเภท “รองผู้อำนวยการสถานศึกษา กลุ่มบริหารงานบุคคล ดีเด่น”
จากงานคุรุสัมพันธ์ สหวิทยาเขตภาคีนพวัฒน์ ประจำปีการศึกษา 2565, และนางสาววรรษมน หมื่นสนิท นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ได้รับการคัดเลือกและยกย่องว่า มีความประพฤติดี จากพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยใน

พระบรมราชูปถัมภ เป็นต้น
ด้านแผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เตรียมนำผล

การประเมินภายในและคำแนะนำจากการประกันคุณภาพภายนอกสู่การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสร้างความ
ตระหนักรู้ในองค์กรเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการสอนของครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้อันถือเป็นภารกิจหลักที่สำคัญ
ของครูผู้สอนทุกคนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้มีค่าการพัฒนาที่สูงขึ้น


คำนำ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ

ยานนาเวศ เล่มนี้ เป็นการสรุปผลของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอันสะท้อนถึงคุณภาพ
ของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายใน อันประกอบไปด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหาร
และการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดควร

พัฒนา และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษา
ในรอบปีที่ผ่านมา ต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา

และคณะครูอาจารย์ที่ได้กรุณาส่งเสริม สนับสนุนให้การจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นไปด้วย
ความเรียบร้อยและหวังว่ารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาต่อไป






(นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร)


ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ


สารบัญ

หน้า

ส่วนที่ 1 ข้อมลพื้นฐานของสถานศึกษา........................................................................................................................1
1. ข้อมูลทั่วไป...................................................................................................................................................1

2. ข้อมูลบุคลากร..............................................................................................................................................4

3. ข้อมูลนักเรียน...............................................................................................................................................7
4. ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา............................................................................8

5. ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับสถานศกษา........................................................................10
6. ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่.............................................................................................18

7. ข้อมูลเกียรติยศและผลงานดีเด่นของสถานศึกษา.......................................................................................19
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา........................................................................................................30

1. มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน.............................................................................................................30
2. มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ....................................................................................51

3. มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ..................................................60
4. สรุปผลการประเมินในภาพรวม..................................................................................................................65

ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลือ...................................................................66
1. จุดเด่น........................................................................................................................................................66

2. จุดควรพัฒนา.............................................................................................................................................68
3. แนวทางการพัฒนาในอนาคต.....................................................................................................................69

4. ความต้องการการช่วยเหลือ........................................................................................................................69
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก.....................................................................................................................................................70



ื่
1. ประกาศมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษาเพอการประกันคณภาพภายใน……………………………............71


2. ประกาศค่าเป้าหมายการพฒนาตามมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษา…………………………….................73

3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคณภาพภายในของสถานศกษา..........................................76

4. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษา.........................................91
5. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและรับรองรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (T-SAR)………92
6. เครื่องมือการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษา…………………………………………….93

7. เกณฑ์สำหรับการประเมินมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษา………………………………………………………105

8. ภาพประกอบการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน……………………………………………………………………..120

9. คำรับรองรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา……………………………………………………………..133


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖5



ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
1. ข้อมลทั่วไป


ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ









ตราประจำโรงเรียน พระเกี้ยวน้อย
อักษรยอโรงเรียน ต.อ.พ.ย.

วันสถาปนาโรงเรียน 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2501
ผู้ก่อตั้งโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ
ประเภท สหศึกษา

ขนาดสถานศึกษา ขนาดใหญ่
ระดับชั้นที่เปิดสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เขตสาทร ประกอบด้วย 3 แขวง
เขตพื้นที่บริการ

ได้แก แขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆ

เขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

พระพุทธรูปประจำโรงเรียน หลวงพ่อสุโขทัยชัยมงคล

คติพจน์โรงเรียน ประพฤติดี เรียนดี มีสัจจะ อตสาหะ กตัญญ รู้เหตุผล

ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นราชพฤกษ์
สีประจำโรงเรียน สีชมพ - น้ำเงิน

คณะประดู่ - สีแดง
คณะพิกุล - สีเขียว
สีประจำคณะ
คณะหางนกยูง - สีส้ม

คณะอินทนิล - สีม่วง
เพลงมาร์ชเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
เพลงประจำโรงเรียน เพลงขวัญใจพระเกี้ยวน้อย
เพลงลาแล้วราชพฤกษ ์

เลขที่ 146 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงทุ่งวัดดอน
สถานที่ตั้ง
เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
เบอร์โทรศัพท์ 0-2211-0942

โทรสาร 0-2674-9114
เว็บไซต์ www.tupy.ac.th
อีเมล [email protected]


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 1


ปรัชญา (Philosophy) ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ
วิสัยทัศน์ (Vision)
จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย

1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเต็มศกยภาพ

2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และลักษณะในศตวรรษที่ 21
พันธกิจ (Mission)
3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพ

4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ในการสนับสนุนการจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม บนพื้นฐานความเป็นไทย
เป้าประสงค์ (Goals)
และมีศักยภาพเป็นพลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21

ยาทิสํ วปฺปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
สุภาษิตโรงเรียน (Proverb)
“หว่านพืชเช่นไร ย่อมได้ผลเช่นนั้น”
เอกลักษณ์ (Identity) กตัญญ เชิดชูสถาบัน

อัตลักษณ์ (Image) คนดี ศรี ต.อ.พ.ย.
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เดิมชื่อ โรงเรียนยานนาวา
โดย กระทรวงศึกษาธิการได้จัดซื้อที่ดินแปลงหนึ่ง โฉนดที่ดินเลขที่ 3958 มีพื้นที่จำนวน 8
ไร่ 1 งาน 89 ตารางวา จากนางแจ่ม เพชรรัตน์ และนายขัน ว่องไว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม
พ.ศ. 2501 ด้วยเงิน ก.ศ.ส. จำนวน 982,810 บาท เพื่อจัดตั้งเป็นโรงเรียนระดับ
มัธยมศึกษา ประเภทสหศึกษาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 และวันที่ 19 พฤษภาคม

พ.ศ. 2501 จัดตั้งเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญศึกษา สังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมวิสามญ
ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใช้ชื่อว่า "โรงเรียนยานนาวา" ตำบลทุ่งวัดดอน อำเภอยานนาวา
จังหวัดพระนคร ใช้อักษรย่อว่า “ย.น.” เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2501 นายจรัส
ธรรมพันธ์ ได้รับการแต่งตั้งจาก กรมวิสามัญ กระทรวงศึกษาธิการ ให้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่
(คนแรก) มีครู จำนวน 7 คน มีนักการภารโรง จำนวน 2 คน เปิดทำการสอน เมื่อวันที่ 10

กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (จึงถือว่า วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันสถาปนาโรงเรียน) และเปิดรับ
นักเรียนชายและหญิง ที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยมีอาคารเรียน 1 หลัง จำนวน 12 ห้องเรียน (เปิดเป็นห้องเรียน 10 ห้อง และห้อง
หัตถศึกษา 2 ห้อง) มีบ้านพักครู 1 หลัง จำนวน 2 ห้อง มีบ้านพักภารโรง 1 หลัง มีห้อง
สุขาภิบาล 1 หลัง และมีนักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 416 คน
ประวัติการก่อตั้งโรงเรียน
ต่อมาเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2514 ฯพณฯ สุกิจ นิมมานเหมินทร์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติให้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม"
เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในชื่อโรงเรียน ที่ไปเหมือนกับโรงเรียนเทศบาลวัดยานนาวา และใน

ปีการศึกษานี้ โรงเรียนได้ขยายชั้นเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 เป็นระดบชั้นละ
10 ห้องเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนกวิทยาศาสตร์ 4 ห้องเรียน แผนกศิลปะ 4
ห้องเรียน รวมทั้งหมดเป็น 38 ห้องเรียน มีครู 70 คน มีนักเรียน 1,647 คน และมนักการ

ภารโรง 9 คน

เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563 นายสุชาต กลัดสุข ผู้อำนวยการสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ได้ลงนามในประกาศ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 2 ประกาศให้โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ” ตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการที่เข้มแข็ง เกิดการพัฒนาศักยภาพ

ของครูและผู้เรียน ตลอดจนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการบริหารและการจด
การศึกษาที่ดี โดยม นายรื่น หมื่นโกตะ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น


และม นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ในปัจจุบัน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 2


แผนที่ตั้งสถานศึกษา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ

เลขที่ 146 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงทุ่งวัดดอน
เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

























แผนผังบริเวณโรงเรียน
















หมายเลข ๑ อาคาร ๑ หมายเลข ๒ อาคาร ๒
หมายเลข ๓ อาคาร ๓ หมายเลข ๔ อาคารปฏิบัติการ
หมายเลข ๕ ห้องสำนักงานกลุ่มบริหารงานบุคคล หมายเลข ๖ ศาลาหลวงพ่อสุโขทัยชัยมงคล
หมายเลข ๗ ศาลาสบายใจ หมายเลข ๘ ห้องประชาสัมพันธ ์
หมายเลข ๙ ห้องพยาบาลและร้านค้าสวัสดิการ หมายเลข ๑๐ เวทีกลาง
หมายเลข ๑๑ เสาธงโรงเรียน หมายเลข ๑๒ ศาลพระภูมิ
หมายเลข ๑๓ อาคารบ้านพัก หมายเลข ๑๔ อาคารบ้านพัก
หมายเลข ๑๕ ห้องนอนครูเวรกลางคืน หมายเลข ๑๖ ห้องน้ำนักเรียนชาย
หมายเลข ๑๗ ห้องน้ำนักเรียนหญิง


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 3


2. ข้อมลบุคลากร

2.1 ข้อมูลผู้บริหารสถานศึกษา

ลำดับที่ รายชื่อ ระยะเวลา ตำแหน่ง
1 นายจรัส ธรรมพันธ์ 30 เม.ย. 2501 - 1 ต.ค. 2507 อาจารย์ใหญ่

2 นายมนัส นิจโภค 26 ต.ค. 2507 - 1 เม.ย. 2509 อาจารย์ใหญ่

3 นายสุด สุวรรณาคินทร์ 17 พ.ค. 2509 - 2 พ.ย. 2509 อาจารย์ใหญ่
4 นายชื้น เรืองเวช 7 ธ.ค. 2509 - 30 พ.ย. 2516 อาจารย์ใหญ่

5 นางนังคร คชะสุต 22 พ.ย. 2516 - 30 ก.ย. 2517 อาจารย์ใหญ่

6 นายประสิทธิ์ ธนะปัญโญ 15 พ.ย. 2517 - 30 ก.ย. 2520 อาจารย์ใหญ่
7 นางสาวสมศรี ดวงพัตรา 29 ธ.ค. 2520 - 6 ม.ค. 2523 ผู้อำนวยการ

8 นายนพคุณ ทรงชาติ 9 พ.ค. 2525 - 1 ต.ค. 2529 ผู้อำนวยการ

9 นายเชาวน์ สาลีฉัน 1 ต.ค. 2529 - 30 ก.ย. 2535 ผู้อำนวยการ
10 นายดำรง อโนภาส 29 ต.ค. 2535 - 4 พ.ย. 2537 ผู้อำนวยการ

11 นายสมพงษ์ ปุยพลทัน 4 พ.ย. 2537 - 30 ก.ย. 2539 ผู้อำนวยการ
12 นายเพ็ญศกดิ์ เรือนใจมั่น 3 ธ.ค. 2539 - 30 ก.ย. 2541 ผู้อำนวยการ

13 นายประมวญ บุญญพาพงศ์ 24 ธ.ค. 2541 - 6 พ.ย. 2543 ผู้อำนวยการ

14 นายอุดม พรมพันธ์ใจ 6 พ.ย. 2543 - 25 ต.ค. 2544 ผู้อำนวยการ
15 นายมานพ นพศิริกุล 25 ต.ค. 2544 - 30 ก.ย. 2546 ผู้อำนวยการ


16 นางสาวปัทมรัตน์ เต็มพทักษ์ 1 ต.ค. 2546 - 29 ต.ค. 2549 ผู้อำนวยการ
17 นายบุญฤทธิ์ รุ่งเรือง 30 ต.ค. 2549 - 14 ส.ค. 2556 ผู้อำนวยการ

18 นายสุรศักดิ์ การุญ 1 มี.ค. 2557 - 8 พ.ย. 2559 ผู้อำนวยการ

19 นายรื่น หมื่นโกตะ 22 พ.ย. 2559 - 30 ก.ย. 2563 ผู้อำนวยการ
20 นายปรเวธฎ์ เกษมโชค 22 ต.ค. 2563 - 30 ก.ย. 2565 ผู้อำนวยการ

21 นางพลอยกาญจน์ พงเพียร 1 ต.ค. 2565 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการ
ึ่
























รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 4


คณะผู้บริหารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ (ปัจจุบัน)






นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร
ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ







นางสาวสาธิกา คุตกาล นายภาคภูมิ ทองลาด
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
และรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล
และรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป






นางสาวจันทรา พวงยอด นายจักรพันธ์ พานสอาด นายธนพล พรมโอก

ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ







นางกระจ่างจิต แก้วชล
นายจิรัฐ รวิยะวงศ

ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ





นายทศณรงค เป้ามัจฉา

ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล







นายเสรี ตระกูลพสุทิพย์ นายพิเชษฐ์ วงศ์อัมพรฉกาจ นางสาวกนกอร อุ่นสถานนท์

ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 5


2.2 ข้อมูลระดับวุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากรและจำนวนบุคลากรทั้งหมด

ตารางแสดงจำนวนบุคลากรทั้งหมดของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565

บุคลากร ผู้บริหาร ครูประจำการ ครูอัตราจ้าง เจ้าหน้าที่สำนักงาน ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว

เพศ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง

จำนวน 1 2 23 42 2 3 1 3 2 - 6 3

(คน)

รวม 3 65 5 4 2 9

รวม
ทั้งหมด 88



ตารางแสดงระดับวฒิการศึกษาสูงสุดและวิทยฐานะของผู้บริหารสถานศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาเอก วิทยฐานะ
ผู้บริหาร จำนวน (คน)
ชาย หญิง ชาย หญิง คศ.1 คศ.2 คศ.3

ผู้อำนวยการ 1 - 1 - - - - 1

รองผู้อำนวยการ 2 1 1 - - 1 1 -

รวม 3 1 2 - - 1 1 1



ตารางแสดงระดับวฒิการศึกษาสูงสุดและวิทยฐานะของข้าราชการครู จำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้

ปริญญาตรี ปริญญาโท ตำแหน่ง/วิทยฐานะ
ครูและบุคลากร จำนวน
จำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (คน) ชาย หญิง ชาย หญิง ครู คศ. คศ. คศ.
ผู้ช่วย 1 2 3

ภาษาไทย 7 - 5 - 2 2 3 2 -

คณิตศาสตร์ 9 4 2 1 2 - 3 5 1

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 13 - 9 2 2 1 8 3 1


สังคมศกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 8 2 3 2 1 2 2 2 2
สุขศึกษาและพลศึกษา 5 - 3 1 1 - 1 2 2

ศิลปะ 5 2 2 - 1 1 1 2 1

การงานอาชีพ 7 2 3 2 - 2 2 1 2

ภาษาต่างประเทศ 8 1 2 4 1 1 4 3 -

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 - 1 - 2 - 1 1 1


รวม - 11 30 12 12 9 25 21 10

รวมทั้งหมด 65 41 24 65
ี่
แหล่งที่มาข้อมูล: งานพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา (ข้อมูล ณ วันท 31 มีนาคม 2566)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 6


3. ข้อมลนักเรียน


จำนวนนักเรียน (คน)

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

ระดับชั้น จำนวนห้อง (ข้อมูล ณ วันท 10 มิถุนายน (ข้อมูล ณ วันท 21 มีนาคม
ี่
ี่
2565) 2566)
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 7 143 111 254 143 110 253

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 7 125 108 233 120 110 230


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 7 140 121 261 141 120 261

รวม ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 21 ๔๐8 ๓๔0 ๗๔๘ 404 340 744

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ 7 125 136 261 121 133 254


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ 7 117 103 220 112 103 215

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ 6 89 97 186 89 96 185


รวม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 20 331 336 667 322 332 654

รวมทั้งสิ้น 41 739 676 1,415 726 672 1,398




แผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียน จ าแนกตามระดับชั้นและภาคเรียน

300


250


200


150

100


50



0
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖

ภาคเรียนที่ 1 254 233 261 261 220 186
ภาคเรียนที่ 2 253 230 261 254 215 185

ี่
แหล่งที่มาข้อมูล: งานระบบการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (DMC) (ข้อมูล ณ วันท 31 มีนาคม 2566)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 7



4. ข้อมลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา

1. ตารางแสดงข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565


สถิติผู้เข้าใช้ สถิติการใช้
ลำดับ ชื่อแหล่งเรียนรู้ หน่วยงานที่รับผิดชอบ

ที่ แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
(จำนวนคน) (จำนวนครั้ง)


1 ห้องสมุดรติสุรกานต์ กลุ่มบริหารวิชาการ 4,028 4,028


2 ห้องเรียน DLIT กลุ่มสาระฯภาษาไทย 7,490 235



3 ห้อง GSP กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 32,002 938



4 ห้อง Knowledge Center กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ฯ 157 157


5 ห้องศูนย์ประชาคมอาเซียนศึกษา กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาฯ 3,494 154



6 ห้องจริยธรรม กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาฯ 4,480 155


7 ห้องดนตรีสากล กลุ่มสาระฯศิลปะ 93 8



8 ห้องดนตรีไทย กลุ่มสาระฯศิลปะ 141 12


9 ห้องนาฏศิลป์ กลุ่มสาระฯศิลปะ 74 3



10 ห้องทัศนศิลป์ กลุ่มสาระฯศิลปะ 85 7



11 ห้องสมุดกลุ่มสาระฯสุขศึกษาพลศึกษา กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 228 228


12 ห้องฟิตเนส กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 309 309



13 ห้องสมุดกลุ่มสาระฯการงานอาชีพ กลุ่มสาระฯการงานอาชีพ 605 16


14 ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง กลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ 119 98



15 ห้องไอทีซิตี้แบงก์ กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 0 0


16 ห้องศูนย์คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 0 0



รวม 53,305 6,348




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 8


2. ตารางแสดงข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565



กลุ่มสาระการเรียนรู้ สถิติผู้เข้าใช้ สถิติการใช้
ลำดับ ชื่อแหล่งเรียนรู้
ที่ ที่นำนักเรียนศึกษาแหล่ง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
เรียนรู้ภายนอก (จำนวนคน) (จำนวนครั้ง)


1 วัดไผ่เงินโชตนาราม งานคณะสี ๒๐๐ ๑



2 วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร งานคณะสี ๑๐๐ ๑



3 วัดยานนาวา งานคณะสี ๑๐๐ ๑



4 สภากาชาดไทย งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ๑๐๕ ๓



5 องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ งานระดับชั้น ๑,๔๑๐ ๑


6 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ๒๐ ๑



ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู)

7 เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ๒๐ ๑
จังหวัดสมุทรปราการ



มูลนิธิกระจกเงา เขตหลักสี่
8 งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ๒๐ ๑
กรุงเทพมหานคร



9 พระบรมรูปทรงม้า ลานพระราชวังดุสิต งานคณะสี ๑๐ ๑


งานมหกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ ๒๐ ปี

TO BE NUMBER ONE ประจำปี ๒๕๖๕
10 งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ๒๐ ๑
ณ ฮอล์ ๔ อาคารอิมแพ็ค ฟอรั่ม เมือง
ทองธานี



เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ ใน
โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้นำนักเรียน
11 งานส่งเสริมกิจการนักเรียน ๒๐ ๑
โรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ



รวม ๒,๐๒๕ ๑๓


แหล่งที่มาข้อมูล: งานสานสนเทศโรงเรียน งานห้องสมุด และงานสารสนเทศกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ข้อมูล ณ วันท 31 มีนาคม 2566)
ี่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 9



5. ข้อมลผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา
5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ที่มีผลการเรียนตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1

จำนวน จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ (เกรด) นักเรียนที่ได้ นักเรียนที่ได้
กลุ่มสาระ ที่เข้า ระดับ 3 ขึ้นไป ระดับ 2.5 ขึ้นไป
การเรียนรู้ จำนวน จำนวน
สอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร้อยละ ร้อยละ
(คน) (คน)
ภาษาไทย 1,412 271 323 289 214 67 56 77 115 883 62.59 1,097 77.4
คณิตศาสตร ์ 1,412 256 143 209 216 234 104 71 228 608 43.34 824 58.57
วิทยาศาสตร์ฯ 1,412 690 244 153 99 44 25 42 167 1,087 76.07 1,186 83.22
สังคมศึกษาฯ 1,412 302 240 259 163 125 75 55 884 801 56.88 964 68.48
สุขศึกษาฯ 1,412 799 192 195 58 43 21 22 82 1,186 83.78 1,244 87.9
ศิลปะ 1,412 854 227 132 40 29 13 19 98 1,213 86.06 1,253 88.79
การงานอาชีพ 1,412 720 254 192 112 23 9 17 106 1,166 82.22 1,278 90.18
ภาษาต่างประเทศ 1,412 348 223 244 295 58 49 87 128 110 59.14 143 76.88
รวมเฉลี่ย 7,054 62.45 7,989 70.72


2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ที่มีผลการเรียนตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2

จำนวน จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ (เกรด) นักเรียนที่ได้ นักเรียนที่ได้
กลุ่มสาระ ที่เข้า ระดับ 3 ขึ้นไป ระดับ 2.5 ขึ้นไป
การเรียนรู้ จำนวน จำนวน
สอบ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร้อยละ ร้อยละ
(คน) (คน)
ภาษาไทย 1,397 744 197 156 85 37 22 25 150 1,097 78.56 1,182 84.38
คณิตศาสตร ์ 1,397 304 221 229 234 101 56 72 268 754 54.05 988 71.18
วิทยาศาสตร์ฯ 1,397 799 186 115 80 33 21 41 185 1,100 78.79 1,180 84.43
สังคมศึกษาฯ 1,397 457 172 176 141 91 66 65 327 805 57.32 946 67.73
สุขศึกษาฯ 1,397 919 122 126 42 39 21 23 158 1,167 83.33 1,209 86.32
ศิลปะ 1,397 858 83 109 43 66 48 39 209 1,050 74.99 1,093 78.11
การงานอาชีพ 1,397 630 274 210 105 41 17 10 167 1,114 79.73 1,219 87.06
ภาษาต่างประเทศ 1,397 388 306 212 239 52 22 42 206 906 65 1,145 82.08
รวมเฉลี่ย 7,993 71.52 8,962 80.19


แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่มีผลการเรียนในวิชาพื้นฐาน

ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษาก าหนด


100.00

80.00
60.00
40.00
20.00


0.00 ไทย คณิต วิทย์ สังคม สุข ศิลปะ การงาน ตปท
ภาคเรียนที่ 1 77.40 58.57 83.22 68.48 83.78 86.06 90.18 78.59

ภาคเรียนที่ 2 84.38 71.18 84.43 67.73 83.33 74.99 87.06 82.08

แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดผลและประเมินผลการศึกษา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ (กลุ่มวิชาพื้นฐาน) (ข้อมูล ณ วันท 20 มีนาคม 2566)
ี่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 10


5.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์



1. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1
จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวน
ดีเยี่ยม (3)
ไม่ผ่าน (0)
ดี (2)
ผ่าน (1)
ระดับชั้น นักเรียน จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อย
ทั้งหมด
(คน) (คน) (คน) (คน) ละ
มัธยมศึกษาปีท 1 254 230 90.74 11 4.20 13 5.06 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 233 211 90.71 11 4.76 11 4.53 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 260 207 79.73 29 10.94 24 9.33 - -
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 261 247 94.75 10 3.95 4 1.30 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 218 197 90.50 10 4.50 11 5.00 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 186 162 87.25 8 4.00 16 8.75 - -
รวม 1,412 1,254 88.82 79 5.59 79 5.59 - -
เฉลี่ยตามเกณฑ์ 94.41
ร้อยละ



2. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2
จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวน
ระดับชั้น นักเรียน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อย
(คน) (คน) (คน) (คน) ละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 221 87.09 18 7.02 15 5.89 - -
มัธยมศึกษาปีท 2 230 195 84.97 18 7.85 17 7.18 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 258 204 79.15 29 11.04 25 9.81 - -
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 256 224 87.82 12 4.77 20 7.41 - -
มัธยมศึกษาปีท 5 215 184 85.38 18 8.50 13 6.12 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 184 161 87.69 6 3.15 17 9.16 - -
ี่
รวม 1,397 1,189 85.33 101 7.05 107 7.62 - -
เฉลี่ยตามเกณฑ์ 92.34
ร้อยละ



แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ ดี (2) ขึ้นไป


100.00

95.00


90.00

85.00
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖

ภาคเรียนที่ 1 94.88 95.28 90.77 98.48 94.95 91.40
ภาคเรียนที่ 2 94.09 92.61 90.31 92.19 93.95 90.76

แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันท 20 มีนาคม 2566)
ี่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 11


5.3 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน


1. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวน
ดีเยี่ยม (3)
ไม่ผ่าน (0)
ผ่าน (1)
ดี (2)
ระดับชั้น นักเรียน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ร้อย
ทั้งหมด ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
(คน) (คน) (คน) (คน) ละ
มัธยมศึกษาปีท 1 254 168 66.30 76 29.84 10 3.86 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 233 186 80.00 35 14.85 12 5.15 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 260 139 53.46 83 32.08 38 14.46 - -
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 261 199 76.40 56 21.38 6 2.22 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 218 152 69.63 56 25.87 10 4.50 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 186 144 77.53 28 14.84 14 7.63 - -
รวม 1,412 988 69.98 334 23.65 90 6.37 - -
เฉลี่ยตามเกณฑ์ 93.62
ร้อยละ


2. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวน
ดีเยี่ยม (3)
ดี (2)
ไม่ผ่าน (0)
ผ่าน (1)
ระดับชั้น นักเรียน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ร้อย
ทั้งหมด ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
(คน) (คน) (คน) (คน) ละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 169 66.53 70 27.56 15 5.91 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 230 151 65.83 61 26.52 18 7.65 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 258 161 62.33 67 25.81 30 11.86 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 256 195 75.94 51 20.00 10 4.06 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 215 151 70.42 51 23.72 13 5.86 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 184 139 75.33 26 14.13 19 10.54 - -
รวม 1,397 966 69.15 326 23.34 105 7.51 - -
เฉลี่ยตามเกณฑ์
ร้อยละ 92.48



แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ ดี (2) ขึ้นไป

100.00

90.00
80.00
70.00
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖

ภาคเรียนที่ 1 96.06 94.85 85.38 97.70 95.41 92.47
ภาคเรียนที่ 2 94.09 92.17 88.37 96.09 93.95 89.67


ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2


แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันท 20 มีนาคม 2566)
ี่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 12


5.4 ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน


1. ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1
จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวน
ระดับชั้น นักเรียน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อย จำนวน ร้อย
(คน) (คน) (คน) ละ (คน) ละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 163 64.17 75 29.53 16 6.30 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 233 210 90.13 8 3.43 15 6.44 - -
มัธยมศึกษาปีท 3 260 198 76.15 45 17.31 17 6.54 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 261 216 82.76 39 14.94 6 2.30 - -
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 218 180 82.57 29 13.30 9 4.13 - -
มัธยมศึกษาปีท 6 186 160 86.02 13 6.99 13 6.99 - -
ี่
รวม 1,412 1,127 79.82 209 14.80 76 5.38 - -
เฉลี่ยตามเกณฑ์ 94.62
ร้อยละ


1. ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวน
ระดับชั้น นักเรียน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อย
(คน) (คน) (คน) (คน) ละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 167 65.75 67 26.38 20 7.87 - -
มัธยมศึกษาปีท 2 230 187 81.31 24 10.43 19 8.26 - -
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 258 180 69.77 55 21.32 23 8.91 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 256 224 87.50 20 7.81 12 4.69 - -
มัธยมศึกษาปีท 5 215 168 78.14 34 15.81 13 6.05 - -
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 184 160 86.96 7 3.80 17 9.24 - -
ี่
รวม 1,397 1,086 77.74 207 14.82 104 7.44 - -
เฉลี่ยตามเกณฑ์ 92.56
ร้อยละ



แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ ดี (2) ขึ้นไป



100.00

95.00

90.00

85.00
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖

ภาคเรียนที่ 1 93.70 93.56 93.46 97.70 95.87 93.01

ภาคเรียนที่ 2 92.13 91.74 91.09 95.31 93.95 90.76

แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันที่ 20 มีนาคม 2566)



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 13


5.5 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
5.5.1 กิจกรรมแนะแนว

1. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวนนักเรียน
ระดับชั้น ผ่าน ไม่ผ่าน
ทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 245 96.46 9 3.54
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 233 224 96.14 9 3.86
มัธยมศึกษาปีท 3 260 235 90.38 25 9.62
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 261 257 98.47 4 1.53
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 218 206 94.50 12 5.50
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 186 170 91.40 16 8.60
ี่
รวม 1,412 1,337 94.55 75 5.74

เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,337 94.55




2. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวนนักเรียน
ระดับชั้น ผ่าน ไม่ผ่าน
ทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ
มัธยมศึกษาปีท 1 254 240 94.49 14 5.51
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 230 214 93.04 16 6.96
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 258 238 92.25 20 7.75
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 256 232 90.63 24 9.37
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 215 203 94.42 12 5.58
มัธยมศึกษาปีท 6 184 166 90.22 18 9.78
ี่
รวม 1,397 1,293 92.56 104 7.44


เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,293 92.56




แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ "ผ่าน"

100
95

90
85
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖

ภาคเรียนที่ 1 96.46 96.14 90.38 98.47 94.5 91.4

ภาคเรียนที่ 2 94.49 93.04 92.25 90.63 94.42 90.22

ี่
แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันท 27 มีนาคม 2566)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 14


5.5.2 กิจกรรมวิชาการ


1. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1
จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวนนักเรียน
ระดับชั้น ผ่าน ไม่ผ่าน
ทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ

มัธยมศึกษาปีท 1 254 244 96.06 10 3.94
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 233 224 96.14 9 3.86
มัธยมศึกษาปีท 3 260 234 90.00 26 10.00
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 261 254 97.32 7 2.68
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 218 206 94.50 12 5.50
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 186 169 90.86 17 9.14
รวม 1,412 1,331 94.26 81 5.74

เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,331 94.26




2. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวนนักเรียน
ระดับชั้น ผ่าน ไม่ผ่าน
ทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 239 94.09 15 5.91
มัธยมศึกษาปีท 2 230 215 93.48 15 6.52
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 258 240 93.02 18 6.98
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 256 238 92.97 18 7.03
มัธยมศึกษาปีท 5 215 199 92.56 16 7.44
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 6 184 175 95.11 9 4.89
รวม 1,397 1,306 93.49 91 6.51

เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,306 93.49





แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ "ผ่าน"


100.00

95.00

90.00

85.00
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖

ภาคเรียนที่ 1 96.06 96.14 90.00 97.32 94.50 90.86

ภาคเรียนที่ 2 94.09 93.48 93.02 92.97 92.56 95.11

ี่
แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันท 27 มีนาคม 2566)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 15


5.5.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์


1. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 1
จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวนนักเรียน
ระดับชั้น ผ่าน ไม่ผ่าน
ทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ

ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 244 96.06 10 3.94
มัธยมศึกษาปีท 2 233 224 96.14 9 3.86
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 260 234 90.00 26 10.00
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 261 254 97.32 7 2.68
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 218 206 94.50 12 5.50
มัธยมศึกษาปีท 6 186 167 89.78 19 10.22
ี่
รวม 1,412 1,329 94.12 83 5.88

เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,329 94.12




2. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนที่ 2

จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
จำนวนนักเรียน
ระดับชั้น ผ่าน ไม่ผ่าน
ทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 254 240 94.49 14 5.51
มัธยมศึกษาปีท 2 230 205 89.13 25 10.87
ี่
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 258 236 91.47 22 8.53
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 256 246 96.09 10 3.91
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 215 200 93.02 15 6.98
มัธยมศึกษาปีท 6 184 172 93.48 12 6.52
ี่
รวม 1,397 1,299 92.98 98 7.02

เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,299 92.98





แผนภูมิแสดงร้อยละของจ านวนนักเรียนที่ได้ระดับ "ผ่าน"


100

95

90

85
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖
ภาคเรียนที่ 1 96.06 96.14 90 97.32 94.5 89.78

ภาคเรียนที่ 2 94.49 89.13 91.47 96.09 93.02 93.48

ี่
แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันท 27 มีนาคม 2566)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 16



5.6 ร้อยละของผู้สำเร็จการศกษา
จำนวนร้อยละของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565


สำเร็จการศึกษา ไม่สำเร็จการศึกษา
ระดับชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด
จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ


มัธยมศึกษาปีที่ 3 258 191 74.03 67 25.97



มัธยมศึกษาปีที่ 6 184 142 77.17 42 22.83


รวม 442 333 75.34 109 24.66





แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้ส าเร็จการศึกษา




80

60
40
20

0
สําเร็จการศึกษา ไม่สําเร็จการศึกษา

มัธยมศึกษาปีที่ 3 74.03 25.97

มัธยมศึกษาปีที่ 6 77.17 22.83

แหล่งที่มาข้อมูล: งานทะเบียนและเทียบโอน (ข้อมูล ณ วันท 31 มีนาคม 2566)
ี่




















รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 17



6. ข้อมลผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (ปีงบประมาณ 2565)













































มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ผลการประเมินจาก สมศ.

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดี
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดี

สรุปผลการประเมิน ดี


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 18



7. ข้อมลเกียรติยศและผลงานดีเด่นของสถานศึกษา
ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

ปีการศึกษา 2551

เป็นสถานศึกษาประเภทที่ 1 ของสำนักงานเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
1
การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กรุงเทพมหานคร

ได้รับพระราชทานโล่รางวัลชนะเลิศ โครงการจัดกิจกรรม
2 ส่งเสริมการอ่านหนังสือวรรณกรรมเยาวชนแว่นแก้วจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ได้รับพระราชทานโล่รางวัลเกียรติคุณสัญญาธรรมศักดิ์ มูลนิธิธารน้ำใจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
3 ในโครงการเชิดชูสถาบันศึกษาที่สร้างคนดีให้สังคมด้วย สยามบรมราชกุมารี

การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมดีเด่น
เป็นโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
4
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กรุงเทพมหานคร

เป็นโรงเรียนต้นแบบรักการอ่านจากสำนักงานเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
5
การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กรุงเทพมหานคร

ปีการศึกษา 2552

เป็นโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
6 ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สำนักงานเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต 1
การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1

เป็นโรงเรียนต้นแบบรักการอ่าน สำนักงานเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
7
การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กรุงเทพมหานคร เขต 1

ได้รับรางวัลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง
8 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

ปีการศึกษา 2553

โล่เกียรติคุณประเภทให้การสนับสนุน “โรงเรียน โครงการเครือข่ายแกนนำจิตอาสาป้องกัน
9 ยานนาเวศวิทยาคมเป็นสถาบันที่ให้การสนับสนุน เอดส์เฉลิมพระเกียรติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ
การทำงานด้านเอดส์ประจำปี 2553” พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ
10 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นโรงเรียนเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล

ปีการศึกษา 2554

ได้รับเกียรติบัตรเป็นโรงเรียนที่สามารถดำรงมาตรฐาน
11 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองต่อเนื่องเป็นสมัยที่ 2
โล่เกียรติคุณประเภทให้การสนับสนุน “โรงเรียน โครงการเครือข่ายแกนนำจิตอาสาป้องกัน

12 ยานนาเวศวิทยาคม เป็นสถาบันที่ให้การสนับสนุน เอดส์เฉลิมพระเกียรติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ
การทำงานด้านเอดส์ประจำปี 2554” พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

รางวัลห้องสมุดโรงเรียน (ขนาดใหญ่) ดีเด่น สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
13
กรุงเทพมหานครประจำปี 2554 ในพระราชูปถัมภ์

เป็นโรงเรียนต้นแบบการเรียนรู้อาเซียน (Spirit of สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
14
ASEAN ) เขต 2

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 19


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

ปีการศึกษา 2556
ได้รับเกียรติบัตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาจากต้นสังกัด ตามระบบประกันคุณภาพ

ภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ ปี พ.ศ. 2553
15 ประจำปี 2556 โดยได้รับการรับรองมาตรฐาน สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.)
การศึกษา รอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ระดับ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน “ผลการติดตามตรวจสอบ
มีคุณภาพในระดับดีมาก”
ปีการศึกษา 2557

โล่พระราชทานรางวัลชนะเลิศพร้อมประกาศนียบัตร
จากศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ในการประกวด

วรรณกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
16
(รัชกาลที่ 9) ในกรอบแนวคิด “ทำความดี...ไม่มีที่ กุมารี
สิ้นสุด” โดยนายภาคภูมิ ชัยชนะ นักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที 6 กลุ่ม 2

รางวัล “ระดับชมเชย” การประกวดผลงานการผลิตสื่อ

คุณธรรม รอบระดับประเทศ หัวข้อ “ความจงรักภักดีต่อ
17 สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชาติ” โครงการอบรม พัฒนาการผลิตสื่อคุณธรรม :
สุดยอดผู้นำ ผลิตสื่อความดี ปีที่ 7

โล่เกียรติยศที่ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการรินน้ำใจสู่
18 พี่น้องชาวใต้ ระหว่างวันที่ 5-9 มกราคม พ.ศ. 2558 สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ณ ศูนย์จังหวัดสตูล

ปีการศึกษา 2558

ได้รับโล่เกียรติยศที่ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการ
19 “รินน้ำใจสู่พี่น้องชาวใต้” ระหว่างวันที่ 21-25 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ณ ศูนย์จังหวัดสตูล

ปีการศึกษา 2559
ได้รับเกียรติบัตร มีผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2558
20 คะแนนเฉลี่ย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในระดับชั้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 2
มัธยมศึกษาปีที่ 3 เพิ่มขึ้นสูงกว่าร้อยละ 3 ของ

ปีการศึกษา 2557
ได้รับประกาศเกียรติคุณ รางวัลยอดเยี่ยม การประกวด
21 กรรมการมหาเถรสมาคม
สวดมนต์ ทำนองสรภัญญะ ระดับมัธยมศึกษา

โครงการเครือข่ายแกนนำจิตอาสาป้องกัน
ได้รับโล่เกียรติคุณ การสนับสนุนการจัดนิทรรศการ
22 เอดส์เฉลิมพระเกียรติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ
จิตอาสาป้องกันเอดส์ เทิดพระเกียรติ ประจำปี 2559
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ






รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 20


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

ผ่านการประเมินรางวัลคุณภาพระดับองค์กร (School
23 Quality Award: SCQA) จากสำนักงานการมัธยมศึกษา สำนักงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตอนปลาย

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ทูลเกล้าฯถวายเงิน จำนวน
100,000 บาท แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
24 -
บรมราชกุมารี เพื่อสมทบมูลนิธิชัยพัฒนา เนื่องในโอกาส

ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ
ปีการศึกษา 2560

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ
25 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้เป็นโรงเรียนคุณธรรม

เกียรติบัตรเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมเอกลักษณ์
26 การแต่งกายด้วยผ้าไหม หรือผ้าพื้นเมืองในสถานศึกษา กระทรวงวัฒนธรรม
ในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560

ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ หน่วยงานที่สนับสนุน
27 การจัดงานนิทรรศการจิตอาสาป้องกันเอดส์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
พระวรราชาทินัดดามาตุ
เทิดพระเกียรติฯ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
โล่ประกาศเกียรติคุณ ส่งเสริมให้นักเรียนปฏิบัติธรรม
28 ในพระพุทธศาสนา และสอบผ่านธรรมศึกษาสนามหลวง สำนักเรียนวัดยานนาวา

ชั้น ตรี โท เอก ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

นายอนาวิน ภักดีเตล็บ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ได้รับรางวัลชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพ
29 รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากการประกวดวาด สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
ภาพระบายสีโปสเตอร์ หัวข้อ ศิลปวัฒนธรรมไทย นำพา
ประเทศไทย 4.0

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม เป็นเจ้าภาพร่วมในการ

บำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ
30 พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช -
บรมนาถบพิตร จำนวน 150,000 บาท สนับสนุนโดย
สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม

ปีการศึกษา 2561

ได้รับประกาศนียบัตร “ระดับดี” ในการขับเคลื่อนศูนย์
31 มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ครอบครัวพอเพียง ดีเด่นระดับกรุงเทพมหานคร

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 รางวัลขับเคลื่อน
32 พันธกิจศูนย์ครอบครัว พอเพียง “ด้านสิ่งแวดล้อม” มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ระดับกรุงเทพมหานคร


โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม เป็นศูนย์ครอบครัวพอเพยง
33 มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ลำดับที่ 80





รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 21


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

ได้รับเกียรติบัตรเข้าร่วมกิจกรรมเดินรณรงค์ในงาน
34 “เทียนส่องใจ” เนื่องในวันเอดส์โลก วันเสาร์ที่ 1 หน่วยงานศูนย์วิจัยโรคเอดส์สภากาชาดไทย
ธันวาคม พ.ศ. 2561

ได้เข้าร่วมกิจกรรมเยาวชนไทย รวมใจทำความดี แข่งขัน
ตอบปัญหาศีลธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๒ ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จ
35 พระมหารัชมังคลาจารย์และชมรมพุทธศาสน์
ประจำปี ๒๕๖๑ ณ อาคารพุทธเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ สนับสนุน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
36
การจัดงานนิทรรศการจิตอาสาป้องกันเอดส์ พระวรราชาทินัดดามาตุ
เทิดพระเกียรติฯ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม มีผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O- NET) มีค่าพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
37
เป็นบวกทุกกลุ่มวิชาในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เขต 2
ปีการศึกษา ๒๕๖๑

ได้รับมอบประกาศเกียรติคุณในการส่งเสริมให้นักเรียน

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ที่ส่งเสริมให้นักเรียน
38 ได้ศึกษาและปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา จนสามารถ สำนักเรียนวัดยานนาวา สถาบันการศึกษา
แห่งคณะสงฆ์ไทย
สอบผ่านธรรมศึกษาสนามหลวง ชั้นตรี โท เอก สังกัด
สำนักเรียนวัดยานนาวา ประจำปีการศึกษา 2561

1. การแข่งขันรำวงมาตรฐาน ม.4-ม.6 ได้รับรางวัล
เหรียญทอง

2. การประกวดโครงงานอาชีพ ม.1-ม.3 ได้รับรางวัล
เหรียญทอง
3. การแข่งขันการจัดทำหนังสือเล่มเล็ก ประเภท

บกพร่องทางการเรียนรู้ ม.1-ม.3 ได้รับรางวัล มหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม
เหรียญเงิน (เรียนรวม) วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียน ปี
39 4. การแข่งขันการวาดภาพระบายสีประเภทบกพร่อง การศึกษา 2561 ระดับชาติ โดยสำนักงาน

ทางร่างกาย ม.1-ม.3 ได้รับรางวัลเหรียญทอง เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 และ
5. การแข่งขันการวาดภาพระบายสีประเภทบกพร่อง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทางการเรียนรู้ ม.1-ม.3 ได้รับรางวัลเหรียญทอง

6. การแข่งขันการวาดภาพระบายสีประเภทออทิสติก
ม.1-ม.3 ได้รับรางวัลเหรียญเงิน
7. การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง

ม.1-ม.3 ได้รับรางวัลเหรียญเงิน
ปีการศึกษา 2562

นางสาวทรัพย์ทวี อภิญญาวาท ครูชำนาญการพิเศษ
40 ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดนวัตกรรมทาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน
การศึกษา ระดับชาติ ประจำปี 2563 (IENC 2019)


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 22


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับรางวัลระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน ประจำปี ๒๕๖๒ ระดับสหวิทยาเขต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
41
ประเภทสถานศึกษามัธยมศึกษาขนาดกลาง ให้ไว้ เขต ๒
ณ วันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับรางวัลระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับเขต

42 พื้นที่การศึกษา ประเภทสถานศึกษามัธยมศึกษาขนาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๒
กลาง ระดับเงิน ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๖๒

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม เป็นสถานศึกษาต้นแบบ
การพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับภาค
43 สำนักงานศึกษาธิการภาค ๒
ื่
ภายใต้โครงการ Coaching Teams เพอยกระดับ
คุณภาพการศึกษาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ให้ไว้ ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2562

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ
อันดับ ๒ ระดับจังหวัดกรุงเทพมหานคร โครงการ
Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
44 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ ๑ กรกฎาคม ถึง
วันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วันที่ ๒๐ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๖๒

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับรางวัลชนะเลิศอบดับ

ที่ ๑ วิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในการพัฒนา
รูปแบบ/แนวทางการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา

45 เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการ Teams for สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร
Education ระดับจังหวัด ของสำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดกรุงเทพมหานคร ณ วันที่ ๒ ๐ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๖๒

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดับ
จังหวัด การคัดเลือกผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ BEST

PRACTICE แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
46 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร
เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาโครงการTeams for
education ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ วันที่
๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับรางวัลระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ ระดับเขต

47 พื้นที่การศึกษา ประเภทสถานศึกษามัธยมศึกษาขนาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๒
กลาง ระดับเงิน ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๖๒




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 23


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ
หน่วยงาน “สนับสนุนกิจกรรมต้านเอดส์” (ในฐานะ ชมรมจิตอาสาป้องกันเอดส์ เทิดพระเกียรติ
หน่วยงานทางการศึกษาที่มีภารกิจสําคัญในการ
48 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
ขับเคลื่อนงานด้านสังคมที่ต้องให้ความรู้แก่เยาวชน กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
เกี่ยวกับการดูแลและป้องกันตนเองให้ห่างไกลจาก

โรคเอดส์

นายรื่น หมื่นโกตะ ผู้อำนวยการโรงเรียนยานนาเวศ
วิทยาคม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศในการคัดเลือกผลงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
49
การปฏิบัติที่เป็นเลิศ "เพชรน้ำหนึ่ง สพม. 2" ประจำปี เขต ๒
2562 ให้ไว้ ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2562

ได้รับงบประมาณ การก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์

50 6 ชั้น จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน -
จำนวน 34,770,000 บาท
ปีการศึกษา 2563

คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ
ได้รับรางวัล “ครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปีการศึกษา สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สคล.)

2 5 6 3 ” ได้แก่ นางสาวทรัพย์ทวี อภิญญาวาท ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
นางสาวละอองดาว อดทน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
51 กรณราชวิทยาลัย (มจร.) สำนักงานกองทุน
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม, นางสาวชลธร ถามะพันธ์ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา, เครือข่ายโรงเรียนคำพ่อสอน และเครือข่าย

นายจักรพันธ์ พานสอาด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูดีไม่มีอบายมุข
ภาษาต่างประเทศ และนางสาวกนกอร อนสถานนท์
ุ่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ
ได้รับรางวัล “ครูดีเด่นเนื่องในวันครูแห่งชาติ” ของสห
วิทยาเขตราชนครินทร์ ปีการศึกษา 2563 ได้แก่

นางสาวรสมา ลำพุทธา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, นางสาวอรอนงค์ วงศา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์, นางสาวสุภัทรา

เหรียญเกษมสกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย,
52 นางสาวศิริวิมล สมพร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา สหวิทยาเขตราชนครินทร์
ต่างประเทศ, นางสาวพรประภา นระแสน กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ศิลปศึกษา, นางสาวชลธร ถามะพันธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา,นางสาว

ศิวพร คงสกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ,
นางสาวละอองดาว อดทน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม, และนายปรัชญา อาภา

วัฒนาสกุล กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 24


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยนางสาวอรอนงค์
วงศา ได้รับรางวัล “ครูดีศรีแผ่นดิน”, รางวัล “บุคคลรัก

ศรัทธาและเสียสละอทิศตนในวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ทาง
การศึกษา”, รางวัล “ครูดีไม่มีอบายมุข”, ครูผู้สนับสนุน
นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันและได้รับรางวัลชนะเลิศ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง, สำนักงานศึกษา

เกียรติบัตร พร้อมทุนการศึกษา ในรายการ เอแม็ท ธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร, สำนักงาน
เกมต่อเลขคำนวณคณิตศาสตร์ รุ่น มัธยมศึกษา รายการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
53 แมกซ์พลอยส์ ครอสเวิร์ดเกม เอแม็ท คำคม และซูโดกุ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

เอ็ดดูเคชั่นนอล สปอร์ต ชาเลนจ์ 2021 ณ ศูนย์การค้า สนง.เครือข่ายองค์กรงดเหล้ามหาวิทยาลัย
เซนทรัลพลาซา พระราม 2 และรางวัลรองชนะเลิศ และบริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
ใ น รายการ “Robinson Crossword Game A-Math จำกัด
Kumkom and Sudoku Ed-Sudoku Ed-Sport

Challenge 2 0 2 0 Presented by Max Ploys
@Srisamarn” ณ ศูนย์การค้า โรบินสันไลฟ์สไตล์
ศรีสมาน ชิงถ้วยรางวัลผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยนางสาวรสมา ลำพุทธา ได้รับคัดเลือกเพื่อรับรางวัล
54 ในงานวันครู ครั้งที่ 65 พ.ศ. 2564 เป็น “บุคคลรัก สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร

ศรัทธาและเสียสละอทิศตน ในวิชาชีพเพอประโยชน์ทาง
ื่

การศึกษา”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยนางสาวสุพรรณี แผ่นทอง ได้รับรางวัลการพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
55
ทักษะชีวิตและส่งเสริมพัฒนาผู้นำสภานักเรียน เขต 2 ณ โรงเรียนวัดหนองจอก
ประจำปีการศึกษา 2563

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
รางวัลชมเชยอันดับ 2 การประกวดสวดมนต์หมู่ ทำนอง
56 วัดเวฬุวนาราม (กรมการศาสนา)
สรภัญญะ ประเภททีมหญิงล้วน ณ วัดเวฬุวนาราม
เนื่องในวันวิสาขบูชา ประจำปี 2564
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ จากการประกวดโครงงาน
57 (สนก.) ร่วมกับกลุ่มกัลยาณมิตรเพื่อเครือข่าย
คุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ทำดี ถวาย วิถีพุทธ (กคพ.)
ในหลวง” ปีที่ ๑๕

นายจิตรกร เขียวอ่อน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ม.4/1 ได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมการแข่งขัน A-Math
ชื่อรางวัล “อันดับที่ 1 เอแม็ท เกมต่อเลขคำนวณ

58 คณิตศาสตร์ รุ่น มัธยมศึกษา รายการ แมกซ์พลอยส์ บริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
จำกัด
ครอสเวิร์ดเกม เอแม็ท คำคม และซูโดกุ เอ็ดดูเคชั่นนอล
สปอร์ต ชาเลนจ์ 2021” ณ ศูนย์การค้าเซนทรัลพลาซา

พระราม 2




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 25


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

นายจิตรกร เขียวอ่อน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ม.4/1 ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ จากการเข้าร่วมการ
แข่งขันในรายการ “Robinson Crossword Game
59 A-Math Kumkom and Sudoku Ed-Sudoku Ed- บริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
จำกัด
Sport Challenge 0 2 0 Presented by Max Ploys
2
@Srisamarn” ณ ศูนย์การค้า โรบินสันไลฟ์สไตล์
ศรีสมาน ชิงถ้วยรางวัลผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
รางวัล ๖ ถ้วยทอง และ ๒ ถ้วยเงิน จากการแข่งขัน
60 พระนครศรีอยุธยา และสมาคมกีฬาแห่ง
เทควันโด รายการ “อยุธยา แชมเปียนชิพ ๒๐๒๐” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า)
ณ ศูนย์การค้า The Sky Ayutthaya

ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
โล่เกียรติยศ ผู้สนับสนุนโครงการ และเกียรติบัตร รางวัล
61 เชิดชูเกียรติ จากนายกรัฐมนตรี รางวัลขับเคลื่อนศูนย์ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง

ครอบครัวพอเพียงดีเด่น ระดับกรุงเทพมหานคร “ระดับ
ดีเยี่ยม”

นางสาวอรอนงค์ วงศา ได้รับโล่รางวัลเชิดชูเกียรติ จาก
62 มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
นายกรัฐมนตรี “รางวัลครูดีศรีแผ่นดิน”

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
63 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เกียรติบัตรโรงเรียนคุณธรรม ระดับสองดาว

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เข้า
64 ประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ไทย ทำดี ถวายในหลวง” เข้ารอบคัดเลือก 1 ใน 3 ทีม

โรงเรียนทำบันทึกข้อตกลงทางการศึกษา (MOU) กับ
65 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
กรุงเทพ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
รางวัล ชนะเลิศ 5 เหรียญทอง 3 เหรียญเงิน ถ้วยรางวัล

ชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทท่ารำ รางวัลโค้ชยอดเยี่ยม
66 และรางวัลทีมยอดเยี่ยม 1 รางวัล จากการแข่งขันกีฬา ศูนย์การค้า เดอะพาลาเดียม เวิลด์ ช้อปปิ้ง
และ พาลาเดี่ยม ไอที ประตูน้ำ
เทควันโด “TUNNARA TAEKWONDO CHAMPIONSHIP”
ครั้งที่ 3 ณ ศูนย์การค้าเดอะพาลาเดียม เวิลด์ จังหวัด

กรุงเทพมหานคร
คุณครูเข้าร่วมโครงการ “ครูดีในดวงใจ” ครั้งที่ 19

ประจำปี 2565 ระดับสหวิทยาเขตราชนครินทร์ คือ
67 สหวิทยาเขตราชนครินทร์
นายจักรพันธ์ พานสะอาด และนางสาวจิราวรรณ
เสียมภูเขียว





รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 26


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

นางสาวสุทธินี แก้ววิไล ได้รับเกียรติบัตรรางวัล “คุรุชน
68 คนคุณธรรม” ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ประจำปี สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต 2
พ.ศ. 2564

นายปรเวธฎ์ เกษมโชค ได้รับเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ
69 พร้อมเข็มกลัดทอง “ปิยชนน์ คนการศึกษา” ประจำปี สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2564

นายจิตรกร เขียวอ่อน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/1 ได้เข้าร่วมการแข่งขัน A – MATH ในรายการ
“Max Ploys Crossword Game A-Math Kumkom

Sudoku Ed-Sport Challenge 2021”ณ ศูนย์การค้า
เซนทรัลพลาซา บางนา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จากจำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 96 ทีมทั่วประเทศ,

ได้อันดับที่ 2 , รายการ “Max Ploys Crossword
1
Game A-Math Kumkom Sudoku and Gold Finger
70 Ed-Sport Challenge 2 0 2 1 @Tree on 3 ” ณ บริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
จำกัด
ศูนย์การค้า Tree on 3 พระราม 3 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย จากจำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 50 ทีมทั่ว

ประเทศ ได้อันดับที่ 8 และรายการ “Seacon Square
Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku Ed-
Sport Challenge 2021 Presented by Max Ploys”

ณ ศูนย์การค้าซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จากจำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น
72 ทีมทั่วประเทศ ได้อันดับที่ 10


นายสดใส พรมพิมพ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/1 เข้าร่วมการแข่งขัน A – MATH ในรายการ
“ Seacon Square Crossword Game A-Math

Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge 2 0 2 1 บริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
71
Presented by Max Ploys”ณ ศูนย์การค้าซีคอนส จำกัด
แควร์ ศรีนครินทร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก
จำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 72 ทีมทั่วประเทศ ได้อันดับ

ที่ 13
นางสาวอรอนงค์ วงศา ได้รับเกียรติบัตร เนื่องในโอกาส

สนับสนุนนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันรายการ “Max
Ploys Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku
Ed-Sport Challenge 2021”, รายการ “Max Ploys
72 Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku and บริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
จำกัด
Gold Finger Ed-Sport Challenge 2021 @Tree on
3” และรายการ “Seacon Square Crossword Game
A-Math Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge
2021 Presented by Max Ploys”



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 27


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง

นางสาวสุทธินี แก้ววิไล ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ สมาคมรองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมศึกษา
73
“รองผู้อำนวยการสถานศึกษาผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น” แห่งประเทศไทย
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ

รางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขันกีฬา เทควันโด สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
74 “ AYUTHAYA OPEN CHAMPIONSHIPS 2 0 2 1 ” พระนครศรีอยุธยา และสมาคมกีฬาแห่ง
ประเภท พุมเซ่ ( ท่ารำ)” ครั้งที่ 3 ณ ศูนย์การค้า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า)

เดอะสกาย ช้อปปิ้งเซ็นเตอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ปีการศึกษา 2565

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
75 การรับรองการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2565 - คุณภาพการศึกษา “ระดับการศึกษาขั้น
2569) พื้นฐาน”

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เข้าร่วม

การแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย วันรพ ได้ลำดับที่ 1
76 ศาลอาญากรุงเทพใต้
ได้รับเงินรางวัล 6,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศ
เกียรติคุณ ณ ศาลอาญากรุงเทพใต้

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
โล่และเกียรติบัตรรางวัลขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัว
พอเพียง “ระดับยอดเยี่ยม”, เกียรติบัตรรางวัลรอง
ชนะเลิศอันดับ 2 การขับเคลื่อนพันธกิจ “ด้านสังคม”,

เกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การขับเคลื่อน มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับ
77
พันธกิจ “ด้านประชาธิปไตย”, โล่และเกียรติบัตรรางวัล กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรียนและผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น “ด้านการ

ขับเคลื่อนโครงการอบรมวิทยากรกระบวนการสื่อ
สร้างสรรค์รู้เท่าทันโลกโซเชียลมีเดีย เครือข่ายกระทิง
ทาโร่”

ครูอรอนงค์ วงศา ได้รับโล่และเกียรติบัตรรางวัล “ครูดี มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับ
78
ศรีแผ่นดิน” กระทรวงศึกษาธิการ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน
79 การดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ (ITA Online) คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตแห่งชาติ
ประจำปีการศึกษา 2565 ด้วยคะแนน 100.00
คะแนน อยู่ในระดับ AA (ดีเยี่ยม)

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้ส่ง
นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาฮับกิโด (ประเทศไทย)
ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 (เหรียญเงิน) ประเภท

80 ท่ารำอาวุธ 11-14 ปี หญิง, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สมาคมฮับกิโดร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต
(เหรียญทองแดง) ประเภทประเภทท่ารำอาวุธ 11-14
ปี ชาย, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญทองแดง)

ประเภทประเภทท่ารำอาวุธ 1 5 -1 7 ปี ชาย,


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 28


ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง
รองชนะเลิศอันดับ 1 (เหรียญเงิน) ประเภทท่ารำอาวุธ

18 ปีขึ้นไป ชาย, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญ
ทองแดง) ประเภทท่ารำอาวุธ 18 ปีขึ้นไป หญิง, รางวัล
รองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญทองแดง) ประเภทโชว์คู่
15 ปีขึ้นไป

นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร ได้รับรางวัลเกียรติบัตร
“บุคคลรัก ศรัทธา เสียสละและอุทิศตนในวิชาชีพ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร
81
เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา เนื่องในวันครู ครั้งที่ 67 กระทรวงศึกษาธิการ
ปี 2566”
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ส่ง นายจิตรกร

เขียวอ่อน นักเรียนระดับชั้น ม.6/1 เข้าแข่งขันต่อ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (ระดับชาติ)
สมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ภาคกลางและ
82
ปลาย จาก 53 โรงเรียนระดับภาคกลางและภาค ภาคตะวันออก (สำนักงานคณะกรรมการ

ตะวันออก ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 เหรียญ การศึกษาขั้นพื้นฐาน)
ทอง ณ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี จังหวัดราชบุรี
กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้ส่ง นายพัชรพล แซ่ฉั่ว,

นายชัยวัฒน์ คหบดีกุล และนายณัฐนนท์ แซ่คู นักเรียน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (ระดับชาติ)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 เข้าแข่งขันจัดทำหนังสือเล่มเล็ก
83 ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้ ม.4 - ม.6 ในงาน ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ภาคกลางและ
ภาคตะวันออก (สำนักงานคณะกรรมการ
ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 ได้รับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน)
รางวัลเหรียญทอง อันดับที่ 11 ณ ศูนย์การเรียนรู้
ในเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพได้ส่ง นายกัมพล สันติ
โยธินสกุล, นายศรันย์ ตีราช, นายสุรเสกข์ บังทอง และ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (ระดับชาติ)
นายราเมศ ชาลีพันธุ์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7

84 เข้าแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ภาคกลางและ
ภาคตะวันออก (สำนักงานคณะกรรมการ
ม.4 - ม.6 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 70 การศึกษาขั้นพื้นฐาน)
ได้รับรางวัลเหรียญเงิน อันดับที่ 32 ณ โรงเรียนคุรุ
ราษฎร์รังสฤษฏ์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ส่ง นางสาวพรทิพย์
พาชื่น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เข้าร่วม

การแข่งขัน Gold Finger ในรายการ “EduPloys Cross บริษัท แม็กซ์พลอยส์ อินเตอร์เนชั่นเนล
85
Word Game A–Math Kumkom Sudoku Challenge จำกัด
2023” @Tree on 3 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ
อันดับ 1 (เหรียญเงิน)

แหลงที่มาข้อมูล: งานสารสนเทศโรงเรียน (ข้อมูล ณ วันท 25 มีนาคม 2566)
ี่







รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 29


ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

1. กระบวนการพัฒนา
ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มุ่งเน้นการพัฒนา
ผู้เรียนให้เป็นเลิศด้านวิชาการและคุณธรรม ตามปรัชญาของโรงเรียน ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการควบคู่ไปกับ
การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม โดยยึดโรงเรียนเป็นฐาน (SBM : School Based Management) ตามความถนัด

และความสนใจของผู้เรียนโดยความร่วมมือของผู้บริหาร กลุ่มบริหารงานวิชาการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหาร
งบประมาณ กลุ่มบริหารทั่วไป หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างาน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนทุกภาคส่วน ทั้งผู้ปกครองและชุมชน ภายในและภายนอกโรงเรียน

กำหนดนโยบายและดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามนโยบายและสมรรถนะของผู้เรียนให้เป็นไปตามสมรรถนะของผู้เรียน
ตามทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกด้านตามตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนฐาน
ื้
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ร่วมกับหลักสูตรมาตรฐานสากล
โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายโดยการจัดโครงการสอนรายวิชาและ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการทักษะการอ่าน การเขียนสื่อสารและการคิดคำนวณ ที่เป็นไปตามมาตรฐานและ

ตัวชี้วัดของหลักสูตรที่คำนึงถึงศักยภาพของผู้เรียนทุกระดับ และสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน มีการออกแบบ
การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามความ
พร้อมของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและฝึกฝนจนเกิดกระบวนการคิด การวิเคราะห์ และการร่วมมือกัน

แก้ปัญหา บูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน ฝึกทักษะและแสวงหาความรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน รู้จักคิดวิเคราะห์ มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มีการใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อ
เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลายทันสมัย มีความสะดวกและสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลาผ่าน
แอปพลิเคชั่นและโปรแกรมการเรียนรู้ต่างๆ เช่น Ms. Teams, Google Classroom, Google Meet, Line และ

Facebook เป็นต้น
มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ปรับปรุงระบบเครือข่ายสัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi)
ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในสถานศึกษา มีห้องสมุดในโรงเรียน ห้องสมุดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ห้องสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้อง IT City Bank ห้อง Knowledge

Center ห้องศูนย์นวัตกรรมและหุ่นยนต์ ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง (Self Access Language Learning
Centre) และห้อง GSP เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลในการเรียนรู้ได้อย่างสะดวกสบาย ส่งเสริม
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม สามารถสร้างสรรค์ผลงาน จัดทำสื่อ
นวัตกรรมและนำเสนอผลงานจากกิจกรรมการเรียนรู้ได้

อีกทั้งโรงเรียนยังมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสบการณ์และทักษะชีวิตทั้งในและนอก
สถานศึกษา มีกิจกรรมส่งเสริมทักษะการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ การสื่อสาร ให้สามารถวิเคราะห์ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตั้งคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมและแก้ปัญหาได้ มีกิจกรรมส่งเสริม

ความสามารถของผู้เรียนโดยส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการทั้งในและนอกโรงเรียน ตามบริบทและ
ความพร้อมของนักเรียน เช่น กิจกรรมนิทรรศการวิชาการ กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมแข่งขัน

เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ที่หลากหลาย ได้แก การแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์ การแข่งขันคณิตคิดเลขเร็ว
การแข่งขันโซดุกุ และการแข่งขันการแข่งขันเกมต่อสมการคณิตศาสตร์(A -Math) โดยนำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน
เกมต่อสมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) นอกสถานที่ในรายการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์


แห่งชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพทธศาสนา กิจกรรมแข่งขันตอบปัญหากฎหมายในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
เนื่องใน “วันรพี” ประจำปี 2565 กิจกรรมตอบคำถาม ศิลปะเพื่อสุนทรียภาพ และวันศิลป์ พีระศรี กิจกรรมแข่งขัน
ประกวดวาดภาพระบายสี ในวันสำคัญต่างๆ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพทางด้านภาษาต่างประเทศ กิจกรรมแข่งขันเปิด

พจนานุกรมภาษาอังกฤษ กิจกรรมแข่งขันสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Spelling Bee) กิจกรรมแข่งขันเขียนตาม


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 30


คำบอกจากภาพภาษาอังกฤษ (Picture Dictation) และกิจกรรมแข่งขันภาษาจีน กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอน
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการปลอด 0, ร, มส กิจกรรมการติวโอเน็ต ติวข้อสอบ GAT/PAT ติววิชา
สามัญ 9 วิชา รวมทั้งการทำ MOU กับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้แก่นักเรียน
ทุกกิจกรรมที่มีการส่งเสริมและนำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ล้วนเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักเรียนได้รับการฝึกทักษะ

กระบวนการอ่าน เขียน และคิดคำนวณ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี สร้างนวัตกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ จนนักเรียนมี
ความรู้ความสามารถพัฒนาตนเองได้ จนเกิดเป็นองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ทำให้มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสอดคล้องตามหลักสูตรสถานศึกษา และมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีกระบวนการ

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้

1. ด้านค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด โดยการจัดกิจกรรม ได้แก กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
วินัยของนักเรียน กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน และกิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาในหลวงรัชกาลที่ 10 เป็นต้น
2. ด้านความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการจัดกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทาง

ศาสนา กิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน กิจกรรมทำบุญตักบาตร และกิจกรรมวันไหว้ครู เป็นต้น
3. ด้านการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โดยการจัดกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรม
ส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีและยุวกาชาด และกิจกรรมวันอาเซียน เป็นต้น
4. ด้านสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม โดยการจัดกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือ

นักเรียน กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน และกิจกรรมฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบและบาดทะยัก เป็นต้น

นอกจากนั้น สถานศึกษาได้จัดให้มีกระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้เรียนให้มีมนุษยสัมพนธ์
ที่ดี อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสถานศึกษา ครอบครัว ชุมชนและสังคมได้อย่างมีความสุข รวมทั้งส่งเสริมผู้เรียนให้มี

ความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสังคมและจิตสำนึกโดยไม่ขัดกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
ครบถ้วนตามหลักสูตรสถานศึกษา นโยบายของรัฐบาล นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ และตามที่องค์กรในสถานศึกษากำหนด โรงเรียน
มีโครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมผู้เรียนในทุกระดับชั้น โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการพัฒนา ดังนี้

แผนภาพกระบวนการดำเนินงาน

1. ศึกษา วิเคราะห์ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา 1. ดำเนินโครงการและกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นพื้นฐาน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. กำหนดเกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ และตั้งคา

เป้าหมายในการพัฒนาของสถานศึกษา
3. กำหนดแนวทางและวิธีการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน PLAN DO




ACTION CHECK
1. นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา 1. ตรวจสอบและประเมินโครงการและกิจกรรมการเรียน

2. รายงานผลการพัฒนา การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญ
2. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ (เป็นไปตามค่า
เป้าหมายในการพัฒนาของสถานศึกษา)












รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 31


2. ผลการดำเนินงาน

จากกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ผ่านโครงการและกิจกรรมอย่างหลากหลาย จึงส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และ

การคิดคำนวณ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด มีความสามารถในด้านการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาองกฤษ
เหมาะสมตามระดับชั้น มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมจัดทำสื่อนวัตกรรมนำเสนอ
ผลงานได้ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้
การสื่อสาร และการทำงาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะที่จำเป็นและมี

เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้นและนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
สถานศึกษายังให้ความสำคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีที่สถานศึกษากำหนด
มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาไทย
สามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย รู้บทบาทและหน้าที่ในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น มีสุขภาวะ

ทางร่างกายและจิตสังคม รู้วิธีดูแลรักษาสุขภาพกาย มีความมั่นคงในอารมณ์ สามารถป้องกันตนเองจากภาวะเสี่ยง
ต่างๆ นำไปสู่ผลการดำเนินงานที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งจำแนกตามประเด็นพิจารณาได้ดังต่อไปนี้

1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
1. มีความสามารถในการอ่าน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

การเขียน การสื่อสาร และการคิด 1.1 ผลการประเมินความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักเรียน
คำนวณ ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ
100 95.28 96.42
89.56 87.59 91.62 90.65
90
80.16
80


70
60


50
40

30


20
10

0

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม

แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2565


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 32


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
1. มีความสามารถในการอ่าน 1.2 ผลการประเมินความสามารถในการเขียน การสื่อสารภาษาไทย

การเขียน การสื่อสาร และการคิด ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565
คำนวณ
ร้อยละ
100 93.02
90 83.15
80 81.80 80.52 80.59 80.26 81.00

70
60

50
40

30
20

10
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการเขียน การสื่อสารภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2565










รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 33


1. มีความสามารถในการอ่าน 1.3 ผลการประเมินความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
การเขียน การสื่อสาร และการคิด ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565
คำนวณ
ร้อยละ
100
90 90.35 83.78 83.14 83.23
80 80.56 80.08 80.54
70


60
50
40

30
20
10
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพอ
ื่
การสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป

ปีการศึกษา 2565

ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
1. มีความสามารถในการอ่าน 1.4 ผลการประเมินสมรรถนะด้านความสามารถในการสื่อสารของนักเรียน

การเขียน การสื่อสาร และการคิด ปีการศึกษา 2565
คำนวณ
ร้อยละ
100 94.88 96.09 95.35 92.48
90 91.30 87.60 89.13
80
70


60
50
40
30

20
10
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละของสมรรถนะด้านความสามารถในการสื่อสาร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2565




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 34


1. มีความสามารถในการอ่าน 1.5 ผลการประเมินความสามารถในการคิดคำนวณของนักเรียน
การเขียน การสื่อสาร และการคิด ปีการศึกษา 2565
คำนวณ ร้อยละ
90 80.33 81.94 63.91 82.87 72.81 79.32 76.75
80
70
60
50
40
30
20
10
0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม

แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการคิดคำนวณของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไปปีการศึกษา 2565

1.6 ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
สื่อความของนักเรียนทุกรายวิชา ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ 93.04
100 88.98 87.90 76.06 75.29 83.78 84.37
90
80
70
60
50
30
40
20
10
0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม

แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการคิดคำนวณของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไปปีการศึกษา 2565


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
และคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.1 ผลการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมี
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา

และแก้ปัญหา จากกิจกรรมรักการอ่าน ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ 96.52 94.69

100 92.91 92.66 92.28 91.08 93.45
90
80
70
60
50

40
30
20
10

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม

แผนภูมิแสดงร้อยละความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา จากกิจกรรม

รักการอ่านของงานห้องสมุด ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6
ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2565

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 35


2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 2.2 ผลการประเมินสมรรถนะความสามารถในด้านการคิดของนักเรียน
และคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตามระดับชั้นและในภาพรวม ปีการศึกษา 2565
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปัญหา ร้อยละ 96.09

100 93.31 91.74 87.21 92.09 90.76 91.91
90
80
70
60

50
40
30

20
10

0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม
ความสามารถในระดับดีขึ้นไป เท่ากับ ร้อยละ 83.76

แผนภูมิแสดงร้อยละของของผลการประเมินสมรรถนะความสามารถ
ในด้านการคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป
ปีการศึกษา 2565


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 2.3 ผลการประเมินสมรรถนะความสามารถในด้านการแก้ปัญหา
และคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียน ตามระดับบชั้นและในภาพรวม ปีการศึกษา 2565

อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ร้อยละ
และแก้ปัญหา 96.09
100 93.31 92.61 87.60 93.49 88.59 92.05

90
80
70
60
50

40
30
20

10
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะความสามารถ
ในด้านการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป
ปีการศึกษา 2565




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 36


2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 2.4 ผลการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมี
และคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ตามเกณฑ์ของโรงเรียน ของนักเรียน
และแก้ปัญหา ปีการศึกษา 2565


ค่าร้อยละ 90.93 91.28
100
79.86 86.76 76.63 76.21 84.39
80

60
40


20
0
ชั้น ม.1 ชั้น ม.2 ชั้น ม.3 ชั้น ม.4 ชั้น ม.5 ชั้น ม.6 เฉลี่ยรวม

แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่าง

มีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาในการเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์ในระดับดีขึ้นไป ของนักเรียนทุกระดับชั้น ปีการศึกษา
2565


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
3. มีความสามารถในการสร้าง ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
นวัตกรรม 3.1 ผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน

ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ

90 80.89 82.11 82.93 80.49 78.46 81.03
80
70
60
50
40

30
20
10
0








แผนภูมิแสดงร้อยละความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2565




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 37


3. มีความสามารถในการสร้าง 3.2 ผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน
นวัตกรรม จากผลการประเมินของครู ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ
100 89.39 90.91
90 86.36 74.24 81.82 84.85 83.33 84.42
80
70
60
50
40
30
20
10
0








แผนภูมิแสดงร้อยละความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 โดยครูผู้สอนประเมิน ในระดับดีขึ้นไป
ปีการศึกษา 2565


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

สารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 ผลการประเมินสมรรถนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี
ของนักเรียน ตามระดับบชั้นและในภาพรวม ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ

100 95.28 93.04 96.09 93.49 90.76 93.20
90 89.92
80
70

60
50
40

30
20
10
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะความสามารถด้านการ
ใช้เทคโนโลยีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป
ปีการศึกษา 2565




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 38


4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.2 ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สารสนเทศและการสื่อสาร และการสื่อสารในการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565


ร้อยละ
100 95.41 93.36 88.58 88.67 89.30
90 87.24
80 75.95

70
60
50

40
30
20
10
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2565


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม ระดับคุณภาพ ดีเลิศ
หลักสูตรสถานศึกษา 5.1 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา

กำหนด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2565
ร้อยละ
100 79.08 84.39 70.18 87.55 82.98 87.53 81.31 80.16
80 66.09
60
40
20
0




5.2 ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ
74.03 77.17 75.34
80
70
60
50
40
30 25.97 22.83 24.66
20
10
0
ม.3 ม.6 รวม
จบ ไม่จบ




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 39


6. มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
ที่ดีต่องานอาชีพ 6.1 ผลการประเมินความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565


ร้อยละ
100 91.80 90.16 87.54 91.15 88.52 87.87 89.18 86.23 90.49 88.85 89.18
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0







แผนภูมิแสดงร้อยละความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
ระดับดีขึ้นไป ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน

6. มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติ 6.2 ผลการประเมินสมรรถนะความสามารถด้านทักษะชีวิตของนักเรียน
ที่ดีต่องานอาชีพ ตามระดับชั้นและในภาพรวม ปีการศึกษา 2565

ร้อยละ
100 95.31 95.35

93.70 93.04 88.37 88.04 92.41
90
80
70

60
50
40

30
20
10

0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม

แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะความสามารถ
ด้านทักษะชีวิตตามระดับชั้นและในภาพรวม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 1 – 6 ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2565



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 40


6. มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติ 6.3 ผลการประเมินความสามารถด้านทักษะชีวิตในการเรียนรู้ของนักเรียน
ที่ดีต่องานอาชีพ ในรายวิชาการงานอาชีพ ปีการศึกษา 2565


ร้อยละ
100
88.58 87.69 89.00 90.97 87.53
90 84.97 83.99
80
70

60
50

40
30
20

10
0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม


แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้านทักษะชีวิตใน
การเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2565



































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 41


2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน

1. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
ตามที่สถานศึกษากำหนด  ผลการประเมินที่อยู่ในระดับดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 93.35
(สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้)
ผลการประเมินคุณลักษณะอนพึงประสงค์ (%)

ระดับชั้น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
ดีเยี่ยม ดี รวม ดีเยี่ยม ดี รวม
ี่
มัธยมศึกษาปีท 1 90.74 4.20 94.94 87.09 7.02 94.11
ี่
มัธยมศึกษาปีท 2 90.71 4.76 95.47 84.97 7.85 92.82
ี่
มัธยมศึกษาปีท 3 79.73 10.94 90.67 79.15 11.04 90.19
ี่
มัธยมศึกษาปีท 4 94.75 3.95 98.70 87.82 4.77 92.59
ี่
มัธยมศึกษาปีท 5 90.50 4.50 95.00 85.38 8.50 93.88
ี่
3.15
90.84
91.25
87.69
4.00
มัธยมศึกษาปีท 6 87.25 5.39 94.33 85.33 7.05 92.38
ค่าเฉลี่ย
88.94
เฉลี่ยรวม 2 ภาคเรียน 93.35
ผลประเมินระดับดีเยี่ยม 87.13

ผลการประเมินคุณลักษณะอนพึงประสงค์ของนักเรียน

เปรียบเทียบระดับดีเยี่ยม กับ ดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
100.00 90.74 90.71 79.73 94.75 90.50 87.25
80.00
60.00
40.00 4.20 4.76 10.94 3.95 4.50 4.00
20.00
0.00
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒)


ผลการประเมินคุณลักษณะอนพึงประสงค์ของนักเรียน

เปรียบเทียบระดับดีเยี่ยม กับ ดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
100.00 87.09 84.97 79.15 87.82 85.38 87.69
80.00
60.00
40.00 7.02 7.85 11.04 4.77 8.50 3.15
20.00
0.00
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒)


ผลเฉลี่ยรวมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 ในระดับดีและดีเยี่ยม
๘๗.๑๔

๑๐๐.
๘๐.
๖๐.
๔๐. ๖.๒๒
๒๐.
๐.
ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒)


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 42


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
เป็นไทย  ผลการประเมินที่อยู่ในระดับดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 97.62

(สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้)

ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

100.00 96.50 98.70 97.50 98.70 96.65 96.55 98.70

80.00
60.00
40.00

20.00 3.50 1.30 2.50 5.23 3.35 1.50 1.30
0.00
กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่
4
5
6
3
7
1
2

พึงพอใจเกณฑ์ดีขึ้นไป (%) พึงพอใจเกณฑ์พอใช้ (%)



ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
95.50 98.70 96.55 98.80 97.50 98.70
100.00
80.00

60.00
40.00
20.00 4.50 1.30

0.00 1.30 1.50 5.23 4.50
กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่
8 9 10 11 12 13
พึงพอใจเกณฑ์ดีขึ้นไป (%) พึงพอใจเกณฑ์พอใช้ (%)



ภาพรวมของความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ปีการศึกษา 2565

97.62
100

50

0 2.38
พึงพอใจเกณฑ์ดีขึ้นไป (%) พึงพอใจเกณฑ์พอใช้ (%)





รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 43


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
ความแตกต่างและหลากหลาย  ผลการประเมินที่อยู่ในระดับดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.67

(สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้)

การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างและหลากหลาย
99 98 99

100
90
80

70
60
50
40

30
20
10 1 2 1
0 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 วัน

ส่งเสริม ลูกเสือ อาเซียน
ประชาธิปไตย พึงพอใจเกณฑ์พอใช้ (%)
พึงพอใจเกณฑ์ดีขึ้นไป (%)




ภาพรวมของการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างและหลากหลาย


98.67%
100.00%
90.00%
80.00%

70.00%
60.00%
50.00%

40.00%
30.00%
20.00%
10.00% 1.33%

0.00%

พึงพอใจเกณฑ์ดีขึ้นไป (%) พึงพอใจเกณฑ์พอใช้ (%)




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 44


ประเด็นพิจารณา ผลการประเมิน
4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
จิตสังคม  สรุปผลการประเมินสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

คิดเป็นร้อยละ 86.62 (สูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้)
ภาพรวมของสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
87.20

88.00 86.04
86.00
84.00
สุขภาวะทางร่างกาย ลักษณะจิตสังคม

 ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ (สุขภาวะทางร่างกาย)

คิดเป็นร้อยละ 86.04
สุขภาวะทางร่างกาย ปีการศึกษา 2565


100.00 85.75 86.34
10.29 11.59 3.96 2.03
0.00
อ้วน ปกติ ผอม
ภาคเรียนที่ 1 (%) ภาคเรียนที่ 2 (%)

ภาพรวมของสุขภาวะทางร่างกาย
ปีการศึกษา 2565
86.04
100.00

16.08 2.32

0.00 อ้วน ปกติ ผอม



 ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ (ลักษณะจิตสังคม)
คิดเป็นร้อยละ 87.02
ลักษณะจิตสังคม ปีการศึกษา 2565
100.00 85.78 87.77 86.33 88.20
50.00

6.19 8.03 3.63 8.60 5.89 7.78 4.21 7.59
0.00



มีปัญหา เสี่ยง ปกติ
ภาพรวมของลักษณะจิตสังคม ปีการศึกษา 2565
100.00 87.02


4.98 8.00
0.00
มีปัญหา เสี่ยง ปกติ



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 45


Click to View FlipBook Version