The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ปรับครั้งที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางประเมินSAR ปรับครั้งที่ 2

แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ปรับครั้งที่ 2

แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ฉบบั ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี ๒

สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

(ฉบับปรบั ปรุง ครั้งที่ ๒)

สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คํานํา

กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กําหนดใหสถานศึกษาแตละแหงจัดใหมีระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเปนไป
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด ประกอบดวย ๓ มาตรฐาน
9 ประเด็นการประเมิน ไดแก มาตรฐานที่ ๑ คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค มาตรฐานที่ ๒
การจัดการอาชีวศกึ ษา และมาตรฐานท่ี ๓ การสรา งสงั คมแหง การเรียนรู

ในการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งเปนการประเมินผล และการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาน้ัน จะตองมีเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาในเชิงประจักษที่สอดคลองกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา จึงไดจัดทําแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่ีมีเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพไดทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ จํานวน 5 ดาน ไดแก ดานผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา ดานหลักสูตรและการจัดการเรียน
การสอน ดานครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษา ดานการมีสวนรวม และดานปจจัยพ้ืนฐาน ซ่ึงมีความสัมพันธและ
เชื่อมโยงกับมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561

สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

คาํ ชี้แจง

แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จัดทํา
ขึ้นเพ่ือใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งมีสาระสําคัญประกอบดวย มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
กรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่สัมพันธและ
เชื่อมโยงกับการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ที่สัมพันธและเชื่อมโยงตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 เกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาที่สัมพันธและเชื่อมโยงตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 การรายงานผลการประเมินคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561 ผานระบบออนไลน และรายงานผลการประเมิน
คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สถานศึกษาสามารถนําแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
การอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ไปใชในการประเมินผล ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และใชผล
จากการประเมินเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอยางตอเน่ือง เพ่ือสรางความเช่อื มั่นใหแก
ผูมีสวนเก่ียวของและสาธารณชนวาสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา และบรรลุเปาประสงคข องหนว ยงานตนสงั กัด

สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

สารบัญ

หนา

คาํ นํา ก

คาํ ชีแ้ จง ข

สารบัญ ค

สารบัญตาราง ง

สารบญั ภาพ จ

1. มาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561 1
2. กรอบแนวคิดการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 4

ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ทส่ี ัมพนั ธแ ละเชื่อมโยง 9
กับการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา 17
2.1 กรอบแนวคดิ การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2.2 คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ 45
47
ทีส่ ัมพนั ธแ ละเชือ่ มโยงกบั การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา
3. การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสัมพนั ธและเช่อื มโยง

ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
4. เกณฑการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีสัมพนั ธและเชื่อมโยง

ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561
4.1 การประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาทส่ี ัมพันธและเชื่อมโยง

กบั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561
4.2 เกณฑการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทสี่ มั พนั ธและเชอ่ื มโยง

ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561
๕. การรายงานผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561 ผานระบบออนไลน
๖. รายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๖.1 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

รายมาตรฐานและรายประเด็นการประเมนิ
๖.2 สรปุ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ภาคผนวก ฉ

ก. กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ข. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 แสดงความสัมพันธแ ละเชอ่ื มโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและประเด็นการประเมิน 10
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 กับการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษา สาํ หรับสถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ
และระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสงู

2 แสดงความสมั พันธและเชอื่ มโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและประเด็นการประเมิน 13
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 กับการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
อาชีวศกึ ษา สาํ หรบั สถานศึกษาท่จี ัดการศึกษาเฉพาะการฝกอบรมวิชาชพี

สารบญั ภาพ หนา

ภาพที่ 4

1 กรอบแนวคดิ การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 8
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ทสี่ มั พนั ธแ ละเชือ่ มโยง 46
กบั การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

2 คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561

3 การรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561 ผานระบบออนไลน www.vesar.org

1.

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561

จากสาระสําคัญของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไขเพ่ิมเติม มาตรา ๓๔
วรรคสองและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๗ กําหนดให
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา พิจารณามาตรฐานการอาชีวศึกษาที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ ประกอบกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๓
กําหนดใหสถานศึกษาจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
ท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงไดพิจารณามาตรฐาน
การอาชีวศึกษา เพื่อใชในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาดานอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสูง และการฝกอบรมวิชาชีพ ประกอบดว ย ๓ มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมนิ ดังน้ี

มาตรฐานที่ 1 คณุ ลักษณะของผสู ําเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศึกษาทีพ่ ึงประสงค
การจัดการอาชีวศึกษา เปนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีความรู

มีทักษะและการประยุกตใชเปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม
และคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค ประกอบดว ยประเด็นการประเมนิ ดังนี้

๑.๑ ดานความรู
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรูเก่ียวกับขอเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติตาง ๆ ที่
เก่ียวของกับสาขาวิชาท่ีเรียน หรือทํางาน โดยเนนความรูเชิงทฤษฎี และหรือขอเท็จจริง เปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ
อาชวี ศึกษาแตล ะระดับการศึกษา
๑.๒ ดา นทักษะและการประยกุ ตใช
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเปนไปตาม
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา สามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงาน และการดํารงชีวิตอยูรวมกับ
ผอู ื่นไดอยา งมีความสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีสขุ ภาวะทด่ี ี
๑.๓ ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค
ผสู าํ เร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคตแิ ละกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและ
รักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่ของตนเองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ มีจิตสาธารณะ และมจี ิตสาํ นึกรกั ษส ่ิงแวดลอ ม

2

มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชวี ศึกษา
สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและจํานวนตามเกณฑท่ีกําหนด ใชหลักสูตรฐานสมรรถนะใน

การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ
มีความสําเร็จในการดําเนินการตามนโยบายสําคัญของหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษา
ประกอบดว ยประเดน็ การประเมนิ ดังนี้

๒.๑ ดา นหลักสูตรอาชีวศึกษา
ส ถานศึกษาใชหลักสูตรฐ านส มรรถนะท่ีส อดคลองกับคว ามตองการของผูเรียน ชุมช น
สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาใหม หรือกลุมวิชาเพ่ิมเติมใหทันตอ
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการหรือ
หนว ยงานท่ีเก่ยี วของ
๒.๒ ดา นการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและมีจํานวนตามเกณฑที่กําหนด ไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบ
ตอเน่ือง เพื่อเปนผูพรอมท้ังดานคุณธรรม จริยธรรมและความเขมแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอน
ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ตอบสนองความตองการของผูเรียนท้ังวัยเรียนและวัยทํางาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิ
อาชวี ศึกษา แตล ะระดบั การศึกษา ตามระเบยี บหรือขอบังคับเกยี่ วกบั การจัดการศกึ ษาและการประเมินผลการเรียนของ
แตละหลกั สตู ร สง เสริม สนับสนุน กํากับ ดแู ลใหครูจัดการเรียนการสอนรายวชิ าใหถ กู ตอง ครบถวน สมบูรณ
๒.3 ดา นการบริหารจดั การ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานท่ี หองเรียน หองปฏิบัติการ
โรงฝกงาน ศูนยวิทยบริการ สื่อ แหลงเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ และงบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู
อยางเต็มศกั ยภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ
๒.4 ดา นการนํานโยบายสกู ารปฏิบตั ิ
สถานศึกษามีความสําเร็จในการดําเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสําคัญที่หนวยงาน
ตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา
และผเู รยี น รวมทัง้ การชว ยเหลือ สงเสริม สนบั สนุนจากผูปกครอง ชุมชน สถานประกอบการ และหนวยงานท่ีเก่ียวของ
ท้ังภาครฐั และภาคเอกชน

3

มาตรฐานท่ี 3 การสรางสังคมแหงการเรยี นรู
สถานศึกษารวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ เพ่ือสรางสังคมแหงการเรียนรู มีการจัดทํานวัตกรรม

สง่ิ ประดิษฐ งานสรา งสรรค งานวจิ ัย ประกอบดว ยประเดน็ การประเมิน ดังนี้
๓.1 ดานความรว มมอื ในการสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู
สถานศึกษามีการสรางความรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ

ในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
โดยใชเทคโนโลยที ่เี หมาะสม เพ่อื พฒั นาผเู รยี นและคนในชุมชนสูสงั คมแหงการเรียนรู

๓.2 ดานนวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ งานสรา งสรรค งานวจิ ยั
สถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย โดยผูบริหาร
ครู บุคลากรทางการศึกษา ผูเรียน หรือรวมกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนไดตาม
วัตถุประสงค และเผยแพรสูส าธารณชน

๒.
กรอบแนวคดิ การประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่ีสัมพันธและ
เช่ือมโยงกับการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
อาชวี ศกึ ษา

2.1 กรอบแนวคิดการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สามารถนํามากาํ หนดกรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษา

ของสถานศกึ ษา แสดงดงั ภาพท่ี 1

มาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561 คณุ ภาพการศึกษา ระดับคณุ ภาพการศกึ ษา
ของสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา ของสถานศกึ ษา

ทส่ี มั พนั ธแ ละเชือ่ มโยง
ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานที่ 1 คุณลกั ษณะของผสู ําเร็จ 1. ดา นผเู รยี นและผสู าํ เรจ็ การศึกษา ยอดเยี่ยม
การศึกษาอาชีวศกึ ษาท่ีพงึ ประสงค 2. ดา นหลกั สตู รและการจดั การเรยี น (ชวงรอ ยละ 80.00 - 100)

๑.๑ ดานความรู การสอน ดีเลิศ
๑.๒ ดานทกั ษะและการประยกุ ตใช 3. ดา นครผู สู อนและผบู รหิ าร (ชว งรอยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙)
๑.๓ ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
สถานศึกษา ดี
คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค 4. ดานการมสี ว นรวม (ชว งรอ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙)
มาตรฐานที่ 2 การจดั การอาชวี ศึกษา 5. ดา นปจจยั พืน้ ฐาน
ปานกลาง
๒.๑ ดา นหลักสตู รอาชวี ศกึ ษา (ชว งรอยละ ๕๐.๐๐ – 59.๙๙)
๒.๒ ดา นการจดั การเรยี นการสอน
กําลังพัฒนา
อาชีวศกึ ษา (นอยกวารอ ยละ ๕๐.๐๐)
๒.3 ดา นการบริหารจัดการ
๒.4 ดานการนํานโยบายสูการปฏิบตั ิ
มาตรฐานที่ 3 การสรางสงั คมแหง
การเรยี นรู
๓.1 ดานความรว มมือในการสรา ง

สงั คมแหง การเรียนรู
๓.2 ดานนวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ

งานสรางสรรค งานวจิ ัย

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561
ทสี่ มั พนั ธและเช่อื มโยงกบั การประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา

5

จากกรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
พ.ศ. 2561 แสดงใหเห็นความสัมพันธและเช่ือมโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 จํานวน
3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ไดแก มาตรฐานท่ี 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชวี ศึกษาท่ีพึงประสงค
จาํ นวน 3 ประเดน็ การประเมิน มาตรฐานที่ 2 การจดั การอาชวี ศึกษา จํานวน ๔ ประเดน็ การประเมิน และมาตรฐานที่ 3
การสรา งสังคมแหงการเรยี นรู จํานวน ๒ ประเดน็ การประเมิน กบั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา จํานวน
5 ดาน ไดแก ดานผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดานครูผูสอนและ
ผบู ริหารสถานศึกษา ดานการมีสวนรว ม และดานปจจยั พืน้ ฐาน โดยผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
แบงออกเปน ๕ ระดับ ไดแก ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กาํ ลงั พัฒนา

6

2.๒ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่สัมพันธและเชื่อมโยงกับ
การประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สําหรับสถานศึกษา
ที่จัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
ดานอาชีวศึกษาใหเปนไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 สํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา จึงไดกําหนดเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่ีสมั พันธและเชอื่ มโยงกบั การประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา จํานวน 5 ดา น ดังนี้

ดานที่ 1 ดา นผูเ รียนและผูสําเรจ็ การศกึ ษา
๑.๑ การดแู ลและแนะแนวผูเ รยี น
1.๒ ผเู รียนมคี ุณลักษณะที่พึงประสงค
1.๓ ผเู รียนมสี มรรถนะในการเปน ผปู ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
1.๔ ผลงานของผเู รยี นดานนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ งานสรา งสรรค งานวิจยั
๑.๕ ผลการแขง ขันทกั ษะวิชาชพี
1.๖ ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ
1.๗ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ านอาชวี ศกึ ษา (V-NET)
๑.๘ การมงี านทําและศึกษาตอ ของผสู ําเรจ็ การศึกษา

ดานที่ 2 ดานหลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอน
2.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ
2.1.1 การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะอยางเปนระบบ
2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนด

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ
2.2 การจัดการเรียนรูสกู ารปฏิบัตทิ ี่เนนผูเรยี นเปน สาํ คัญ
2.2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรสู ูการปฏิบัติ
2.2.2 การจัดทําแผนการจดั การเรยี นรสู ูการปฏบิ ตั ิท่ีเนน ผูเรียนเปนสาํ คัญและนําไปใชใ นการจดั การเรียน

การสอน
ดา นท่ี 3 ดา นครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษา

3.1 ครูผูส อน
3.1.1 การจัดการเรียนการสอน
3.1.2 การบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี น
3.1.3 การพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ

3.2 ผูบ ริหารสถานศกึ ษา
3.2.1 การบริหารสถานศกึ ษาแบบมสี วนรวม
3.2.2 การบริหารจัดการระบบขอมลู สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา

7

ดา นที่ 4 ดานการมสี ว นรวม
4.1 การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี
4.2 การระดมทรพั ยากรเพื่อการจดั การเรียนการสอน
4.3 การบรกิ ารชมุ ชนและจติ อาสา

ดา นท่ี 5 ดานปจ จัยพื้นฐาน
5.1 อาคารสถานท่ี หองเรียน หอ งปฏบิ ตั ิการ โรงฝกงาน หรอื งานฟารม
5.2 ระบบสาธารณปู โภคพ้ืนฐาน
5.3 แหลงเรียนรแู ละศูนยวทิ ยบริการ
5.4 ระบบอนิ เทอรเนต็ ความเรว็ สงู เพื่อการใชงานดา นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
5.5 การเขา ถงึ ระบบอินเทอรเ นต็ ความเรว็ สงู เพอื่ การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี น

คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561 แสดงดังภาพท่ี 2

คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษาตามมาต

50%

1) ดา นผเู รยี นและผูสาํ เรจ็ การศกึ ษา
๑ การดแู ลและแนะแนวผูเรียน 2 %
๒ ผเู รยี นมคี ณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค 2 %
๓ ผูเรยี นมสี มรรถนะในการเปน ผูประกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ ๓ %
๔ ผลงานของผเู รียนดานนวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ งานสรางสรรค งานวจิ ยั ๓ %
๕ ผลการแขงขันทกั ษะวชิ าชพี 2 %
๖ ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ๒๐ %
๗ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า นอาชีวศกึ ษา (V-NET) 3 %
10๘ การมงี านทาํ และศึกษาตอของผูสาํ เรจ็ การศกึ ษา ๑5 %
% 1

2) ดานหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน

1 การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอยา งเปน ระบบ 2 % 5
2 การพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ หรอื ปรบั ปรงุ รายวชิ า
1
หรือปรับปรงุ รายวิชาเดิม หรือกาํ หนดรายวชิ าเพิ่มเตมิ 3 % 2
3 คณุ ภาพของแผนการจดั การเรยี นรูส กู ารปฏบิ ัติ 2 % 3
4 การจัดทําแผนการจดั การเรียนรสู กู ารปฏบิ ตั ทิ เ่ี นน ผูเรยี นเปน สาํ คัญ 4
5
รวม 5 ดา น 25 ขอและนาํ ไปใชใ นการจัดการเรียนการสอน 3 %
ภาพที่ 2 คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา

ตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561

20%
3) ดานครผู ูส อนและผูบริหารสถานศึกษา

1 การจดั การเรียนการสอน ๕ %
2 การบรหิ ารจัดการช้นั เรียน ๓ %

10%3 การพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ ๒ %

๔ การบรหิ ารสถานศกึ ษาแบบมสี วนรวม ๕ %
๕ การบริหารจัดการระบบขอ มลู สารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การสถานศึกษา ๕ %
4) ดานการมีสว นรวม 8

10% 1 การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ๖ %
2 การระดมทรพั ยากรเพอื่ การจดั การเรียนการสอน ๒ %
3 การบรกิ ารชุมชนและจิตอาสา ๒ %

5) ดา นปจจยั พนื้ ฐาน
อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบตั กิ าร โรงฝก งาน หรอื งานฟารม ๒ %
ระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน ๒ %
แหลง เรยี นรแู ละศูนยวทิ ยบรกิ าร ๒ %
ระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสงู เพ่อื การใชงานดา นสารสนเทศภายในสถานศึกษา ๒ %
การเขา ถงึ ระบบอินเทอรเ น็ตความเร็วสงู เพ่ือการจัดการเรยี นการสอน
ในช้ันเรยี น ๒ %

า พ.ศ. 2561

3.

การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ที่สัมพนั ธและเชือ่ มโยง ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 สําหรับสถานศึกษาที่จัด
การศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ใชเปนแนวทางในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาดานอาชีวศึกษาให
เปนไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงได
กาํ หนดแนวทางการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561 ประกอบดว ย
3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ดังนี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลกั ษณะของผสู าเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาที่พึงประสงค
1.1 ดานความรู
1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช
1.3 ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค

มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศกึ ษา
2.1 ดานหลกั สตู รอาชีวศึกษา
2.2 ดา นการจดั การเรียนการสอนอาชวี ศึกษา
2.3 ดา นการบริหารจดั การ
2.4 ดานการนาํ นโยบายสูการปฏบิ ัติ

มาตรฐานท่ี 3 การสรา งสังคมแหง การเรยี นรู
3.1 ดานความรวมมือในการสรางสังคมแหงการเรียนรู
3.2 ดานนวตั กรรม สิ่งประดิษฐ งานสรา งสรรค งานวิจัย

10

ตารางท่ี 1 แสดงความสัมพนั ธแ ละความเช่ือมโยงระหวา งมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและประเดน็ การประเมนิ
ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561 กบั การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา
สําหรับสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการศึกษาในระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี และระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สูง

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา การประเมินคณุ ภาพการศึกษา คา น้าํ หนัก
และประเดน็ การประเมิน ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา (คะแนน)
ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา (๕ ดา น ๒๕ ขอการประเมิน)
(47)
พ.ศ. 2561 (23)
20
มาตรฐานที่ ๑ คุณลกั ษณะของผสู ําเรจ็ การอาชีวศกึ ษาทพ่ี ึงประสงค 3
๑.๑ ดานความรู
(5)
๑.๒ ดา นทักษะและการประยกุ ตใช ๑.๖ ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี 3
๑.๗ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ดา นอาชีวศกึ ษา (V-NET) 2
๑.๓ ผูเรียนมสี มรรถนะในการเปนผูประกอบการหรือ (19)
ประกอบอาชีพอสิ ระ
2
๑.๕ ผลการแขง ขันทักษะวิชาชีพ 2
๑.๓ ดานคุณธรรม จริยธรรม และ 15
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค

๑.๑ การดูแลและแนะแนวผูเรยี น

๑.๒ ผเู รยี นมีคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค

๑.๘ การมงี านทําและศึกษาตอของผสู าํ เร็จการศึกษา

11

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา การประเมินคณุ ภาพการศึกษา คา นํ้าหนัก
และประเดน็ การประเมิน ของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา (คะแนน)
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา (๕ ดา น ๒๕ ขอการประเมนิ )
(41)
พ.ศ. 2561 (5)
2
มาตรฐานที่ ๒ การจัดการอาชีวศึกษา 3
๒.๑ ดา นหลกั สูตรอาชีวศกึ ษา
(17)
๒.๑.๑ การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางเปน 2
ระบบ 3
๒.๑.๒ การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือ
ปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ 5
กําหนดรายวชิ าเพ่ิมเติม 3
๒.๒ ดานการจัดการเรียนการสอน 2
อาชวี ศกึ ษา 2
2.2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรูสูการ (13)
ปฏิบัติ 5
2.2.2 การจดั ทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติท่ี 2
เนนผูเรียนเปนสําคัญและนําไปใชในการจัดการเรียน 2
การสอน 2
๓.๑.๑ การจัดการเรยี นการสอน 2
๓.๑.๒ การบริหารจัดการช้ันเรยี น (6)
๕.๕ การเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตความเรว็ สูง 6
เพื่อการจัดการเรียนการสอนในชัน้ เรียน
๓.๑.๓ การพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ
๒.๓ ดา นการบรหิ ารจัดการ
๓.๒.๒ การบรหิ ารจัดการระบบขอมลู สารสนเทศ
เพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษา
๕.๑ อาคารสถานที่ หอ งเรยี น หอ งปฏิบตั กิ าร
โรงฝก งาน หรืองานฟารม
๕.๒ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
๕.๔ ระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพื่อการใชงาน
ดานสารสนเทศภายในสถานศึกษา
5.3 แหลงเรยี นรูและศนู ยวิทยบริการ
๒.๔ ดา นการนํานโยบายสูการปฏิบัติ
๔.๑ การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

12

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา คา นํา้ หนกั
และประเด็นการประเมิน ของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา (คะแนน)
ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา (๕ ดา น ๒๕ ขอการประเมนิ )
(12)
พ.ศ. 2561 (9)
5
มาตรฐานท่ี ๓ การสรางสังคมแหงการเรียนรู 2
๓.๑ ดานความรวมมือในการสราง 2
สังคมแหง การเรียนรู (3)
3
๓.๒.๑ การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมสี ว นรว ม 100
๔.๒ การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียน
การสอน
๔.๓ การบรกิ ารชุมชนและจิตอาสา
๓.๒ ดานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ
งานสรา งสรรค งานวิจัย
๑.๔ ผลงานของผูเรยี นดานนวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ
งานสรางสรรค งานวิจยั
๓ มาตรฐาน ๙ ประเดน็ การประเมนิ รวม น้ําหนัก (คะแนน) ๕ ดาน ๒๕ ขอการประเมิน

ตารางท่ี 2 13

แสดงความสัมพันธและความเชอ่ื มโยงระหวา งมาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและประเดน็ การประเมิน
ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561 กบั การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชวี ศึกษา
สําหรับสถานศึกษาทีจ่ ดั การศกึ ษาเฉพาะการฝกอบรมวิชาชีพ

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา การประเมินคณุ ภาพการศึกษา คาน้าํ หนกั
และประเด็นการประเมิน ของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา (คะแนน)
ตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา (๕ ดาน ๒1 ขอการประเมิน)
(50)
พ.ศ. 2561 (20)
20
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ลกั ษณะของผูส าํ เร็จการอาชีวศกึ ษาท่พี ึงประสงค
๑.๑ ดา นความรู (5)
5
๑.๓ ผเู รยี นมสี มรรถนะในการเปนผูประกอบการหรือ (25)
ประกอบอาชีพอิสระ
5
๑.๒ ดา นทกั ษะและการประยุกตใช 5
๑.๕ ผลการแขงขันทักษะวิชาชีพ 15

๑.๓ ดานคุณธรรม จริยธรรม และ
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค

๑.๑ การดูแลและแนะแนวผูเรยี น

๑.๒ ผเู รยี นมคี ณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค

๑.๘ การมีงานทาํ และศึกษาตอของผสู ําเร็จการศึกษา

14

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา การประเมินคุณภาพการศกึ ษา คา นํ้าหนัก
และประเดน็ การประเมิน ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา (คะแนน)
ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา (๕ ดา น ๒1 ขอการประเมนิ )
(38)
พ.ศ. 2561 (8)
3
มาตรฐานท่ี ๒ การจัดการอาชีวศึกษา 5
๒.๑ ดานหลักสตู รอาชีวศึกษา
(12)
๒.๑.๑ การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางเปน 2
ระบบ 3
๒.๑.๒ การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือ
ปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ 3
กําหนดรายวชิ าเพ่ิมเติม 2
๒.๒ ดานการจัดการเรียนการสอน 2
อาชีวศกึ ษา (13)
2.2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรูสูการ 5
ปฏิบตั ิ 2
2.2.2 การจดั ทาํ แผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติท่ี 2
เนนผูเรียนเปนสําคัญและนําไปใชในการจัดการเรียน 2
การสอน 2
๓.๑.๒ การบริหารจดั การชน้ั เรยี น (5)
๕.๕ การเขา ถงึ ระบบอินเทอรเนต็ ความเร็วสูง 5
เพอ่ื การจดั การเรียนการสอนในชั้นเรียน
๓.๑.๓ การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ
๒.๓ ดา นการบรหิ ารจดั การ
๓.๒.๒ การบรหิ ารจัดการระบบขอมลู สารสนเทศ
เพ่อื การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
๕.๑ อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏบิ ตั ิการ
โรงฝกงาน หรืองานฟารม
๕.๒ ระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน
๕.๔ ระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพ่ือการใชงาน
ดา นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
5.3 แหลงเรียนรูและศูนยว ิทยบริการ
๒.๔ ดา นการนํานโยบายสูการปฏบิ ตั ิ
๔.๓ การบริการชมุ ชนและจิตอาสา

15

มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา คา นา้ํ หนกั
และประเดน็ การประเมิน ของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา (คะแนน)
ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา (๕ ดา น ๒1 ขอการประเมนิ )
(12)
พ.ศ. 2561 (7)
5
มาตรฐานท่ี ๓ การสรางสังคมแหง การเรียนรู 2
๓.๑ ดานความรวมมือในการสราง (5)
สังคมแหง การเรียนรู 5
100
๓.๒.๑ การบริหารสถานศึกษาแบบมสี วนรว ม
๔.๒ การระดมทรัพยากรเพื่อการจดั การเรียน
การสอน
๓.๒ ดา นนวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ
งานสรางสรรค งานวจิ ยั
๓.๑.๑ การจัดการเรียนการสอน
๓ มาตรฐาน ๙ ประเด็นการประเมนิ รวม นาํ้ หนัก (คะแนน) ๕ ดาน ๒1 ขอการประเมิน

4.
เกณฑการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ทีส่ ัมพนั ธและเชือ่ มโยงกับคณุ ภาพการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๔.๑ การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีสัมพันธและเช่ือมโยงกับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสัมพันธและเช่ือมโยงกับคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่สงผลตอคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จํานวน ๕ ดาน
ประกอบดวย ดานผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา จํานวน 8 ขอ ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน จํานวน
๔ ขอ ดา นครผู ูสอนและผบู ริหารสถานศึกษา จํานวน 5 ขอ ดานการมีสวนรว ม จาํ นวน 3 ขอ และดา นปจจยั พื้นฐาน
จาํ นวน 5 ขอ ดงั น้ี

ดานที่ 1 ดานผูเ รยี นและผูสําเร็จการศกึ ษา
หมายถึง การประเมินสมรรถนะผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ที่เปนผลมาจากการพัฒนาคุณภาพ
ทางวิชาการ ทักษะและการประยุกตใช คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ประกอบดวย การดูแลและ
แนะแนวผูเรยี น ผเู รยี นมคี ุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค ผูเรยี นมีสมรรถนะในการเปนผูป ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
ผลงานของผูเรียนดานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย ผลการแขงขันทักษะวิชาชีพ
ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-NET) และการมีงานทํา
และศึกษาตอของผูสาํ เร็จการศึกษา รายละเอียดดงั น้ี
๑.1 การดแู ลและแนะแนวผูเรยี น
คําอธิบาย
สถานศึกษามีการพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือและแนะแนวผูเรียนใหสามารถสําเร็จการศึกษา ตามระยะเวลา
ท่หี ลักสูตรกําหนดและลดปญ หาการออกกลางคนั จาํ แนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของ
สถานศึกษา
การประเมนิ
รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ช้ันสูง (ปวส.) ท้ังหมดเทียบกับจํานวนผูเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตร
วชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.) แรกเขาของรนุ ท่ีสาํ เร็จการศึกษา โดยพจิ ารณาในภาพรวมของสถานศกึ ษา
การคาํ นวณ
จาํ นวนผูเ รียนระดับ ปวช. และ ปวส. ท่สี าํ เร็จการศกึ ษาของรนุ
รอ ยละ = จาํ นวนผูเรยี นระดับ ปวช. และ ปวส. แรกเขาของรุนท่สี าํ เรจ็ การศึกษา X ๑๐๐

17

การตรวจสอบขอ มูล
๑. กระบวนการดูแลและแนะแนวผูเรยี นของสถานศึกษา เพ่อื ใหผูเ รยี นสามารถสําเรจ็ การศึกษา ตามระยะเวลา
ท่หี ลกั สูตรกาํ หนด และลดปญหาการออกกลางคนั
๒. จาํ นวนผูเรยี นระดับ ปวช. ชัน้ ปท่ี 3 แรกเขาของรนุ ทสี่ าํ เรจ็ การศกึ ษา
๓. จาํ นวนผูเรยี นระดบั ปวส. ช้นั ปท่ี ๒ แรกเขา ของรุนท่ีสําเรจ็ การศึกษา
๔. จาํ นวนผเู รยี นระดบั ปวช. ของรนุ ท่ีสําเรจ็ การศึกษา
๕. จาํ นวนผเู รยี นระดับ ปวส. ของรุนทีส่ าํ เร็จการศึกษา
6. ผลการดูแลและแนะแนวผูเรยี นของสถานศึกษา
เกณฑก ารประเมิน
นาํ ผลการคาํ นวณมาเทียบกับเกณฑการประเมิน ดงั นี้

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดับคณุ ภาพ
รอ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ๕ ยอดเยี่ยม
รอ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ๔ ดเี ลิศ
รอยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ ๓ ดี
รอยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙ ๒ ปานกลาง
นอยกวารอ ยละ ๕๐.๐๐ ๑ กําลงั พัฒนา

๑.2 ผูเรียนมีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค
คําอธิบาย
ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค หมายถึง ผูเรียนเปนคนดี แสดงออกทั้งดานจิตใจและ

พฤติกรรม โดยเฉพาะความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย และการเสียสละเพื่อสวนรวม มีความเปนประชาธิปไตย ทํางาน
รวมกับผูอื่นไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและรวมพัฒนา
ภมู ิปญ ญาไทย มจี ติ สํานึกในการอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หรือสถานศกึ ษามีการสงเสริม สนับสนนุ ให
ผูเรียนรวมกันจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตามแนวทางการจัดกิจกรรม
ขององคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) หรือองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) ปรากฏผลการประเมนิ การจัดกจิ กรรมของ
องคการฯ ตามทีส่ ํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากําหนด ในระดบั จงั หวดั ระดับภาค และระดบั ชาติ

การประเมนิ
๑. ผูเรียนนอยกวารอยละ 60 มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย และเสียสละเพ่ือสวนรวม มีความเปนประชาธิปไตย
ทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและ
รวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หรือมีการจัดกิจกรรม
เสริมหลักสูตร เพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ตามแนวทางการจัดกิจกรรมขององคการนักวิชาชีพ
ในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) หรือองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทยในพระราชูปถัมภ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.)

18

๒. ผเู รียนรอยละ 6๐ – 6๙.99 มคี วามรบั ผิดชอบ ซ่อื สัตย และเสยี สละเพือ่ สวนรวม มคี วามเปนประชาธิปไตย
ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและ
รวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หรือมีผลการประเมินกิจกรรม
องคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) หรือองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยไดรับผลการประเมินใน
ระดบั เหรยี ญทอง เหรยี ญเงิน หรอื เหรยี ญทองแดง ในระดบั จังหวดั

๓. ผูเรยี นรอ ยละ 70 – 79.99 มีความรบั ผดิ ชอบ ซื่อสตั ย และเสียสละเพอื่ สวนรวม มคี วามเปน ประชาธปิ ไตย
ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและ
รวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หรือมีผลการประเมินกิจกรรม
องคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) หรือองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยไดรับผลการประเมินเปนองคการ
มาตรฐานดเี ดนระดบั กลุม จังหวัด

๔. ผเู รียนรอยละ ๘๐ – 89.99 มีความรบั ผิดชอบ ซือ่ สัตย และเสียสละเพ่ือสวนรวม มคี วามเปนประชาธปิ ไตย
ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและ
รวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หรือมีผลการประเมินกิจกรรม
องคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) หรือองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยไดรับผลการประเมินใน
ระดบั เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ หรอื เหรยี ญทองแดง ในระดับภาค

๕. ผูเรียนรอยละ 90 ข้ึนไป มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย และเสียสละเพื่อสวนรวม มีความเปนประชาธิปไตย
ทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและ
รวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หรือมีผลการประเมินกิจกรรม
องคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) หรือองคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) โดยไดรับผลการประเมินเปนองคการ
มาตรฐานดีเดนระดับภาค หรือองคการมาตรฐานดีเดนระดับชาติ

การตรวจสอบขอ มูล
1. จํานวนผูเรยี นทัง้ หมดของสถานศึกษา
2. จํานวนผูเรียนท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค ประกอบดวย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตยและ
เสียสละเพ่ือสวนรวม มีความเปนประชาธิปไตย ทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูนํา
กลาแสดงออก ภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคาและรวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม
3. หลกั ฐานสนับสนนุ การพัฒนาผูเรียนใหมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา นิยมทพ่ี ึงประสงค
๔. ผลงานหรอื ผลการประเมินตามเกณฑก ารประเมิน

19 คาคะแนน ระดับคุณภาพ
๕ ยอดเย่ียม
เกณฑก ารประเมนิ ๔ ดเี ลิศ
นําผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑการประเมิน ดังน้ี ๓ ดี
๒ ปานกลาง
ผลการประเมนิ ๑ กาํ ลังพัฒนา
มผี ลการประเมินตามขอ ๕
มผี ลการประเมินตามขอ ๔
มีผลการประเมินตามขอ ๓
มผี ลการประเมินตามขอ ๒
มีผลการประเมินตามขอ ๑

๑.3 ผูเ รยี นมสี มรรถนะในการเปนผปู ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
คาํ อธิบาย
สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะในการเปนผูประกอบการหรือ
การประกอบอาชีพอิสระ สามารถประสบความสําเร็จสูการเปนผูประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ หรือ
สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนกิจกรรมตามแนวทางการพัฒนาผูประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระของ
ศูนยบมเพาะผูประกอบการอาชีวศึกษา ปรากฏผลการประเมินศูนยบมเพาะผูประกอบการอาชีวศึกษา ตามเกณฑการ
ประเมนิ ทสี่ าํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด ในระดับสถานศกึ ษา ระดับจังหวดั ระดับภาค และระดับชาติ
การประเมิน
รอยละของผูเรียนที่ประสบความสําเร็จสูการเปนผูประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ เทียบกับจํานวน
ผูเรียนกลุมเปาหมายท่ีผานการพัฒนาการเปนผูประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ หรือมีผล
การประเมินศูนยบมเพาะผูประกอบการอาชีวศึกษา ตามเกณฑการประเมินที่สํานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษากําหนด
การคํานวณ
จํานวนผเู รยี นท่ปี ระสบความสาํ เร็จสูก ารเปน ผูประกอบการหรอื การประกอบอาชีพอิสระ
รอยละ = จํานวนผเู รยี นกลมุ เปา หมายทผ่ี านการพฒั นาการเปนผปู ระกอบการหรือการประกอบอาชพี อสิ ระ X ๑๐๐

การตรวจสอบขอ มูล
1. สถานศึกษามีกระบวนการในการสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะในการเปน
ผูประกอบการหรือการประกอบอาชพี อิสระ หรอื การพัฒนาผูเ รียนใหม สี มรรถนะในการเปน ผูประกอบการหรือ การ
ประกอบอาชีพอิสระของศนู ยบมเพาะผปู ระกอบการอาชวี ศกึ ษา
2. จํานวนผูเรยี นกลุมเปา หมายทผี่ า นการพัฒนาการเปนผปู ระกอบการหรอื การประกอบอาชพี อสิ ระ
๓. จํานวนผูเรยี นประสบความสําเรจ็ สกู ารเปนผูป ระกอบการหรอื การประกอบอาชีพอสิ ระ
4. ผลการประเมินศูนยบมเพาะผูประกอบการอาชีวศึกษา ตามเกณฑการประเมินที่สํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษากําหนด ประกอบดวย ระดับ 1 ดาว ระดบั 2 ดาว ระดับ 3 ดาว ระดับ 4 ดาว และระดับ 5 ดาว

20

เกณฑการประเมิน
นําผลการคาํ นวณมาเทียบกับเกณฑการประเมนิ ดังนี้

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดบั คุณภาพ
รอยละ ๘๐ ข้ึนไปหรอื มีผลการประเมินศนู ยบ ม เพาะฯ ในระดบั 5 ดาว ๕ ยอดเยยี่ ม
รอ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ หรอื มีผลการประเมนิ ศนู ยบม เพาะฯ ในระดบั 4 ดาว ๔ ดีเลศิ
รอ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ หรอื มผี ลการประเมนิ ศนู ยบมเพาะฯ ในระดบั 3 ดาว ๓ ดี
รอยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙ หรือมผี ลการประเมนิ ศนู ยบ ม เพาะฯ ในระดบั 2 ดาว ๒ ปานกลาง
นอยกวารอยละ ๕๐.๐๐ หรือมีผลการประเมินศนู ยบมเพาะฯ ในระดบั 1 ดาว ๑ กําลงั พัฒนา

1.4 ผลงานของผูเ รยี นดา นนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย
คาํ อธบิ าย
สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย

ผลงานของผูเรียนไดรับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัยตามท่ีสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนดหรือเขารวมกับหนวยงานอื่น หรือมีการนํามาใชประโยชนไดจริงในระดับจังหวัด
ระดบั ภาค ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ

การประเมิน
๑. สถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรมประกวดนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจยั ในสถานศึกษา
๒. ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัยมีการนําไปใชประโยชนจ ริงในระดับสถานศึกษาหรือ
ไดรบั รางวัลจากการประกวด นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ งานสรางสรรค งานวิจยั ระดับจังหวดั
๓. ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัยมีการนําไปใชประโยชนจริงในระดับชุมชนหรือไดรบั
รางวลั จากการประกวด นวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย ระดบั ภาค
๔. ผลงานนวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ งานสรางสรรค งานวิจยั มีการนําไปใชป ระโยชนจริงในระดับจังหวัดหรือไดรับ
รางวัลจากการประกวด นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ งานสรางสรรค งานวิจัย ระดบั ชาติ
๕. ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัยมีการนําไปใชประโยชนจริงในระดับประเทศหรือ
ไดรับรางวลั จากการประกวด นวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ งานสรางสรรค งานวิจัย ระดับนานาชาติ
การตรวจสอบขอมลู
1. ผลการสงเสริม สนบั สนุนใหผ ูเรยี นพัฒนานวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ งานสรา งสรรค งานวจิ ยั ในสถานศึกษา
๒. การนํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัยไปใชประโยชนจริงในระดับสถานศึกษา
ระดับชมุ ชน ระดบั จงั หวดั ระดับชาติ
๓. รางวัลการประกวดนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัยในระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับชาติ
และระดับนานาชาติ
หมายเหตุ : รางวัล หมายถึง รางวัลชนะเลิศ รองชนะเลศิ หรือรางวัลอืน่ ๆ โดยไมน ับรางวลั ชมเชย

21

เกณฑก ารประเมนิ
นําผลการประเมินมาเทียบกบั เกณฑการประเมิน ดงั น้ี

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดบั คุณภาพ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๕ ๕ ยอดเยยี่ ม
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๔ ๔ ดเี ลิศ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๓ ๓ ดี
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๒ ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ ๑ กาํ ลังพัฒนา

๑.๕ ผลการแขง ขันทักษะวิชาชพี
คาํ อธบิ าย
สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนไดรับการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ปรากฏผลจากการเขารวม

การประกวด แขงขันทางดานทักษะวิชาชีพ ตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด หรือหนวยงานอ่ืน ๆ
ทั้งในระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับชาติ หรอื ระดบั นานาชาติ

การประเมิน
๑. สถานศกึ ษามีการสงเสริม สนบั สนุนใหมีการประกวด แขง ขนั ทักษะวิชาชีพในระดับสถานศึกษา
๒. ผเู รยี นไดรับรางวลั จากการประกวด แขงขนั ทักษะวิชาชีพใน ระดับจังหวัด
๓. ผเู รยี นไดรับรางวัลจากการประกวด แขงขันทักษะวชิ าชีพใน ระดับภาค
๔. ผเู รียนไดร บั รางวลั จากการประกวด แขงขันทักษะวิชาชีพใน ระดับชาติ
๕. ผเู รียนไดร บั รางวัลจากการประกวด แขงขนั ทักษะวิชาชีพใน ระดับนานาชาติ
หมายเหตุ
1. รางวัล หมายถึง รางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศ หรือคุณภาพมาตรฐานระดับเหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
หรือรางวัลอน่ื ๆ ไมนบั รางวัลชมเชย
2. การแขงขันระดับนานาชาติ หมายถึง การจัดกิจกรรมประกวด แขงขันของหนวยงาน หรือองคกร
ในระดับชาติของประเทศใดประเทศหนึ่ง ไมนับรวมการจัดกิจกรรมประกวด แขงขันของสถานศึกษาท่ีจัดข้ึนเอง
โดยรว มกับตางประเทศ หรือเขารวมกบั สถานศึกษาในตางประเทศ
การตรวจสอบขอมลู
1. สถานศึกษามกี ระบวนการในการสงเสริม สนบั สนนุ ใหผ ูเรียนไดรบั การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพในการเขารวม
การประกวด แขงขันทางดานทักษะวิชาชีพ ท้ังในระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับชาติ และระดับ
นานาชาติ
๒. ผลการประกวด แขงขันทางดานทักษะวิชาชีพตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด หรือ
เขารว มกบั หนว ยงานอื่น ๆ ทง้ั ในระดับจังหวดั ระดบั ภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ

22

เกณฑการประเมนิ
นําผลการประเมินมาเทียบกับเกณฑการประเมนิ ดังนี้

ผลการประเมิน คา คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๕ ๕ ยอดเย่ยี ม
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๔ ๔ ดเี ลศิ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๓ ๓ ดี
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ และขอ ๒ ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ ๑ กาํ ลงั พฒั นา

๑.6 ผลการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี
คําอธบิ าย
จํานวนผูเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปที่ 3 และผูเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปท่ี 2 ที่ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในคร้ังแรกตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวย
การประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร เทียบรอยละกับจํานวนผูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสราง
หลักสูตร จําแนกตามระดับ ประเภทวชิ า สาขาวชิ า สาขางานและภาพรวมของสถานศึกษา โดยมีเกณฑก ารประเมิน ดังนี้
ระดบั ปวช.
- ดานความรตู อ งไดคะแนนไมตํ่ากวารอยละ ๖๐ ของคะแนนเตม็
- ดานทกั ษะและการประยุกตใชต องไดคะแนนไมต่ํากวา รอยละ ๘๐ ของคะแนนเต็ม
- ผูเรียนตอ งไดค ะแนนผานเกณฑประเมินท้งั ๒ ดา น จึงคดิ เปนผผู านการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ
ระดบั ปวส.
- ดานความรตู อ งไดค ะแนนไมตาํ่ กวา รอ ยละ ๗๐ ของคะแนนเตม็
- ดา นทักษะและการประยกุ ตใชตอ งไดค ะแนนไมต ํา่ กวา รอยละ ๘๐ ของคะแนนเต็ม
- ผเู รียนตอ งไดค ะแนนผานเกณฑป ระเมินทง้ั ๒ ดาน จงึ คดิ เปน ผผู า นการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี
การประเมิน
รอ ยละของผูเ รยี นทผ่ี านการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพในครัง้ แรกเทยี บกับผูเรียนท่ีลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชา
ตามโครงสรางหลกั สูตร โดยพจิ ารณาในภาพรวมของสถานศึกษา
การคํานวณ
จํานวนผเู รียนปวช. ๓ และ ปวส. ๒ ท่ีผา นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ในครัง้ แรก
รอยละ = จาํ นวนผเู รียนปวช. ๓ และ ปวส. ๒ ทลี่ งทะเบียนเรียนครบทุกรายวชิ าตามโครงสรา งหลักสตู ร × ๑๐๐

การตรวจสอบขอมลู
๑. กระบวนการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี เปนไปตามท่ีสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนด
๒. จาํ นวนผเู รียนระดับ ปวช. ชัน้ ปท่ี ๓ ท่ลี งทะเบยี นเรียนครบทกุ รายวิชาตามโครงสรางหลกั สูตร
๓. จาํ นวนผูเรียนระดับ ปวส. ชั้นปที่ ๒ ทล่ี งทะเบยี นเรยี นครบทกุ รายวิชาตามโครงสรา งหลกั สูตร
๔. จาํ นวนผเู รียนระดับ ปวช. ช้ันปท ่ี ๓ ท่ผี านการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพในครง้ั แรก
๕. จาํ นวนผูเรียนระดบั ปวส. ช้ันปที่ ๒ ที่ผา นการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพในคร้ังแรก

23

เกณฑก ารประเมนิ
นําผลการคาํ นวณมาเทยี บกบั เกณฑการประเมิน ดงั นี้

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดบั คุณภาพ
รอ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ๕ ยอดเย่ียม
รอยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ๔ ดเี ลิศ
รอ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ ๓ ดี
รอ ยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙ ๒ ปานกลาง
นอ ยกวา รอยละ ๕๐.๐๐ ๑ กําลงั พฒั นา

๑.7 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา นอาชีวศกึ ษา (V-NET)
คําอธิบาย
จํานวนผูเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ช้ันปที่ 3 ที่ไดคะแนนต้ังแตคาคะแนนเฉลี่ยระดับชาติ
ขึ้นไป จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-NET) จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ
(องคการมหาชน) เทียบรอยละกับจํานวนผูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสรางหลักสูตร จําแนกตาม
ระดบั ประเภทวชิ า สาขาวชิ า สาขางานและภาพรวมของสถานศกึ ษา
การประเมิน
รอยละของผูเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-NET) ต้ังแต
คาคะแนนเฉลี่ยระดับชาติข้ึนไปเทียบกับผูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสรางหลักสูตร โดยพิจารณา
ในภาพรวมของสถานศึกษา
การคาํ นวณ
จาํ นวนผเู รยี นที่ไดคะแนนตั้งแตค า คะแนนเฉลี่ยระดบั ชาตขิ ้ึนไป
รอ ยละ = จาํ นวนผเู รยี น ปวช. ท่ีลงทะเบยี นเรยี นครบทุกรายวิชาตามโครงสรา งหลกั สูตร × ๑๐๐

การตรวจสอบขอมลู
๑. จาํ นวนผูเรียนระดบั ปวช. ชนั้ ปท ่ี ๓ ทีล่ งทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสรางหลกั สตู ร
2. จาํ นวนผเู รียนระดับ ปวช. ชั้นปท ่ี ๓ ที่ไดค ะแนนตั้งแตค า คะแนนเฉล่ยี ระดบั ชาติขนึ้ ไป
3. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศกึ ษา (V-NET) ในภาพรวมของสถานศึกษา

24 คา คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๕ ยอดเยี่ยม
เกณฑก ารประเมิน ๔ ดเี ลิศ
นาํ ผลการคาํ นวณมาเทยี บกับเกณฑการประเมนิ ดังนี้ ๓ ดี
๒ ปานกลาง
ผลการประเมนิ ๑ กาํ ลงั พฒั นา
รอยละ ๘๐ ขึ้นไป
รอ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙
รอยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙
รอยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙
นอยกวา รอยละ ๕๐.๐๐

๑.8 การมีงานทําและศึกษาตอของผสู ําเรจ็ การศึกษา
คําอธบิ าย
ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)

ท้ังหมดของปการศึกษาท่ีผานมา มีงานทําในหนวยงานภาครฐั และเอกชน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาตอ โดยไมนับ
รวมผูเรียนเทียบโอนความรูและประสบการณ จําแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของ
สถานศึกษา

การประเมิน
รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชนั้ สูง (ปวส.) ในปก ารศกึ ษาท่ีผานมา มงี านทําในสถานประกอบการ หนวยงานภาครฐั และเอกชน ประกอบอาชีพอิสระ
หรอื ศึกษาตอเทยี บกบั ผูสําเรจ็ การศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. ทั้งหมดในปก ารศกึ ษาทผี่ า นมา โดยพจิ ารณาในภาพรวม
ของสถานศกึ ษา
การคาํ นวณ

รอยละ = จํานวนผสู าํ เร็จการศกึ ษาระดบั ปวช. และ ปวส. ในปก ารศึกษาที่ผา นมา ท่ีมงี านทํา หรือศกึ ษาตอ X ๑๐๐
จาํ นวนผูส าํ เร็จการศกึ ษาระดบั ปวช. และ ปวส. ทั้งหมดในปก ารศกึ ษาที่ผา นมา

การตรวจสอบขอมูล
1. กระบวนการหรือรูปแบบในการติดตามผูสาํ เรจ็ การศึกษาของสถานศึกษา
๒. จํานวนผสู าํ เร็จการศกึ ษาหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ในปที่ผา นมา
๓. จํานวนผสู ําเรจ็ การศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) ในปที่ผา นมา
๔. จํานวนผูส าํ เรจ็ การศกึ ษาหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในปทผ่ี า นมาท่ีมีงานทาํ ประกอบอาชีพ
อสิ ระหรอื ศกึ ษาตอ
5. จํานวนผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.) ในปท่ผี า นมาทมี่ ีงานทาํ ประกอบ
อาชีพอสิ ระหรอื ศึกษาตอ
6. มีผลการติดตามผสู าํ เร็จการศกึ ษาทมี่ ีงานทํา ประกอบอาชพี อิสระหรือศึกษาตอ

25

เกณฑก ารประเมิน
นําผลการคํานวณมาเทยี บกับเกณฑการประเมิน ดังน้ี

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดบั คุณภาพ
รอ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ๕ ยอดเยี่ยม
รอ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ ๔ ดเี ลศิ
รอ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ ๓ ดี
รอยละ ๕๐.๐๐ – 5๙.๙๙ ๒ ปานกลาง
นอยกวารอ ยละ ๕๐.๐๐ ๑ กําลังพฒั นา

หมายเหตุ
๑. การมีงานทําและศึกษาตอของผูสําเร็จการศึกษา หมายถึง การทํางานหรือศึกษาตอในสาขาวิชาท่ีเก่ียวของ

กบั สาขาวชิ าท่ีสําเรจ็ การศกึ ษา หรือการประกอบอาชพี อสิ ระ
๒. สําหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษาเฉพาะการฝกอบรมวิชาชีพ ใหพิจารณาเฉพาะการทํางาน

หรือการประกอบอาชีพอสิ ระ ไมน ับรวมการศกึ ษาตอ

ดานท่ี ๒ ดา นหลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน
สถานศึกษามีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรใหเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางเปนระบบ มีการพัฒนา

หลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวชิ า หรือปรับปรุงรายวชิ าเดมิ หรือกําหนดรายวชิ าเพิ่มเติม และมีการสงเสริม
สนบั สนนุ ใหค รจู ดั ทําแผนการจัดการเรียนรสู กู ารปฏิบัติทเ่ี นน ผเู รียนเปนสาํ คญั และนําไปใชในการจัดการเรยี นการสอนอ
ยางมีคุณภาพ เพ่ือพัฒนาผเู รียนใหม คี ณุ ลักษณะและทักษะทจี่ ําเปน ในศตวรรษท่ี ๒๑
๒.๑ การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ

คาํ อธบิ าย
สถานศึกษามีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรใหเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางเปนระบบ มีการสงเสริมให
สาขาวิชาหรือสาขางานไดรับการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ
กาํ หนดรายวิชาเพ่มิ เตมิ
การประเมิน
2.1.1 การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอยางเปนระบบ ประกอบดว ย

๑) สถานศึกษามีการศึกษาความตองการของตลาดแรงงานเพอ่ื การพฒั นาหรือการปรบั ปรงุ หลักสตู ร
๒) สถานศึกษามีการประสานงานกับสถานประกอบการอยางตอเนื่อง ในการพัฒนาหรือการปรับปรุง
หลักสตู ร
๓) สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขางานหรือรายวิชารวมกับสถานประกอบการ
หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหผูเรียนมีสมรรถนะอาชีพสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและ
ความตองการของตลาดแรงงาน
๔) สถานศึกษามีการใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะทไี่ ดจากการพัฒนา
๕) สถานศึกษามีการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ไดจากการพัฒนา
อยางตอ เน่ือง

26

การตรวจสอบขอมลู
1. ผลการศึกษาความตอ งการของตลาดแรงงานเพ่อื การพัฒนาหรอื การปรบั ปรุงหลักสตู ร
๒. การมสี วนรว มของสถานประกอบการในการพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศกึ ษา
๓. มีหลักสตู รฐานสมรรถนะทีส่ อดคลองกบั การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน
๔. มีการใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ
๕. มกี ารตดิ ตาม ประเมินผล และปรับปรุงอยา งตอเนื่อง

เกณฑการประเมิน
นําผลการประเมินมาเทียบกบั เกณฑการประเมนิ ดงั นี้

ผลการประเมิน คาคะแนน ระดบั คุณภาพ

มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓,๔,๕ ๕ ยอดเยี่ยม
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓,๔ ๔ ดีเลศิ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓ ๓ ดี
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒ ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมินตามขอ ๑ ๑ กําลงั พฒั นา

2.1.2 การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ หรอื ปรบั ปรุงรายวชิ า หรือปรับปรงุ รายวิชาเดิม
หรือกําหนดรายวชิ าเพ่มิ เติม
การคํานวณ
จํานวนสาขาวิชาหรอื สาขางานทม่ี กี ารพฒั นาหลกั สูตรฯ
รอยละ = จาํ นวนสาขาวิชาหรอื สาขางานท้ังหมด × ๑๐๐

การตรวจสอบขอ มูล
1) จาํ นวนสาขาวิชาหรอื สาขางานท่สี ถานศึกษาจัดการเรียนการสอน
2) จํานวนสาขาวิชาหรือสาขางานมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุง
รายวิชาเดิม หรอื กําหนดรายวิชาเพ่มิ เตมิ
เกณฑการประเมนิ
นําผลการคาํ นวณมาเทียบกับเกณฑการประเมนิ ดังน้ี

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
รอยละ ๘๐ ขึ้นไป ๕ ยอดเยี่ยม
รอยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ ๔ ดีเลิศ
รอ ยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ ๓ ดี
รอ ยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙ ๒ ปานกลาง
นอ ยกวา รอยละ ๕๐.๐๐ ๑ กําลงั พัฒนา

27

๒.๒ การจดั การเรยี นรสู กู ารปฏบิ ตั ิท่เี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ
คาํ อธิบาย
สถานศึกษาสงเสริม สนับสนุนใหครูผูสอนจัดทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติที่เนนผูเรียนเปนสําคัญและ

นําไปใชในการจัดการเรียนการสอนอยางมีคุณภาพ เพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะและทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษ
ที่ ๒๑

การประเมิน
2.2.1 คณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรสู กู ารปฏิบตั ิ ประกอบดวย

๑) ครผู สู อนมกี ารวเิ คราะหหลกั สูตรรายวิชา เพอ่ื กําหนดหนวยการเรียนรูที่มงุ เนน สมรรถนะอาชพี
๒) แผนการจัดการเรียนรูมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะท่ีพึงประสงค และ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓) แผนการจัดการเรียนรูมีการกําหนดรูปแบบการเรียนรูสูการปฏิบัติและกิจกรรมการจัด
การเรยี นรูทีห่ ลากหลาย เชน PjBL Active Learning STEM Education เปน ตน
๔) แผนการจัดการเรียนรูมีการกําหนดการใชสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีการจัด
การเรียนรูท ่ีเหมาะสม และนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน
๕) แผนการจัดการเรียนรูมีการกําหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ดวยรูปแบบ
วิธีการทีห่ ลากหลาย
การตรวจสอบขอ มูล
๑) ครผู สู อนวิเคราะหหลักสตู รรายวิชา
๒) แผนการจัดการเรียนรูมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะท่ีพึงประสงค และปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
๓) แผนการจัดการเรียนรูมีการกําหนดรูปแบบการเรียนรูสูการปฏิบัติและกิจกรรมการจัดการเรียนรู
ที่หลากหลาย เชน PjBL Active Learning STEM Education เปนตน
๔) แผนการจัดการเรียนรูมีการกําหนดการใชส่ือ เคร่ืองมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู
ทเี่ หมาะสม และนํามาใชใ นการจดั การเรยี นการสอน
๕) แผนการจัดการเรียนรูมีการกําหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ดวยรูปแบบ วิธีการ
ที่หลากหลาย
เกณฑการประเมิน
นาํ ผลการประเมนิ มาเทยี บกบั เกณฑการประเมิน ดังนี้

ผลการประเมนิ คา คะแนน ระดบั คุณภาพ
มีผลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓,๔,๕ ๕ ยอดเยีย่ ม
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓,๔ ๔ ดีเลิศ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓ ๓ ดี
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒ ๒ ปานกลาง
มีผลการประเมินตามขอ ๑ ๑ กาํ ลงั พฒั นา

28

2.2.2 การจดั ทําแผนการจดั การเรียนรสู กู ารปฏิบัตทิ เ่ี นน ผเู รยี นเปน สําคญั และนาํ ไปใชในการจัดการเรยี นการสอน
การคาํ นวณ
จํานวนครูผสู อนท่จี ดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรูส กู ารปฏบิ ัติทีเ่ นนผเู รยี นเปนสาํ คัญ
และนาํ ไปใชใ นการจัดการเรยี นการสอน
รอยละ = จํานวนครูผสู อนทง้ั หมด × ๑๐๐

การตรวจสอบขอ มลู
1. จํานวนครูผูส อนทง้ั หมดของสถานศกึ ษา
2. จํานวนครูผูสอนท่ีจัดทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติที่เนนผูเรียนเปนสําคัญและนําไปใชในการจัด
การเรียนการสอน
เกณฑก ารประเมิน
นําผลการคํานวณมาเทียบกบั เกณฑการประเมนิ ดังนี้

ผลการประเมิน คา คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
รอยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ๕ ยอดเยีย่ ม
รอ ยละ ๗๐.๐๐ - ๗๙.๙๙ ๔ ดเี ลิศ
รอยละ ๖๐.๐๐ - ๖๙.๙๙ ๓ ดี
รอยละ ๕๐.๐๐ - ๕๙.๙๙ ๒ ปานกลาง
นอยกวารอยละ ๕๐.๐๐ ๑ กาํ ลงั พัฒนา

ดานท่ี ๓ ดา นครูผูสอนและผูบ ริหารสถานศึกษา
ครูผูสอน หมายถึง บุคลากรวิชาชีพท่ีทําหนาท่ีหลักดานการจัดการเรียนการสอน และการสงเสริมการเรียนรู

ของผูเรียนดว ยวิธกี ารตา งๆ ในสถานศึกษาทงั้ ของรัฐและเอกชน
ผบู ริหารสถานศึกษา หมายถงึ บุคลากรวิชาชีพที่รบั ผิดชอบในการบรหิ ารจัดการในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

๓.๑ ครผู ูส อน
สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาครูผูสอนใหมีความรู ความสามารถในการจัดการเรียนรู ตาม

มาตรฐานตําแหนง สายงานครูผูสอน ประกอบดวย การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการชั้นเรียน และ
การพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชพี รายละเอียดดงั นี้

๓.๑.๑ การจัดการเรยี นการสอน
คําอธิบาย
ครูผูสอนมีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวชิ าท่ีสอน มีการจัดทําแผนการจดั การเรียนรูท่เี นนผูเรยี นเปนสําคญั
ทุกรายวิชาที่สอน จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย มีการวัด
และประเมินผลตามสภาพจริง มีการใชส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา แหลงเรียนรู และทําวิจัย เพ่ือคุณภาพ
จดั การเรยี นรแู ละแกป ญ หาการจัดการเรยี นรู

29

การประเมนิ
๑. รอ ยละของครูผูสอนที่มคี ณุ วุฒติ รงตามสาขาวิชาท่สี อน
๒. รอยละของครูผสู อนทมี่ ีแผนการจัดการเรียนรูครบทกุ รายวชิ าท่สี อน
๓. รอยละของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิควิธีการสอน
ทห่ี ลากหลาย มีการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
๔. รอยละของครูผสู อนที่ใชส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษา และแหลงเรียนรูในการจัดการเรียนการสอน
๕. รอยละของครูผสู อนทีท่ าํ วจิ ยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพจดั การเรยี นรูแ ละแกป ญหาการจดั การเรียนรู
การคํานวณ
กาํ หนดให

N = จาํ นวนครูผูสอนทง้ั หมด
V = จาํ นวนครูผูส อนท่มี คี ณุ วุฒิทางการศกึ ษาตรงตามสาขาวิชาท่สี อน
W = จํานวนครผู ูสอนท่มี แี ผนการจดั การเรยี นรูค รบทุกรายวิชาทสี่ อน
X = จํานวนครูผูสอนท่ีจัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิควิธีการสอนท่ี
หลากหลาย มีการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ
Y = จํานวนครูผูสอนท่ีใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรูในการจัด
การเรยี นการสอน
Z = จาํ นวนครูผสู อนทีท่ าํ วิจัยเพือ่ พฒั นาคุณภาพจดั การเรยี นรูแ ละแกปญ หาการจดั การเรียนรู

รอยละเฉลีย่ = 100{V+W+X+Y+Z}
5N

การตรวจสอบขอมูล
1. จาํ นวนครูผูสอนทงั้ หมดของสถานศึกษา
2. จาํ นวนครผู ูสอนทีม่ คี ุณวฒุ กิ ารศกึ ษาตรงตามสาขาวิชาทีส่ อน
3. จาํ นวนครูผูสอนทีม่ แี ผนการจัดการเรียนรูทเี่ นน ผูเ รียนเปนสําคญั ทกุ รายวิชาท่ีสอน
4. จํานวนครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิควิธีการสอน
ที่หลากหลาย มีการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ
5. จํานวนครูผูสอนท่ีใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรูในการจัดการเรียน
การสอน
6. จาํ นวนครผู ูสอนทคี่ รทู ําวิจยั เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรแู ละแกปญ หาการจัดการเรียนรู

30

เกณฑก ารประเมิน
นาํ คา รอยละเฉลยี่ ทีค่ ํานวณมาเทียบกับเกณฑการประเมนิ ดงั น้ี

ผลการประเมนิ คา คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
รอ ยละ ๘๐ ขึ้นไป 5 ยอดเยี่ยม
รอยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ 4 ดเี ลศิ
รอ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ 3 ดี
รอยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ 2 ปานกลาง
นอยกวา รอยละ ๕๐.๐๐ 1 กาํ ลงั พฒั นา

3.๑.๒ การบริหารจดั การชนั้ เรยี น
คําอธบิ าย
ครผู สู อนมกี ารจัดทําขอมลู ผูเ รียนเปน รายบุคคล มีขอมูลสารสนเทศหรือเอกสารประจําชน้ั เรยี นและรายวิชา

ใชเ ทคนิควิธีการบริหารจัดการชนั้ เรียนใหมบี รรยากาศท่เี อ้ือตอการเรียนรู เปนผเู สริมแรงใหผูเรียนมีความมงุ มน่ั ต้ังใจ
ในการเรียน ดแู ลชวยเหลือผเู รียนรายบุคคลดานการเรียนและดา นอนื่ ๆ

การประเมนิ
๑. รอยละของครูผสู อนทีจ่ ดั ทาํ ขอ มูลผเู รยี นเปน รายบุคคล
๒. รอ ยละของครผู ูสอนทมี่ ีขอ มลู สารสนเทศหรอื เอกสารประจาํ ชนั้ เรียนและรายวชิ าเปน ปจจบุ ัน
๓. รอ ยละของครูผูสอนทใ่ี ชเทคนคิ วิธกี ารบริหารจัดการชั้นเรยี นใหมบี รรยากาศทเ่ี อื้อตอ การเรียนรู
๔. รอ ยละของครูผูสอนทีใ่ ชวธิ ีการเสริมแรงใหผ เู รยี นมีความมงุ มั่นตงั้ ใจในการเรียน
๕. รอยละของครูผสู อนที่ดูแลชวยเหลอื ผูเ รียนรายบุคคลดา นการเรยี นและดานอืน่ ๆ
การคํานวณ
กาํ หนดให

N = จาํ นวนครูผูส อนท้ังหมด
V = จาํ นวนครูผสู อนทจ่ี ดั ทาํ ขอ มลู ผูเ รยี นเปน รายบุคคล
W = จํานวนครูผสู อนที่มขี อ มลู สารสนเทศและเอกสารประจาํ ชนั้ เรียนและรายวชิ าเปนปจ จุบัน
X = จํานวนครูผสู อนทใ่ี ชเ ทคนคิ วธิ ีการบริหารจดั การชั้นเรยี นใหมีบรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอ การเรยี นรู
Y = จาํ นวนครูผูส อนทใ่ี ชว ิธกี ารเสรมิ แรงใหผ ูเรียนมคี วามมุงมนั่ ต้งั ใจในการเรียน
Z = จํานวนครูผูสอนทดี่ แู ลชว ยเหลือผเู รียนรายบุคคลดา นการเรยี นและดานอ่นื ๆ

รอยละเฉลี่ย = 100{V+W+X+Y+Z}
5N

31

การตรวจสอบขอมูล
1. จํานวนครผู สู อนท้งั หมดของสถานศกึ ษา
2. จํานวนครูผสู อนทจ่ี ดั ทําขอมูลผเู รยี นเปนรายบุคคล
3. จาํ นวนครูผสู อนท่มี ขี อ มลู สารสนเทศและเอกสารประจาํ ช้นั เรียนและรายวชิ าเปน ปจ จุบัน
4. จาํ นวนครผู สู อนที่ใชเทคนคิ วิธีการบริหารจัดการช้นั เรยี นใหม บี รรยากาศท่ีเอือ้ ตอการเรียนรู
5. จํานวนครูผสู อนที่ใชว ิธเี สรมิ แรงใหผเู รยี นมีความมงุ ม่นั ตงั้ ใจในการเรยี น
6. จํานวนครผู สู อนที่ดแู ลชวยเหลือผเู รยี นรายบุคคลดา นการเรียนและดานอ่ืน ๆ
เกณฑการประเมิน
นําคา รอ ยละเฉลย่ี ท่ีคํานวณมาเทียบกบั เกณฑการประเมิน ดงั น้ี

ผลการประเมิน คาคะแนน ระดับคุณภาพ
รอยละ ๘๐ ขึ้นไป 5 ยอดเยยี่ ม
รอยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ 4 ดเี ลศิ
รอ ยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ 3 ดี
รอ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ 2 ปานกลาง
นอ ยกวารอยละ ๕๐.๐๐ 1 กําลังพัฒนา

๓.๑.๓ การพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ
คําอธิบาย
ครูผูสอนจัดทําแผนพัฒนาตนเองและเขารวมกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ ไดรับการพัฒนาตามแผนพัฒนา

ตนเองและกระบวนการพัฒนาวิชาชพี มีการนําผลการพัฒนาตนเองมาใชในการจดั การเรยี นการสอน มีผลงานจากการ
พัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพ ผลงาน หรอื นวัตกรรม ไดรบั การยอมรบั หรือเผยแพร

การประเมนิ
๑. รอ ยละของครูผูส อนทีจ่ ัดทาํ แผนพฒั นาตนเองและเขา รว มการพฒั นาวชิ าชีพ
๒. รอยละของครูผูสอนทีไ่ ดรับการพฒั นาตนเองอยางนอย 12 ชัว่ โมงตอป
๓. รอยละของครูผูสอนที่นําผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใชในการจัดการเรียน
การสอน
๔. รอยละของครูผสู อนท่มี ผี ลงานจากการพฒั นาตนเองและการพฒั นาวชิ าชีพ
๕. รอยละของครูผูสอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพท่ีไดรับการยอมรับ
หรอื เผยแพร

32

การคาํ นวณ
กาํ หนดให

N = จํานวนครผู สู อนทัง้ หมด
V = จาํ นวนครูผูส อนท่จี ัดทําแผนพฒั นาตนเองและเขา รว มการพัฒนาวิชาชพี
W = จาํ นวนครผู ูส อนที่ไดร บั การพฒั นาตนเองอยา งนอ ย 12 ชัว่ โมงตอ ป
X = จํานวนครูผูสอนทีน่ าํ ผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวชิ าชีพมาใชใ นการจัดการเรียนการสอน
Y = จาํ นวนครูผสู อนทม่ี ผี ลงานจากการพฒั นาตนเองและการพัฒนาวชิ าชพี
Z = จํานวนครูผูสอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ไดรับการยอมรับ
หรือเผยแพร

รอยละเฉลีย่ = 100{V+W+X+Y+Z}
5N

การตรวจสอบขอมูล
1. จาํ นวนครูผูส อนทงั้ หมดของสถานศกึ ษา
2. จํานวนครผู ูสอนที่จดั ทําแผนพัฒนาตนเองและเขา รว มการพฒั นาวิชาชีพ
3. จาํ นวนครผู สู อนไดรบั การพฒั นาตนเองอยางนอ ย 12 ชว่ั โมงตอป
4. จํานวนครผู สู อนทน่ี ําผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใชใ นการจดั การเรียนการสอน
5. จาํ นวนครผู สู อนทีม่ ผี ลงานจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวชิ าชีพ
6. จาํ นวนครผู ูสอนท่ีใชน วตั กรรมจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวชิ าชพี ท่ไี ดร บั การยอมรบั หรอื
เผยแพร
เกณฑก ารประเมนิ
นําคารอ ยละเฉลย่ี ท่คี าํ นวณมาเทยี บกบั เกณฑก ารประเมนิ ดงั นี้

ผลการประเมิน คาคะแนน ระดับคุณภาพ
รอยละ ๘๐ ขึน้ ไป 5 ยอดเยยี่ ม
รอ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙ 4 ดีเลิศ
รอยละ ๖๐.๐๐ – ๖๙.๙๙ 3 ดี
รอ ยละ ๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙ 2 ปานกลาง
นอยกวารอยละ ๕๐.๐๐ 1 กําลังพัฒนา

๓.2 ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา
ผูบริหารสถานศึกษา คือ บุคคลสําคัญในการบริหารจัดการสถานศึกษาใหมีคุณภาพ ดังน้ัน ผูบริหาร

สถานศึกษาจึงตองมีศาสตรและศิลปในการบริหารจัดการ ซึ่งเปนคุณลักษณะที่สําคัญท่ีจะทําใหการบริหาร
จัดการศึกษาบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว ไดแก การบริหารสถานศึกษาแบบมีสวนรวม และการบริหารจัดการระบบ
ขอ มูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจดั การสถานศกึ ษา รายละเอยี ดดังนี้

33

๓.๒.๑ การบริหารสถานศึกษาแบบมีสว นรวม
คําอธบิ าย
ผูบริหารสถานศึกษาใหครูและบุคลากรทางการศึกษามีสวนรวม ในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา จัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษาและแผนปฏิบัติราชการประจําป หรือแผนปฏิบัติงานประจําป และไดรับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสวนรวมในการดําเนินงานโครงการของ
สถานศกึ ษา ใชหลักธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา และใชน วัตกรรมในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา

การประเมนิ
๑. ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามสี วนรว มในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามสี วนรว มในการจัดทําแผนพฒั นาสถานศึกษา
๓. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามีสว นรวมในการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ป
๔. คณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษามีสวนรวมในการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษา
๕. ผูบริหารสถานศกึ ษามีนวตั กรรมการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษา
การตรวจสอบขอ มูล
๑. การมสี วนรวมในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒. การมสี วนรว มในการจัดทาํ แผนพัฒนาสถานศึกษา
๓. การมีสว นรวมในการจดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป
๔. การมีสวนรวมของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาในการบริหาร
จดั การสถานศึกษา
๕. มกี ารใชน วัตกรรมในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา

หมายเหตุ : สําหรับสถานศึกษาเอกชนคณะกรรมการสถานศึกษาใหเ ปน ไปตามกฎหมายวา ดวยโรงเรียนเอกชน
เกณฑการประเมิน
นาํ ผลการประเมนิ มาเทียบกับเกณฑก ารประเมิน ดังน้ี

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดับคุณภาพ

มีผลการประเมินตามขอ 1,2,3,4,๕ 5 ยอดเยยี่ ม
มผี ลการประเมินตามขอ 1,2,3,4 4 ดเี ลิศ
มีผลการประเมินตามขอ 1,2,3 3 ดี
มผี ลการประเมินตามขอ 1,2 2 ปานกลาง
มีผลการประเมินตามขอ 1 1 กําลังพัฒนา

34

๓.๒.๒ การบรหิ ารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา
คําอธิบาย
ผูบริหารสถานศึกษาจัดใหมีขอมูลพ้ืนฐานที่จําเปนสําหรับการบริหารสถานศึกษา มีระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษา มีการใชขอมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษา

การประเมนิ
1. ผบู ริหารสถานศึกษาจดั ใหม ีขอ มูลพน้ื ฐานที่จําเปน ในการบรหิ ารจดั การศึกษา
2. ผูบรหิ ารสถานศึกษาจัดใหมรี ะบบขอมลู สารสนเทศสาํ หรับการบรหิ ารจัดการดานตาง ๆ
3. ผูบ ริหารสถานศกึ ษามกี ารนาํ เทคโนโลยมี าใชในการบรหิ ารจดั การขอ มลู สารสนเทศ
4. ผูบริหารสถานศกึ ษามกี ารประเมินประสทิ ธภิ าพระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
5. ผูบริหารสถานศึกษามีการนําผลจากการประเมินไปใชพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชใน
การบริหารจดั การศกึ ษา
การตรวจสอบขอมลู
๑. ขอ มูลพื้นฐานทจี่ ําเปนในการบริหารจดั การศึกษา
๒. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
๓. การใชขอมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา
๔. ผลการประเมนิ ประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๕. ผลการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
เกณฑการประเมิน
นาํ ผลการประเมนิ มาเทียบกบั เกณฑการประเมนิ ดังนี้

ผลการประเมิน คา คะแนน ระดับคณุ ภาพ
มีผลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓,๔,๕ 5 ยอดเย่ียม
มีผลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓,๔ 4 ดีเลิศ
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒,๓ 3 ดี
มผี ลการประเมินตามขอ ๑,๒ 2 ปานกลาง
มีผลการประเมินตามขอ ๑ 1 กาํ ลงั พฒั นา

35

ดา นท่ี 4 ดานการมีสว นรว ม
สถานประกอบการ บุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ มีสวนรวมกับสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอน

อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี มกี ารระดมทรพั ยากรในการจดั การเรียนการสอน เพือ่ ยกระดับและพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
และสงเสรมิ ใหผเู รยี นเปนผมู จี ิตอาสาโดยใชวิชาชพี สรางประโยชนใหกบั ชมุ ชนและสงั คม รายละเอยี ดดังน้ี
4.1 การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี

คาํ อธบิ าย
ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี สํานกั งานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาจึงไดจัดทําแนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีข้ึนเพ่ือใหสถานศึกษาและสถาน
ประกอบการนําไปใชเ ปน แนวทางในการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ใหมีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้นึ
การประเมนิ
การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคี ทสี่ าํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้
ข้ันท่ี 1 ขน้ั เตรยี มความพรอมในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี

1.1 การสาํ รวจความพรอ มของสถานประกอบการ หนว ยงาน องคก าร ในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบ
ทวิภาคีรว มกบั สถานศกึ ษา

1.2 การบันทกึ ขอตกลงความรวมมอื (MOU) ในการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี
ขั้นที่ 2 ขัน้ วางแผนในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี

2.1 จัดทําแผนงานและจัดทําแผนการเรียนในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีรวมกับ
สถานประกอบการ หนวยงาน องคการ

2.2 ประชาสัมพันธ แนะแนวผูเรยี น
ขน้ั ที่ 3 ขัน้ จดั การเรยี นการสอนอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี

3.1 คดั เลอื กผเู ขา เรียน
3.2 ทาํ สัญญาการฝกอาชพี ปฐมนิเทศผเู รยี น การประชุมผปู กครอง
3.3 จัดทาํ แผนการจดั การเรียนรหู รือแผนการฝกอาชีพ
3.4 จัดการเรียนการสอนหรือการฝกอาชีพ
ข้ันท่ี 4 ข้ันตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพในการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี
4.1 การนิเทศการจัดการเรยี นการสอนหรือการฝก อาชพี
4.2 การวัดและประเมนิ ผลรายวิชาหรอื การฝก อาชพี
ขนั้ ท่ี 5 ข้นั สรุปรายงานผลการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี
5.1 การสาํ เร็จการศึกษาผเู รยี นอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี
5.2 การติดตามผสู ําเรจ็ การศึกษาอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี
5.3 การสรุปผลการดําเนนิ งานและรายงานประจาํ ปใ นการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี

36

การตรวจสอบขอมลู
๑. ความพรอ มในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีของสถานศึกษา
๒. การวางแผนในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคขี องสถานศกึ ษา
๓. การจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคขี องสถานศกึ ษา
4. การตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคขี องสถานศกึ ษา
5. การสรปุ รายงานผลการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีของสถานศกึ ษา
เกณฑการประเมนิ
นาํ ผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑการประเมนิ ดังน้ี

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดับคุณภาพ
มีผลการประเมิน ครบถว น ท้ัง 1,2,3,4,5 ๕ ยอดเย่ยี ม
มีผลการประเมิน ครบถวน ต้ังแตข น้ั ตอนท่ี 1,2,3,4 ๔ ดเี ลศิ
มผี ลการประเมิน ครบถวน ต้ังแตขน้ั ตอนที่ 1,2,3 ๓ ดี
มผี ลการประเมิน ครบถวน ตั้งแตข ้ันตอนท่ี 1,2 ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมิน ครบถว น ตามขนั้ ตอนที่ 1 ๑ กาํ ลังพัฒนา

4.2 การระดมทรพั ยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน
คาํ อธิบาย
ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ก า ร ส ร า ง เ ค รื อ ข า ย ค ว า ม ร ว ม มื อ ใ น ก า ร ร ะ ด ม ท รั พ ย า ก ร เ พื่ อ ก า ร จั ด ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า

ทั้งในประเทศและหรือตางประเทศ ในดานครูพิเศษ ครูภูมิปญญาทองถิ่น ครูผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ
สถานประกอบการ ดานงบประมาณ ทุนการศึกษา วัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ ฯลฯ และมีการประเมินผลการดําเนินงาน
เพือ่ การปรับปรงุ อยางตอเน่ือง

การประเมนิ
1. สถานศึกษามีแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรที่หลากหลายในการจัดการอาชีวศึกษา
ท้งั ในประเทศและหรอื ตางประเทศ
2. สถานศึกษามีเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการหรือหนวยงานอื่น ๆ เพ่ือพัฒนาศักยภาพครูและ
ครูฝกในสถานประกอบการ
3. สถานศึกษามีการจัดใหครูพิเศษ ครูภูมิปญญาทองถ่ิน ครูผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิในสถานประกอบการ
ทั้งในประเทศและหรือตางประเทศรวมพัฒนาผูเรียนไมนอยกวารอยละ 80 ของจํานวนสาขางานท่ีสถานศึกษา
จดั การเรยี นการสอน
4. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เชน งบประมาณ
ทุนการศึกษา วัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ ฯลฯ ปรากฏผลการพัฒนาตามวัตถุประสงคของการระดมทรัพยากรอยางเปน
รูปธรรม
5. สถานศึกษามีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรในการจัด
การอาชีวศกึ ษากับเครือขาย เพือ่ การปรบั ปรุงและพฒั นาอยา งตอเนื่อง

37

การตรวจสอบขอ มูล
1. แผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรท่ีหลากหลายในการจัดการอาชีวศึกษา ท้ังในประเทศและหรือ
ตา งประเทศ
๒. เครอื ขายความรว มมือในการระดมทรพั ยากรเพ่ือยกระดบั คุณภาพการจดั การอาชีวศึกษาของสถานศึกษา
3. จาํ นวนสาขางานท้งั หมดท่ีสถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอน
4. จาํ นวนสาขางานทจี่ ัดใหค รูพิเศษ ครภู ูมปิ ญญาทองถน่ิ ครผู เู ช่ยี วชาญ ผูทรงคุณวฒุ ใิ นสถานประกอบการ ทั้ง
ในประเทศและหรือตางประเทศรวมพฒั นาผเู รียน
๕. ผลการระดมทรัพยากรของสถานศกึ ษา
๖. ผลการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชวี ศึกษากบั
เครอื ขา ย เพือ่ การปรบั ปรงุ และพฒั นาอยางตอเน่ือง
เกณฑก ารประเมิน
นาํ ผลการประเมินมาเทยี บกับเกณฑการประเมิน ดังน้ี

ผลการประเมนิ คา คะแนน ระดบั คุณภาพ
มีผลการประเมินตามขอ 1,2,3,4,5 ๕ ยอดเยีย่ ม
มผี ลการประเมินตามขอ 1,2,3,4 ๔ ดเี ลศิ
มผี ลการประเมินตามขอ 1,2,3 ๓ ดี
มีผลการประเมินตามขอ 1,2 ๒ ปานกลาง
มีผลการประเมินตามขอ 1 ๑ กาํ ลงั พัฒนา

4.3 การบริการชมุ ชนและจิตอาสา
คําอธิบาย
สถานศึกษามีการบริหารจัดการ การบริการชุมชน การบริการวิชาการ การบริการวิชาชีพ และจิตอาสา

โดยการมีสวนรวมของผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูเรียน และสงเสริมใหผูเรียนเปนผูมีจิตอาสาโดยใช
วชิ าชพี สรางประโยชนใหก บั ชุมชนและสงั คม

การประเมิน
๑. สถานศึกษาจดั กจิ กรรมใหผ ูบริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผูเรียนเขา รวมกจิ กรรมบรกิ ารชุมชน
๒. สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมใหผ บู ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผเู รียนเขา รว มกิจกรรมบรกิ ารวชิ าการ
๓. สถานศึกษาจัดกจิ กรรมใหผบู ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูเ รียนเขารวมกจิ กรรมบรกิ ารวชิ าชีพ
๔. สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมใหผ ูบริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผูเรียนเขารว มกิจกรรมจิตอาสา
๕. สถานศกึ ษามีนวตั กรรมการบริการชมุ ชน วิชาการ วชิ าชีพ และจติ อาสาของสถานศึกษา
การตรวจสอบขอ มูล
๑. ผลการเขา รวมกิจกรรมบรกิ ารชมุ ชนของผบู รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผูเ รยี น
๒. ผลการเขา รวมกิจกรรมบริการวิชาการของผูบรหิ าร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผูเรยี น
๓. ผลการเขา รว มกิจกรรมบรกิ ารวิชาชีพของผบู ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผเู รียน
๔. ผลการเขา รว มกจิ กรรมจิตอาสาของผบู ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผูเ รียน
๕. การใชน วัตกรรมในการบรกิ ารชมุ ชน วชิ าการ วิชาชีพ และจิตอาสาของสถานศึกษา

38

เกณฑการประเมิน คา คะแนน ระดบั คุณภาพ
นาํ ผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑการประเมิน ดังนี้ ๕ ยอดเยี่ยม
๔ ดเี ลศิ
ผลการประเมนิ ๓ ดี
มีผลการประเมิน 5 ขอ ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมิน 4 ขอ ๑ กําลงั พฒั นา
มผี ลการประเมิน 3 ขอ
มผี ลการประเมิน 2 ขอ
มผี ลการประเมิน 1 ขอ

ดา นท่ี 5 ดานปจ จยั พน้ื ฐาน
5.1 อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบตั กิ าร โรงฝกงาน หรอื งานฟารม

คําอธิบาย
สถานศึกษาดําเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานท่ี หองเรียน หองปฏิบัติการ
แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และสิ่งอํานวยความสะดวกใหมีความพรอมและเพียงพอตอการใชงานของ
ผูเรียนหรอื ผรู ับบริการ เอ้ือตอ การจัดการเรียนรู สอดคลอ งกับบริบทของสถานศกึ ษา
การประเมิน
1. สถานศึกษามีอาคารสถานท่ี หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และ
ส่ิงอํานวยความสะดวกในการใหบริการผูเรียนเพียงพอตอความตองการ และมีการพัฒนาดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน
ของสถานศกึ ษาใหเอือ้ ตอการจดั การเรยี นรู
2. สถานศึกษามีแผนงาน โครงการพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน
หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และสิ่งอํานวยความสะดวกใหมีความพรอมและเพียงพอตอ
การใชงานของผูเรียนหรอื ผูร ับบรกิ ารโดยการมสี ว นรวมของครู บุคลากรและผูเรยี น
3. สถานศึกษามีการพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ
แหลง การเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และส่งิ อาํ นวยความสะดวกตามแผนงาน โครงการทีก่ ําหนด
4. สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานท่ี หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู
โรงฝก งาน หรืองานฟารม และสง่ิ อํานวยความสะดวกท่ีเออ้ื ตอ การจดั การเรียนรู
5. สถานศึกษาปรบั ปรุงและพัฒนาสภาพแวดลอม ภูมทิ ัศน อาคารสถานที่ หอ งเรียน หอ งปฏิบตั ิการ แหลง การ
เรยี นรู โรงฝก งาน หรอื งานฟารม และสง่ิ อาํ นวยความสะดวกใหส อดคลองกับบรบิ ทของสถานศึกษา

39

การตรวจสอบขอมูล
1. อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และ
สิ่งอํานวยความสะดวกในการใหบ ริการผเู รยี นเพยี งพอตอความตองการ
2. แผนงาน โครงการพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ
แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และสิ่งอํานวยความสะดวกใหมีความพรอมและเพียงพอตอการใชงานของ
ผเู รยี นหรือผรู บั บริการโดยการมีสว นรวมของครู บคุ ลากรและผเู รียน
3. การพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู
โรงฝก งาน หรืองานฟารม และสิ่งอํานวยความสะดวกตามแผนงาน โครงการทีก่ าํ หนด
4. สภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรือ
งานฟารม และสง่ิ อาํ นวยความสะดวกเอ้อื ตอการจดั การเรยี นรู
5. สภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรือ
งานฟารม และสิง่ อํานวยความสะดวกสอดคลอ งกบั บริบทของสถานศึกษา
เกณฑก ารประเมนิ
นาํ ผลการประเมนิ มาเทยี บกับเกณฑการประเมิน ดังน้ี

ผลการประเมิน คาคะแนน ระดับคณุ ภาพ
มีผลการประเมินตามขอ 1,2,3,4,5 ๕ ยอดเย่ียม
มีผลการประเมินตามขอ 1,2,3,4 ๔ ดเี ลศิ
มผี ลการประเมินตามขอ 1,2,3 ๓ ดี
มผี ลการประเมินตามขอ 1,2 ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมินตามขอ 1 ๑ กําลังพฒั นา

5.2 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
คาํ อธบิ าย
สถานศึกษามีการบริหารจัดการระบบไฟฟา ระบบประปา ระบบคมนาคม ระบบการส่ือสาร รวมท้ัง

การจัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ เพื่ออํานวยประโยชนสําหรับใหบริการทาง
การศึกษาแกบ คุ ลากรทางการศึกษา ผเู รยี น หรือผใู ชบ ริการในสถานศึกษา

การประเมิน
1. สถานศกึ ษามีระบบไฟฟา ที่เหมาะสมกับสภาพใชงานในสถานศึกษา ไดแ ก

1.1 ระบบสงกําลัง
1.2 ระบบควบคุม
1.3 ระบบไฟฟา ภายในอาคาร หองเรียน หอ งปฏิบตั ิการ โรงฝกงานหรืองานฟารม
1.4 สภาพวัสดุ อุปกรณของระบบไฟฟา อยูในสภาพพรอมใชงาน และปลอดภัย
2. สถานศึกษามรี ะบบประปา หรือน้าํ ด่ืม นา้ํ ใชเพยี งพอตอ ความตอ งการ
3. สถานศกึ ษามถี นน ชอ งทางเดนิ หรือระบบคมนาคมในสถานศึกษาที่สะดวก ปลอดภัย มีระบบระบายนาํ้
ระบบกําจัดขยะภายในสถานศกึ ษาท่ีสอดคลองกับบรบิ ทของสถานศึกษา

40

4. สถานศกึ ษามรี ะบบการสอ่ื สารภายใน และภายนอกที่ทันสมยั สะดวก รวดเร็ว
5. สถานศกึ ษามรี ะบบรักษาความปลอดภยั
การตรวจสอบขอมูล
๑. ระบบไฟฟา ทเี่ หมาะสมกับสภาพใชงานในสถานศึกษา
๒. ระบบประปา หรือน้าํ ดม่ื นํ้าใชเพียงพอตอความตองการ
๓. ถนน ชองทางเดิน หรอื ระบบคมนาคมในสถานศึกษาที่สะดวก ปลอดภยั มีระบบระบายน้ํา ระบบกาํ จัดขยะ
ภายในสถานศกึ ษาทส่ี อดคลองกบั บริบทของสถานศกึ ษา
๔. ระบบการสือ่ สารภายใน และภายนอกทที่ ันสมัย สะดวก รวดเร็ว
๕. ระบบรกั ษาความปลอดภัย
เกณฑก ารประเมนิ
นําผลการประเมนิ มาเทียบกับเกณฑการประเมิน ดงั นี้

ผลการประเมนิ คา คะแนน ระดับคณุ ภาพ
มผี ลการประเมิน 5 ขอ ๕ ยอดเยยี่ ม
มผี ลการประเมิน 4 ขอ ๔ ดเี ลศิ
มีผลการประเมิน 3 ขอ ๓ ดี
มผี ลการประเมิน 2 ขอ ๒ ปานกลาง
มีผลการประเมิน 1 ขอ ๑ กําลงั พฒั นา

5.3 แหลงเรียนรูและศนู ยวิทยบริการ
คาํ อธิบาย
สถานศึกษามีแหลงเรียนรูและศูนยวิทยบริการหรือหองสมุดที่มีความพรอมและเพียงพอสําหรับใหครู

บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผูเรียน หรือผสู นใจ ใชบ ริการคน ควาหาความรเู พอื่ สงเสริมการเรียนรู
การประเมิน
1. สถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการพฒั นาแหลง เรยี นรแู ละศนู ยว ทิ ยบริการหรือหอ งสมุดอยางตอเน่ือง
๒. สถานศึกษามีศูนยวิทยบริการหรือหองสมุดที่มีสภาพแวดลอมเอื้อตอการศึกษา คนควา ของครูบุคลากรทาง

การศึกษา และผูเรยี น หรอื ผสู นใจ
๓. ศูนยวิทยบริการหรือหองสมุดมีจํานวนหนังสือตอจํานวนผูเรียนเปนไปตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด และมี

ระบบสืบคนดว ยตนเองเพียงพอ
๔. สถานศึกษามีการสรางแรงจูงใจใหผูเรียนเขาใชบริการศูนยวิทยบริการหรือหองสมุดไมนอยกวารอยละ 80

ของผูเรยี นทงั้ หมดของสถานศึกษาโดยพิจารณาจากสถิติของผูใชบ รกิ าร
๕. มแี หลงเรยี นรู หรือสือ่ อุปกรณ หอ งเรยี นเฉพาะทางครบทกุ สาขาวิชาที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน

41

การตรวจสอบขอ มลู
1. แผนงาน โครงการพฒั นาแหลง เรียนรูและศูนยวิทยบรกิ ารหรือหอ งสมุด
๒. ศูนยว ิทยบริการหรือหองสมุดมสี ภาพแวดลอมเอื้อตอการศึกษา คน ควาของครู บุคลากรทางการศึกษา และ
ผเู รียน หรือผสู นใจ
๓. จาํ นวนหนังสือตอ จํานวนผูเรยี นเปนไปตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และมีระบบสบื คน ดวยตนเองเพียงพอ
๔. จํานวนผเู รียนท้งั หมดของสถานศกึ ษา
๕. จํานวนผเู รยี นท่ีใชบ ริการศูนยวทิ ยบรกิ ารหรือหอ งสมุด
๖. จาํ นวนสาขาวชิ าทสี่ ถานศึกษาจดั การเรียนการสอน
๗. จาํ นวนสาขาวชิ าที่มีแหลง เรยี นรู หรือสอื่ อุปกรณ หองเรียนเฉพาะทาง

เกณฑก ารประเมนิ คา คะแนน ระดับคุณภาพ
นาํ ผลการประเมินมาเทียบกับเกณฑการประเมิน ดงั น้ี ๕ ยอดเยยี่ ม
๔ ดเี ลศิ
ผลการประเมนิ ๓ ดี
มีผลการประเมิน 5 ขอ ๒ ปานกลาง
มผี ลการประเมิน 4 ขอ ๑ กาํ ลังพัฒนา
มผี ลการประเมิน 3 ขอ
มผี ลการประเมิน 2 ขอ
มีผลการประเมิน 1 ขอ

5.4 ระบบอนิ เทอรเน็ตความเรว็ สงู เพอ่ื การใชงานดา นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
คาํ อธิบาย
สถานศึกษามีระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง สําหรับบริหารจัดการระบบสารสนเทศใหเกิดประสิทธิภาพ

ในการบริหารจัดการสถานศึกษา ในดานความสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง ทันเหตุการณ ประหยัดเวลา บุคลากรและ
งบประมาณ เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศระหวางสถานศึกษากับสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษาและหนว ยงานอนื่ ท่เี กีย่ วของ

การประเมนิ
1. สถานศกึ ษามรี ะบบเครือขายอนิ เทอรเ นต็ ที่มีประสทิ ธิภาพเหมาะสมกบั การใชงาน
2. มีผูรับผิดชอบ ดูแล และบริหารจัดการขอมูล การเขาถึงขอมูล ระบบความปลอดภัยในการจัดเก็บและ
ใชข อ มูล
3. มรี ะบบอินเทอรเ นต็ ความเรว็ สูง ครอบคลมุ พื้นท่ีใชง านภายในสถานศกึ ษา
4. มีระบบสารสนเทศเชอ่ื มโยงการบริหารจดั การภายในสถานศกึ ษา
5. มรี ะบบสารสนเทศเชื่อมโยงการบรหิ ารจดั การภายนอกสถานศกึ ษา

42

การตรวจสอบขอมูล
1. ระบบเครอื ขายอนิ เทอรเ น็ตทมี่ ีประสิทธภิ าพเหมาะสมกบั การใชงาน
2. ผูรับผิดชอบ ดูแล และบริหารจัดการขอมูล การเขาถึงขอมูล ระบบความปลอดภัยในการจัดเก็บและ
ใชข อมลู
3. ระบบอินเทอรเ นต็ ความเร็วสงู ครอบคลุมพ้นื ทใ่ี ชง านภายในสถานศึกษา
4. ระบบสารสนเทศเช่ือมโยงการบรหิ ารจัดการภายในสถานศกึ ษา
5. ระบบสารสนเทศเชอื่ มโยงการบริหารจดั การภายนอกสถานศกึ ษา
เกณฑก ารประเมนิ
นําผลการประเมนิ มาเทยี บกบั เกณฑการประเมนิ ดังน้ี

ผลการประเมนิ คาคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
มีผลการประเมิน 5 ขอ ๕ ยอดเยย่ี ม
มผี ลการประเมิน 4 ขอ ๔ ดเี ลิศ
มผี ลการประเมิน 3 ขอ ๓ ดี
มีผลการประเมิน 2 ขอ ๒ ปานกลาง
มีผลการประเมิน 1 ขอ ๑ กาํ ลงั พัฒนา

หมายเหตุ : ระบบอนิ เทอรเนต็ ความเร็วสงู (Broadband Internet) หมายถงึ เครือขายคอมพิวเตอรท ี่เช่อื มโยง
เขากับเครือขา ยคอมพิวเตอรทั้งภายในและภายนอก เพอ่ื ใหเกิดการสอ่ื สารและแลกเปลี่ยนขอ มูล
ทเี่ ปนส่ือประสมและมรี ายละเอียดสูงไดอยา งรวดเร็ว โดยมคี วามเรว็ ไมนอยกวา 100 Mbps
(เมกะบิทตอ วินาท)ี

5.5 การเขาถงึ ระบบอนิ เทอรเน็ตความเรว็ สงู เพือ่ การจดั การเรียนการสอนในชัน้ เรียน
คาํ อธิบาย
สถานศึกษาพัฒนาระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง เพ่ือสงเสริมใหครูผูสอนใชในการจัดการเรียนการสอน

การสืบคน และพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนในชั้นเรียนไดเตม็ ศักยภาพ
การประเมนิ
รอยละของหองเรียน หองปฏิบัติการท่ีสามารถใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอนเทียบกับ

จาํ นวนหอ งเรยี น หองปฏิบัตกิ ารทีใ่ ชในการจัดการเรียนการสอนทั้งหมดของสถานศกึ ษา
การคาํ นวณ

รอยละ = จาํ นวนหอ งเรยี น หอ งปฏบิ ตั กิ ารทสี่ ามารถใชอ นิ เทอรเนต็ ความเรว็ สงู ในการจัดการเรยี นการสอน X ๑๐๐
จํานวนหอ งเรยี น หองปฏบิ ัติการท่ใี ชในการจดั การเรยี นการสอนทงั้ หมดของสถานศึกษา

การตรวจสอบขอมลู
1. จาํ นวนหองเรยี น หองปฏิบัตกิ ารทใี่ ชใ นการจัดการเรียนการสอนทั้งหมดของสถานศึกษา
2. จํานวนหอ งเรียน หอ งปฏิบตั กิ ารทส่ี ามารถใชอินเทอรเน็ตอนิ เทอรเ น็ตความเรว็ สูงในการจดั การเรยี นการสอน


Click to View FlipBook Version