The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2023-06-10 06:07:49

SAR2565@TUPY_E-Book

SAR2565@TUPY_E-Book

Keywords: SAR

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 96


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 97


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 98


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 99


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 100


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 101


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 102


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 103


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 104


เกณฑสำหรับการประเมินมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1. ตารางแสดงน้ำหนักคะแนนย่อยและคะแนนเต็มในประเด็นการประเมิน

มาตรฐานการศึกษา คะแนน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน เต็ม

1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชาการของผู้เรียน 5
1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 5
1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์การเรียนรู้
1.1.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาไทย ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
1.1.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาไทยระดับดีขึ้นไป
1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์การเรียนรู้
1.2.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
1.2.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาอังกฤษระดับดีขึ้นไป
1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑ์การเรียนรู้
1.3.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ตั้งแต่ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
1.3.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาคณิตศาสตร์ระดับดีขึ้นไป

2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา 5
3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 5
4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
4.1 ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2 ขึ้นไป
4.2 ผลการใช้แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 5
5.1 ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด
ี่
5.2 การจบหลักสูตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีท 6
ี่
6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 5
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 5
1. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด 5
2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 5
3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย 5
4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 5


2. การกำหนดระดับคุณภาพของค่าเป้าหมาย กำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ ดังนี้
ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ระดับ 4 ดีเลิศ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดับ 1 กำลังพัฒนา

3. การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน กำหนดเป็นช่วงคะแนน ดังนี้

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)

3.00 – 3.49 ดี (3)
2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)





รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 105


4. ขั้นตอนการคำนวณคะแนน คำนวณคะแนนตามลำดับดังนี้
4.1 คำนวณคะแนนด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน มี 6 ประเด็นพิจารณา คือ
- มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
- มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา

- มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
- มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
4.2 คำนวณคะแนนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มี 4 ประเด็นพิจารณา คือ


- การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศกษากำหนด

- ความภูมิใจในทองถิ่นและความเป็นไทย
- การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย

- สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม
4.3 คำนวณคะแนนรวมด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
4.4 คำนวณคะแนนรวมด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
4.5 คำนวณคะแนนรวมทั้ง 2 ด้าน เป็นคะแนนรวมของมาตรฐานที่ 1


5. วิธีการคำนวณคะแนน
5.1 คำนวณค่าร้อยละของผลการดำเนินงานตามประเด็นการประเมิน
5.2 ประเด็นที่มีคะแนนย่อยจากหลายส่วนใช้น้ำหนักคะแนนคำนวณตามสัดส่วน

5.3 นำค่าร้อยละของผลการดำเนินงานคูณน้ำหนักคะแนนแต่ละประเด็นเทียบบัญญัติไตรยางศ์
5.4 รวมคะแนนแต่ละประเด็น (หากมีประเด็นย่อย)

1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน มี 6 ประเด็น ดังนี้

1) ประเด็นที่ 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ (5 คะแนน)
ประเด็นย่อย 1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์การเรียนรู้
1.1.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาไทย ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

(น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ี่

ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศกษากำหนด X 3
100

1.1.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาไทย ระดับดีขึ้นไป
(น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการประเมินการอ่านฯ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด X 2
ี่
100

ี่
คะแนนที่ได้ในประเด็นย่อยท 1.1 วิชาภาษาไทย (เต็ม 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 1.1.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.1.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 106


ประเด็นย่อย 1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์การเรียนรู้
1.2.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
(น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน
ี่

ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศกษากำหนด X 3
100

1.2.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาอังกฤษ ระดับดีขึ้นไป
(น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการประเมินการอ่านฯ ในระดับด (2) ขึ้นไป X 2
ี่

100

คะแนนที่ได้ในประเด็นที่ 1.2 วิชาภาษาอังกฤษ (เต็ม 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน


ประเด็นย่อย 1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑ์การเรียนรู้ (5 คะแนน)
1.3.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
(น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศกษากำหนด X 3
ี่

100

1.3.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาคณิตศาสตร์ ระดับดีขึ้นไป
(น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการประเมินการอ่านฯ ในระดับด (2) ขึ้นไป X 2

ี่
100

คะแนนที่ได้ในประเด็นย่อยท 1.3 วิชาคณิตศาสตร์ (เต็ม 5 คะแนน)
ี่
ค่าคะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน


สรุปคะแนนรวมประเด็นที่ 1 จากประเด็นย่อยทั้งหมด (เต็ม 5 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน

ค่าคะแนนจากรายการประเด็นย่อย 1.1 + รายการประเด็นย่อย 1.2 + รายการประเด็นย่อย 1.3 X 3
100










รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 107


2) ประเด็นที่ 2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปัญหา (5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ี่
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดับดีขึ้นไป (2) X 5
100

3) ประเด็นที่ 3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม (5 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน
ี่
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมในระดับดีขึ้นไป (2) X 5
100


4) ประเด็นที่ 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (5 คะแนน)
ประเด็นย่อย 4.1 ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
(น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน
ี่

ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศกษากำหนด X 2
100

ประเด็นย่อย 4.2 ผลการใช้แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ี่
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทใช้แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน X 2
100


คะแนนที่ได้ในประเด็นที่ 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ค่าคะแนนจาก 4.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 4.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน


5) ประเด็นที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา (5 คะแนน)
ประเด็นย่อย 5.1 ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาฯ
(น้ำหนักคะแนน 2.5 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน

ี่
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศกษากำหนด X 2
100

ประเด็นย่อย 5.2 การจบหลักสูตรการศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6

(น้ำหนักคะแนน 2.5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ี่

ี่
ร้อยละของจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท 3 และชั้นมัธยมศึกษาปท 6 จบหลักสูตร X 2
100

สรุปคะแนนคะแนนที่ได้ในประเด็นที่ 5 (เต็ม 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 5.1 (2.5 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 5.2 (2.5 คะแนน) = 5 คะแนน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 108


6) ประเด็นที่ 6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ (5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพในระดับดีขึ้นไป (2) X 5
ี่
100


1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มี 4 ประเด็น ดังนี้
1) ประเด็นที่ 1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด (5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนดในระดับดีขึ้นไป (2) X 5
ี่
100

2) ประเด็นที่ 2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย (5 คะแนน)


วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมและมีความพึงพอใจในความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย X 5
100


3) ประเด็นที่ 3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย (5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย X 5

100

4) ประเด็นที่ 4 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม (5 คะแนน)
ประเด็นย่อย 4.1 สุขภาวะทางร่างกาย ที่มีผลการประเมินปกติ (น้ำหนักคะแนน 2.5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีสุขภาวะทางร่างกายปกติ X 2.5
ี่
100


ประเด็นย่อย 4.2 ลักษณะจิตสังคม (น้ำหนักคะแนน 2.5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน
ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมีลักษณะจิตสังคมปกติ X 2.5
ี่
100


คะแนนที่ได้ในประเด็นที่ 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ค่าคะแนนจาก 4.1 (2.5 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 4.2 (2.5 คะแนน) = 5 คะแนน


6. แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ.5)
2. รายงานสรุปการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชา
3. รายงานสรุปการประเมินผลด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่อความทุกรายวิชา

4. รายงานสรุปการประเมินผลด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทุกรายวิชา
5. ตรวจสอบแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ
และกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งรางวัลของผู้เรียนสถานศึกษา

6. รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (T-SAR)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 109


7. การสังเกต สอบถาม บันทึกข้อมูล
8. งานทะเบียนโรงเรียน กลุ่มบริหารวิชาการ
9. อื่นๆ (ถ้ามี)


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นที่ 1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
ระดับ คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา

ยอดเยี่ยม ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างชัดเจน และมีส่วนร่วม
4 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
ดีเลิศ ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างชัดเจน และมีส่วนร่วมบ้าง

3 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
ดี ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างชัดเจน
2 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
ปานกลาง ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนขาดความชัดเจน

1 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
กำลังพัฒนา ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนขาดความชัดเจน และไม่มีส่วนร่วม


ประเด็นที่ 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ระดับ คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ชัดเจน
ยอดเยี่ยม มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือ

ของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีการนำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่องและเป็น
แบบอย่างได้
4 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ชัดเจน

ดีเลิศ มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
3 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ชัดเจน
ดี ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกษา

2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ส่งผล
ปานกลาง ต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

1 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแต่ไม่
กำลังพัฒนา ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกษา














รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 110


ประเด็นที่ 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย
ระดับ คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 มีการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ยอดเยี่ยม และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง และเป็นแบบอย่างได้

4 มีการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ดีเลิศ และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง
3 มีการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ดี และทุกกลุ่มเป้าหมาย

2 มีการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ปานกลาง
1 มีการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการตามหลักสูตรสถานศึกษา
กำลังพัฒนา


ประเด็นที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ระดับ คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 พัฒนาครูและบุคลากรทั้งหมดให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถและทักษะ

ยอดเยี่ยม ตามมาตรฐานตำแหน่ง
4 พัฒนาครูและบุคลากรทั้งหมดให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง
ดีเลิศ
3 พัฒนาครูและบุคลากรทั้งหมดให้มีความรู้ ความสามารถตามหน้าที่

ดี
2 ครูบางส่วนได้รับการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้
ปานกลาง
1 ไม่มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้และความสามารถตามหน้าที่
กำลังพัฒนา

ประเด็นที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

ระดับ คำอธิบายระดับคุณภาพ
ื้
5 จัดหรือปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้ปลอดภัยและเออต่อ
ยอดเยี่ยม การเรียนรู้ จัดเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา

ให้ผู้เรียนได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากแหล่งเรียนรู้ตามศักยภาพและเป็นแบบอย่างได้
4 จัดหรือปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้ปลอดภัยและเออต่อ
ื้
ดีเลิศ การเรียนรู้ จัดเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ให้ผู้เรียนได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากแหล่งเรียนรู้ตามศักยภาพ

3 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ปลอดภัยและเออต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ื้
ดี
ื้
2 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ปลอดภัยและเออต่อการจัดการเรียนรู้
ปานกลาง

1 มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม
กำลังพัฒนา





รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 111


ประเด็นที่ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
ระดับ คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ใน
ยอดเยี่ยม การดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผูทีมี


ความต้องการใช้งาน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
ของสถานศึกษา
4 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ดีเลิศ และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน

เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
3 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง หรือครบถ้วน หรือทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ดี และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน

เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน แต่ไม่ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ปานกลาง ไม่มีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน

1 ไม่มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำลังพัฒนา

แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล
ี่
ประเด็นพิจารณาท 1
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี และรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม
๓. สรุปผลความพึงพอใจของครูและผู้เกี่ยวข้องต่อการพัฒนาคุณภาพสถานศกษา


ประเด็นพิจารณาท 2
ี่
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้อง

๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี และรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม
๓. สรุปผลการความพึงพอใจของครูและผู้เกี่ยวข้องต่อการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
4. รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (T-SAR) และรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)


ประเด็นพิจารณาท 3
ี่

1. การสอบถามและสัมภาษณ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครอง
2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย การบริหารจัดการสถานศึกษา เช่น แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ การรายงานผลการสำเร็จ
ของการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษา
ครู บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เป็นต้น
3. ประเมินมาตรฐาน อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และห้องพิเศษ

ต่างๆ ของสถานศึกษา





รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 112


ี่
ประเด็นพิจารณาท 4

๑. การสังเกตพฤติกรรมของครู และการสอบถามสัมภาษณครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
๒. สรุปผลการประเมินและการพัฒนาครูตามมาตรฐานความรู้ของมาตรฐานความรู้ของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖
๓. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย การพัฒนาตนเองของครู รายงานผลการปฏิบัติงานครูรายบุคคล เป็นต้น


ี่
ประเด็นพิจารณาท 5
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา

รายงานประจำปี และสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม

ี่
ประเด็นพิจารณาท 6
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้เกี่ยวข้อง

๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ เช่น ระบบโครงสร้างการบริหารงานเทคโนโลยี
สารสนเทศของสถานศึกษา เป็นต้น

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1. ตารางแสดงน้ำหนักคะแนนย่อยและคะแนนเต็มในประเด็นการประเมิน
น้ำหนัก คะแนน
มาตรฐานการศึกษา
คะแนน เต็ม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 25 5
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 5 5
1. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่กระตุ้นให้ผู้เรียนได้รับกระบวนการคิดและได้ปฏิบัติจริง
2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิด จนสามารถสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถ
สื่อสาร ถ่ายทอด นำเสนอองค์ความรู้ได้
3. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
4. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
5. มีรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านการเรียน
6. มีรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะสำหรับนักเรียน ที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป
7. มีโครงการหรือกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
8. มีรายงานและสรุปผลสำเร็จของโครงการหรือความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหา
นักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 5 5
1. จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ พิจารณาจากการสอนการใช ้
เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
2. มีคณะกรรมการงานพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาระดับสถานศึกษา
3. การขับเคลื่อนกลไกให้มีการสร้างสื่อ การใช้สื่อ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
4. การกำหนดผู้รับผิดชอบงานทางด้านสื่อ นวัตกรรม
5. การจัดระบบการบริการ สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ
6. มีข้อมูลสารสนเทศทางด้านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
7. มีข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ครู และผู้บริหารเป็นรายบุคคลถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
8. การนำสื่อ การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน








รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 113


น้ำหนัก คะแนน
มาตรฐานการศึกษา
คะแนน เต็ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 25 5

3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 5 5
1. การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ และจัดทำ
โครงการสอนรายบุคคล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามโครงการสอน
รายบุคคลด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียน
การสอน
4. บริหารจัดการชั้นเรียนและจัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
5. การใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา
6. การศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
โดยมีงานวิจัยหรือผลงาน หรือสื่อ นวัตกรรมอย่างน้อยปีละ 1 ชิ้น
7. มีการประเมินผลและรายงานการจัดรายงานนิทรรศการ ทางวิชาการของโรงเรียน และรายงาน
กิจกรรม IS
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 5 5
1. มีการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญ ตามหลักสูตรโดยการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
2. มีการกำหนดขั้นตอนการวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ
3. ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมาย และการจัดการเรียนการสอน
4. ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
5. ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้ประโยชน์
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 5 5
1. การสร้างเสริมแนวคิดเรื่องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มุ่งการพัฒนา
คุณภาพจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
2. การนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
3. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
4. การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสถานศึกษาเป็นการทำงานปกติ
ของสถานศึกษา
5. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
6. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
7. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้สอดคล้องกับภารกิจการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
8. การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

2. การกำหนดระดับคุณภาพของค่าเป้าหมาย กำหนดเป็นระดับคณภาพ 5 ระดับ ดังนี้

ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ระดับ 4 ดีเลิศ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดับ 1 กำลังพัฒนา


เกณฑ์การให้คะแนน
สถานศึกษาดำเนินการได้จริง ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
จำนวน 8 ข้อ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)

จำนวน 7 ข้อ 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 6 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)
จำนวน 4 – 5 ข้อ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)

จำนวน 1 – 3 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 114


3. วิธีการคำนวณคะแนน
3.1 พิจารณาผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนในแต่ละประเด็น โดยพิจารณากิจกรรมที่ดำเนินการในประเด็นตัวชี้วัด

3.2 นำไปเทียบกับเกณฑการให้คะแนน พิจารณาระดับคุณภาพ
3.3 หาค่าร้อยละของผลการประเมินโดยใช้สูตร

จำนวนกิจกรรมทดำเนินการได้จริงในแต่ละประเด็นตัวชี้วัด X 100
ี่
จำนวนกิจกรรมทั้งหมดในแต่ละประเด็นตัวชี้วัด



4. แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย หรือข้อมูลเชิงประจักษ เช่น ระบบโครงสร้างการบริหารงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา เป็นต้น


5. ประเด็นพิจารณา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต (5 คะแนน)
คำอธิบาย

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้เชิงบวก ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง

มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการความช่วยเหลือพเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ
การแสดงออก การแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงานและความสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง

เกณฑ์การพิจารณา
1. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนได้รับกระบวนการคิด และได้ปฏิบัติจริง
2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิด จนสามารถสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถสื่อสาร

ถ่ายทอด นำเสนอองค์ความรู้ได้
3. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ ์
4. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

5. มีรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านการเรียน
6. มีรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะสำหรับนักเรียน ที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
7. มีโครงการหรือกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ ์
8. มีรายงานและสรุปผลสำเร็จของโครงการหรือความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียน

ที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ ์

เกณฑ์การให้คะแนน

สถานศึกษาดำเนินการได้จริง ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
จำนวน 8 ข้อ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
จำนวน 7 ข้อ 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 6 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)

จำนวน 4 – 5 ข้อ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
จำนวน 1 – 3 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)






รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 115


แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของทุกกลุ่มสาระ
2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
3. บันทึกการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านการเรียน

4. โครงการหรือกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
5. เอกสารประกอบการสอน ร่องรอย รูปภาพ

ี่
ตัวบ่งชี้ท 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ (5 คะแนน)
คำอธิบาย
มีการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้าง
โอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย


เกณฑ์การพิจารณา
1. จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ พิจารณาจากการสอน การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
2. มีคณะกรรมการงานพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาระดับสถานศึกษา

3. การขับเคลื่อนกลไกให้มีการสร้างสื่อ การใช้สื่อ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
4. การกำหนดผู้รับผิดชอบงานทางด้านสื่อ นวัตกรรม
5. การจัดระบบการบริการ สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ

6. มีข้อมูลสารสนเทศทางด้านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้
7. มีข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ครู และผู้บริหารเป็นรายบุคคลถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
8. การนำสื่อ การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน

เกณฑ์การให้คะแนน

สถานศึกษาดำเนินการได้จริง ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
จำนวน 8 ข้อ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)

จำนวน 7 ข้อ 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 6 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)
จำนวน 4 – 5 ข้อ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)

จำนวน 1 – 3 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)

แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล

1. ข้อมูลสารสนเทศทางด้านเทคโนโลยี การใช้อินเทอร์เน็ต และแหล่งเรียนรู้
2. ข้อมูลสารสนเทศทางด้านสื่อการเรียนการสอนของครู การให้บริการทางด้านเทคโนโลยี
3. สรุปผลความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารของผู้เรียน


ี่
ตัวบ่งชี้ท 3.3 มการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก (5 คะแนน)

คำอธิบาย
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยการเน้นปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้เด็กรักครู ครูรักเด็กและเด็กรักเด็ก

เด็กรักที่จะเรียนรู้อย่างมีความสุข




รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 116


เกณฑ์การพิจารณา
1. การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ และจัดทำโครงการสอน
รายบุคคล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล

3. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามโครงการสอนรายบุคคลด้วย
กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน
4. บริหารจัดการชั้นเรียนและจัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างมีความสุข

5. การใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา
6. การศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ
โดยมีงานวิจัยหรือผลงาน หรือสื่อ นวัตกรรมอย่างน้อยปีละ 1 ชิ้น
7. มีการประเมินผลและรายงานการจัดรายงานนิทรรศการ ทางวิชาการของโรงเรียน และรายงานกิจกรรม IS


เกณฑ์การให้คะแนน
สถานศึกษาดำเนินการได้จริง ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

จำนวน 7 ข้อ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
จำนวน 6 ข้อ 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 5 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)

จำนวน 4 – 5 ข้อ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
จำนวน 1 – 3 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)

แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล

1. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการปฏิบัติงานของครู เช่น แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อ นวัตกรรม
2. การสังเกตการจัดการเรียนการสอนของครู
3. การสอบถามและการสัมภาษณ์ครู ผู้เรียน ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง


ตัวบ่งชี้ท 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน (5 คะแนน)
ี่
คำอธิบาย
มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร โดยการประเมิน
ผู้เรียนจากสภาพจริง มีขั้นตอนการประเมินอย่างเป็นระบบ ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม

โดยผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการประเมิน และมีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และผู้เรียนนำไปใช้
ประโยชน์


เกณฑ์การพิจารณา
1. มีการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรโดยการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
2. มีการกำหนดขั้นตอนการวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ
3. ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมาย และการจัดการเรียนการสอน

4. ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
5. ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้ประโยชน์






รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 117


เกณฑ์การให้คะแนน
สถานศึกษาดำเนินการได้จริง ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
จำนวน 5 ข้อ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)

จำนวน 4 ข้อ 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 3 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)
จำนวน 2 ข้อ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
จำนวน 1 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)


แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. การสอบถามและสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย รายงานการวัดและประเมิน
3. การตรวจสอบจากแผนการจัดการเรียนรู้
4. การประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร
5. การสังเกตสภาพบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้


ี่
ตัวบ่งชี้ท 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ (5 คะแนน)
คำอธิบาย
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยการจัดให้บุคลากร

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ให้เกิด
ขึ้นกับครูและบุคลากรทุกคน และพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จนเป็นวัฒนธรรมในการทำงาน
มีการนำผลการดำเนินงานมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือการมีวิจัยและเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศมาใช้พัฒนาการจัดการ
เรียนรู้มีการเผยแพร่และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


เกณฑ์การพิจารณา
1. การสร้างเสริมแนวคิดเรื่องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มุ่งการพัฒนาคุณภาพ

จัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
2. การนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
3. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
4. กาสร้างวัฒนธรรมคุณภาพให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสถานศึกษาเป็นการทำงานปกติของสถานศึกษา
5. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

6. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
7. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้สอดคล้องกับภารกิจการปฏิบัติงานของสถานศกษา

8. การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง


เกณฑ์การให้คะแนน
สถานศึกษาดำเนินการได้จริง ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
จำนวน 8 ข้อ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)

จำนวน 7 ข้อ 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 6 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)

จำนวน 4 – 5 ข้อ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
จำนวน 1 – 3 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 118


แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. การสอบถามและสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง

2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย หรือข้อมูลเชิงประจักษ เช่น การใช้ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการพัฒนาคุณภาพการจัด

การเรียนรู้ เป็นต้น
















































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 119


ภาพประกอบการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประชุมกำหนดค่าเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา















































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 120


ตัวอย่างรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน
















































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 121


คณะกรรมการตรวจสอบรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน
















































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 122


การเข้าร่วมประชุมชี้แจงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
















































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 123


การประชุมประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา วันอังคารที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2566

รอดำเนินการ














































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 124


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 125


มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

ภาพประกอบประเด็นที่ 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ











ภาพประกอบประเด็นที่ 2 มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา











ภาพประกอบประเด็นที่ 3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม











ภาพประกอบประเด็นที่ 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร










รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 126


ภาพประกอบประเด็นที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา











ภาพประกอบประเด็นที่ 6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ











1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

ภาพประกอบประเด็นที่ 1 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด











ภาพประกอบประเด็นที่ 2 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย










รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 127


ภาพประกอบประเด็นที่ 3 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย











ภาพประกอบประเด็นที่ 4 มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม











มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ภาพประกอบประเด็นที่ 1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน












ภาพประกอบประเด็นที่ 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา










รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 128


ภาพประกอบประเด็นที่ 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย











ภาพประกอบประเด็นที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ











ภาพประกอบประเด็นที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้











ภาพประกอบประเด็นที่ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้












รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 129


มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ภาพประกอบประเด็นที่ 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้






















ภาพประกอบประเด็นที่ 2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้























รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 130


ภาพประกอบประเด็นที่ 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก























ภาพประกอบประเด็นที่ 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน











ภาพประกอบประเด็นที่ 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
















รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 131


ลิงก์ข้อมูลเพิ่มเติม (SAR 2565)


https://drive.google.com/drive/folders/1OGrVnWtywJRdlfQgWyMwp2N3Fl3iG3Z4?usp=sharing



















































รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 132


คำรับรองรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนเตรียมอดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ปีการศึกษา 2565
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
-----------------------------------------------------------------------------------

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน

ื้
สถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพนฐานของสถานศึกษา และ
รับรองรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ยานนาเวศ สหวิทยาเขตภาคีนพวัฒน์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันอังคาร
ที่ 4 เมษายน 2566 โดยได้ตรวจสอบพิจารณาความถูกต้องของรายงาน ในประเด็นต่อไปนี้ เรียบร้อยแล้ว

1. ตรวจสอบคำผิด
2. ตรวจสอบรูปแบบให้เป็นไปตามที่ สพม.กท 2 กำหนด
3. ตรวจสอบความถูกต้องของผลการติดตามตรวจสอบ ตลอดจนความสอดคล้อง ตั้งแต่เนื้อหา จุดเด่น
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนาของสถานศึกษาในอนาคต


ลงชื่อคณะกรรมการ



ลงชื่อ ………………………………………........ ลงชื่อ ………………………………………........

(นายธนพล พรมโอก) (นางสาวสาธิกา คุตกาล)
หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ



ลงชื่อ ………………………………………........
(นางพลอยกาญจน์ พงเพียร)
ึ่
ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ





ลงชื่อ ………………………………………........ ลงชื่อ ………………………………………........

ุ่
(นางสาวขนิษฐา พมสงวน) (นายวิวัฒน์ ทัศวา)
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ




ลงชื่อ ………………………………………........

(นายวีระชัย คล้ายทอง)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ









รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 133


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2565) หน้า 134


Click to View FlipBook Version