The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่2-ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Birdnissorn, 2019-09-15 04:12:17

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่2-ม.2

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่2-ม.2

723

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2

ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ นกั ออกแบบระบบ

รหัสวิชา ว22103 รายวิชา เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 เวลา 22

ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน

และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม

ตัวชี้วดั

ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานที่พบในชีวิต

จรงิ

ว 4.2 ม.2/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมทใี่ ชต้ รรกะและฟังก์ชันในการแกป้ ญั หา

ว 4.2 ม.2/3 อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการ

สอ่ื สาร เพ่อื ประยกุ ต์ใชง้ านหรอื แกป้ ญั หาเบ้อื งตน้

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

องค์ประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนการทางานต้ังแต่ระดับพื้นฐาน

ไปจนกระทั่งการทางานที่มีความซับซ้อน การเข้าใจการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ จะทาให้สามารถใช้งาน

ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นข้ันตอน อีกทั้งในการพัฒนาระบบจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ

การทางานของคอมพวิ เตอร์ สามารถออกแบบอัลกอริทึมโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณและใช้ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการ

เขียนโปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c ในการแกป้ ญั หาหรอื ประยกุ ตใ์ ช้งานในชวี ติ ประจาวนั ได้

3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. องคป์ ระกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
2. แนวคดิ เชิงคานวณ
3. การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ
4. ตวั อย่างปัญหา เชน่ การเข้าแถวตามลาดบั ความสูงให้เร็วทส่ี ดุ จดั เรยี งเสอื้ ให้หาได้งา่ ยทสี่ ุด
5. ตัวดาเนินการบลู นี
6. ฟังก์ชนั

724

7. การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใช้ตรรกะและฟงั กช์ นั
8. การออกแบบอัลกอริทมึ เพื่อแก้ปัญหา อาจใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการออกแบบเพื่อใหก้ าร
แกป้ ญั หามปี ระสิทธภิ าพ
9. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ Scratch, python, java, c
10. ตัวอยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตดั เกรด หาคาตอบทั้งหมด ของอสมการหลายตวั แปร
11. การแก้ปัญหาอย่างเปน็ ขน้ั ตอนจะชว่ ยให้แกป้ ญั หาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
12. การประยกุ ต์ใชง้ านและการแก้ปัญหาเบอื้ งต้น
ทักษะ/กระบวนการ
1. ทกั ษะในการทางานร่วมกัน
2. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
3. ทักษะการสือ่ สาร
4. ทกั ษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
5. ทักษะความคิดสร้างสรรค์
6. ทกั ษะกระบวนการทางานเป็นกลมุ่
7. วางแผนการแกป้ ญั หาโดยใช้โปรแกรมและผงั งาน
8. วางแผนการแกป้ ัญหาแบบลาดบั
9. วางแผนการแก้ปัญหาแบบทางเลอื ก
10. วางแผนการแก้ปัญหาแบบทางวนซ้า
11. การใชโ้ ปรแกรม
12. แก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนโดยใช้โปรแกรมภาษาหรือโปรแกรมประยุกตเ์ ป็นเครอ่ื งมือช่วยในการ
ดาเนินการแกป้ ญั หา
13. ทักษะการเลือกใชว้ ัสดุ อุปกรณ์
14. การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ ในกลุ่ม
15. การนาเสนอผลงาน
16. ทกั ษะในการแสวงหาความรู้ / สรุปสาระสาคญั
เจตคติ
1. เหน็ ความสาคัญของแก้ปญั หาหรือสนองความต้องการในงานทีผ่ ลติ โดยใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์
2. เห็นประโยชน์ในการนาซอฟตแ์ วร์มาใช้ในการทางาน โดยอยา่ งมีความสุข และภาคภูมิใจในผลงาน

4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

725

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. ซ่อื สัตย์สจุ ริต
2. มีวินยั
3. ใฝเ่ รียนรู้
4. มุ่งมนั่ ในการทางาน

6. การประเมินผลรวบยอด
ช้ินงานหรือภาระงาน
- ใบงานที่ 5.1 เรือ่ ง หลกั การทางานของคอมพิวเตอร์
- ใบงานที่ 6.1 เรือ่ ง อัลกอรึทึม
- ใบงานที่ 6.2 เร่อื ง การออกแบบอัลกอรทิ มึ โดยใชโ้ ปรแกรม Flowgorithm
- ใบงานท่ี 7.1 เร่อื งการพฒั นาโปรแกรมคานวณทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
- ใบงานท่ี 8.1 เร่ืองการเขียนคาส่ังเลือกทาและวนซา้
- ใบงานที่ 9.1 เรือ่ ง การเขยี นโปรแกรมโดยใช้ฟงั กช์ นั
- ใบงานที่ 10.1 เรื่อง สานต่องานทพี่ ่อทา ระบบสมาร์ทฟาร์ม (Smart Farm)
- ใบงานที่ 10.2 เรื่อง ระบบการรดน้าอัตโนมัติ
- ใบงานท่ี 11.1 โปรแกรมลกู เตา๋
- ใบงานท่ี 12.1 เร่อื งพัฒนาระบบอัตโนมัตดิ ว้ ยไมโครบิท
- ใบงานที่ 13.1 เร่ือง ตรรกะและฟงั กช์ ันใน Tinkercad
- ใบงานที่ 13.2 เรื่อง การนาเสนอโฟล์วชาร์ตฟงั กช์ นั เสียง
- ใบงานท่ี 14.1 เรือ่ ง การเขยี นโปรแกรมควบคุม LDR และ Servo motor โดยใช้ Tinkercad
- ใบงานท่ี 14.2 การนาเสนอ Flowchart และโปรแกรมในการใชท้ างเลือก
- ใบงานท่ี 15.1 เรอื่ ง การเขยี นโปรแกรมควบคุมโมดูล Ultrasonic และ Temp
- ใบงานที่ 15.2 การนาเสนอ Flowchart ในการเขียนโปรแกรมควบคุมโมดูล Ultrasonic และ
Temp

726

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน

ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

เกณฑ์การประเมนิ ด้านความรู้

1. การวิเคราะห์งาน วเิ คราะหง์ านได้ตรง วิเคราะห์งานไดต้ รง วิเคราะห์งานไดต้ รง วเิ คราะห์งานไดต้ าม
และวางแผนการ
ทางาน ประเดน็ ตามที่ ประเดน็ ตามที่ ประเดน็ ตามที่ ประเด็น วางแผน

กาหนด กาหนด กาหนด และเขียนแผนงานยัง

มีความถูกตอ้ ง มีความถูกตอ้ ง มีความถูกต้อง ไม่ชดั เจนที่จะนาไปสู่

วางแผนและเขยี น วางแผนและเขยี น วางแผนและเขยี น การปฏิบัติได้

แผนงานเปน็ แผนงานเปน็ แผนงานยังไม่

ขน้ั ตอนได้ชดั เจน ขัน้ ตอนนาไปสูก่ าร ชัดเจน

ละเอียด เข้าใจง่าย ปฏบิ ัตไิ ด้

สามารถนาไปสู่การ

ปฏบิ ัตแิ ละ บรรลุ

เป้าหมายได้

2. การตอบคาถาม คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ
คาถามดา้ นความรู้ คาถามดา้ นความรู้ คาถามดา้ นความรู้ คาถามด้านความรู้
ไดเ้ ทา่ กับ เท่ากบั 7-8 คะแนน ไดเ้ ท่ากบั 5-6 ตา่ กวา่ 5 คะแนน
9-10 คะแนน
คะแนน

3. การตอบคาถาม ตอบคาถามไดต้ รง ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามได้ตรง ตอบคาถามไม่ตรงตรง
เขยี นสรุปองค์ความรู้ ประเดน็
ประเด็นมีเหตุผล ประเดน็ มีเหตุผล ประเด็นบางส่วน เขยี นอธิบายไม่มี
เหตผุ ลใช้ภาษาใน
ประกอบอย่าง ประกอบอย่าง มีเหตผุ ลประกอบ การเขยี นไม่
เหมาะสม
เหมาะสมใช้ภาษา เหมาะสมเป็นส่วน ไมค่ รบประเด็นใช้

ในการเขียนได้ ใหญใ่ ชภ้ าษาในการ ภาษาในการเขียน

เหมาะสม ถูกต้อง เขียนไดเ้ หมาะสม มี เหมาะสมเปน็

อ่านง่าย มี ความคิดสร้างสรรค์ บางสว่ น

ความคดิ สรา้ งสรรค์ เขียนลาดับ

เขยี นลาดับ เหตุการณย์ งั ขาด

เหตกุ ารณ์ต่อเนื่อง การ ตอ่ เนื่อง

และเช่อื มโยงได้ดี

727

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

4. สรุปและเขียน สรุปการศึกษาและ สรปุ การศึกษาและ สรุปการศกึ ษาและ สรปุ การศกึ ษาและ
แผนภาพความคิด สืบค้นไดต้ รง สบื คน้ ได้ตรง สบื ค้นไดต้ รง สบื ค้นได้ไม่ตรง
ประเด็นแล้วนาสู่ ประเดน็ แล้วนาสู่ ประเดน็ การเขียน ประเด็น การเขยี น
การเขียนแผนภาพ การเขยี นแผนภาพ แผนภาพความคิด แผนภาพความคิดได้
ความคิดได้ถูกตอ้ ง ความคดิ ได้ถูกต้อง ได้ตรงกับเน้อื หา ผลงานไมส่ วยงาม
ตรงเนอ้ื หา ผลงาน ตรงเน้อื หา ผลงานไมส่ วยงาม
สวยงาม มี ผลงานสวยงาม
ความคิดสร้างสรรค์

5. การอธบิ ายความรู้ เขียนอธิบายเร่ืองท่ี เขยี นอธิบายเร่ืองที่ เขียนอธบิ ายเร่ืองท่ี เขียนอธิบายเร่ืองที่
ศกึ ษามาไดอ้ ยา่ ง ศกึ ษา พรอ้ มให้
ศกึ ษามาไดอ้ ยา่ ง ศึกษามาได้อยา่ ง ชัดเจน พร้อมให้ เหตุผล ช้ใี หเ้ หน็
เหตผุ ลทหี่ นกั แนน่ ความสาคัญของเร่ือง
ชดั เจน พร้อมให้ ชัดเจน พร้อมให้ ช้ใี หเ้ ห็น ที่ศกึ ษา แต่มีข้อมลู
ความสาคญั ของ ที่ไมเ่ ฉพาะเจาะจง
เหตุผลทห่ี นักแน่น เหตผุ ลทห่ี นกั แน่น เร่ืองท่ีศกึ ษา มี และไมส่ นบั สนนุ
ข้อมูลที่ ขอ้ สรุป
ชี้ให้เหน็ ชใี้ ห้เหน็ เฉพาะเจาะจง
สนับสนุนขอ้ สรปุ
ความสาคญั ของ ความสาคัญของ

เรอื่ งที่ศึกษา มี เรื่องท่ีศึกษา มี

ข้อมูลท่ี ขอ้ มูลท่ี

เฉพาะเจาะจง เฉพาะเจาะจง

สนบั สนุนข้อสรปุ สนับสนนุ ขอ้ สรุป

ใช้ภาษาสื่อสารได้ ใช้ภาษาได้

เหมาะสม พูด เหมาะสม

ชัดเจน

ภาษาทใี่ ชไ้ ม่กากวม

6. ข้นั ตอนการ เขียนขน้ั ตอนการ เขียนขน้ั ตอนการ เขียนขั้นตอนการ ไม่สามารถเขียน
แกป้ ญั หา แกป้ ัญหาได้ แกป้ ญั หาได้ แกป้ ัญหาไดแ้ ต่ไม่ ข้ันตอนการ
ครบถว้ นและ ครบถว้ นและ เป็นไปตามข้ันตอน แกป้ ญั หาตาม
ถกู ต้องตามขั้นตอน ถกู ต้องตามขัน้ ตอน ขั้นตอนได้
เป็นลาดับชดั เจน

728

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

7. การวิเคราะห์และ จากสถานการณ์ จากสถานการณ์ จากสถานการณ์ จากสถานการณ์
กาหนดรายละเอียด ปญั หาทก่ี าหนดให้ ปัญหาทก่ี าหนดให้ ปญั หาทกี่ าหนดให้ ปัญหาทีก่ าหนดให้
ของปัญหา สามารถวิเคราะห์ สามารถวเิ คราะห์ สามารถวิเคราะห์ ไมส่ ามารถวเิ คราะห์
ส่ิงท่ีต้องการคือ สิง่ ทตี่ ้องการคือ สิง่ ท่ีต้องการคือ ส่งิ ทต่ี ้องการคืออะไร
อะไร ขอ้ มลู ที่ อะไร ข้อมูลท่ี อะไร ข้อมูลท่ี ข้อมลู ที่กาหนดให้คือ
กาหนดให้คืออะไร กาหนดให้คืออะไร กาหนดให้คืออะไร อะไร เงอื่ นไขคอื
เงื่อนไขคืออะไร ได้ เงอื่ นไขคืออะไร ได้ เงื่อนไขคืออะไร แต่ อะไร ได้
ถกู ต้องทง้ั หมดและ ถกู ต้อง ยงั ไม่ชดั เจน
ชัดเจนทกุ ประเดน็

8. สญั ลักษณ์ที่ใช้ใน ใชส้ ัญลักษณต์ า่ ง ๆ ใชส้ ญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ใชส้ ญั ลักษณต์ ่าง ๆ ไมส่ ามารถเขียนผัง
การเขียนผงั งาน ทใี่ ชใ้ นการเขียนผงั ทีใ่ ชใ้ นการเขยี นผัง ที่ใช้ในการเขยี นผงั งานได้
งานได้ถูกต้อง งานไดถ้ ูกต้องส่วน งานไดถ้ ูกต้อง
ทั้งหมด ใหญ่ บางส่วน

9. คาสั่งโปรแกรม เขียนคาส่ัง เขียนคาสง่ั เขียนคาสั่ง ไม่สามารถเขยี น
โปรแกรม ที่ใช้ใน โปรแกรม ทใี่ ช้ใน โปรแกรม ท่ีใชใ้ น คาสง่ั โปรแกรม ท่ีใช้
การวาดรูปตามท่ี การวาดรปู ตามท่ี การวาดรูปตามท่ี ในการวาดรปู ตามที่
กาหนดได้ถูกต้อง กาหนดได้ถูกต้อง กาหนดได้ถูกต้อง กาหนดได้
ทง้ั หมด เปน็ สว่ นใหญ่ บางสว่ น

10. นาเสนอเนอื้ หาใน เนื้อหาสาระถกู ต้อง เนอ้ื หาสาระถูกต้อง เน้อื หาสาระถกู ต้อง เนือ้ หาสาระถูกต้อง
ผลงานไดถ้ กู ตอ้ ง ครบถ้วน รายละเอยี ด รายละเอียด รายละเอียดไม่
รายละเอียด ครอบคลุม ครอบคลุมเปน็ ครอบคลุม
ครอบคลุม ส่วนมาก
สอดคล้อง

11. ทกั ษะในการ เกณฑ์การประเมินด้านทักษะและกระบวนการ
ทางานรว่ มกนั การแบ่งหนา้ ที่ การแบง่ หน้าท่ี การแบง่ หนา้ ท่ี การแบ่งหน้าที่ ความ
ความรับผดิ ชอบ ความรบั ผดิ ชอบ ความรับผดิ ชอบ รบั ผดิ ชอบชดั เจน
ชดั เจน รว่ มคดิ รว่ ม ชัดเจน ร่วมคดิ ร่วม ชดั เจน รว่ มคดิ ร่วม วางแผน รว่ มมือ
วางแผน รว่ มมอื วางแผน รว่ มมอื วางแผน รว่ มมือ ทางาน แต่ ขาด

729

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ทางาน ช่วยเหลือ ทางาน ชว่ ยเหลือ ทางาน ชว่ ยเหลอื ความรบั ผดิ ชอบ ไม่
เอือ้ อาทรในการ เอ้ืออาทรในการ เอ้อื อาทรในการ ตรงต่อเวลา
ทางานมีความ ทางาน มีความ ทางาน มคี วาม
รับผิดชอบ ตรงต่อ รับผิดชอบ ตรงตอ่ รับผิดชอบ ตรงต่อ
เวลา รบั ฟงั ความ เวลา รับฟงั ความ เวลา
คดิ เหน็ ซึง่ กันและ คิดเหน็ ซ่ึงกันและ
กัน และรว่ มภมู ิใจ กนั
ในผลงาน

12. ทักษะการคิด วิเคราะห์ขนั้ ตอน วิเคราะห์ขั้นตอน วเิ คราะห์ขัน้ ตอน วเิ คราะห์ขนั้ ตอน
วิเคราะห์
กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน

ที่เลอื กได้ถูกต้อง ทเี่ ลือกได้ถูกต้องแต่ ทีเ่ ลือกไดถ้ ูกต้อง ท่ีเลือกไม่ถูกต้อง

และครบถ้วน ตาม ไมเ่ ป็นลาดบั บางสว่ น

ข้ันตอน

13. ทกั ษะการสื่อสาร นาเสนอ อภิปราย นาเสนอ อภปิ ราย นาเสนอ อภิปราย นาเสนอ อภิปราย
และตอบคาถามได้ และตอบคาถามได้ และตอบคาถามได้ และตอบคาถามได้
เข้าใจง่าย และมี เขา้ ใจง่าย แตม่ ีวิธกี ารไม่ ไม่เหมาะสมกบั
วิธกี ารนา่ สนใจ เหมาะสมกับ เหมาะสมกบั ลกั ษณะข้อมูล
เหมาะสมกับ ลกั ษณะข้อมูล ลกั ษณะข้อมลู
ลักษณะข้อมลู

14. ทักษะการคิด วเิ คราะหแ์ ละ วเิ คราะหแ์ ละ วเิ คราะหแ์ ละ วิเคราะหแ์ ละ
อย่างมีวจิ ารณญาณ ประเมิน ประเมิน ประเมนิ ประเมนิ สถานการณ์
สถานการณ์ ด้วย สถานการณ์ ดว้ ย สถานการณ์ ดว้ ย แต่ไม่มหี ลกั ฐาน ใน
หลกั ฐานทห่ี ลาก หลักฐาน แล้วลง หลกั ฐาน แลว้ ลง การลงข้อสรปุ
หมาย แล้วลง ขอ้ สรปุ ได้อย่าง ข้อสรุปได้อยา่ ง
ขอ้ สรปุ ได้อยา่ ง สมเหตสุ มผล สมเหตสุ มผล
สมเหตสุ มผล

15. ทกั ษะความคดิ มีการคดิ แจกแจง มีการคดิ แจกแจง มีการคิดแจกแจง ไมม่ ีการคิดแจกแจง

สรา้ งสรรค์ รายละเอียดของ รายละเอยี ดของ รายละเอียดของ รายละเอยี ดของ

730

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

วิธกี ารแก้ปัญหา วิธกี ารแกป้ ัญหา วธิ กี ารแกป้ ญั หา วธิ ีการแกป้ ัญหาหรอื
หรอื ขยายความคดิ หรอื ขยายความคดิ หรอื ขยายความคิด ขยายความคิด
ไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ได้สมบรู ณ์ แตข่ าดความชดั เจน
และมีรายละเอียดที่ และสมบรู ณ์
สมบูรณ์

16. ทักษะ รู้จักบทบาทหน้าท่ี รจู้ กั บทบาทหนา้ ท่ี รจู้ ักบทบาทหน้าท่ี รู้จักบทบาทหนา้ ท่ี
กระบวนการทางาน
เป็นกลุ่ม ภายในกลมุ่ ปฏิบตั ิ ภายในกลุ่ม ปฏิบตั ิ ภายในกลมุ่ ปฏิบตั ิ ภายในกลุม่ ปฏบิ ตั ิ

ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้

เหมาะสมทกุ คน มี เหมาะสมเปน็ สว่ น เหมาะสมเปน็ รบั ผดิ ชอบร่วมกันได้

การทางานเปน็ ทีมท่ี ใหญ่ มกี ารทางาน บางครง้ั รบั ผดิ ชอบ เป็นบางครงั้

ดรี บั ผิดชอบรว่ มกัน เปน็ ทมี ท่ีดี ร่วมกัน ไม่ค่อยมีคุณธรรมใน

เป็นผู้พูดและผู้ฟงั ท่ี รับผิดชอบร่วมกัน เปน็ ผู้พดู และผู้ฟังท่ี การทางาน

ดี มคี ณุ ธรรมในการ เป็นผู้พดู และผู้ฟงั ที่ ดี

ทางาน ดี มคี ุณธรรมในการ มีคณุ ธรรมในการ

ทางาน ทางาน

17. วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ ไม่สามารถวาง
แก้ปญั หาโดยใชร้ หัส แก้ปัญหา แกป้ ัญหา แก้ปญั หา แผนการแก้ปัญหา
ลาลองและผงั งาน โดยการเขยี น โดยการเขยี นเขยี น โดยการเขียนเขยี น โดยการเขียนเขียน
โปรแกรมใช้ โปรแกรมใช้ โปรแกรมใช้ โปรแกรมผงั งานได้
สญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ ที่ สญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ ที่ สญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ ที่
ใชใ้ นการเขียนผงั ใช้ในการเขียนผงั ใชใ้ นการเขยี นผัง
งานได้ถูกต้อง งานไดถ้ ูกต้องสว่ น งานไดถ้ ูกต้อง
ทั้งหมด ใหญ่ บางส่วน

18. วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ ไม่สามารถวาง
แกป้ ญั หาแบบลาดบั แก้ปญั หาแบบ แกป้ ัญหาแบบ แกป้ ัญหาแบบ แผนการแก้ปัญหา
ลาดบั โดยการเขยี น ลาดับโดยการเขยี น ลาดับโดยการเขียน แบบลาดับโดยการ
โปรแกรมและผงั โปรแกรมและผัง โปรแกรมและผัง เขียนโปรแกรมและ
งานได้ถูกต้อง งานไดถ้ ูกต้องสว่ น งานได้ได้ถูกตอ้ ง ผังงานได้

731

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ทัง้ หมด ใหญ่ บางสว่ น

19. วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ ไมส่ ามารถวาง
แกป้ ัญหาแบบ
ทางเลอื ก แกป้ ัญหาแบบ แกป้ ญั หาแบบ แก้ปัญหาแบบ แผนการแก้ปัญหา

ทางเลอื กโดยการ ทางเลือกโดยการ ทางเลอื กโดยการ แบบทางเลือกโดย

เขียนโปรแกรมและ เขียนโปรแกรมและ เขียนโปรแกรมและ การเขียนโปรแกรม

ผงั งานได้ถูกต้อง ผังงานไดถ้ ูกต้อง ผังงานได้ได้ถูกต้อง และผงั งานได้

ทง้ั หมด ส่วนใหญ่ บางส่วน

20. วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ ไมส่ ามารถวาง
แก้ปญั หาแบบทางวน แกป้ ัญหาแบบวน แกป้ ญั หาแบบทาง แกป้ ญั หาแบบวน แผนการแกป้ ัญหา
ซา้ ซา้ โดยการเขียน วนซ้าโดยการเขยี น ซา้ โดยการเขียน แบบวนซ้าโดยการ
โปรแกรมและผงั โปรแกรมและผัง โปรแกรมและผัง เขียนโปรแกรมและ
งานได้ถูกต้อง งานไดถ้ ูกต้องสว่ น งานได้ได้ถูกตอ้ ง ผงั งานได้
ทง้ั หมด ใหญ่ บางสว่ น

21. การใชโ้ ปรแกรม ใชโ้ ปรแกรม ตามที่ ใช้โปรแกรม ตามที่ ใชโ้ ปรแกรม ตามท่ี ไมส่ ามารถใช้

กาหนดได้ถกู ต้อง กาหนดได้ถูกต้อง กาหนดได้ถกู ต้อง โปรแกรม ตามที่

ทั้งหมด เป็นสว่ นใหญ่ บางสว่ น กาหนดได้

22. แกป้ ัญหาอยา่ ง ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการแก้ปัญหา ดาเนนิ การแก้ปญั หา

เป็นขั้นตอนโดยใช้ แก้ปัญหาด้วย แก้ปญั หาดว้ ย ดว้ ยโปรแกรมภาษา ดว้ ยโปรแกรมภาษา

โปรแกรมภาษาหรอื โปรแกรมภาษาหรอื โปรแกรมภาษาหรอื หรือโปรแกรม หรอื โปรแกรม

โปรแกรมประยุกต์เป็น โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยุกต์ ประยกุ ต์ไดส้ าเร็จโดย ประยกุ ต์ไดไ้ มส่ าเร็จ

เครอ่ื งมือชว่ ยในการ ได้สาเรจ็ ตามท่ี ได้สาเร็จโดยมกี าร มีการปรับปรุงตามที่

ดาเนินการแกป้ ญั หา วางแผนในการ ปรบั ปรุงตามที่ วางแผนในการ

แกป้ ัญหาไว้ วางแผนในการ แก้ปัญหาไว้เป็นสว่ น

แกป้ ญั หาไว้ ใหญ่

เล็กน้อย

23. ทกั ษะการเลือกใช้ เลือกใชว้ ัสดุ เลอื กใชว้ ัสดุ เลอื กใชว้ ัสดุ

วัสดุ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ได้ถูกต้อง อุปกรณ์ ได้ถูกต้อง อปุ กรณ์ ได้ถูกต้อง

732

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ครบถ้วนตามลาดบั ครบถว้ นตามลาดับ ครบถ้วนตามลาดบั

ขนั้ ตอน ขัน้ ตอน ข้นั ตอน

ถูกต้อง 3 ชนิด ถกู ต้อง _2 ชนิด ถกู ต้อง 1 ชนดิ

24. การมีส่วนร่วมของ รู้จักบทบาทหนา้ ท่ี รู้จักบทบาทหน้าที่ รู้จกั บทบาทหนา้ ท่ี

สมาชิกในกลุ่ม ภายในกลุ่ม ปฏิบตั ิ ภายในกลมุ่ ปฏิบตั ิ ภายในกลมุ่ ปฏบิ ตั ิ

ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้ ตามบทบาทได้

เหมาะสมทุกคน มี เหมาะสมเป็นส่วน เหมาะสมเป็น

การทางานเปน็ ทีมที่ ใหญ่ มีการทางาน บางครัง้ รับผิดชอบ

ดรี ับผดิ ชอบรว่ มกนั เปน็ ทีมทดี่ ี รว่ มกนั เป็นผู้พูด

เปน็ ผู้พูดและผู้ฟงั ที่ รับผดิ ชอบร่วมกนั และผฟู้ งั ทด่ี ี มี

ดี มคี ุณธรรมในการ เป็นผู้พูดและผู้ฟงั ท่ี คณุ ธรรมในการ

ทางาน ดี มคี ุณธรรมในการ ทางาน

ทางาน

25. การนาเสนอ มีความพร้อมในการ มีการเตรยี มสื่อการ มีการเตรียมส่ือการ
ผลงาน นาเสนอผลงาน แต่
นาเสนอผลงานโดย นาเสนอผลงานดี ลาดับการนาเสนอ
งานมี ข้อผดิ พลาด
มีการเตรยี มสื่อมา แตล่ าดบั การ บ่อยครั้ง เนื้อหาที่
นาเสนอตรงกับ
อย่างดี มีการ นาเสนองานมีการ วัตถุประสงคบ์ างข้อ

จดั ลาดบั การ ตดิ ขัดบางครั้ง การ

นาเสนอชัดเจน ม่งุ นาเสนอยงั มุง่ เนน้

นาเสนอเนอื้ หาที่ เนือ้ หาทต่ี รงกบั

ตรงกับวตั ถุประสงค์ วัตถุประสงค์

26. ทักษะในการ สรุปสาระสาคญั ได้ สรุปสาระสาคัญได้ สรปุ สาระสาคัญได้ สรุปสาระสาคัญได้ไม่
แสวงหาความรู้ / สรุป ครบและตรง และตรงประเด็นมี ตรงประเดน็ มี ตรงประเดน็ ใช้
สาระสาคัญ ประเดน็ มเี หตผุ ล เหตผุ ลประกอบ เหตุผลประกอบใช้ ภาษาไม่เหมาะสม
ประกอบอย่าง ใช้ภาษาได้ ภาษาได้ เหมาะสม สะกดคาถูกบ้าง ผิด
เหมาะสม ใช้ภาษา เหมาะสม สะกดคา สะกดคาถกู เป็น บ้าง
ไดเ้ หมาะสม สะกด ถูกต้อง สว่ นใหญ่
คาถกู ต้อง

733

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

เกณฑ์การประเมนิ ด้านเจตคติ

27. เหน็ ความสาคญั นากระบวนการ นากระบวนการ นากระบวนการ นากระบวนการ

ของแก้ปญั หาหรือ แก้ปัญหาสร้าง แก้ปญั หาสร้าง แก้ปญั หาสรา้ งชั้น แก้ปัญหาสร้างช้นั

สนองความต้องการใน ชิน้ งานทม่ี ีความคิด ชน้ิ งานท่มี ีความคิด งานแตไ่ ม่ได้ใช้ งาน แตไ่ ม่สมบูรณ์

งานทผี่ ลติ โดยใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์และ สรา้ งสรรคแ์ ต่ไม่ ความคิดสรา้ งสรรค์ ขาดความคดิ

สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ แปลกใหม่ สรา้ งสรรค์

28. เห็นประโยชนใ์ น เห็นประโยชน์ใน เหน็ ประโยชน์ใน เห็นประโยชนใ์ น ไม่เห็นประโยชน์ใน

การนาซอฟตแ์ วรม์ าใช้ การนาซอฟตแ์ วร์ การนาซอฟต์แวรม์ า การนาซอฟต์แวร์มา การนาซอฟตแ์ วร์มา

ในการทางาน โดย มาใชใ้ นการทางาน ใชใ้ นการทางาน ใช้ในการทางาน มี ใช้ในการทางาน ไม่มี

อยา่ งมีความสขุ และ โดยอย่างมีความสุข ตัง้ ใจทางานทกุ คร้ัง ความตง้ั ใจในการ ความตั้งใจในการ

ภาคภมู ใิ จในผลงาน และแสดงออกถึง ทางานอย่างมี ทางานในบางเวลา ทางาน ทางานอย่าง

ความภาคภมู ใิ จใน ความสุข ทางานอย่างมี ไม่มีความสขุ

ผลงาน ความสขุ ในบางครง้ั

เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นสมรรถนะ

29. ความสามารถใน พูดและเขียน พูดและเขียน พดู และเขยี น พดู และเขียน

การสือ่ สาร ถ่ายทอดความรูส้ กึ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ถ่ายทอดความรสู้ กึ

และทัศนะจากสาร และทัศนะจากสาร และทศั นะจากสาร และทศั นะจากสารที่

ที่ได้รบั ได้อย่าง ทไี่ ดร้ ับไดอ้ ย่าง ท่ไี ดร้ ับไดอ้ ยา่ ง ได้รับได้ไม่

สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล สมเหตสุ มผล สมเหตุสมผล และ

คลอ่ งแคล่วชัดเจน คลอ่ งแคลว่ ชัดเจน คลอ่ งแคล่วชัดเจน เลือกรับข้อมูล

ถกู ต้องตามหลัก ถกู ต้องตามหลัก และเลอื กรบั ข้อมูล ขา่ วสารโดยใช้วิธีการ

ภาษา จนทาให้ผูอ้ ื่น ภาษา และเลือกรบั ขา่ วสารโดยใช้ สือ่ สารไดไ้ ม่ถูกตอ้ ง

คล้อยตามและเลือก ข้อมลู ขา่ วสารโดย วิธีการสื่อสารได้ ไม่เหมาะสม

รับข้อมูลขา่ วสาร ใช้วิธีการสอ่ื สารได้ อยา่ งถูกต้อง

โดยใช้วธิ ีการสือ่ สาร อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมครบถ้วน

ได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสมครบถว้ น

เหมาะสมครบถ้วน อยา่ งมีจิตสานึกต่อ

อย่างมีจติ สานึกต่อ ตนเองและสงั คม

ตนเองและสังคม

734

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดมี าก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ทกุ ครง้ั

30. ความสามารถใน เขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เขียนแผนภาพ เขียนแผนภาพ
การคิด
ความคดิ การ ความคดิ การ ความคดิ การ ความคิดการ

ปฏิบัตงิ านท่ีเลอื กได้ ปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ลือกได้ ปฏิบัติงานที่เลือกได้ ปฏบิ ัติงานที่เลือกไม่

ถูกต้อง ครบถว้ น ถกู ต้องและ ถูกต้องบางประเด็น ถูกต้อง

ตามขน้ั ตอนทุก ครบถว้ น

ประเดน็

31. ความสามารถใน แกป้ ัญหาใน แกป้ ัญหาใน แก้ปญั หาใน ไม่สามารถแกป้ ัญหา
การแกป้ ัญหา ระหวา่ งการ ระหว่างการ ระหว่างการ ระหวา่ งการ
ปฏิบตั งิ านไดต้ าม ปฏิบัติงานไดต้ าม ปฏิบัตงิ านได้ตาม ปฏบิ ตั งิ านได้
สถานการณ์ เกดิ สถานการณ์ เกิด สถานการณ์
ผลดีต่อการ ผลดตี อ่ การ
ปฏิบัตงิ าน ไดร้ บั ปฏบิ ตั งิ าน
การยอมรับจาก
เพือ่ นรว่ มงาน

32. ความสามารถใน เลอื กใชว้ ัสดุ เลือกใชว้ สั ดุ เลือกใชว้ ัสดุ ไม่สามารถเลอื กใช้
การใช้ทักษะชีวิต
อปุ กรณ์และ อุปกรณ์และ อปุ กรณ์และ วสั ดุอปุ กรณ์และ

ปฏิบัตงิ านได้ตาม ปฏบิ ตั งิ านได้ตาม ปฏิบตั งิ านได้ตาม ปฏิบตั งิ านได้ตาม

กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน

ในแต่ละประเภท ในแตล่ ะประเภท ในแตล่ ะประเภท ในแต่ละประเภทของ

ของงาน ของงาน ของงานแต่ยังมี งาน

ได้อย่างถูกตอ้ ง ได้อย่างถกู ตอ้ ง ผดิ พลาด

เพือ่ นรว่ มงานให้

การยอมรบั

33. ความสามารถใน เลือกใชเ้ ทคโนโลยี เลือกใช้เทคโนโลยี เลือกใช้เทคโนโลยี เลอื กใช้เทคโนโลยไี ด้
การใช้เทคโนโลยี ได้อยา่ งถูกต้อง ไดอ้ ย่างถูกต้อง ใน ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ใน ไม่ถูกตอ้ ง ไม่
หลากหลายในการ การลดขั้นตอนเวลา การลดขน้ั ตอนเวลา สามารถลดขน้ั ตอน
ลดข้นั ตอนเวลา ทรัพยากร ในการ แต่ใช้ทรัพยากรใน เวลา ทรัพยากร ใน

735

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ทรัพยากร ในการ ทางาน โดยไม่มี การทางาน การทางานได้
ทางาน โดยไม่มี ผลกระทบกับผู้อ่นื สิ้นเปลือง
ผลกระทบกับผอู้ ่ืน
และเป็นแบบอย่าง
ทด่ี ไี ด้

เกณฑ์การประเมินดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

34. ซ่อื สตั ย์สุจรติ มคี วามซ่ือสัตยต์ อ่ ความซ่อื สัตยต์ ่อ ความซอ่ื สัตยต์ ่อ ความซื่อสัตย์ต่อการ
ทางานดผู ลงานของ
การทางานไม่ การทางานไม่ การทางานไม่ ผู้อืน่ เปน็ ตวั อย่าง

คัดลอกผลงานของ คดั ลอกผลงานของ คัดลอกผลงานของ

ผู้อ่ืน และมี ผู้อ่นื และมี ผู้อ่นื

ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์

ทาชน้ิ งานสวยงาม

35. การมีวนิ ยั ปฏบิ ตั ิตาม ปฏบิ ัตติ าม ปฏบิ ัติตาม ไม่ค่อยปฏบิ ัติตาม
กฎระเบยี บ กติกา กฎระเบียบ กติกา กฎระเบยี บ กติกา กฎระเบียบ กติกา
ของโรงเรยี น ของ ของโรงเรียน ของ ของโรงเรียน ของ ของโรงเรียน ของ
ห้องเรียน ของกลุ่ม หอ้ งเรยี น ของกลุ่ม ห้องเรยี น ของกลุม่ หอ้ งเรียน ของกลมุ่
ด้วยความเต็มใจ ไม่ ไม่ก่อกวนความ ได้เปน็ ส่วนใหญ่ ก่อกวนความราคาญ
กอ่ กวนความ ราคาญใหค้ รูและ ไมก่ ่อกวนความ ใหค้ รูและเพื่อนใน
ราคาญใหค้ รูและ เพอ่ื นในหอ้ งเรยี น ราคาญใหค้ รูและ ห้องเรียน
เพ่อื นในห้องเรียน เพื่อนในหอ้ งเรียน เป็นบางครั้ง

36. การใฝเ่ รยี นรู้ มคี วาม มคี วาม มีความ ไม่มีความ

กระตือรอื รน้ กระตือรือร้น กระตือรือรน้ กระตือรอื ร้น ขาด

อดทน เพยี ร อดทน ร้จู กั อดทน ใน ความอดทน

พยายาม แสวงหาความรู้จาก บางครั้ง ร้จู กั อดทน ไม่รจู้ ัก

มงุ่ ม่นั รู้จกั แสวงหา แหล่งเรียนรู้อนื่ ๆ แสวงหาความรจู้ าก แสวงหาความรู้จาก

ความรู้จากแหลง่ อยู่เสมอๆ แหล่งเรียนร้อู ่ืนๆ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ

เรยี นรู้อ่ืนๆ อยู่

เสมอๆ

736

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

37. มงุ่ มนั่ ในการ ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานที่ได้รบั ทางานท่ีไดร้ บั
ทางาน
มอบหมายเสร็จตาม มอบหมายเสร็จตาม มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายไม่เสร็จ

กาหนดเวลา กาหนดเวลา กาหนดเวลา ตามกาหนดเวลา

ผลงานมีความ ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานไม่มีความ

ถกู ต้อง ละเอียด ถูกต้อง เรยี บร้อย ถกู ต้อง แต่ยงั ไม่ เรยี บรอ้ ย

ประณตี เรียบร้อย เรยี บรอ้ ย

เกณฑ์คุณภาพ
คะแนน 10 -12 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดมี าก
คะแนน 7-9 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดี
คะแนน 4-6 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้
คะแนน 0-3 หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง

เกณฑ์การตดั สนิ ต้ังแต่ระดบั ........ดี................

เกณฑ์คณุ ภาพ
คะแนน 10 -12 หมายถึง ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก
คะแนน 7-9 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ดี
คะแนน 4-6 หมายถึง ระดับคณุ ภาพ พอใช้
คะแนน 0-3 หมายถึง ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง

เกณฑ์การตดั สิน ตงั้ แตร่ ะดบั ........ดี................

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เรือ่ ง องคป์ ร
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง นกั ออก
รายวชิ า เท

ขอบเขตเนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้
1. องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ ข้นั นา
2. หลกั การทางานของคอมพวิ เตอร์ 1. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกนั อภิปรา
คอมพวิ เตอร์ตามความเขา้ ใจขอ
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อะไรบ้าง
ดา้ นความรู้ 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภ
คอมพิวเตอร์ วา่ มีข้ันตอนหรอื ก
1. อธบิ ายองคป์ ระกอบและหลักการทางานของ ข้ันสอน
คอมพวิ เตอร์ได้ 1. ครอู ธิบายองค์ประกอบของ
ดา้ นทักษะและกระบวนการ
1.1 หนว่ ยรบั เข้า
1. คดิ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 1.2 หนว่ ยประมวลผลกล
ดา้ นคุณลักษณะ 1.3 หน่วยความจา
1.4 หน่วยส่งออก
1. มีความรบั ผิดชอบ 1.5 หน่วยเก็บขอ้ มลู
2. ทางานเปน็ ทีม 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันยกต
ทางานน้นั ๆ
3. ครูให้นกั เรยี นดคู ลปิ วีดโี อหล
4. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกันอภิปรา

737

ระกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ เวลา 2 ช่วั โมง
กแบบระบบ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2
ทคโนโลยี

ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้

- ใบความรู้ 5.1 เรื่อง องค์ประกอบและหลักการ

ายถึงองคป์ ระกอบของ ทางานของคอมพวิ เตอร์

องนักเรียนวา่ ประกอบดว้ ย - คลิปวีดโี อ เร่ือง หลกั การทางานของคอมพิวเตอร์

ตามล้ิงค์

ภิปรายถึงหลักการทางานของ https://www.youtube.com/watch?v=EFH5f6

กระบวนการทางานอย่างไร 1J4sQ

คลิปวดี ีโอ เรื่อง หลักการทางานของคอมพวิ เตอร์

งคอมพิวเตอร์ 5 หน่วย ได้แก่ ตามลิ้งค์

https://www.youtube.com/watch?v=UjpzBf6

ลาง NA50

เน้ือหาองคป์ ระกอบและหลักการทางานของ

คอมพวิ เตอร์ตามลิงค์

http://duanghatai11.blogspot.com

ตัวอย่างอุปกรณ์ที่อยู่ในหน่วยการ ภาระงาน/ชนิ้ งาน

- ใบงานท่ี 5.1 เร่ือง หลกั การทางานของ

ลกั การทางานของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์

ายและสรุปความรู้ท่ีได้รับจากคลิป

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 เรอ่ื ง องค์ปร
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง นกั ออก
รายวชิ า เท

วดี โี อที่ดูเรื่องหลักการทางานข
ขนั้ สรุป
1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปองค์ประ
2. นกั เรยี นร่วมกันสรุปหลักกา
3. ครสู รุปหลักการทางานของค
กระบวนการทางานร่วมกนั ของ
หน่วยประมวลผลกลาง หนว่ ย
เกบ็ ข้อมูล

738

ระกอบและหลักการทางานของคอมพวิ เตอร์

กแบบระบบ เวลา 2 ช่ัวโมง

ทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

ของคอมพิวเตอร์ หมายเหตุ

สถานท่ี : หอ้ งออกอากาศ DLTV

ะกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์เช่ือมต่ออนิ เตอรเ์ นต็

ารทางานของคอมพวิ เตอร์

คอมพวิ เตอร์ หน้าทก่ี ารทางาน

งท้ัง 5 หนว่ ย ไดแ้ ก่ หน่วยรับเขา้

ยความจา หน่วยสง่ ออกและหนว่ ย

739

การวดั และประเมินผล วิธีการ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์
สง่ิ ทตี่ ้องการวัด/ประเมิน ทางานใบงานท่ี 5.1 ใบงานที่ 5.1 ผา่ นเกณฑร์ ้อย
ละ 80
ดา้ นความรู้ การตอบคาถาม แบบบันทึกพฤติกรรมการ
1. อธบิ ายองคป์ ระกอบและ เรยี น ผา่ นเกณฑร์ ้อย
สังเกตการณ์ทางาน ละ 80
หลักการทางานของ กลมุ่ แบบสังเกตการณ์ทางาน
คอมพิวเตอร์ได้ กลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ร้อย
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ ละ 80

1. คิดแกป้ ญั หาอย่างเปน็
ระบบ
ดา้ นคณุ ลักษณะ

1. มคี วามรบั ผิดชอบและ
ทางานเป็นทีม

740

8. บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู้

............................................................................................................................. ................................................
ปัญหาและอปุ สรรค

.................................................................................................................................................................... ......
ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข

............................................................................................. ..............................................................................

ลงช่อื ......................................ผ้สู อน
(.......................................................)
วันท.่ี .....เดือน...............................พ.ศ.............

9. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย
...........................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ......................................ผู้ตรวจ
(.......................................................)
วันท.่ี .....เดือน...............................พ.ศ.............

741

ใบความรู้ 5.1 เร่ือง องคป์ ระกอบและหลกั การทางานของคอมพิวเตอร์
องคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 5 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ผู้ใช้ และ
กระบวนการ ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศท่ีนาเสนอในบทท่ี 1 เรื่องระบบ
สารสนเทศ ทั้งนี้เนื่องจากระบบสารสนเทศในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพ่ือจัดการกับข้อมูล
เป็นหลกั นน่ั เอง

1) ฮารด์ แวร์ (Hardware)
ฮาร์ดแวร์คอื เครอ่ื งมือหรืออปุ กรณท์ ั้งหมดท่ีเก่ยี วข้องกับคอมพิวเตอร์ ทั้งนีร้ วมถงึ อุปกรณ์เช่อื มต่อเพื่อ
เพม่ิ ประสทิ ธิภาพของคอมพวิ เตอร์ในด้านต่างๆ ด้วย ฮาร์ดแวรม์ หี ลายประเภท ทาหน้าทแ่ี ตกตา่ งกันตามระบบ
การทางานของคอมพิวเตอร์ ในหน่วยการเรียนรู้นี้ จะนาเสนอตัวอย่างของฮาร์ดแวร์ท่ีนิยมใช้งานในปัจจุบัน
ดังนี้

 แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) ทาหน้าที่รับข้อมูลตัวหนังสือหรอื สัญลักษณ์ต่างๆ ด้วย
การกดท่ีแป้นพิมพ์ ภายในจะมีแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแปลงตัวหนังสือหรือสัญลักษณ์ที่กดลงไปเป็นรหัส
หรอื ข้อมูลดิจิทัล มตี าแหนง่ ของแป้นพมิ พ์เรยี งกนั เหมอื นเคร่อื งพิมพด์ ีด

 เมาส์ (Mouse) เป็นฮาร์ดแวรท์ าหนา้ ท่ีรบั ขอ้ มูล ดว้ ยการควบคุมตัวช้ีตาแหนง่ หรือเคอรเ์ ซอร์
(Curser) บนจอภาพ โดยจะรบั ขอ้ มูลผา่ นคาสง่ั คลิก ดบั เบิลคลกิ คลกิ ขวา และแดรก (Drag)

 สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลท่ีได้จากการแปลงค่าแสงที่ตกกระทบวัตถุให้
เป็นสญั ญาณดิจิทลั ทแ่ี สดงผลออกมาในรูปแบบของไฟลร์ ปู ภาพภายในคอมพวิ เตอร์

 กล้องวีดีโอ (Video Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทภาพเคร่ืองไหว ซ่ึงจะ
บันทึกข้อมูลลงในหน่วยจัดเก็บข้อมูลสารอง มีน้าหนักเบา พกพาได้สะดวก สามารถดูไฟล์ภาพเคล่ือนไหวได้
จากจอภาพทีต่ วั กลอ้ ง

742

 การ์ดเครือข่าย (Network Card) หรือ การ์ดแลน (LAN Card) ทาหน้าท่ีเช่ือมต่อสัญญาณ
ระหว่างเครือ่ งคอมพวิ เตอรก์ บั ฮาร์ดแวรอ์ น่ื ๆ หรอื ระหว่างเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ด้วยกันในระบบเครอื ขา่ ย

 เมนบอร์ด (Mainboard) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีติดตั้งแผงวงจรไฟฟ้าหรืออุปกรณ์
อเิ ล็กทรอนกิ สห์ ลายๆ สว่ นเข้าด้วยกนั เช่น ซพี ยี ู แรม การด์ แสดงผล การด์ เสียง เปน็ ตน้

 ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นฮาร์ดแวร์สาหรับบันทึกข้อมูลหลักที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ สามารถ
เก็บข้อมูลได้มากกว่าส่ือบันทึกอ่ืนๆ มีหลักการทางานเหมือนกับแผ่นดิสก์เกตต์ คือ การอ่านข้อมูลบนจาน
แมเ่ หลก็

 เคร่ืองอ่านซีดี/ดีวีดี (CD/DVD Drive) ใช้สาหรับอ่านและบันทึกข้อมูลด้วยซีดีหรือดีวีดี มี
หลักการทางานด้วยการบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงบนจานแมเ่ หล็ก

 จอภาพ (Monitor) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าท่ีแสดงผลเพ่ือส่ือสารกับผู้ใช้เป็นหลัก ปัจจุบันมี
การพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง แบ่งเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ จอภาพวีจเี อ แบบพลาสมา แลจอภาพแบบสัมผสั

743

 ลาโพง (Speaker) ทาหนา้ ทแี่ สดงผลขอ้ มลู ในรูปแบบเสยี ง

 เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นฮาร์ดแวร์ท่ีทาหน้าท่ีในหน่วยแสดงผล ใช้สาหรับแสดงผลข้อมลู ใน
รปู แบบสงิ่ พิมพ์

 ยูเอสบีแฟรสไดรฟ์ (USB Flash Drive) ทาหน้าท่ีจัดเก็บหรือบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึก
ข้อมูลสารองที่นยิ มใช้มากในปัจจบุ ัน เน่ืองจากมรี ูปแบบที่สวยงาม น้าหนักเบา พกพาสะดวก

 เคส (Case) เป็นกล่องเหล็กหรือพลาสติกแข็ง ใช้สาหรับติดต้ังฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เช่น
เมนบอรด์ เครือ่ งจา่ ยไฟ เครื่องอา่ นเขยี นแผ่นซดี /ี ดีวดี ี การด์ เป็นตน้

2) ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์คือโปรแกรมหรือชุดคาสั่งท่ีทาให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ ซอฟต์แวร์
แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื ซอฟต์แวร์ระบบ และ ซอฟตแ์ วรประยุกต์
1. ซอฟต์แวรร์ ะบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวรท์ ่ีชว่ ยในการจัดการระบบ
คอมพิวเตอร์ จัดการทางด้านอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบน
จอภาพ การนาข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การดูแล การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การ
ส่ือสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ ซอฟต์แวร์
ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์
เป็นต้น

744

ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ท่ีเรียกว่า
ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคาสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อื่นๆ ของคอมพิวเตอร์ให้
ทางานอย่างถูกต้อง ซอฟต์แวร์นี้เช่ือมอยู่ระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์กับฮาร์ดแวร์ที่เป็นหน่วย ประมวลผล
หน่วยความจา หน่วยขับแผ่นบันทึก แผงแป้นอักขระและจอภาพ ในเคร่ืองระดับไมโครคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบตั ิการน้ีจะส่งงานผา่ นไปยังโปรแกรมควบคุมการจัดการพ้ืนฐาน ซงึ่ เป็นโปรแกรมย่อยขน้ั พื้นฐานของ
การตดิ ต่อไปยังฮาร์ดแวรข์ องระบบอีกต่อ หนง่ึ

การนาไมโครคอมพวิ เตอร์มาใชง้ าน ผู้ใช้จาเปน็ ต้องเรียนรู้คาสงั่ ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการใหไ้ ด้ใน
ระดับหน่ึง เพื่อเป็นพื้นฐานขั้นต้นของการเรียกติดต่อกับคอมพิวเตอร์เช่น การขอดูรายการข้อมูลที่เก็บในแผ่น
บนั ทึก การจัดรูปแบบแผ่นบันทึกเพ่อื นามาเกบ็ ข้อมลู การสาเนาแฟ้มข้อมูล การลบแฟ้มข้อมลู และการเปลี่ยน
ชือ่ แฟ้มข้อมูลใหม่ เป็นต้น การเรียนรู้ระบบปฏิบัติการได้ละเอียดลึกซึ้งมากก็ยิ่งจะช่วยให้สามารถเรียก ติดต่อ
ใชง้ านคอมพิวเตอรไ์ ดม้ ากยิ่งขนึ้

ระบบปฏิบัติการสาหรับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็นระบบปฏิบัติการท่ที างานเพียงงานเดียว
ในเวลาหนึ่ง เช่น ซีพีเอ็ม เอ็มเอสดอส พีซีดอส แอปเปิ้ลดอส และระบบปฏิบัตกิ ารท่ีทางานพร้อมๆกนั หลายๆ
งานในเวลาเดยี วกนั เรยี กว่าระบบหลายภารกจิ (multitasking system) เชน่ โอเอสทู วินโดวส์ 95

1. ซพี เี อ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M)
ซีพีเอ็ม (Control Program/Microcomputer : CP/M) จัดเป็นระบบปฏิบัติการรุ่นแรกๆ ท่ีนามาใช้
งานกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ขนาด 8 บิต ซึ่งปัจจุบันน้ีล้าสมัยแล้วหลังจากเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ได้
ขยายมาเป็นเครื่องขนาด 16 บิต ก็ได้มีการเขียนระบบปฏิบัติการข้ึนใหม่ คือ เอ็มเอสดอส (Microsoft Disk
Operating System : MS-DOS) พี ซี ด อ ส (Personal Computer Disk Operating System : PC-DOS)
ระบบปฏิบตั กิ ารเอม็ เอสดอสนไ้ี ด้รบั ความนยิ มนามาใชง้ านกบั เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอรร์ ะดบั พซี ี
2. เอม็ เอสดอส
เอ็มเอสดอสมีรากฐานมาจากระบบปฏิบัติการซีพีเอ็มน่ันเอง โดยการเขียนโปรแกรมสาหรับใชง้ านกับ
ไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูลอินเทล ขนาด 16 บิต เบอร์ 8088 ขึ้นใหม่ท่ียังคงรูปแบบลักษณะคาส่ังคล้าย
ของเดิม เม่ือมีการปรับปรุงเพิ่มขยายในเวลาต่อมาเป็นรุ่น 2.0 จึงได้มีการพัฒนาขีดความสามารถให้สูงขึ้นอีก
มากมาย โดยในรุ่น 2.0 น้ีจะมีรูปแบบคาสั่งท่ีคล้ายคลึงกับคาส่ังในระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ โดยเฉพาะด้านการ
จัดการขอ้ มลู ในฮารด์ ดสิ ก์ทจ่ี ัดเปน็ โครงสร้างตน้ ไม้ของการ แบ่งระบบแฟม้ เป็นระบบยอ่ ย
เอ็มเอสดอสเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมาะสาหรับงานงานเดียว แม้จะมีซอฟต์แวร์มาเสริมช่วยการใช้
งานในลักษณะหน้าต่าง (window) ทาให้สามารถทางานหลายอย่างพร้อมกันแต่ก็ยังทาได้ไม่ดีนัก เพราะไม่ได้
มีการออกแบบมาเพ่ืองานหลายช้ินโดยเฉพาะ เม่ือขีดความสามารถของฮาร์ดแวร์สูงข้ึน ระบบปฏิบัติการท่ี
เหมาะสาหรับฮาร์ดแวร์จึงได้รับการพัฒนาเพื่อมาทดแทนเอ็มเอสดอส เช่น ระบบปฏิบัติการ โอเอสทู และ
วินโดวส์ 95

745

3. ระบบปฎิบัตกิ ารโอเอสทู และวินโดวส์ 95
ระบบ ปฏิบัติการโอเอสทู และวินโดวส์ 95 ถือเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและสร้างมาใช้กับ
เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์ ตระกูลพีเอสทูของบริษัทไอบีเอ็มจากัดเป็นระบบปฏิบัติการที่นามาชดเชยขีด จากัด
ของเอ็มเอสดอสเดิม ด้วยการเพ่ิมลักษณะพิเศษของการทางานหลายงานพร้อมกัน เทคนิคการเรียกใช้คาส่ัง
เป็นเมนูและสญั รปู (icon)

4. ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนาและออกแบบสาหรับงานด้านวิชาการ และ
ประยุกต์ใชท้ างด้านวทิ ยาศาสตร์ บนเครื่องมินคิ อมพิวเตอร์ แต่ในภายหลงั ก็ได้ปรับปรุงไปใช้บนเคร่อื งเกอื บทุก
ระดบั รวมถึงเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ด้วย ระบบปฏิบัติการยูนิกซเ์ ป็นระบบใหญ่และซับซ้อน สามารถให้ผู้ใช้
หลายรายทางานหลายงานพร้อมกัน อย่างไรก็ตามจะมีขีดจากัดที่หน่วยความจาของระบบ เป็น
ระบบปฏบิ ตั กิ ารทนี่ ิยมใช้เปน็ เครือขา่ ยเพอ่ื การติดตอ่ ส่ือสารข้อมูลรว่ มกนั
2. ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ (Application software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวรท์ ี่เขียนขึ้นเพ่ือ
ประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง
ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น การทางานใดๆ โดยใช้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์จาเป็นต้องทางานภายใต้สิ่งแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์
ประมวลคาตอ้ งทางานภายใตซ้ อฟตแ์ วร์ระบบปฏิบตั ิการเอม็ เอสดอสหรือวินโดวส์ เปน็ ตน้
ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ตย์ งั แบง่ แยกออกเปน็ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขน้ึ ใช้งานเฉพาะและซอฟตแ์ วร์สาเร็จ
1) ซอฟต์แวร์ท่ีเขียนขึ้นใช้งานเฉพาะ คือ ซอฟต์แวร์ท่ีเขียนตามความต้องการของผู้ใช้หรือ
เฉพาะงานใดงานหนึ่ง ผู้เขียนต้องเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์นั้นเป็นอย่างดี เช่น ซอฟต์แวร์
สาหรบั งานจัดเกบ็ ภาษีของกรมสรรพากร ซอฟต์แวรง์ านธนาคาร
2) ซอฟต์แวร์สาเร็จ เป็นซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายท่ัวไปผู้ใช้สามารถหาซื้อ
มาประยกุ ต์ใช้งานทั่วไปได้ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวรต์ ารางทางาน ซอฟตแ์ วร์จดั การฐานข้อมลู

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหน่ึงมาจากขีด
ความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ันๆ เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกัน

746

หลายๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ท่ีอ่าน
เขา้ ใจงา่ ย ให้วิธหี รอื ขนั้ ตอนทอ่ี ธบิ ายไว้อยา่ งชัดเจน และมีระบบโอนยา้ ยข้อมูลเข้าออกกับซอฟตแ์ วร์อนื่ ได้ง่าย

ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ใช้งานท่ัวไป และ
ซอฟต์แวร์ใชง้ านเฉพาะทาง

ซอฟตแ์ วร์ท่ใี ช้งานทวั่ ไป
ซอฟต์แวร์ใช้งานท่ัวไป เป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใชง้ านจะต้องเป็น
ผ้นู าไปประยุกต์กับงานของตน ผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาช้ินงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของ
ซอฟต์แวร์ใชง้ านทว่ั ไปนจี้ ะไมส่ งู มากเกนิ ไป
ซอฟตแ์ วร์ใช้งานท่ัวไปซง่ึ นยิ มเรียกว่า ซอฟตแ์ วร์สาเร็จ แบ่งออกเปน็ หลายกลมุ่ ตามลักษณะการใช้งาน คือ

 ด้านการประมวลคา

 ดา้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล หรอื ตารางทางาน

 ดา้ นการเก็บและเลือกคน้ ขอ้ มูลเปน็ ระบบฐานขอ้ มูล

 ดา้ นการติดต่อส่อื สารทางไกล

 ดา้ นการพิมพต์ ง้ั โตะ๊

 ดา้ นการลงทุนและการจัดการเงิน

 ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรม

 ด้านภาพกราฟิกและการนาเสนอขอ้ มูล

 ดา้ นการจาลอง เกม และการตัดสนิ ใจ
ในบรรดาซอฟต์แวรส์ าเรจ็ ท้ังหลายในกลุ่มน้ี กลุ่มซอฟตแ์ วร์ท่ีมีการใช้งานมากและจาเปน็ ต้องมปี ระจา
หน่วยงาน มักจะเป็นส่รี ายการแรก คือ ดา้ นการประมวลคา ดา้ นตารางทางาน ดา้ นระบบฐานขอ้ มูล และด้าน
การส่ือสาร นอกจากน้ีซอฟต์แวร์ที่กาลังได้รับความนิยมสูงขึ้น ได้แก่ ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิกเพ่ือนาเสนอข้อมูล
และซอฟตแ์ วร์การพมิ พ์ต้งั โตะ๊
ซอฟต์แวร์สาเร็จส่วนใหญ่หรือเกือบท้ังหมดเป็นโปรแกรมประยุกต์เชิงพาณิชย์ที่มาจากต่างประเทศ
ยกเว้นเฉพาะกลุ่มแรก คือ โปรแกรมประมวลคาที่ประเทศไทยมีสร้างและพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถ
นามาใช้งานร่วมกบั ภาษาไทย โดยการนาซอฟต์แวรเ์ ดิมมาดัดแปลงและเพ่ิมเตมิ ส่วนทใี่ ชง้ านเปน็ ภาษาไทย
นอกจากซอฟต์แวร์สาเร็จที่กล่าว ยังมีซอฟต์แวร์สาเร็จซึ่งนาความสามารถของงานหลายๆ ด้านมา
รวมอยู่ในโปรแกรมเดียวกัน เพื่อให้สามารถใช้งานหลายอย่างได้พร้อมกัน คือ จะใช้ได้ทั้งประมวลคา ตาราง
ทางาน จัดการฐานข้อมูล การนาเสนอข้อมลู และอาจรวมถึงการสือ่ สารข้อมลู ด้วย
ซอฟต์แวร์สาเร็จอาจไม่สามารถนาไปใช้กับงานโดยตรง จะต้องมีการเปล่ียนแปลงแก้ไขหรือพัฒนา
เพ่ิมเติม ซ่ึงการแก้ไขน้ีอาจต้องใช้เวลาและกาลังงาน ในบางคร้ังก็ยังไม่สามารถสนองความต้องการได้ จึงเกิด
การพัฒนาซอฟต์แวร์เพือ่ ใช้งานเฉพาะอาชีพหรือเฉพาะทาง
ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์เฉพาะทาง

747

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะทาง เป็นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสาหรับนาไปใช้งาน
เฉพาะด้าน หรือในอาชีพใดอาชีพหน่ึง เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการ
ลกู ค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทน้ีในท้องตลาดท่ัวไป แต่จะซื้อหาได้จากผู้ผลิตหรือ
ตวั แทนจาหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกวา่ ซอฟตแ์ วร์ ทใี่ ชง้ านทัว่ ไป

โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพ่ือใช้เก็บข้อมูลลูกค้า และระบบ
ของงาน ภายในซอฟตแ์ วรค์ วรจะมีส่วนทางานประมวลคาเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโตต้ อบจดหมาย และการ
นัดหมายตามกาหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางน้ี มีทั้งรูปแบบที่มีผูใ้ ช้งานคนเดียว หรอื ผู้ใช้งานได้
พรอ้ มกันหลายคน

ในประเทศไทยมีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้งานเฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ท่ี
บริษทั ผู้ผลิตตา่ งประเทศไดอ้ อกแบบมาเพื่อรองรบั งานด้านธรุ กจิ ในทนี่ ้ไี ด้รวบรวมจัดประเภท ไวด้ งั นี้

1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหน้ี บัญชีลูกหน้ี บัญชีสินทรัพย์ถาวรและ
ค่าเสื่อมราคาสะสม บญั ชีแยกประเภทท่ัวไป และบญั ชเี งนิ เดือน

2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจาหน่าย ได้แก่ ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสินค้าคงคลัง
ระบบงานควบคมุ สนิ ค้าแบบจานวนและรายชน้ิ และระบบงานประวัตกิ ารขาย

3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ ระบบงานกาหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์
การวางแผนกาลังการผลิต การคานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิต
หลกั การวางแผนความต้องการวัสดุ การควบคมุ การทางานภายในโรงงาน การกาหนดเงินทนุ มาตรฐานสินค้า
และการกาหนดข้นั ตอนการผลิต

4) ซอฟต์แวร์อืน่ ๆ ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริหารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ และ
การเชา่ ซื้อรถยนต์

3) ข้อมลู
ขอ้ มลู ในทนี่ ี้จะมคี วามหมายรวมถึงขอ้ มูลดิบที่ยงั ไม่ไดผ้ ่านการประมวลผล และสารสนเทศทเี่ ปน็ ขอ้ มูล
ที่ผ่านการประมวลผลแล้ว เมื่อนามาใช้ในระบบคอมพิวเตอร์แล้วจะถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลหรือ
สญั ญาณดจิ ิทลั โดยมชี นดิ ของข้อมูล รูปแบบของแฟม้ ข้อมลู และประเภทของแฟม้ ข้อมลู ดังนี้
ชนิดของข้อมูล ข้อมูลจะถูกเรียงลาดับจากเล็กไปใหญ่ ได้แก่ บิต ตัวอักษร เขตข้อมูลหรือฟิลด์
ระเบียนข้อมูล แฟ้มข้อมูล และฐานข้อมูล ข้อมูลแต่ละบิตจะมีลักษณะเฉพาะของตัวเองซึ่งสามารถแบ่งเป็น
ชนดิ ตา่ งๆ ตามลักษณะได้ดังนี้

1. เลขจานวนเต็ม (Integer)
2. คา่ ตรรกะ (Boolean or Logical)
3. ตวั อักษร (Character)
4. สายอกั ขระ (String)

748

5. เลขจานวนจรงิ (Floating-Point Number)
6. วันและเวลา (Date/Time)
7. ไบนารี (Binary)
รูปแบบของแฟ้มข้อมูล เน่ืองจากข้อมูลท่ีใช้ในการประมวลผลมีจานวนมากกว่าที่จะเก็บไว้ใน
หน่วยความจาหลัก จึงมีการจัดเก็บข้อมูลไว้ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูล เพื่อให้มีความเป็นอิสระจากกัน โดย
ในขณะทม่ี ีการประมวลผลนนั้ ขอ้ มูลจะถกู เก็บไว้ท่ีหน่วยความจาหลัก แล้วจะลบทิ้งไปเม่ือมีการทางานสิน้ สุด

ประเภทของแฟม้ ข้อมลู ภายในคอมพิวเตอรจ์ ะมีแฟม้ ขอ้ มูลท่ใี ชง้ าน 2 ลักษณะ คอื แฟม้ ข้อมูลทนี่ าไป
ประมวลผลเพ่ือให้ได้สารสนเทศ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล และแฟ้มข้อมูลท่ีเป็นโปรแกรมสาหรับนาไปประมวลผล
แฟ้มข้อมูลในชนดิ แรกอีกทหี นง่ึ เรียกว่า แฟม้ โปรแกรม

4) ผู้ใช้
คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีใช้งาน โต้ตอบ ควบคุม และดูแลคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้ที่ดีควรมีความรู้และ
ความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานได้ดีย่ิงขน้ึ ผู้ใช้สามารถแบ่งตาม
ลกั ษณะการใชง้ านคอมพวิ เตอร์ได้ 5 ประเภท คือ ผใู้ ช้งานตามบ้าน ผู้ใช้งานตามสานักงานขนาดเลก็ ผใู้ ชง้ านท่ี
ต้องกาความคล่องตัว ผใู้ ชง้ านตามสานกั งานใหญ่ และผูใ้ ชง้ านสมรรถนะสูง

5) กระบวนการ
ข้ันตอนการทางานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานจนกระท่ังไดผ้ ลลัพธ์ตามความต้องการของผู้ใช้ กระบวนการ
ทางานทีด่ ีจะต้องเกิดจากผใู้ ช้มคี วามรู้ ความสามารถในการใชง้ าน ข้อมูลมีความถกู ตอ้ ง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
มปี ระสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิงานเพ่ือใหไ้ ด้ผลลัพธต์ ามที่ต้องการ

คอมพิวเตอร์ คือ เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลใน
รูปแบบดิจิทัล ทาให้สามารถส่งเสริมการทางานด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน คอมพิวเตอร์มี
ลักษณะการทางานภายใต้การควบคุมของชุดคาส่ังที่มนุษย์เขียนข้ึน โดยจะทางานอย่างเป็นระบบผ่าน
สว่ นประกอบตา่ งๆ ของคอมพวิ เตอร์

หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
การทางานของคอมพิวเตอรจ์ ะประกอบไปด้วยหน่วยการทางานหลักๆ 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยรบั ข้อมูล

หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา และหน่วยแสดงผล โดยจะเร่ิมจากการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบ
คอมพวิ เตอร์ผา่ นหน่วยรบั ขอ้ มลู แบ่งข้อมูลออกเปน็ แฟ้มข้อมูลเพื่อจดั เกบ็ ในหน่วยความจา แลว้ นาแฟ้มข้อมูล
ดังกล่าวไปประมวลผลท่ีหน่วยประมวลผลกลาง ซึ่งหน่ วยประมวลผลกลางจะมีการทางานร่วมกับ

749

หน่วยความจาตลอดเวลา จากน้ันคอมพิวเตอร์จึงส่งสารสนเทศที่ได้ไปยังหน่วยแสดงผลในรูปแบบที่ผู้ใช้
กาหนดไว้

3.หน่วยความจารอง
(Secondary Storage)

1.หน่วยรับข้อมลู 2. หน่วยประมวลผลกลาง 4. หนว่ ยแสดงผล
(Input Unit) (Central Processing Unit) (Output Unit)

3.หนว่ ยความจาหลกั
(Primary Storage)

รูปแสดงความสัมพนั ธ์ขององค์ประกอบพน้ื ฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยตา่ งๆ ทีท่ างานในระบบคอมพวิ เตอร์จะมหี น้าที่ต่างๆ กนั ดังน้ี

1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูล โปรแกรม และคาสั่งจากผู้ใช้ โดยจะแปลง
ข้อมูลที่ได้รับในรูปแบบต่างๆ ให้เป็นข้อมูลหรือสัญญาณดิจิทัล แล้วส่งไปยังหน่วยความจา เพื่อนาไป
ประมวลผลในหน่วยประมวลผลกลางตอ่ ไป

แปลงขอ้ มลู 01001001
10110110
01110110
01001100

2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือที่นิยมเรียกส้ันๆ ว่า ซีพียู (CPU)

จัดเป็นมันสมองของระบบสารสนเทศ เนื่องจากทาหน้าท่ีในการประมวลผลคาส่ังและควบคุมการทางาน

ทงั้ หมดของระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ไดแ้ ก่

2.1 หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ทกุ สว่ น โดยจะดูแล

เวลาในการประมวลผลตามคาส่ังท่ีไดร้ บั ให้มีการประมวลผลเป็นจงั หวะตามสัญญาณนาฬิกา

2.2 หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit) ทาหน้าท่ีคานวณทางคณิตศาสตร์

เช่น บวก ลบ คูณ หาร และเปรยี บเทยี บค่าของขอ้ มูลทางตรรกศาสตร์ เช่น มากกว่า นอ้ ยกว่า เปน็ ตน้

750

3. หน่วยความจา (Memory Unit) แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หน่วยความจาหลัก และ
หน่วยความจาสารอง โดยหน่วยความจาหลักจะต้องทางานร่วมกับหน่วยประมวลผลกลาง เม่ือผ่านการ
ประมวลผลขอ้ มูลและปิดเคร่อื งคอมพวิ เตอร์แล้ว ข้อมูลท่เี ก็บไว้ทง้ั กอ่ นและหลังขณะท่ีทางานจะหายไป ข้อมูล
ดังกล่าวจึงไม่สามารถนากลับมาใช้ได้อีกในอนาคต จึงต้องบันทึกข้อมูลไว้ในหน่วยความจาสารอง เพื่อเก็บ
รักษาข้อมลู ดงั กลา่ วไว้ด้วย

3.1 หน่วยความจาหลัก (Primary Storage) ข้อมูลท่ีเก็บไว้ในหน่วยความจาหลักน้ี จะเป็นข้อมูลท่ี
จาเป็นต้องใช้ในหน่วยประมวลผลกลาง โดยจะเรียกใช้หรือเตรียมข้อมูลให้พร้อมก่อนส่งไปยังหน่วย
ประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลักแบง่ เปน็ 3 ประเภท คือ

3.1.1 หน่วยความจาแรม (RAM : Random Access Memory) ทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลหรือซอฟต์แวร์
ในระหว่างท่ีมกี ารประมวลผลข้อมลู โดยข้อมลู และซอฟตแ์ วรน์ จ้ี ะถกู ลบหายไปทันทีเม่ือปิดคอมพวิ เตอร์

3.1.2 หน่วยความจารอม (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่บันทึกข้อมูลคาสั่ง
เริ่มต้นของระบบ ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลท่ีถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตฮาร์ดแวร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์น้ัน
ข้อมูลในหนว่ ยความจารอมจะไม่ถูกลบหายไปถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ซ่ึงข้อมูลเหล่านจ้ี ะไม่สามารถ
ลบหรอื แกไ้ ขได้ด้วยวธิ ีปกติ

3.1.3 หน่วยความจาซีมอส (CMOS Memory) เป็นหน่วยความจาที่ใช้เก็บข้อสนเทศท่ีใช้เป็นประจา
ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ประเภทของฮาร์ดดิสก์ โดยจะใชก้ ระแสไฟฟ้าจากแบตเตอร่ีที่ติดตั้งบนเมนบอร์ด
ดังน้ันเม่ือปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ข้อมูลจึงไม่สูญหาย และสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้อัตโนมัติเมื่อมีการ
เปล่ยี นแปลงอุปกรณ์นั้น

3.2 หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage) ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้เพ่ือให้สามารถ
นาข้อมูล ชุดคาส่ัง หรือซอฟต์แวร์นั้นๆ กลับมาใช้ใหม่ในอนาคตได้ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาสารองมีทั้งท่ี
เป็นข้อมูลดิบท่ียังไม่ผ่านการประมวลผลและสารสนเทศต่างๆ มักมีขนาดใหญ่กว่าข้อมูลท่ีบันทึกใน
หน่วยความจาหลัก โดยหน่วยความจาสารองหลกั ที่ใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ ฮารด์ ดสิ ก์ ส่วนฮาร์ดแวรใ์ น

751

หน่วยความจาสารองอ่ืนๆ จะออกแบบมาเพ่ือให้สามารถพกพอได้สะดวก ฮาร์ดแวร์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
แผน่ ซดี ี แผ่นดีวดี ี และ USB Flash Drive

4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่ติดต่อสื่อสารและแสดงผลต่อผู้ใช้ ท้ังในขณะที่ทาการ
ประมวลผลและหลังจากการประมวลผลเสร็จแล้ว ซึ่งจะรบั สารสนเทศท่ไี ด้จากหนว่ ยประมวลผลกลางมาแปลง
ให้เป็นขอ้ มูลหรือสารสนเทศในรูปแบบท่ีผูใ้ ช้เขา้ ใจ โดยทวั่ ไปจะใชจ้ อภาพ (Monitor) เพือ่ ตดิ ต่อส่ือสารกับผูใ้ ช้
เป็นหลัก นอกจากน้ียังใช้ฮาร์ดแวร์ประเภทอ่ืนๆ นาเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบท่ีผู้ใช้ต้องการ เช่น
การแสดงผลเป็นเอกสารส่ิงพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (Printer) และการแสดงผลเป็นเสียงด้วยลาโพง
(Speakerphone)

752

ใบงานท่ี 5.1
ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
1. จงเตมิ ข้อความลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกต้อง

จากแผนภาพดา้ นบน ระบบคอมพวิ เตอร์มีการทางานท้ัง 4 หนว่ ย ดงั ต่อไปนี้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

753

เฉลยใบงานท่ี 5.1
ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
1. จงเติมข้อความลงในช่องวา่ งให้ถูกต้อง

หน่วยรับเขา้

หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลกั

หน่วยแสดงผล
จากแผนภาพด้านบน ระบบคอมพิวเตอรม์ ีการทหางนา่วนยทส้ัง่งอ4อหกนว่ ย ดงั ตอ่ ไปน้ี

การทางานของคอมพิวเตอรจ์ ะประกอบไปดว้ ยหน่วยการทางานหลกั ๆ 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับขอ้ มูล
หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา และหน่วยแสดงผล โดยจะเริ่มจากการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบ
คอมพิวเตอร์ผา่ นหน่วยรับข้อมูล แบ่งข้อมูลออกเป็นแฟ้มข้อมูลเพ่ือจัดเก็บในหน่วยความจา แล้วนาแฟ้มข้อมูล
ดังกล่าวไปประมวลผลท่ีหน่วยประมวลผลกลาง ซ่ึงหน่วยประมวลผลกลางจะมีการทางานร่วมกับ
หน่วยความจาตลอดเวลา จากน้ันคอมพิวเตอร์จึงส่งสารสนเทศท่ีได้ไปยังหน่วยแสดงผลในรูปแบบที่ผู้ใช้กาหนด
ไว้

754

แบบบนั ทึกการประเมินผเู้ รยี น ดา้ นความรู้
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง องค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพวิ เตอร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เร่อื ง นกั ออกแบบระบบ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2

เลขที่ ช่ือ-สกลุ รายการประเมิน

อธบิ ายองคป์ ระกอบและหลกั การทางานของคอมพิวเตอรไ์ ด้

1
2
3
4
5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผู้ประเมนิ
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ู้สอน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง

*เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ขึน้ ไป

755

แบบบนั ทกึ การประเมินผ้เู รยี น ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 5 เรอื่ ง องคป์ ระกอบและหลักการทางานของคอมพวิ เตอร์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรื่อง นักออกแบบระบบ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2

รายการประเมนิ
เลขที่ ชอื่ -สกลุ คดิ แก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ

1 ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ
2 (………….…………………………………….)
3 ครูผสู้ อน
4
5

เกณฑ์การให้คะแนน
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก
3 คะแนน ระดับ 3 ดี
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรงุ

*เกณฑ์การผา่ น ระดบั 2 ข้ึนไป

756

แบบบันทึกการประเมนิ ผู้เรยี น ดา้ นคณุ ลักษณะ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 เรื่อง องคป์ ระกอบและหลักการทางานของคอมพวิ เตอร์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 เรือ่ ง นกั ออกแบบระบบ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2

รายการประเมนิ
เลขที่ ชื่อ-สกุล มีความรับผดิ ชอบและทางานเป็นทีม

1
2
3
4
5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผู้ประเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ้สู อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง

*เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ข้ึนไป

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เรอื่
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง นักออก
รายวชิ า เท
ขอบเขตเน้อื หา
1. การออกแบบอัลกอรึทึมเพอื่ ใชใ้ นการ กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นา
แก้ปญั หาโดยใช้โปรแกรม Flowgorithm 1. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนโดยใช้คาถ
อัลกอรึทึม คืออะไร?” ตวั อย่างคา
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธิบายเป็นข้นั ตอน
ดา้ นความรู้ ขน้ั สอน

1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การออกแบบ 1. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ ร
อลั กอรึทึม ตามใบความรู้ 6.1 เรอ่ื ง อลั กอรทึ

2. มีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั โปรแกรม 2. นักเรยี นทาใบงานที่ 6.1 เรอ่ื
Flowgorithm โดยการเขยี นผงั งาน

3. สามารถเขยี นผังงาน (flowchart) โดยใช้ 3. ครสู าธติ การใช้งานโปรแกรม
โปรแกรม Flowgorithm ได้ 6.2 เร่อื ง โปรแกรม Flowgorithm
ด้านทักษะและกระบวนการ
4. นกั เรียนทาใบงานท่ี 6.2 เรอ่ื
1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โปรแกรม Flowgorithm
2. กระบวนการสืบคน้ ขอ้ มูล ขั้นสรปุ
3. ทักษะการคิด การสื่อสาร
4. ทักษะการแก้ปญั หา ICT 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ข
2. นักเรยี นสรุปและบนั ทึกเนือ้ ห

757

อง การออกแบบอัลกอรทิ ึม ป
กแบบระบบ
ทคโนโลยี เวลา 2 ชัว่ โมง
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2

ถามดงั ต่อไปนี้ว่า “มีใครตอบไดว้ า่ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้
าตอบ : กระบวนการแกป้ ัญหาท่ี - ใบความรู้ที่ 6.1 เรือ่ ง อัลกอรึทมึ
- ใบความรู้ท่ี 6.2 เรื่อง การติดต้ังและใช้งาน
รายเก่ยี วกับการออกแบบอัลกอรึทึม โปรแกรม Flowgorithm
ทึม - เวบ็ ไซต์ Flowgorithm.org
อง การออกแบบอลั กอรึทึม - เวบ็ ไซต์ youtu.be/sXIj-KTshyg
ภาระงาน/ช้นิ งาน
ม Flowgorithm ตามใบความรทู้ ่ี - ใบงานที่ 6.1 เรือ่ ง อัลกอรึทึม
m - ใบงานที่ 6.2 เรื่อง การออกแบบอลั กอริทมึ โดย
อง การออกแบบอลั กอริทึมโดยใช้ ใช้โปรแกรม Flowgorithm
หมายเหตุ
สถานที่ : ห้องคอมพวิ เตอร์

ข้นั ตอนการออกแบบอลั กอรึทมึ
หาการเรียนรู้ท่ีสาคัญลงในสมุดเรียน

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 เรอ่ื
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง นกั ออก
รายวิชา เท
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
1. ซอื่ สตั ย์สุจรติ
2. มวี ินัย
3. ใฝเ่ รียนรู้
4. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

อง การออกแบบอลั กอรทิ มึ ป 758
กแบบระบบ
ทคโนโลยี เวลา 2 ชั่วโมง
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2




















Click to View FlipBook Version