The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลงานวิชาการลำดับที่ 4 นายพีระพงษ์ รุ่งเรืองศิลป์ รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคามรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดกำแพงเพชร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kpp.nfe_Ebook, 2021-10-18 23:57:45

แบบนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ผลงานวิชาการลำดับที่ 4 นายพีระพงษ์ รุ่งเรืองศิลป์ รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคามรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดกำแพงเพชร

Keywords: 2564

แบบนิเทศการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สำนกั งาน กศน. จงั หวัดมหาสารคาม

พรี ะพงษ รงุ เรืองศลิ ป
รองผอู ำนวยการสำนกั งาน กศน.จังหวัดมหาสารคาม

สำนกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ



คำนำ

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช
2545 กำหนดใหสถานศึกษาตอ งดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน ตัวบงช้ีท่ีกำหนด ซึ่งการ
นิเทศภายในเปนกิจกรรมหลักกิจกรรมหน่ึงของระบบการประกันคุณภาพ การจัดการศึกษาการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมกี ารจัดกิจกรรมท่หี ลากหลาย เพื่อสนองตอความตองการของประชาชนและ
มีการดำเนินงานอยูในทุกสภาพพ้ืนท่ีที่มีความแตกตางทางสภาพสังคม การนิเทศจะสามารถชวยพัฒนา
ศักยภาพครู ใหเปนมืออาชีพ และจัดการศึกษาใหบรรลุตามเจตนารมณของหลักสูตรและกิจกรรมได
สำนักงาน กศน. ไดกำหนดใหการนิเทศภายในเปนนโยบายและจุดเนน โดยใหมกี ารนิเทศ กำกับ ติดตามและ
ประเมินผล เพ่ือใหการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีคุณภาพสามารถสนองความ
ตองการของประชาชนได

สำนักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคาม จึงไดรวบรวมและพัฒนาเคร่ืองมือนิเทศงานการจัด
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ขึน้ เพื่อใชเ ปน แนวทางใหผูนิเทศภายในของ กศน.อำเภอ หรือ
ผูที่ทำหนาท่ีนิเทศของสถานศึกษา สามารถนำเคร่ืองมือน้ีไปปรบั ใชไดตามวัตถุประสงคข องการนิเทศกิจกรรม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

พรี ะพงษ รงุ เรืองศิลป
รองผูอำนวยการสำนกั งาน กศน.จังหวดั มหาสารคาม

2563

ข หนา
1
สารบญั 2
10
เรอื่ ง 15
การนเิ ทศการศึกษา 19
แนวคดิ เก่ยี วกบั การนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กศน. 24
แบบนเิ ทศตดิ ตามผลการจัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 29
แบบนิเทศตดิ ตามผลการเทียบระดบั การศึกษา 33
แบบนิเทศติดตามผลการศึกษาตอเนื่อง 37
แบบนิเทศตดิ ตามผลการจัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมงี านทำ 41
แบบนเิ ทศตดิ ตามผลการจดั กิจกรรมการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง 48
แบบนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมสงเสรมิ การอาน
แบบนิเทศตดิ ตามผลบา นหนงั สือชุมชน
แบบนเิ ทศติดตามผลการจัดกิจกรรมหองสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกุมาร/ี อำเภอ
แบบนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรม กศน.ตำบล

1

การนเิ ทศการศึกษา

การนิเทศการศกึ ษาเปนกระบวนการพฒั นาครเู พื่อใหครปู รบั ปรงุ และพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรู
เพื่อใหการจัดการศึกษาบรรลุจุดมุงหมายท่ีวางไว การนิเทศการศึกษา จึงเปนกระบวนการในการแนะนำ
ชวยเหลือครู ใหสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศน้ันอยูบนหลักการของ
ประชาธิปไตย คือ หลักของการยอมรับนับถือในความเทาเทียมกันในความมีศักด์ิศรีของความเปนมนุษยรูจัก
เคารพสิทธิ์ของผูอื่น มีความเมตตากรุณา อดทน อดกล้ัน และมีความซื่อสัตย หลักของการใชปญญาในการ
ตดั สนิ หรือแกปญหา เพ่ือเปนวิถขี องการปฏิบัติ หลักการมีสวนรว ม หลกั การแบงปน เปน การแบง ปน ประโยชน
สำหรับทกุ คนและหลักของการประสาน ซึ่งเปนกลไกสำคญั ทำใหเ กิดความเขา ใจซ่ึงกันและกันและมีความเขาใจ
ในงานทเี่ ปนหนาที่ของตน และทำงานรว มกับผูอ ื่นไดอยางราบรื่น

การนิเทศการศึกษามีจุดมุงหมายสำคัญ 4 ประการ คือ (สงัด อุทรานันท : 2530) เพื่อพัฒนาคน
เพอ่ื พัฒนางาน สรางประสานสัมพนั ธ และสรางขวัญกำลังใจ

1. การนิเทศเพื่อพัฒนาคน หมายถึง การนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการทำงานรวมกับครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เพือ่ ใหค รูและบคุ ลากรไดเ ปล่ียนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขน้ึ

2. การนิเทศเพ่ือพัฒนางาน หมายถึง การนิเทศการศึกษา มีเปาหมายสูงสุดอยูท่ีผูเรียน ซ่ึงเปน
ผลผลิตจากการจัดกระบวนการเรียนรูของครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยเหตุนี้การนิเทศที่จัดขึ้นจึงมี
จุดมุงหมายท่ีจะพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใหด ีขึ้น

3. การนิเทศเพื่อสรางการประสานสัมพันธ หมายถึง การนิเทศการศึกษาเปนการสรางการประสาน
สัมพันธระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ ซึ่งเปนผลมาจากการทำงานรวมกัน รับผิดชอบรวมกัน มีการ
แลกเปล่ียนเรยี นรซู ง่ึ กันและกัน

4. การนิเทศเพื่อสรางขวัญและกำลังใจ หมายถึง การจัดกิจกรรมการนิเทศท่ีมุงใหกำลังใจแกผูรับการ
นิเทศ ซึ่งถือวาเปนจุดมุงหมายท่ีสำคัญอีกประการหน่ึงของการนิเทศ เน่ืองจากขวัญและกำลงั ใจเปนส่ิงสำคญั ที่
จะทำใหผ ูร บั การนิเทศมคี วามตั้งใจทำงาน

ประเภทของการนิเทศ แบงออกเปน 4 ประเภท ตามวตั ถปุ ระสงคข องการนเิ ทศ ดังน้ี

1. การนิเทศเพ่ือการแกไข (Correction) เปนการนิเทศที่เกิดจากการพบขอผิดพลาดและบกพรอง
และตอ งการหาวิธีแกไขปญ หาท่เี กิดข้ึน

2. การนิเทศเพ่ือปองกัน (Presentive) เปนการนิเทศที่พยายามหาวิธีการตางๆ มาดำเนินการเพ่ือ
ปอ งกันปญหาทีจ่ ะเกดิ ขนึ้

3. การนิเทศเพ่ือกอ (Construction) เปนการนิเทศที่เกิดจากความพยายามที่จะนำเทคนิควิธีการ
ตา งๆ มาใชใ นการนเิ ทศ เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหด ยี ่ิงข้ึน

4. การนิเทศเพ่ือการสรางสรรค (Creation) เปนการนิเทศที่พยายามคิดสรางสรรคในส่ิงใหม ให
เกิดขึ้นในสถานศกึ ษาหรอื วงการศึกษา

2

แนวคิดเก่ียวกับการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กศน.

การนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดนำแนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตย
จุดมุงหมายของการนิเทศและหลักการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาเปนแนวทางใน
การนิเทศการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ดังน้ี

การนิเทศ กศน. หมายถึง กระบวนการทำงานรวมกันของบุคลากรท่ีเก่ียวของทุกระดับต้งั แตผูกำหนด
นโยบาย ผูบริหาร ผูปฏิบัติงาน ตลอดจนประชาชน ผูนำหมูบานและอาสาสมัครในพ้ืนที่ เพื่อท่ีจะพัฒนา
คณุ ภาพบุคลากรในหนว ยงานสถานศึกษาใหมขี วัญและกำลงั ใจ รูจักใชและวิเคราะหข อมูลที่เปนปจ จุบันทนั ตอ
เหตุการณและสถานการณ เพอื่ นำมาใชในการคดิ การแกปญหา และพัฒนางานดวยความคดิ รเิ ริ่มสรางสรรคใ ห
มปี ระสิทธภิ าพ ตรงตามนโยบาย จุดหมาย แผนงาน หลักการที่กำหนดไว ท้ังน้ี โดยผานกระบวนการส่ือสารท้ัง
สองทาง บนรากฐานของมนุษยสมั พนั ธท่ดี ี มีแผนงานและความตอเนือ่ งและดว ยเจตคติของการพ่งึ พาตนเอง

การนิเทศ กศน. หมายถงึ กระบวนการทำงานรวมกบั ผบู ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผปู ฏิบัตงิ านที่
เกยี่ วขอ งและเครอื ขา ย เพื่อใหส ามารถจัด กศน. ไดอ ยางมีคณุ ภาพ

1. แนวคดิ เก่ยี วการนเิ ทศงาน กศน. ต้ังอยูบ นพ้ืนฐานแนวคดิ ตอไปน้ี
1) การนเิ ทศจะตองอยูบนพื้นฐาน ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม

อธั ยาศัย สอดคลอ งกบั นโยบายและจดุ เนนการจัด กศน. ของสำนกั งาน กศน. และสถานศกึ ษา
2) การนิเทศ กศน. ควรเปนกระบวนการทำงานท่ีเปนระบบ เชน แผนงานโครงการกิจกรรมและ

เทคนิคตางๆ ในการนิเทศ ควรตั้งอยูบนเจตคติและวิธีการทางวิทยาศาสตร ผลของการนิเทศจะตองถูกตอง
สมบูรณเ ชื่อถอื ได สามารถสะทอนคุณภาพการจัด กศน. ของสถานศกึ ษาไดตรงตามสภาพจริง

3) การนิเทศ กศน. เปนกระบวนการทำงานรวมกับผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผูปฏิบัติงาน
ท่ีเกี่ยวของและเครือขาย ท่ีมุงสงเสริมคุณภาพชีวิต เพ่ือใหเขาไดพัฒนาศักยภาพของตนไดอยางเต็มท่ีเคารพ
ศักดิ์สิทธข์ิ องความเปน มนษุ ย อดทนตอ ความแตกตาง คามหลากหลายใหความเทา เทยี มกันเสมอภาคกัน ความ
เปน อิสระ สรา งบรรยากาศท่เี ปน ประชาธิปไตย การมสี วนรวมและการทำงานเปนทีม

4) การนิเทศ กศน. ควรเปนวิชาชพี การนิเทศจะตอ งมีการประเมินผลการนิเทศอยางเปนระบบ ท้ัง
ดานปจจัยการนิเทศ กระบวนการนิเทศ และผลท่ีเกิดจากการนิเทศ และนำผลการประเมินมาใชประโยชนใน
การปรบั ปรงุ การดำเนินงานนิเทศ เพอ่ื พฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษาใหมีคณุ ภาพ

2. ความสำคัญของการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
การนิเทศเปนงานสำคญั และจำเปนอยางย่ิงที่จะตองดำเนินควบคูไปกับการบริหารเพราะการนิเทศ

เปนสวนหนึ่งของการบริหาร องคป ระกอบของการบริหารยอ มข้ึนอยูกับคน เงนิ วัสดุ และการจดั การ การที่จะ
บริหารคนใหมปี ระสิทธิภาพในการทำงาน ผบู ริหารจะตองมีเทคนิคที่เหมาะสม เทคนิคในการบรหิ ารอยางหนึ่ง
คือ การนิเทศเพื่อสงเสริมใหบุคลากรปฏิบัติงานอยางมีคุณภาพ สามารถใชเ งิน วัสดุไดอยางคุมคา มีหลักการ
จดั การที่ดี ดังนนั้ การท่ีจะควบคุมการปฏิบัติงานใหบรรลวุ ัตถุประสงคของหนวยงานที่กำหนดไว ผูบรหิ ารตอง
ใชเ ทคนคิ การบริหารงานและการนิเทศควบคูกัน การนิเทศการศึกษาเปนความพยายามในการแนะนำ กระตุน
ใหกำลังใจชวยเหลือของผูเช่ียวชาญดานการศกึ ษา เพ่ือใหบุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนใหมีคุณภาพ หรือปรับปรุงกระบวนการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพสูงสดุ โดยมีการสูญเปลาทาง
การศึกษานอยท่ีสุด โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีการจัด
กิจกรรมการศึกษาท่ีหลากหลายใหบริการแกกลุมเปาหมายประเภทตา งๆ และไมไดส ังกดั สำนักงาน กศน. ทำ

3

ใหเห็นความจำเปนของการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหบุคลากรทางการ
ศึกษา สถานศึกษาทุกประเภทเขาใจนโยบายปรัชญาการจัด กศน. ท่ีสามารถสนองความตองการของ
กลมุ เปาหมายผเู รียนในทศิ ทางท่ถี ูกตอ งและเหมาะสมกับสภาพพ้นื ท่กี ารจัดกจิ กรรม กศน.

3. จุดมุงหมายของการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
1. เพ่ือสงเสรมิ ใหสถานศึกษาบรหิ ารหลกั สูตรจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลการศกึ ษา

พัฒนาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยแี ละการนิเทศภายในอยางมีคุณภาพ
2. สง เสริมใหสถานศึกษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน กศน.
3. เพื่อใหคำปรึกษา เสนอแนะและเปนท่ีพึ่งในการพัฒนาวิชาการของสถานศึกษาและสำนักงาน

กศน. จังหวัด
4. เพื่อประสาน สนับสนุนและเผยแพรงานทางดานวิชาการแกสถานศึกษาและสำนักงาน กศน.

จังหวัด

4. แนวทางการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ที่เนน การกระจายอำนาจในการจัดการศกึ ษานั้น

ผบู รหิ ารทุกระดับจะตองมภี ารกจิ สำคัญในการนเิ ทศ นเิ ทศทงั้ คน ท้ังงาน และกระบวนการทำงาน จะตองนเิ ทศ
ติดตามวิเคราะหงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ แกปญหาไดตรงจุด เขาใจสาเหตุของปญหา สามารถ
แสวงหาแนวทางแกปญหารว มกัน ติดตามผลการแกปญหาและรายงานผลความกาวหนาของการดำเนินงาน
กระบวนการนิเทศ จึงตองดำเนินการอยางเปนระบบ กลาวคือ ศึกษานิเทศกจะตองทำงานรวมกับผูนิเทศ
ภายในของสถานศึกษา เครือขาย หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง ศึกษานิเทศกจะพยายามสงเสริมสนับสนุนให
สถานศึกษา สามารถนิเทศงานที่ตนรับผิดชอบไดดวยตนเอง หรอื สามารถจัดระบบนิเทศ จัดการนิเทศ กำกับ
ดูแลงาน กศน.ใหไดคุณภาพ นอกจากนี้ ศึกษานิเทศกจะตองทำหนาท่ีเปนท่ีปรึกษา ทำงานวิจัยเฉพาะเรื่อง
รวมกับฝายปฏิบัติ ศึกษาวิเคราะหเ ร่ืองตาง ๆ เพอื่ ชวยพัฒนางาน กศน. ในการนิเทศงานการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั มแี นวทางดำเนินการดังน้ี

1) นิเทศท่ัวไป เปนการนิเทศโดยตรงของศึกษานิเทศก รวมกับผูนิเทศภายใน ดำเนินการนิเทศ
เพื่อใหมองเห็นภาพรวมของการดำเนนิ กิจกรรม กศน. ในสถานศึกษาน้ัน ๆ วาเปนไปตามเปาหมายหรือไม โดย
จะนิเทศทั้งดานปริมาณและคุณภาพวาเปนไปตามเกณฑมาตรฐานท่ี สำนักงาน กศน. กำหนดหรือไม ซ่ึงจะ
ชี้ใหเหน็ สภาพปญหา แนวทางแกไ ขและพัฒนาคุณภาพการจดั กศน. แตละประเภท

2) นเิ ทศเชิงวิจัย เปนการนิเทศโดยกำหนดจุดประสงคตามสภาพปญหา ความตอ งการ ความจำเปน
ของแตละสถานศึกษา แตละกิจกรรม กศน. ท้ังนี้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการดำเนินงาน บุคลากร ใหมีความรู
ทกั ษะ และเจตคติที่ดขี องงานน้นั อันจะอำนวยประโยชนแกก ลุม เปาหมาย

3) นิเทศเฉพาะกิจ เปนการนิเทศโครงการนิเทศ โครงการนำรอง ซึ่งไดรับมอบหมายใหนิเทศเปน
เร่อื ง ๆ ไปตามความเหมาะสม

การนเิ ทศแบบมสี วนรวม
งาน กศน. มีขอบขายกวางขวางทั้งดานกลุมเปาหมาย กิจกรรม กศน. ผูจัดกิจกรรม กศน. มีท้ัง

หนวยงาน สถานศึกษาและเครอื ขาย ทท่ี ำหนาท่ีเก่ียวของกับการจัดกิจกรรมและสงเสริมการจัดกิจกรรม กศน.
ซง่ึ มอี ยูจำนวนมาก ครอบคลุมทกุ พ้ืนท่ีของประเทศไทย จากความหลากหลายดงั กลา ว สบื เนื่องจากสภาพสังคม
เศรษฐกจิ วัฒนธรรม ประเพณี การเมอื ง การปกครอง และปญ หาตา งๆ เปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ดังนน้ั การจัด

4

กศน. จำเปนจะตองจัดการศึกษาใหสอดคลอ งกับสภาพปญหาและความตองการของผูเรียนและชมุ ชน ที่เปน
กลุม เปาหมาย เพ่อื พัฒนาผเู รียนและผรู ับบริการใหมศี ักยภาพและมีความพรอม สามารถปรับตัวไดท ันตอความ
เปลยี่ นแปลงดังกลา ว และสามารถดำรงชวี ติ ในสงั คมไดอ ยางสงบสขุ

การนิเทศ กศน. มีจุดมุงหมาย เพ่ือพัฒนาคน พัฒนางาน สรางประสานสัมพันธและสรางขวัญกำลังใจ
ใหกับครู และผูปฏิบัติงาน กศน. การนิเทศมีการดำเนินการอยางเปนระบบ เพ่ือพัฒนาครแู ละผูปฏิบัติงานให
สามารถจัดกจิ กรรม กศน. และสง เสริมใหภาคีเครอื ขายจัดกิจกรรมการเรียนรูใหก ับผเู รยี นและผูรบั บริการอยา ง
มีคุณภาพ การนิเทศ กศน. ยดึ หลักการประชาธิปไตยในการนิเทศ คือการเคารพซึ่งกันและกัน ระหวางผูนิเทศ
และผูรับการนิเทศมีบรรยากาศแหงความเปนกัลยาณมิตร คือผูนิเทศและผูรับการนิเทศ มีความรับผิดชอบใน
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษารว มกัน เร่ิมตง้ั แตรวมวางแผนการนเิ ทศ รวมดำเนินการนิเทศ รวมประเมนิ ผลการ
นเิ ทศและทำผลจากการนิเทศมารว มกันปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัด กศน. ใหมคี ณุ ภาพ

การนิเทศงาน กศน. จะสำเร็จไดมีผลดีเพียงใดนั้น มีองคประกอบหลายประการ เชน ผูรับการนิเทศ ผู
นิเทศ รูปแบบการนิเทศ เทคนิคการนิเทศและวิธีการนิเทศในรูปแบบตาง ๆ ท่ีนำมาใชอยางเหมาะสมกับ
เนอ้ื หาสาระและผรู ับการนิเทศ

การนิเทศแบบมสี วนรวม เปนกระบวนการทำงานรว มกนั ระหวางผนู ิเทศและผูร ับการนิเทศ ตั้งแตตนจน
จบกระบวนการนิเทศ ซ่งึ มีเปาหมายท่ีจะพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนิเทศแบบมีสว นรวมเปนการทำงานอยู
บนพ้ืนฐานแนวคิดเกีย่ วกบั หลักการนเิ ทศ กศน. หลักการเรยี นรูรว มกนั หลักการทำงานเปน ทีม หลกั การทำงาน
อยางเปนระบบ และหลกั ของการพฒั นาท่ยี ัง่ ยืน

1. องคประกอบของการนเิ ทศแบบมสี วนรว ม
องคป ระกอบของการนเิ ทศแบบมีสว นรว ม ประกอบการ
1.1 ผนู ิเทศ ไดแ กบุคลากรของหนว ยศึกษานิเทศก คือศึกษานิเทศกและบุคลากรของ กศน. จงั หวัด /

กทม. ไดแ ก ผอ. รองผอ. ศกึ ษานิเทศก และบุคลากรทไ่ี ดรบั มอบหมายใหป ฏิบัตหิ นาทน่ี เิ ทศ
1.2 ผูรับการนิเทศ ไดแก พนักงานราชการ ครูอาสาสมัคร กศน. ครู ศรช. เจาหนาท่ีหองสมุด

บรรณารักษ วิทยากรวิชาชีพของ กศน. อำเภอ และภาคเี ครอื ขา ย
1.3 เนื้อหาสาระที่นเิ ทศ มีดงั น้ี
1) การศกึ ษานอกระบบ
– การจดั การศกึ ษาตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
– การศกึ ษาตอเนื่อง ไดแก การศกึ ษาอาชีพการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาเพื่อพัฒนา

สังคมและชุมชน
2) การศึกษาตามอัธยาศัย ไดแก การจัดหองสมุดประชาชน การจัดแหลงเรียนรูและการจัดกิจกรรม

การศกึ ษาตามอัธยาศัย
3) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
4) การนิเทศตามนโยบายและจดุ เนนของสำนักงาน กศน.
1.4 รูปแบบของการนิเทศแบบมีสว นรวม
มกี ระบวนการ 6 ข้นั ตอน ดงั นี้
ขน้ั ท่ี 1 การเตรียมการนิเทศ
ขนั้ ท่ี 2 รูปแบบและแนวทางการนเิ ทศ
ขน้ั ท่ี 3 กำหนดเคร่อื งมอื นเิ ทศ

5

ขน้ั ท่ี 4 ดำเนนิ การนิเทศ
ขน้ั ท่ี 5 การประชุม
ขน้ั ท่ี 6 การประเมนิ ผล
2. รูปแบบการนเิ ทศแบบมีสวนรวม
การนิเทศงาน กศน. จะตองอาศัยรูปแบบการนิเทศทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ผูป ฏิบัติงาน
และกิจกรรม กศน. จึงจะสามารถพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู และพัฒนาครู บุคลากร และเครือขายได
อยางมีประสิทธิภาพ ผูบริหารเปนผูมีบทบาทสำคัญในการนิเทศและตองใหรับความรวมมือของครู และ
ผูปฏิบัติงานทุกคนในสถานศึกษา จึงจะทำใหการนิเทศมีประสิทธิภาพ การนิเทศดังกลาวจึงเปนลักษณะของ
การนเิ ทศแบบมีสวนรวม
รปู แบบของการนเิ ทศแบบมีสวนรว มมี 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ขน้ั ท่ี 1 การเตรยี มการนเิ ทศ
ขั้นท่ี 2 รปู แบบและแนวทางการนิเทศ
ขั้นท่ี 3 เครอื่ งมอื ประกอบการนิเทศ
ขนั้ ท่ี 4 ดำเนนิ การนิเทศ
ขั้นท่ี 5 การประชมุ
ขัน้ ท่ี 6 การประเมินผล

ขั้นท่ี 1 การเตรยี มการนเิ ทศ
กอนที่จะดำเนินการนิเทศตองชี้แจงนโยบาย แผนงาน โครงการที่จะตองปฏิบัติ มอบหมายงานใน

หนาท่ี ภารกิจที่จะตองดำเนินการ ศึกษาสภาพความพรอม บรรยากาศ ขอมูลและอื่น ๆ โดยมีข้ันตอนการ
ปฏิบตั ิ ดงั น้ี

1. จดั ตัง้ คณะทำงาน จดั ทำนโยบาย แผนงานและโครงการ ทำในรูปของแผนปฏิบัตกิ ารประจำป
ช้ีแจงใหบุคลากรทราบถึงนโยบาย เปาหมาย วัตถุประสงค วิธีการดำเนินการการติดตามและประเมินผล ทำ
ความเขาใจรวมกันระหวางผูท่ีนิเทศและผูรับการนิเทศ เพ่ือใหการปฏิบัติหนาท่ีตามภารกิจเปนไปในแนว
เดียวกัน

2. ผูรับการนิเทศและผูนิเทศเตรียมขอมูล ปญหาของตนเพ่ือรวมกันวางแผนงานมอบหมายงาน
พิจารณาผูรับผิดชอบงานในหนาท่ี โดยคำนงึ ถึงความรู ความสามารถ ความพึงพอใจของผูปฏิบัติเพ่ือแสดงถึง
การบรหิ ารงานแบบประชาธิปไตย เปดโอกาสใหทุกคนไดแ สดงความคดิ เห็นแสดงเหตุผลหรอื ความจำเปน
นำผลการประชมุ เปน บรรทดั ฐานใชเ ปนแนวทางการปฏบิ ัตทิ ่ีถกู ตอ ง ชดั เจนในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ
การจัดการเกย่ี วกับทรพั ยากร โดยเร่ิมตนจากสิง่ ท่มี ีอยูแลวคอยๆ ดำเนินการทีละขน้ั เปล่ียนแปลงและปรบั ปรุง
ทลี ะนอยแบบคอ ยเปนคอ ยไป

3. ต้งั วตั ถปุ ระสงคในการนเิ ทศใหช ัดเจน เพือ่ บรรลุจดุ หมายรวมกนั
สงเสริมความคิดริเร่ิมและสรางสรรค เพื่อใหทุกคนไดแสดงออกตามความถนัดและตามความสามารถ อันจะ
เปนประโยชนตอสว นรวมรักษามารยาทในการนเิ ทศ พูดจาไพเราะ มมี นุษยส ัมพันธ

ข้นั ท่ี 2 รปู แบบและแนวทางในการนเิ ทศ
เม่ือมีโครงการท่ีจะดำเนินการนิเทศ ในขั้นที่ 1 แลว ผูนิเทศจะตองดำเนินการนิเทศเพื่อที่จะไดเกิดการ

พัฒนา 4 ประการ คอื
- เพอ่ื การพัฒนาคน

6

- เพือ่ พฒั นางาน
- เพื่อสรา งการประสานสมั พันธ
- เพ่อื ขวัญและกำลงั ใจ (สงัด อทุ รานันท, 2533, 15 – 17)
การนิเทศการศึกษาที่ดี จะตอ งมจี ุดหมายทั้ง 4 ประการดงั กลาว ดงั น้ันผูนเิ ทศและผรู บั การนิเทศจึงตอง
มีภารกิจรวมกัน เพ่ือใหการนิเทศเกิดประโยชนสูงสุด และผูรับการนิเทศเกิดความพึงพอใจในการนิเทศ
ดำเนินการ ดังนี้
1. ซักซอมทำความเขา ใจกันระหวางผูมีหนาทน่ี เิ ทศและผรู ับการนิเทศ
2. ปฏิบัติการเลือกเครอ่ื งมือการนิเทศตามรปู แบบการนิเทศทั่วไปและกิจกรรมการนิเทศ เพื่อใหการ
3. ปฏบิ ตั หิ นาท่ีตามภารกิจเปน ไปในแนวเดียวกนั กอ นทจี่ ะดำเนนิ การนิเทศ
4. ผนู ิเทศและผูรบั การนิเทศเลือกกำหนด วนั เวลา ในการนิเทศรว มกัน ทำปฏิทินในการนิเทศใหเปน
ระบบอยางตอ เนือ่ งและเปนปจ จบุ ัน
5. การบันทึกขอมูลทั่วไป ผูนิเทศมอบแบบบันทึกใหผูรับการนิเทศ เปนผูบันทึกและเก็บบันทึกนี้ไว
หากมีขอมูลท่ีเปลี่ยนแปลงใหบันทึกเพิ่มเติมแนบทายทุกครั้ง และทำบันทึกใหเปนปจจุบันพรอมที่ผูนิเทศจะ
นำไปประกอบเปนขอมูลในการพจิ ารณาหาทางชว ยเหลอื ตามแตกรณี
6. บันทึกขอมูลเบื้องตนของผูรับการนิเทศ ผูรับการนิเทศเปนผูบันทึกรายการของเคร่อื งมือและเก็บ
ไวในแฟมปฏิบัติงานของตนเอง เมือ่ ผูนิเทศปฏิบัติการนิเทศจะสอบถามขอมูลเบ้ืองตนรับฟงความคดิ เห็นและ
ปญหาตา ง ๆ เพื่อแกไ ขปญหาตอ ไป หากมีการเปลยี่ นแปลงขอ มลู ใหบ นั ทึกไวท กุ ครัง้
7. รวบรวมขอมูล เชนขอ มูลท่ัวไป ขอมูลเบื้องตน ของผูรบั การนิเทศ ผูรับการนิเทศจะตองรวบรวม
ขอ มูล เพ่อื นำไปใชในการประเมนิ ผลการนิเทศ

ขนั้ ท่ี 3 เคร่อื งมือประกอบการนิเทศ
เคร่อื งมือที่ผูรับการนิเทศและผูนิเทศมีสวนรวมในการเลือกใชเพ่ือการนิเทศในขั้นที่ 2 เปนเอกสารท่ี

เกี่ยวกับการสงเสริมเผยแพรค วามรู ผูนิเทศตอ งมีเอกสาร ตำราอยางเพียงพอ เพ่ือใหผูรับการนิเทศไดศ กึ ษาทำ
ความเขาใจในรปู แบบการนิเทศแบบตา งๆ หรอื อาจจะเชิญผูมีความชำนาญในการนิเทศมาใหค วามรเู ปนเรอ่ื งๆ
ไป โดยดำเนนิ การ ดงั นี้

1. ใหความรู แนวทางแกผูรับการนิเทศ ตามรูปแบบการนิเทศท่ัวไปและกิจกรรมการนิเทศ เชน
จัดการประชุมทางวิชาการ เปนการกระตุนใหผูรับการนิเทศทราบถึงความสำคัญของการแสวงหาความรู
เพ่มิ เตมิ ใหแ กตนเองและหมคู ณะ

2. มอบหมายงานใหผูรับการนิเทศ ไดศึกษาเอกสารทางวิชาการแลวสรุปเนื้อหาของเอกสารและ
รายงานผูนิเทศ

3. รายงานเอกสารทางวิชาการทุกฉบับเม่อื ผานผนู ิเทศแลว ผูรบั การนิเทศนำไปเผยแพรใหแกเพ่ือน
รวมงานทั้งในและนอกสถานศึกษาไดตามความเหมาะสม และเก็บไวในแฟมงานของตนเอง เพื่อจะไดนำไป
ประเมนิ เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจอีกครั้ง

4. เม่ือมีการปฏิบัติการเผยแพรวิทยาการและมีผลงานดีเดน ผูรบั การนิเทศตองลงบันทึกผลงานของ
ตนเอง เสนอผนู ิเทศทราบเพอ่ื ใหคำเสนอแนะเพิ่มเตมิ และเก็บไวในแฟม เพอ่ื การประเมนิ เม่ือเสร็จภารกิจ

ขน้ั ท่ี 4 ดำเนินการนเิ ทศ
จากการศึกษาเอกสารการนิเทศตามขั้นที่ 3 แลว ผูนิเทศและผูรับการนิเทศรวมมือกันทั้ง 2 ฝาย ทั้งน้ี

เพ่ือใหทราบปญหาเกี่ยวกบั หลกั สูตรแผนการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

7

การจัดทำ การจัดหา การใชและการเก็บรักษาส่อื เพ่ือการเรียนรู การวัดผลและการประเมินผล โดยคำนึงถึง
ความพึงพอใจของผรู ับการนิเทศดวย โดยดำเนนิ การ ดังนี้

1. รวมกันกำหนดนัดหมายวัน เวลา ที่จะนิเทศ เปน การลวงหนา และผูรับการนิเทศตอ งสงแผนการ
เรยี นรู เพื่อใหผ ูน เิ ทศไดศ กึ ษารายละเอียดกอ นการนิเทศ อยางนอย 1 วนั

2. ดำเนินการนิเทศตามข้ันตอน ที่ผูรับการนิเทศไดเลือกรูปแบบการนิเทศ หรือไดเลือกกิจกรรมการ
นิเทศไว แบบบันทึกที่ใหผูรับการนิเทศจัดทำขอมูลในข้ันที่ 2 ผูนิเทศใชเวลาวางตรวจสอบความจริง ความ
ถูกตอง ทุกรายการหากพบวารายการใดไมถูกตองขาดความสมบูรณ หรือปริมาณการปฏิบัติงานนอยเกินไป
หรือมากเกินไป ผูนิเทศตองเสนอแนะปรับปรุง แกไขเพิ่มเติมตามแตกรณี โดยมุงหวังวาใหเกิดผลท้ังในดาน
คุณภาพและปริมาณ ผูนิเทศบันทึกเพิ่มเติมลงทายแบบบันทึกหลังการพบกลุม เพื่อใหผูรบั การนิเทศหาวิธีการ
ปรับปรุงใหด ขี ึน้

3. ผรู ับการนเิ ทศ ดำเนินการแกไขปรับปรุงงานใหด ีข้ึนตามผูนิเทศบนั ทกึ ไว ดำเนินการปรับปรุงแกไ ข
งานใหบรรลตุ ามวตั ถุประสงค เกบ็ รวบรวมไวเปนขอ มลู เพ่ือเสนอผนู เิ ทศใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติมทกุ ครัง้
ภารกิจทัง้ หมดเกบ็ ไวในแฟมงาน เพอื่ การประเมินผลในคร้งั สดุ ทา ยเมือ่ ส้นิ ปการศึกษา

ขนั้ ที่ 5 การประชุม
เม่ือนิเทศตามขั้นตอนที่ 4 แลว นำจดุ เดน – จุดดอย มาวิเคราะหรวมกันเปนการสง เสริมใหครูมีความรู

มกี ารแกไ ขขอ บกพรอ ง เพอ่ื การทำงานท่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดยดำเนินการดังน้ี
1. ดำเนินการประชุม กำหนดใหดำเนนิ ภารกิจตอจากการพบกลุมคร้ังสุดทาย เปนการนำเอาปญหา

ตา งๆ ทีพ่ บขนั้ ที่ 4 ที่เกยี่ วขอ งกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู มาวิเคราะหปญหา เพ่ือหาวิธีการแกปญ หารวมกัน
ท้ัง 2 ฝาย

2. บันทึกการจัดกจิ กรรมอยา งเปนระบบ เพ่ือใชเปนขอ มูลสนองความตอ งการของผูร ับการนิเทศ เชน
ผูรับการนิเทศตองการเขารับการศึกษาอบรม เม่ือมีการจัดอบรมที่ใดก็ใชขอมูลนี้สงใหกับครูท่ีสมัครใจเขารับ
การอบรม

3. ทำการสำรวจการบันทึกกิจกรรมเกย่ี วกับผูเรียน เชน แบบบันทึกการสงเสริมใหผูเรียนไดใชเวลา
วางใหเปนประโยชน กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร กิจกรรมเสรมิ วินัย กิจกรรมสง เสริมจริยธรรม การเขารวมกจิ กรรม
ทางวิชาการ ฯลฯ ผูรับการนิเทศตองตรวจสอบความถูกตองทุกครั้ง และนำเสนอผูนิเทศทุกส้ินเดือนเพ่ือ
รับทราบขอคิดเห็นเพิ่มเติม แบบบันทึกตางๆ เก็บไวในแฟม รวบรวมสงเม่ือเสร็จส้ินภารกิจ วันสุดทายของป
การศกึ ษาหรอื ปงบประมาณ

ขน้ั ที่ 6 การประเมินผล

6.1 การประเมินผลการนิเทศการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้น
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

การประเมินผลทางการเรียน การควบคุมดูแล สงั เกตพฤติกรรม ตลอดจนการใหคำปรึกษาตางๆ เปน
การประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โดยดำเนนิ การดงั น้ี

6.1.1 การประเมินผล คือ การประเมินผลตามกระบวนการจัดการเรียนรูที่ครูประเมินผล
ผูเรียนเมอ่ื ปลายภาคเรยี นและปลายปการศึกษา เปนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีใชขอมูลสำหรับวิเคราะหและ
ดำเนินการในกระบวนการนิเทศผูรับการนิเทศจะกรอกขอมูลลงเก็บในแฟมงานภาคเรียนละ 1 คร้ัง โดย

8

คัดลอกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในสมุด กศน.5 แลวนำเสนอผูนิเทศไดท ราบและลงความเห็นเพ่ิมเติมทุกภาค
เรยี น

6.1.2 การทดสอบสมรรถภาพทางการเรียนของนักศกึ ษาทุกระดับชนั้ แตละวชิ า ผูน เิ ทศตอง
ดำเนินการสุมทดสอบนักศึกษาอยางเปนระบบ โดยใชว ิธีการประเมินผลหลากหลายรูปแบบตามหลักสูตรของ
ระดับนน้ั ๆ และผูรับการนิเทศไดจ ัดกิจกรรมการเรยี นรแู ลว ผลการประเมินแจง ใหผูรับการนเิ ทศทราบเพื่อท่ีจะ
ไดเปน ขอมลู นำไปพฒั นา ปรบั ปรุงการจัดกิจกรรมการเรยี นรตู อ ไป

6.1.3 การควบคุมดูแล สังเกตพฤติกรรม การใหคำปรึกษาหารือ ท้ังดา นการศึกษา ปญหา
สวนตัว ปญหาสุขภาพ ตลอดจนความประพฤติของนักศึกษา เปนการดำเนินการของผูรับการนิเทศที่มุง
ประสงคใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามหลักสูตร ผูดำเนินการบันทึกและลงความเห็นเพ่ิมเติมทุก
คร้งั

6.1.4 การดำเนินการทุกข้ันตอนในภารกิจน้ี ผูรับการนิเทศรวบรวมผลการปฏิบัติงานไวใน
แฟมงานของตนเอง เพอื่ เปนขอมลู ในการพจิ ารณาเมือ่ สิ้นสุดภารกิจ ในวนั สิ้นภาคเรียนตอ ไป
6.2 การประเมินการนิเทศการจัดการศึกษาตอเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยการประเมินในเรื่อง
ตอ ไปน้ี

1. คณุ ภาพของหลกั สตู ร/กิจกรรม
2. ประสทิ ธผิ ลของการจดั การศึกษา
3. ความพงึ พอใจของผเู รยี น/ผูรับบริการ
4. คณุ ภาพของการจดั การศกึ ษา
การท่ีผูนิเทศและผูรบั การนิเทศ มีสวนรวมในการดำเนินการตามข้ันตอนทุกข้ัน ตั้งแตขั้นท่ี 1 ถึงข้ันท่ี
6 โดยเฉพาะการเลือกรปู แบบและแนวทางในการนิเทศ เปนแนวทางหน่ึงที่จะพฒั นาไปสูการนิเทศเพื่อไมนิเทศ
เม่อื ทั้งสองฝายมีความเขาใจตรงกัน มีความรู ความสามารถท่ีจะจัดกิจกรรมเพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางถาวร
แกปญหาท่เี กิดขึน้ ไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ ผนู เิ ทศจะไดรบั การตอนรับอยางดี ผรู ับการนิเทศจะเกดิ การพึงพอใจ
ในการนิเทศ กิจกรรมที่จัดจะเกิดความสอดคลองทำใหการจัดกิจกรรมการเรียนรูทำใหการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรรู าบรน่ื นบั วาเปน การนิเทศท่ีประสบผลสำเร็จอยางแทจ รงิ

3. การดำเนนิ การนิเทศตามรปู แบบการนิเทศแบบมสี วนรว ม
การดำเนนิ การนิเทศตามรูปแบบการนิเทศการมีสวนรวม ตองอาศัยเทคนิควิธีการนิเทศที่เหมาะสม

โดยคำนึงถึงสภาพแวดลอม และคำนึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ทสี่ งผลใหการนเิ ทศประสบความสำเร็จ
ตอ งมีความตอ งการของแตล ะบุคคลทม่ี ุงหวังจะพฒั นาดา นการนิเทศและผูที่มีบทบาทในการสงเสริมรวมท้ังการ
พัฒนาที่จะใหการนเิ ทศเกิดขึ้นไดคือ ผูบรหิ ารหรือผูนิเทศ นอกจากนี้ความรวมมือจากทุกฝายโดยมุงหวงั ท่ีจะ
พัฒนาการจัด กศน. และพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาจะสงผลใหเกิดการนิเทศการศึกษาและมีการพัฒนา
การดำเนินการตามรูปแบบการนิเทศแบบมีสวนรวมเปนแนวทางหน่ึงท่ีจะนำเสนอกำหนดภารกิจท่ีสอดคลอง
และประสานสมั พนั ธก นั ในทางปฏิบตั ิ โดยจัดทำปฏิทินการนเิ ทศ ดงั น้ี

1. กำหนดภารกิจท่จี ะทำการนเิ ทศ
2. กำหนดเวลาทที่ ำการนเิ ทศ (วนั เดอื น ป)
3. กำหนดเวลาทท่ี ำการนเิ ทศ (เวลา)
4. กำหนดช่ือผูนเิ ทศ
5. กำหนดชอ่ื ผูรับการนเิ ทศ

9

4. ตวั ชีว้ ัดการนิเทศแบบมสี ว นรว ม
1. คุณภาพของการจดั การศึกษา
2. การบรรลุวตั ถุประสงคและเปา หมายของการนเิ ทศ
3. การมสี วนรว มของผูรับการนิเทศ
4. ความพึงพอใจของผูร บั การนิเทศ

10

แบบนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
สงั กัด สำนกั งาน กศน. จงั หวัดมหาสารคาม
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563

คำชี้แจง
1. แบบนิเทศนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของ กศน.อำเภอ เพื่อนำผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานและการ
ใหบรกิ ารท่มี คี ณุ ภาพตอ ไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผูอำนวยการ กศน.อำเภอ ขาราชการ ครูครูอาสา
อาสาสมัคร กศน. คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือขาย หรือผูที่ไดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการ
จัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กศน.อำเภอ

3. ผรู บั การนเิ ทศ ไดแก ครู กศน.ตำบล หรอื ผทู ไ่ี ดร ับมอบหมายใหดำเนินงานการจัดกิจกรรม
การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา

4. นอกจากเครื่องมือนิเทศการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานชุดนี้ ผูนิเทศสามารถนิเทศดวยวิธีการอื่นๆ ไดตามความเหมาะสม อาทิ การสัมภาษณ การสังเกต การ
ตรวจสอบเอกสารฯลฯ

เคร่อื งมือนเิ ทศการดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
แบง เปน 4 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ขอมูลทั่วไป
ตอนท่ี 2 ความพรอ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรขู องครู
ตอนที่ 3 การจดั กิจกรรมการเรยี นรูของครู
ตอนท่ี 4 คุณภาพผูเ รยี น

11

แบบนิเทศติดตามผลการจัดการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
กศน.ตำบล...............................กศน.อำเภอ.............................................. จังหวดั มหาสารคาม

ตอนที่ 1ขอมูลทั่วไป
1. สถานทีพ่ บกลมุ กศน.ตำบล/ศรช....................................................................

2. ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน(ตอบไดมากกวา 1 ขอ )

 ประถม ลงทะเบยี น...............คน มาพบกลมุ ................คน

 ม.ตน ลงทะเบียน..............คน มาพบกลุม................คน

 ม.ปลาย ลงทะเบยี น...............คน มาพบกลุม................คน

3. ภาคเรยี นท่ี....................กำลังจดั กิจกรรมสาระการเรยี นรูรายวิชา..............................

4. ชือ่ ผรู บั การนเิ ทศ...................................................................วุฒ.ิ ..............................

วิชาเอก.........................................ความถนดั ในการสอนวชิ า....................................

วุฒิครู มี ไมม ี  กำลังศกึ ษา ป.บัณฑติ

ตอนท่ี 2 ความพรอมในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู องครู

ที่ ประเด็นเพ่อื การนิเทศ มี ไมมี เหตุผลที่ไมมี ขอ นเิ ทศ
1 ผูเรยี นมสี ิ่งตอ ไปนห้ี รอื ไม (ระบุ%)
11
1.1 แผนการเรียนรทู ี่ทำรว มกบั ครู
1.2 คมู ือนักศึกษา/เอกสารแนะนำการเรยี นรู
1.3 แบบเรยี น/คูมือเรียนแตล ะครง้ั
1.4 สมดุ บนั ทึกการเรยี นรู

1.5 แฟมติดตามขอมลู การทำโครงงาน
2 ครู กศน. มีส่ือและอุปกรณต อไปนหี้ รือไม

2.1 คมู ือดำเนินงาน

2.2 หลกั สูตร

2.3 เทป วดี ทิ ศั น
2.4 สื่อประกอบการออกอากาศของไทยคม
2.5 อื่น ๆ (โปรด

ระบ)ุ ................................................

3 ครู กศน. มีการจดั ทำสิง่ ตอ ไปน้หี รือไม
3.1 แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรรู วมกับ
ผเู รียน

3.2 การจดั บริการแนะแนวและใหคำปรึกษา
3.3 การวัดผลประเมนิ ผลกอนเรยี น
3.4 การวัดผลประเมนิ ผลระหวางภาคเรียน

1) การประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรม
ผเู รยี นเปน รายบุคคล

2) การทำแบบทดสอบยอย

3) แบบบันทกึ ผลการตดิ ตามการทำ
โครงงานของผเู รยี นรายบุคคล

3.5 การจัดสอนเสริม

ที่ ประเด็นเพ่ือการนิเทศ มี ไมม ี เหตุผลท่ีไมมี ขอนิเทศ
3.6 การจดั ทำใบความรู
3.7 การจดั ทำใบงาน

3.8 การมอบหมายบทเรียน/กิจกรรมไป
เรยี นรตู อเนื่อง (กรต.)

3.9 แบบ/สมุดบนั ทึกผลการประเมินระหวาง
เรยี น

ตอนที่ 3 การจดั กจิ กรรมการเรียนรขู องครู

ระดับการปฏิบตั ิ

ท่ี ประเด็น มาก มาก ปาน นอย ควร ขอ นเิ ทศ
ทีส่ ดุ (4) กลาง (2) ปรบั ปรุง
12
(5) (3) (1)

1 ครูใหโ อกาสนักศึกษารวมศึกษาวิเคราะห

หลักสตู ร จุดประสงคก ารเรียนรูเ พอ่ื

วางแผนจัดกจิ กรรมการเรยี นรมู ากเพียงใด

2 จดั กิจกรรมการเรยี นรูค รอบคลุมตาม

หลักสูตรที่กำหนด

3 จัดการเรยี นการสอนเนนผูเรยี นเปนสำคัญ

4 จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ

5 ทำการสอนตรง/เตม็ เวลา

6 มีการแจงจดุ ประสงคการเรียนรกู อน

จัดการเรยี นรใู นแตละครง้ั

7 กระบวนการจดั การเรยี นการสอน

เหมาะสมกบั เวลาและวัยของผเู รยี น

8 มคี วามสามารถในการใชสอื่ ประกอบการ

เรียนการสอน

9 ใชสอื่ ตรงตามเนอื้ หาวิชาทสี่ อน

10 สื่อเทคโนโลยมี ีความเหมาะสมและ

ทนั สมัย

11 ใชเ ทคนิคการสอนและจิตวทิ ยาการสอน

ผูใหญ

12 กิจกรรมทคี่ รูจัด ทำใหนักศึกษาสนใจ เอา

ใจใสแ ละรับผิดชอบตอการเรียน

13 มกี ารบรกิ ารแนะแนวและใหคำปรกึ ษาแก

นกั ศกึ ษา

ที่ ประเด็น ระดับการปฏิบตั ิ ขอ นิเทศ
- รายบุคคล
มาก มาก ปาน นอ ย ควร 13
ทส่ี ุด (4) กลาง (2) ปรบั ปรงุ
(5) (3) (1)

- เปน กลมุ
- ทางโทรศพั ท
- การปฐมนเิ ทศ
- ปจฉมิ นิเทศ
- ติดตามนกั ศึกษาเม่ือเรียนจบ

14 การวัด/ประเมินผลระหวา งเรียน
- สงั เกตพฤตกิ รรมนกั ศึกษา
- ประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม
- การทดสอบ
- การติดตามการทำโครงงาน

15 มีการประสานใชท รัพยากรรวมกันกบั
เครอื ขาย

16 การประชมุ ชแ้ี จงนักศึกษาใหเขาใจ
กระบวนการจัดกจิ กรรม กพช.

17 ครูและผูเรยี นรวมกนั วางแผนการจดั
กิจกรรม กพช.

18 การเรียนรูท ฤษฎีในการจดั กจิ กรรม กพช.

19 การจดั กิจกรรม กพช .ในภาคปฏิบตั ใิ น
ขอบขายเนื้อหา ดังน้ี
1) กิจกรรมศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม และ
ประเพณี

2) กจิ กรรมพฒั นาชมุ ชน สังคม และ
สิง่ แวดลอม

3) กจิ กรรมสนบั สนนุ งานการศึกษานอก
โรงเรียน

20 ครูพงึ พอใจในงานบริการตา ง ๆของ กศน.

อำเภอ/เขต และสำนกั งาน กศน.จงั หวัด/

กทม. เพยี งใด
- งานสารบรรณ
- งานสง เสริมปฏิบัติการ

ที่ ประเด็น ระดับการปฏิบัติ ขอ นเิ ทศ

- งานแผนงานและนโยบาย มาก มาก ปาน นอย ควร
- งานบุคลากร ท่สี ดุ (4) กลาง (2) ปรบั ปรุง
- งานการเงนิ (5) (3) (1)
- งานพัสดุ
- อน่ื ๆ (โปรด

ระบ)ุ ............................................

14

ตอนที่ 4 คุณภาพผเู รียน

1. รอยละของผเู รยี นมาพบกลมุ = รอยละ................

2. รอ ยละของผเู รยี นพบกลุม ตรงเวลา = รอ ยละ................

3. รอ ยละของผูเรยี นสง งานตามเวลา = รอ ยละ................

4. รอยละของผูเรยี นสงงานครบทกุ คร้ัง = รอยละ................

5. รอยละของผเู รยี นแตงกายเรยี บรอ ย = รอยละ................

6. รอยละของผเู รยี นรว มกิจกรรมทส่ี ถานศึกษาจัด = รอยละ................

7. รอ ยละของผเู รยี นท่ีขอเทียบโอนความรแู ละประสบการณ = รอ ยละ................

8. รอยละของผเู รยี นเปน สมาชิกหองสมุด/แหลง เรยี นรใู นชุมชน = รอยละ................

9. รอ ยละของผเู รยี นที่สามารถใชเ ทคโนโลยเี พิ่มประสิทธิภาพการทำงานได = รอ ยละ.................

10.รอยละของผเู รยี นที่ออกกำลังกายสม่ำเสมอ (อยางนอยสปั ดาหล ะ 3 วัน) = รอ ยละ.................

ขอ เสนอแนะอ่นื ๆ

................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

จดุ เดน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ลงช่ือ....................................................ผนู เิ ทศ ลงช่อื ......................................................ผูรบั การ
นิเทศ
(...................................................)
(...................................................) .............../............................./............
.............../............................./............

15

แบบนเิ ทศติดตามการประเมินเทยี บระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
กศน.อำเภอ สงั กดั สำนักงาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563

คำชแี้ จง
1. แบบนิเทศนี้มีวัตถุประสงคเพื่อนิเทศติดตามการดำเนินงานประเมินเทียบระดับการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐานของ กศน.อำเภอท่ีทำหนาที่เทียบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัด
มหาสารคาม เพ่ือใหมีความตระหนักในการจัดการศึกษาตามระบบคุณภาพการศึกษา พรอมใหคำแนะนำ
ชวยเหลือครูในการดำเนินการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ และนำผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงการ
ปฏบิ ัตงิ านการประเมินเทียบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานใหบริการท่มี ีคุณภาพตอไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผอ. กศน.อำเภอ ศึกษานิเทศก ครูอาสา กศน.
คณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาคีเครือขา ย หรือผูท่ีไดร บั มอบหมาย) ใชใ นการนเิ ทศการดำเนินงานประเมินเทียบ
ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน กศน.อำเภอท่ีทำหนาท่ีเทียบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสำนักงาน กศน.
จังหวัดมหาสารคาม

3. ผูรับการนิเทศ ไดแก เจาหนาที่ท่ีทำหนาท่ีเทียบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ครู กศน.ตำบล ครทู ี่
ปรึกษา และผูเทียบระดับการศึกษา หรือผูที่ไดรับมอบหมายใหดำเนินงานประเมินเทียบระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กศน.อำเภอท่ที ำหนา ท่ีเทียบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงั กัดสำนกั งาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม

4. นอกจากเครอ่ื งมอื นิเทศการดำเนินงานบานหนังสือชมุ ชนชุดน้ี ผูนเิ ทศสามารถนิเทศดวยวิธกี ารอื่นๆ
ไดต ามความเหมาะสม อาทิ การตรวจเย่ียม การสัมภาษณ การสังเกต การตรวจสอบเอกสาร ฯลฯ

เครอ่ื งมอื นเิ ทศการดำเนนิ งานประเมนิ เทยี บระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน แบงเปน 2 ตอน คือ
ตอนท่ี 1 การประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา มิตคิ วามรู ความคดิ
ตอนท่ี 2 การประเมนิ เทยี บระดับการศึกษาในระดับสูงสดุ ของการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
(ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย)

16

การประเมินเทยี บระดับการศกึ ษา มติ ิความรูความคดิ

ประเด็นการตดิ ตามงาน

1. เปาหมายผเู ทียบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
1.1 สถานศึกษามีการประชุมชแ้ี จงแนวทางปฏบิ ัตหิ รือไม/แนวทางใด/อยางไรบา ง
บนั ทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏิบัติงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

1.2 สถานศึกษากำหนดเปา หมายผูเ ทียบระดบั การศึกษาฯ หรอื ไม/อยางไรบาง/ครู กศน. รบั ผิดชอบ
ก่ีคน
บันทกึ สภาพ/ปญหา จากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 17
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

2. การประชาสัมพันธการรบั สมัครผเู ทียบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

2.1 สถานศกึ ษาไดดำเนินการประชาสมั พันธการรบั สมัครหรือไม/แนวทางใด/อยา งไรบาง
บนั ทึกสภาพ/ปญ หา จากการปฏิบตั ิงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนิเทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

2.2 สถานศกึ ษามีเครือขายใหการสนบั สนนุ หรือไม/แนวทางใด/อยางไรบาง
บันทึกสภาพ/ปญ หา จากการปฏิบตั ิงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอ นิเทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

18

3. การปฐมนิเทศผเู ทียบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
สถานศึกษามีการปฐมนิเทศผเู ทียบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานหรอื ไม/ แนวทางใด/อยางไรบา ง
บันทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏิบตั ิงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
4. การจัดทำแฟมประมวลประสบการณผูเทยี บระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
4.1 สถานศึกษามีแนวทางการจดั ทำแฟมประมวลประสบการณห รอื ไม/แนวทางใด/อยางไรบา ง
บนั ทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏบิ ัตงิ านจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนิเทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

19

4.2 ผูเทียบระดับฯ มีความรู ความเขาใจการจัดทำแฟมประมวลประสบการณห รือไม/แนวทางใด/
อยางไรบาง

บนั ทกึ สภาพ/ปญหา จากการปฏบิ ัตงิ านจริง
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอ นเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

5. การประเมินแฟมประมวลประสบการณผูเ ทยี บระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
5.1 สถานศึกษามีการแตง ตั้งผูประเมินแฟม ประมวลประสบการณห รือไม/แนวทางใด/อยา งไรบา ง
บันทกึ สภาพ/ปญ หา จากการปฏิบัตงิ านจริง
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

20

5.2 ผปู ระเมนิ แฟมประมวลประสบการณมีคณุ สมบัติตรงตามหลกั เกณฑหรอื ไม/ อยางไร/ใครบาง
บันทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนิเทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

6. การจดั การสอบมติ ิความรูความคิดผเู ทยี บระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
6.1 สถานศึกษามีการทบทวนความรู ความเขาใจเนอ้ื หาสาระรายวิชาสอบใหกบั ผเู ทียบฯหรอื ไม/แนวทางใด/

อยางไรบา ง
บันทกึ สภาพ/ปญ หา จากการปฏิบตั งิ านจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

21

6.2 ผเู ทยี บระดับฯ รบั ทราบวัน เวลา และสถานท่ี รายวิชาสอบหรอื ไม/แนวทางใด/อยางไรบา ง
บนั ทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏิบัตงิ านจริง
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

7. การดำเนินการสัมมนาวิชาการผูเ ทยี บระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
7.1 สถานศกึ ษามีการดำเนนิ การสมั มนาวชิ าการผเู ทียบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานหรอื ไม/แนวทางใด/

อยางไรบาง
บันทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏบิ ัติงานจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอ นเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

22

7.2 สถานศึกษากำหนดคณุ สมบัติวิทยากรหรือไม/แนวทางใด/อยา งไรบาง
บันทกึ สภาพ/ปญ หา จากการปฏบิ ัตงิ านจรงิ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอนเิ ทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

8. การดำเนินการอนมุ ตั ิผลผูเทียบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
สถานศกึ ษาดำเนินการอนุมัตผิ ลผเู ทียบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานอยางไร
บันทึกสภาพ/ปญหา จากการปฏบิ ัตงิ านจริง
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
ขอ นิเทศ/ขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

ลงชือ่ .....................................................ผูนเิ ทศ ลงช่ือ.....................................................ผรู บั การนเิ ทศ

(....................................................) (....................................................)
........../............../............. ........../............../.............

23

แบบนิเทศตดิ ตามผลการจัดการศึกษาตอเนื่อง
กศน.อำเภอบา นดาน สงั กดั สำนกั งาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม

ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563

คำชแี้ จง
1. แบบนิเทศน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดการศึกษาตอเนื่องของ กศน.

อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม เพื่อนำผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงาน
และการใหบ ริการท่ีมีคณุ ภาพตอ ไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผูอำนวยการ กศน.อำเภอ ขาราชการ ครูอาสาสมัคร
กศน.คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือขาย หรือผูท่ีไดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการจัดการศึกษา
ตอเน่ือง กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม

3. ผรู ับการนิเทศ ไดแก ครู กศน.ตำบล หรือผูทีไ่ ดร ับมอบหมายใหด ำเนนิ งานการจัดการศึกษา
ตอเนื่องของสถานศกึ ษา

4. นอกจากเคร่ืองมือนิเทศการดำเนินงานการจัดการศึกษาตอเน่ืองชุดน้ี ผูนิเทศสามารถนิเทศดวย
วิธกี ารอน่ื ๆ ไดตามความเหมาะสม อาทิ การสัมภาษณ การสังเกต การตรวจสอบเอกสารฯลฯ

เคร่อื งมอื นเิ ทศการดำเนินการจัดการศกึ ษาตอเนื่อง แบงเปน 4 ตอน คอื
ตอนท่ี 1 ขอมลู ทั่วไป
ตอนท่ี 2 ความพรอมในการจัดการเรยี นการสอน
ตอนท่ี 3 การจดั การเรยี นการสอน
ตอนท่ี 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ

24

แบบนิเทศติดตามผลการศึกษาตอเนอ่ื ง
กศน.ตำบล..........................................กศน.อำเภอ..........................................จังหวัดมหาสารคาม
ปงบประมาณ พ.ศ. 2563  ไตรมาสท่ี 1  ไตรมาสท่ี 2  ไตรมาสท่ี 3  ไตรมาสที่ 4

นเิ ทศตดิ ตามผลวันที่...............เดือน...................พ.ศ. ...............

ตอนท่ี 1 ขอ มูลทั่วไป

1. สถานท่สี อน..............................................ตำบล.....................................กศน.อำเภอ...........................

2. วิชาทีส่ อน (บนั ทึกชดุ ละ 1 วิชา)

 ทักษะอาชีพ วชิ า.............................................................. จำนวน..................ชว่ั โมง

 พัฒนาทกั ษะชีวิต วชิ า.............................................................. จำนวน..................ชวั่ โมง

การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน

 หลักสตู รระยะสนั้ หลกั สตู ร........................................................ จำนวน..................ชัว่ โมง

 โครงการ จำนวน..................ชวั่ โมง

3. ระยะเวลาทเ่ี ปด สอน วันท่ี........./............................../...........ถึงวนั ท.่ี ......../............................../...........

เวลาเรียน วนั .........................................................เวลา..........................น. ถึงเวลา..........................น.

4. จำนวนผูเ รียนทสี่ มคั รเรียน.......................คน จำนวนผเู รยี นที่มาเรยี นในวันท่ีนิเทศ...........................คน

5. ช่ือผูร บั การนิเทศ...................................................................วฒุ ิ...........................................................

ตอนท่ี 2 ความพรอมในการจัดการเรยี นการสอน

ที่ ประเด็นเพ่ือการนเิ ทศ มี ไมมี เหตผุ ลท่ีไมมี ขอ นิเทศ

1 มกี ารนำขอมูลความตองการ/จำเปน ของ 25
กลุม เปา หมาย/ชุมชนมาวางแผนจดั กิจกรรมการ
เรยี นรู

2 ครูประเมนิ พืน้ ความรผู เู รียนในวิชาที่เรียน

3 ครมู ีการแนะนำกอนการเรยี นการสอน

4 ครูและผูเรียนมีการวางแผนรว มกันในการจดั การ
เรยี นการสอน

5 ครจู ัดการเรยี นการสอนตามเวลาท่วี างแผน

6 ครูมสี ่ือ/อุปกรณต อไปน้ีหรอื ไม
6.1 ตำรา/คูม ือครู
6.2 เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
6.3 ส่อื วัสดุการเรยี นการสอน

7 มีการวัดผล ทฤษฎี ปฏิบัติ
7.1 กอนเรยี น
7.2 ระหวางเรียน
7.3 หลังเรียน

8 อื่น ๆ (โปรด
ระบ)ุ .......................................................................

ตอนที่ 3 การจัดการเรียนการสอน ระดับการปฏิบัติ ขอนเิ ทศ
ที่ ประเด็นการนิเทศ
มาก มาก ปาน นอย ควร
ทสี่ ุด (4) กลาง (2) ปรับปรงุ
(5) (3) (1)

1 วิทยากรทำการสอนตรง/เต็มเวลา 26
2 วิทยากรจัดกจิ กรรมการเรยี นรตู ามแผนทีก่ ำหนด
3 จดั กจิ กรรมการเรยี นรหู ลาย ๆ วิธี (ระบุไดหลายวิธี)

- บรรยาย

- สาธิต
- ฝก ปฏิบัติรายคน
- แบง กลุมฝกปฏบิ ตั ิ
- การศกึ ษาดงู าน
- การแลกเปลีย่ นเรียนรู

4 มคี วามสามารถใชส ่ือประกอบการเรยี นการสอน
5 ความเพียงพอของส่ือและอุปกรณ
6 ใชส ่อื เหมาะสมกับเนื้อหา
7 ความทันสมัยของส่ือและอปุ กรณ
8 ความเปนกนั เองกับผเู รยี น
9 ใชเทคนคิ การสอนและจิตวิทยาการสอนผใู หญ
10 ความรู ความสามารถ ความเชีย่ วชาญของผูส อน

(ความเปนมืออาชพี )
11 เครือขายมีสวนรว มในการจดั กิจกรรม

ขอเสนอแนะอนื่ ๆ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ....................................................ผูนิเทศ ลงชือ่ ......................................................ผรู ับการนิเทศ
(...................................................) (...................................................)

.............../............................./............ .............../............................./............

27

แบบนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมงี านทำ
สงั กดั สำนักงาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563

คำช้แี จง
1. แบบนเิ ทศนี้มวี ัตถปุ ระสงคเ พ่ือนิเทศตดิ ตามการดำเนินงานการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทำ

ของ กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคาม เพ่ือนำผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงการ
ปฏิบตั งิ านและการใหบรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพตอ ไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผูอำนวยการ กศน.อำเภอ ขาราชการ ครูอาสาสมัคร
กศน.คณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาคีเครือขาย หรือผูท ่ีไดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการจัดการศึกษาอาชีพ
เพ่ือการมีงานทำ กศน.อำเภอ สังกดั สำนกั งาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม

3. ผูรับการนเิ ทศ ไดแ ก ครู กศน.ตำบล หรอื ผูท่ีไดรบั มอบหมายใหดำเนินงานการจดั การศึกษาอาชีพ
เพื่อการมงี านทำของสถานศึกษา

4. นอกจากเคร่อื งมือนิเทศการดำเนินงานการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทำชุดนี้ ผนู เิ ทศสามารถ
นเิ ทศดวยวธิ กี ารอ่ืนๆ ไดตามความเหมาะสม อาทิ การสัมภาษณ การสังเกต การตรวจสอบเอกสารฯลฯ

เครือ่ งมือนเิ ทศการดำเนนิ การจัดการศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทำ แบง เปน 4 ตอน คือ
ตอนท่ี 1 ขอมูลเบ้ืองตนท่ีเกย่ี วของกับการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทำ
ตอนที่ 2 การดำเนนิ การจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทำ
ตอนที่ 3 ปญหาและอปุ สรรคในการดำเนนิ การจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทำ
ตอนท่ี 4 จุดเดน และจดุ ที่ควรพัฒนาการจัดการศึกษาอาชีพเพอื่ การมงี านทำ

28

แบบนิเทศผลติดตามผลการจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำ

กศน.ตำบล..........................................กศน.อำเภอ..........................................จงั หวัดมหาสารคาม
ปงบประมาณ พ.ศ. 2563  ไตรมาสท่ี 1  ไตรมาสที่ 2  ไตรมาสที่ 3  ไตรมาสที่ 4

นิเทศตดิ ตามผลวนั ท่ี...............เดอื น...................พ.ศ................

ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตนที่เกี่ยวของกบั การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
1.วชิ าที่เปด สอน................................
 กลมุ อาชีพเกตรกรรม
 กลุมอาชีพอุตสาหกรรม
 กลุมอาชพี พาณชิ ยกรรม
 กลมุ อาชพี ความคดิ สรา งสรรค
 กลุมอาชพี บริหารจดั การและบรกิ าร
2. หลักสูตร จำนวน ..........................ชวั่ โมง
3. สถานทจ่ี ัด...............................................................................................
4.ชอื่ วทิ ยากร................................................................................................
 ขาราชการ/ลกู จา งประจำหนวยงานของรัฐ/รฐั วิสาหกจิ ...............
 ลกู จางหนวยงานเอกชน..........................................................
 ผรู /ู ภมู ิปญญาในชุมชน
 ผูร/ู ภูมปิ ญญานอกชมุ ชน
1. วัน /เดอื น /ป ทไ่ี ดรบั อนุมตั ิใหจัดการเรียนการสอน ........................................
2. ระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอนระหวา งวันท่.ี ........................ถึงวนั ท.ี่ ...........................
3. จำนวนนักศกึ ษาทลี่ งทะเบยี นเรียน..............คน
 กลุมวา งงาน ................คน  กลุมพัฒนาอาชีพ ................คน
4. จำนวนนักศกึ ษาในวันท่นี ิเทศ ตดิ ตามผล...........คน คิดเปนรอยละ.......... ของจำนวนนักศกึ ษา

ทลี่ งทะเบียนเรียน
5. ขณะทีน่ เิ ทศติดตามผล มผี ูเรียนมคี วามสนใจเรียน ประมาณ ............ คน

คดิ เปนรอยละ ...............ของนักศึกษาท่ีมาเรียนในวนั นเิ ทศ ตดิ ตามผล

29

ตอนท่ี 2 การดำเนินการจัดการศึกษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทำ

รายการ ใช ไมใช เหตผุ ลทไ่ี มใช ขอ นิเทศ

ดา นปจจัยดำเนินการ

1. หลกั สูตรสอดคลอ งกับความตอ งการของผเู รยี นและบรบิ ทของ

ชมุ ชน

2. แผนการเรียนรมู ีความชัดเจนและมีความเหมาะสม

3. สอ่ื ประกอบเรยี นรู มีคุณภาพและพอเพียง

4. วัสด/ุ อปุ กรณ ในการจัดการเรยี นรมู คี ณุ ภาพและพอเพยี ง

5. วิทยากรมคี วามรู และมคี วามสามารถในการถายทอดวชิ า ท่ี

สอน

6. มแี หลงเรยี นรูสำหรบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู

7. มผี รู แู ละภูมปิ ญญาทองถน่ิ สำหรบั จดั กิจกรรมการเรียนรู

8. ภาคีเครอื ขา ยใหการสนบั สนุนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู

9. มีการประสานแหลง เงินทนุ ในการประกอบอาชีพใหก บั ผูเ รยี น

10. มกี ฎหมาย/ระเบยี บรองรับสำหรับการปฏบิ ัตใิ นการดำเนินการ

จัดการศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมีงานทำ

11. มคี มู ือดำเนนิ งานจดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมงี านทำ เชน การ

ประชาสัมพันธ การสำรวจกลุมเปาหมาย การพัฒนาหลักสูตร

วิชาชีพ การแนะแนวและใหค ำปรึกษา การจดั กิจกรรมการเรียนรู

การวดั ผลประเมนิ ผล การเทียบโอน

12. มรี ะบบการนเิ ทศ ติดตามผลและประเมนิ ผล

ดานการจดั การเรียนการสอน

13. มกี ารสำรวจขอ มลู พ้ืนฐานผเู รยี นเปน รายบุคคล เชน อาชีพ

ความรู ทกั ษะ และประสบการณ

14. มีการจดั กลมุ ผเู รยี น เปน กลมุ วางงาน กลมุ พฒั นาอาชีพ

15. มกี ารจัดกิจกรรมแนะแนวและใหค ำปรึกษาผเู รียน กอนเรียน

ระหวางเรียน และหลงั เรยี น

16. มกี ารจดั กระบวนการเรยี นรู 4 ขน้ั ตอน คอื ชองทางการ

ประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ การบรหิ ารจดั การใน

การประกอบอาชีพ และโครงการประกอบอาชีพ

17. ใชว ธิ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นรโู ดยคร/ู วิทยากรเปนผสู อน

รายการ ใช ไมใ ช เหตุผลที่ไมใ ช 30

18. ใชวิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรใู หผูเรยี นฝก ทักษะใน ขอนิเทศ
สถานประกอบการ
19. ใชวิธกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หผ ูเรียนฝก ทกั ษะโดย 31
การปฏบิ ัตจิ รงิ
20. ใชว ธิ กี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใหผูเรียนเรียนรู
ดวยตนเอง
21. ใชว ิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรเู ปนกลุมใหผูเรยี นได
แลกเปล่ียนเรียนรู

22. ใชว ธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หผเู รยี นเรยี นรจู าก
แหลง เรียนรู
23. ใชวธิ ีการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หผูเรยี นเรยี นรจู ากผูรู
หรอื ภูมปิ ญญาทองถ่นิ

24. มกี ารวดั ผล ประเมินผลที่หลากหลาย โดยประเมินผล
จากสภาพจริงตามที่หลักสตู รกำหนด
25.จดั ใหมีการเทียบโอนผลการเรยี น
26. มกี ารติดตามผลผเู รียนหลังจากจบการศึกษา

ดา นผลการดำเนนิ การ

27. ผเู รยี นตัดสินใจประกอบอาชีพไดส อดคลอ งกับ
ศกั ยภาพของตนเอง
28. ผเู รียนมคี วามรูความเขาใจและมที ักษะการประกอบ
อาชีพ

29. ผเู รยี นมคี วามรูความเขา ใจและมที ักษะในการบริหาร
จัดการในการประกอบอาชพี
30. ผเู รียนมีโครงการประกอบอาชพี
31. ผเู รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตสำนึกความ
รับผดิ ชอบตอ ตนเอง ผูอ ่ืนและสังคม

32. ผูเรยี นมอี าชีพท่สี ามารถสรา งรายไดท่ีมั่นคง

ตอนท่ี 3 ปญ หาและอปุ สรรคในการดำเนินการจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงาน
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ตอนที่ 4 จุดเดนและจุดท่คี วรพฒั นาการจดั การศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทำ
จุดเดน .........................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

จุดทคี่ วรพัฒนา ............................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ....................................................ผูนิเทศ ลงชอ่ื ......................................................ผรู บั การนเิ ทศ
(...................................................) (...................................................)

.............../............................./............ .............../............................./............

32

แบบนเิ ทศตดิ ตามผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง
สงั กดั สำนกั งาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563

คำชแี้ จง
1. แบบนิเทศนี้มีวัตถุประสงคเพื่อนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเศรษฐกิจ

พอเพียงของ กศน.อำเภอ สังกดั สำนกั งาน กศน.จงั หวัดมหาสารคาม เพือ่ นำผลการนิเทศไปพฒั นาและปรบั ปรงุ
การปฏบิ ัติงานและการใหบ ริการที่มคี ุณภาพตอ ไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผูอำนวยการ กศน.อำเภอ ขาราชการ ครูอาสาสมัคร
กศน.คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือขาย หรือผทู ่ีไดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรเู ศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอ สังกัดสำนกั งาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม

3. ผรู ับการนเิ ทศ ไดแ ก ครู กศน.ตำบล หรอื ผูท ี่ไดร ับมอบหมายใหดำเนนิ งานการจดั กจิ กรรมการ
เรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี งของสถานศึกษา

4. นอกจากเคร่ืองมือนิเทศการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุดนี้ ผูนิเทศ
สามารถนิเทศดวยวิธีการอ่ืนๆ ไดตามความเหมาะสม อาทิ การสัมภาษณ การสังเกต การตรวจสอบเอกสาร
ฯลฯ

เคร่ืองมือนเิ ทศการดำเนนิ การจดั การศกึ ษาตอเนอ่ื ง แบงเปน 4 ตอน คอื
ตอนท่ี 1 ขอมลู เบ้ืองตนทเี่ กี่ยวขอ งกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพยี ง
ตอนท่ี 2 การดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี งใน 4 ดา น คอื ดา นข้ัน
เตรียมการ ดา นการจดั กิจกรรม ดา นนเิ ทศตดิ ตามผล และดานผลการดำเนินงาน
ตอนที่ 3 ปญหา และอปุ สรรคการดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรเู ศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 4 จุดเดน และจดุ ท่คี วรพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ ศรษฐกิจพอเพยี ง

33

แบบนเิ ทศติดตามผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเศรษฐกจิ พอเพียง

กศน.ตำบล..........................................กศน.อำเภอ..........................................จงั หวัดมหาสารคาม
ปงบประมาณ พ.ศ. 2563  ไตรมาสท่ี 1  ไตรมาสท่ี 2  ไตรมาสที่ 3  ไตรมาสท่ี 4

นิเทศติดตามผลวันท่.ี ..............เดือน...................พ.ศ................

ตอนท่ี 1 ขอ มูลเบือ้ งตนทเี่ กี่ยวขอ งกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพยี ง

1.วิชาทเี่ ปดสอน................................

2. หลกั สตู ร จำนวน ..........................ชั่วโมง

3.สถานท่ีจัด ..........................................................................................................................

4.ชอ่ื วิทยากร...............................................................................................................................

 ขาราชการ/ลูกจา งประจำหนวยงานของรฐั /รฐั วิสาหกจิ ................................................

ลกู จา งหนวยงานเอกชน.................................................................................................

 ผูร ู/ภูมิปญญาในชุมชน

 ผูร/ู ภมู ปิ ญญานอกชุมชน

5. วัน /เดอื น /ป ท่ไี ดรับอนุมัตใิ หจดั การเรยี นการสอน .............................................................

6. ระยะเวลาในการจัดการเรยี นการสอนระหวางวันที่.........ถึงวันที.่ ..........................................

7. จำนวนนกั ศึกษาทลี่ งทะเบียนเรยี น..............คน

ชาย ................คน หญงิ ................คน

8. จำนวนนกั ศกึ ษาในวันทนี่ ิเทศ ติดตามผล ...........คน คดิ เปนรอ ยละ .......... ของจำนวนนักศึกษาที่

ลงทะเบยี นเรยี น

9. ขณะที่นเิ ทศติดตามผล มผี เู รียนมคี วามสนใจเรยี น ประมาณ ............ คน คดิ เปนรอ ยละ ...............ของ

นักศกึ ษาท่ีมาเรยี นในวันนเิ ทศ ติดตามผล

ตอนท่ี 2 การดำเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รายการ มี ไมมี เหตผุ ลทีไ่ มมี ขอนิเทศ

1. ดานข้นั เตรยี มการ

1.1 การสรา งความเขาใจการดำเนนิ งานกบั บุคลากร

1.2 การสำรวจวเิ คราะห จัดทำระบบสารสนเทศ จดั ทำ

แผนงาน /โครงการ

1.3 การคดั เลอื กกลมุ เปาหมาย

1.4 การแตง ต้งั ผรู ับผดิ ชอบ 34
1.5 การประสานเครือขา ย

1.6 การออกแบบกจิ กรรมโดยนำขอมลู จากแหลง ตา งๆ มาใช

รายการ มี ไมมี เหตุผลท่ไี มมี ขอนเิ ทศ

2. ดานดำเนนิ การจดั กิจกรรม

2.1 การสรา งความตระหนักใหกบั ผเู รยี น และชุมชน

2.2 จดั ทำแผนการเรยี นรรู วมกบั ผเู รยี น และชุมชน

2.3 จัดกระบวนการเรยี นรทู ่ีสอดคลองกบั ความตองการของผูเ รยี นและชมุ ชน

2.3.1 ดานความรูต ามปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

2.3.2 ดา นสงเสรมิ อาชีพ
2.4 การประเมนิ ผลการเรียนรู : โดยมเี คร่ืองประเมนิ ผลการเรียน

2.4.1 แบบทดสอบ

2.4.2 ผลงานผูเ รยี น

2.4.3 การสงั เกต
2.4.4 แบบบันทึกการเรียนรู

2.4.5 แฟมสะสมงาน
2.5 การเผยแพรผลงานตอ หนว ยงานสาธารณชน โดยใช
รูปแบบและวิธีการตา ง ๆ เชน ตลาดนัดความรู แหลง
เรยี นรู อำเภอเคล่ือนที่ สือ่ มวลชน เอกสาร สิง่ พิมพ หอ
กระจายขา ว ICT ฯลฯ
3. ดา นนเิ ทศติดตามผล

3.1 มีคณะกรรมการ/ผรู ับผดิ ชอบในการติดตามผลการ
ดำเนินงาน

3.2 จดั ทำแผนการตดิ ตามผล/ประเมนิ ผล
3.3 ติดตามประเมนิ ผลตามแผนทกี่ ำหนด
3.4 สรปุ ผลและรายงานผลการตดิ ตามผลการ
ดำเนินงาน

3.5 นำผลการตดิ ตามมาปรับปรงุ และพฒั นางาน

35

4. ดา นผลการดำเนนิ งาน

ระดับความสำเร็จ

ลำดับที่ รายการ มาก มาก ปาน นอย ควร ขอ นเิ ทศ
ท่ีสุด (4) กลาง (2) ปรับปรงุ

(5) (3) (1)

1 กลุมเปา หมายมีความรคู วามเขาใจหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพียง

2 กลุมเปา หมายสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชในการดำเนินชีวิต

2.1 การประกอบอาชีพ

2.2 การออม

2.3 การลด ละ เลิก อบายมุข 36
2.4 การมสี ุขภาพกายแข็งแรง
2.5 การมสี ุขภาพจิตใจทเ่ี ขม แขง็
3 ผลท่ีเกิดกับชมุ ชน
3.1 มกี ารเรยี นรรู วมกนั เพื่อพฒั นาตนเองอยาง
เปนระบบ
3.2 เกิดกิจกรรมพึ่งตนเองอยางเปน ระบบ
3.3 เกิดการรวมกลุม เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชน
3.4 เกิดเครือขายการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ใน
ชุมชน
4 สังคมคุณธรรม
4.1 มวี นิ ยั ในการดำเนนิ ชีวติ
4.2 มคี วามซอ่ื สตั ย
4.3 มคี วามอดทน
4.4 ความมเี หตุผล
4.5 รจู กั ใชทรพั ยากรอยางคมุ คา
4.6 รจู ักใชทุนและการแสวงหาทุนทางสังคม

ตอนที่ 3 ปญ หาและอุปสรรคในการดำเนินการจัดกจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพียง
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
ตอนท่ี 4 จดุ เดน และจดุ ทค่ี วรพฒั นาการจดั กจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพียง
จุดเดน

.................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
จุดท่ีควรพฒั นา

.................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................ผูนิเทศ ลงชอ่ื ......................................................ผรู ับการนเิ ทศ
(...................................................) (...................................................)

.............../............................./............ .............../............................./............

37

แบบนิเทศตดิ ตามการจัดกจิ กรรมสง เสริมการอาน
สังกดั สำนกั งาน กศน. จังหวดั มหาสารคาม
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563

คำชแี้ จง
1. แบบนิเทศน้มี ีวตั ถุประสงคเพื่อนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน กศน.

อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม เพื่อนำผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงาน
และการใหบ ริการที่มคี ณุ ภาพตอ ไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผอ. กศน.อำเภอ ขาราชการ ครูอาสาสมัคร กศน.
คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครอื ขา ย หรือผทู ี่ไดร บั มอบหมาย) ใชใ นการนิเทศการดำเนนิ การจดั กิจกรรม
สง เสริมการอาน กศน.อำเภอ สงั กัดสำนกั งาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม

3. ผรู บั การนเิ ทศ ไดแก ครู กศน.ตำบล หรอื ผทู ่ีไดรับมอบหมายใหดำเนินการจัดกจิ กรรมสงเสริมการ
อา นของสถานศึกษา

4. นอกจากเคร่ืองมือนิเทศการดำเนินการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานชุดนี้ ผูน ิเทศสามารถนิเทศดว ย
วิธกี ารอน่ื ๆ ไดต ามความเหมาะสม อาทิ การสมั ภาษณ การสงั เกต การตรวจสอบเอกสาร ฯลฯ

เครอ่ื งมอื นิเทศการดำเนินการจัดกิจกรรมสงเสรมิ การอาน แบงเปน 4 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตนทเ่ี ก่ียวของกบั การจดั กิจกรรมสงเสริมการอาน
ตอนที่ 2 การดำเนินการจดั กิจกรรมการสง เสรมิ การอาน ใน 3 ดา น คือ ดา นการบรกิ าร
จดั การดานการจัดกจิ กรรม ดา นกลมุ เปา หมาย และดานนิเทศ ติดตามผล
ตอนที่ 3 ปญหา อุปสรรค การดำเนินการจัดกิจกรรมสงเสรมิ การอาน

ตอนท่ี 4 จดุ เดน และจุดทค่ี วรพฒั นาการจัดกิจกรรมสง เสริมการอา น

38

แบบนิเทศการจัดกิจกรรมสง เสริมการอา น

กศน.ตำบล/อำเภอ ……………………………………………..จงั หวดั มหาสารคาม
ปง บประมาณ พ.ศ. .......... ครัง้ ท่ี......... วันที่ ........ เดอื น ..................พ.ศ .............

ตอนที่ 1 ขอมูลเบอื้ งตนทีเ่ ก่ียวของกับการจดั กจิ กรรมสงเสริมการอา น
1.กิจกรรมทจี่ ัด

 กิจกรรมอำเภอยิ้มเคลอ่ื นที่
 กิจกรรมมมุ สง เสริมการอาน
 กิจกรรมอาสาสมคั รสงเสรมิ การอาน
 กิจกรรมยอดนักอา น

2. สถานทีจ่ ัด…………………………………………………………………………………………….………………..
3. ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม ระหวาง วนั ท่ี…………………………ถึงวนั ท่ี…………………………..
4. จำนวนกลมุ เปาหมายท่เี ขารวมกิจกรรม………………………….คน
5. จำนวนกลมุ เปาหมายในวันท่ีนิเทศ ตดิ ตามผล………..คน คิดเปนรอยละ………..….ของจำนวน
6. ขณะทน่ี เิ ทศติดตามผล มีผูเขารว มกิจกรรมมคี วามสนใจ ประมาณ..................................คน

คดิ เปนรอ ยละ...............ของกลุมเปาหมายทม่ี าเขา รวมกิจกรรมในวนั นเิ ทศ ติดตามผล

ตอนท่ี 2 การดำเนนิ การจดั กิจกรรมสง เสริมการอาน มี ไมม ี เหตผุ ลทไ่ี มมี ขอ นิเทศ
รายการ

ดานบริหารจัดการ
1. มีการจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอานในโครงการอำเภอย้มิ
เคลื่อนท่ี
2. มีการจดั มมุ สงเสรมิ การอา น (ทกุ หมูบา น,โรงพยาบาล
,โรงเรียน กศน.ตำบล,ทวี่ าการอำเภอ,สถานตี ำรวจภธู ร)

3. มีอาสาสมัครสง เสรมิ การอาน(ทุกตำบล)

4. มีการสง เสรมิ ยอดนกั อานระดบั หมูบ า น

5. มกี ารจัดทำทำเนียบเครือขาย

6. มกี ารใชง บประมาณในการจัดกิจกรรมสง เสรมิ การอาน

ดา นการจดั กจิ กรรม 38
1. มีแผน/โครงการจัดกิจกรรมสงเสรมิ การอา น/มีความชัดเจน
ขอ นิเทศ
2. มคี ำสง่ั แตง ตง้ั คณะทำงาน

3. มกี ารประชาสัมพันธกจิ กรรมอยางตอเนื่องและทัว่ ถงึ มี ไมมี เหตุผลทีไ่ มมี

รายการ

4. มวี สั ดุอปุ กรณใ นการจดั มีคณุ ภาพและมีความเพียงพอ

5. มีสอ่ื การใหบริการมีความหลากหลาย เพยี งพอตอ การ
ใหบริการ
6. อาสาสมคั รสง เสรมิ การอา นมคี วามพรอมในการจดั
กิจกรรมสง เสริมการอาน
7. มีเครือขายมีสวนรวม และสนับสนนุ การจดั กจิ กรรม

8. มีการสรา งบรรยากาศและส่ิงแวดลอมเอ้ืออำนวยตอการใช
บรกิ าร

9. มกี ารนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผล

ดานกลมุ เปา หมาย
10. นกั เรยี น

11. นักศกึ ษา
12. ประชาชนทว่ั ไป

ดา นนเิ ทศ ติดตามผล
13. มกี ารสงั เกต สัมภาษณ สอบถามผเู รียน คร/ู วทิ ยากร

ตอนที่ 3 ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินการจดั กิจกรรมสงเสรมิ การอาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนท่ี 4 จุดเดนและจดุ ทคี่ วรพฒั นาการจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอาน
จดุ เดน ……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 39
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จุดท่ีควรพฒั นา
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................ผูน เิ ทศ ลงชอื่ ...................................................ผรู บั การนเิ ทศ
( ..............................................) (....................................................)
.........../...................../................. .........../...................../.................

40

แบบนิเทศตดิ ตามผลบา นหนังสอื ชมุ ชน
สงั กดั สำนกั งาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม

ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563

คำช้ีแจง
1. แบบนิเทศนี้มีวัตถุประสงคเพื่อนิเทศติดตามการดำเนินงานของบานหนังสือชุมชน กศน.อำเภอ

สังกัดสำนักงาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม เพื่อนำผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานและการ
ใหบ รกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพตอ ไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผอ.กศน.อำเภอ ขาราชการ ครูอาสาสมัคร กศน.
คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือขาย หรือผูที่ไดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการดำเนินบานหนังสือ
ชุมชน กศน.อำเภอ สงั กัดสำนักงาน กศน. จังหวดั มหาสารคาม

3. ผรู ับการนิเทศ ไดแ ก ครู กศน.ตำบล หรอื ผทู ี่ไดร บั มอบหมายใหด ำเนินงานบานหนังสอื ชมุ ชนของ
สถานศกึ ษา และอาสาสมคั รบา นหนังสอื ชุมชน

4. นอกจากเครอ่ื งมอื นเิ ทศการดำเนนิ งานบา นหนงั สือชุมชนชุดนี้ ผูนเิ ทศสามารถนเิ ทศดว ยวธิ กี ารอ่ืนๆ
ไดตามความเหมาะสม อาทิ การสัมภาษณ การสงั เกต การตรวจสอบเอกสาร ฯลฯ

เครือ่ งมือนิเทศการดำเนินบานหนังสอื ชุมชน แบง เปน 4 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ขอมูลทวั่ ไป
ตอนท่ี 2 ความพรอ มในการดำเนนิ งานบานหนังสือชุมชน
ตอนท่ี 3 การจดั กจิ กรรมในบานหนงั สือชมุ ชน
ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอืน่ ๆ และจุดเดนทีพ่ บจากการนเิ ทศ

41

เครอื่ งมอื การนิเทศตดิ ตามบานหนังสอื ชุมชน
กศน.อำเภอ.....................................สำนักงาน กศน. จังหวดั มหาสารคาม
ตอนที่ 1 ขอมลู ทั่วไป
1. สถานที่ดำเนินการบา นหนงั สือชมุ ชน
1.1 ชือ่ บา นหนังสอื ................................................................................................................
ชอื่ เจา ของบา น……………………………………………………………… กศน.ตำบล............................................

ตอนที่ 2 ความพรอมในการดำเนินงานบา นหนังสอื ชุมชน

ที่ ประเด็นเพื่อการนเิ ทศ มี ไมม ี เหตุผลท่ไี มมี ขอ นเิ ทศ

1 สถานศึกษามีการเตรยี มความพรอมและการดำเนนิ การดาน 42

ตางๆตอไปน้หี รือไม

1.1 การคดั เลอื กบานหนังสือชมุ ชนเขา รวมโครงการ

1.2 แตง ตง้ั คณะกรรมการอาสาสมัครบานหนงั สอื ชมุ ชน

1.3 การจัดประชุม/อบรม/ศกึ ษาดูงาน ใหก ับคณะกรรมการ ฯ

1.4 การสง เสริมการจดั กจิ กรรมในบานหนังสอื ชุมชน

ในรปู แบบตาง ๆ เชน การจัดหาหนังสือหมุนเวยี น ,

เปดสอนกลมุ อาชพี , จดั โครงการบรจิ าคหนงั สือ ฯลฯ

1.5 การสงเสริมการจดั มุมตา ง ๆ ในบา นหนังสือชุมชน เชน

จดั หาส่อื วสั ดุ อปุ กรณ , จัดสงบคุ ลากรชวยจัด , ให

คำปรึกษาแนะนำ , จดั ทำเอกสารแนวทาง ฯลฯ

1.6 การแตงต้งั ผดู แู ลรับผดิ ชอบบานหนังสือชุมชนในระดับอำเภอ

1.7 จัดทำแบบฟอรม ตา ง ๆ ใชใ นการดำเนินงาน เชน

แบบสำรวจความตอ งการสอื่ /ส่งิ พิมพ/กจิ กรรม ,

แบบรายงานผใู ชประจำวัน ฯลฯ

1.8 มกี ารตดิ ตามผลและรายงานผลการดำเนนิ งานบาน

หนงั สือชุมชน

2 ครู กศน. ตำบลมีการสง เสรมิ การดำเนนิ การตอ ไปนีห้ รือไม

2.1 ประสานดานอาคารสถานท่ี

2.2 ประสานการใชทรัพยากรรว มกันกบั ภาคเี ครอื ขาย

2.3 ประสานภูมิปญ ญา/แหลงเรยี นรตู า งๆ

2.4 รวมสง เสรมิ การจัดกิจกรรมและจดั มุมตาง ๆ

2.5 ใหข อ เสนอแนะในการจัดกิจกรรมและจัดมุมตา ง ๆ

2.6 เปนผจู ดั สง ส่อื ส่งิ พมิ พใ หบานหนังสือชมุ ชน

2.7 เปน ผรู วบรวมขอ มลู ดานตาง ๆ เชน ขอมลู การใชบริการ

ของ ผูรบั บรกิ าร การรายงานผลการดำเนินงาน ฯลฯ

3 อาสาสมคั รบานหนังสือชมุ ชนมกี ารดำเนินการตอไปนห้ี รือไม

3.1 การจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอา น

3.2 การจัดมุมสงเสรมิ การอา น

3.3 จดั เตรียม สือ่ วสั ดุอุปกรณ พรอ มรบั การบรกิ าร

3.4 จัดบรรยากาศบริเวณบา นหนังสือชมุ ชน

3.5 ประสานขอรับการสนบั สนุนจากหนวยงานเครอื ขาย

3.6 อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ ..........................................

ตอนท่ี 3 การจัดกิจกรรมบานหนังสอื ชุมชน

ท่ี ประเด็นการนิเทศ มาก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ควร ขอนเิ ทศ
ทีส่ ดุ ปรบั ปรุง
มาก ปาน นอ ย 43
(5) (4) กลาง (2) (1)

(3)

1 การจดั กจิ กรรมสง เสริมการอา น

2 การจัดมมุ สง เสริมการอา น

2 จัดเตรยี ม สื่อ วัสดอุ ปุ กรณ พรอ มรบั การบริการ

3 การจดั กิจกรรมสง เสริมการอาน เหมาะสมกับ

ผูมาใชบริการ

4 การจดั มมุ สงเสรมิ การอาน เหมาะสมกบั สภาพ

บานหนงั สอื ชมุ ชน

5 ความเพยี งพอของสือ่ และอุปกรณ

6 ความทันสมัยของสื่อและอุปกรณ

7 จดั วางสือ่ วสั ดอุ ปุ กรณ พรอ มรบั การบรกิ าร

8 จดั บรรยากาศบริเวณบา นหนังสือชุมชน

9 อาสาสมัครมีความเขา ใจและมคี วามสามารถใน

การจดั กจิ กรรมตาง ๆ

10 ความเปน กนั เองของอาสาสมัครกบั ผูรบั บรกิ าร

11 เครอื ขายมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม

ตอนท่ี 4 ขอ เสนอแนะอน่ื ๆ
.................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

จดุ เดนทพี่ บจากการนิเทศ
.................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงช่ือ...........................................ผนู เิ ทศ ลงช่ือ.............................................ผรู บั การนิเทศ
(..............................................) (..............................................)
........../...................../............... .........../...................../.............

44

แบบนิเทศติดตามการจัดกจิ กรรมหองสมุดประชาชนเฉลิมราชกมุ ารี/อำเภอ กศน.
อำเภอ สังกัดสำนกั งาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563

คำช้ีแจง
1. แบบนิเทศนี้มีวัตถุประสงคเพื่อนิเทศติดตามการดำเนินงานการจัดกิจกรรมหองสมุดประชาชน

เฉลิมราชกุมารี/อำเภอ/หองสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัด
มหาสารคาม เพ่ือนำผลการนเิ ทศไปพฒั นาและปรับปรงุ การปฏิบัติงานและการใหบริการท่ีมคี ุณภาพตอไป

2. ผูนิเทศ ไดแก ผูนิเทศภายในสถานศึกษา (ผอ. กศน.อำเภอ ศึกษานิเทศก ครูอาสาสมัคร กศน.
คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือขาย หรือผูท่ีไดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการดำเนินงานการจัด
กิจกรรมหองสมุดประชาชนจังหวัด/อำเภอ/หองสมุดประชาชนเฉลิมราช กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.
จังหวดั มหาสารคาม

3. ผรู ับการนเิ ทศ ไดแ ก เจา หนา ท่หี อ งสมดุ หรือบรรณารักษ
4. นอกจากเคร่ืองมือนิเทศการดำเนนิ งานการจัดกิจกรรมหองสมดุ ประชาชนจังหวดั /อำเภอ/หองสมุด
ประชาชนเฉลิมราชกมุ ารชี ุดน้ี ผูนิเทศสามารถนิเทศดว ยวิธีการอื่นๆ ไดต ามความเหมาะสม อาทิ การสัมภาษณ
การสังเกต การตรวจสอบเอกสาร ฯลฯ

เครอื่ งมือนเิ ทศการดำเนนิ ดำเนินงานการจดั กิจกรรมหองสมุดประชาชนจังหวดั /อำเภอ/หอ งสมดุ
ประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารี แบงเปน 2 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ขอมลู ทว่ั ไป
ตอนท่ี 2 การกำหนดงานหอ งสมุดประชาชน

45

แบบนิเทศติดตามการจดั กิจกรรมหองสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี/อำเภอ
กศน.อำเภอ..............................................สำนกั งานกศน.จังหวดั มหาสารคาม

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
1.   หองประชาชน   หอ งสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกุมารี
2. บุคลากรทร่ี ับผดิ ชอบในการดำเนินงาน
บรรณารกั ษ. ..............จำนวน...............คน
นักการภารโรง...........จำนวน..............คน
2. จำนวนสมาชิก......................คน
  จำนวนหนังสอื /คอมพิวเตอร
  หนังสอื ..................เลม
  คอมพิวเตอร............เคร่ือง

ตอนที่ 2 การดำเนนิ งานในหองสมดุ ประชาชน

ระดับความคิดเห็น

ท่ี ประเดน็ เพือ่ การนิเทศ มาก มาก ปาน นอย ควร ขอนเิ ทศ

1 การบรหิ ารจดั การ ที่สดุ (4) กลาง (2) ปรบั ปรงุ
- การจดั ทำแผน/โครงการทีเ่ หมาะสม
- การขยายเวลาบรกิ าร (5) (3) (1)
- การลดข้นั ตอนการบริการ
- การดำเนนิ งานตามแผน
- การประเมินผลและรายงานโครงการ
- การจัดหางบประมาณดำเนินงาน
- การประกนั คณุ ภาพหอ งสมุด
- การจัดหาสอ่ื ที่ทนั สมยั

ระดับความคดิ เหน็ 46

ที่ ประเดน็ เพือ่ การนิเทศ มาก มาก ปาน นอ ย ควร ขอนิเทศ
- บริการทัว่ ถงึ และครอบคลมุ ทุก
กลมุ เปาหมาย ที่สุด (4) กลาง (2) ปรบั ปรงุ

(5) (3) (1)

2 การพัฒนาอาคารสถานที่
- การจดั สภาพแวดลอ มภายใน/ภายนอก
3 การสงเสรมิ ศกั ยภาพในการทำงาน

- การพฒั นาบรรณารกั ษใ หมีความรู

ความเขา ใจในงานหองสมุด

- การพัฒนาความรูด า น IT

- การอบรม/พัฒนา
คณะกรรมการหอ งสมดุ

- การบริหารใหเ ครือขา ยมสี ว น
รว ม

4 การพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- ใชโปรแกรมทนั สมยั ในการบริหาร
จัดการและใหบ ริการ

- มี Website เช่อื มโยงเครอื ขา ย แหลง
เรยี นรูอ ื่นๆ

- การจัดทำหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส
เผยแพร

บนเครือขายอินเทอรเ นต็
- การจดั บรกิ ารหองสมุดอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
5 การประสานความรว มมอื กบั

หองสมดุ /แหลงเรยี นรู
- จดั ทำทำเนียบแหลง เรยี นรแู ละ
การประสานการใหบรกิ ารรวมกนั

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตลอด
ชีวติ
-เปนแหลงศึกษาเรียนรดู ว ยตนเอง

46

ระดบั ความคิดเหน็

ท่ี ประเดน็ เพอ่ื การนิเทศ มาก มาก ปาน นอ ย ควร ขอนิเทศ
ทีส่ ุด (4) กลาง (2) ปรับปรงุ

(5) (3) (1)

ของนักศกึ ษาในหลักสตู รตางๆ

- เปนศูนยกลางการเรยี นรูที่
เช่อื มโยงขอ มลู ขา วสารตางๆ เพอ่ื
ตอบสนองความตอ งการของทุก
กลุมเปา หมาย
- พฒั นารูปแบบกจิ กรรมการเรยี นรู
ดว ยส่อื ทีห่ ลากหลาย

ขอเสนอแนะอืน่ ๆ
................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

จดุ ดีเดน
................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .................................................ผนู เิ ทศ ลงช่อื .................................................ผรู บั การนเิ ทศ
(.................................................) (..................................................)
.........../...................../................. .........../...................../.................

47

แบบนิเทศกจิ กรรม กศน.ตำบล

สำนักงาน กศน.จงั หวัดมหาสารคาม
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563

คำชแี้ จง
1. แบบนิเทศนมี้ ีวัตถุประสงคเพื่อนิเทศ ติดตามการดำเนินงานการจดั กิจกรรม กศน. ตำบล ของ

กศน. อำเภอ สังกัด สำนักงาน กศน. จังหวัดมหาสารคาม เพอ่ื นำผลการนเิ ทศไปพัฒนาและปรับปรงุ การ
ปฏบิ ัติงานและการใหบรกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพตอ ไป

2. ผนู ิเทศ ไดแ ก ผนู เิ ทศภายในสถานศกึ ษา (ผอ. กศน. อำเภอ ขา ราชการ ครูอาสาฯ คณะกรรมการ
สถานศึกษา ภาคีเครือขา ย หรอื ผทู ไี่ ดรับมอบหมาย) ใชในการนิเทศการดำเนินงานการจัดกิจกรรม กศน .ตำบล
ของ กศน. อำเภอ สงั กดั สำนักงาน กศน. จงั หวดั มหาสารคาม

3. ผรู บั การนเิ ทศ ไดแก ครู กศน. ตำบล หรือผทู ่ไี ดรับมอบหมายใหด ำเนนิ งานการจัดกิจกรรม กศน.
ตำบล

นอกจากเครอ่ื งมือการดำเนินงานการจัดกจิ กรรม กศน.ตำบล ชดุ นี้แลว ผูนเิ ทศสามารถนิเทศดว ย
วิธีการอน่ื ๆ ไดต ามความเหมาะสม อาทิ การสมั ภาษณ การสังเกต การตรวจสอบเอกสาร ฯลฯ

แบบนิเทศ กศน. ตำบล แบงเปน 3 ตอน ไดแ ก
ตอนที่ 1 ขอมลู ท่วั ไป
ตอนท่ี 2 ขอมูลการประเมิน 4 มาตรฐาน

48

มาตรฐานและตัวบงช้ี กศน. ตำบล ประกอบดวย 4 ดาน คือ
1. ดานการบริหารจดั การ มี 4 ตวั บงช้ี ไดแ ก

1.1 อาคาร สภาพเหมาะสม มน่ั คง แข็งแรง ปลอดภัย และมสี ภาพแวดลอมทเ่ี อ้ือตอ การจัดการเรียนรู
1.2 ส่ือ อุปกรณ ครภุ ณั ฑ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู
1.3 การบรหิ ารจดั การ
1.4 บุคลากร ปฏบิ ัตงิ านครอบคลุมตามภารกจิ ท่กี ำหนด
2. ดา นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู มี 4 ตัวบงช้ี ไดแ ก
2.1 เปน ศนู ยขอ มลู ขา วสารของชุมชน (Information center)
2.2 เปน ศนู ยสรา งโอกาสการเรียนรู (Opportunity center)
2.3 เปนศนู ยการเรยี นชมุ ชน (Learning center)
2.4 เปนศนู ยช มุ ชน (Community center)
3. ดา นการมีสว นรวม มี 3 ตัวบงช้ี ไดแก
3.1 ชมุ ชนมีสว นรว มในการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล
3.2 มกี ารเช่ือมโยงเครอื ขายการเรียนรูในตำบล และตา งตำบล
3.3 ชุมชนมสี วนรว มในการสง เสรมิ การดำเนนิ งาน กศน. ตำบล
4. ดานการนเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผล มี 2 ตัวบงชี้ ไดแ ก
4.1 การนเิ ทศ ตดิ ตามผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป
4.2 การรายงานผลการจัดกจิ กรรมตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำป

ตอนท่ี 1 ขอมลู ทั่วไป

1. ช่อื กศน.ตำบล ...........................................................................................................................................

2. สถานท่ีตง้ั หมทู ี่ ..................ตำบล……........……….. อำเภอ......................... จังหวัด .....................................

โทรศพั ท………………………………….. E-mail.…………..............…………………………………

3. ลักษณะอาคาร เอกเทศ

อาศยั แตม สี ัดสวนชดั เจน (ระบุ)..............................................................................

อาศัยแตไมม สี ดั สว นชดั เจน (ระบุ).........................................................................

4. พน้ื ทีใ่ ชสอยของ กศน. ตำบล แขวง / มขี นาด กวาง….......……..เมตร ยาว……........…..เมตร

5. หัวหนา กศน. ตำบล ชื่อ – นามสกุล..............................................................................................................

วุฒกิ ารศึกษา ..................................................สาขา..............................................

โทรศพั ท… ………...............……………………….. E-mail. ……………………………………………...


Click to View FlipBook Version