การบรหิ าร งานวิชาการ ที่เหมาะกับการจดั
การศึกษาในยุคเทคโนโลยี 4.0
และการจดั และพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ก
คานา
การศึกษาในยุค 4.0 ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่สาคัญในการดาเนินชีวิต
โดยเฉพาะในส่วนของผู้เรียนต้องสอนให้มี “ความรู้คู่คุณธรรมและมีทักษะในศตวรรษที่ 21” ได้แก่
ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรมการเรียน การทางาน
เป็นทีม การมีภาวะผู้นา การสื่อสาร การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์และ
ปัญญาประดษิ ฐ์ การคดิ คานวณ การสร้างอาชีพและการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง อย่างไรก็ตามการศึกษา
ไทยในยคุ 4.0 จะไมส่ ามารถขบั เคลอื่ นไปได้ถา้ ไมม่ กี ารพฒั นาการศกึ ษา หรือการบรหิ ารการศกึ ษาทีด่ ี
ซง่ึ ถือได้วา่ ส่งิ สาคัญท่ีจะช่วยผลักดัน และพฒั นาการศึกษาให้ดาเนนิ ไปได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
การบริหารงานวิชาการถือว่าเป็นหัวใจของการบริหารสถานศึกษาที่จะช่วยพัฒนา
การศึกษาในยุค 4.0 เพราะจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา ก็คือ การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ซ่ึง
ข้ึนอยู่กับงานวิชาการ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุจุดหมายของการศึกษาท่ีกาหนดไว้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพสงู นกั เรียนมีคุณภาพ มคี วามรู้ มีจรยิ ธรรม และคุณสมบตั ติ ามท่ตี ้องการ เพื่อนาไปใช้
ในการดารงชีวิตในสงั คมตอ่ ไปไดเ้ ปน็ อย่างดี
“ผูบ้ รหิ ารและครูผูส้ อน ควรศกึ ษาแนวทางการบรหิ าร “
งานวชิ าการ ด้านการพฒั นากระบวนการเรียนรใู้ หเ้ ขา้ ใจ
และตระหนักถงึ ประโยชน์ และความสาคัญของการ
บริหารงานวชิ าการดา้ นการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
เพอื่ ให้ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของการศกึ ษาในยคุ 4.0
ข
สารบญั
คานา ก
สารบญั ข
บทนา การศกึ ษา 4.0 1
บทที่ 1 การเพม่ิ ความสามารถในการพฒั นาครูในยุค 4.0 10
บทที่ 2 การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 15
บทที่ 3 การสง่ เสริมกระบวนการเรียนรสู้ ยู่ ุค 4.0 19
บทที่ 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้และการจดั การเรียนรู้ 32
บทที่ 5 การพัฒนาการนิเทศการศกึ ษา 4.0 42
บทที่ 6 การพัฒนาการวิจยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพวชิ าการ 56
บทที่ 7 การพฒั นาการใช้สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0
66
บทที่ 8 แนวคิดและหลกั การเก่ียวกบั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 83
บทที่ 9 แนวทางการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา
90
บทที่ 10 การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 95
บทที่ 11 การจัดทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา 100
บทที่ 12 การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 125
บทที่ 13 การเตรยี มความพรอ้ มของสถานศกึ ษาเพือ่ รับ
การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
132
บรรณานกุ รม 137
การบรหิ ารวิชาการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 01
บทนา
การศึกษา 4.0
การศึกษาเป็นรากฐานอันสาคัญของการพัฒนาและเป็น
กลไกหลักในการสร้างทุนมนุษย์ (Human Capital) ให้
เปน็ ทรัพยากรต้นทุนท่ีทรงประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน
และพัฒนาประเทศชาติใหม้ คี วามเจริญก้าวหนา้ ในทุกมิติ
“ การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 02
“4.0 เปน็ แนวคิดท่ีจะพาให้ประเทศชาตหิ ลดุ พน้ จาก
กบั ดักประเทศผมู้ ีรายได้ปานกลาง และเปลย่ี นวิถี
ชีวติ ดง้ั เดมิ ของคนไทยจากการเปน็ ผบู้ รโิ ภค ไปสู่
การเปน็ ผผู้ ลติ
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 03
การศึกษา 4.0
การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษยชาติ และมวลมนุษย์ก็อาศัย
การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะ ควบคู่ไปกับคุณธรรม
จริยธรรม เพื่อเพ่ิมศักยภาพของตนให้สามารถดารงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผ่านกระบวนการเรียนรู้จากส่ิงท่ีอยู่รอบตัวและสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น โดยอาศัยประสาทสัมผัสท้ัง 5
เพื่อให้เรยี นรู้ จดจา นาไปใช้และพัฒนาต่อยอดการเรียนรู้น้ันข้ึนไปเรื่อย ๆ ด้วยเหตุน้ี การศึกษาจึง
เป็นรากฐานอันสาคัญของการพัฒนาและเป็นกลไกหลักในการสร้างทุนมนุษย์ (Human Capital) ให้
เป็นทรัพยากรต้นทุนท่ีทรงประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศชาติให้มีความ
เจริญก้าวหนา้ ในทกุ มิติ
การศึกษาของโลกท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งเป็น
แนวคิดท่ีนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการ โดยเช่ือมต่อทางเครือข่ายใน
รปู แบบของ Internet of Thingsหรือ IoT เพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพในกระบวนการผลติ นาไปสู่การเกิดขึน้
ของการศึกษา4.0 เพื่อเป็นทางเลือกและทางรอดของสังคมโลกในยุคปัจจุบัน เพราะการศึกษา 4.0
เป็นการศึกษาที่เน้นทักษะการคิด ทักษะการออกแบบ ทักษะการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติ เพ่ือให้ได้
ผลผลิตและนวัตกรรมใหม่ ๆ ควบคู่ไปกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional
Intelligence) เช่น ความรับผดิ ชอบ ความกระตอื รือรน้ คุณธรรมจริยธรรม รวมไปถงึ ภาวะผู้นาและ
ผตู้ ามทดี่ ีไปพร้อมกันอกี ดว้ ย
ปัจจุบันประเทศไทยให้ความสาคัญกับแนวคิดการศึกษา 4.0 เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็น
แนวคดิ ท่ีจะพาให้ประเทศชาตหิ ลดุ พ้นจากกับดกั ประเทศผมู้ ีรายไดป้ านกลาง และเปล่ยี นวิถีชีวิตด้ังเดิม
ของคนไทยจากการเปน็ ผู้บรโิ ภค ไปสกู่ ารเป็นผผู้ ลติ การดาเนนิ การดังกล่าวควรเป็นไปอย่างมีระบบ
และเป็นข้ันตอนประเทศไทยจึงจะก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนตาม
แนวความคดิ นต้ี อ้ งอาศยั ความร่วมมอื จากทุกภาคสว่ น โดยเฉพาะ "การศึกษา" ซึ่งเป็นปัจจัยพ้ืนฐาน
ที่จะช่วยพัฒนาคนให้มีความคิดสร้างสรรค์นาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมขึ้นได้ เราจึงต้องปฏิรูป
การศกึ ษา และปรับเปล่ยี นกลยุทธก์ ารจดั การเรียนร้เู สยี ใหม่ เพ่อื สรา้ งกาลงั คนให้มที ักษะแห่งอนาคต
ท่ี รองรับกับประเทศไทย 4.0 คือ ครูและผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งจงึ จาเป็นต้องศกึ ษาความหมายและความเปน็ มา
ของการศึกษา 4.0 เพอ่ื ให้เข้าใจและมองเห็นภาพของการเปลย่ี นแปลงที่จะเกิดขน้ึ กาหนดคุณลกั ษณะ
ของผ้เู รยี นกบั หลักสูตรใหส้ ัมพนั ธ์กัน แสวงหารปู แบบการจดั การเรียนรู้ทเ่ี หมาะสม รวมไปถงึ วิธีการ
วัดและประเมินผลที่สอดคล้องกันด้วย สิ่งสาคัญ คือ ครู จะต้องพัฒนาสมรรถนะของตนเองให้
ก้าวหน้าและทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อนาความรู้และประสบการณ์นั้นไปเป็นพ้ืนฐานสาหรับการพัฒนา
ผู้เรยี นต่อไป
ความหมายของการศึกษา 4.0
เมอ่ื ประเทศไทยใหค้ วามสาคญั และต่ืนตัวกับการพัฒนาตาม "โมเดลประเทศไทย 4.0" คาว่า"
การศึกษา 4.0" หรือ "Education 4.0“ ก็ได้รับความสนใจและพั ฒนาขึ้นเป็นลาดับถัดมา ในฐานะท่ี
เปรียบเสมอื นดา่ นหนา้ ของการเปลยี่ นผ่านไปสคู่ วามสาเรจ็ เราจงึ ไดย้ ินคานก้ี นั อยบู่ อ่ ยครั้ง ปัจจุบันมี
นักคิดและนักการศึกษาได้อธิบายความหมายไว้ว่า การศกึ ษา 4.0 หมายถงึ การสรา้ งความร้จู าก
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 04
ความสนใจรายบุคคลและจากการรวมตัวของคนท่ีมีแรงผลักดันเป็นทีม (Manoosawej, 2016)
เป็นการศึกษายุคผลิตภาพ เป็นยุคที่ต้องการผลผลิตให้ได้มากท่ีสุด เพื่อประโยชน์ของชุมชนตนเอง
และ ชุมชนอื่น ๆ ด้วยทักษะของการศึกษาจึงจะต้องเน้นการทาได้ เมอ่ื ลงมอื ทาแลว้ ก็จะไดอ้ อกมาเป็น
ผลผลิตซ่ึงต้องมองผลิตภาพในลักษณะที่ตามให้ทันและก้าวไปข้างหน้า (Sinlarat, 2016) การศึกษา
จึงต้องพัฒนาให้คนมีความสามารถด้านการคิด โดยเฉพาะการคิดสร้างสรรค์และการคิดผลิตภาพ
เพื่อให้สามารถสร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง (Jindanurak, 2017) ซึ่งเป็นการศึกษาในยุคของ
เศรษฐกจิ ทข่ี ับเคลือ่ นด้วยนวตั กรรมเทคโนโลยีและความคิดสรา้ งสรรค์ (Pratchayapreuk, 2018)
การศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 เป็นส่วนหน่ึงท่ีจะนาพาประเทศชาติไปสู่ความสาเร็จ จึงต้อง
อาศยั ทุกภาคส่วนใหค้ วามรว่ มมอื โดยเฉพาะครูต้องปรับการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา
(STEM) และ Active Learning นามาใช้ในการเรียนการสอนอย่างจรงิ จัง ในปัจจุบันประเทศไทย นาโดย
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ขับเคล่ือนให้ครูผู้สอนทั่วประเทศโดยเฉพาะครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการเรียกว่า “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสะ
เต็ม (STEM)” ทงั้ ผู้บริหารโรงเรยี นตอ้ งเปน็ ผ้นู าทางวิชาการ การปฏริ ูปการศึกษาต้องเนน้ ทหี่ อ้ งเรยี น
ติดตามพฤตกิ รรมการ สอนของครูโดยสร้างตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน โรงเรียนทุกโรงเรียนต้องมี
มาตรฐานเดียวกันภายใน 10 ปี ประเทศไทยต้องมีนวัตกรรมเป็นของตนเองแน่นอน (โพยมจันทร์
นอ้ ย, 2560) และการพฒั นาการศกึ ษาภายใตก้ รอบประเทศไทย 4.0 สศู่ ตวรรษที่ 21 เริ่มด้วยการฝกึ
ให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง ครูเปล่ียนจากครูสอนเป็นพ่ีเลี้ยง ครูฝึก(Coach) การเรียนแบบ
บูรณาการสหวิชาการ เช่ือมโยงความรู้กับจินตนาการ เปลี่ยนแปลงไปสู่รูปธรรมให้ผู้เรียนมีทักษะท่ี
ตอ้ งการ เช่น การทางานร่วมกนั ความคิดสร้างสรรค์ และการสื่อสารทดี่ ี
การบรหิ ารงานวิชาการท่ีเหมาะกับการจดั การศกึ ษาในยุคเทคโนโลยี 4.0
งานวิชาการเป็นงานหลักของการบริหารสถานศึกษา ไม่ว่าสถานศึกษาจะเป็นประเภทใด
มาตรฐานและคณุ ภาพของสถานศกึ ษา จะพจิ ารณาไดจ้ ากผลงานด้านวิชาการ เนื่องจากงานวชิ าการ
เก่ียวข้องกับหลักสูตร การจัดโปรแกรมการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นหัวใจของ
สถานศึกษา และเกี่ยวข้องกับผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกระดับของสถานศึกษา ซ่ึงอาจจะ
เกี่ยวข้องทางตรงหรือทางอ้อมก็อยู่ที่ลักษณะของงานน้ัน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน เล็งเห็นความสาคัญของงานวิชาการ เพราะกระทรวงศึกษาธิการได้มีการปฏิรูปการศึกษา
มงุ่ พัฒนาหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้ พบวา่ เดก็ เครยี ด เด็กเรียนเยอะ เด็กไม่มีความสุขกับการ
เรยี น/ผลสมั ฤทธิต์ ่า เนอื้ หาไมส่ อดคล้องกับบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลง และกระบวนการเรียนรู้
การผลิตและพัฒนาครูพบวา่ ครบู างส่วนไมเ่ ก่ง ครูไม่ครบช้ัน สอนไม่ตรงเอก ภาระงานเยอะ และครู
ขาดขวัญและกาลังใจ และการทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพ และการพัฒนามาตรฐาน
การศกึ ษา พบว่า การประเมินครไู มน่ าผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี นมาเป็นตวั ชีว้ ัดหลกั ในการเลือ่ นวทิ ยฐานะ
และพิจารณาความดคี วามชอบ ระบบการศึกษาต่อในแตล่ ะระดับ ความสามารถเลือ่ นช้นั ได้ทั้งทไี่ ม่ผ่าน
เกณฑ์ ระบบรบั ตรง/การเก็บหนว่ ยกิตในขณะท่ียังไม่จบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน การประเมินผลสัมฤทธ์ิ
ของผู้เรยี น การประเมินไมต่ อบโจทยเ์ ร่ืองทักษะความรู้ความสามารถของผู้เรียนและสมรรถนะตามท่ี
หลักสูตรกาหนด
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 05
01
การเพ่ิมความสามารถใน
การพัฒนาครูในยุค 4.0
ครูสายพันธุ์ใหม่ในยุค 4.0 ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือ
จดุ เนน้ จากการสอน ไปเป็นเน้นท่กี ารเรียนทั้งของศิษย์และ
ของครูไปพร้อม ๆ กันครูต้องเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบ
การเรียนรูท้ ่ตี นจัดให้แกศ่ ษิ ยด์ ้วย
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 06
การเพ่ิมความสามารถในการพัฒนาครใู นยุค 4.0
ครเู ปน็ บุคคลทสี่ งั คมให้ความสาคัญและยกย่อง ครูจึงเป็นคนต้นแบบในการจัดกระบวนการ
เรยี นรู้ เป็นบุคคลทสี่ ง่ เสรมิ และสรา้ งสรรคก์ ารเรียนรขู้ องผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพ ซง่ึ คณุ ภาพของผเู้ รียน
ข้ึนอยู่กับคุณภาพของครู ครูผู้สอนในยุค 4.0 ต้องมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดทักษะ
ด้านวิชาการให้มีประสิทธิภาพ ครูต้องเปลี่ยนบทบาทใหม่จากเคยเป็นผู้สอน ผู้ให้ความรู้มาเป็นผู้ที่
คอยอานวยความสะดวกหลังเลิกเรียน (learning facilitator) ในการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ และ
หนังสอื ใหผ้ ้เู รยี นได้ศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ นอกเหนอื จากการเรียนในห้องเรยี นได้ รวมถงึ ครูตอ้ งเปน็ ผู้
แนะแนวทาง (guide/coach) ในการมอบความรดู้ ้านวชิ าการอน่ื ท่เี กี่ยวข้องเพิ่มเติมได้เพ่ือให้ผู้เรียน
ต่อยอดทางความร้นู อกเหนอื จากวชิ าการหลักทเ่ี ขาไดเ้ รยี นรู้ และทีส่ าคญั ครูตอ้ งอยู่เป็นผู้ร่วมเรียน
ผู้ร่วมศึกษา (co - learning/co - investigator) กับผู้เรียนเพ่ือคอยสรุปเน้ือหาสาระสาคัญใน
บทเรียน เป็นผู้ตอบคาถามจากผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ข้อมูลท่ีถูกต้องในการสรุปเนื้อหาในแต่ละ
บทเรียน ครูสายพันธุ์ใหม่ในยุค 4.0 ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอน ไปเป็นเน้นท่ีการ
เรยี นท้งั ของศษิ ย์และของครไู ปพรอ้ ม ๆ กันครูตอ้ งเรยี นรแู้ ละปรบั ปรุงรปู แบบการเรียนรู้ทตี่ นจัดใหแ้ ก่
ศิษย์ด้วย ครูเพ่ือศิษย์ต้องเปล่ียนบทบาทของตนเองจาก "ครูสอน" ไปเป็น "ครูฝึก" และต้องเรียนรู้
ทักษะในการทาหน้าที่น้ี โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่ม เพื่อเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเน่ืองที่
เรียกว่า PLC (Professional Learning community) เพ่ือการพฒั นาผเู้ รียนอยา่ งย่งั ยนื
การพัฒนาครูในยคุ 4.0 อยา่ งยงั่ ยนื
การพัฒนาครูให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพอย่างแท้จริงน้ันต้องใส่ใจกับประสิทธิภาพของ
ข้ันตอนในการพัฒนาวิชาชีพอย่างจริงจัง ท้ังน้ีเป็นเพราะว่าในแต่ละขั้นของการพัฒนาน้ันครูมี
คณุ ลกั ษณะและความตอ้ งการแตกต่างกนั ตามแนวคดิ ของ Villegas-Reimers (2003) ทีก่ ลา่ ววา่ การ
พัฒนาวิชาชีพครู ใน 5 ข้ันตอน ดังนี้ ข้ันท่ี 1 เป็นระยะท่ีครูเข้าสู่วิชาชีพ มีประสบการณ์การสอน
ประมาณ 1 - 3 ปี ครูที่อยู่ในข้ันนี้มคี วามต้องการเรียนรู้และทาความเข้าใจกับวิชาชีพของตน ข้ันท่ี 2
เป็นระยะท่ีครูเริ่มมีความม่ันคง มีประสบการณ์การสอนประมาณ 4 - 6 ปี ครูที่อยู่ในข้ันน้ีมีความ
มุ่งมนั่ ในการสอนและมคี วามรอบรใู้ นศาสตรก์ ารสอนมากขนึ้ ชัน้ ที่ 3 เปน็ ระยะที่ครมู ีความคดิ แตกตา่ ง
มีประสบการณก์ ารสอนประมาณ 7 - 18 ปี ครทู ีอ่ ยู่ในขัน้ นบ้ี างกลมุ่ ใสใ่ จกบั การศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลอง
การสอนใหม่ ( ชอบเผชิญปัญหาความท้าทาย มคี วามกระตือรือรน้ ในการพฒั นาวชิ าชพี ของตน แต่
บางกลุม่ อาจมองว่าระยะนี้ป็นระยะท่ีสับสนกับตัวเองและต้องทบทวนตนเอง มีครูหลายคนท่ีลาออก
จากวชิ าชพี ในระยะน้ี เนอื่ งจากมภี าวะความเครยี ดในการทางานสงู สุด ข้ันที่ 4 เปน็ ระยะทค่ี รมู ีความคิด
แตกต่างในคร้ังที่ 2 เมื่อครูมีประสบการณ์สอนประมาณ 19 - 20 ปี ครูบางคนในช่วงน้ีจะมีการ
ประเมินตนเองผ่อนคลาย และเริ่มตระหนักรู้ถึงการทาตัวความเหินห่างกับผู้เรียนครูบางคนเริ่มมี
ความคิดเชิงวิเคราะห์วิพากษ์ถึงระบบการศึกษา การบริหารจัดการของโรงเรียนผู้บริหาร เพ่ือนครู
รวมถงึ อาชพี ของตน ข้นั ท่ี 5 เป็นระยะท่คี รูปลดปล่อย ครทู ี่ทาการสอนมาประมาณ 31-50 ปี จะเริ่ม
ไม่ใส่ใจการพัฒนาวิชาชีพของตนและมีแนวโน้มมากขึ้นเร่ือย ๆ ครูบางคนใช้ช่วงเวลานี้สะท้อน
ประสบการณ์ท่ผี ่านมาและใช้ชีวติ อย่างสงบ แตท่ วา่ ครูบางคนช่วงนเ้ี ปน็ ชว่ งที่ผิดหวงั ในวิชาชีพซ่ึงการ
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 07
พัฒนาดา้ นวชิ าการของครใู นทกุ ช่วงระดับช้นั ตามทก่ี ลา่ วมานี้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
และภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ภายใต้ โมเดล 'ประเทศไทย 4.0' นั้น จะต้องเร่ิมจากสร้างความเข้มแข็ง
จากภายใน คือการยกระดับกรศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่
ผปู้ ระกอบการ ชุมชน ประชาชนและเครอื ข่ายในทกุ ภาคส่วนของประเทศ เมื่อโครงสร้างเศรษฐกิจและ
สังคมภายในประเทศเข้มแข็ง ในส่วนของการพัฒนาครูในยุค 4.0 ด้านวิชาการส่ิงท่ีต้องดาเนินการ
ควบคู่กันไป คอื ครูตอ้ งมลี ักษณะตามที่ อ่องจติ เมธยะประภาส (2557) กล่าวว่า "ครใู นยุคศตวรรษ
ที่ 21 ตอ้ งมลี กั ษณะ E - Teacher" ดงั น้ี
1. Experience มีประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรู้แบบใหม่
2. Extended มีทกั ษะการแสวงหาความรู้
3. Expended มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนสู่ผู้เรียนผ่านสื่อ
เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
4. Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเน้ือหาความรู้หรือเน้ือหาท่ี
ทนั สมยั เหมาะสมและเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รียนผา่ นทางส่อื เทคโนโลยี
5. Evaluation เป็นนักประเมนิ ทดี่ ี มีความบรสิ ทุ ธ์แิ ละยตุ ธิ รรม และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการ
ประเมินผล
6. End - User เปน็ ผทู้ ่ีใช้เทคโนโลยี (user) อยา่ งคุ้มคา่ และใช้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย
7. Enabler สามารถใช้เทคโนโลยีสรา้ งบทเรยี น
8. Engagement ต้องร่วมมือและแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันผ่านส่ือเทคโนโลยีจนพัฒนาเป็น
เครือข่ายความร่วมมอื เชน่ เกดิ ชมุ ชนครูบน web
9. Efficient and Effective สามารถใชส้ ่ือเทคโนโลยอี ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลทั้งใน
ฐานะท่เี ป็นผ้ผู ลติ ความรู้ ผกู้ ระจายความรู้ และผูใ้ ชค้ วามรู้
ครูในยุค ศตวรรษที่ 21 หรือยุค 4.0 ตามลักษณะของ E – Teacher ครูจึงจาเป็นจะต้อง
เปล่ียนวัฒนธรรมการเรียนรู้ของเด็กไทยเสียใหม่ ให้รู้จักการสร้างสรรค์ ร่วมกันวางแผน รู้จัก
แยกแยะ รูจ้ กั ประยกุ ต์ วิจยั คน้ ควา้ สรา้ งผลงาน วางแผนและประมวลผลเปน็ เพอื่ เปน็ ภมู คิ มุ้ กันในดา้ น
ไอทแี ละทักษะในการเลือกเนข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชนใ์ นการนาไปใชป้ ระกอบการเรียนการสอนด้วย
การตอบสนองด้านเทคโนโลยี
การนาเทคโนโลยีไปใชใ้ นการเรียนการสอนนับว่าเป็นความท้าทายอย่างมากของการพัฒนา
วชิ าชีพของครู เน่ืองจากปัญหาท่หี ลาย ๆ ประเทศท่ีกาลังปฏิรูปการศึกษาได้เผชิญ คือ การท่ีครูยัง
ไม่สามารถเข้าถึงการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงสถาบันการ
ผ ลิ ต ค รู ยั ง ล้ า ห ลั ง ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ใ ห้ กั บ ผู้ ท่ี ก า ลั ง จ ะ เ ป็ น ค รู ใ น
อนาคต นอกจากนี้ ท้งั ผบู้ ริหารโรงเรียนและครทู ม่ี ปี ระสบการณก์ ารสอน ต่างก็ร้สู กึ วา่ ตนเองยังไมม่ ี
ความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอน เพราะไม่สามารถใช้ใน
ระดับท่ีซับซ้อนได้ แม้ในบางโรงเรียนแม้จะมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่าง ๆ พร้อม
แต่การอบรมครูยังไม่มีประสิทธิภาพ ทางแก้คือการจัดให้มีเครือข่ายการเรียนรู้มาให้บริการจัด
โปรแกรมการอบรมครูในตา่ งจงั หวัดเพอ่ื ใหค้ รูได้มีโอกาสพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง เช่น โรงเรียน
ร่วมมือกบั มหาวทิ ยาลยั จดั อบรมครูต้นแบบดา้ นเทคโนโลยใี ห้มคี วามร้แู ละทกั ษะในระดบั ทีน่ าเทคโนโลยี
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 08
พัฒนาด้านวิชาการของครูในทุกชว่ งระดับช้นั ตามที่กล่าวมานส้ี อดคล้องกับการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ
และภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ภายใต้ โมเดล 'ประเทศไทย 4.0' น้ัน จะต้องเร่ิมจากสร้างความเข้มแข็ง
จากภายใน คือการยกระดับกรศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้แก่
ผปู้ ระกอบการ ชุมชน ประชาชนและเครือขา่ ยในทุกภาคส่วนของประเทศ เม่ือโครงสร้างเศรษฐกิจและ
สังคมภายในประเทศเข้มแข็ง ในส่วนของการพัฒนาครูในยุค 4.0 ด้านวิชาการสิ่งท่ีต้องดาเนินการ
ควบค่กู นั ไป คอื ครูต้องมีลกั ษณะตามท่ี อ่องจติ เมธยะประภาส (2557) กล่าวว่า "ครูในยุคศตวรรษ
ที่ 21 ต้องมีลกั ษณะ E - Teacher" ดงั น้ี
1. Experience มปี ระสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่
2. Extended มีทกั ษะการแสวงหาความรู้
3. Expended มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนสู่ผู้เรียนผ่านส่ือ
เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรู้หรือเน้ือหาที่
ทันสมัยเหมาะสมและเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้เรยี นผา่ นทางสื่อเทคโนโลยี
5. Evaluation เปน็ นักประเมนิ ทด่ี ี มคี วามบรสิ ทุ ธ์แิ ละยุติธรรม และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการ
ประเมินผล
6. End - User เป็นผ้ทู ใี่ ชเ้ ทคโนโลยี (user) อยา่ งคุ้มคา่ และใชไ้ ดอ้ ยา่ งหลากหลาย
7. Enabler สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ร้างบทเรียน
8. Engagement ต้องร่วมมือและแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันผ่านส่ือเทคโนโลยีจนพัฒนาเป็น
เครอื ขา่ ยความรว่ มมือเชน่ เกิดชุมชนครูบน web
9. Efficient and Effective สามารถใชส้ ื่อเทคโนโลยีอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผลทั้งใน
ฐานะท่ีเป็นผู้ผลติ ความรู้ ผ้กู ระจายความรู้ และผใู้ ชค้ วามรู้
ครูในยุค ศตวรรษที่ 21 หรือยุค 4.0 ตามลักษณะของ E – Teacher ครูจึงจาเป็นจะต้อง
เปลี่ยนวัฒนธรรมการเรียนรู้ของเด็กไทยเสียใหม่ ให้รู้จักการสร้างสรรค์ ร่วมกันวางแผน รู้จัก
แยกแยะ รจู้ ักประยกุ ต์ วจิ ัยคน้ คว้า สร้างผลงาน วางแผนและประมวลผลเปน็ เพ่ือเปน็ ภูมิคมุ้ กันในดา้ น
ไอทแี ละทักษะในการเลือกเนขอ้ มูลทเี่ ป็นประโยชน์ในการนาไปใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนด้วย
การตอบสนองด้านเทคโนโลยี
การนาเทคโนโลยไี ปใชใ้ นการเรยี นการสอนนับว่าเป็นความท้าทายอย่างมากของการพัฒนา
วิชาชพี ของครู เนอ่ื งจากปญั หาที่หลาย ๆ ประเทศทก่ี าลังปฏิรูปการศึกษาได้เผชิญ คือ การที่ครูยัง
ไม่สามารถเข้าถึงการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงสถาบันการ
ผ ลิ ต ค รู ยั ง ล้ า ห ลั ง ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ใ ห้ กั บ ผู้ ท่ี ก า ลั ง จ ะ เ ป็ น ค รู ใ น
อนาคต นอกจากนี้ ท้ังผู้บริหารโรงเรยี นและครทู ี่มีประสบการณก์ ารสอน ต่างก็รูส้ ึกว่าตนเองยังไมม่ ี
ความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอน เพราะไม่สามารถใช้ใน
ระดับที่ซับซ้อนได้ แม้ในบางโรงเรียนแม้จะมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่าง ๆ พร้อม
แต่การอบรมครูยังไม่มีประสิทธิภาพ ทางแก้คือการจัดให้มีเครือข่ายการเรียนรู้มาให้บริการจัด
โปรแกรมการอบรมครูในต่างจังหวัดเพอื่ ให้ครไู ด้มีโอกาสพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง เช่น โรงเรียน
ร่วมมือกบั มหาวิทยาลัยจดั อบรมครูตน้ แบบด้านเทคโนโลยใี ห้มคี วามรู้และทกั ษะในระดับที่นาเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรเ์ พอื่ การสอนอยา่ งย่ังยืน
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 09
ดว้ ยเหตุน้ี การพฒั นาครไู ทยในยคุ ธุรกิจศึกษา 4.0 เพ่ือการพฒั นาอย่างยั่งยืนจึงต้องให้ความสนใจ
กับปัจจัยด้านการใช้เทคโนโลยีเป็นอย่างยิ่ง โดยผู้บริหารในหน่วยงานสังกัดของครูต้องมีนโยบาย
สาคัญไดแ้ ก่
1) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของครูด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ พร้อมท้ัง
เสริมสร้างความเชีย่ วชาญในเนอื้ หาสาระของตนเพอื่ จะได้นาเทคโนโลยีมาประยกุ ต์ใชก้ บั เนอ้ื หาไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม
2) สร้างโอกาสการเรียนร้ขู องครใู นการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งสมา่ เสมอ 3) สนบั สนนุ เครอ่ื งมอื ท่ี
จะช่วยให้ครูได้แสวงหาการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง และ 4) จัดหาประสบการณ์ที่เป็นการ
เรียนรู้ระยะยาวเพื่อว่าครูสามารถฝึกฝนการใช้เทคโนโลยีในระหว่างการปฏิบัติงานและมีทักษะการใช้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
การยกระดับคณุ ภาพครูไทยในยคุ 4.0
คุณลักษณะครูไทยท่ีมีคุณภาพจะต้องมีลักษณะ เป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูและ
ผู้ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะการจัดการเรียนรู้ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการ
สื่อสารและรู้เท่าทันพฤติกรรมการใช้ ชีวิตของผู้เรียนเพื่อใช้ในการปกครองชั้นเรียน เป็นผู้อานวย
ความสะดวกในการเรียนรู้ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ครูตื่นรใู้ ช้ชวี ติ ทนั สมัย ทนั เหตุการณ์ตามทันเทคโนโลยีและ
ขา่ วสาร หม่ันสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของผู้เรียน ใฝ่คว้าและแสวงหาความรู้อย่าง ต่อเน่ือง
เปน็ แบบอยา่ งทางคณุ ธรรมจริยธรรมและศีลธรรม รู้จริงและยอมรับการเปล่ียนแปลงของผู้เรียนใน
แต่ละช่วงวัย ต้องมีความรู้รอบตัวต่อการเปล่ียนแปลงของโลกและประชาคมอาเซียน และมีทักษะใน
การแก้ไขปัญหาชีวิต ในการพัฒนาวิชาชีพครู ครูจะต้องก้าวผ่านจากผู้ไม่มีประสบการณ์ไปสู่
ผู้เชย่ี วชาญการสอน การพัฒนาวชิ าชพี ครจู ึงควรพฒั นาความร้ตู นเองอย่าง ตอ่ เนือ่ งอยูเ่ สมอ ครู
มอื อาชพี ในยุค 4.0 ตอ้ งเปน็ ผนู้ าในวิชาชีพ เป็นผ้ทู ่พี ฒั นาตนเองอย่างสม่าเสมอ โดยพัฒนาทั้งด้าน
ปัญญา ด้านศาสตร์ทางเน้ือหา การใช้เทคโนโลยีด้านจิตใจ และคุณลักษณะในวิชาชีพครูเป็นการ
พัฒนาตนอย่างรอบด้าน การพัฒนา ตนเองมีได้หลายแบบ เช่น โดยการอ่าน จะต้องพัฒนาการ
อ่านทางวิชาการท้ังด้าน เทคนิคการอ่านและขอบข่ายของการอ่าน โดยการประชุมสัมมนาทาง
วิชาการ โดยการศกึ ษาระบบทางใกลแ้ ละระบบทางไกล (E-Learning) เป็นการศึกษาอบรมที่มี ลักษณะ
คล้ายคลึงกับการศึกษาต่อ หรือการเข้ารับการอบรมในหน่วยงาน เป็นการศึกษาท่ีผู้ให้และผู้รับ
ความรู้มีการพบปะกัน โดยตรง ปัจจุบันมีการศึกษาอบรมทางไกลได้หลายรูปแบบ และสามารถหา
ความรู้จากเวป็ ในระบบต่าง ๆ ได้เชน่ MOOC (Massive Open Online Course) เปน็ ตน้
ครใู นยคุ การศกึ ษา 4.0 ตอ้ งจดั ให้มบี รรยากาศชั้นเรียนในรปู แบบการสอนที่มเี รียนรู้กันเป็น
ทีมพร้อมกบั ครูให้ผู้เรยี น สรา้ งผลผลิตให้มากท่ีสุด ให้ความสาคัญกับผู้เรียนได้ลงมือทาและพัฒนา
เปน็ ผลงานของเขาเองทม่ี คี ณุ ภาพโดยเฉพาะผลงาน ของตนเองในเชิงสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อ
ผลงานท่ีพัฒนาข้ึน ซึ่งเป็นคุณลักษณะคนรุ่นใหม่ของสังคมไทยในการพัฒนาประเทศ รูปแบบการ
สอนแ บบ CCPR Model (Criticality–Creativity– Productive-Responsibility Based Instruction)
โดย เปลีย่ นบทบาทของ ครไู ปอยู่ทผี่ ู้เรียน ในขณะทีบ่ ทบาทใหม่ของครูคอื ชว่ ยและเสริม เปดิ ปากศษิ ย์
ปิดปากครูเป็นต้น ทฤษฎี คอนสตรัคชันนิซึมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ (Critical) การคิด
สร้ า ง ส ร ร ค์ ( Creativity) ก า ร สร้ า ง ผล ผลิ ต ( Productivity) แ ล ะก า ร มี ค วา ม รั บ ผิ ดชอ บ
(Responsibility) เป็นรปู แบบที่เน้นเปา้ หมายบรรยากาศชัน้ เรียนในรปู แบบการสอนน้ีมีลกั ษณะเฉพาะที่
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 10
สาคัญ 4 อย่าง คอื
1) ส่งเสริมการคิดเชิงนวัตกรรม เป็นกระบวนการ ท่ีช่วยให้เกิดการคิดอย่างสร้างสรรค์มี
แนวคิด ใหม่ๆ มีการเสนอแนะ มีการพัฒนา มีการจัดระบบข้ึนมา เพ่ือให้กระบวนการนวัตกรรม
เกดิ ข้ึน เน้นการสร้างผลผลิตและเนน้ กระบวนการทเ่ี ปน็ ลาดับ
2) พัฒนาบนฐานคุณภาพ เน้นการให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของคุณภาพซึ่งสาคัญมาก
หากผลผลิตที่พัฒนาข้ึนมาไม่มีคุณภาพพอก็ไม่สามารถจะพัฒนาต่อยอดในอนาคตได้ดังน้ัน ทุก
ชน้ิ งานจึงตอ้ งตอบโจทยใ์ นเชิงคุณภาพ ทัง้ ในดา้ นผลผลติ และวิธกี าร
3) ทากิจกรรมเน้นความร่วมมือ เป็นความร่วมมือระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับ
ผเู้ รียน ใชก้ ารวิเคราะห์วิจารณ์และการพฒั นาความสามารถของบุคคลในแตล่ ะกลมุ่
4) สัมพนั ธก์ ับสงั คม โดยเน้นการปลกู ฝัง จติ สานกึ ทางสงั คมให้กับผู้เรียน เปน็ การทาผลงาน
โดยไม่หวงั ส่ิงตอบแทนและตระหนกั ถงึ ความจาเป็นของสังคม ในการ เปล่ยี นแปลงและแกไ้ ขให้ดีข้ึน
นอกจากการยกระดับครูให้เป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูและผู้ให้มีความรู้ความสามารถและ
ทกั ษะการ จัดการเรียนรผู้ ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว ครูต้องพัฒนาตนเองในด้านการสร้าง
และบูรณาการความรู้ต่าง ๆ ท่ีมีมาใช้ ในการสร้างสรรค์และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ อย่างมี
ความคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ครูจะต้องสอนให้เด็กมีทักษะ กระบวนการคิด โดยสามารถคิด
วิเคราะห์ในเรื่องต่าง ๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์จากการยกตัวอย่าง กรณีศึกษาท่ี
ทันสมัยไป พร้อม ๆ กับมีวิสัยทัศน์และตกผลึกทางความคิดเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เรียน
ครูจะต้องเป็น คนมีวิสัยทัศน์เน้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยการส่งเสริมการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็น
สาคัญ เพ่ือให้เด็กตกผลึกทางความคิดได้ ด้วยตัวเอง และมีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่าง
กนั ครจู ะต้องเปน็ แบบอย่างในการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ สง่ เสริมการ เรียนรูไ้ ดห้ ลากหลาย และสามารถชใ้ี ห้
เด็กเห็นถงึ ขอ้ ดขี ้อเสยี และการใชเ้ ทคโนโลยตี า่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม ควบคูไ่ ปกับมที กั ษะ การสอนเดก็ ให้
เติบโตเต็มศักยภาพและสร้างผลงานใหม่ๆ ครูจะต้องส่งเสริมการเรียนรู้ให้เด็กตามวัยและให้เด็ก
พัฒนาอย่าง เต็มที่ตามศักยภาพของเด็กและเน้นให้เด็กเปล่ียนจากเป็นผู้รับ กลายเป็นผู้พัฒนาและ
สร้างสรรค์ส่ิงใหม่และท่ีขาดไม่ได้เลยคือ ครูต้องเข้มแข็งในจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม และ
ชักชวนให้คนอื่น ๆ ทาเพื่อสังคม ครูจะต้องยึดมั่นในจรรยาบรรณ วิชาชีพ รักษาคุณธรรม
จริยธรรมและเป็นบุคคลหน่ึงในสังคมที่ช่วยให้สมาชิกในสังคมนั้น ๆมีแนวทางในการปฏิบัติตนต่อ
ตนเอง แปละสงั คมทเี่ หมาะสมกับคณุ ภาพครูไทยในยุค 4.0 ครูจะเปน็ ผู้สอนอยา่ งเดียวเหมือนเมอ่ื กอ่ น
ไมไ่ ดจ้ ะต้องให้เดก็ เรียนรดู้ ว้ ยตนเองด้วย โดยท่ีครูออกแบบการเรียนรู้เป็นผู้แนะนา และอานวยความ
สะดวก ในการเรียนรู้ให้กับเด็ก ทั้งนี้เพื่อให้เด็ก สามารถสร้างสรรค์และพัฒนาองค์ความรู้ได้ด้วย
ตัวเอง ซ่งึ การสรา้ งสรรคด์ ้วยตัวเอง
จิรนันท์ นุ่นชคู ัน และคณะ (2559: 72) ระบุวา่ ครูในยุคการศกึ ษา 4.0 ตอ้ งเป็นครูที่มีความรู้
ในวิชาที่สอนเป็นอย่าง ดีโดยมีความรู้ในสัดส่วนที่เป็นศาสตร์ด้านเนื้อหาความรู้ที่สอน เช่น
คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคม ศึกษา ศิลปศึกษาหรือพละศึกษา และมี
ความรใู้ นสดั สว่ นทเ่ี ป็นศาสตร์ดา้ นการสอนมีความสามารถในการปฏิบตั ิการสอนหรือมี ศิลปะในการ
สอน ถ่ายทอดความรู้ให้กบั ผเู้ รียนไดด้ ีมคี วามสามารถในด้าน ICT เปน็ ผูท้ ม่ี คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมความ
เป็นครู สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และเป็นผู้ท่ีพัฒนาความรู้ตนเองอย่างต่อเน่ืองอยู่เสมอ
รายละเอียดของคุณลักษณะด้านต่าง ๆ เช่น TPACK เป็นความรู้เน้ือหาผสานวิธีสอนและเทคโนโลยี
(TPCK : Technological Pedagogical Content Knowledge) (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558) เป็น
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 11
(ราชบัณฑิตยสถาน, 2558) เป็นความสามารถบรู ณาการระหวา่ งเน้อื หาวชิ ากับความสามารถบูรณา
การระหว่างเน้ือหาวิชากับศาสตร์การสอนได้เหมาะสม สามารถผสาน ความรู้ 3 ด้าน ได้แก่ความรู้
ดา้ นเน้ือหา ความร้ดู า้ นการสอน และความรดู้ ้านเทคโนโลยเี พอื่ ชว่ ยใหก้ ารสอนโดยใช้เทคโนโลยี เกิดให้
ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีและรวดเร็วขึ้นความรู้ด้านเน้ือหา หรือ ซีเค
(Content Knowledge–CK) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจของครูผู้สอนในวิชาหรือเน้ือหาที่สอน
ลักษณะและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของ เน้ือหา มโนทัศน์หลักการ ทฤษฎีโครงสร้างและกรอบ
ความคดิ ของเนอ้ื หาทสี่ อน และการเพม่ิ คุณภาพของครผู ูส้ อนในยคุ 4.0 ท่ีตอ้ งขอเน้นย้าคือความรู้
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือฟิตเนส (Fluency of Information Technology–Fitness) กล่าวคือ
ผู้สอนจาเป็นต้องมีความเข้าใจเทคโนโลยีในระดับท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันได้
สอดคล้องกับ (พิสิษฐ แก้ววรรณะ และคณะ, 2558: 78) ที่ได้ทาการวิจัยเรื่อง การพัฒนาครูด้าน
การจัดการเรยี นรู้ตามแนวทฤษฎีการเรียนร้เู พอื่ สรา้ งสรรคด์ ้วยการใช้เทคโนโลยที ่ีพบว่าความรขู้ อง
ผู้เรียนที่มีประสิทธิผลดี ครูต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้สื่อการ สอนด้านเทคโนโลยี
สอดแทรกเพิ่มข้นึ เช่น การ์ตนู แอนนเิ มชน่ั ภาพสามมิติรปู ภาพกราฟกิ ทีร่ ะดับมากทส่ี ุด สะทอ้ นใหเ้ ห็น
วา่ ผู้ประกอบวิชาชพี จาเปน็ ต้องมกี ารพฒั นาตนเพ่ือให้พร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ยงิ่ เป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูซ่ึง มีหน้าที่และบทบาทสาคัญในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เป็นบุคคล
แห่งการเรยี นรูใ้ ห้มีความรทู้ กั ษะ ทัศนคตแิ ห่งความเปน็ พลเมอื งดขี องสงั คมย่งิ ตอ้ งมีการพฒั นาดว้ ย
ระบบและกระบวนการท่ีมีคุณภาพและต่อเน่อื ง
นอกเหนือจากการที่ครูต้องเปล่ียนบทบาทใหม่เป็นนักการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
เกิดทักษะด้านวชิ าการใหม้ ี ประสิทธิภาพตามท่ีกล่าวข้างต้นแล้วน้ัน ครูในยุคการศึกษา 4.0 ต้องเป็น
ครูท่ีมีความรู้ด้านการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ มาผนวกกับความรู้ท่ีค้นคว้ามาได้มา
จัดทาไว้ในรูปแบบ สถิติข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหวที่มีสีสันสวยงาม จะทาให้บทเรียน และการ
สอนแต่ละคร้ังมีความน่าสนใจ และสามารถสื่อความหมายของผู้สอนได้ดียิ่งขึ้น การที่ครูรู้จักใช้
เทคโนโลยเี พอื่ การแสวงหาขอ้ มลู หมายรวมถงึ มคี วามยืดหย่นุ และความคลอ่ งตวั ของการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศหรือฟิตเนส (Fluency of Information Technology–Fitness) กล่าวคือ ครูจาเป็นต้องมี
ความเขา้ ใจ เทคโนโลยีในระดับท่ีสามารถนาไป ประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันได้มาดัดแปลงเพื่อใช้ใน
การเตรียมบทเรียน จะช่วยให้สามารถนาเสนอบทเรียนได้ทันสมัย ตลอดจนรู้เท่าทันเข้าใจถึงการ
พัฒนาผูเ้ รียน นอกจากนค้ี รใู นยคุ 4.0 น้ีต้องติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่จะ เปลี่ยนแปลง
ห้องเรียนในอนาคต เพื่อการพฒั นาผู้เรยี นอยา่ งยั่งยนื
“ การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 12
“การศึกษาเพอื่ การผลิตครูพฒั นาไมท่ ันการ
เปล่ียนแปลงดา้ นการศึกษา ประเทศที่เพล่ียงพล้า
มากคอื ประเทศที่ปลอ่ ยใหม้ หาวทิ ยาลยั ผลติ ครโู ดย
ไม่คานึงถงึ จานวนความตอ้ งการ ทาใหผ้ ลติ ครู
ล้นตลาด ฉุดคุณภาพครใู ห้ต่าลง
การบรหิ ารวิชาการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 13
แนวคิดการเตรยี มครแู หง่ ยคุ 4.0 จากประเทศท่ีมกี ารศกึ ษาดีที่สุดในโลก
มีปัญหาท่ัวโลก ว่าการศึกษาเพ่ือการผลิตครูพัฒนาไม่ทันการเปล่ียนแปลงด้านการศึกษา
ประเทศท่ีเพลี่ยงพล้ามากคือประเทศท่ีปล่อยให้มหาวิทยาลัยผลิตครูโดยไม่คานึงถึงจานวนความ
ต้องการ ทาใหผ้ ลติ ครูลน้ ตลาด ฉุดคุณภาพครูให้ต่าลง นอกจากนั้น หลักสูตรผลิตครูมักกว้าง ไม่
โฟกสั ทคี่ วามรูแ้ ละทกั ษะท่ีสาคญั บัณฑติ ทีผ่ ลติ จึงเปน็ ครคู ุณภาพตา่ ประเทศที่การศึกษาคุณภาพสูง
และครูมีคณุ ภาพสูงผลิตครูจานวนจากัดเทา่ ทต่ี ้องการเท่าน้นั ประเทศท่ยี กมาเป็นตัวอย่างในการผลิต
ครแู ห่งศตวรรษท่ี 21 คอื ฟินแลนดแ์ ละสงิ คโปร์
ฟินแลนด์ เนน้ หลกั สตู รผลติ ครแู บบ Research-based นกั ศกึ ษาเรียนทฤษฎกี ารศกึ ษาควบคู่
ไปกับวธิ ีวิทยาวิจัย และฝึกออกแบบวิจัยและทาวิจัยในช้ันเรียน เน้นเรียนแบบฝึกงาน มีการเรียนแบบ
ปฏบิ ัติหน้าทค่ี รใู นโรงเรยี นตวั อย่างทมี่ คี วามรว่ มมอื กบั มหาวิทยาลยั ภายใตก้ ารนิเทศของครูสอนเกง่
(Master Teacher) ของโรงเรียน ใชเ้ วลารอ้ ยละ 15 - 25 ของเวลาในหลักสูตร นักศึกษาครูต้องฝึก
ทกั ษะประเมนิ นักเรยี น ทกั ษะการสอนนกั เรยี นท่ตี ้องการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษ ทักษะพฒั นาหลักสูตร
มีความรแู้ น่นในสาระวิชา รวมท้ังมีทักษะในการจัดการเรียนรู้แบบเรียนเป็นทีม และเรียนโดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน
สิงคโปร์ เร่ิมโครงการ TE21 (Teacher Education Model for the 21st Century) ในปี
2009 เพ่ือสร้างครูแห่งศตวรรษที่ 21 ท่ีมีทักษะสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีเอื้อให้นักเรียน
พัฒนาทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21ลกั ษณะของ TE21 มดี งั ตอ่ ไปนี้
1. มีข้อกาหนดชดั เจนวา่ บณั ฑิตตอ้ งรแู้ ละทาอะไรได้บา้ งในแตล่ ะวิชา
2. โปรแกรมผลติ ครูรบั ผิดรับชอบตอ่ สมรรถนะของบณั ฑติ
3. มีการฝกึ ปฏบิ ตั ิในช้นั เรียนภายใต้การนิเทศต้ังแตป่ ีแรกของการศกึ ษา
4. สถาบันผลิตครมู สี ว่ นเปน็ พีเ่ ลย้ี งครูใหมใ่ นการทางานทีโ่ รงเรยี น
5. ผจู้ ะเป็นครมู ที ักษะด้านการเรียนการสอนท่ีกว้าง รวมถึงทักษะการจัดการเรียนรู้แบบเน้น
ความรว่ มมอื (Cooperative Learning /Team Learning) และเนน้ การตัง้ คาถาม (Inquiry-based)
6. ผู้จะเป็นครมู ที กั ษะใช้ ไอซีท่ี ช่วยจดั การเรียนรู้
7. ครูมีทกั ษะใชข้ อ้ มลู และการประเมินเป็นตัวชี้แนวทางจดั การเรียนรู้
8.ส่งเสริมการเรียนรูโ้ ดยการรับใชส้ งั คม (Service Learning) เพอื่ ใหค้ รรู ู้จักชมุ ชน และผมขอ
เพม่ิ เตมิ ว่า เพื่อสร้างจิตสานกึ เห็นแกส่ งั คม (Social Mind) ในผเู้ ปน็ ครู
บทเรียนการพั ฒนาวิชาชีพครูจากประเทศที่คุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับชั้นนา
ของโลก
ตามหลักการพฒั นาเปน็ "ผู้เชย่ี วชาญ" ตอ้ งการเวลาฝกึ ฝน10,000 ช่ัวโมงข้ึนไป ครูก็อยู่ใน
สภาพเดียวกัน กว่าจะพัฒนาเป็นครูท่ีเก่งได้ก็ต้องใช้เวลาส่ังสมประสบการณ์ แต่ครูยากกว่า ตรงที่
เด็กเปลี่ยน สาระวิซาเปล่ียน สภาพสังคมเปลี่ยน และเทคโนโลยีเปล่ียนครูจึงต้องเรียนรู้ต่อเนื่องไม่
ส้ินสุด กล่าวใหม่ว่า ครูต้องการระบบสนับสนุนการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดการประกอบอาชีพครู
รวมทัง้ ต้องเตรียมทกั ษะและฉันทะการเรียนรู้ตลอดชีวติ ใหแ้ กค่ นทีเ่ ตรยี มประกอบวิชาชพี ครู
การบรหิ ารวิชาการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 14
การพัฒนาครูมี 2 แนว คือจัดการฝึกอบรม ท่ีอาจเรียกว่าTraining-based Professional
Development กับการจัดให้มีระบบเรียนรู้ฝังแฝงอยู่ในการทางาน ท่ีอาจเรียกว่า Learning-based
Professional Development และมศี พั ทเ์ ฉพาะว่า PLC – Professional Learning Community
ญ่ีปุ่น ใช้ระบบ "Lesson Study Group“ ซึ่งก็คือ PLC นั่นเอง โดยครูในโรงเรียนกลุ่มหนึ่ง
รวมตวั กนั กาหนดเปา้ หมายการเรียนรขู้ องศษิ ย์ทคี่ รูต้องการบรรลุ รว่ มกนั ตรวจสอบวธิ ีการท่ใี ชอ้ ยู่
เดิม และคิดหาวิธีการใหม่หรือปรับปรุงวิธีการเดิม ตามด้วยการนาไปปฏิบัติของครูแต่ละคนและมี
เพื่อนครูไปนั่งสังเกตการณ์เก็บข้อมูลส่ิงท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียน (Open Classroom) สาหรับนามาให้
Feedback แก่เพ่ือนครูในทีม เพ่ือให้เพ่ือนครูปรับปรุงวิธีสอนของตน ขั้นตอนสุดท้ายของกิจกรรม
"Lesson Study Group" คอื การทบทวนหลกั การหรอื ทฤษฎที ใ่ี ช้ และครใู นทีมใชท้ ฤษฎีน้นั ในทางปฏิบัติ
ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมอย่างไร เพือ่ นาไปส่กู ารปรบั ปรงุ พัฒนาต่อเนือ่ ง
สงิ คโปร์ กาหนดนโยบาย ให้ครูทกุ คนมีเวลาปีละ 100 ช่ัวโมงเพ่ือการพัฒนาวิชาชีพของตน
โดยที่ครูอาจใช้เวลาดังกล่าวได้หลายรูปแบบ เช่น รับการฝึกอบรมที่ NIE (National Institute of
Education)ด้านสาระวชิ าและวธิ จี ัดการเรียนการสอน ซ่ึงการฝึกอบรมนอี้ าจนาไปสกู่ ารเรียนตอ่ ระดบั
ท่ีสงู ข้ึนไป แตเ่ วลาดังกล่าวส่วนใหญใ่ ชจ้ ัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนนั้นเอง โดยมีครทู ่รี ู้สภาพของ
โรงเรียนและประเดน็ ทค่ี วรมกี ารเรียนรู้เพอ่ื ปรบั ปรงุ การเรียนการสอน เปน็ ผูจ้ ัดกระบวนการสนับสนนุ
เช่น จัดวงเรียนรู้เรื่อง PBL (Project-based Learning) เร่ืองการใช้ไอซีทีในช้ันเรียน เป็นต้น และมักมี
การจัดการวิจัยปฏิบัติการ (Action Research)ในชั้นเรียน เพื่อค้นหาวิธีการบรรลุผลตามนโยบาย
Thinking Schools, Learning Nation และ Teach Less, Learn More นอกจากน้ันสิงคโปร์ยังมีระบบ
"ครสู อนเกง่ " (Master Teacher) ในทกุ โรงเรยี น ทาหน้าท่ีเป็นพี่เลี้ยง (Mentor) ให้แก่ครูใหม่และเพื่อน
ครทู ี่ต้องการคาแนะนา
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 15
02
การพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0
การเรียนการสอนแบบเดิมไม่สามารถตอบโจทย์ความผัน
แปรของโลก ทเี่ ปลี่ยนรวดเร็ว ฉบั ไว ตามกระแสของโลกที่
ขับเคลือ่ นด้วยดิจทิ ลั
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 16
การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 มี 2 มาตรการ คือ
1) พัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา ปรับหลักสูตรเพื่อเตรียมให้เป็นพลเมืองท่ีมีความ
พร้อมในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เรียนรู้แบบบูรณาการสหวิชาการ
ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การมีทักษะชีวติ และทกั ษะในการทางาน
2) เพ่ิมขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรมได้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
(ICT) สามารถนาไปใช้ได้จรงิ
สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM
Education) คือ แนวทางการจดั การศกึ ษาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้และสามารถบรู ณาการความร้ทู าง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเช่ือมโยงและ
แกป้ ญั หา ในชีวิตจริง รวมทงั้ การพฒั นากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะ
แห่งศตวรรษที่ 21 ดังนั้น สะเต็มศึกษาจึงไม่ใช่เร่ืองใหม่ แต่เป็นการต่อยอดหลักสูตรโดยบูรณาการ
การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อนาไปใช้
แก้ปัญหาในชีวิตจริง และการประกอบอาชีพในอนาคต สะเต็มศึกษาจึงส่งเสริมการเรียนรู้ผ่าน
กิจกรรมหรือโครงงานท่ีมุ่งแก้ปัญหาท่ีพบเห็นในชีวิตจริง เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะชีวิต
ความคิดสร้างสรรค์ นาไปสู่การสร้างนวัตกรรม ผู้เรียนท่ีมีประสบการณ์ในการทากิจกรรมหรือ
โครงงานสะเต็มจะมีความพร้อมท่ีจะไปปฏิบัติงานท่ีต้องใช้องค์ความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในภาคการผลิต และการบริการท่ีสาคัญต่ออนาคตของประเทศ เช่น
การเกษตร อุตสาหกรรม การพลงั งาน การจดั การสง่ิ แวดล้อม การบริการสขุ ภาพ ลอจสิ ตกิ ส์
อนงึ่ การทากิจกรรมหรือโครงงานสะเตม็ ไมไ่ ด้จากัดอยใู่ นกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี แต่สามารถนาความรู้ในวิชาอื่น เช่น ศิลปะ ภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ สขุ ศึกษา พลศึกษา มาบูรณาการไดอ้ กี ด้วย
นอกเหนือจากนั้นด้วยยุคสมัยท่ีเปล่ียนไป การเรียนการสอนแบบเดิมไม่สามารถตอบโจทย์
ความผันแปรของโลก ท่ีเปลี่ยนรวดเร็ว ฉับไว ตามกระแสของโลกท่ีขับเคล่ือนด้วยดิจิทัล ซึ่งส่งผล
กระทบ (Disruption) ไปทั่วโลก หากไม่ปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยีก็จะถูกท้ิงไว้จนกลายเป็นคนล้าหลัง
เม่ือเทคโนโลยเี ข้ามามีบทบาทและชว่ ยอานวยความสะดวกในหลายเร่ือง แต่อาจมีผลต่อการจัดระบบ
กระบวนการคิด การเช่ือมโยง เนื่องจากข้อมูลที่หลากหลายมีจานวนมากมีทั้งจริงและเท็จ การจับ
ประเด็น การวเิ คราะหแ์ ยกแยะจงึ เปน็ ส่ิงสาคัญ ดว้ ยเหตุน้ี คนในยุค 4.0 จึงจาเป็นต้องรู้เท่าทันส่ือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ รูจ้ ักเลอื กใชใ้ ห้ถูกวธิ ี ซึ่งจะชว่ ยใหส้ ามารถเช่ือมโยงความคิดให้เป็นระบบมากข้ึน
ฉะนนั้ การเรยี นการสอนเรอ่ื งกระบวนการคิด คดิ อยา่ งมีเหตมุ ีผล นบั เปน็ ส่งิ จาเป็นในโลกยคุ 4.0
กระทรวงศึกษาธิการทถ่ี ือเป็นหนว่ ยงานหลกั ทรี่ บั ผิดชอบการศึกษาของประเทศไทยมีความ
พยายามปรับเปล่ียนและพัฒนาการเรียนการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมากข้ึน โดยคุณหญิงกัลยา
โสภณพนิช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา มีความ
ประสงค์จะส่งเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ (โค้ดดิ้ง) เพื่อให้เป็นทักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี
21 ของเดก็ ยคุ ใหม่
“ การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 17
?
“ Coding คืออะไร?
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 18
Coding
Coding คืออะไร?
การ Coding คือ การเขยี นชุดคาสง่ั ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย “โค้ด (Code)” เพอื่ ให้โปรแกรม
ทาตามคาสั่ง อธบิ ายให้เขา้ ใจง่ายๆ ก็คือการส่งั งานคอมพิวเตอร์ให้ทาตามท่ีเราต้องการ โดยการใช้
ภาษาของคอมพิวเตอร์ เช่น C++, PHP, Java หรอื Python
เรยี น Coding ได้อะไร?
เป็นทักษะที่ช่วยให้เด็กคิดทุกเร่ืองอย่างเป็นเหตุเป็นผล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดทักษะการแก้ปัญหา คือ
สามารถแตกปัญหาออกเปน็ ส่วนๆ เพ่ือหาสาเหตุและวิธีแก้ไขในแต่ละส่วนไปทีละเปลาะ อีกท้ังในแต่ละ
ข้ันตอนการเขียนโค้ดจะได้เรยี นรู้ระบบการวางแผน เม่ือฝกึ ฝนไปสักพกั ก็จะทาใหเ้ ข้าใจหลักการและจับ
ประเด็นไดด้ ีขึ้น
วิชา Coding ท่ีเด็กไทยได้เรยี น
วิทยาการคานวน อยู่ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นวิชาบังคับในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) จากเดิมท่ีเด็กไทยได้เรียนวิชา
คอมพวิ เตอร์ในฐานะผใู้ ช้ ในหลกั สตู รนี้จะสอนให้เปน็ ผเู้ ขียน ผู้พัฒนา และไดฝ้ กึ หัดคิดอย่างเป็นระบบ
คอมพิวเตอรม์ ากขนึ้
โครงสรา้ งหลักสูตรแบง่ ออกเปน็ 3 ส่วนหลัก
1. Computer Science (วิทยาการคอมพิวเตอร์) หัวใจหลักของวิชาน้ี ทาให้คิดได้เป็น
ข้นั ตอน โดยใช้การเขยี นโปรแกรมมาเป็นเครอ่ื งมือ ตามแนวทาง Computational Thinking
2. ICT (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ทาให้สามารถรวบรวมข้อมูล จัดการข้อมูล นาข้อมูลมา
ประมวลผล และทาการตดั สินใจจากพ้ืนฐานของข้อมูลได้
3. Digital Literacy (รู้เท่าทันดิจิทัล) การรรู้ทันเทคโนโลยีเป็นเรื่องสาคัญ อีกท้ังสามารถ
สร้างสรรคผ์ ลงานบนเทคโนโลยีได้
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 19
03
การส่งเสรมิ
กระบวนการเรยี นรสู้ ู่ยุค 4.0
การศึกษาในยุค Thailand 4.0 นั้น เป็นยุคท่ีการศึกษาเป็น
เรื่องที่มากกวา่ การเตรยี มความพร้อมของคนหรือใหค้ วามรู้
กบั คนเท่านนั้ แตเ่ ป็นการเตรยี มมนุษยใ์ ห้เปน็ มนุษย์ดว้ ย
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 20
การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรสู้ ู่ยุค 4.0
การศึกษาใน ยุค Thailandm4.0llเป็นยุคที่ต่อเนื่องจากยุคท่ีแล้ว เนื่องจากการท่ีผู้เรียนมี
ความสามารถในการใชส้ อื่ เทคโนโลยที ส่ี งู ขนึ้ และเขา้ ถงึ ได้งา่ ยข้นึ สง่ ผลใหเ้ กิดการนาเทคโนโลยีเหลา่ น้ัน
มาประยุกต์ใช้และส่งเสริมการเรียนรู้ มีการใช้สื่อและสังคมออนไลน์ที่มีวิจารณญาณมากข้ึน สร้าง
มลู คา่ สร้างนวตั กรรมทตี่ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของตวั เอง ซ่งึ บทบาทของครูในยุคนจ้ี ะต้องเป็น
โค้ชทช่ี ่วยทช่ี ่วยสง่ เสรมิ องคค์ วามรู้ท่ผี เู้ รียนเกดิ การจากเรียนรู้ด้วยตวั เอง
การศึกษาในยุค Thailand 4.0 น้ัน เป็นยุคที่การศึกษาเป็นเรื่องที่มากกว่าการเตรียมความ
พร้อมของคนหรือให้ความรู้กับคนเท่านั้น แต่เป็นการเตรียมมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ด้วย กล่าวคือ
นอกจากให้ความร้แู ล้ว จะต้องสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนรักที่จะเรยี น มคี ุณธรรม สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้
อย่างเหมาะสม ซึ่งในการก้าวส่กู ารศกึ ษาในยุค Thailand 4.0 น้นั กระทรวงศึกษาธกิ ารไดว้ างแนวทาง
ปฏริ ูปการศกึ ษา เพ่ือตอบสนองการพฒั นาไวด้ ังนี้
1. พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อช่วยในการเพ่ิมศักยภาพในการติดต่อสื่อสารกับ
ต่างประเทศ
2. สง่ เสริมการเรยี นการสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
3. พัฒนาทกั ษะและกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ให้ผ้เู รยี น
4. การปรบั หลักสูตรการเรียนการสอน ให้ทนั สมยั สอดคล้องกบั โลกยคุ ใหม่
5. พฒั นาปรบั ปรุงตาราเรยี นให้มีมาตรฐาน 5 ดาว
6. บรหิ ารจัดการคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กอย่างเหมาะสม
7. พฒั นาบทบาทของครจู ากผูส้ อนเปน็ โคช้
8. การบริหารจดั การคณุ ภาพโรงเรยี นขนาดเล็ก ภายใต้โครงการโรงเรยี นดีใกลบ้ า้ น
การส่งเสริมกระบวนการเรียนร้สู ู่ยคุ ไทยแลนด์ 4.0
การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรสู้ ู่ยคุ ไทยแลนด์ 4.0
1. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สองภาษา ทุกวันน้ี ภาษาอังกฤษเข้ามามี
บทบาทอย่างมาก การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ท่ีมีความสอดคล้องกันทั้งสองภาษา จะทาให้
ผูเ้ รียนใช้ภาษาได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม และเคยชินกับการใช้ภาษามาข้ึน มีความกล้าท่ีจะใช้ ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาของผู้เรียน เพราะภาษา โดยเฉพาะภาษาต่างประเทศจะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้
ไดม้ ากขนึ้ ทาใหม้ ีโลกทัศน์กวา้ งขน้ึ
2. ใช้ STEM เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี การเรียนรู้แบบ STEM คือการนาเอาศาสตร์ท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science)
เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) มา
บูรณาการรวมกันเพือ่ แกไ้ ขปัญหาหรือสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ตา่ งๆ ขึ้นมาตามโจทยท์ ่ีผเู้ รียนสนใจ ซึ่งวิธีการ
นีจ้ ะช่วยให้ผู้เรยี นรู้จักคิดวิเคราะห์ และใช้ศาสตร์ความรู้ท้งั 4 ด้าน มาประยุกต์ใช้ให้ไดอ้ งค์ความรู้หรือ
นวตั กรรมใหม่ ซ่ึงนบั วา่ เปน็ หวั ใจหลกั ของการศกึ ษาในยคุ Thailand 4.0
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 21
3. ส่งเสริมทักษะ EF ในการพัฒนาทักษะการดาเนินชีวิต EF (Executive Functions) เป็น
กระบวนการทางความคิด ในสมองส่วนหน้า ท่ีเกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระทา เช่น
การยัง้ ใจคิดไตรต่ รอง การควบคุมอารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด และการต้ังเป้าหมาย รวมถึง
การจัดลาดบั ความสาคญั ของเร่ืองตา่ งๆ ซึ่งนับวา่ เปน็ ทกั ษะท่ีจาเป็นอย่างมากในโลกยคุ ปัจจบุ ัน
4. การเรียนรู้แบบโครงการสง่ เสรมิ กระบวนการคิดอยา่ งเป็นระบบ การเรียนรู้แบบโครงการ
จะช่วยให้ผู้เรียนกาหนดปัญหา สมมติฐาน ได้ร่วมมือกันวางแผนและใช้ความคิดอย่างเป็นระบบตาม
หลักวิทยาศาสตร์ ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากข้อสรุปต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน และนาไปสู่การ
นาเสนอโครงการที่สร้างสรรค์
5. ใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการจดั การเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีอย่างมี
วิจารณญาณและเกิดประโยชน์ ส่งเสริมการเรียนการสอนและมุ่งหมายให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ได้
ดว้ ยตัวเอง
6. เน้นการก้าวสู่ขั้นของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning กระบวนการเรียนรู้แบบ
Active Learning คอื กระบวนการเรยี นรูท้ เี่ นน้ ให้ผู้เรยี น เรียนรดู้ ้วยการปฏิบตั ิ โดยมีครูคอยเป็นโค้ช
ให้มากกว่าจะถ่ายทอดความรู้ด้วยตัวเอง ซ่ึงเป็นขั้นท่ีทาให้ผู้เรียนมีความคงทนในความรู้ได้ถึงกว่า
100% เพราะเป็นขัน้ ของการเรยี นรทู้ ี่ผู้เรยี นนั้นเกิดองคค์ วามรูไ้ ดด้ ้วยตัวเองจากการกระทาต่างๆ ซ่ึง
องคค์ วามรู้ท่ีผูเ้ รยี นได้นี้เองจะทาให้ผเู้ รยี นเกดิ การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
เมื่อนวัตรรมและเทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและ รวดเร็วเพื่อความสะดวกสบาย
และ การเข้าถึงขอ้ มลู ทมี่ ากมายในเวลาอนั สน้ั เม่อื มองยอ้ นกลบั ไปในช่วงศตวรรษที่ 15 เทคโนโลยเี ริ่ม
พัฒนาจากนวัตกรรมช้ินเล็กๆ โดยท่ีในวันน้ันกระบวนการเรียนรู้ที่นาหน้าเทคโนโลยี จนทุกอย่างถูก
พฒั นาจนถึงในยคุ ปจั จุบนั ทอ่ี าจกลา่ วไดว้ ่าเทคโนโลยีกา้ วหนา้ กว่ากระบวนการเรยี นรู้ ซึ่งในบริบทของ
ประเทศไทย เทคโนโลยีมกั ถูกนามาใช้เพยี งเพอ่ื ส่งเสริมความสะดวกสบาย แตร่ หู้ รือไม่ว่าเราสามารถใช้
สง่ิ เหล่านั้นเพอื่ พัฒนากระบวนการเรียนรู้และ รูปแบบการสอนให้สอดคล้อง มีประสิทธิภาพข้ึนได้ใน
ยุคดิจิทลั
นวัตกรรมเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก มีการนาไปปรับ
ประยกุ ตใ์ ช้ในวงการตา่ งๆ รวมท้งั ในเรือ่ งของการเรียนรแู้ ละมติ ิรอบขา้ ง ไม่วา่ จะเป็น 5G VR AR IOTs
แอปพลเิ คชันตา่ งๆ หรือ AI ซงึ่ ส่งผลตอ่ การเรียนร้แู ละ การนาไปประยุกตใ์ ช้ทงั้ ตอ่ ผเู้ รยี น ผูส้ อน โดย
มีบทบาทในการออกแบบการสอนทั้ง 3 ด้านได้แก่
1. การออกแบบเนื้อหา (Design of Content) คานึงถึงเน้ือหาที่เหมาะสมกับผู้เรียน และ
มงุ่ เนน้ ไปทางดา้ นการสร้างสรรคใ์ หผ้ เู้ รียนได้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยความเท่าทันต่อยุคสมัย
ของเนื้อหาท่ีมีการอัพเดทอยู่ตลอดเวลา การใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย ไม่ยืดเยื้อ ใช้เนื้อหาท่ีมีความ
เหมาะสมและ ไม่ก่อให้เกิดความตึงเครียด รวมทั้งควรเพิ่มทางเลือกให้กับผู้เรียนในการสอบถาม
แสดงความคิดเห็นได้ และการออกแบบเนื้อหาไม่ควรมีแค่ตัวอักษรอย่างเดียว แต่ควรมีภาพหรือสีที่
จะชว่ ยดึงดดู ความสนใจของผอู้ า่ นไดม้ ากข้ึน
2. การออกแบบกิจกรรมทางการเรียน (Design of Activities) แบง่ ออกเป็น 2 สว่ นคือ
2.1 พฤติกรรมทางการเรียน (Behaviorist Learning) หมายถึง ความสนใจใน
เนอื้ หา การแสดงออก หรอื ลกั ษณะของผเู้ รยี น ซง่ึ เปน็ ส่งิ สาคญั ทแี่ สดงออกให้เหน็ ตอ่ กจิ กรรมหรือ
เน้ือหา ดังนั้นการออกแบบกิจกรรมทางการเรียนจะต้องคานึงถึงช่วงอายุของผู้เรียนและ คานึงถึง
สง่ิ ที่จะเปน็ มติ รตอ่ ผู้เรยี นในแตล่ ะชว่ งอายุ
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 22
2.2 การสร้างสรรค์ทางการเรียน (Constructivist learning) การออกแบบ
กิจกรรมในการเรียนรู้ควรเป็นไปอย่างสร้างสรรค์ กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและ มีความรับผิดชอบต่อ
ตนเองและ ส่วนรวมมากข้ึน นอกจากน้ีในการออกแบบกิจกรรมควรเน้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้
ผ่านการเชือ่ มโยงเนื้อหาใหมๆ่ เข้ากับประสบการณ์ในชวี ติ หรอื สถานการณ์รอบตัวของแตล่ ะคน
3. การออกแบบกระบวนการส่อื สาร
3.1 การออกแบบกระบวนการส่ือสารเป็นสิ่งที่สาคัญของการออกแบบการเรียน
การสอนในยุคดิจิทัล เพราะภาษาเขียนอาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่าน้ันของการสื่อสารในปัจจุบัน ที่มี
แนวโน้มจะใชก้ ารสอ่ื สารผ่านรปู ภาพมากขนึ้ รวมท้ังการทาการสอนท่ีต้องอาศัยการตอบโต้กันผ่าน
ทางหน้าจอ ซึ่งผู้สอนจะต้องใช้เครื่องมือท่ีมีอยู่ เพ่ือออกแบบของเนื้อหาและ กระบวนการสื่อสาร
เพือ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดความเขา้ ใจและ สามารถต่อยอดความคิดได้
3.2 มีระบบการจดั การเก็บรวบรวมสารสนเทศท้ังในรูปแบบของภาพและ เสียง และ
คัดเลอื กทรพั ยากรทม่ี แี ละ นามาใชอ้ ยา่ งเหมาะสมโดยจะส่งผลให้การเรียนรู้มคี วามนา่ สนใจ น่าติดตาม
ไม่ทาใหผ้ เู้ รยี นเกิดความเบอื่ หน่าย
เม่ือองค์ประกอบของการสร้างรูปแบบของการสอนครบถ้วน สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยสาหรับ
ครูผูส้ อนคอื ความสามารถในการเรยี นร้เู ทคโนโลยีใหมๆ่ เพ่ือนามาปรบั เปล่ียนและ ปรับใชก้ บั การสอน
ได้อย่างต่อเนื่อง พยายามมองหาวิธีถ่ายทอด และเสริมทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนให้มี
ประสิทธภิ าพ และค้มุ คา่ ต่อเวลามากข้นึ
“ การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 23
““ข้อมลู ” เปรยี บเสมอื นตวั แปรต้น “นักเรียนนกั ศกึ ษา”
เปรยี บดังตัวแปรตาม โดยท่ี “ครู”นนั้ เสมอื นหน่ึงตวั
แปรควบคมุ การจะพัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ภาพตาม
วัตถปุ ระสงค์ในศตวรรษท่ี 21 น้ี
ครแู ละนกั เรียนตอ้ งสามารถเปล่ียนแปลงข้อมูลต่าง ๆ
ในสงั คมออนไลน์หรอื อินเตอรเ์ นต็ ให้กลายเป็น
สารสนเทศและองคค์ วามรใู้ นทส่ี ุด
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 24
เคร่อื งมอื ICT สาหรบั จดั การเรยี นการสอนของครไู ทย 4.0
1. Google Form เป็นบริการในการสร้างแบบสอบถาม แบบสารวจ แบบทดสอบ ออนไลน์
พรอ้ มเครอ่ื งมอื การวิเคราะห์ ข้อมูลโดยอตั โนมัติ และแสดงผลเป็นกราฟที่สวยงาม พร้อมพ้ืนที่การ
เกบ็ ฐานขอ้ มลุ ออนไลน์ หรือจะดาวน์โหลด เป็น Excel กไ็ ด้ จดุ เด่น ใช้เปน็ แบบทดสอบก่อนเรียน หลงั
เรียน หรือแบบฝกึ หดั ได้
2. padlet ใชส้ าหรบั สรา้ ง กระดานสนทนา สาหรับการสง่ งาน การระดมความคดิ ฯลฯ
3. Nearpod
-สร้างบทเรียนออนไลน์
-สรา้ งคาถามให้ผู้เรยี นตอบหลงั จากจบคลาส
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 25
4. Edmodo Edmodo คือเว็บโปรแกรม (Web Application) โดยมีวัตถุประสงค์รวม
การศึกษา (Education) เข้ากับสังคมออนไลน์ (Social Network) เพื่อตอบสนองผู้ใช้งานด้าน
การศึกษา และรองรับเทคโนโลยีด้านการส่ือสาร และสามารถเชื่อมโยงผู้ ใช้ งานหลายกลุ่ม เช่น ผู้
เรียน ครผู ู้ สอน โรงเรยี นสานักงานเขตพื้นที่ และผู้ปกครอง สามารถติดต่อส่ือสาร ทางานร่วมกัน
แบ่งปันเน้ือหา สามารถเข้าถึงการบ้าน สมุดเกรด และประกาศข่าวสารได้อย่างง่าย จุดเด่น คือ ทา
ข้อสอบ ออนไลน์พร้อมเฉลย
5. Math Worksheet Generator สรา้ งใบงานพรอ้ มเฉลย
6. Microsoft Mathematic 4.0 สามารถแสดงวิธีทาท่ีขั้นตอนในการแก้สมการ อสมการ
เปน็ ภาษาไทย พรอ้ มสร้างกราฟ
7. Chemistry add-in for Word แปลงคาศัพทใ์ หเ้ ปน็ สมการเคมี พรอ้ มตารางธาตุ
8. AutoCollage โปรแกรมรวมภาพอตั โนมัติ สามารถระบขุ นาดภาพทตี่ อ้ งการ การจบั ภาพ
หนา้ บุคคล
9. SongSmith เพยี งร้องเพลงเข้าไป โปรแกรมก็จะสร้างดนตรีให้ และสามารถปรับแต่งเรียบ
เรียงเสยี งประสานไดอ้ ีกดว้ ย
10. ZoomIT โปรแกรมเล็ก ๆ แต่ทาอะไรได้ เกินตัว ท้ังซูม ท้ังเขียน ท้ังจับเวลา และ การซูม
แบบพิเศษ Live Zoom วิธีใชง้ าน
11.Classdojo ชว่ ยเชก็ ช่ือนักเรียน หรือประมวลผลคะแนนพฤติกรรม หรือตรวจสอบการ
มาสาย ส่งข้อความตดิ ตามนกั เรียน หรือแจง้ ผปู้ กครอง
การบรหิ ารวิชาการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 26
12. Prezi สร้างการนาเสนอออนไลน์ และสรา้ งความน่าต่ืนเต้นในการนาเสนอ
13. Recap-ใช้เป็นพื้นท่ีในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน อัปโหลดวิดีโอถามตอบได้
ตลอดเวลา
14. Voxer ทาหน้าที่คล้ายวิทยุสื่อสาร ใช้บันทึกเสียงโต้ตอบ ใช้ในกิจกรรมที่ต้อง
ประสานงานกัน
15. Piktochart สรา้ งสอ่ื การเรียนการสอน โดยเฉพาะสอ่ื Infographic มรี ูปภาพ และไอคอน
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 27
16. Schoology ส่งงานผา่ นระบบออนไลน์ สร้างช้ันเรยี นของตวั เองผ่านระบบออนไลน์ เช็ก
ความกา้ วหนา้ ของนกั เรยี นในการทางาน มคี อมเมนตโ์ ตต้ อบเหมือน Facebook
17. Canva ตกแต่งภาพได้อย่างสวยงาม สร้างส่ือ Infographic สร้างชิ้นงานส่งเสริม
ความคิดสรา้ งสรรคใ์ หก้ บั นักเรยี น ส่งเสริมทกั ษะการออกแบบ
ส่ิงที่การเรยี นการสอนยุค 4.0 ทาใหเ้ กิดผลดี
ข้อดีของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ 4.0 ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองไดง้ า่ ย และการเชอื่ มต่อกบั อินเทอร์เน็ตก็สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา
1. การเข้าถงึ ได้จากทกุ หนทกุ แห่ง เมอ่ื ระบบการเรยี นร้เู ชอื่ มตอ่ กบั ระบบอนิ เทอร์เนต็ จะช่วย
ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้จากที่ไหนก็ได้ ผ่านทางคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟนของพวกเขา และ
นอกจากนี้ยงั ทาลายข้อจากดั ของการเรยี นตามช่วั โมงเรยี น เพราะผเู้ รยี นสามารถจดั ตารางเองว่าจะ
เรยี นตอนไหน เน่อื งจากเข้าถึงได้ตลอด 24 ช่ัวโมง
2. การเข้าถึงความรู้ได้แบบไม่มีที่สิ้นสุด การเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีทาให้การเรียนรู้นอก
ห้องเรียนมีอะไรให้เรียนรู้อีกมากมาย เพราะการเข้าถึงของเทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้คนส่วนใหญ่
สามารถเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ที่กว้างใหญ่บนอินเทอร์เน็ต และยังสามารถเลือกเรียนรู้ในวิชาท่ีไม่มี
สอนในหอ้ งเรยี น โดยผู้สอนน้นั เปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญในดา้ นนั้นๆ โดยเฉพาะ
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 28
3. ข้อมูลการเรยี นรู้ท่ีอัปเดตอยูเ่ สมอ บนอนิ เทอร์เน็ตสามารถอปั เดตสงิ่ ตา่ งๆ ได้ในรูปแบบ
Real-Time ซึ่งน่นั หมายความวา่ เน้ือหาที่ผเู้ รียนจะได้พบบนอินเทอร์เน็ตสว่ นใหญ่ จะเป็นข้อมูลที่ได้รับ
การอัปเดตอยู่เสมอ ให้ทันต่อสถานการณ์และการเปล่ียนแปลงต่างๆ โดยผู้เรียนสามารถสังเกตได้
จากปีท่ีมีการแก้ไขล่าสดุ
ส่ิงที่การเรยี นการสอนยุค 4.0 ยงั ทาได้ไมด่ ี
ขอ้ เสียการเรยี นการสอนในยุคดิจิทัลก็ยังมีเร่ืองที่ต้องปรับปรุงอยู่หลายด้าน เน่ืองจากยัง
เป็นเร่อื งใหม่กับหลายฝา่ ย รวมถงึ ความเสถียรของระบบการเรยี นรู้ดว้ ย
1. ความต้งั ใจของผู้เรียนน้อยลง สาหรบั การเรียนจากระบบออนไลน์ ถ้าไดล้ องนั่งเรียนเอง
สกั บทเรยี นหน่งึ จะพบวา่ มหี ลายส่ิงรอบตัวท่ีทาให้เสียสมาธิได้ง่าย และการโฟกัสกับเนื้อหาท่ีเรียนน้ัน
ยังทาได้ไม่ดีเหมือนกับตอนที่เรียนในห้องเรียน ซ่ึงตรงน้ีเองผู้เรียนอาจจะต้องวางแผนเรื่องการ
รบั มอื ด้วยการยา้ ยสถานท่ีไปเรยี นในทม่ี ีการบกวนน้อยทส่ี ุด เพ่อื ให้มสี มาธกิ บั เนอื้ หามากขึน้
2. ปญั หาด้านเทคนคิ ด้วยความที่หลายสถาบนั ท่มี ีการจัดการสอน ยังคงเป็นมือใหม่ในการ
จัดการสอนทาให้มีปัญหาด้านเทคนิคเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เช่น ระบบมีปัญหา พบการบัค เน้ือหาท่ีไม่
ครบถ้วน ซ่ึงทางสถาบันที่มีการจัดการสอนจะต้องหาวิธีรับฟีดแบคจากผู้เรียนเพ่ือทาการแก้ไขให้
สมบรู ณ์
3. การสนทนาโตต้ อบทขี่ าดประสทิ ธิภาพ การเรียนรโู้ ดยเฉพาะรูปแบบออนไลนท์ าใหผ้ สู้ อนไม่
รู้วา่ ผู้เรยี นนั้นไดร้ บั เนื้อหาทสี่ อนไปครบถ้วนหรือไม่ และตัวผู้เรียนเองก็มีโอกาสในการถามข้อสงสัย
น้อย ทาให้ขาดประสทิ ธภิ าพของการสอ่ื สารระหว่างผู้เรยี นและผู้สอนไดง้ ่าย จึงจาเป็นตอ้ งมกี ารแกไ้ ข
เช่น การจัด Session ให้ผู้เรียนที่ต้องการถามคาถามได้สนทนาพูดคุยกับผู้สอนโดยตรง หรือการมี
ช่องคอมเมนตเ์ อาไวใ้ หผ้ ู้เรียนไดส้ นทนาโตต้ อบผ่านตวั หนังสือ
ความจาเป็นต่อการเปล่ียนเข้าสู่การเรยี นรยู้ ุค 4.0
จากสถานการณ์โควิด-19 ท่ีเข้ามาทาให้ไม่สามารถมีการเปิดเรียนได้ตามปกติ หลาย
สถาบันการศกึ ษาจาเปน็ ตอ้ งสรา้ งระบบการเรียนรู้แบบออนไลนข์ ึ้นมาแบบเร่งด่วน และตวั ของผู้เรียน
เองก็ยังไม่เคยชินกับการเรียนแบบออนไลน์ ทาให้เกิดปัญหาหลายอย่างในช่วงเริ่มต้น ซึ่งทุกฝ่าย
จะต้องคอ่ ยปรับตัวและเรยี นร่วมกันไป เพ่ือให้การเรยี นรูด้ ้วยระบบออนไลนน์ ีม้ ีประสทิ ธิภาพมากที่สุด
กับผู้เรยี นแลว้ หลงั จากท่ฝี ่านวิกฤตน้ีไปได้ระบบการเรยี นออนไลน์ ก็จะมาเป็นส่วนหนึ่งที่จะเปลี่ยนโฉม
ระบบการเรยี นรู้ในเมอื งไทยอกี ดว้ ย
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 29
ทักษะที่นักเรยี นควรมเี พ่ือให้อยรู่ อดไมว่ ่าจะยคุ สมัยใด
โลกของเราน้นั มกี ารเปลย่ี นแปลงอยทู่ กุ ยุคทกุ สมยั ซ่งึ แต่ละยุคสมยั น้นั ต่างมีความคาดหวัง
และเป้าหมายในการพัฒนาท่ีแตกต่างกันไป จึงทาให้ทักษะต่าง ๆ ของมนุษย์เราตามความต้องการ
ของแตล่ ะยุคสมยั นน้ั จาเป็นตอ้ งลดทอน ปรับเปลยี่ นหรือเพมิ่ เตมิ ข้ึนเพ่อื ให้สอดคลอ้ งกับการพัฒนา
ในยคุ สมยั นนั้ ๆ
แมว้ า่ แตล่ ะยุคสมยั นน้ั จะมคี วามตอ้ งการในแตล่ ะทกั ษะทอี่ าจไมเ่ หมอื นกัน แต่กม็ ีทักษะสาคญั ที่
ไม่ว่าจะยุคสมัยใดก็ยังเป็นสิ่งท่ีจาเป็น และควรอย่างย่ิงท่ีครูผู้สอนจะต้องส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะ
เหล่านี้ ซึ่งทักษะทกี่ ลา่ วถงึ ตามความเห็นข้อผู้เขียนนั้น มีดงั น้ี
1. ทักษะในการบริหารจดั การการเงิน ทักษะในการบริหารและการจัดการเงิน นับเป็นทักษะที่
สาคญั อย่างย่ิงทจี่ าเปน็ ต่อการดาเนินชวี ติ ประจาวนั เพราะในโลกท่เี ศรษฐกจิ เปน็ ตัวชวี้ ัดและขบั เคล่อื น
ทุกสง่ิ ทุกอย่างในประเทศ การที่คนเรามีทักษะในการบริหารและจดั การการเงินจะชว่ ยใหเ้ รามรี ายไดแ้ ละ
สามารถบริหารจดั การหนส้ี ินไดอ้ ย่างมีคณุ คา่ และมีประสิทธิภาพ
ต้องยอมรับว่าการศึกษาไทยค่อนข้างให้ความสาคัญในเรื่องน้ีน้อยมาก เพราะมองว่า
นักเรียนไม่ได้มีเงินทองอะไรมากมายนั้น แค่สอนให้นักเรียนรู้จักประหยัดและอดออมก็เพียงพอ แต่
ความเป็นจริงมูลค่าของเงินนั้นลดลงทุกปี สมัยก่อนมีเงินยี่สิบบาท อาจทานอาหารได้หนึ่งมื้อ แต่
ปจั จุบันจะหาอาหารจานละยี่สิบนนั้ กเ็ ป็นเรอื่ งท่ียากเต็มท่ี ดงั นั้นจะใชแ้ ตค่ วามประหยัดและการอดออม
อย่างเดียวไม่ได้ ครูผู้สอนจึงควรสอนหรือจัดประสบการณ์ให้นักเรียนได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการ
ลงทุนอย่างเหมาะสมด้วย โดยเริ่มต้นจากการแบ่งสรรปันส่วนเงินได้ โดยแบ่งเป็นเงินสาหรับใช้จ่าย
สาหรับลงทุน และสาหรับการออมเพอ่ื ใช้จา่ ยในกรณฉี ุกเฉิน นอกจากน้ีควรสอนให้นักเรียนรู้จักการ
ลงทุนแบบง่าย ๆ และมีความเสี่ยงต่าอย่าง การฝากเงิน หรือ การซ้ือสลากออมทรัพย์ ซ่ึงเป็นการ
ลงทุนเบือ้ งต้นทีน่ กั เรยี นสามารถดาเนินการได้
2. ทักษะในการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีนั้นเป็นเรื่องสาคัญที่ผู้คนในยุค
สมัยนี้ทุกคนต้องมี เพราะต่อไปน้ี โลกท้ังใบจะถูกขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงถ้าเรา
ล่าช้าตามไม่ทันจะทาให้เราไม่สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องได้ และ
ส่งผลต่อการจ้างงานตลอดจนการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันได้
ครผู ้สู อนควรสง่ เสริมและสนับสนุนให้นกั เรยี นเรยี นรกู้ ารใช้เทคโนโลยใี นรูปแบบต่าง ๆ ให้มาก
ข้ึน และควรจัดสรรเทคโนโลยีท่ีจาเป็นต้องการเรียนในชั้นเรียนให้เพียงพอและมีความทันสมัย
นอกจากนีค้ วรสอนให้นกั เรยี นใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกบั ตัวเอง และเปน็ ไปในแนวทางที่ถูกต้องตอ่
สงั คม ไมใ่ ช้เทคโนโลยีในการฉกฉวยหรือคดโกงโดยมิชอบ รักและสามารถเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้
เสมอ และสามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ย่าง เขา้ ใจ เขา้ ถึง และมภี มู คิ ุ้มกนั ทั้งในปัจจบุ นั และอนาคต
3. ทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ นอกจากภาษาไทยที่เป็นภาษาทางการที่นักเรียนทุกคน
สือ่ สารไดอ้ ยู่แลว้ น้นั ส่ิงท่ีทาให้เกิดความแตกต่างคือ ภาษาต่างประเทศนั้น ทุกวันน้ี ทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ กแ็ ทบจะเป็นภาษาทางการท่ีคนส่วนใหญ่สามารถใช้การสื่อสารกันได้ และถ้าใครก็ตาม
สามารถใช้ภาษาอื่นที่นอกเหนือจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ เช่น ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน หรือ
ภาษาฝรง่ั เศส ก็ย่ิงชว่ ยเพ่มิ โอกาสในการทางานท่ีมากข้ึน และนามาสูก่ ารมรี ายได้ท่สี งู ขน้ึ ตามมา
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 30
ด้วยเหตุน้ีการสอนภาษาต่างประเทศในช้ันเรียนน้ันจึงเป็นสิ่งท่ีจาเป็นอย่างมาก ต่อการ
พฒั นาศักยภาพของนกั เรยี น นกั เรยี นควรไดเ้ รยี นภาษาอย่างเหมาะสมตามหลกั ภาษาศาสตร์ของแต่
ละภาษาน้นั ๆ มีโอกาสได้เรยี นหรือใชภ้ าษากับเจ้าของภาษาซง่ึ จะช่วยให้นกั เรยี นมีความมนั่ ใจในการใช้
ภาษาน้ัน ๆ มากขึ้น นอกจากนี้ มันจะเป็นการดีมากถ้าครูผู้สอนท่ัวไป สอนโดยไม่จากัดเฉพาะครูท่ี
สอนในภาษาต่างประเทศ สามารถส่ือสารกับนักเรียนด้วยภาษาต่างประเทศได้ เพราะจะช่วยสร้าง
บรรยากาศของการใช้ภาษาต่างประเทศให้กับนักเรียน ซ่ึงเป็นประสบการณ์ที่ดีมากและเป็นประโยชน์
อย่างยงิ่ ตอ่ การฝกึ ทกั ษะทางภาษาของนกั เรยี น
4. ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะหแ์ ยะแยะขอ้ มูลสารสนเทศ
ปัจจุบนั โลกใบน้เี ตม็ ไปดว้ ยขอ้ มูลขา่ วสารที่มีอย่มู ากมายบนโลกอินเตอรเ์ น็ต ซึ่งมีทั้งข้อมูลที่
เป็นประโยชน์ และขอ้ มลู ทไ่ี ร้ประโยชน์ ขอ้ มูลที่เป็นจรงิ และข้อมลู ที่เปน็ เทจ็ ซึง่ การแยกแยะและเลือกเฟ้น
ขอ้ มูลเหลา่ นี้จาเป็นต้องอาศยั ประสบการณ์ และทกั ษะในการคิดวิเคราะห์แยกแยะอย่างเหมาะสม เพ่ือ
ชว่ ยใหส้ ามารถคน้ หาและเลือกใชข้ ้อมูลทเี่ ป็นประโยชน์ต่อตวั เองและบุคคลอ่ืนได้ และไม่เชอื่ ถือในขอ้ มูล
ทผ่ี ดิ ๆ
การสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
นั้น เป็นส่ิงที่สาคัญอย่างยิ่งท่ีจะช่วยให้นักเรียนรอดพ้นจากการจู่โจมของสื่อ ซึ่งมาในรูปแบบของ
ขอ้ มลู ขา่ วสารที่บดิ เบอื น ดงั นนั้ การให้นกั เรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์ขอ้ มลู ขา่ วสารต่าง ๆ โดยมีครูผู้สอน
คอยให้ข้อเทจ็ จริงและคาช้ีแนะ จะชว่ ยให้นักเรียนมปี ระสบการณ์ในการพิจารณาข้อมลู ต่าง ๆ ได้ดีมาก
ยงิ่ ข้นึ
5. ทักษะในการปรับตัว ทักษะในการปรับตัวน้ัน คือการท่ีเรารับรู้และเข้าใจถึงกระแสความ
เปลยี่ นแปลง และสามารถปรับพฤติกรรมให้เข้ากับสถานการณต์ ่าง ๆ ได้ ซงึ่ ต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
เราจะพบว่าโลกใบน้ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งในแง่ของภูมิศาสตร์ หรือในแง่ของสังคม
การรู้จักปรับตวั จะช่วยให้เราดารงชีวิตท่ามกลางกระแสความเปลยี่ นแปลงนไ้ี ดอ้ ย่างเหมาะสมน่นั เอง
การจัดกิจกรรมทห่ี ลากหลาย โดยเนน้ กิจกรรมทต่ี ้องทางานเปน็ กลมุ่ ทแี่ ตกตา่ งกนั จะชว่ ยให้
นักเรียนเรียนรู้ในเร่ืองของการปรับตัวได้ดี เพราะการที่นักเรียนต้องทางานกับเพื่อนหลาย ๆ กลุ่ม
น้ัน จะทาให้นักเรียนมีประสบการณ์ในการปรับตัวเพ่ือทางานร่วมกันบุคคลอ่ืน ซ่ึงนักเรียนสามารถ
นาเอาประสบการณเ์ หล่านี้ไปประยุกต์ใชใ้ นการเรียน การทางาน หรือการดาเนินชวี ิตประจาวนั ได้
6. ทักษะในการบริหารจัดการความเครียด ความเครียดนั้น คือภาวะทางอารมณ์ท่ีเกิดขึ้น
จากการท่ีเราต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ซ่ึงส่งผลทาให้รู้สึกกดดัน ไม่สบายใจ ว้าวุ่นใจ และวิตก
กังวล ซึ่งข้อดีความภาวะความเครียดนนั้ คอื การท่เี ปน็ แรงกระต้นุ ให้เราก้าวไปสู่ความสาเรจ็ แต่ถ้าเรา
มีความเครยี ดสะสมมากจนเกินไป ก็อาจกลายเปน็ ภยั คกุ คามทอี่ าจจะก่อให้เกิดอันตรายแกร่ ่างกาย จะ
ส่งผลใหส้ ภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจสูญเสียไปได้
การให้เวลาวา่ งในช่วงเวลาทเ่ี หมาะสมกบั นกั เรียน โดยไมป่ ดิ ก้ันกจิ กรรมทน่ี กั เรียนสามารถทา
ได้ จะช่วยให้ลดความเครียดของนักเรียนที่อาจจะเกิดขึ้น ท้ังจากการเรียนหรือปัญหาอื่น ๆ ได้ ซึ่ง
กจิ กรรมที่นกั เรียนทาในยามวา่ งน้ัน อาจเป็นส่วนหน่ึงที่ช่วยบาบัดความเครียดให้กับนักเรียน ซึ่งเมื่อ
ความเครียดของนักเรียนอยู่ในระดับที่ปลอดภัยและเหมาะสมแล้ว การเรียนของนักเรียนน้ันก็จะ
ประสทิ ธิภาพมากข้นึ และทาใหน้ กั เรยี นมีประสบการณ์ ในการจดั การความเครยี ดไดด้ ขี ้ึน
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 31
7. ทักษะในการเจรจาตอ่ รอง
การเจรจาต่อรองคือกระบวนการในการแก้ปัญหาข้อพิพาทต่าง ๆ โดยสันติวิธี ด้วยการ
ประนปี ระนอม และสามารถทาขอ้ ตกลงโดยท่ีท้งั สองฝ่ายได้ประโยชน์ นอกจากนท้ี ักษะในดา้ นนี้ ยงั เป็น
การประยุกต์ใช้ทกั ษะทางภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างเหมาะสมอีกดว้ ย
การที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการเจรจาต่อรองนั้น สิ่งสาคัญเบ้ืองต้นคือต้องสอนให้
นกั เรียนรจู้ กั ฟงั ให้มาก เพราะยิ่งเราฟังมากเท่าไหร่ เราก็จะทราบถึงเป้าหมายและความต้องการของ
คู่กรณมี ากข้นึ และสามารถเจรจาเพื่อประโยชน์สูงสดุ ของทัง้ สองฝา่ ยได้ นอกจากนี้ การทากิจกรรม
โรงเรียนต่าง ๆ เชน่ กิจกรรมกฬี าสี หรือกิจกรรมเข้าค่าย โดยใหน้ ักเรยี นมีบทบาทในการดาเนินการ
ตา่ ง ๆ ทั้งการจดั งาน การประสานงาน หรอื การประชาสัมพันธ์ ก็นับเป็นประสบการณ์ที่ดีท่ีช่วยขัด
เกลาทักษะในการเจรจาตอ่ รองของนักเรียนได้ดีขน้ึ
8. ทกั ษะในการดแู ลสุขภาพ
ท้ังปัญหาฝุ่นละอองและปัญหาโรคระบาด จะเห็นได้ว่า เรื่องของสุขภาพน้ัน กลายเป็นส่ิงท่ี
จาเป็นท่ีทุกคนจะตอ้ งดแู ลและใส่ใจ เพราะการปล่อยปะละเลยในเร่ืองน้ี อาจต้องแลกมาด้วยสุขภาพที่
ย่าแยแ่ ละการรักษาทส่ี ิน้ เปลอื ง ซึง่ การดูแลสุขภาพไมว่ า่ จะเป็น การรับประทานอาหารตามโภชนาการ
ครบ 5 หมู่ การออกกาลงั กาย และการรู้จักป้องกันตัวเองจากปญั หาทส่ี ง่ ผลตอ่ สุขภาพต่าง ๆ ล้วน
เปน็ สงิ่ ที่ทกุ คนควรต้องทาเป็นอยา่ งยิ่งโดยเฉพาะในยคุ สมัยน้ี
การสนับสนุนกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพต่าง ๆ ให้กับนักเรียน นับว่าเป็น
แนวทางที่ดีที่ช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และทาให้กลายอุปนิสัยติดตัวที่เป็น
ประโยชนอ์ ย่างมากต่อการใช้ชีวิตของนกั เรยี นทัง้ ในปจั จบุ นั และในอนาคต
ท้ังหมดนี้คือทักษะสาคัญที่ผู้เขียนมองว่า ครูผู้สอนควรส่งเสริมให้นักเรียนมี ไม่ว่าจะในยุค
สมยั ใด เพราะแม้โลกจะมกี ารเปลีย่ นแปลงมากเท่าไหร่ ทักษะเหล่านี้ก็ยังคงมีประโยชน์และความสาคัญ
นอกจากนี้ยงั ถือเป็นทักษะพืน้ ฐานทีช่ ่วยใหเ้ รามีเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ที่สอดคล้องกับยุคสมัยได้ง่ายขึ้น
อกี ด้วย
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 32
04
การประเมนิ ผล
การเรยี นรแู้ ละการจดั การเรยี นรู้
การประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ทาต่อเน่ือง
จากการวดั ผลการเรียนร้โู ดยนาผลการวดั การ เรยี นร้มู า
ตัดสินคณุ ค่าหรอื ตคี า่ เกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนโดย
เทียบกับเกณฑ์การประเมินท่ีกาหนดไว้ว่าผู้เรียน ควรจะ
ไดผ้ ลการเรียนรู้ในระดับหรอื ลกษั ณะใด
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 33
การประเมินผลการเรยี นรแู้ ละการจดั การเรยี นรู้
ความหมายและประเภทการวัดผลและประเมนิ ผล
การวัดผล (Measurement),,คือ การกาหนดตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์
ปรากฎการณ์ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ หรืออาจใช้เครื่องมือไปวัดเพ่ือให้ได้ตัวเลขแทนคุณลักษณะ
ต่าง ๆ เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้างของหนังสือได้ 3.5 น้ิว ใช้เครื่องช่ังวัดน้าหนักของเนื้อหมูได้
0.5 กโิ ลกรัม ใชแ้ บบทดสอบวดั ความรอบรใู้ นวิชาภาษาไทยของเด็กชายแดงได้ 42 คะแนน เป็นตน้
การวดั ผลแบง่ เป็น 2 ประเภท คอื
1. วดั ทางตรง วัดคณุ ลกั ษณะทต่ี อ้ งการโดยตรง เชน่ สว่ นสงู นา้ หนัก ฯลฯ มาตราวดั จะ
อยใู่ นระดบั Ratio Scale
2.llวดั ทางออ้ ม วัดคณุ ลักษณะทตี่ อ้ งการโดยตรงไม่ได้ ตอ้ งวดั โดยผา่ นกระบวนการทาง
สมอง เชน่ วัดความรู้ วดั เจตคติ วดั บคุ ลิกภาพ ฯลฯ มาตราวดั จะอยูใ่ นระดบั Interval Scale การวดั
ทางออ้ มแบง่ ออกเปน็ 3 ด้านคือ
2.1 ด้านสตปิ ญั ญา (Cognitive Domain) เชน่ วัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น วดั
เชาวนป์ ญั ญา วดั ความถนดั ทางการเรียน วัดความคดิ สรา้ งสรรค์ ฯลฯ
2.2 ด้านความรสู้ ึก (Affective Domain) เชน่ วัดความสนใจ วดั เจตคติ วดั
บคุ ลกิ ภาพ วัดความวติ กกังวล วดั จริยธรรม ฯลฯ
2.3 ดา้ นทักษะกลไก (Psychomotor Domain) เช่น การเคลอื่ นไหว การปฏบิ ตั โิ ดยใช้
เคร่ืองมอื ฯลฯ
การประเมนิ ผล (Evaluation) หมายถึง การนาเอาขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดรวมกับการ
ใช้วิจารณญาณของผู้ประเมินมาใช้ในการตัดสินใจ โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ เพ่ือให้ได้ผลเป็น
อย่างใดอย่างหนง่ึ เชน่ เนือ้ หมชู ิน้ นห้ี นัก 0.5 กโิ ลกรัมเป็นเน้อื หมชู ้ินทเ่ี บาท่สี ุดในรา้ น (เปรียบเทียบกัน
ภายในกลมุ่ ) เดก็ ชายแดงไดค้ ะแนนวิชาภาษาไทย 42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผ่าน (ใช้
เกณฑ์ทค่ี รูสร้างขน้ึ ) เป็นต้น
การประเมนิ ผลแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท การประเมนิ แบบอิงกลุ่มและการประเมินแบบอิงเกณฑ์
1. การประเมินแบบอิงกลุ่ม เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของ
บคุ คลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอ่ืน ๆ ที่ได้ทาแบบทดสอบเดียวกันหรือได้ทางานอย่างเดียวกัน น่ันคือ
เป็นการใช้เพื่อจาแนกหรือจัดลาดับบุคคลในกลุ่ม การประเมินแบบน้ีมักใช้กับการ การประเมินเพื่อ
คดั เลือกเขา้ ศกึ ษาตอ่ หรือการสอบชงิ ทุนตา่ ง ๆ
2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์ เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของ
บุคคลใดบุคคลหน่ึงกับเกณฑ์หรือจุดมุ่งหมายท่ีได้กาหนดไว้ เช่น การประเมินระหว่างการเรียนการ
สอนวา่ ผ้เู รยี นไดบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ทไ่ี ดก้ าหนดไวห้ รือไม่
“ การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 34
“ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนนอกจากจะมี
ประโยชนโ์ ดยตรงตอ่ ผู้เรยี นแลว้ ยงั สะทอ้ นถงึ
ประสิทธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูล
สาคญั ทีส่ ะทอ้ นคุณภาพการดาเนนิ งานการจัด
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 35
ความหมายของการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (Assessment of Learning: AoL) หมายถึง กระบวนการรวบรวม
หลักฐาน ข้อมูลเชิงประจักษ์ตาง ๆ เม่ือส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อตัดสินคุณค่าในการบรรลุ
วัตถปุ ระสงคห์ รือผลลพั ธ์การเรียนรู้ เปน็ การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงแสดงถึงมาตรฐาน
ทางวชิ าการในเชิงสมรรถนะและคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ สารสนเทศดังกล่าวนาไปใช้ในการกาหนด
ระดบั คะแนนใหผ้ ูเ้ รียน รวมท้งั ใชใ้ นการปรบั ปรงุ หลักสตู รและการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนรู้มีวัตถุประสงค์สาคัญเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดย
ผู้สอนมีบทบาท หลักในการประเมิน การประเมินมีลักษณะเป็นการประเมินรวบยอด (summative
assessment) ท่ีใชว้ ัตถุประสงคห์ รือ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้เปน็ มาตรฐานการประเมิน ตลอดจนใชว้ ิธีการ
และเครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพเชื่อถือได้มีความ เป็นทางการมากกว่าการประเมินเพื่อการเรียนรู้
และการประเมนิ ขณะเรียนรู้
การประเมนิ ผลการเรียนรเู้ ป็นกระบวนการทที่ าตอ่ เน่อื งจากการวัดผลการเรียนรู้โดยนาผล
การวัดการ เรียนรู้มาตัดสินคุณค่าหรือตีค่าเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยเทียบกับเกณฑ์การ
ประเมินทีก่ าหนดไวว้ ่าผู้เรียน ควรจะได้ผลการเรยี นรใู้ นระดับหรอื ลกัษณะใด
ความสาคญั ของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องผู้เรยี น เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ในการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา ทาใหไ้ ดข้ ้อมูลสารสนเทศทจ่ี าเป็นในการพจิ ารณาวา่ ผู้เรียนเกดิ คุณภาพการเรียนรู้ตามผล
การเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั และมาตรฐานการเรยี นรู้
จากประเภทของการประเมนิ โดยเฉพาะการแบ่งประเภทโดยใช้จดุ ประสงค์ของการประเมนิ เป็น
เกณฑ์ในการแบ่งประเภท จะเห็นวา่ การวัดและประเมินผลการเรียนนอกจากจะมปี ระโยชน์โดยตรงต่อ
ผู้เรียนแล้ว ยังสะท้อนถึงประสิทธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพ
การดาเนินงานการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาด้วย ดงั นัน้ ครูและสถานศกึ ษาตอ้ งมขี อ้ มูลผลการ
เรยี นรูข้ องผเู้ รยี น ท้งั จากการประเมนิ ในระดบั ชัน้ เรยี น ระดบั สถานศึกษา และระดับอน่ื ท่สี งู ข้นึ
ประโยชน์ของการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ประโยชนข์ องการวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้ จาแนกเป็นด้านๆ ดังน้ี
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนมีประโยชน์ต่อการ
จดั การเรียนรหู้ รือการจดั การเรียนการสอนดงั นี้
1.1 เพื่อจัดตาแหน่ง (Placement) ผลจากการวัดบอกได้ว่าผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถอยู่ในระดับใดของกลุ่มหรือ เปรียบเทียบกับเกณฑ์แล้วอยู่ในระดับใด การวัดและ
ประเมินเพือ่ จัดตาแหน่งนี้ มักใช้ในวัตถปุ ระสงค์ 2 ประการคอื
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 36
1.1.1 เพือ่ คัดเลอื ก (Selection)kเปน็ การใช้ผลการวดั เพ่อื คัดเลือกเพอื่ เขา้
เรียน เขา้ ร่วมกจิ กรรม-โครงการ หรือเป็นตัวแทน(เช่นของชั้นเรียนหรือสถานศึกษา) เพื่อการทา
กจิ กรรม หรือการใหท้ ุนผล การวัดและประเมินผลลักษณะน้ีคานงึ ถึงการจดั อันดบั ทีเ่ ป็นสาคญั
1.1.2 เพ่ือแยกประเภทk(Classification)kเป็นการใช้ผลการวัดและประเมิน
เพื่อแบ่งกลุ่มผู้เรียน เช่น แบ่งเป็นกลุ่มอ่อน ปานกลาง และเก่ง แบ่งกลุ่มผ่าน-ไม่ผ่านเกณฑ์ หรือ
ตดั สินได-้ ตก เปน็ ต้น เปน็ การวัดและประเมินทีย่ ดึ เกณฑท์ ี่ใช้ในการแบง่ กลุม่ เป็นสาคัญ
1.2 เพื่อวินิจฉัย (Diagnostic) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อค้นหาจุดเด่น-
จุดด้อยของผู้เรียนว่ามีปัญหาในเร่ืองใด จุดใด มากน้อยแค่ไหน เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจการวาง
แผนการจัดการเรียนรู้และการปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน เครื่องมือที่ใช้วัด
เพ่อื การวินิจฉับ เรียกว่า แบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) หรือแบบทดสอบวินิจฉัยการเรียน
ประโยชนข์ องการวัดและประเมินประเภทน้ีนาไปใช้ในวตั ถุประสงค์ 2 ประการดงั น้ี
1.2.1 เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลการวัดผู้เรียนด้วย
แบบทดสอบวินิจฉัยการเรียนจะทาให้ทราบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องจุดใด มากน้อยเพียงใด ซ่ึง
ครูผู้สอนสามารถแก้ไขปรับปรุงโดยการสอนซ่อมเสริม (Remedial Teaching) ได้ตรงจุด เพ่ือให้
ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั ไว้
1.2.2 เพ่ือปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ ผลการวัดดว้ ยแบบทดสอบวินิจฉัย
การเรยี น นอกจากจะช่วยให้เห็นว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องเรื่องใดแล้ว ยังช่วยให้เห็นจุดบกพร่องของ
กระบวนการจัดการเรียนรู้อีกด้วย เช่น ผู้เรียนส่วนใหญ่มีจุดบกพร่องจุดเดียวกัน ครูผู้สอนต้อง
ทบทวนว่าอาจจะเปน็ เพราะวธิ ีการจัดการเรียนรูไ้ มเ่ หมาะสมต้องปรบั ปรุงแก้ไขให้เหมาะสม
1.3 เพื่อตรวจสอบและปรับปรุง การประเมินเพ่ือพัฒนา (Formative Evaluation)
เปน็ การประเมินเพอื่ ตรวจสอบผลการเรียนรู้เทียบกับจุดประสงค์หรือผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ผล
จากการประเมินใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยอาจจะปรับปรุงหรือ
ปรับเปล่ียนวิธีการสอน (Teaching Method) ปรับเปล่ียนสื่อการสอน (Teaching Media) ใช้
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ (Teaching Innovation) เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ท่ีมี
ประสิทธิภาพ
1.4 เพื่อการเปรียบเทียบ (Assessment)kเป็นการใช้ผลการวัดและประเมิน
เปรียบเทยี บวา่ ผเู้ รยี นมพี ัฒนาการจากเดมิ เพยี งใด และอยใู่ นระดบั ท่พี งึ พอใจหรือไม่
1.5 เพ่ือการตัดสิน การประเมินเพื่อการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นการ
ประเมนิ รวม (Summative Evaluation) คอื ใช้ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการวดั เทยี บกับเกณฑ์เพ่อื ตัดสนิ ผลการ
เรยี นวา่ ผ่าน-ไม่ผา่ น หรอื ให้ระดบั คะแนน
2. ด้านการแนะแนว ผลจากการวัดและประเมินผู้เรียน ช่วยให้ทราบว่าผู้เรียนมีปัญหาและ
ข้อบกพร่องในเร่ืองใด มากน้อยเพียงใด ซ่ึงสามารถแนะนาและช่วยเหลือผู้เรียนให้แก้ปัญหา มีการ
ปรับตัวได้ถูกต้องตรงประเด็น นอกจากนี้ผลการวัดและประเมินยังบ่งบอกความรู้ความสามารถ
ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ซึ่งสามารถนาไปใช้แนะแนวการศึกษาต่อและแนะแนวการเลือก
อาชพี ใหแ้ ก่ผู้เรยี นได้
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 37
3. ด้านการบริหาร ข้อมูลจากการวัดและประเมินผู้เรียน ช่วยให้ผู้บริหารเห็นข้อบกพร่อง
ตา่ งๆ ของการจัดการเรียนรู้ เปน็ การประเมินผลการปฏิบัติงานของครู และบ่งบอกถึงคุณภาพการ
จัดการศึกษาของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามักใช้ข้อมูลได้จากการวัดและประเมินใช้ในการ
ตัดสนิ ใจหลายอยา่ ง เชน่ การพัฒนาบุคลากร การจดั ครูเขา้ สอน การจดั โครงการ การเปล่ียนแปลง
โปรแกรมการเรียน นอกจากน้ีการวัดและประเมินผลยังให้ข้อมูลที่สาคัญในการจัดทารายงานการ
ประเมินตนเอง (SSR)เพ่ือรายงานผลการจัดการศึกษาสู่ผู้ปกครอง สาธารณชน หน่วยงานต้นสัง
กัด และนาไปสู่การรองรับการประเมินภายนอก จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นหัวใจ
สาคญั ของระบบการประกันคุณภาพท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
4. ดา้ นการวิจัย การวดั และประเมินผลมีประโยชนต์ ่อการวิจยั หลายประการดงั นี้
4.1 ข้อมลู จาการวัดและประเมินผลนาไปสู่ปัญหาการวิจัย เช่น ผลจากการวัดและ
ประเมินพบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องหรือมีจุดที่ควรพัฒนาการ แก้ไขจุดบกพร่องหรือการพัฒนา
ดังกล่าวโดยการปรับเปลี่ยนเทคนิควิธีสอนหรือทด ลองใช้นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจัย การ
วิจัยดังกล่าวเรียกว่า การวิจัยในชั้นเรียน (ClassroomkResearch)oนอกจากน้ีผลจากการวัดและ
ประเมนิ ยงั นาไปส่กู ารวจิ ยั ในด้านอ่ืน ระดับอ่ืน เช่น การวิจัยของสถานศึกษาเก่ียวกับการทดลองใช้
รูปแบบการพฒั นาคุณลกั ษณะของผู้เรยี น เปน็ ตน้
4.2 การวัดและประเมินเป็นเคร่ืองมือของการวิจัย การวิจัยใช้การวัดในการ
รวบรวมข้อมลู เพอื่ ศกึ ษาผลการวิจัย ขน้ั ตอนนเ้ี รม่ิ จากการหาหรอื สรา้ งเคร่ืองมอื วดั การทดลองใช้
เครื่องมอื การหาคุณภาพเครอื่ งมอื จนถงึ การใชเ้ ครื่องมอื ทม่ี คี ุณภาพแล้วรวบรวมข้อมูลการวดั ตัว
แปรทศี่ กึ ษา หรอื อาจต้องตคี ่าข้อมลู จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลมีบทบาทสาคัญมากในการวิจัย
เพราะการวดั ไมด่ ี ใชเ้ ครือ่ งมือไม่มคี ณุ ภาพ ผลของการวิจัยก็ขาดความน่าเชือ่ ถอื
แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1. หลักการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการตรวจสอบผลการเรียนรแู้ ละพฒั นาการของผู้เรียน
กระบวนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ ่ีมปี ระสทิ ธิภาพมหี ลกั ท่ีควรพิจารณาดังนี้
1) ระบุบสง่ิ ท่ีวัดและประเมนิ ใหช้ ดั เจน
2) เลือกวธิ กี ารวัดและประเมินทีเ่ หมาะสม
3) ใช้วิธีการวดั และประเมินผลๆ วิธีประกอบกนั
4) ควบคุมความคลาดเคล่อื นจากการวัดท่ีเกดิ ข้นึ ให้น้อยที่สุด
5) ใช้สารสนเทศจากการวดั และประเมินใหค้ มุ้ คา่
2. ขน้ั ตอนการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
จากการวางแผนการวัดและการประเมนิ ผล จะช่วยกาหนดทศิ ทางและกรอบของกระบวนการ
วดั และประเมินผลให้ดาเนินไปอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งออกขั้นตอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เปน็ 6 ขน้ั ตอนดงั นี้
การบรหิ ารวิชาการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 38
ขั้นที่ 1 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการวดั และการประเมนิ
ขั้นที่ 2 กาหนดสงิ่ ท่ีตอ้ งการวัดและประเมนิ
ขน้ั ที่ 3 กาหนดวิธกี ารและจดั เตรียมเครือ่ งมอื และประเมิน
ขัน้ ท่ี 4 เกบ็ รวบรวมข้อมูลผลการเรยี นรู้
ขน้ั ท่ี 5 ตัดสินคุณคา่ ของผลการเรยี นรู้
ขั้นที่ 6 รายงานผลและใชผ้ ลการประเมนิ
3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551
สถานศึกษาต้องจัดทาระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา โดยดาเนินการให้
สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 2551 นอกจากนส้ี ถานศึกษาต้องดาเนินการ
วัดและประเมินผลการเรียนรตู้ ามแนวทางของระเบียบการวดั และประเมนิ ผลท่สี ถานศึกษากาหนด
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 4.0
การจัดการเรียนการสอนหน่ึง ๆ ควรมีการตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียน ผู้สอน และ
กระบวนการสอนเป็นระยะ ๆ (formativekevaluation)jkเพื่อพิจารณาตรวจสอบว่า ผู้เรียนมี
คุณสมบัติหรือเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตรงตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนตรงตามท่ี
กาหนดไวห้ รอื ไม่ กระบวนการวัดและประเมินผลน้ี จะพยายามทาใหไ้ ดข้ ้อมูลจากการจัดการเรียนการ
สอน เพื่อนามาใช้วิเคราะห์และตัดสินใจว่า การสอนดังกล่าวนั้นบรรลุผลหรือไม่ (Summative
Evaluation) การนาผลการตัดสินใจเพ่ือประโยชน์ในการจัดลาดับ และพัฒนาปรับปรุงการเรียนการ
สอนต่อไป การเรียนการสอนหากไม่มกี ารวดั และประเมินผลแล้ว ผู้สอนก็ไม่ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้
เพิ่มขึ้นหรอื ไม่ มากนอ้ ยเพยี งใด ไมท่ ราบวา่ การจัดการเรียนการสอนดังกล่าวมีประสิทธิภาพหรือไม่
เหมาะสมหรือไม่ หากต้องการพัฒนาปรบั ปรุงแกไ้ ข จะปรบั ปรุงพัฒนาตรงจุดไหน อย่างไร เป็นต้น
การวัดผลเป็นกระบวนการหรือวิธีการในการกาหนดตัวเลขให้กับคุณลักษณะต่าง ๆ ของ
คน สัตว์ สงิ่ ของ หรือเหตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งมกี ฎเกณฑ์ คอื จะตอ้ งดาเนินการอย่างมีข้ันตอน เป็น
ระเบยี บแบบแผน โดยมีเคร่ืองมอื ชว่ ยวัด ซ่งึ จะทาให้ตัวเลขใชแ้ ทนลกั ษณะของสง่ิ ทเี่ ราต้องการ
ขนั้ ตอนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1. วเิ คราะหจ์ ุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เป็นจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม สามารถวดั หรือสังเกตเหน็
ได้ด้วยความรู้ ความเขา้ ใจทักษะ กระบวนการและด้านจติ ใจ
2. ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้หรือภาระงานการปฏบิ ตั ใิ นลกั ษณะผลผลิตหรือผลงาน ผล
การกระทาหรอื พฤตกิ รรมและกระบวนการ เชน่ การทดลอง เปน็ ตน้
3. เลือกวธิ กี ารและเครือ่ งมอื วัดและประเมินผล
ภาพ ส่ือความหมายโปรแกรมหรือแอปพลเิ คชันในการวัดและประเมนิ ผล
“ การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 39
“การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ท่ีสร้างความทา้ ทาย
ใหก้ บั ผูเ้ รยี นและผ้สู อน เป็นการปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง
วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
ของผู้เรียน ให้มีความทันสมัยและตอบสนองพฤติกรรม
การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นในยคุ ดจิ ทิ ัล
การบรหิ ารวชิ าการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 40
การเลือกเครื่องมือในการวัดผลของผู้เรียนในยุคดิจิทัล โดยใช้แอปพลิเคชันในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ ท่ีสร้างความท้าทายให้กับผู้เรียนและผู้สอน เป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
วิธีการวดั และประเมนิ ผล ความรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะ ของผู้เรียน ให้มคี วามทันสมยั และตอบสนอง
พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคดิจิทัล แอปพลิเคชันท่ีนับเป็นสุดยอดในการประเมินผลการ
เรยี นร้ใู นปจั จบุ ัน ที่สามารถตอบสนองการวดั ผลการเรยี นรูไ้ ดห้ ลายรูปแบบ ดงั น้ี
1. Plickers ผู้สอนสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือการประเมินผู้เรียน โดยโหลดแอปพลิเคชัน
Plickers และกระดาษคาตอบ สามารถโหลดได้ในเว็บ (www.plickers.com) และพิมพ์ออกมา ตัวใบ
คาตอบของแตล่ ะคนจะหนา้ ตาไมเ่ หมอื นกนั ลักษณะหน้าตาเหมอื น QR Code สามารถพลกิ ได้ 4 ดา้ น
เพ่ือเปล่ียนคาตอบ A-B-C-D เป็นเคร่ืองมือที่ถูกออกแบบมาอย่างเรียบง่ายมาก โดยท่ีผู้เรียนไม่
จาเป็นจะต้องมีมือถือ คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใด ๆ จึงทาให้ Plickers เป็น
เคร่ืองมือทเี่ ขา้ ถงึ นกั เรยี นไดท้ ุกพ้ืนที่
2. Kahoot! เปน็ โปรแกรมทีใ่ ช้ตอบคาถาม คาตอบทางออนไลน์ พร้อมสรุปผลคะแนน คนที่
ได้คะแนนมากท่ีสุด เรียงลาดับ และรายบุคคล ด้วยการเล่นผ่านระบบออนไลน์ท่ีนักเรียนจะต้องเล่น
ผา่ นคอมพวิ เตอร์ สมาร์ตโฟน หรือแท็บเลต เช่ือมต่อเข้าสู่ระบบ เพื่อระบุชื่อคนเล่น เก็บคะแนนหรือ
แขง่ ขันกัน ซงึ่ ครสู ามารถตัง้ คาถามและเฉลยคาตอบเพอ่ื ใหน้ กั เรียนเล่นเกมแขง่ ขันกันได้
3. Socrative เปน็ แอปพลิเคชันทชี่ ่วยสรา้ งแบบทดสอบเพ่ือประเมินผลนักเรียนแบบออนไลน์
สามารถแสดงผลการสอบได้ทันที รองรับทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถใส่ภาพประกอบ
คาอธิบายต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนพิมพ์คาตอบ จุดเด่นที่สาคัญคือ ผู้เรียนสามารถทาข้อสอบผ่าน
อุปกรณ์หลากหลายแพลตฟอร์ม (Platform) ท่ีเช่ือมตอ่ ระบบอินเทอร์เน็ตได้ เช่น มือถือสมาร์ตโฟน
แท็บเล็ต และเครอื่ งคอมพิวเตอร์
4. Zipgrade เป็นเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้สาหรับตรวจคาตอบประเภทปรนยั ทสี่ ามารถแสดงผลไดท้ นั ที
โดยใช้ร่วมกับกระดาษท่ีทางแอปพลิเคชันน้ีได้ทาข้ึน สาหรับใช้ในการประเมินผลต่าง ๆ โดยการใช้
สมาร์ตโฟนหรอื แทบ็ เลตสแกนเพอื่ ตรวจคาตอบ สามารถรองรับคาตอบทใ่ี ช้ปากกาสแี ดง สีน้าเงนิ และ
ดินสอสีดาได้ มีความรวดเร็วแม่นยาในการประมวลผล ไม่เกิน 5 นาทีต่อ 1 แผ่น สามารถบอก
ค่าเฉลี่ย ค่าสงู สุดตา่ สุดของคะแนนสอบ และคา่ สถิตขิ องตวั ข้อสอบได้
5. quizizz เป็นเครื่องมือท่ีช่วยสร้าง แบบทดสอบออนไลน์ (e-Testing) ผู้เรียนทา
แบบทดสอบผา่ นอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ ที่เชอ่ื มตอ่ ระบบ Internet ผู้เรยี นทราบผลการสอบทันที และ
ผูส้ อน ได้รับรายงาน (Report) ผลการสอบและบันทึกลงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ เหมาะกับการนามา
ประยุกต์ใช้กับ การทาข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียนเพ่ือวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือจัด
กจิ กรรมการสอบแบบเกมเพ่อื เพมิ่ ความสนกุ สนานในการเรยี นได้
แอปพลิเคชันดังกล่าวสามารถวัดด้านพุทธิพิสัยที่แสดงพฤติกรรมด้านความสามารถทาง
สติปัญญาของบุคคล ลักษณะการวัดจึงเป็นการวัดทางอ้อมจากพฤติกรรมท่ีแสดงออกของผู้ถูก
วัดภายใต้เครื่องมือวัดหรือสถานการณ์ที่ผู้สอบกาหนด ซ่ึงมีการจาแนกความสามารถอกเป็น 6
ระดับ ดังนี้
1. ความร้คู วามจา คอื ความสามารถในการระลกึ ได้ถงึ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ท่ีเคยมปี ระสบการณ์
มากอ่ นจะด้วยวิธีการใดก็ตาม เชน่ จากการเรียนรู้ในห้องเรียน การอ่านหนังสือ การบอกเล่าต่อ ๆ
กันมา เปน็ ต้น
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 41
2. ความเข้าใจ คือความสามารถในการผสมผสานความรู้ความจาแล้วขยายความคิดของ
ตนเองออกไปอย่างสมเหตุสมผลสามารถอธิบายความโดยใช้ความคิดและคาพูดของตนเอง ดังน้ัน
ความเข้าใจจึงเป็นความรู้ข้ันสติปัญญา เนื่องจากต้องนาเอาความรู้จากขั้นความรู้ความจา มา
ผสมผสานร่วมดว้ ย
3. การนาไปใช้ คือความสามารถนาความรู้ความเข้าใจในเร่ืองที่เรียนรู้มาแล้วไปใช้ที่แปลก
ใหม่ หรอื สถานการณ์ใหม่ทไ่ี มเ่ คยเห็นมาก่อนแตอ่ าจใกล้เคยี งหรอื คล้ายคลงึ กับท่เี คยมีประสบการณ์
มาก่อน
4. การวเิ คราะห์ คือความสามารถแยกแยะเร่ืองราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ได้ ทา
ใหส้ ามารถมองเหน็ ความสัมพันธ์กันของสว่ นยอ่ ยได้อย่างชัดเจน สามารถค้นหาความจริงต่าง ๆ ที่
ซอ่ นแฝงอยู่ในเนือ่ งเรอื่ งน้ัน ๆ ได้
5. การสังเคราะห์ คือการนาองค์ประกอบย่อย ๆ ต่าง ๆ ตั้งแต่ 2 ส่ิงขึ้นไปมารวมเข้าเป็น
เรื่องราวเดยี วกนั เพ่ือใหเ้ หน็ ถึงโครงสร้างทชี่ ดั เจน แปลกไปจากเดิม
6. การประเมินค่า คือความสามารถในการตัดสินเกี่ยวกับคุณค่าของเนื้อหาและวิธีการ
ต่าง ๆ โดยสรปุ อย่างมหี ลกั เกณฑ์ว่า เหมาะสม มคี ุณค่า ดีเลว เพียงไร เปน็ ต้น
การใช้แอปพลิเคชันในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้นอกจากจะเกิดประโยชน์การ
วัดผลในห้องเรียน ยังช่วยใหส้ ถาบนั การศกึ ษาประหยัด ค่าใช้จ่ายจากการเตรียมสอบ และเป็นการใช้
เทคโนโลยีได้อย่างเกิดประโยชน์ ช่วยให้ผู้สอนลดเวลาในการทาข้อสอบและจัดชุดทดสอบ อีกท้ังจะ
ทราบจดุ บกพร่องการเรยี นของนกั เรียนแตล่ ะคนในแต่ละเนือ้ หา ว่านักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาการเรียน
เรอ่ื งใด เพื่อนามาปรบั ปรุง แก้ไข กระบวนการจดั การเรยี นการสอนได้ดียิง่ ข้ึน ในด้านของผู้เรียนเอง
ก็จะได้ทราบข้อมูลและประเมินตนเองได้ว่าไม่เข้าใจเน้ือหาตรงส่วนใดเพ่ือจะได้กลับไปทบทวน และทา
ความเข้าใจในเนื้อหาน้ันอีกคร้ังหน่ึง เสมือนการสร้างแรงจูงใจในการเรียน และให้ผู้เรียน ต้อง
เตรยี มพรอ้ มในการเรยี นอยเู่ สมอ
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 42
05
การพัฒนา
การนิเทศการศึกษา 4.0
ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ
สถานศึกษาท่ีต้องพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมาย
ของการศกึ ษาชาติ “เกง่ ดี และมคี วามสุข”
การบรหิ ารวิชาการกบั การจดั การในยคุ เทคโนโลยี 4.0 43
การพัฒนาการนิเทศการศึกษา 4.0
การศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาความรู้ ความคิด ความสามารถรวมท้ัง
พฤตกิ รรม เจตคติ ค่านิยม และคณุ ธรรมของบคุ คล คณุ สมบัตขิ องบุคคลดังกลา่ ว เป็นปจั จัยสาคญั
ในการพัฒนาประเทศ ทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง ยิ่งปัจจุบันสังคมโลกมีการ
เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ไมว่ ่าจะเปน็ ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การแข่งขนั อยา่ งรนุ แรง
ทางเศรษฐกิจ ปัญหาการจัดการศึกษาของไทยยังไม่สอดคล้อง และไม่เหมาะสมกับสภาพการ
เปลีย่ นแปลงทงั้ หลายในยุคโลกาภิวัฒน์ ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกประเทศ ด้วยความตระหนัก
ถึงความสาคญั ของการศึกษาทเ่ี ป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาคน รัฐบาลได้ทุ่มเทกาลัง ทั้งใน
แง่ความคิดและทรัพยากรของประเทศท่ีจะปฏิรูปการศึกษา เพ่ือปรับเปล่ียนการจัดการศึกษาให้เป็น
การศึกษาท่ีดีมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน สามารถผลิตคนท่ีมีคุณภาพ และเป็นการศึกษาท่ีสอดคล้อง
เหมาะสมกับสภาพการณท์ ี่เปลย่ี นแปลงของโลกในปัจจุบนั
แนวการจัดการศึกษา ในหมวด 4 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
บังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี 20 สิงหาคม 2542 เน้นการปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสาคัญท่ีสุด เป็นหัวใจ
สาคญั ของการปฏิรปู การศึกษา ตั้งแต่มาตรา 22 – 30 ซึ่งมุ่งหมายให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
เรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองได้ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนตาม
ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงการศึกษาขั้น
พื้นฐานจึงเป็นรากฐานสาคัญที่จะช่วยให้การพัฒนาประเทศฟื้นฟูได้ การให้ความสาคัญของการจัด
การศกึ ษาในระดบั สถานศึกษาทีต่ อ้ งพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมายของการศึกษาชาติ “เก่ง ดี
และมีความสขุ ” บนพ้ืนฐานของความสอดคลอ้ งกบั บริบทชุมชน และเกิดความภมู ใิ จในความเปน็ ไทย ใน
ฐานะศกึ ษานเิ ทศก์ซ่ึงต้องมีมาตรฐานความรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านนโยบายและการวางแผน
การศกึ ษาดา้ นการพฒั นาหลักสูตรและการสอน ด้านการประกันคุณภาพการศกึ ษา ด้านการบริหาร
จัดการการศึกษาด้านการวิจยั ทางการศึกษา ด้านการบรหิ ารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้กลวิธี
การถา่ ยทอดความรู้ แนวคิด ทฤษฎี เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพของการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหส้ อดคล้องตาม
มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพได้
อย่างไร จงึ เป็นโจทยส์ าคัญท่จี ะต้องกาหนดแนวทางในการแกป้ ญั หา ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้
สถานศึกษา ครูและผู้บริหารโรงเรียนได้ตระหนักเห็นความสาคัญและพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานใหบ้ รรลุถึงเป้าหมายแห่งคุณภาพ
การนิเทศการศึกษายุค 4.0 กับการนิเทศภายในโรงเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในยุคปฏริ ปู การศึกษา การนเิ ทศการศกึ ษาเปน็ องคป์ ระกอบที่ต้องมีการดาเนินการควบคู่
กันไปเพ่ือให้การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาบรรลุตามเป้าหมายของการศึกษาชาติ และ
เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร ระบบของการนิเทศควรมีทิศทางในการ
ดาเนินงานที่สอดคล้องกันทั้งการนิเทศภายในและภายนอก ต้องมีการพัฒนาผู้นาทางวิชาการใน
สถานศึกษาใหม้ คี วามเขม้ แข็ง ทาให้ผบู้ รหิ ารและผนู้ าทางวชิ าการมคี วามสามารถในการนิเทศการสอน
พฒั นารูปแบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา การใชห้ ลักสูตรการสอน การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้
เพอื่ ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาในการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล เชื่อมโยงการบริหาร
จัดการและการบริหารหลกั สตู รสถานศกึ ษาเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั สอดคลอ้ งกับวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ
และเป้าหมายความสาเร็จท่ีโรงเรียนได้กาหนดไว้ และใช้การนิเทศการสอนเพื่อช่วยให้ครูผู้สอนได้
การบรหิ ารวิชาการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 44
ปฏิบัติการสอนได้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาที่เน้นการจัด การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ โดยครูผู้สอนจะต้องมีความแม่นยาในด้านการใช้หลักสูตรและการออกแบบการเรียนรู้ท่ี
เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม โดยมีเน้ือหาการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับบริบทของชุมชนและ
ท้องถ่ิน มีระบบของการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจที่สอดคล้องกับสภาพจริงเพ่ือพัฒนาการ
เรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคลให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ รวมถึงช่วยให้ครูสามารถ
การวางแผนพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ี
ยัง่ ยนื
ความหมายของการนิเทศ
คาว่า “การนิเทศ” มาจากภาษาอังกฤษว่า “Supervision”จากความหมายตามรูปศัพท์คือ
การให้ความชว่ ยเหลือ แนะนาและการปรับปรุง ตามรู้ ศพั ทจ์ ากพจนานุกรม หมายถงึ การช้ีแจง การ
แสดงการจาแนกความหมาย โดยรวมการนิเทศคือกระบวนการท่ีจะทาให้เกิดการปรับปรุงการเรียน
การสอนของครู โดยการทางานร่วมกับบุคคลท่ีเก่ียวข้อง เป็นการกระตุ้นความเจริญก้าวหน้าของ
ครู และมงุ่ หวังที่จะช่วยเหลือครูเพื่อให้ครูช่วยเหลือตนเองได้ (Spears. 1967) โดยเป็นการให้บริการ
เกี่ยวกับความชานาญทางเทคนิคด้านวิชาการในการเรียนการสอน การจัดส่ือการสอน สิ่งอานวย
ความสะดวก การเตรยี มและพฒั นาครู รวมทงั้ การประเมินผลการเรียนการสอน (Glickman. 1990)
และปรบั ปรงุ สภาพการเรียนและพฒั นาการของผเู้ รยี น (Burton and Bruckner.1995) ใหเ้ หมาะสมกับ
สถานการณแ์ ละสง่ ผลสะทอ้ นไปถงึ การพฒั นานักเรียนดว้ ย (Harris; Marks and Others. 1978) โดย
ผู้นิเทศช่วยในการให้คาแนะนาแก่ครูหรือผู้อื่นที่ทาหน้าที่เก่ียวข้องกับการศึกษา กระตุ้นให้ให้มีการ
พัฒนาการท่ีจะนาวิธีการสอน ส่ือการเรียนการสอนมาใช้ โดยเน้นถึงทักษะในการติดต่อสื่อสาร
(Goldhammer and Other. 1980) และการช้ีช่องทางในลักษณะท่ีเป็นกันเองแก่ครูและนักเรียน เพื่อ
การปรับปรุงตัวเอง และสภาพการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ สามารถ
ปรับปรุงการสอนของตนให้ดีข้ึน ช่วยให้เกิดความเจริญงอกงามในด้านอาชีพ ช่วยพัฒนา
ความสามารถของครู (Good)
โดยสรุปการนิเทศจงึ หมายถึง กระบวนการ จัดบรหิ ารการศกึ ษาเพอ่ื ชี้แนะใหค้ วามช่วยเหลือ
และความรว่ มมอื กับครู และบคุ คลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษา เพือ่ ปรบั ปรงุ การสอนของครู และ
เพ่ิมคุณภาพของนักเรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของการศึกษา การนิเทศจะเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์
เป็นศาสตร์เพราะเป็นปรัชญาที่แสวงหาความจริง ความรู้และคุณค่าในสิ่งต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ
การศึกษา และเป็นศิลป์เพราะต้องอาศัยเทคนิควิธี และมนุษย์สัมพันธ์ ในการทางานร่วมกับผู้อ่ืน
ตดิ ตอ่ ประสานงานการจูงใจเพอ่ื การเปลีย่ นแปลงไปสเู่ ป้าหมายของการจัดการศึกษา นอกจากนี้การ
นิเทศยงั เป็นรปู แบบของการบรหิ ารการศึกษา ทีต่ ้องการการมีส่วนร่วมของบุคคล เป็นลักษณะของ
การบรหิ ารตามรปู แบบประชาธิปไตย เพราะการนิเทศใช้หลักการต่าง ๆ ของประชาธิปไตยมาด าเนิน
การ ไดแ้ ก่ การเคารพซึง่ กันและกัน การประชมุ ปรกึ ษาหารอื กัน การใหค้ วามร่วมมอื ประสานงาน การ
รว่ มมือแกป้ ัญหา
“ การบรหิ ารวชิ าการกบั การจัดการในยคุ เทคโนโลยี 4.0 45
“ การนเิ ทศการสอนอาจเป็นพฤติกรรมที่ พงึ
ปรารถนาอยา่ งเป็นทางการในองคก์ ารนน้ั ซ่งึ
ชี้แนะถงึ พฤตกิ รรมของครใู นทางท่จี ะใหค้ วาม
สะดวกในการเรียนการสอนของนักเรยี น และ
สมั ฤทธ์ผิ ลถงึ เป้าหมายขององค์การ